ประวัติศาสตร์ชุมชนในเขตเมืองเก่า : ชุมชนเลื่อนฤทธิ์

Page 1

ประวัติศำสตร์ชุมชนในเขตเมืองเก่ำ :

ชุมชนเลื่อนฤทธิ์ เขตสัมพันธวงศ์ กรุงเทพมหำนคร

อิทธิพร ขำประเสริฐ : 2554


คํานํา กระแสการหวนกลั บ มาให ค วามสํ า คั ญ กั บ “ชุ ม ชนท อ งถิ่ น ”ของสั ง คมไทยในป จ จุ บั น เริ่มแผขยายมากขึ้นทุกขณะ โดยปรากฏใหเห็นไดจากแนวนโยบายการพัฒนา ของหนวยงานตางๆใน ทุกระดับ ตัวอยางของนโยบายเหลานี้เชน การยกยองในภูมิปญญา ศิลปวัฒนธรรมทองถิ่น ปราชญ ชาวบาน อัตลักษณชุมชน การสืบคนรากเหงา ประวัติความเปนมาของแตละพื้นที่ โดยมีความเชื่อวา สิ่งดังกลาวนี้จะเปนพลังขับเคลื่อนการเรียนรู การตระหนัก การรักษาหวงแหน และความภาคภูมิใน ชุมชนทองถิ่นของผูคนซึ่งจะนําไปสูการพัฒนาสังคมไดอยางยั่งยืนในอนาคต “ประวั ติ ศ าสตร ชุ ม ชนในเขตเมื อ งเก า :ชุ ม ชนเลื่ อ นฤทธิ์ เขตสั ม พั น ธวงศ กรุ ง เทพ มหานคร” ถือไดวาเปนงานที่อยูในกระแสตื่นตัวเรื่องชุมชนทองถิ่นดังกลาว อันเปนงานศึกษาที่ผูเขียน นําเสนอภาพความเปนมาของชุมชนเมืองในยานการคาใจกลางเมืองที่มีความสําคัญตั้งแต ยุคตนกรุง รัตนโกสินทร แสดงพัฒนาการจากอดีตจวบจนถึงปจจุบันในมิติทางประวัติศาสตร เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม โดยงานชื้นนี้เ ปนสวนหนึ่งที่นํามาจากวิท ยานิพนธของผูเขียนเรื่อง“กระบวนการสราง “ภาพแสดงแทน”เพื่ อ สิ ท ธิ เ ชิ ง พื้ น ที่ ”วิ ท ยานิ พ นธ สั ง คมวิ ท ยาและมานุ ษ ยวิ ท ยามหาบั ณ ฑิ ต คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร พ.ศ.2550 ผูเขียนขอขอบพระคุณชาวชุมชนเลื่อนฤทธิ์ทุกทานที่ใหความอนุเคราะห สัมภาษณ สอบถาม เรื่องราวความเปนมาของชุมชน รวมทั้งขอขอบคุณหนวยงานตางๆ ซึ่งเปนแหลงสืบคนขอมูล อันไดแก สํานัก หอจดหมายเหตุแหงชาติ หอสมุดปรีดีพ นมยงค มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร หอ งสมุดคณะ สถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร ผูเขียนปรารถนาเปนอยางยิ่ง ว า งานชิ้ น นี้ จ ะเป น ส ว นช ว ยเติ ม เต็ ม ของการศึ ก ษาประวั ติ ศ าสตร ชุ ม ชนเมื อ งให กั บ ผู ที่ ส นใจ ไดอีกแงมุมหนึ่ง อิทธิพร ขําประเสริฐ


สารบาญ คํานํา สารบาญ สารบาญภาพ สารบาญตาราง

ก ข ค จ

ความนํา ที่มาของคําวา “เลื่อนฤทธิ”์ ประวัติความเปนมาของชุมชนเลื่อนฤทธิ์ : พัฒนาการจากอดีตสูปจจุบัน ชวงที่ 1 ยุคการถือครองพื้นที่ของกลุมขุนนาง ขาราชการ (พ.ศ.2412 - 2451) ชวงที่ 2 ยุคตึกแถวสําหรับอยูอาศัย ประกอบการคาขนาดยอมและอุตสาหกรรม ในครัวเรือน (พ.ศ.2452 - 2499) ชวงที่ 3 ยุคขยับขยายและการเขามาแทนที่ของธุรกิจคาผา (พ.ศ.2500 - ปจจุบัน) ลักษณะทางกายภาพของชุมชนในปจจุบัน กิจกรรมในพื้นที่ชุมชน ผูคนที่เขามาแวะเวียนเกี่ยวของกับชุมชน กลุมและปฏิสัมพันธของคนในชุมชน เอกลักษณทางวัฒนธรรมของชุมชน ยานคาสงผาทอ-ผามวน ชุมชนหลากหลายชาติพันธุ มรดกทางสถาปตยกรรม บทสรุป ภาคผนวก ประวัติคุณหญิงเลื่อนฤทธิ์ รายชื่อรานคาภายในชุมชน บรรณานุกรม

1 2 3 4

14 19 26 30 34 39 45 45 46 47 52 55 55 64 69


สารบาญภาพ ภาพที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24

หนา หลวงฤทธิ์นายเวร คุณหญิงเลื่อน แผนที่แสดงตําแหนงที่ตั้งบานคุณหญิงเลื่อนฤทธิ์กอนตัดถนนเยาวราช แผนที่แสดงการถือครองที่ดินชุมชนเลื่อนฤทธิ์ในอดีต แผนผังบริเวณตําบลถนนจักรกระวัติ แผนผังตําแหนงทีด่ ินที่คุณหญิงเลื่อนนํามาจํานํากับกรมพระคลังขางที่ ประกาศของกรมพระคลังขางที่ แผนที่แสดงตําแหนงชุมชนเลื่อนฤทธิ์และเขตสัมพันธวงศ แผนที่แสดงอาณาบริเวณติดตอของชุมชน มุมสูงเวิ้งทานเลื่อนฤทธิ์ บรรยากาศการคาสงในชุมชน การขนถายสินคาดวยรถจักรยานยนต รูปแบบของอาคารภายในชุมชน มุมสูงบริเวณซอยเลื่อนฤทธิ์ 1 มุมสูงดานหนาพื้นที่ชุมชนติดถนนเยาวราช มุมสูงดานถนนเยาวราชจนถึงแยกวัดตึก ภายในซอยเลื่อนฤทธิ์ 1 หนาชุมชนดานถนนเยาวราช บรรยากาศในซอยเลื่อนฤทธิ์ 3 บรรยากาศในซอยเลื่อนฤทธิ์ 3 ความแออัดของรถยนตในซอยกลาง กลุมอาคารดานหลังติดกับตลาดสําเพ็ง กลุมอาคารดานถนนมหาจักร บรรยากาศในซอยเลื่อนฤทธิ์ 2

2 2 5 6 7 8 15 27 28 33 46 46 48 49 49 49 49 49 50 50 50 50 50 50


สารบาญภาพ (ตอ) ภาพที่ 25 26 27 28 29 30

หนา บรรยากาศในซอยเลื่อนฤทธิ์ 1 ความสวยงามของอาคารในพื้นที่ บรรยากาศในซอยเลื่อนฤทธิ์ 3 รานคาดานหนาพื้นที่ถนนเยาวราช บริเวณปากซอยเลื่อนฤทธิ์ 1 บริเวณปากซอยเลื่อนฤทธิ์ 3

51 51 51 51 51 51


สารบาญตาราง ตารางที่ 1 2

หนา แสดงรูปแบบการใชสอยอาคารในชุมชน..................................................... แสดงการประกอบกิจกรรมการคาและบริการในชุมชน...............................

31 32


ความนํา ชุม ชนเลื ่อ นฤทธิ ์ห รือ ที ่ผู ค นมัก จะเรีย กกัน วา เวิ ้ง ทา นเลื ่อ นฤทธิ ์เ ปน พื ้น ที ่ซึ ่ง มี ขนาดใหญไมมากนัก ขอบเขตโดยรอบติดตอกับยานการคาหลายแหง โดยเฉพาะการที่ชุม ชน แหง นี้มีที่ตั้ง ติด กับ ตลาดการคาสํา เพ็ง อัน เปน บริเ วณซึ่ง ถือ ไดวา สรา งความเปลี่ย นแปลงที่ สํา คัญ ใหก ับ พื้น ที่ข องชุม ชนและการขยายตัว ทางเศรษฐกิจ ของกรุง เทพฯ ตั้ง แตส มัย ตน รัตนโกสินทรเปนตนมา ชุม ชนเลื่อ นฤทธิ์ถือ เปนชุม ชนที่มีลัก ษณะความเปนยานการคาเกาแกที่มีพัฒ นาการ ควบคูมากับตลาดสําเพ็ง และยานตางๆที่อยูใกลเ คียง ภายในชุม ชนสามารถที่จ ะพบเห็นภาพ บรรยากาศทางการคาของกลุมคนไทยเชื้อสายจีนและอินเดีย ซึ่ง มีทั้ง ระบบคาสง และคาปลีก การจา งงานที่ย ัง คงดํ า รงอยู ม าอยา งตอ เนื ่อ งภาพของผู ค นกลุ ม ตา งๆที่ห มุน เวีย นเขา มา ปฏิสัม พันธกับ พื้นที่อ ยางสม่ําเสมอ นอกจากนี้ในชุม ชนยัง มีก ลุม อาคารพาณิชยใ นยุค แรกๆ ของไทยอันเปนรูปแบบทางสถาปตยกรรมจีนผสมยุโรป ซึ่งสรางขึ้นมาเพื่อรองรับ การขยายตัว ทางเศรษฐกิจ และการเติบ โตของกรุง เทพฯ ในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จ พระจุล จอมเกลา เจาอยูหัว รัชกาลที่ 5 ยังคงความสวยงามปรากฏใหเห็นอยู ชุม ชนเลื่อ นฤทธิ์จ ึง เต็ม ไปดวยเสนหและเรื่อ งราวที่นา สนใจ ดัง ปรากฏในขอ คนพบ จากผลการศึกษาของยงธนิศร พิมลเสถียร เมื่อป พ.ศ. 2547 ที่กลาวไววา ชุม ชนแหง นี้ยัง คงมี ความสํา คัญ ในดา นการเปน มรดกทางวัฒ นธรรม (Cultural heritage) ทั้ง ทางดานความ ตอเนื่องในการรักษารูปแบบของการตั้ง ถิ่นฐาน (Continuity of settlement pattern) และ การรักษาลักษณะเฉพาะของอาคาร (Building character) พื้นที่ของชุม ชนยัง มีคุณคาทั้ง ทาง เศรษฐกิจ และสัง คมรว มสมัย (Contemporary socio-economic value) อีก ทั้ง ยัง มี แนวโนมที่จะกลายเปนแหลงทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรมในรูป แบบของถนนคนเดิน (Pedestrian Area) ไดอีกแหงหนึ่ง เชนเดียวกับ ทางสํานัก ผัง เมือ ง กรุง เทพมหานคร ที่ไดเ ลือ กใหชุม ชนนี้ เปน โครงการนํ า รอ งในการบูร ณะและอนุร ัก ษใ หเ ปน ยา นประวัต ิศ าสตรใ นเมือ งตาม แผนพัฒนาชุมชนเขตสัมพันธวงศ เมื่อป พ.ศ.2545 ที่ผานมาดวย

1


ที่มาของคําวา “เลื่อนฤทธิ์”

หลวงฤทธิ์นายเวร

คุณหญิงเลื่อน

คําวา“เลื่อนฤทธิ์”มาจากชื่อ ของคุณหญิง เลื่อ น เทพหัส ดิน ณ อยุธยา1 แตก ารเรียก ทานวา“เลื่อ นฤทธิ์”สันนิษฐานไดวานาจะเกิด ขึ้นจากความคุนเคยของผูคนในสมัยนั้นที่รูจ ัก ทานในนาม “เลื่อน ภรรยาหลวงฤทธิ์” นายเวร (พุด) เทพหัส ดิน ณ อยุธยา ดัง นั้นจึง เกิดการ ผนวกชื่อยอของคุณหญิง“เลื่อน”และคําวา“ฤทธิ์”เขาไวดวยกันซึ่ง ไดนํามาใชเ ปนชื่อ เรียกจน ติด ปากคุน หูก ัน ปรากฏในชื่อ ตา งๆ ทั้ง ตัว คุณ หญิง เลื่อ นฤทธิ์ เวิ้ง ทา นเลื่อ นฤทธิ์ และถูก นํามาใชเปนชื่อ ซอย และชุม ชนที่จัดตั้ง ขึ้นในปจ จุบัน ในทางภาษาจีนพื้นที่บ ริเ วณยานเลื่อ น ฤทธิ์นี้เ รียกกันวา“เซี่ยง ฮู ไหล”แปลเปนภาษาไทยไดวา ภายในคฤหาสนของเสนาบดี หรือ ภายในคฤหาสนแหงความอนุเคราะหชวยเหลือ อันมีความหมายไดสองนัย คือ ประการแรก หมายถึง พระมหากรุณาธิคุณของพระบาทสมเด็จ พระจุล จอมเกลาเจา อยูหัว รัชกาลที่ 5 ที่มีตอพสนิกร กลาวคือ การที่พระองคไดทรงรับซื้อ ที่ดินจากคุณหญิง เลื่อ น และนํา มาพัฒ นาใหเ ปน ที่อ าศัยและทํา การคา ของเอกชนรายยอ ย ไดทํา ใหป ระชาชนไดมี โอกาสดําเนินกิจการคาตอเนื่องมาอยางผาสุกตั้งแตแรกจวบจนกระทั่งปจจุบันภายใตก ารดูแล ของกรมพระคลังขางที่และสํานักงานทรัพยสินสวนพระมหากษัตริยตามลําดับ 1

โปรดดูประวัติคุณหญิงเลื่อนฤทธิ์ โดยละเอียดไดที่ภาคผนวก ก. 2


ประการที่สอง หมายถึง พระเมตตาอนุเคราะหของพระบาทสมเด็จ พระจุล จอมเกลา เจาอยูหัว ที่มีตอคุณหญิงเลื่อนฤทธิ์ เทพหัสดิน ณ อยุธยาและครอบครัว ซึ่งมิไดมีเ ฉพาะการที่ พระองคท รงรับ ซื้อ ที่ดินเพื่อ ใหคุณ หญิง นํา เงินที่ไดจ ากการขายไปจุน เจือ ครอบครัวเทา นั้น ยัง มีเ รื่อ งอื่น ๆอีก หลายเรื่อ ง 2 ที่คุณหญิง ขอรับ พระราชทานพระเมตตาจากพระบาทสมเด็จ พระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว จนกระทั่งพระองคทรงออกพระโอษฐวานาจะตอสรอยชื่อ คุณหญิง เปน “ทา นเลื ่อ นฤทธิ ์น านาเนกนิต ยอิน สิเ ดนต”ทั ้ง นี้เ พราะเกิด เรื่อ งเดือ ดเนื้อ รอ นใจทีไ ร คุณ หญิง ก็เ ปน เขา ไปเฝา ฯกราบทูล ใหท รงทราบความทุก ขร อ น ดว ยรูวา พระองคท รงพระ กรุณาไมถือโทษ (กรมพระยาดํารงราชานุภาพ 2527:267)

ประวัติความเปนมาของชุมชนเลื่อนฤทธิ์ : พัฒนาการจากอดีตสูปจจุบัน ขอ มูล พัฒ นาการของชุม ชนเลื่อ นฤทธิ์ม าจากแหลง คน ควา ที่สํา คัญ 2 แหลง คือ การสํารวจเอกสาร งานเขียน งานวิจัย โดยเฉพาะเอกสารชั้นตนทางประวัติศาสตรจ ากสํานัก หอจดหมายเหตุแหงชาติ ซึ่งปรากฏหลักฐานชัดเจนเกี่ยวกับ พื้นที่ของชุม ชนนี้ตั้ง แตในรัชสมัย ของพระบาทสมเด็จ พระจุล จอมเกลา เจา อยูห ัว รัช กาลที่ 5 เปน ตน มา และอีก สว น คือ การสัม ภาษณผูคนที่อ าศัยอยูในพื้นที่ ในแงมุม ตางๆ เชน ครอบครัว การดําเนินชีวิต ธุร กิจ การคา การใชพื้นที่ ความเปลี่ยนแปลงของผูคนที่เ ขามาเกี่ยวขอ งกับ พื้นที่ โดยขอ มูล ดัง กลาว ทั้งหมดจะนํามาจะปะติดปะตอเรื่องราวที่เกิดขึ้นเพื่อ ใหเ ห็นพัฒ นาการของพื้นที่โ ดยภาพรวม ซึ่งสามารถแบงออกไดเปน 3 ชวงระยะเวลาที่สําคัญ กลาวคือ

2

พระเมตตาของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ 5 ที่มีตอครอบครัวของหลวงฤทธิ์นายเวร และคุณหญิงเลื่อน มิไดมีเฉพาะการนี้เทานั้น พระองคยังทรงมีความอนุเคราะหในเรื่องอื่นๆอีกหลายครั้ง เชน ใน ป พ.ศ.2434 คุณหญิงเลื่อนขอพระราชทานเงินคาอากรที่หลวงฤทธิ์คางจายคาตลาดจากกระทรวงพระคลังมา เปนคาทําศพหลวงฤทธิ์ และขอเก็บเงินคาเชาที่ตลาดที่หลวงฤทธิ์นายเวรเคยไดรับ รวมทั้งการขอพระราชทานที่ ฉางหลวงทําเปนตลาดเพิ่มเติมขึ้นอีกหลังจากถูกถนนเยาวราชตัดผาน (หจช.กร5ค/10 รศ.110) ในป พ.ศ. 2444 กรณีที่กิจการโรงละครของคุณหญิ งประสบกับ การขาดทุนเกิดการฟ องรองเปนขอพิพาทขึ้น (หจช.กร5บ/20) หรือในป พ.ศ.2448 คุณหญิงเลื่อน กูเงินพระคลังขางที่ 20,000 บาท เพื่อนําไปจุนเจือครอบครัวและลงทุนหา ประโยชนใ นที่ ดินผื นอื่ นๆ (หจช.กร5ค/30 รศ.124)นอกจากนี้ หลั งจากที่หลวงฤทธิ์ นายเวรถึ งแกกรรมแล ว พระองคยังทรงอนุเคราะหสงเสียบุตรชายทั้ง 2 คน คือ พลเอก พระยาเทพหัสดิน (ผาด) และ พลตรี พระยาอนุ ภาพไตรภพ (จํารัส) ไปศึกษาตอยังตางประเทศดวย 3


ชวงที่ 1 ยุคการถือครองพื้นที่ข องกลุมขุนนาง ขาราชการ (พ.ศ.2412 - 2451) หากพิจารณาจากแผนที่เกาที่นํามาเสนอ (ภาพที่ 3 และ 4) จะพบวาพื้นที่ของชุม ชน เลื่อ นฤทธิ์เ ปน บริเ วณซึ่ง ตั้ง อยูใ กลก ับ ตัว แนวกํา แพงเมือ งทิศ ตะวันออกเฉีย งใตไ มม ากนัก โดยบริเ วณนี้เ ปน ที่ตอ เนื่อ งใกลเ คีย งกับ ตลาดหรือ ยา นการคา ที่สํา คัญ หลายแหง ทั้ง ตลาด สําเพ็ง3ตลาดสะพาหัน อันมีคลองโองอาง(คลองสะพานหัน)และคลองวัดสามปลื้มเปนเสนทาง คมนาคมของผูคนที่ม าซื้อ ขายแลกเปลี่ยนสินคากันในยานนี้ การถือ ครองที่ดินในพื้นที่ชุม ชน เลื่อ นฤทธิ์อ ยูใ นกรรมสิท ธิ์ข องพระยาไชยสุร ินทร (เจียม เทพหัส ดิน ) บิด าของหลวงฤทธิ์ นายเวร (พุด) และพระยาจาแสนบดี (เดช คฤเดช) บิดาของคุณหญิง เลื่อ น ซึ่ง ในเวลาตอ มา เมื่อหลวงฤทธิ์นายเวรไดถึง แกก รรมลง ที่ดินทั้ง หมดจึง ไดตกเปนมรดกมาอยูในการถือ ครอง ของคุณหญิงเลื่อนแตเพียงผูเดียว บริเ วณแวดลอ มโดยรอบพื้น ที ่ชุม ชนเลื่อ นฤทธิ์ส ว นใหญจ ะเปน ที่ด ิน ซึ่ง อยู ใ นการ ครอบครองของกลุมขุนนาง ขาราชการหลายทาน เชน บานหลวงคีรีร าชบุรุษ บานเจาพระยา อภัย รณฤทธิ์ ที่ข องเจา พระยาบดินทรเ ดชา ที่ดิน ของหลวงรายวิว าท ที่เ จา พระยานนท ที่ดินของวัดตึกหรือวัดชัยชนะสงคราม อีกทั้งยังมีบานพักขาราชการและราษฎร รวมไปถึง ยัง มี ตึกแถวใหเชาดวย (หจช.กร5ค/30)

3

พื้นที่สําเพ็งเปนบริเวณที่พัฒนามาพรอมกับการสรางกรุงรัตนโกสินทร โดยกอนที่พระบาทสมเด็จพระพุทธยอด ฟาจุฬาโลกมหาราช รัชกาลที่ 1 จะทรงสรางพระบรมมหาราชวัง ในป พ.ศ.2325 ณ ฝงพระนครปจจุบัน ไดทรง โปรดเกลาฯ ใหกลุมชาวจีนซึ่งอาศัยอยูแตเดิมบริเวณนี้ ( ระหวางวัดสลัก หรือ วัดมหาธาตุฯ และวัดโพธิ์ หรือวัด พระเชตุพนฯ) ยายไปตั้งถิ่นฐานใหม โดยใหอยูนอกกําแพงเมืองทางทิศตะวันออกเฉียงใต คือ อาณาบริเวณตั้งแต คลองวัดสามปลื้มไปจนถึงคลองวัดสามเพ็ง ขนานยาวไปกับฝงตะวันออกของแมน้ําเจาพระยา ซึ่งในเวลาตอมาได มี ผู ค นย า ยเข ามาอยู ใ นบริ เ วณนี้ อย างต อเนื่ อ ง และพั ฒ นาพื้ นที่ นี้ก ลายเป นตลาดการค า ที่ สํ าคั ญ ของกรุ ง รัตนโกสินทรในนาม “ตลาดสําเพ็ง” โดยเฉพาะกลุมชาวจีนนับวามีบทบาทสําคัญในฐานะพอคาซึ่งไดทําใหระบบ ตลาดสําเพ็งมีลักษณะพิเศษ กลาวคือ มีลักษณะของการเปนชุมชนชาวจีน และตลาดไปดวยในตัว โดยเปนตลาด บกขนาดใหญที่สุดเทาที่เคยมีมา มีสินคาทุกอยางที่ผลิตหรือรวบรวมมาจากแหลงผลิตตางๆของอาณาจักรและ สินคาที่นําเขาจากจีน และจากพอคายุโรป มีทั้งการคาสงและการคาปลีก บรรดาพอคาตางชาติสามารถที่จะหา ซื้ อสิ นค า ที่ ต นเองต องการได จ ากที่ สํ า เพ็ ง หมอบรั ด เลย ถึ ง กั บ เรี ย กสํ าเพ็ ง ในระยะนั้ นว าเป นเมื อ งการค า (a trading town) มากกวาเปนตลาดการคา (D.B.Bradley 1863:87-94 อางในอดิศร หมวกพิมาย 2538 : 31 – 32) 4


5

ภาพที่ 3 แผนที่แสดงตําแหนงที่ตั้งบานคุณหญิงเลื่อน และตลาดสําเพ็ง กอนตัดถนนเยาวราช สมัยรัชกาลที่ 5 ที่มา : ปรับจากสุภางค จันทวานิช (2549 : ไมปรากฏเลขหนา)


ภาพที่ 4

ที่มา :

แผนที่แสดงการถือ ครองที่ดินชุม ชนเลื่อ นฤทธิ์ในอดีต ซึ่ง อยูในกรรมสิท ธิ์ของ พระยาไชยสุรินทร (เจียม เทพหัส ดิน) บิดาของหลวงฤทธิ์นายเวร (พุด) และ พระยาจาแสนบดี (เดช คฤเดช) บิดาของคุณหญิง เลื่อ น และการถือ ครอง ที่ดินบริเวณใกลเคียง (ถนนตัดใหม คือ ถนนเยาวราช) หจช ก.ร.5ค/10

6


7

ภาพที่ 5 แผนผังบริเวณตําบลถนนจักรกระวัติ ถนนเยาวราช และบริเวณใกลเคียง พ.ศ.2441 (รศ.117) และแสดงตําแหนงที่ดินซึ่งคุณหญิงเลื่อนนํามาจํานํากับกรมพระคลังขางที่ ที่มา : หจช ผจ.ร5ค.90


ภาพที่ 6 แผนผังตําแหนงที่ดินซึ่งคุณหญิงเลื่อนฤทธิ์นํามาจํานํากับกรมพระคลังขางที่ บริเวณถนนเยาวราชตัดผาน ที่มา : หจช.ก.ร.5ค/34 8


ที ่ด ิน บริเ วณดัง กลา วนี ้น ับ ไดว า รับ การพัฒ นาอยา งตอ เนื ่อ งจากรัฐ ในสมัย ของ พระบาทสมเด็จ พระจุล จอมเกลาเจาอยูหัว ทั้ง นี้เ ปนผลมาจากการขยายตัวทางดานการคา ของตลาดสําเพ็ง4 ทําใหรัฐมีการลงทุนตัดถนนหลายสายพาดผานพื้นที่เพื่อบรรเทาความแออัด และปองกันปญหาการเกิดไฟไหม เชน ถนนสําเพ็ง ถนนเยาวราช ถนนจัก รวรรดิ ซึ่ง ตัดผาน โดยรอบที่ดินของคุณหญิงเลื่อ น รวมทั้ง มีก ารปลูก ตึก แถวเพื่อ รองรับ การขยายตัวทางการคา การลงทุน รายยอ ย โดยหนว ยงานที ่ม ีบ ทบาทสํ า คัญ ในการลงทุน สรา งตึก แถวใหม คือ กรมพระคลังขางที่ที่มีความสนใจอีกทั้งยังมีศักยภาพดานการลงทุนมาก ทั้งนี้เปนเพราะวาการ สรางตึก แถวสามารถที่จ ะเก็บ คาเชาไดดอกเบี้ยมากกวาการนําเงินไปฝากธนาคาร กลาวคือ ธนาคารจะใหอัตราดอกเบี้ยเพียงรอ ยละ 2 บาท ในขณะที่ก ารลงทุนสรางตึก แถวจะเก็บ คา เชาไดดอกเบี้ยรอยละ 5 บาทตอป (สุภางค จันทวานิช 2549:10) กรมพระคลัง ขางที่จึง ปลูก ตึก แถวใหเ ชา ทุก คราวที่ม ีก ารตัดถนน นัยของการพัฒ นาพื้น ที่ใ นลัก ษณะนี้จ ึง สง ผลตอ การ

4

ในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ 5 พื้นที่บริเวณสําเพ็งนั้นเปนยานที่มีชาวจีน อยูกันอยางหนาแนน แออัด เต็มไปดวยโรงเรือน รานคาปลูกกันอยางเบียดเสียด ซึ่งสวนใหญปลูกดวยไมและ จาก จึงทําใหเกิดเหตุการณไฟไหมอยูหลายครั้ง แตละครั้งที่เกิดเหตุการณก็ไดมีการตัดถนนผานที่เพลิงไหม รัฐ ไดลงทุนตัดถนนบริเวณสําเพ็งถึง 18 สาย เชน ถนนสามเพ็ง(ถนนวานิช1) ที่ตั้งตนแตสะพานหันตอกับถนนพาหุ รัดเกือบขนานกับถนนเยาวราชผานถนนจักรวรรดิที่ตําบลหัวเม็ด ผานถนนราชวงศ ขามถนนราชวงศไปทางใต ผานตําบลสัมพันธวงศ ออกถนนทรงวาดตรงไปผานวัดปทุมคงคา มีการตัดถนนเยาวราช(ยุวราช)เพื่อเปนการ ขยับขยายพื้นที่คาขายจากตลาดสําเพ็ง โดยเปนถนนที่เริ่มตนจากถนนมหาชัยหนาวังบูรพาภิรมยขนานกับถนน เจริญกรุงผานถนนจักรวรรดิหรือสี่แยกวัดตึกจนบรรจบกับถนนเจริญกรุงที่บริเวณตําบลสามแยก รวมทั้งมีการ ตั ด ถนนอื่ น ๆอี ก หลายสาย เช น ราชวงศ จั กรวรรดิ อนุ วงศ วรจั กร แปลงนาม พลั บ พลาไชย ทรงวาด สัมพันธวงศ พาดสาย ปทุมคงคา ตลาดนอย เปนตน นอกจากการตัดถนนแลว รัชกาลที่ 5 ก็โปรดเกลาฯใหมี การสรางตึกแถวตามแนวริม 2 ฝงถนนเพื่อรองรับการขยายตัวทางการคาที่เติบโตขึ้นในยานนี้ โดยดําเนินการ ผานกรมพระคลังขางที่ซึ่งจะพิจารณาวาควรสรางตึกแถวแบบใด เชน ในบริเวณสําเพ็ง เยาวราช และราชวงศจะ สรางเปนตึกแถว 2 ชั้น สําหรับใหเชาอยูอาศัยและประกอบการคาริมถนนอนุวงศ ราชวงศ ตรอกพระยาไกร สรางเปนตึกแถวชั้นเดียวสําหรับใหเชาเปนโกดังเก็บสินคาตามความสะดวกตอการขนถายสินคาทั้งทางบกและ ทางน้ํา อยางไรก็ดี ผลจากการตัดถนนสายใหมๆนี้ ยังไดทําใหที่ดินริมถนนมีราคาสูงขึ้นและเกิดการเก็งกําไรที่ดิน ดวย อยางเชนในป พ.ศ. 2447 ที่ดินริมถนนเยาวราช ราคาตารางวาละ 200 บาท ใน พ.ศ.2450 ที่ดินริมถนนสํา เพ็ง ราคาตารางวาละ 400 บาท ซึ่ง ทําใหทางการมี รายไดจากคาธรรมเนีย มที่ ดินเพิ่มขึ้ น ประกอบกับการมี ตึกแถวและหองแถวริมถนนจํานวนมาก รายไดของทางการในการเก็บภาษีโรงเรือนก็มีมากขึ้น โดยเฉพาะในยาน สําเพ็ง ทางการสามารถเก็บภาษีโรงรานไดถึงปละ 335,142 บาท (สุภางค จันทวานิช 2549:6,10 )

9


เปลี่ย นแปลงการตั้ง ถิ่นฐานของชุม ชนเมือ งจากชุม ชนน้ํามาเปน ชุม ชนบก และการเขา มา แทนที่ของการคมนาคมทางบกมากขึ้นดวย ที่ดินบริเวณชุมชนเลื่อนฤทธิ์ซึ่ง อยูในการถือ ครองของครอบครัวคุณหญิง เลื่อ นฤทธิ์ก็ ไดรับการพัฒนาจากกรมพระคลังขางที่เชนเดียวกันกับพื้นที่อื่นๆ เนื่อ งจากคุณหญิง เลื่อ นฤทธิ์ ไดนําที่ดินผืนนี้มาจํานํากับ กรมพระคลัง ขางที่ ซึ่ง พระบาทสมเด็จ พระจุล จอมเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ 5 ไดทรงรับซื้อจากคุณหญิงเลื่อนฤทธิ์ไวโ ดยที่ดินสวนแรก คือ บริเ วณสวนทางเหนือ ที่ติดกับ วัดชัย ชนะสงคราม(วัดตึก ) ซึ่ง เวลานั้น ถูก ถนนใหมคือ ถนนเยาวราชตัด ผาน ในราว พ.ศ.2441 (รศ.117) เรื่องราวการจํานําที่ดินผืนดัง กลาวปรากฏในจดหมายที่คุณหญิง ฟก ทอง (มารดา)ภรรยาพระยาจาแสนบดี(เดช)(บิดา)และคุณหญิง เลื่อ นเขีย นถวายพระบาทสมเด็จ พระจุล จอมเกลาเจาอยูหัว ลงวันที่ 9 มีนาคม พ.ศ.2438 มีใจความตอนหนึ่ง วา (หจช.กร.5 ค/34 รศ.114) “...ดวยขาพระพุทธเจามีความขัดสนยากจนนัก ดวยไมมีที่จ ะทํามาหา รับ พระราชทาน ใหพ อกับ การใชส อยที ่จ ะเลี ้ย งชีว ิต ตนไปเลย มาบัดนี้ถนนเยาวราชผานบานแตกเปนสองฟากจากกันแลวเลื่อ นจึง ทูล ขอพระดําริห พระเจานอ งยาเธอ เจาฟากรมขุนนริศรานุวัติวงษ ก็ไดทรงแนะนําใหทําแผนที่แลทรงติเตียนเปลี่ยนแปลงเพื่อ ใหเ ปนทาง เจริญ ทั้ง หมดบา น เพราะที่ร ายนี้เ ปนเกาะอยู กลางขางนา บานออก ถนนสามเพ็ง หลังบานถูกถนนเยาวราชตัดผานมา จึงทรงพระดําริหให ตัดถนนในบานอีก สองทาง ตั้ง แตถนนเยาวราชโอนตามเนื้อ ที่ม ารวม ทางทลุถนนสามเพ็ง... ...แตความคิดที่จะทําการครั้งนี้ เปนการใหญ ยังเปนที่ขัดขวางอยางยิ่ง ดว ยทุน จะทํ า ไมม ี ขา พระพุท ธเจา ขอรับ พระราชทานตีที ่ๆ ถนน เยาวราชผานดานทิศตะวันออกดานหนึ่งนั้นจํานําหลวงตามราคาชั้นต่ํา ในจังหวัดนี้...” ที่ดิน ซึ่ง คุณ หญิง เลื่อ นนํา ไปจํา นํา ในคราวนี้ม ีเ นื้อ ที ่ร ิม ถนนเยาวราช ยาว 44 วา ดานหลัง ติดกับ คูน้ํา 44 วา ดานตะวันออกติดคลองสามเพ็ง 7 วา สวนดานตะวันตกติดกับ บานพระเสนาพิพิธ (เสม) 11 วา เนื้อ ที่ร วมทั้ง หมด 396 วา โดยคุณหญิง ขอพระราชทาน ตารางวาละ 60 บาท รวมทั้งหมดเปนเงิน 297 ชั่ง สําหรับ เงินที่ไดจ ากการจํานํานี้คุณหญิง ได นําไปเปนทุนในการปลูก บานแหง อื่นๆ ที่ดินผืนนี้ในเวลาตอ มาไดตกเปนกรรมสิท ธิ์ของกรม 10


พระคลังขางที่ซึ่งพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว ทรงพระกรุณาพระราชทานที่ดิน ผืนนี้แกพระเจาลูกยาเธอ พระองคเจาอุรุพงษรัชสมโภช (หจช.มร.5รลพ.ศ./14) โดยไดท รงให กรมพระคลังขางที่ดําเนินการปลูกสรางตึกแถวใหเชาไปแลวบางสวน ในเวลาตอ มา คือ ป พ.ศ.2448 (รศ.124) คุณหญิง เลื่อ นฤทธิ์ คิดที่จ ะจัดการแบง มรดกจากบิดาของทานใหเ สร็จ เพื่อ นําทรัพ ยสินดัง กลาวมาสรางบานใหมและนํามาจัดการ แตงงานใหกับบุตรชาย รวมทั้งแบงใหกับบุตรคนอื่นๆ แตจํานวนเงินที่มีไมเพียงพอ จึง ไดถวาย ขายที่ดินอีกสวนหนึ่ง บริเ วณถนนสําเพ็ง และเยาวราช โดยเรื่อ งดัง กลาวปรากฏในจดหมายที่ คุณหญิงเลื่อนฤทธิ์เขียนถวายพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว ลงวันที่ 29 เมษายน พ.ศ.2448 มีใจความวา (หจช.กร.5ค/35 รศ.124) “ดวยขาพระพุทธเจาอยากจะจัดการมรฎกในพินัยกรรมของทานบิดา ซึ่งไดทราบใตฝาลอองธุลีพระบาทแตเดิมนั้น มาบัดนี้บุตร ชาย หญิง ของขาพระพุท ธเจาก็เ ปนหนุม สาวสมควร จะตกแตง ปลูก ฝง ใหเ ขา ทั้ง เวลานี้ขาพระพุท ธเจาก็ไ ดก ลา วขอบุต รี พระยานรฤทธิร าชหัชใหกับ นายรอ ยโทผาดไดแลวแตนายรอ ยโทผาด ตอ งไปราชการจึ่ง ตอ งงดการวิว าหมงคลไวก อ น แตบัด นี้น ายรอ ยโท ผาดก็เ สร็จ ราชการแลว จะมาถึง กรุง เทพ ราววัน ที่ ๑๕ หรือ ที่๑ ๖ พฤษภาคมนี้แลว ขาพระพุทธเจาก็จะคิดตกแตง ใหเ ขาในคราวนี้ ถาไม มีเงินจะตกแตงกับเขาก็เปนที่อัประหยด จึ่งคิดดวยเกลาวาจะจัดการในพินัยกรรมของทานบิดาเสียใหเ สร็จ แตตัวเงินไมมีพอที่จะแจกจาย จึ่ง เหนดวยเกลาวาที่บานถนนสามเพ็ง หรือถนนเยาวราชทั้งเกาะนี้เปนพื้นที่ซึ่งมีราคามาก ซึ่ง ขาพระพุท ธเจา อยูในที่ซึ่งมีร าคาเชนนี้ก็ไมสูมีป ระโยชน ครั้นจะคิดขยับ ขยายไปอยูที่ อื่นแลวจัดการปลูก สรางทําผลประโยชนล งใหเ ต็ม พื้นที่ดัง นี้เ ลา ทุนที่ จะทําแลที่จะไปก็ไมพอ ก็เปนการไมมีประโยชนซึ่งจะสงวนที่รายนี้ไว เพราะฉะนั้นขาพระพุทธเจาอยากจะถวายขายที่บานรายนี้ไวในใต ฝา ลองธุล ีพ ระบาท ดว ยเปนที่ดีม ีค วามอาไลยมากไมอ ยากจะใหต ก ไปเปน ของผูอื่น แตร าคาที่พื้นนั้นในเวลานี้แพงทั่วไปกวาเวลาที่ท รง ซื้อ ครั้ง กอ นเสียแลว เพราะความเจริญ ของถนนเยาวราชผิด กวา แต กอ นมาก มิใชขา พระพุท ธเจาจะแกลง กง ราคาใหเ กิน กวาชาวบานที่

11


เขาซื้อขายกันนั้นก็หามิได ตองขึ้นไปตามความเจริญของบานเมือ งโดย สมควร... …ถาโปรดเกลา ทรงซื้อ ไวแลว เงินที่ถวายขายที่ไดนั้นขาพระพุท ธเจา จะรับพระราชทานไปแตเ ฉพาะธุร ะ เหลือ เทาใดก็จ ะขอพระราชทาน ฝากไวในทองพระคลัง กอ น เพราะขาพระพุท ธเจาจะออกจากบานไป ในทัน ทีไ มไ ด ขา พระพุท ธเจา จะตอ งทํ า บา นใหน ายรอ ยโทผาดกับ มารดาอยูที่ตําบลวัวลําพอง คือ รื้อของเกาไปทําเปลี่ยนแบบใหม.... ...อนึ่ง เมื่อ ไดก ราบบัง คมทูล มาในครั้ง นี้แลวขาพระพุท ธเจา ก็จ ะ พระราชทานกราบบังคมทูลชี้แจงถึงระเบียบการซึ่ง ขาพระพุท ธเจาจะ ไดจ ัดสํา หรับ บุตรใหท ราบใตฝ าละอองธุล ีพ ระบาทใหต ลอดดวย คือ แบง บันในคราวนี้ นายรอ ยโทผาดจะไดรับ สว นแบง ๑๐๐๐ ชั่ง นอ ง สามคนจะไดรับ สว นแบง คนละ ๒๐๐ ชั่ง ตามความเจตนาของทา น เจาของทรัพยแตเดิมมา...” ที่ดินที่คุณหญิงถวายขายในสวนที่ 2 นี้คุณหญิง ขอพระราชทานขายตารางวาละ 160 บาท แตตอมากรมพระคลังขางที่ไดมีการตอรองเหลือในราคาตารางวาละ 80 บาท โดยมีเ นื้อ ที่ทั้งหมด 2000 ตารางวา คิดเปนเงิน 165,295 บาท นอกจากนี้คุณหญิง ยัง ไดเ สนอถวายขาย โรงแถวที่สรางอยูบนที่ดินซึ่งมีทั้งชั้นเดียวและสองชั้นจํานวนหนึ่ง ดวย โดยกรมพระคลัง ขางที่ ไดรับซื้อไว ดังที่กรมพระสมมตอมรพันธุ อธิบดีกรมพระคลังขางที่ไดระบุไวในหนัง สือ ของกรม พระคลังขางที่ เลขที่ 15/1724 ลงวันที่ 30 มีนาคม พ.ศ.2451 มีใจความวา (หจช.กร.5ค/35 รศ.127) “...ที่บ านเลื่อ นภรรยาหลวงฤทธิ์นายเวร(พุด )ซึ่ง กราบบัง คมทูล พระ กรุณ าขอพระราชทานถวายขาย เดิม ตั ้ง ราคาวาละ ๑๖๐ บาท ขาพระพุทธเจาเห็นดวยเกลาฯวาควรซื้อ ไดเ พียงราคาวาละ ๘๐ บาท โปรดเกลาฯใหวากลาวไดรับพระราชทานวากันตอ มาในที่สุดก็เ ปนอัน ตกลงยอมรับตามราคาวาละ ๘๐ บาท แตเกี่ยงใหรับ ซื้อ โรงแถวที่ป ลูก อยูใ นที ่นั้น ดว ย ไดร ับ พระราชทานพิจ ารณาดูโ รงแถวที่ป ลูก อยูนั ้น เปนโรงแถวชนิดกํามลอเปนพื้นแลโดยมากหอ งที่อ ยูในใจกลางบานซึ่ง มีถนนลอมรอบ เมื่อซื้อแลวกะแปลนกอ สรางอันใดลงคงจะตอ งลงมือ ในหมูนั้นกอน โรงแถวนั้นๆก็จ ะตอ งรื้อ ทิ้ง ไมทันเก็บ ผลประโยชนชวย 12


ทุนได แตมีบางแถวที่คิดดวยเกลาฯวาถาไดร าคาเยาก็ส มควรรับ ซื้อ ไว เก็บ คาเชาไปพลางกอ นได คือ โรงแถวที่ป ลูก อยูขอบนอกของถนนซึ่ง ขาดหลังโรงแถวก็สุดเขตรที่ เพราะวาโรงแถวนี้ก ารกอ สรางที่จ ะทําลง ตามแปลนซึ่ง จะคิดใหมจ ะตอ งรื้อ ก็คงอยูในตอนที่สุด ชา กวาที่ห มูใ จ กลางบานคงจะเก็บคาเชาไดคุมทุนฤามีกําไร ไดรับ พระราชทานใหเ จา พนักงานกะราคาที่ควรจะรับ ซื้อ แลวากลาวกับ เลื่อ นในสวนโรงแถวที่ เห็นควรซื้อ คือ (๑) โรงแถว 2 ชั้นหลัง คามุง กระเบื้อ ง ๑๐ หอ งเก็บ คาเชาไดอยูหอ งละ ๗ บาท ๔๐ อัฐ ตอ เดือ น เจาพนัก งานกะราคาจะ ซื้อไดหอ งละ ๒๐๐ บาท เลื่อ นจะขอหอ งละ ๒๔๐ บาท (๒) โรงแถว ชั้น เดีย วหลัง คามุง สัง กะสี ๒๑ หอ งเก็บ คา เชา ไดอ ยูห อ งละ ๕ บาท ๒๘ อัฐ เจาพนักงานกะซื้อหองละ ๘๐ บาท เลื่อนจะขอหอ งละ ๑๖๐ บาท (๓) โรงแถวชั้นเดียวหลังคามุงสังกะสีอีกแถวหนึ่ง ๕ หอ ง เก็บ คา เชา ไดอ ยูห อ งละ ๕ บาท เจา พนัก งานกะจะซื้อ หอ งละ ๑๐๐ บาท เจาของขอหองละ ๑๖๐ บาท รวมโรงแถว ๓ แถว ๓๖ หอ งคาเชาเดือ นละ ๒๑๕ บาท ๒๘ อัฐ เจา พนัก งานกะจะซื้อ แต ๔,๑๘๐ บาท เลื่อ นขอราคา ๖,๕๖๐ บาท ขาพระพุท ธเจา เห็น ดวยเกลา ฯวา ราคาที่เ จาพนัก งานกะลงนั้น ก็เ ปน การสมควรแลว…” พัฒ นาการของพื้น ที ่ช ุม ชนเลื ่อ นฤทธิ ์ใ นยุค นี ้ สรุป ไดว า พื ้น ที ่ซึ ่ง แตเ ดิม ไดอ ยู ใ น กรรมสิท ธิ์ก ารถือ ครองของคุณหญิง เลื่อ นฤทธิ์ ไดเ ปลี่ยนมาอยูในการถือ ครองของกรมพระ คลัง ขางที่ โดยเปนผลมาจากปจ จัย สว นตัว ของคุณหญิง ที่มีภ าระหนัก ในการทําหนา ที่ดูแ ล ครอบครัว จึงไดนําที่ดินมาขายใหห ลวง ประจวบเหมาะกับ นโยบายการพัฒ นาพื้นที่บ ริเ วณนี้ ของรัฐ ที่มีอ ยูแลว อันมีส าเหตุม าจากอิท ธิพ ลของตลาดสํา เพ็ง ที่ขยายตัวเพิ่ม มากขึ้นทุก ขณะ จึงทําใหพื้นที่บริเวณนี้ไดรับการพัฒนาอยางตอเนื่อง

13


ชวงที่ 2 ยุคตึกแถวสํา หรับ อยูอาศัย ประกอบการคา ขนาดยอมและอุตสาหกรรม ในครัวเรือน (พ.ศ.2452 - 2499) หลังจากที่กรมพระคลังขางที่ไดรับ ซื้อ ที่ดินจากคุณหญิง เลื่อ นฤทธิ์ทั้ง สองสวนไปแลว พระบาทสมเด็จ พระจุล จอมเกลา เจา อยู ห ัว ก็ท รงโปรดเกลา ฯใหก รมพระคลัง ขา งที ่ไ ด ดําเนินการจัดสรางตึก แถวขึ้นจํานวนหลายหอ ง ซึ่ง รวมไปถึง การสรางตึก ตอ เนื่อ งไปในพื้นที่ ของพระเจาลูกยาเธอ พระองคเจาอุรุพงษรัชสมโภชซึ่งพระองคไดเ คยพระราชทานที่ดินไปให กอนหนานี้ ดังที่กรมพระสมมตอมรพันธุ อธิบ ดีก รมพระคลัง ขางที่ เขียนถวายรายงานใน หนัง สือ กรมพระคลัง ขางที่ เลขที่ 33/422 ลงวันที่ 8 มิถุนายน พ.ศ.2452 ใจความวา (หจช. กร.5ค/35 รศ.128) “...ไดร ับ พระราชทานพิจ ารณาดูเ ห็น ดว ยเกลา ฯวา จะตอ งคิด ทํ า ตอ เนื่อ งออกไปตลอดถึง ที่ริม ถนนเยาวราชซึ่ง ปลูก โรงแถวใหเ ชา อยู เวลานี้อ ัน ไดพ ระราชทานพระเจาลูก ยาเธอ พระองคเ จา อุรุพ งษร ัช สมโภชเปนสวนไปแลว รวมจัดทําไปในคราวเดียวกัน เพราะเปนตนวา ถนนซอยในบา นของเดิม มีที่อ ยูเ ปนถนนขนาดยอ ม ทํ า ใหมคิด ดว ย เกลาฯ วาควรจะขยายใหกวางออกไป ที่ดานริมถนนเยาวราชของพระ เจาลูกยาเธอ พระองคเ จาอุรุพ งษรัชสมโภชซึ่ง เปนโรงแถวอยูบัดนี้ ก็ จํา จะตอ งตัด มารวมในถนนที่จ ะขยายออกไปในตอนปากชอ งเชื่อ ม ถนนเยาวราชนั้นบางทั้ง ๒ ชองฤา ๒ ทาง จํ า นวนหอ งตึก ที ่ก ะจะทํ า เต็ม ตามแปลนนั ้น แถว ๒ ฝ ง ถนน เยาวราชกะทําเปนตึก ขนาดลึก แลกวางกวาแถวขางใน มีจํานวนหอ ง ตึกในที่ของพระเจาลูกยาเธอ พระองคเจาอุรุพงษรัชสมโภช ๒ ฝง ถนน รวม ๗๑ หอ ง ของพระคลัง ขา งที่ชัว มุม เชื่อ มถนนจัก รวรรดิกับ ถนน เยาวราช ๖ หอ ง แถวขางในๆที่ของพระคลัง ขางที่ คือ ที่บานเลื่อ นที่ ซื้อใหม ๑๖๘ หอง ในที่ของพระเจาลูก ยาเธอ พระองคเ จาอุรุพ งษรัช สมโภชดานหลังตึกแถวริม ถนนเยาวราชซึ่ง มีที่เ หลือ อยูพ อทําไดนาตึก หันมาลงตรอกเล็กแยกจากที่เลื่อนมาถนนจักรวรรดิตามที่ๆมีเ ลี้ยวเปน ชายธงอยู ๑๐ หอง…”5 5

จดหมายที่ กรมพระสมมตอมรพั นธุ อธิ บดีกรมพระคลัง ขางที่ เขี ยนถวายรายงานฉบับ นี้ใ นเนื้ อหาอี กส วน ไดระบุวามีการแนบแบบกอสรางตึกแถวมาดวย แตเปนที่นาเสียดายวาเอกสารดังกลาวไดสูญหายไป 14


เมื่อกรมพระคลังขางที่จัดสรางตึกแถวเสร็จเรียบรอยแลว ก็มีบ รรดากลุม คนมากมาย ที่ไดเขามาเชาตึกแถวโดยสวนใหญม าเชาเพื่อ การอยูอ าศัย และบางสวนประกอบการคาขาย เล็กๆนอ ยๆไปในตัวดวย มีทั้ง กลุม คนไทย และโดยเฉพาะกลุม คนจีนที่พ อมีเ งินเก็บ เล็ก ผสม นอ ยซึ่ง หวัง จะมาตั้ง ตัวในพื้นที่เ พื่อ สรางฐานะใหแ กตนเอง เขามาเชาอยูและทําการคาขาย นอกจากนี้ยังสันนิษฐานไดวานาจะมีชาวตะวันตกอีกสวนหนึ่งดวย เพราะสัง เกตเห็นไดชัดเจน จากประกาศของกรมพระคลังขางที่อันเกี่ยวขอ งกับ หลัก ฐานการจายคาเชา ซึ่ง มีก ารจารึก ไว บนผนังอาคารถึง 3 ภาษา คือ ภาษาไทย จีน และอัง กฤษ เพื่อ ใชสื่อ สารตอ ผูเ ชาที่มีอ ยูห ลาย กลุ ม ถือ เปน หลัก ฐานทางโบราณคดีที ่สํ า คัญ ชิ ้น หนึ ่ง ซึ ่ง มัก จะไมค อ ยพบในพื ้น ที ่ท าง ประวัติศ าสตรอื่น ๆ จารึก บนผนัง อาคารนี ้ยัง คงมีส ภาพคอ นขา งสมบูร ณ โดยอยูบ ริเ วณ กึ่งกลางอาคารตรงหัวมุมเสาทางเดินเขา-ออกซอยเลื่อนฤทธิ์ 3 และถนนมหาจักร

ภาพที่ 7 ประกาศของกรมพระคลังขางที่ ที่มา : กรมศิลปากร (2546) การดําเนินชีวิตประจําวันของผูเชาในยุคนี้สามารถที่จ ะแยกออกไดเ ปนสองลัก ษณะที่ สําคัญ คือ สวนแรกเปนกลุมคนที่ไปทํางานนอกบาน ทั้ง ในตัวตลาดสําเพ็ง โดยไปคาขายหรือ รับจางซึ่งสวนใหญเปนกลุมของคนจีนที่มีความสามารถในการประกอบธุร กิจ การคา หรือ การ 15


ไปทํางานเปนลูก จางในหนวยงานราชการตามทอ งที่ตางๆของพระนคร และสวนที่ส อง คือ กลุมคนที่ใชพื้นที่เพื่อการอยูอาศัยและประกอบการคาขายไปในตัวโดยเฉพาะในกลุมคนจีน พื้น ที่บ ริเ วณที่อ ยูด า นนอกของชุม ชนติด ริม ถนนเยาวราชมีร า นคา จํา หนา ยสิน คา ประเภทตา งๆมากมาย เชน รานอาหาร กาแฟ สินคา จําพวกขนม เชน ขนมเปย ะ จัน อับ น้ําตาลกรวด มีเครื่องเคลือบ ภาชนะ ของเบ็ดเตล็ดตางๆ อาทิ พัด หมวก รม หมึก จีน ลูก คิด ยาสมุนไพรทั้งไทยและจีน ฯ สินคาสวนใหญลวนแลวมาจากตลาดสําเพ็ง ซึ่ง จะนําเขามาจาก ประเทศจีนโดยเรือสําเภาแทบทั้งสิ้นบางรายมีการนําวัตถุดิบมาจากประเทศจีนแลวนํามาแปร รูป เพื่อ จําหนา ยใหม ดัง กรณีตัวอยา งของรานขายผา แพรแหง หนึ่ง ของลุง ฮวด อายุ 60 ป ซึ่งอยูในพื้นที่เปนรุนที่ 3 คือ ตั้งแต รุนปู รุนพอ เลาใหฟงวา “สินคาแรกๆจริง มาจากเมือ งจีน อยาง“ปง ลิ้ม ”(กางเกงแพรที่มี เชือกผูก) เวลาโยนขึ้นไปบนตนไมแลวไหลลงมา6ตอนนั้นขายแบบเนี่ย เอาแพรมาจากเมืองจีน เอามะเกลือ มาทุบ ใสครกใหญๆ แลวตําคั้นเอา น้ํามันมายอมผา จากสีขาวกลายเปนสีดํา ชุบกี่ครั้ง เอาไปตากแดดเอา ไปยอมชุบกี่ครั้ง มีก ารขัดเอามาลงแว็ก ทํายัง ไงใหมันเงา”(สัม ภาษณ 9 พฤศจิกายน 2549) สวนพื้นที่บ ริเ วณตอนในชุม ชนการประกอบอาชีพ ของผูเ ชา สวนใหญจ ะเปนการตัด เย็บเสื้อผาสําเร็จรูปเพื่อจําหนายแบบคาสง เนื่องจากในชวงเวลานี้เสื้อผาสําเร็จ รูป กําลัง ไดรับ ความนิยมจากผูคน โดยจะมีก ารดํา เนินกิจ กรรมการคาเปน ไปในลัก ษณะของอุตสาหกรรม แบบครัวเรือ นที่ใชแรงงานจากสมาชิก ในครอบครัวและญาติๆ คนในละแวกบานรวมกันผลิต เมื่อ ผลิตเสร็จ แลว จะมีพ อ คา ตามตา งจัง หวัด มารับ ซื้อ สิน คา ถึง ที่ สํา หรับ วัต ถุดิบ ที่ใ ชคือ ผา ประเภทตางๆก็จะมาจากตลาดสําเพ็ง โดยผูที่เ ปนเจาของกิจ การคาผาในสําเพ็ง สวนใหญจ ะ อยูใ นกลุม คนสิก ข และตอ มามีก ารขยายตัว มาสูใ นกลุม ชาวจีน ดัง ที่ไ ดม ีก ารบัน ทึก ไวใ น บทความเรื่อง “ตลาดการคาในประเทศไทย”ของ รอยตรีนอม เพ็ญกุล (2516:89)ไววา “ขาพเจา จําไดวา ผาและแพรชนิด ตางๆในสมัย กอ นสงครามโลก ครั้ง ที่ 2 แขก Sikh (สิก ข) เปนผูขายอยูที่พ าหุรัดและในตลาดสําเพ็ง ครั้นหลังจากสงครามเลิกแลว ชาวจีนไดเขารวมมือคาขายสินคาชนิดนี้ กับแขก Sikh ดวย” 6

เปนการเปรียบเทียบเพื่อใหเห็นลักษณะของเนื้อผาแพรที่มีความเงามัน ถึงแมจะนําไปไวบนตนไมที่มีกิ่งกาน มากมาย ก็สามารถที่จะเลื่อนไหลลงมาได 16


ลัก ษณะการคาผาของชาวสิก ขจ ะอาศัยการนําเขาและสง ออกสินคาผาและเสนดาย มากกวาการลงทุนในการผลิตซึ่ง จะตางจากนายทุนชาวจีนที่ในชวงหลัง สงครามโลกครั้ง ที่ 2 นายทุนชาวจีนซึ่ง ทําการคาขายผา หลายกลุม เริ่ม ขยายฐานไปสูก ารผลิตและรวมลงทุน กับ บริษัท จากญี ่ปุน จึง ทํา ใหช าวจีน เติบ โตขึ ้น ในฐานะผู ผ ลิต สิน คา สิ ่ง ทอที ่สํา คัญ ของไทยใน ระยะเวลาดังกลาว (อินทิรา ซาฮีร 2534:156) สําหรับอุตสาหกรรมครัวเรือนตัดเย็บ เสื้อ ผาใน พื้นที่ชุมชนเลื่อนฤทธิ์ในชวงนี้ ปาเกียว ซึ่งอยูในพื้นที่มานาน 70 กวาป และปจ จุบันยัง สานตอ กิจการตัดเย็บเสื้อผาจากรุนพอ เลาบรรยากาศในสมัยเด็กๆใหฟงวา “เตี่ยฉันมาจากกวางตุง สมัยกอ นมาเปนคนงานใหกับ ญาติอ ยูที่นี่ ตั้งแตเปดราน เกิดมาฉันก็เห็นวาทําเสื้อ แบบนี้แลว แถวนี้มีแตคนแคะ กับ คนกวางตุง สมัยกอ นแถวนี้เ ขาทําเสื้อ เย็บ ผากันอยางเดียว 3 – 4 ซอยแทบจะเกือ บทุก บานนะ เดียวเนี่ยเหลือ 3 รานได สมัยโนนไมมี ผา สํา เร็จ เหมือ นสมัยนี้ ผาที่เ ย็บ ก็ม าจากแขกที่ขายในสําเพ็ง ...เย็บ เสื้อผาสําเร็จรูปทั้งนั้น นั่ง เย็บ กันเองตัดเองขายเอง ก็ทําในบานใชมือ ไมใชเ ครื่อ งจัก ร ใชก รรไกรตัด บางคนเกง หนอ ยใชมีด เลื่อ ย ขายสง อยางเดียว คนที่มาจากตางจังหวัดตองลงมาซื้อเอง หลัง จากนั้นสัก พัก ก็เริ่มมีเซลออกไป บางที่เย็บเองโดยไมขายก็มี อยางบานนั้นเปนคนตัด คนอยูอ าศัยเขาก็เ อางานไปเย็บ บา นเขาแลวมาสง เรา เขาไมขายเย็บ เสร็จก็สงใหเรา บางคนเย็บเล็กๆนอยๆก็เ อาไปขายสง เอง”(สัม ภาษณ 6 ธันวาคม 2549) อิทธิพลของตลาดสําเพ็งยังนับวามีผลตอพื้นที่ชุมชนเลื่อ นฤทธิ์ม าก ในชวงรัชกาลที่ 7 - 8 มีก ลุม ผูคนมากมายที่เ ดินทางมาจากตางจัง หวัดโดยเฉพาะกลุม พอ คาทั้ง หลายที่ม าซื้อ สินคา ในตัว ตลาดสําเพ็ง เพื่อ นํากลับ ไปจําหนายในตางจัง หวัด และไดม าแวะพัก คางคืนที่ใ น พื้นที่ เพราะจากการสัมภาษณคนเฒาคนแกที่อยูในพื้นที่ปจจุบันเลาใหฟงวา ในอดีตพื้นที่แหง นี้มีโรงแรมใหเชาสําหรับผูที่เดินทางไกลมาจากตางจังหวัดและไมสามารถเดินทางกลับ บานได ภายในวันเดียวเนื่องจากการคมนาคมในสมัยนั้นไมส ะดวก ดัง นั้นจึง มาแวะพัก คางคืนและนํา สินคามาพักไวกอน และวันรุงขึ้นจึงเดินทางกลับ ซึ่งมีผูคนมาใชบริการกันมากพอควร อยางไร ก็ดีเมื่อความเจริญทางดานคมนาคมที่แพรขยายออกไปสูแถบชานเมืองและตางจัง หวัดมากขึ้น ผูค นเดิน ทางไปมาสะดวกมิจําเปน ตอ งแวะพัก ในพื้น ที่ โรงแรมดัง กลา วก็ไ ดร ับ ความนิย ม

17


นอยลงและไดถูกปรับเปลี่ยนสภาพมาเปนหอนางโลมชื่อ กอ งของยานนี้ ดัง ที่ขุนวิจิตรมาตรา ไดกลาวไวในบันทึกของคนรวมสมัย “กรุงเทพเมื่อวานนี้” วา (2545:248) “สวนทางขวามือลงสะพานภาณุพันธุไปเปนโรงยี่เ กหลวงสันทนา การกิจ ตอไปเปนตึกแถวถึงสี่แยกวัดตึกขามถนนไปก็เ ปนตึก แถวจนถึง เวิ้ง หนึ่ง เรียกวา เวิ้ง ทานเลื่อ นฤทธิ์ ในเวิ้ง นี้เ ปนเวิ้ง ขายน้ํา ชา ถาเดิน เขาไปก็จะได ยินเสียง เจี๊ยแตจอของแมสาวจีนเรื่อ ยไป คนจีนหรือ คน ไทยแวะเขา ไปก็ไ ดห กสลึง เทา นั ้น เอง (แตแ พงสํ า หรับ สมัย นั ้น หนอยนะ)” สอดคลองกับลุงฮวด ที่เลาใหฟงวา “บางคนนั่ง เรือ มาลงที ่ท า น้ํา ราชวงศ มาจากสุพ รรณ อยุธ ยา นครไชยศรี ก็ม าเชาเปนที่พัก ชั่วคราว ประมาณ 3 – 4 หอ งเพราะ ตอนนั้น ไปกลับ วัน เดีย วมัน ลํา บาก พอตอนหลัง กลายเปน โรงแรม จิ้งหรีดตอนแรกๆคนตางจัง หวัดมาคางแรม ตอนหลัง เจริญ ขึ้นไมตอ ง มาเรือ การคมนาคมก็ดี ก็ก ลายเปนโรงแรมจิ้ง หรีดไป มาตอนหลัง ก็ กลายเปนหองเชา ”(สัมภาษณ 9 พฤศจิกายน 2549) นอกจากนี้บ ริเ วณแวดลอ มของพื้นที่ชุม ชนเลื่อ นฤทธิ์ในชวงนี้ก็มีบ รรยากาศที่คึก คัก มาก โดยเฉพาะในดานถนนเยาวราชที่ติดกับ ตัวชุม ชนดานทิศเหนือ และพื้นที่ตอ เนื่อ งตลอด แนวไปจนถึงสี่แยกราชวงศ มีหาง รานคาตางๆที่มีเจาของเปนทั้ง ของคนไทย คนจีน และหาง ฝรั่งเกิดขึ้นหลายแหลง ดังที่ขุนวิจิตรมาตราไดบรรยายไววา (2545:247-248) “...ถนนเยาวราช ตั้ง ตนจากสะพานภาณุพ ันธ คลองโอง อา งตรง ไปสุดที่ตํา บลสามแยก(ตน ประดู)ที่ถ นนเจริญ กรุง นี้เ ปนจีน เสีย แทบ ทั้ง ถนน จากซา ยมือ ลงสะพานไปเปน ตลาดเรีย กวา ตลาดปร ะกา เปนทางเขาในเวิ้ง สะพานเหล็ก ตอ ไปถึง สี่แยกวัดตึก ตรงมุม หนึ่ง เคย เปน หา งฮกจวนขายหมวกสัก หลาดมีชื่อ มาก และเปนรา นชื่อ ศึก ษา นุมิตร ขายพวกเครื่องเรียน ขามถนนเปนตึก แถวตลอดไปจนถึง สี่แยก ราชวงศ ที่ห ัว มุม เคยเปน หา งใตฟา ขา มถนนไปเปนตึก แถวไมชา ถึง 18


ปากตรอกเตา มีรานชื่อ ปก จันเหลา ขายอาหารตางๆอยางดี แถวนี้มี ตึก สูง เจ็ดชั้นมีอ าหาร มีม หรสพ ขาพเจาเคยขึ้นไปถึง ชั้น ๗ มองเห็น ถนนเยาวราชตลอด...” การเกิดขึ้นของหางรานคาหลายแหลง ในบริเ วณพื้นที่ใกลเ คียงกับ ชุม ชนเลื่อ นฤทธิ์นี้ สะทอนใหเห็นถึงบรรยากาศของพื้นที่ในตอนถนนเยาวราชของยุคนี้วาเต็ม ไปดวยความคึก คัก พลุพ ลาน ของผูค นที่ม าจากทั่วทุก สารทิศ ซึ่ง มาจับ จายใชส อย และบริก ารของกลุม นายทุน นอยที่กําลังจะขยับขยายฐานะของตนผานการเสนอขายสินคา และบริก ารนานาชนิดที่แปลก ใหมใหกับคนเมืองนับวาพื้นที่บริเวณนี้จึงเปนจุดที่สรางสีสันใหกับพระนครในระยะดัง กลาวได ไมนอย พัฒนาการของพื้นที่ชุมชนเลื่อ นฤทธิ์ในยุคนี้ สรุป ไดวาหลัง จากที่ก รมพระคลัง ขางที่ ไดส รางตึก แถวใหเ ชาเสร็จ แลว พื้น ที่เ ลื่อ นฤทธิ์ไดก ลายเปนหมูบานพัก อยูอ าศัยและทําการ คา ขายเล็ก ๆนอ ยๆของคนหลากหลายกลุม ทั้ง คนไทย คนตา งชาติ โดยเฉพาะกลุม คนจีน พื้นที่นี้ยัง คงมีป ฏิสัม พันธอ ยางตอ เนื่อ งกับ ตัวตลาดสําเพ็ง เนื่อ งจากสําเพ็ง แหลง คาขายผาที่ เปน แหลง วัต ถุดิบ นํา มาตัดเย็บ เสื้อ ผาสํา เร็จ รูป ซึ่ง เปน กิจ กรรมการคา หลัก ของคนในพื้น ที่ รวมไปถึง พื้น ที่ดา นหนาของยา นที่ติด กับ ถนนเยาวราชยัง เปน เสน ทางการสัญ จรทางบกที่ สําคัญซึ่งสามารถเชื่อมโยงไปยังยานการคาอื่นๆในละแวกเดียวกัน

ชว งที่ 3 ยุค ขยับ ขยายและการเขา มาแทนที ่ข องธุร กิจ คา ผา (พ.ศ.2500 ปจจุบัน) ในป พ.ศ.2500 การถือ ครองที่ดินในพื้นที่ชุม ชนเลื่อ นฤทธิ์ของกรมพระคลัง ขางที่ได เปลี่ยนมาอยูในการถือ ครองของสํานัก งานทรัพ ยสินสวนพระมหากษัตริย เนื่อ งจากไดมีก าร จัด ระเบีย บเกี่ย วกับ ทรัพ ยส ิน สว นพระมหากษัต ริยใ หม ตามพระราชบัญ ญัต ิจ ัด ระเบีย บ ทรัพยสินฝายพระมหากษัตริย ตั้ง แตป พ.ศ. 2479 แกไขเพิ่ม เติม พ.ศ.2484 และ พ.ศ.2491 ซึ่งที่ดินบริเวณชุมชนเลื่อนฤทธิ์สํานักงานทรัพยสินฯไดรับโอนมาจากสํานัก งานพระคลัง ขางที่ เมื่อ วันที่ 14 สิง หาคม 2500 จํานวน 1 แปลง คือ โฉนดที่ดินเลข 3312 และรับ โอนมาจาก กระทรวงการคลัง เมื่อ วันที่ 21 เมษายน 2501 จํานวน 7 แปลง และมีโ ฉนดตกคางอีก 1 แปลง ซึ่งมีการออกในป 2546 ที่ผานมา (สํานักงานทรัพยสินสวนพระมหากษัตริย ม.ป.ป.:2)

19


ตั้งแตทศวรรษที่ 2500 เปนตนมา รัฐสวนกลางเริ่มมีแนวนโยบายการพัฒ นาประเทศ ที่ชัด เจน โดยปรากฏจากการเริ ่ม ใชแ ผนพัฒ นาเศรษฐกิจ และสัง คมแหง ชาติ ในป 2504 ผลจากแผนดัง กลาวไดทําใหเ กิดการเปลี่ยนแปลงตอ สัง คมไทยในหลายประการ อยางเชน การใหความสําคัญกับการลงทุนพัฒนาภาคอุตสาหกรรมอยางเขม ขนมากขึ้นเกิดการขยายตัว ของเมือ งโดยเฉพาะพื้นที่ก รุง เทพมหานครไดก ลายเปนพื้นที่แหง ความหวัง เปนแหลง ดึง ดูด ผูค นกลุม ตา งๆเพื่อ ที่จ ะเขามาแสวงหารายไดแ ละเริ่ม ตน ชีวิต ใหม ในชว งนี้เ องพื้น ที่ชุม ชน เลื่อนฤทธิ์ ก็ไดมีผูคนกลุมใหมๆ เขามาอาศัยอยูในพื้นที่อยางตอเนื่องเปนเพราะวาผูเ ชาเดิม ได ทยอยยายกันออกไปหาแหลงที่อยูใหมโดยเฉพาะในกลุม ของผูที่ป ระกอบกิจ กรรมการตัดเย็บ เสื ้อ ผา สํ า เร็จ รูป ที ่ม ีก ารยา ยออกไปอยู ต ามแหลง การคา เสื ้อ ผา ในยา นอื ่น ที ่เ กิด ขึ ้น ใหม ผนวกกับ ความกาวหนา ในเทคโนโลยีที่ใชในอุตสาหกรรมการตัด เย็บ เสื้อ ผา ดัง นั้น จึง ทําให ผูประกอบการหลายรายในพื้นที่ ซึ่งมีทุนหรือเงินเก็บเพียงพอ ก็คิดที่จ ะยายออกไปเพื่อ ขยาย กิจการโดยหาที่อยูใหมในแหลงอื่นๆ สําหรับกลุม คนที่เ ขามาอยูใหมนี้ ไดแก กลุม คนจีนที่ม า ขยับขยายตัวมาจากตลาดสําเพ็ง กลุมชาวอินเดียบางสวนที่มาจากพื้นที่ใกลเ คียง เชน พาหุรัด หรือ ที่ม าจากตางประเทศ กลุม คนที่ม าจากตา งจัง หวัด การเขา มาของกลุม คนเหลา นี้เ กือ บ ทั้งหมดจะเขามาคาขายสินคาสงจําพวกผามวนผาพับตางๆซึ่งกําลังเปนที่ตองการของตลาดใน ระยะเวลาดังกลาว เนื่องจากอุตสาหกรรมสิ่งทอไดรับการสนับสนุนจากรัฐ หลัง จากที่รัฐ บาล ไดออกพระราชบัญญัติสงเสริมอุตสาหกรรมในป พ.ศ. 2505 ปจจัยดัง กลาวจึง สง ผลใหสินคา ผาทอ ผามวนประเภทตางๆที่จําหนายอยูในตลาดสําเพ็ง ตลอดแนวสองฝง ถนนวานิช 1 และ ในพื้น ที่ชุม ชนเลื่อ นฤทธิ์ล วนเปนวัต ถุดิบ ที่นํา ไปแปรรูป เปน เสื้อ ผา สํา เร็จ รูป และสิน คา ที่มี สวนประกอบจากผาประเภทตางๆซึ่งเปนทั้งสินคาสงออกและใชภายในประเทศที่มีป ริม าณสูง มากในชว งทศวรรษ 2510 เปน ตน มา (วารสารเศรษฐกิจ และสัง คม 2531:4-13) เจาของ กิจการคาผาในฐานะพอ คาคนกลางเหลานี้ลวนแลวแตมีป ระสบการณเ ปนทุนเดิม อยูแลวใน การคาขาย อยางเชนในกลุมของคนจีนที่สวนใหญเคยเปนลูกจางเข็นผามากอนในตลาดสําเพ็ง และพัฒนาตัวเองมาเปนเจาของกิจการ กลุมคนอินเดียที่มีความสามารถทางดานการคาอีก ทั้ง ยัง มีแ หลง ที่ม าหรือ ตนตอของประเทศซึ่ง มีวัตถุดิบ คือ ฝายในการผลิตผา อยูเ ปนจํานวนมาก และมีเ ครือ ขา ยทางการคา ในกลุม ชาติพ ัน ธุเ ดีย วกัน แตอ ยา งไรก็ต ามไดม ีผูค นบางสว นที่ จําหนา ยสินคาประเภทอื่น ๆในพื้น ที่ดวย เชน สิน คา จํา พวกยา อุป กรณ ชิ้นสว น ฮารด แวร ประกอบเครื่อ งจัก รนานาชนิด ซึ่ง จะทําการคาขายอยูในตึก แถวแถบที่ติด กับ ถนนเยาวราช ในขณะที่ผูคาสงสินคาผาสวนใหญจะอยูถัดเขามาทางตอนในของพื้นที่ซึ่ง ติดตอ กับ ถนนวานิช 1 และดานถนนมหาจักร สถานการณดังกลาวสะทอ นออกมาจากคําบอกเลาของผูคนที่อ ยูใน พื้นที่มาเปนเวลานาน เชน 20


ลุงกี อายุ 65 ป เลาใหฟงวา “คนที่ขายผาอยูในสําเพ็ง มันเต็มตรงนี้มันอยูใกล เขาก็ม าจับ จอง ถาใครออกอีกคนหนึ่งก็เชา พูดตอ ๆกันไป ตั้ง แตหัวเม็ดไปถึง วัดเกาะ เปนผาทั้ง นั้น อยางลุง เคยเปนลูก จา งเข็น ผามากอ นแลว ก็เ ขา มาอยู ประมาณ 40 ปแ ลว ตอนนั้นถนนยัง เปนดินอยูเ ลย”(สัม ภาษณ 20 ธันวาคม 2549) ลุงฮวด เลาใหฟงวา “แตก อ นที ่เ นี ้ย ก็อ ยู อ าศัย และคา ขายนิด ๆหนอ ยๆ พอคนใน ครอบครัวเยอะ แตง งาน มีลูก ที่ก็ไมพ อใหอ ยู ก็ยายออกไป คนจาก สํ า เพ็ง ที ่อื ่น บา งก็เ ขา มา บางคนก็ไ ปคา ขายที ่อื ่น ที ่อ ยู ม ัน เล็ก ไปแลว”(สัมภาษณ 9 พฤศจิกายน 2549) หรือ กรณีของเจเอ็ง อายุ 45 ป เลาวา “แตกอนอยูขางหลัง ยายเขามาป 17 ที่บานคนมันเยอะยี่สิบ กวา คนได ตอนนี้แ ยกออกไปแลว ตอนอยูสํา เพ็ง ขายของชํา รุน ปู อากง มาจากเมืองจีน ที่บานขายสงโชหวย พวกเครื่องสําอาง ยาทาเล็บ ขาย สง พอคนในครอบครัวมากก็ยายไปทําอยางอื่นที่นี่มันใกลสําเพ็ง ก็เ ลย มาอยู” (สัมภาษณ 6 กุมภาพันธ 2550) การเริ่มเขามาอยูในพื้นที่ของผูคนกลุมใหมที่เขามาประกอบการคาขายผากับ ผูเ ชาที่มี อยูเ ดิม เปนจํานวนมากไดทําใหบ รรยากาศของพื้นที่ในชวงนี้จึง คึก คัก เปนพิเ ศษ ทั้ง ทางดา น การคา ที่พื้น ที่ชุม ชนเลื่อ นฤทธิ์ไ ดก ลายเปน พื้น ที่คา สง ผา ที่สํา คัญ ของกรุง เทพฯแหง หนึ่ง ที่ ตอเนื่องกับตลาด สําเพ็ง และดานความสัมพันธทางสังคม เชน การที่ผูคนในชุม ชนรูจัก มัก คุน สนิทสนมกันเปนอยางดี ดังคําบอกเลาของ ลุงโต อายุ 62 ป เลาใหฟงวา “สมัยกอนอยูแบบชาวบาน กลางคืนจะมีคนมาขายของกันอยูห นา บาน เปนบรรยากาศแบบโบราณ รูจัก กัน หมด แตส นิท กันก็อีก เรื่อ ง คนสว นใหญที ่อ าศัย อยู ใ นละแวกนี ้ ก็จ ะรู จ ัก กัน วา คนนี ้อ ยู บ า นนี้ บานนั้น บางคนคุยกัน ถูก คอ ตกเย็นเขาก็ไมมีอ ะไรทํา ก็จ ะมานั่ง กิน น้ําชา โขกหมากรุกจีนกัน”(สัมภาษณ 8 พฤศจิกายน 2549) 21


ปาเกียว เลาวา “...แตกอนในเนี่ยมีทั้ง ทําผม โรงพิม พ คลีนิก ทําคลอดยัง มีเ ลยอยู ปากซอย มีพ วกนัก ดนตรี คนกวา งตุง ฝก ซอ มไปเลนที่เ หลาขางนอก แถววัด ตึก ก็ขายยา ขา งในไมคอ ยมีร ถเขามาหรอก ขางนอกก็มีห า ง ใตฟา ตอนนี้ก็เ ปนแกรนไชนา มีภัตตาคารกง จี่เ หลาตรง ธ.ทหารไทย เปนโรงหนัง เลยไปก็เปนหาง...กวาจะนอนนั่ง คุยกัน สมัยกอ นโนนนะ กวา จะปดงานจริง ๆก็ 2 ทุม ออกมานั่ง ตากลมเกาะกลุม คุย กัน ไมมี ขโมย ขโจรหรอก มีข องเข็น มาขาย สมัย โนน ทีว ีก ็ไ มม ี สมัย กอ น บรรยากาศมันดีกวาเยอะ”(สัมภาษณ 6 กุมภาพันธ 2550) เชนเดียวกัน พี่เหลียง อายุ 56 เลาวา “สมัยกอนผมกลับมาจากเรียนหนังสือมันก็จ ะมีรานขายกวยเตี๋ยว ขายกาแฟ เปน เพื่อ นกัน อยา งเราขายผา เขาขายกาแฟ อีก คนขาย กวยเตี่ยวราดหนา กวยเตี๋ยวน้ํา ตกกลางคืนก็มีคนมาตั้ง โตะ หนาบาน เรา ขายกว ยเตี ๋ย วหลอด มีก ะทั ่ง คนพับ กระดาษโกงเต็ก ยัง มีเ ลย มีของหลากหลาย” (สัมภาษณ 8 พฤศจิกายน 2549) สําหรับ บรรยากาศทางดานการคาของพื้นที่แหง นี้ซึ่ง เปนแหลง คาสง ผาทอตอ เนื่อ ง จากตลาดสํา เพ็ง ที่สํา คัญ ก็ม ีล ูก คา ติด ตอ ซื้อ ขายกัน อยา งไมข าดสายทั้ง ลูก คา ที่อ ยูใ นพื้น ที่ กรุง เทพฯและจากตา งหวัด และในโรงงานอุต สาหกรรมตัดเย็บ เสื้อ ผาสําเร็จ รูป ตามแหลง ตางๆ สินคาผาที่มีจํา หนายอยูในพื้นที่มีอ ยูดวยกันหลากหลายชนิด ตั้ง แตอ ดีตถึง ปจ จุบันที่มี การคิด คนขึ้น มา เชน ผาแพร ผามุง ผา ตาขา ย ผาสโรง ผาเทป ผา กํามะหยี ผาฝาย ผายืด ผาไนลอน ผาหางกระรอก ผาลูกไม ผาดิบ ผาทีซี ผาพิม พ ผาเรยอ น ผาโพลีเ อสเตอร ผาคอ ตตอน ผาทีฮาร ผาซีวีซี ผาฟลลาเมนท ผาเท็กซเจอร ผาสําลี ผาซาติน ผาโซลอ น ผาชีฟ รอง ผา รม ฯ เปน ตน ผา นานาชนิด เหลา นี้จ ะถูก ซื้อ มาจากโรงงานทั้ง ภายในและตา งประเทศ โดยเฉพาะโรงงานตางประเทศ เชนญี่ปุน เกาหลีใตที่เ ขามาตั้ง โรงงานในไทย รวมทั้ง บริษัท ผูแทนจําหนายตางๆ โดยพอ คาคนกลางในพื้นที่จ ะซื้อ ตอ มาแลวนําไปจําหนายตอ แกโ รงงาน แปรรูปหรือผูคารายยอยอื่นๆอีกทอดหนึ่งซึ่งจะนําไปทําเปนผลิตภัณฑนานาชนิดที่จําเปนตอ ง ใชผาเปนสวนประกอบหลัก เชน เสื้อผาสําเร็จรูป กางเกง เสื้อเชิ้ต ผามาน ผาปูที่นอน หมอน มุง ถุง มือ รองเทา ชุดชั้น ใน ผาหม ผา เย็น ผาออ ม รม ฯ เปนตน นอกจากนี้บ รรดาลูก จา ง 22


ของรา นคา ภายในพื้น ที่ก็เ ปลี่ยนมาเปน ผูคนที่ม าจากภาคอีส านเปนสวนใหญซึ่ง เขา มาขาย แรงงานในเมือง แตกตางจากยุคกอนหนานี้ที่กลุมลูกจางเปนคนจีนทั้ง หมด เจาของกิจ การคา สงผาทอหลายคนเลาถึงลักษณะของการจําหนายผาในอดีตถึงปจจุบันใหฟงวา ลุงจง เจาของรานขายผา อายุ 61 ป เลาวา “แตก อ น มีแ ตค น จีน ทั ้ง นั ้น ใน เ นี ้ย พวกแ ข กเ ขา ม า ทีห ลัง พวกพอ คา จะเขา มาสั่ง ของดว ยตัว เอง เอารถมาขนของ บางทีเ ราก็ สงไปใหทางรถ พอตอนหลัง ใหเ ซลออกไปขายสั่ง มาทางโทรศัพ ท แต บางคนเขาก็มาเองโดยตรง”(สัมภาษณ 20 ธันวาคม 2549) ลุงกี เลาวา “สําเพ็งมันเต็มแลวก็ขยายออกมา...ผาก็สั่ง จากตางประเทศ พวก ญี่ปุน เกาหลีที่มาตั้งโรงงาน เราก็ซื้อ เขามาขาย เขาผลิตแลวมาเสนอ ขายเราที่นี้ เราก็ข ายตอ ลูก คา จะอยูภ ายในตามตา งจัง หวัด...อยา ง เสื้อ ผาที่เ ปนโหลๆ ที่ล ดราคาขายเปนกะบะขึ้นหา งก็ม าจากผาพวก เนี้ยจะเอาผาไปทําอะไรตัดอะไรในเนี่ยมีหมด”(สัมภาษณ 20 ธันวาคม 2549) ลุงโอ อายุ 59 ป เลาวา “ทุนสมัยกอ นก็ม าจากพวกยี่ปว เราสั่ง แลวก็ม าขาย เขาก็จ ะไป รับผามาจากโรงงานอีกทีจะมีสัญญาตอเดือน/ปเทาไหร สมัยกอ นยี่ปว ก็ข ายใหซ าปว ซาปวขายปลีก ยอ ยทั่วไป แตส มัยนี้ยี่ปวสามารถขาย ปลีกไดทุกอยางไมมีการแบง เกรด คือ สมัยกอ นพวกยี่ปวขายสง อยาง เดียวขายปลีกก็มีแคซาปว”(สัมภาษณ 6 กุมภาพันธ 2550) พี่เหลี่ยง เลาวา “สมัยกอ นมีห ลากหลาย ผาสั่ง มาจากนอกเขามา เพราะสมัยนั้น คนไทยไมมีความสามารถจนกระทั่ง สั่ง ผาจากญี่ปุน ผาคอนตอ นจาก อียิป ต ผา บูม าจากสวิต อัง กฤษ พอตอนหลัง ญี่ปุน มาทํา โรงงานใน เมืองไทย มากลายเปนของทําภายในประเทศมาก อยางญี่ปุนยัง มี QC อยูม ันก็มีห ลายโรงงาน ในที่นี้มีทั้ง รา นขายผา ทําเสื้อ ผา ทํากางเกง หลายชนิด” (สัมภาษณ 8 พฤศจิกายน 2549)

23


เมื่อ เวลาการใชชีวิต ของกลุม ผูค นกลุม ใหมนี้ดํา เนินไปไดสัก ระยะหนึ่ง ก็เ ริ่ม ที่จ ะมี จํานวนสมาชิกในครอบครัวเพิ่มขึ้นทําใหพื้นที่อยูอาศัยคับ แคบลงไมเ พียงพอตอ ความตอ งการ คาขายและอยูอาศัย ในชวงนี้บานหลายหลังจึง ไดทําการตอ เติม อาคารใหมีความสูง ขึ้นไปเพื่อ เพิ่มพื้นที่การใชสอยอีก 1–2 ชั้นจากที่มีอ ยูเ ดิม 2 ชั้น อยางไรก็ดีก ารขยับ ขยายพื้นที่ดัง กลาว นี้ ถึงแมวาจะเพียงพอตอ การใชส อยของบางครอบครัว แตบ างครอบครัวก็ไมพ อใชจึง ทําให สมาชิกในรุนลูก รุนหลานของหลายครอบครัวไดไปหาที่อ ยูใหมในแถบชานเมือ ง บุตร หลาน บางสวนที่สืบทอดกิจการตอจากคนรุนพอ ก็เขามาทํางานในพื้นที่ชวงเชา พอตกเย็นก็ก ลับ ไป พักนอกพื้นที่ จึงทําใหเกิดการแบงแยกกันระหวางที่อ ยูอ าศัยและสถานที่ทํางานขึ้น ในขณะที่ สมาชิก บางสว นไปประกอบอาชีพ อื่นๆ ก็แยกครอบครัว ตนเองออกไปอยูนอกพื้นที่เ ชนกัน การอยูพักอาศัยอยูในพื้นที่จึงยังอยูเฉพาะกลุม คนรุนพอ รุนแม ที่ยัง คงมีความผูก พันตอ พื้นที่ ขณะที่บ างครอบครัวธุร กิจ ถึง จุดอิ่ม ตัว ไมมีผูส านกิจ การตอ บุตรหลาน ไปทํางานดานอื่น ก็ อพยพยายออกไปอยูขางนอกทั้งหมด สวนหองเชาก็มีก ารใหผูที่ส นใจโดยเฉพาะบริษัท คาผา ทอรายใหมๆที่เขามาอยางตอเนื่อง มาเชาเซงพื้นที่ของตนเพื่อ หารายไดจ ากคาเชาที่อีก ทีห นึ่ง ดังที่ลุงโอ เลาใหฟงวา “ลูก คนจีน ตอนนี้พ อโตขึ ้น มาเรีย นสูง การปะติด ปะตอ การคา ระหวางพอลูกก็ไมมี เขาสนใจทําอยางอื่นคนขายก็ห ายไปหมด...คนที่ ไตเตาจากเซลมาเปนเฒาแกก็มี เซลบางคนที่ซื่อ สัตย ขยัน อยูกันนาน มีป ระสบการณ นายจางบางคนก็ส นับ สนุน ใหท ุนออกเงินใหก อ น ก็ เปดสาขา ”(สัมภาษณ 6 กุมภาพันธ 2550) พี่เหลี่ยง กลาววา “สมัยกอ นอยางที่บานคุณพอ แตง งานมีลูก 2 คน 3 คน บานมี 2 ชั้นคาขายไปดวยก็อยูได สมัยนี้ลูกโตมาจะแตง งาน หอ งนอนมี 2 หอ ง ก็น อนไมไ ดแ ลวไง คนที่เ ขามีโ อกาสมีป ญ ญาเขาก็ขยับ ขยายออกไป แตก ็ย ัง มาทํ า งานที ่นี ่...บางคนทํ า จนกระทั ่ง อิ ่ม ตัว จนยา ยไปอยู ขางนอก บางคนก็เ ปลี่ยนกิจ การไปเลย คนที่เ จ็ง ไปก็มี คือ ประมาณ วาคนในอยากออกคนนอกก็อ ยากเขามา” (สัม ภาษณ 8 พฤศจิก ายน 2549)

24


เชนเดียวกับพี่จั๊ว อายุ 41 ป กลาววา “การคา ขยายตัว คนจีน สมัย กอ นใชบ า นเปน ทั้ง ที่อ ยูอ าศัย กิน นอน โกดังเก็บ สินคา เปนที่คาขายดวย พอครอบครัวขยาย มีลูก มาก โตขึ้น การใชป ระโยชนจ ากพื้นที่ คนรุนลูก หลานก็ขยับ ขยายออกไป อยูที่อื่น คนที่อยูอาศัยจริงมีจํานวนนอ ยมาก แตวาคนเฒาคนแกก็จ ะ อยู เขาจะผูก พันไมไปไหน อยางพอ ผมเขาก็จ ะอยูที่นี้” (สัม ภาษณ 8 ตุลาคม 2549) ชุมชนเลื่อนฤทธิ์ในระยะหลังนี้จึง ดูที่จ ะคึก คัก มากในชวงกลางวันขณะที่ชวงกลางคืน เต็มไปดวยความเงียบเหงาบรรยากาศไมเหมือนแตกอนขณะเดียวกันความสัม พันธท างสัง คมก็ แตกตางจากในชวงตนของระยะนี้ม าก เนื่อ งจากตางคนตางตอ งยุง อยูกับ ธุร กิจ ของตน และ การเดิน ทางไปมาระหวา งพื ้น ที ่ใ นแตล ะวัน ซึ ่ง ตอ งใชเ วลานาน ปา เกีย ว เปรีย บเทีย บ บรรยากาศใน อดีตและปจจุบันใหฟงวา “สมัยกอ นคนมาอยูมันมีลูก มีเ ตามาก เด็ก เปนรอ ยเลยนะในเนี้ย มัน เลน กัน เองก็จ ะรู จ ัก กัน หมด พอ แมก ็รู จ ัก คนนี้ชื ่อ อะไรลูก ใคร สมัย นี้ต อนเย็นๆ เขามีบา นขางนอกก็ป ดกันหมด ...บรรยากาศตอน ตรุษจีน ตื่นเตน สนุก มากมากเลย เสียงเปด ไก เนี้ยรอ งกันระงมเลย เขาเชือดกันเองคึกครึ้น เดี่ยวเนี้ยตรุษจีนปดประตูกันเงียบ”(สัม ภาษณ 6 กุมภาพันธ 2550) พี่จั๊ว กลาววา “คนอยูเดิมก็เปนเพื่อนบานกัน แตวาความสนิทก็ตางกันไมเ หมือ น คนแกคนเฒา ทุกวันนี้ตื่นเชาเปดรานมาก็จัดรานขายของพอตกเย็นก็ ปดบานไปอยู ขางนอก แต 50 – 60 ปกอ นคนแกคนเฒาเขาจะมีก าร ม า นั ่ง พ ูด คุย ก ัน ม ีก า ร เ จี ๊ย ะ เ ต ม ีเ ท ศ ก า ล ไ ห วต อ น ต รุษ จ ีน ไหวพระจันทร” (สัมภาษณ 8 ตุลาคม 2549) สถานการณในพื้นที่ตั้ง แตท ศวรรษ 2540 เปนตนมา มีเ หตุก ารณสําคัญ ที่เ กิดขึ้นใน พื้น ที่ห ลายอยา ง ในป พ.ศ. 2540 พื้น ที่เ ลื่อ นฤทธิ์ไ ดถูก จดทะเบียนเปน ชุม ชนอยา งเปน ทางการจากสํานัก งานเขต เมื่อ วันที่ 13 มิถุนายน จากสํานัก งานเขตสัม พันธวงศ ตอ มาในป 2544 มีก ารเลือ กพื ้น ที่ข องชุม ชนใหเ ปน พื้น ที่ป รับ ปรุง ตัว อยา งในฐานะพื ้น ที่สํา คัญ ทาง ประวัติศาสตรจ ากสํานัก ผัง เมือ ง กรุง เทพมหานคร โดยในป 2545 ไดมีก ารปรับ ปรุง ทาสี 25


ปูก ระเบื ้อ งถนนใหมเ พื ่อ เปน การสง เสริม การทอ งเที ่ย วซึ ่ง เปน สว นตอ เนื ่อ งกับ เกาะ รัตนโกสินทร และในป 2546 เจาของพื้นที่ คือ สํา นัก งานทรัพ ยสินฯสวนพระมหากษัตริย มีโ ครงการที่จ ะพัฒ นาพื้น ที่บ ริเ วณนี้ใ หมใ หก ลายเปน ศูนยก ารคา ขนาดใหญซึ่ง ก็ไ ดรับ การ คัดคานจากผูคนที่อยูอาศัย พัฒนาการของพื้นที่ชุมชนเลื่อนฤทธิ์ในระยะนี้ส รุป ไดวา เกิดการเปลี่ยนแปลงใหเ ห็น อยางชัดเจนโดยเฉพาะในดานของการใชพื้นที่จ ากผูคนที่ยายเขามาอยูใหมซึ่ง ไดทําใหพื้นที่นี้ กลายเปนแหลงธุรกิจคาสงผาทอที่ใหญแหงหนึ่งของกรุง เทพฯ เกิดการแบง แยกกันระหวางที่ อยูอาศัยกับสถานที่ทํางานของผูคนในพื้นที่เนื่องจากครอบครัวขยายขึ้นทําใหพื้นที่ที่มีอ ยูอ ยาง จํากัดมีไมเพียงพอกับความตอ งการ จึง ไดสง ผลใหบ รรยากาศความคึก คัก ของชุม ชนมีเ ฉพาะ ในชว งเวลากลางวัน และที่สําคัญ คือ การพัฒ นาพื้นที่ใหเ ปนศูนยก ารคา ตามนโยบายของ เจาของที่ดินซึ่งสรางความกังวลใจไมนอยใหกับผูคนที่อยูอาศัยในพื้นที่ ณ ชวงเวลาปจจุบัน

ลักษณะทางกายภาพของชุมชนในปจจุบัน จากการสํารวจทางกายภาพ และศึกษาแผนที่ พบวา พื้นที่ของชุม ชนเลื่อ นฤทธิ์ตั้ง อยู ใน แขวงจัก ร วรร ดิ เ ขต สัม พัน ธวง ศ อ ยู ใ น ฝ ง พร ะ นคร ภาย ใตก าร ปก ครอ งขอ ง กรุงเทพมหานคร เปนยานธุรกิจใจกลางเมือง มีขนาดเนื้อที่ประมาณ 6 ไร 3 งาน 95 วา หรือ 2,795 ตารางวา หากพิจ ารณาจากแผนผัง พื้น ที่ข องชุม ชนจะมีล ัก ษณะคอ นขา งเปน รูป สี่เหลี่ยมจัตุรัส โดยมีอาณาเขตติดตอพื้นที่ตางๆ ดังนี้ ดานทิศเหนือ ติดตอ กับ ถนนเยาวราชสว นปลาย ใกลแยกวัดตึก โดยพื้น ที่ ฝงตรงขามคือตลาดคลองถม ดานทิศใต ติดตอกับถนนวานิช1 บริเวณดังกลาวเปนยานการคาสําเพ็ง ดานทิศตะวันออก ติดตอกับถนนมหาจักร (เดิมคือคลองวัดสามปลื้ม ตอมา มีการถมคลองนี้ผูคนโดยทั่วไปจึงเรียกวา คลองถม) และยานการคาสําเพ็ง ดานทิศตะวันตก ติดตอกับถนนจักรวรรดิ โดยพื้นที่ฝงตรงขามคือยานการคา ตลาดสะพานหันและตลาดพาหุรัด

26


27

ภาพที่ 8 แสดงตําแหนงชุมชนเลื่อนฤทธิ์ และเขตสัมพันธวงศ ที่มา : สุภางค จันทวานิช (2549:ไมปรากฏเลขหนา)


28

ภาพที่ 9 แผนที่แสดงอาณาบริเวณติดตอของชุมชน และพื้นที่ใกลเคียง


ดว ยลัก ษณะของสถานที่ซึ่ง ติด ตอ กับ พื้น ที่ ถือ ไดวาชุม ชนเลื่อ นฤทธิ์แ หง นี้ตั้ง อยูใ น แหลงใจกลางยานธุรกิจที่สําคัญ ซึ่ง แวดลอ มอยูโ ดยรอบ จึง ทําใหเ กิดผลดีแกชุม ชนอยูดวยกัน หลายดาน ประการแรก คือ ทําใหงายตอการเขาถึงพื้นที่ทั้งทางรถยนตและการเดินเทาเพราะวา มีเสนทางคมนาคมโดยเฉพาะการมีถนนเยาวราช ถนนจัก รวรรดิ ถนนมหาจัก ร ซอยวานิช อยูรอบทิศทางของยาน ถนนเหลานี้ยัง เชื่อ มตอ กับ ถนนอื่นๆอีก หลายสายในเขตสัม พันธวงศ โดยเฉพาะถนนเยาวราชที่ถือ เปนเสนทางหลัก สําคัญ ของการเขามาใชบ ริก ารในยานการคา ตางๆของพื้นที่เขตนี้ ประการที่ส อง คือ การเปนตัวสนับ สนุนการคาซึ่ง กันและกัน ระหวางยานใกลเ คีย ง เนื่องจากระยะหางของแตล ะพื้นที่ไมไกลกันมากนัก ทําใหผูคนสามารถที่จ ะเดินทางไปมาใน การจับ จา ยใชส อยสิ่ง ของที่ตอ งการไดห ลายอยางในระยะเวลาอันสั้น ดวยถนนหนทางและ ตรอก ซอกซอยตางๆที่เชื่อมโยงถึงกัน เชน ในทิศเหนือบริเ วณดานหนาของพื้นที่ชุม ชนติดกับ ถนนเยาวราชอันเปนเสน ทางเขาสําหรับ การเดินทางเทาของพื้นที่เ ขตสัม พัน ธวงศและพื้น ที่ ใกลเ คีย งอยา งเชน ตลาดคลองถมขา มไปยัง ถนนเจริญ กรุง บริเ วณเวิ้ง นครเขษมและยา น วรจักร ในดานทิศใตของพื้นที่ที่ติดตอกับถนนวานิช 1 ซึ่ง ภายในพื้นที่มีเ สนทางเดินทะลุเ ชื่อ ม เขาไปในตลาดสําเพ็ง ทิศตะวันออกในดานถนนมหาจัก รสามารถที่จ ะเดินเทาไปบริเ วณยาน ราชวงศ ทรงวาด สวนในดานทิศตะวันตกซึ่ง ติดกับ ถนนจัก รวรรดิก็ส ามารถที่จ ะเดินเทาขาม ไปยังบริเวณตลาดสะพานหัน และยานพาหุรัดได นอกจากนี้ หากไดเ ดินสํา รวจภายในพื้นที่โ ดยรอบ จะพบวาบริเ วณพื้นที่ของชุม ชน นับ เปน พื้น ที่เ ปด สามารถจะเดินเขา มาภายในพื้น ที่ไ ดท ุก ทิศทาง เพราะมีซ อยใหญๆ อยู 3 ซอย คือ ซอยเลื่อนฤทธิ์ 1 2 (ซอยกลาง) และ 3 ซึ่ง เปนถนนที่วางตัวขนานกัน และเชื่อ มตอ กันไดดวยเสนทางที่อยูบริเวณทิศเหนือและทิศใต อีกทั้งยังมีซอยเลื่อนฤทธิ์ดานถนนจัก รวรรดิ ที่เชื่อมตอกับซอยเลื่อนฤทธิ์ 1 รวมไปถึงยังมีชองทางเดินเล็กๆกวางประมาณ 2 เมตรกลางตัว อาคาร คือ อาคารดา นถนนมหาจัก ร และอาคารดา นที ่ต ิด กับ ถนนวานิช ดว ยลัก ษณะ ดังกลาวจึงนับเปนขอดีตอกลุมผูที่อาศัย และกลุมผูเขามาใชบ ริก ารภายในพื้นที่ทําใหส ามารถ ที่จะสัญจรไปมาถึงกันไดอยางสะดวก - การสัญจรในพื้นที่ ดวยลัก ษณะทางกายภาพของพื้นที่ ซึ่ง มีซ อยใหญๆ 3 ซอย และตรอกทางเดินอยู หลายทิศทางที่เชื่อมตอกัน จึงทําใหการการสัญจรภายในพื้นที่ชุมชนเลื่อ นฤทธิ์ มีอ ยูดวยกัน 2 ลัก ษณะ คือ ลัก ษณะการสัญ จรทางรถยนตจ ะเปน ทางเดิน รถทางเดีย ว เขาภายในตัว พื้น ที่ ทางดา นทิศเหนือ คือ ซอยเลื่อ นฤทธิ์ 3 จากถนนเยาวราช เขา มาสูพื้นที่แ ละวนขวาเปน 29


วงรอบเขาหรือ ผานในซอยเลื่อ นฤทธิ์ 3 และ 2 (ซอยกลาง) และไปออกที่ซ อยเลื่อ นฤทธิ์ 1 เพื่อเขาสูถนนเยาวราชเกือบถึงบริเวณแยกวัดตึก และระบบการสัญจรทางเทา โดยจากการสํารวจพบวามีขนาดทางเดินเทาประมาณ กวาง 1 เมตร ตามลัก ษณะของอาคาร ซึ่ง บางสวนถูก รุก ล้ําจากรานคาแผงลอย และการใช พื้นที่เพื่อจอดรถจักรยานยนต วางวัสดุ หีบหอ ผามวน กระถางตนไมของแตล ะบาน จึง ทําให ไมสามารถเดินได จากการเฝาสัง เกตพบวาปริม าณความหนาแนนของการสัญ จรภายในพื้นที่จ ะอยูใ น ชวงเวลาประมาณ 09.00 – 16.30 น. เพราะชวงเวลาดังกลาวจะมีร ถขนสง สินคาทั้ง รถกะบะ 4 ลอ 6 ลอ และรถจักรยานยนต(เวสปา)นําสินคาประเภทผาทอ ผามวนเขามาสง ในปริม าณ มากพอสมควร รวมถึง ในบริเ วณดา นถนนมหาจัก รที ่ม ีป ริม าณรถขนสง คา อยูจํา นวนมาก เชนกันเนื่อ งจากฝง ตรงขามกับ ตัวพื้นที่และลึก เขาไปตอนในของถนนมหาจัก รจะเต็ม ไปดวย รานคาสงผาพับ ผามวนเปนจํานวนมาก นอกจากนี้ยังพบวาลักษณะเสนทางการสัญ จรภายใน พื้นที่ โดยเฉพาะดวยความกวางของถนนในแตละซอยรถขนสงสินคาสามารถวิ่ง สวนทางไปมา ไดอยางสะดวก แตโดยสวนใหญแลวรถขนสง สินคาจะจอดบริเ วณดานฝง ซายหรือ ฝง ขวาของ อาคารเพื่อขนสงสินคา และเหลือพื้นที่อีกดานหนึ่งไวสําหรับการสัญ จร ทั้ง นี้ภายในชุม ชนไดมี การกําหนดขอตกลงในการจอดรถโดยวันที่เปนเลขคูและเลขคี่จะจอดรถไปในทิศทางเดียวกัน ในชวงเวลาเย็นยัง พบวามีก ารนํารถยนตสวนบุคคลเขามาจอดในบริเ วณพื้นที่ทั้ง จากรถยนต ของผูประกอบกิจการและรถเข็นสินคาของผูประกอบการคาแผงลอยที่จอดไวจํานวนหลายคัน โดยในชวงกลางคืนจะมียามรักษาความปลอดภัยดูแลพื้นที่ตลอดทั้งคืน

กิจกรรมในพื้นที่ชุมชน หากพิจารณาถึงกิจกรรมการใชพื้นที่ห ลัก คือ พื้นที่เ ขตสัม พันธวงศ ซึ่ง มีเ นื้อ ที่ทั้ง หมด ประมาณ 1.416 ตารางกิโ ลเมตร หรือ ประมาณ 912.80 ไร รอ ยละ 0.09 ของพื้น ที่ กรุงเทพฯ 1,568.73 ตารางกิโลเมตร (อัจ ฉรา ปุญ ญฤทธิ์ 2533 :17) จะพบวามีกิจ กรรมการ ใชพื้นที่โ ดยรวม คือ เปนแหลง พาณิชยกรรม ซึ่ง มีห ลากหลายประเภททั้ง การคาปลีก คาสง สํานัก งาน และบริก าร ที่พัก อาศัย รวมทั้ง มีก ารใชพื้นที่และอาคารแบบผสม เชน อยูอ าศัย และบริการ หรือ คาปลีก คาสง โกดังเก็บสินคากับอยูอ าศัย (ยงธนิศร พิม ลเสถียร 2544:314,3-15)

30


นอกจากนี้ หากจะเพิ่ม พื้นที่ใชส อยในเขตสัม พันธวงศก็ก ระทําไดคอ นขางยากทั้ง ใน แนวราบที่ไ มส ามารถขยับ ขยายเนื้อ ที่อ อกไปไดอีก เนื่อ งจากบริเ วณนี้เ ปน พื้นที่ที่ตั้ง อยูในใจ กลางเมือ ง ขณะเดีย วกัน การเพิ่ม พื้น ที่ใ นแนวดิ่ง ดว ยการสรา งอาคารสูง ก็ไ มส ามารถที่จ ะ กระทําไดงายนัก เพราะมีก ฎหมายกําหนดควบคุม ความสูง ของอาคารไวทั้ง นี้เ ปนเพราะที่ดิน ของเขตอยูติดกับที่ดินประเภทอนุรักษเพื่อสงเสริม ศิล ปวัฒ นธรรมไทยหรือ เกาะรัตนโกสินทร ชั้นนอก ดวยขอจํากัดดังกลาวจึงทําใหการใชพื้นที่ในเขตสัมพันธวงศเปนไปอยางคุม คาในทุก ๆ กิจกรรม เมื่อหันมาสํารวจถึงลักษณะกิจ กรรมในชุม ชนเลื่อ นฤทธิ์ ก็จ ะพบลัก ษณะการใชพื้นที่ สอดคลองกับขอมูลขางตน หากจะอธิบายกิจกรรมบนพื้นที่ชุมชนเลื่อนฤทธิ์จากรูปแบบการใช ประโยชนอ าคารของผูเ ชา 7 จะพบวา อาคารสว นใหญใ นพื้น ที่ รอ ยละ 95 เปน การใช ประโยชนจากอาคารเพื่อการพาณิชยกรรมในชั้นลางของอาคาร สวนในชั้นบนเปนการใชพื้นที่ เก็บสินคา โกดังสินคา มีเพียง 5 อาคารเทานั้นที่มีก ารใชพื้นที่ชั้นบนเพื่อ การพัก อาศัย (วิฑูร ย อาสาฬหป ระกิต 2546 :16 ) โดยจากการสํารวจของกรมศิล ปากร (2546) ในดานของ กิจกรรมการใชสอยอาคารสามารถที่จะจําแนกรูปแบบการใชประโยชนดังนี้ ตารางที่ 1 แสดงรูปแบบการใชสอยอาคารในพื้นที่ ลําดับ รูปแบบการใชสอย 1. อาคารพักอาศัย 2. อาคารพาณิชยร วมทั้งสิ้น 134 รานโดยแบงเปน - รานอาหาร (2 ราน) - รานคา,รานขายของปลีก-สง (122 ราน) - รานบริการ (2 ราน) - สํานักงานประกอบวิชาชีพ (8 ราน) 4. โกดังเก็บสินคา 5. บานปด รวมทั้งสิ้น

จํานวน (คูหา) 23 190 (3) (174) (2) (11) 9 3 225

ที่มา : กรมศิลปากร 2546:6 7

ตามสัญญาเชาที่ผูเ ชามีการแจง ตอสํานักงานทรัพ ยสินฯมีจํานวนทั้ง หมด 189 ราย (สํานักงานทรัพ ยสิน สวนพระมหากษัต ริย ม.ป.ป.:4) แตในความเปนจริงแลวจํานวนผูเชา มีมากกวาจํานวนที่แจงไปยังสํานักงาน ทรัพยสินฯ เนื่องจากผูเชาบางรายครอบครองสัญญาเชาหลายฉบับ และนําไปใหผูอื่นเชาชวงตออีกที 31


จากตารางจะเห็นไดวาเมื่อ เปรีย บเทีย บกับ จํา นวนหอ งเชาทั้ง หมดที่ม ี 225 คูห า สัดสวนของการใชสอยอาคารในพื้นที่จ ะเปนไปเพื่อ การพาณิชย โดยมีจํานวนมากสุดถึง 190 คูห า ขณะที่ก ารพัก อาศัยมีอ ยูนอ ยมากเพียง 23 คูห า บทบาทของการอยูอ าศัย ในพื้นที่จ ึง ลดลงจากอดีต อยางไรก็ดีจากการสํารวจของผูเขียน เมื่อป พ.ศ. 2549 ที่ผานมาในดานของประเภท การประกอบกิจ กรรมการคา และบริก ารโดยสํา รวจแจงนับ จากชื่อ รา นคา ภายในพื้น ที่พ บ จํานวน 140 ราน มีกิจ กรรมการคา สง ผา มวนเปนสัดสวนที่ม ากกวา กิจ กรรมประเภทอื่น ๆ ซึ่งสามารถจําแนกไดดังตาราง ตารางที่ 2 แสดงรายละเอียดการประกอบกิจกรรมการคาและบริการภายในพื้นที่ ลําดับ 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9.

ประเภทกิจกรรมทางการคาและบริการ8 คาสงผามวน ผาดิบ ผาลูกไม อุปกรณ วัสดุ ประเภทอารดแวร รับตัดเย็บเสื้อโหล อุปกรณผามาน หนาตาง ประตู ดาย ไหมพรม ริบบิ้น โบว เชือก ผาถุงไทย ผาปาเตะ เผาเช็ดหนา ยาแผนปจจุบัน – โบราณ ผานวม ผาหม ปูที่นอน มุง ผาขนหนู อื่นๆ รวม

จํานวน (ราน) 100 7 4 3 3 3 3 3 14 140

รอยละ 71.45 5.00 2.85 2.14 2.14 2.14 2.14 2.14 10.00 100.00

ที่มา : จากการสํารวจภาคสนาม เดือนมีนาคม 2549 จากการเดินสํารวจประเภทของกิจ กรรมทางดานการคา และบริก ารบนพื้น ที่ชุม ชน เลื่อ นฤทธิ์ ดัง ที่ก ลาวมาขา งตน สามารถที่จ ะแบง พื้น ที่ของชุม ชนออกไดเ ปน 2 พื้นที่ยอ ย (Sub areas) ซึ่งมีลักษณะแบงแยก แตกตางกันอยางคอนขางชัดเจน

8

สามารถดูรายชื่อรานคาและลักษณะของประเภทสินคาและบริการภายในพื้นที่ไดในภาคผนวก ข. 32


พื้นที่ยอยบริเวณแรก คือ บริเวณตอนนอกของพื้นที่ริมถนนเยาวราช ตั้ง แตหัวมุม แยก วัดตึกตัดกับถนนจักรวรรดิท อดตัวเปนแนวยาวผานซอยเลื่อ นฤทธิ์ 1 มาจนถึง ซอยเลื่อ นฤทธิ์ 3 ตามแนวอาคาร ลัก ษณะเดนของบริเ วณพื้นที่นี้ คือ จะมีกิจ กรรมทางการคาและบริก ารที่ คอนขางหลากหลาย เชน รานขายยาแผนปจจุบัน รานจําหนายอุป กรณ ฮารดแวร เครื่อ งมือ ชาง คาสงสวนประกอบการทําน้ํายา ครีม แชมพู รานถายรูป ตัดผมสุภาพบุรุษ ออกแบบรับ จัดทําผามานและอุป กรณที่เ ปน สว นประกอบผามาน ประตู หนา ตา ง เบา หลอม เครื่อ งชั่ง ตวงวัด กางเกงแพร ของหลุด จํา นํา ของมือ สอง ทัน ตกรรม รัก ษาพยาบาล ของชํ า ของ เบ็ดเตล็ด รวมทั้งหาบเรแผงลอยขายสินคาประเภทตางๆ พื้นที่บ ริเ วณนี้จ ะมี กลุม ลูก คาที่เ ขา มาใชบ ริก าร ซื้อ สินคา ของแตล ะราน และยัง เปน เสน ทางสัญ จรของผูคนเพื่อ เดิน ผานไปยัง พื้นที่ยานการคาอื่นๆ ที่อยูใกลเคียง รวมทั้งผูคนที่มารอขึ้นรถโดยสารประจําทาง

ภาพที่ 10 มุมสูงบริเวณเวิ้งทานเลื่อนฤทธิ์ ที่มา : สํานักผังเมือง กรุงเทพมหานคร (2549:269) พื้น ที ่ยอ ยบริเ วณที่ส องคือ บริเ วณที ่อ ยูต อนในของพื ้น ที่ถ ัด จากริม ถนนเยาวราช เขามาภายในซอยเลื่อ นฤทธิ์ 1 2 และ 3 รวมไปถึง บริเ วณพื้นที่ดานถนนมหาจัก ร กิจ กรรม การคาและบริก ารที่อ ยูในบริเ วณนี้เ กือ บทั้ง หมดจะเปนรานคาสง ผาทอ ผามวนนานาชนิด มีโกดังเก็บสินคาบางเปนบางจุด ขอดีของการกระจุกตัวของกิจ กรรมคาผาที่เ ปนชนิดเดียวกัน และตางชนิดในบริเ วณเดียวกัน ยอ มทําใหลูก คาที่เ ขามาใชบ ริก ารในพื้นที่มีห ลากหลายกลุม ตามไปดวย ขณะเดียวกันบางรานที่จําหนายชนิดของผาในลักษณะเดียวกัน ยอ มที่จ ะเปนผลดี กับลูกคาอีกทางหนึ่งดวยเนื่องจากสามารถที่จะเปรียบเทียบตัวสินคาทั้ง ในแงร ะดับ ราคาและ 33


คุณภาพในพื้นที่เดียวกันไดสะดวก ตรงกับความตอ งการของลูก คาแตล ะราย อยางไรก็ดีพื้นที่ บริเวณนี้ก็มีกิจกรรมการคาอื่นๆปะปนอยูดวย แตมีอยูเพียงไมกี่ราน เชน รับตัดเสื้อโหล คาสง ผาถุง ไทย ผาปาเตะ ผานวม ผาขนหนู คาสง ดาย ไหมพรม ริบ บิ้น โบว เชือ ก กระเปา มุง ยานัตถุเ ยอรมัน จําหนายตั๋ว เครื่อ งบิน จุด ที่นาสัง เกตในพื้นที่นี้ คือ บริเ วณอาคารดานถนน มหาจัก ร เจาของกิจ การสวนใหญจ ะเปนกลุม คนไทยเชื้อ สายอินเดีย แตกตางจากพื้น ที่สว น อื่นๆของยานที่สวนใหญเปนคนไทยเชื้อสายจีนเกือบทั้งหมด โดยสรุป แลวกิจ กรรมในพื้นที่ชุม ชนเลื่อ นฤทธิ์มีลัก ษณะโดดเดนที่เ ปนพื้น ที่ของการ ประกอบพาณิชยกรรม นั่นคือ การเปนยานคาสงและปลีกสินคาประเภทผาทอมวนนานาชนิด ที่มีอยูเปนจํานวนมาก ซึ่งไดรับอิทธิพลมาจากการขยายตัวของการคาผาในพื้นที่ตลาดสําเพ็ง ถึง แมวา ในพื้น ที่จ ะยัง มีก ิจ กรรมอื่น ๆปะปนอยูดว ย เชน การคา สง และปลีก สิน คา จํา พวก อุปกรณ ฮารดแวร รับตัดเสื้อโหล ยา บริก ารอื่นๆ แตก็ไมสําคัญ เทากิจ กรรมการคาสง ผาทอ มวนที่ไดกลายเปนเอกลักษณของชุมชนแหงนี้ในสายตาของผูคนภายนอกไปแลว

ผูคนที่เขามาแวะเวียนเกี่ยวของกับพื้นที่ชุมชน จากการสํา รวจกิจ กรรมบนพื้นที่ชุม ชนเลื่อ นฤทธิ์ในปจ จุบัน ดัง ที่ไดก ลาวมาแลวใน ขางตนพบวาพื้นที่นี้มีสัด สวนของความหลากหลายทางอาชีพ ไมม ากนัก โดยมีก ิจ กรรมของ การคาสง ผามวนเปนจํานวนมากสุดที่สํารวจพบถึง 100 ราน หรือ คิดเปนรอ ยละ 71 ของ กิจกรรมทางเศรษฐกิจในพื้นที่ ตามมาดวยกิจกรรมการคาอื่นๆ ที่มีสัดสวนนอยลงมา ในแตล ะ วัน กิจ กรรมการคา ของแตล ะรา นลว นมีล ูก คา เขา ออก ติด ตอ ซื ้อ ขายสิน คา อยู ต ลอด นอกจากนี้ตําแหนงที่ตั้งของชุม ชนเลื่อ นฤทธิ์กับ พื้นที่โ ดยรอบที่มียานการคาสําคัญ หลายแหง อาทิ คลองถม สําเพ็ง ทรงวาด ราชวงศ ตลาดเกา ตลาดสะพานหัน สะพานเหล็ก ตลาด พาหุรัด จึงมีผูคนสัญจรผานพื้นที่ไปมาตลอดทั้งวัน เนื่องจากมีถนน ตรอก ซอก ซอยเชื่อ มตอ กันอยางทั่วถึง ดวยเหตุดังกลาวนี้จึงทําใหลักษณะของกลุมผูคนที่เขามาปฏิสัม พันธกับ พื้นที่ใน ชุมชนเลื่อนฤทธิ์นั้นมีความหลากหลายตามไปดวย การศึก ษาในครั้ง นี้ผูเ ขียนไดจัด ลัก ษณะกลุม ผูค นที่เ ขามาเกี่ย วขอ งกับ พื้น ที่บ ริเ วณ ชุม ชนเลื่อ นฤทธิ์อ อกเปน ประเภทตา งๆ เพื ่อ ใหเ ห็น ภาพชัด เจนมากยิ ่ง ขึ ้น ตามแนวทาง ของ Jirapa Worasiangsok (2005) ซึ่ง ไดจัด หมวดหมูข องกลุม ผูคนในพื้น ที่เ มือ ง โดยมี วัตถุป ระสงคเ พื่อ นําไปประกอบการวางผัง เมือ งและการมีสว นรว มของประชาชน จึง ไดจ ัด หมวดหมูของกลุม ผูคน (Social Categories) ตามความเกี่ยวขอ งกับ พื้นที่ชุม ชนเลื่อ นฤทธิ์ 34


ออกเปน 4 ประเภท คือ 1) กลุม คนที่อ าศัยอยูในพื้นที่ชุม ชนเลื่อ นฤทธิ์ 2) กลุม คนที่เ ขามา ประกอบอาชีพ ในพื้น ที่ชุม ชนเลื่อ นฤทธิ์แ ตอ าศัย อยูที่อื่น 3) กลุม คนที่ใ ชพื้นที่ชุม ชนเปน ทางผานเพื่อเปลี่ยนรูปแบบของการสัญจรและอาจใชบ ริก ารบางตอนเดินผาน และ4)กลุม คน ที่จงใจมาใชบริการในพื้นที่ชุมชนจริงๆ กลุม คนที่อ าศัยอยูในพื้นที่ชุม ชนเลื่อ นฤทธิ์ เปนกลุม คนที่อ าศัยและประกอบอาชีพ อยูในชุมชน โดยสวนใหญจะเปนคนเกาแกที่อ ยูม านาน ที่มีความผูก พันกับ พื้นที่ ผูคนกลุม นี้ ไดแ ก ผูที่ป ระกอบกิจ กรรมการคา ประเภทตา งๆ เชน คา สง ผา มว น รับ ตัด เสื ้อ โหล วัส ดุ อุป กรณป ระเภทฮารด แวร ฯ ซึ ่ง เชา ที ่ด ิน และอาคารของสํ า นัก งานทรัพ ยส ิน สว น พระมหากษัตริย ผูประกอบการคาเหลานี้จ ะใชอ าคารที่เ ชาเปนทั้ง รานคาสง โกดัง เก็บ สินคา ตลอดจนในการอยูอ าศัยบางสวน ทั้ง ชั้นบนและชั้นลางของอาคารหรือ อาคารที่เ ปนสวนตอ เติมขึ้นใหม กลุมคนที่อยูอาศัยและคาขายในพื้นที่นี้จะมีอยูจํานวนนอ ยมากซึ่ง จะไมส อดคลอ ง กับ ขอ มูล ทะเบียนราษฎรของสํานัก งานสัม พันธวงศ (2543) ที่สํารวจพบวาในพื้นที่มีจํานวน 196 ครอบครัว มีสมาชิก ทั้ง หมด 425 คน โดยแยกเปนเพศชาย 212 คน และเพศหญิง 213 คน เนื่องจากบุคคลที่มีขอมูลอยูทะเบียนราษฎรไมไดอ าศัยอยูจ ริง ในพื้นที่ (โดยจะไดก ลาวใน กลุมคนประเภทตอไป) สําหรับรายไดเฉลี่ยของคนในชุมชนเลื่อนฤทธิ์ซึ่งประเมินจากรายไดใน พื้นที่แขวงจักรวรรดิสูงถึง 146,248 บาท ตอคน/ป (สํานักงานเขตสัมพันธวงศ 2546) กลุมคนที่อาศัยอยูที่อื่นแตเขามาทําการคาขายหรือรับ จางในชุม ชน สามารถแบง ออก ได 4 กลุมหลักๆ คือ 1) กลุมผูที่เคยอาศัยอยูในชุมชนมากอน สวนใหญเปนบุคคลซึ่ง มีขอ มูล อยูในทะเบียน ราษฎรของพื้นที่ แตในปจจุบันไดยายออกไปอยูบริเวณยานชานเมือง เนื่อ งจากพื้นที่ซึ่ง เชาอยู นี้ม ีไ มเ พีย งพอกับ ความตอ งการของสมาชิก ในครอบครัว ที่ข ยายเพิ่ม ขึ้น จึง ไปหาที่อ ยูใ หม การใชพื้นที่ของคนกลุมนี้จึงเปนเพียงรานคาและโกดังเก็บ สินคาเทานั้น ผูคนกลุม นี้ในชวงเชา ประมาณ 08.00 น. จะเดินทางเขามาประกอบอาชีพ ในพื้นที่พ อชวงเย็นประมาณ 16.30 น. ก็จะทยอยกันกลับบานพักในยานชานเมือง โดยมีสัดสวนที่มากกวาผูคนกลุมอื่นๆ 2) กลุม คนที่อ าศัยอยูนอกพื้นที่แ ตเ ขามาประกอบอาชีพ ในชุม ชนเลื่อ นฤทธิ์โ ดยเชา พื้นที่จากสํานักงานทรัพยสินสวนพระมหากษัตริย,การเชาชวงตอ จากผูที่มีสัญ ญาเชาพื้นที่อีก ทีหนึ่ง หรือการเซงสิทธิจากผูเชาเดิมที่ยายออกไป ซึ่งลักษณะการเชาในสองประเภทหลัง จะมี ราคาคาเชาที่สูงกวาจากการเชาจากสํานักงานทรัพยสินฯโดยตรง ผูคนกลุม นี้สวนใหญจ ะเปน ผูเชาในกลุมคาสงผาทอ ผามวนรายใหมๆ ซึ่งมีจํานวนพอสมควร 35


3) กลุมลูกจางที่เขามาทํางานตามรานคาตางๆภายในชุม ชน สามารถแบง ตามอาชีพ ได 2 ลัก ษณะ คือ กลุม แรกจะเปนพนัก งานสํานัก งานที่เ ขามาทํางานในพื้นที่ โดยเฉพาะใน กิจ กรรมการคา สง ผา ทอ ผา มว น จะทํ า หนา ที ่เ ปน เสมีย น การทํ า รายการรับ สง สิน คา ตรวจสินคา บัญชีบริษัท เบิกสินคา สั่งสินคา อีกกลุมหนึ่งคือแรงงานที่ทําหนาที่ในการขนถายสินคาพบมากในกิจกรรมการคาสง ผา เชนเดียวกัน เนื่องลักษณะของจากการซื้อขายสินคาจะมีการติดตอจากผูซื้อภายนอกพื้นที่โ ดย สวนใหญมัก จะติด ตอ ผานทางโทรศัพ ทห รือ การใหผูแ ทนของราน(เซล)นําออกไปเสนอขาย นอกพื้นที่ ดัง นั้น นายจา งแตล ะรา นจึง ตอ งมีล ูก จางประเภทนี้ชว ยนําสิน คา ไปสง ยัง ลูก คา ภายนอก สว นสิน คา ผา ที ่เ ขา มาสง ในพื ้น ที ่แ ตล ะวัน มีเ ปน จํ า นวนพอสมควร ทํ า ให ผูประกอบการจําเปนตองจางแรงงานเหลานี้เพื่อ มาชวยขนถายสินคามากตามไปดวย รานคา สง ผาแหง หนึ่ง ๆจะมีจํา นวนแรงงานที่แตกตางกัน ออกไป ขึ้นอยูกับ ขนาดของกิจ การแตล ะ บริษัท แรงงานเหลา นี้เ กือ บทั ้ง หมดเปน กลุม ชาวอีส าน โดยจะเริ่ม ทยอยกัน มาทํา งานใน ชวงเวลาประมาณ 8.00 น. จนกระทั่ง เวลาประมาณ 17.00 น. จึง แยกยายกันกลับ บา น โดยจากการสํารวจสอบถามจากเจาของกิจ การในพื้นที่ กลาววารานคาสง ผาแหง หนึ่ง ๆจะมี ลูก จางไมต่ํากวา 5 คน จึง คาดวานาจะมีก ารจางงานในบริเ วณยานแหง นี้ไมต่ํากวา 500 คน เพราะบริเ วณพื้นที่นี้ถือ เปน จุด เชื่อ มโยงและการกระจายสิน คา ใหก ับ โรงงานผลิต สิ่ง ทอที่ สําคัญของประเทศแหงหนึ่ง 4) กลุม หาบเร แผงลอย หากพิจ ารณาในเชิง เศรษฐศาสตรผูคนกลุม นี้ทําอาชีพ ที่มี ลัก ษณะเปน เศรษฐกิจ แบบไมเ ปนทางการ (Informal Economy /Petty Commodity) มีลัก ษณะสําคัญ คือ ไมตอ งเสียภาษี ลงทุน นอ ยติดตั้ง และเคลื่อ นยา ยกิจ การไดงาย จากการ สํารวจพบวาแผงลอยเหลานี้สวนหนึ่ง ซึ่ง ตั้ง อยูป ระจําภายในบริเ วณพื้นที่ (Static hawker Unit) สามารถแบง ได 2 กลุม หลัก ๆ ตามลัก ษณะสินคาและบริก ารที่จําหนาย คือ กลุม แรก คือ กลุมรานคาแผงลอยประเภทจําหนายอาหารและเครื่อ งดื่ม ลัก ษณะของการตั้ง รานคาจะ ตั้งอยูบนบาทวิถี ซึ่งจาการเดินสํารวจพบประมาณ18 ราน เชน รานอาหารตามสั่ง กวยเตี่ยว ราดหนา ขา วตม เลือ ดหมู ขา วขาหมู ผัด ไทย สม ตํ า ขา วเหนีย ว ไกยา ง เกาลัด น้ํา ออ ย กาแฟสด น้ําจับ เลี้ยง เก็ก ฮวย น้ําอัดลมและเครื่อ งดื่ม ประเภทตางๆ กิจ กรรมการคาเหลานี้ ไดรับการใชบริการจากกลุมผูคนภายในและบริเวณพื้นที่ขางเคียงจํานวนมาก โดยเฉพาะกลุม พนักงานและกลุมแรงงานที่จะมารับประทานอาหารในชวงกลางวันและชวงบาย รานคาแผง ลอยโดยสว นใหญ หลัง จากเก็บ รา นแลว โดยเฉพาะรา นที่ตั้ง อยูท างตอนในของพื้น ที่จ ะตั้ง รถเข็น โตะ ขาวของอยูตรงพื้นที่นั้นมิไดมีการเคลื่อนยายไปไหน หรือ บางรานมีก ารฝากไวกับ รา นคา ที ่ม ีพื้น ที่วา งบางรา น ที ่ตั้ง ของรา นคา เหลา นี ้จ ะกระจายตัว อยู ม ากในบริเ วณซอย 36


เลื่อ นฤทธิ์ดานถนนจัก รวรรดิ ซอยเลื่อ นฤทธิ์ 1 และ 3 สว นกลุม ที่ส อง คือ กลุม รา นคา แผงลอยประเภทจําหนายสินคาและบริการตางๆ ที่สํารวจพบมีประมาณ 10 ราน สวนใหญจ ะ อยูบ ริเ วณปากซอยเลื่อ นฤทธิ์ดา นที่ติด กับ ถนนจัก รวรรดิร ิม บาทวิถีและบริเ วณจุด จอดรถ โดยสารประจําทางดานหนาของพื้นที่ริมถนนเยาวราช กิจกรรมการคาและบริก ารเหลานี้ เชน การจํ า หนา ยล็อ ตเตอรี ่ ลูก อม ชุด นอนสตรี รับ ซอ มเสื ้อ ผา อุป กรณช า งในครัว เรือ น การจําหนายเข็ม ขัด แวนตา และยาหรือ สารเคมีสําหรับ กําจัดหนู แมลงสาป มดภายในบาน กลุมรานคาเหลานี้จะเริ่มตั้งแผงเวลา 8.30 น.จนเวลา 17.30 น. ถึงเลิกบริการ กลุมคนที่ใชพื้นที่บริเวณชุมชนเลื่อนฤทธิ์เปนทางผานหรือเพื่อเปลี่ยนรูป แบบของการ สัญจรและอาจใชบริการบางขณะเดินผาน ดวยตําแหนงที่ตั้งของชุม ชนที่ติดตอ กับ ยานการคาสําคัญ หลายแหง อีก ทั้ง ยัง มีร ะบบ สัญจรทั้งทางเดินเทาและทางรถที่เ ชื่อ มตอ กันอยางทั่วถึง จึง ทําใหมีผูคนมากหนาหลายตาใช พื้นที่ของชุมชนเปนเสนทางผานอยูหลายกลุม ซึ่งประกอบไปดวย 1) กลุมของผูคนที่ม าจับ จายซื้อ ของในยานตางๆโดยรอบพื้นที่ อาทิ สําเพ็ง ราชวงศ ทรงวาด คลองถม พาหุรัด เวิ้ง นครเขษม วรจัก ร ที่ตอ งการซื้อ สินคาในยานเหลานี้อ าจเดิน ผานพื้นที่ หยุดซื้อ ของรับ ประทานจากรา นคา แผงลอยในพื้น ที่ หรือ เมื่อ ซื้อ สินคา เสร็จ แลว จากยา นตา งๆ เดินมาขึ้น รถประจําทางกลับ บา นในบริเ วณดา นหนา พื้น ที่ติด ถนนเยาวราช ซึ่งจากการสํารวจพบวามีรถโดยสารประจําทางเกือบ 20 สายสัญจรผานหนาพื้นที่ 2) กลุมคนทํางาน นักเรียน นักศึก ษา เนื่อ งจากบริเ วณใกลเ คียงกับ พื้นที่ของชุม ชนมี หนวยงานทางธุรกิจหลายแหงไมวาจะเปนสถาบันการเงินบริเ วณแยกราชวงศเ รื่อ ยลงมา เชน ธนาคารกสิก รไทย กรุง ไทย ธนชาต ทหารไทย โรงแรมแกรนดไชนา บริษัท หางรานตางๆ รวมทั้งสถาบันการศึกษา เชน โรงเรียนวัดชัยชนะสงคราม โรงเรียนวัดจักรวรรดิ มหาวิท ยาลัย เทคโนโลยีร าชมงคลรัต นโกสิน ทร วิท ยาเขตบพิต รพิม ุข กลุม ผูค นเหลา นี้บ างสว นจะใช เสนทางของชุมชนเลื่อนฤทธิ์เปนทางผานโดยเฉพาะจากการเดินทางมาดวยรถโดยสารประจํา ทางในถนนเยาวราชมาลงที่จุดจอดรถโดยสารบริเ วณหนาพื้นที่และเดินไปยัง สถานที่ทํางาน หรือโรงเรียนซึ่งจะเห็นภาพไดชัดเจนในชวงเชาและชวงเย็นของทุกวัน 3) กลุมพอคาแมคาที่เขามาประกอบอาชีพในบริเวณพื้นที่แตจะเปนไปในลัก ษณะของ การคาชั่วคราวโดยใชพื้นที่ข องยานเปน เสน ทางผา น คือ กลุม ของรถเข็น และคานหาบที่มี ลักษณะของการคาที่มีการเคลื่อนที่เพื่อ ทําการคาตลอดเวลา(Mobile hawker Unit) ไมห ยุด จํา หนา ยอยู ก ับ ที ่ โดยจะอาศัย พาหนะ เชน รถเข็น จัก รยาน รถซาเลง ไวเ คลื่อ นที ่บ น ทองถนน การถือหรือแขวนสินคาไวกับตัว และอีกสวนหนึ่งคือลัก ษณะการคาที่มีก ารเคลื่อ นที่ 37


เปน บางเวลา (Semistatic hawker unit) โดยจะไมห ยุด จํา หนา ยสิน คา อยู ก ับ ที่เ ปน เวลานานๆ แตจ ะหยุด จํา หนา ยสิน คา กับ ที่ชั ่ว คราวเปน เวลาสั ้น ๆ แลว จะเคลื่อ นยา ยไป จําหนายในสถานที่อื่นๆตอไป หาบเรแผงลอยเหลานี้อาจจะจงใจหรือ ใชบ ริเ วณนี้เ ปนเสนทาง ผาน สําหรับสินคาที่จําหนาย เชน พืชผัก ผลไม ขนมหวาน สม ตํา ไอศกรีม อุป กรณทําความ สะอาดบาน ของใชเบ็ดเตล็ดประเภทตางๆ เปนตน 4) กลุม ของนัก ทอ งเที่ย วที่นิย มเดิน ชมบรรยากาศยานการคาในพื้นที่สัม พัน ธวงศ โดยเฉพาะในดานของถนนเยาวราชที่เ ริ่ม ตน จากวงเวีย นโอเดียนเรื่อ ยมา ซึ่ง จะมีกิจ กรรม การคาหลากหลายรูปแบบ อีกทั้งยังมีศาสนสถานทั้งวัดไทย วัดจีน รวมไปถึง อาคารบานเรือ น ที่มีความสวยงามทางสถาปตยกรรมตามตรอก ซอก ซอยตางๆที่ยังปรากฏใหเห็นอยู กลุมคนที่จงใจเขามาใชบริการในชุมชน คือ กลุมคนที่เดินทางมาจากที่ตางๆโดยจงใจ มาใชบริการเฉพาะอยางในพื้นที่จริงๆ ซึ่งประกอบไปดวยประชากร 4 กลุมหลักๆ คือ 1) กลุมพอคาสงผาที่เขามาสั่งซื้อ สินคาโดยตรงภายในพื้นที่ และตัวแทนรานคาจาก ภายนอก(เซล) ซึ่ง เขามานําเสนอสินคาใหกับ รานคาผาภายในพื้นที่ หรือ สง สินคาใหกับ ทาง รานคา ภายในพื้นที่ซึ่ง ไดมีก ารสั่ง ซื้อ กันทางโทรศัพ ทม ากอ นแลว ถือ เปนกลุม คนที่ม ีสัดสว น มากที่ส ุดในการจงใจเขามายัง พื้นที่ ชวงเวลาที่เ ขา มาจะเริ่ม ตั้ง แตชวงเชาไปจนถึง ชวงเย็น โดยการใชร ถบรรทุก ขนถายสิน คาในลัก ษณะของรถกะบะ 4 ลอ และที่นิย มมากที่สุด คือ รถจักรยานยนต (เวสปา) เปนสวนใหญ เนื่อ งจากบริเ วณพื้นที่นี้มีขอ กําหนดจากทางราชการ ในการหามนํารถขนสง สินคาขนาดใหญเ ขา มาผนวกกับ ปญ หาทางดานการจราจรของถนน เยาวราชและใกลเคียงที่คับคั่งอยูตลอดเวลา 2) กลุม ลูก คาที่เ ขามาใชบ ริก ารรานคารอบบริเ วณพื้นที่ยอ ยแรก ดานที่ติดกับ ถนน เยาวราชและถนนจักรวรรดิซึ่งจะมีกิจกรรมการคาที่หลากหลายแตกตางจากตอนในของพื้นที่ ที่มีแตการคาผามวนเปนสวนใหญ จากการสังเกตพบบรรยากาศความคึกคักของการจับ จายใช สอยอยา งตอ เนื่อ งของกิจ กรรมทางการคาที่สํา คัญ ใน 2 จุด คือ ซอยเลื่อ นฤทธิ์ดา นถนน จักรวรรดิ บริเวณหัวมุมตรงแยกวัดตึก โดยเฉพาะบริษัทศรีสําอาง จํากัด ที่คาสงสวนประกอบ วัตถุดิบของอุป กรณก ารทําแชมพู ครีม น้ํามัน น้ํายาชนิดตางๆ และอีก จุดคือ บริเ วณตรงจุด ปายจอดรถประจํา ทางหนาหางหุนสวนจํากัด ล.เลียกเส็ง รา นทรงศิล ป หา งหุนสว นจํากัด ตั้งเซงฮวด จํากัด ที่จําหนายอะไหล วัสดุ อุปกรณประเภทฮารดแวร จากการสอบถามเจาของ กิจการสวนใหญลูก คาของแตล ะรานนั้นจะเปนลูก คาเกาแกที่รูจัก และมีก ารติดตอ คาขายกัน มานานและอีก สว นเปน ลูก คา ขาจรทั ่ว ไป นอกจากนี ้ย ัง รวมไปถึง กลุ ม ผู ป ว ยที ่เ ขา มา

38


รักษาพยาบาลในคลินิก ไพโรจนก ารแพทยซึ่ง คิดคารัก ษาในราคา 30 บาท ในชวงเวลาเย็นๆ ของทุกวัน 3) กลุมของพนักงานและลูกจางรอบๆพื้นที่ที่จ งใจเขามาใชบ ริก ารหาบเรแผงลอยซึ่ง ตั้ง กระจายอยูภายในตัว พื้น ที่ ทั้ง 3 ซอย และซอยเลื่อ นฤทธิ์ดานที่ติด กับ ถนนจัก รวรรดิ โดยเฉพาะการเขามาพักรับประทานอาหารในชวงกลางวัน 4) กลุม ของพอ คา แมคา ที่เ ขา มาทํา การคา ขายสิน คา ในบริเ วณพื้น ที่ดา นริม ถนน มหาจักร ซึ่งบริเวณนี้จะมีตลาดนัดจําหนายสินคาประเภทของกิฟ ชอ ฟ เสื้อ ผา เครื่อ งประดับ กระเปา สินคาที่ร ะลึก ตางๆ ในชวงเวลาประมาณ 02.00 น. – 08.00 น. ของทุก วัน (ยกเวน วันจันทร) โดยมีการปดถนนหามรถสัญจรตั้งแตริมปากทางเขาถนนมหาจัก รผานตัวพื้นที่และ เลี้ยวขวาเขาไปออกที่ซอยวานิช 1 ตรงตรอกหัวเม็ดดานถนนจัก รวรรดิ พอ คาแมคาสวนหนึ่ง ไดอาศัยพื้นที่ริม ฟุตบาต ตลอดจนประตูห นารานในกลุม อาคารดานถนนมหาจัก ร เปนที่วาง แขวนสิน คา จํ า หนา ยและบางสว นไดนํ า รถยนตส ว นบุค คลเขา มาจอดในพื้น ที ่ซึ่ง ไดม ีก าร จัดเก็บคาจอดรถเพื่อนํามาเปนคาดูแลรักษาพื้นที่ กลุม คนประเภทที่สี่นี้นับ มีความสํา คัญ ตอ กลุม ผูป ระกอบการในพื้น ที่เ ปนอยา งยิ่ง โดยเฉพาะกลุมของพอคาหรือตัวแทน(เซล)คาสง ผา ซึ่ง เปนการใหนัยถึง การดํารงอยูของการ เปนยานการคาสงผาในบริเวณนี้ โดยสรุป แลวลัก ษณะของกลุม ผูคนที่เ ขามาปฏิสัม พันธกับ พื้นที่ชุม ชนเลื่อ นฤทธิ์นั้นมี ความหลากหลายอยูมากถึงแมวารูปแบบกิจ กรรมตางๆของพื้นที่จ ะโดดเดนอยูที่ก ารคาสง ผา เปนหลัก ทั้งนี้เปนผลมาจากองคประกอบหลายดาน เชน ลัก ษณะทางกายภาพ ยานการคาที่ สําคัญซึ่งตั้งอยูโ ดยรอบพื้นที่ ระบบการคมนาคม กลาวคือ การมีถนน ตรอก ซอก ซอยตางๆ ที่เอื้อ ตอ การสัญ จรไปมาของผูคน ปจ จัยดัง กลาวจึง เปนสวนผลัก ดันใหชุม ชนแหง นี้เ ปนยาน สําคัญทางเศรษฐกิจไมนอยไปกวาพื้นที่อื่นๆในเขตสัมพันธวงศ

กลุมและปฏิสัมพันธทางสังคมของคนในชุมชน จากการสัม ภาษณแ ละการสัง เกตการใชชีวิต ของผูคนในชุม ชนเลื่อ นฤทธิ์แหง นี้พ บ รูปแบบของกลุมทางสังคมใน 3 ลักษณะที่สําคัญ คือ 1) กลุม เพื่อ นบาน (neighborhood) อันเปนรูป แบบของกลุม คนในพื้นที่ห รือ ชุม ชน เล็กๆที่มีลัก ษณะเปนบริเ วณที่ไมก วางใหญนัก และผูคนมีความสัม พันธกันอยางใกลชิดแบบ พบเห็นหนากันอยูเสมอ มีวิถีชีวิตและลักษณะทางสังคมที่คลายกัน โดยกลุมคนในพื้นที่เ กิดขึ้น 39


จากการสัง สรรคอ ยา งไมเ ปน ทางการหรือ อยา งเปน กัน เองของบุค คลที ่อ ยูบ า นใกลเ รือ น เคียงกัน (ราชบัณฑิตยสถาน 2549 :175) อยา งไรก็ตาม เนื่อ งจากพื้นที่ตรงนี้มีพัฒ นาการ มาอยางยาวนาน มีการหมุนเวียนของผูคนที่เ ขา-และออกมากมายในแตล ะชวงเวลา ทั้ง ในแง ของกลุม คนดั้ง เดิม ที่อ าศัย มาตั้ง แตรุน เขามาบุก เบิก พื้นที่ซึ่ง ในปจ จุบันเหลือ อยูเ ปนจํา นวน นอ ยมาก (จากการสัม ภาษณก ลาวกันวาเหลือ ไมถึง 10 เปอรเ ซ็นต) การเขามาอยูใหมของ กลุมคนที่มาจากทางตอนในของตลาดสําเพ็ง ในชวงที่ตลาดการคาผามวนขยายตัว กลุม คนที่ ยา ยมาจากตา งจัง หวัด และกลุม คนเขา มาอยูใ นพื้น ที่แ บบไมป ระจํา อยา ง เชน พนัก งาน ลูกจางตามรานคาตางๆ และกลุม คนไทยเชื้อ สายอินเดียที่ขยับ ขยายการคามาจากพื้นที่ยาน พาหุรัด กลุม ของคนไทยแท ซึ่ง คนแตล ะกลุม ตางก็มีรูป แบบการใชชีวิตบนพื้นที่ชุม ชนแหง นี้ ตางกันออกไป บางคนอยูอาศัยในพื้นที่ตลอด บางคนเขามาใชพื้นที่เฉพาะในชวงเวลาทํางาน ดัง นั ้น ดว ยความหลากหลายของวิถ ีช ีว ิต ผู ค นในพื ้น ที ่แ หง นี ้จ ึง ทํ า ใหร ูป แบบ ความสัม พันธท างสัง คมในฐานะที่เ ปนเพื่อ นบานกันของแตล ะบานหรือ ครอบครัวหนึ่ง ๆจึง มี ลักษณะที่แตกตางหลากหลายกันออกไปดวย อาทิ - ความสัมพันธแบบสนิทสนม เปนความสัมพันธที่พบมากในกลุมของคนที่เขามาอยูในพื้นที่รุนเดียวกัน ตัวอยางเชน ในกลุมคนจีนที่อพยพเขามาตั้งกิจการคาขายเล็ก ๆนอ ยๆและคอ ยๆขยับ ขยายเติบ โตขึ้น หรือ บางคนพัฒนาตนเองจากลูกจางรับเข็นผาในตลาดสําเพ็งและเขามาตั้งกิจการในพื้นที่พรอ มกับ เพื่อนรุนราวคราวเดียวกัน ซึ่ง จะมีก ารติดตอ ไปมาหาสูกันอยูเ สมอ มีก ารทํากิจ กรรมรวมกัน นอกเวลางาน เชน การไปทองเที่ยวดวยกัน การไปงานที่บานอื่นจัด การซื้อ ของฝากระหวาง กันและสามารถสัง เกตเห็นไดชัดเจนจากการมีส ภาน้ําชา คือ การนั่ง รับ ประทานน้ําชาหรือ ที่ เรีย กกันทางภาษาจีนวา “เจี๊ย ะเต” ที่จ ะปรากฏขึ้น เปนประจําทุก วัน ในบริเ วณซอยกลาง ในชว งบา ยๆเปน ลัก ษณะของการนั่ง จับ กลุม พูด คุย สนทนากัน ถึง เรื ่อ งราวทั้ง สถานการณ เศรษฐกิจ การเมือง สถานการณก ารคาตางๆ ของแตล ะคน คําที่มัก จะไดยินการทัก ทายอยู เสมอ เชน “จอๆ เจี๊ยะเต”“เซ็งลี้ฮอหมอ” (นั่งๆกอน กินน้ําชากัน,คาขายดีไหม) เชนเดียวกับ กลุ ม คนอิน เดีย ซึ ่ง มีค วามสนิท สนมคุ น เคยกัน เปน อยา งดี เนื ่อ งจากการสัม ภาษณพ บวา การเขามาประกอบกิจ กรรมการคาของคนอินเดียในพื้นที่สวนใหญ จะเขามาในลัก ษณะของ การที่คนใดคนหนึ่งเขามาอยูกอ น พอเมื่อ มีหอ งวางหรือ การยายออกก็จ ะมีก ารติดตอ ชัก ชวน พรรคพวกในกลุม คนอิน เดีย ที่คาขายผาดวยกันเขา มาเชา หรือ เซง พื้นที่ โดยปรากฏใหเ ห็น อยางชัดเจนจากการเกาะกลุม ครอบครองพื้นที่คา ขายภายในบริเ วณอาคารดานติดกับ ถนน

40


มหาจักรซึ่งเกือบทั้งหมดจะเปนคนอินเดียจึงถือเปนความสัมพันธในรูป แบบของกลุม ชาติพันธุ เดียวกันที่ปรากฏขึ้นอีกกลุมหนึ่งดวย นอกจากนี้ เพื่อ สรางบรรยากาศของความสนิท สนมกลมเกลียวกันภายในชุม ชนทาง คณะกรรมการชุมชนยังไดมีการจัดใหมีพิธีไหวเจาประจําปของชุม ชนขึ้นซึ่ง ถือ ไดวาเปนปจ จัย ที ่ช ว ยกอ ใหเ กิด ความสัม พัน ธอ ัน ดีร ะหวา งกัน ของคนในพื ้น ที ่ โดยงานนี ้จ ะจัด ในชว ง กลางเดือ นธัน วาคมของทุก ป ในทางภาษาจีน จะเรีย กวา การไหว “ไป เพ็ง อัง ”หรือ “เสี่ย ซิ้ง”เปนการไหวขอบคุณพระเจากอนขึ้นปใหมในหมูคนจีน ในอดีตนั้นเคยจัดงานนี้อ ยาง ยิ่ง ใหญเ ปนประจําทุก ป โดยเฉพาะในชวงกลางคืนคึก คัก มาก คนที่อ ยูในพื้นที่แหง นี้ม านาน ทา นหนึ่ง เลา วา แตกอ นนี่แ ตล ะซอยภายในพื้นที่จ ะมีม หรสพตั้ง แสดงอยูทุก ซอย คือ มีทั้ง คณะงิ้ว ลิเก และหนัง มีอาหาร ขนม ของกินขายกันอยางสนุก คนที่อ ยูในแถบเยาวราชนี้จ ะ มาเที่ยวที่นี่กัน มาก โดยเฉพาะในบริเ วณเลื่อ นฤทธิ์ก ับ เวิ้ง นครเขษมจะจัดงานใหญคูกัน มา ตลอด อยา งไรก็ดีก ารจัด งานดัง กลาวไดมีก ารขาดหายไปในบางชวงเนื่อ งจากไมมีผูส านตอ ในระยะไมกี่ปที่ผานมาจึง ไดม ีก ารรื้อ ฟนการจัดงานนี้ขึ้นมาใหมโ ดยคณะกรรมการชุม ชนชุด ปจ จุบ ัน แตไ ดล ดทอนกิจ กรรมบางอยา งลงเพื่อ ความสะดวกในการคา ขายของแตล ะรา น ภายในงานนี้จ ะจัด ใหมีพ ิธีไหวเ จา การทํา บุญ เลี้ยงพระ ตลอดจนมีก ารออกบัตรจัด โตะ จีน เลี้ย ง รับ ประทานอาหารรวมกันในชว งกลางวัน บริเ วณซอยกลาง การเขารวมงานนี้ม ิไดมี เฉพาะในกลุมชาวจีนเทานั้น หากแตชาวอินเดียสวนหนึ่ง ที่ศรัท ธาและเชื่อ ก็เ ขามารวมงานใน ครั้งนี้ดวย - ความสัมพันธแบบผิวเผิน เนื่องจากในบริเวณพื้นที่มีผูคนมากหนาหลายตาและมีการหมุนเวียนเขาออกของผูคน อยางตอ เนื่อ ง และในขณะเดียวกันกิจ กรรมการคา ของแตล ะคนที่มีก ารติดตอ คาขายตลอด ทั้งวัน จึงทําใหผูคนบางสวนมิไดมีก ารไปมาหาสูกัน เชน จากการสัม ภาษณบ างรานกลาวถึง บรรยากาศของการใชชีวิตในแตล ะวันวา ชวงประมาณ 8 – 9 โมงก็จ ะตื่นขึ้นมาเปดรานพอ ตกเย็นประมาณ 5 โมง ก็ปดรานขึ้นชั้นสองนอน เปนกิจ วัตร หรือ บางคนที่อ าศัยอยูภายนอก พื้น ที่ก ็เ ขา มาเปด รา นทํ า งานในชว งเชา พอถึง ตอนเย็น ก็ป ด รา นเสร็จ ก็อ อกไปอยู ใ นแถบ ชานเมือ ง ปฏิสัม พันธท างสัง คมระหวางบางบานจึง มีนอ ยมาก แตก ็มิไดห มายความวาผูค น เหลานี้จะไมไดรูจักซึ่งกันและกัน ดังเชนกรณีของ ลุงฮวด กลาววา

41


“เวลาเราออกไปขางนอก เราเจอก็รูวาคนอยูใ นนี้ แตก็ไดแคยิ้ม ทัก กัน ไมไ ดพ ูด คุย กัน ม า ก ตา ง คน ตา ง มีธ ุร ะ ”(สัม ภา ษณ 9 พฤศจิกายน 2549) ปาเกียว กลาววา “รูจักบางบางทีซื้อผากับ เขา ไอที่เ ห็นหนาตาก็มีคุย ก็รูวาอยูซ อย เดียวกับเรา แตชื่อจริงๆชื่อเต็มก็ไมรู”(สัมภาษณ 6 กุมภาพันธ 2550) - ความสัมพันธแบบขัดแยง การที่คนมาอยูรวมกันมากๆยอ มจะมีปญ หาเกิดขึ้นเปนธรรมดา เชนเดียวกันภายใน พื้นที่ยอมจะมีความขัดแยงระหวางเพื่อนบานเสมอ แตอยางไรก็ตามความขัดแยง นี้มิไดพัฒ นา หรือ มีร ะดับ ที่รุนแรงจนนําไปสูความแตกแยก ความขัดแยง ที่ป รากฏสวนใหญจ ะเปนเรื่อ ง ปญ หาในทางกายภาพเล็ก ๆนอ ยๆ โดยทั่วไปอันเนื่อ งมาจากพื้นที่คับ แคบ เชน ปญ หาความ ขัดแยงเรื่องการจอดรถยนตภายในพื้นที่ เชน รถบางคันจอดเลยเขตบาน รถบางคันจอดแลว ทําใหคันอื่นไมส ามารถออกได จอดขวางทาง ปญ หาเรื่อ งขยะมูล ฝอยที่เ ปน วัส ดุหีบ หอ เศษ กระดาษ อาหารที่บางบานมิไดจัดเก็บใหเปนระเบียบปลอยใหมาเลอะอีกบาน เปนตน ปญ หา ความขัดแยงนี้จะแสดงออกมาในรูปของการบน หรือการพูดจา สนทนาใหเพื่อ นบานที่รูจัก กัน ไดท ราบ เพื่อ หวัง ในทางออ มที่จ ะชวยใหเ พื่อ นบานคนนั้นๆชวยแกไขปญ หาที่เ กิดขึ้นใหดว ย การไปบอกกับผูกอปญหา หรือบางรายมีการไปพูดกันตรงๆเพื่อทําความเขาใจและแกปญ หาที่ เกิดขึ้น ดังกรณีของปาเกียว กลาววา “จอดรถแบบวันคูวันคี่ จอดคนละฝง สลับ กัน ถาเราโกรธกับ เขาก็ มีปญ หา ตางคนก็มีร ถของตัวเอง ที่มัน ไมพ อ คือ มัน ไมมีใ ครยอมให จอดฝง เดีย ว ก็ไมม ีใครยอมทํา ตามกฎ” (สัม ภาษณ 6 กุม ภาพัน ธ 2550) ปากิม อายุ 58 ป เจาของรานขายผา กลาววา “พวกคนงานพอเลิก งานเสร็จ ปด รา น มัน ก็ซื ้อ ของมานั ่ง กิน กินเสร็จ ก็ทิ้ง ไวห นาบาน เอามาทิ้ง หนาบา นเรา เราก็ไ ปบอกเจาของ รา น เ ขา วา อยา ทํ า แ บ บ นี ้ มัน ส ก ป ร ก ไป หม ด ”(สัม ภา ษณ 9 พฤศจิกายน 2549) 42


- เพื่อนบานที่ไมรูจักมักคุนกัน จากการผูคนในพื้นที่ชุมชนที่มีการหมุนเวียนเปลี่ยนแปลงเขาออกอยูตลอดเวลาอีก ทั้ง การที่บางบานอยูยุงกับกิจกรรมการคาของตนเองจนไมมีเวลาที่จะปฏิสัมพันธกับ เพื่อ นบานจึง ทํา ใหค นในพื ้น ที่บ างสว นไมรูจ ัก กัน เปน ธรรมดา ทั ้ง ในกลุม ของคนรุน เกา ที ่อ ยูม านานไม คุนหนาคุนตากับคนที่ยายเขามาอยูใหม คนที่เขามาอยูใหมที่ไมมีก ารผูก สัม พันธกับ เพื่อ นบาน ที่อยูมากอน ดังเชนกรณีของลุงเทียน อายุ 72 ป เจาของรานขายอุปกรณฮารดแวร กลาววา “ผมอยูม านานเกือ บจะ 50 ป ในแถบริม ถนนนี้ก็จ ริง แตถาเดิน เขาไปขางในบา งใครจะรูจ ัก คนมันเขา ออกตลอด อยางวัน ๆเอาแต ขายของในบานเชาเย็นไมไดสนใจกัน”(สัมภาษณ 16 มกราคม 2550) ปาจู กลาววา “แตจะรูจักจริงๆก็หมายความวา คือ อยูนานแลวก็รูจัก ปจ จุบัน เปลี่ย นไปเปลี่ยนมา เราก็ไมรู บางคนก็รูจัก หนาแตไมรูจ ัก ชื่อ ตั้ง แต เปลี่ย นมาขายผาไมรูเ ลย พวกแขกบางทีก็ไ มรู ซอยเรามีตั้ง สองรอ ย กวาหอ ง ขายผาก็เ ขาไปรอ ยกวารานแลว” (สัม ภาษณ 6 กุม ภาพันธ 2550) ปาเกียว กลาววา “สมัยกอ นรูจัก หมด สมัยนั้นเด็ก ๆ รูจัก กันหมด ซอย 1 2 3 คน นั้น คนนี้ชื่ออะไร สมัยปจจุบันไมรูเพราะวาไมคอ ยไดสัง สรรค บางทีมี คนมาถามหารานเรายังไมรูเ ลย ไปหาเองเถอะ มันขายผาหมด บางที ยี่หอมันเยอะเรายังขี้เกียจดูเลย” (สัมภาษณ 6 กุมภาพันธ 2550) 2) กลุมธุรกิจการคาผาทอ เนื่องจากพื้นที่ในบริเวณชุมชนเลื่อ นฤทธิ์ ตอ เนื่อ งไปยัง ตัว ตลาดสําเพ็งและลึกเขาไปทางตอนในของถนนมหาจัก รเปนแหลง ศูนยร วมของกิจ การผามวน ทอที่ใหญแหงหนึ่งของกรุงเทพฯ ดังนั้นกลุมผูคาเหลานี้ยอ มจะมีเ ครือ ขายของผูผ ลิตหรือ ผูคา ติดตอกัน เห็นไดชัดเจนจากการจัดตั้งสมาคมผูคาสิ่งทอที่เปนองคการอยางเปนทางการในการ ชวยใหคําแนะนําตางๆเกี่ยวกับอุตสาหกรรมการคาผาทอในยานนี้ โดยในตัวพื้นที่เ องที่มีก าร กระจุก ตัว ของการคา ผา มว นทางตอนในของพื้น ที่เ ปน จํา นวนมาก รา นคา สว นหนึ่ง ก็เ ปน สมาชิก สมาคมนี้ดว ย จึง มีแ จง ถึง สถานการณท างตลาดมายัง แตล ะรา นวามีท ิศทางการคา อยางไรการติดตอในลักษณะดังกลาวถือไดวาเปนความสัมพันธทางธุรกิจ ระหวางพื้นที่ และใน

43


ขณะเดีย วกัน ภายในพื ้น ที ่ก ลุ ม รา นคา กัน เองก็ม ีค วามสัม พัน ธท างการคา ทั ้ง ในทางที ่เ อื ้อ ประโยชนตอกันและแขงขันกันในทางการคา โดยปรากฏใหเห็นไดจากหลายกรณี กรณีที่เ อื้อ ประโยชนตอ กัน อาทิ การไถถามถึง กิจ กรรมการคา ของแตล ะรานมีก าร บอกถึงความนาเชื่อถือของลูกคาแตละราย ดังเชน ลุงจง กลาววา “อยางรานที่ขายเหมือ นกันตางคนตางถามเขาก็บ อก เชน ลูก คา คนนี้ดีไ มดี เช็คเดง ไมเ ดง ก็จ ะชวยกัน บอก ประวัติดีไหม ลูก คานี่ คน นั ้น เปน ยัง ไง ชอ บตอ ร า คา ห รือ จา ย ชา จา ย เ ร็ว อ ะ ไร อยา ง เนี่ย”(สัมภาษณ 20 ธันวาคม 2549) หรือ ในกรณีขายสินคาผาที่เปนประเภทเดียวกัน ดังเชน ลุงกี กลาววา “เขาขายไดเ ลย ผมขายอีก ไดไ หม เขาขายผมก็ข ายอะไร อยา งเนี ่ย ”“ราคาสิน คา ชว งไหนดี ราคาขึ ้น -ลง เปน ยัง ไงบา ง” (สัมภาษณ 20 ธันวาคม 2549) บางกรณีที่มีการยืมหรือขอซื้อสินคาจากรานอื่นมากอนในกรณีที่สินคาที่ตนเองมีอ ยูมี จํานวนไมเพียงพอตอความตองการของลูกคา เชน ลุงโอ กลาววา “โปวไปโปวมา ผมไมมีสีนี้ก็ไปโปวสี เราขาดตัวนี้ ผาชนิดเดียวกัน ก็ไ ปโปว สีเ ขา อาจจะใหกํ า ไรเขานิด หนอ ย เราก็ส ง ลูก คา ได” (สัมภาษณ 6 กุมภาพันธ 2550) และกรณีที่รานคาผาสง เปนแหลง วัตถุดิบ ใหกับ คนที่ขายสินคาประเภทอื่นๆในพื้นที่ ดวยกันเอง เชน รานตัดเสื้อ โหล กางเกง ซึ่ง มีก ารซื้อ ผามวนจากรานคาที่มีใหเ ลือ กมากมาย อีกทั้งยังมีความสนิทสนมและรูจักกันสําหรับคูคาที่ซื้อขายกันมาประจําเปนอยางดี ในกรณีที่มีการแขงขันกันระหวางราน เชน ลุงโอ กลาววา “มีขัดแยง แขง กันเรื่อ งราคาตอ ราคากัน ถาเขาคุม กับ ตนทุนของ เขาเปลา ก็ขายไป บางทีแยง กัน ก็มี อันนี้มัน อยูที่ชั้นเชิง ของเราของ เขาดวย” (สัมภาษณ 6 กุมภาพันธ 2550)

44


ลุงเทียน เลาวา “อันนี้ก็อยูที่แตละราน เขามีเพื่อนฝูงที่คาขายกันอยู เขาก็บ อกกัน วา รา นไหนเปน อยา งไร ราคา แพง ไมแพง คุณ ภาพ บริก ารเปน อยางไร ลูกคาก็จะรู” (สัมภาษณ 16 มกราคม 2550) 3) กลุม ของพนัก งาน ลูก จางของแตล ะราน กลุม นี้ถือ ไดวาเปนอีก กลุม ที่สําคัญ และ เปนเอกลัก ษณข องยานนี้ร วมทั้ง พื้น ที่ต ลาดสํา เพ็ง และยา นการคา ตางๆในเขตสัม พัน ธวงศ ทั้ง หมดอีก กลุม หนึ่ง ดว ย โดยเกือ บทั้ง หมดจะเปน กลุม คนอีส านที่ยา ยถิ่น เขา มาทํา งานใน กรุง เทพฯ จากการสอบถามลูก จา งสวนใหญจ ะอยูใ นหมูบ าน หรือ เปนเพื่อ นบานสนิท ใกล เคีย งกัน จัง หวัดเดีย วกันชัก ชวนกัน มาทํา งานในพื้นที่ สัญ ลัก ษณป ระจํา กลุม ที่เ ห็นไดอ ยา ง ชัด เจนคือ การสื่อ สารดว ยภาษาทอ งถิ่น และวัฒ นธรรมการรับ ประทานอาหารโดยเฉพาะ สม ตํา ขา วเหนีย ว ไกย า ง ซึ ่ง ก็ม ีร า นคา จํา หนา ยอาหารประเภทนี้ที่ตั ้ง อยูภ ายในตัว พื้น ที่ บริเ วณซอยเลื่อ นฤทธิ์ 3 และมีร ถเข็นเขามาขายในพื้นที่ สามารถที่จ ะเห็น บรรยากาศของ การจับกลุมยอยๆพูดคุยกันตามความสัมพันธของคนกลุมนี้ไดในเวลาพัก กลางวันและชวงหลัง เลิกงาน

เอกลักษณทางวัฒนธรรมของชุมชน ยานคาสงผาทอ – ผามวน พื้น ที ่ช ุม ชนเลื ่อ นฤทธิ ์เ ปน ยา นการคา ที ่ม ีค วามสํ า คัญ มาตั้ง แตอ ดีต โดยเปน สว น เชื่อ มตอ กับ ยานการคาเยาวราชและตลาดสําเพ็ง ในปจ จุบ ันถือ เปนแหลง คาปลีก และคาสง โดยเฉพาะสินคาประเภทผาทอ ผามวน ผูประกอบการคาในพื้นที่มีทั้ง กลุม คนไทยเชื้อ สายจีน และอินเดียที่ขยับขยายตัวเองออกมาจากสําเพ็ง พาหุรัด บางรายมาจากตางจังหวัด สินคาผาทอ-ผามวนที่มีจําหนายอยูในพื้นที่มีอ ยูห ลายชนิด เปนแหลง วัตถุดิบ ที่สําคัญ ในการนําไปทําเปนสิน คาประเภทตางๆ เชน เสื้อ ผา สําเร็จ รูป ผาหม ผา ปูที่นอนฯ รูป แบบ การคาในพื้นที่ถือไดวามีการใชพื้นที่นอยมาก หางรานแตละแหงจะเปนทั้งสํานัก งานและโกดัง เก็บ สินคา ไปในตัว มีก ารจา งงานที่ใ ชแ รงงานคนขนถา ยสินคา เปน หลัก ระบบการซื้อ ขาย สินคาที่มีการใชผูแทนออกไปจําหนาย มีเครือขายความสัมพันธกับลูกคา สิ่งเหลานี้จึง แสดงให เห็น ถึง คุณ ลัก ษณะการคา ที ่ม ีเ อกลัก ษณ ทํ า ใหภ าคธุร กิจ ในชุม ชนซึ ่ง รวมไปถึง ใน 45


เขตสัมพันธวงศยังคงดํารงอยูได ถึงแมวารูปแบบการคาสมัยใหมไดเ คยเกิดขึ้นมาแลวบนถนน เยาวราชและหางขนาดใหญในยานพาหุรัดก็พ บวา หางดัง กลาวไมป ระสบความสําเร็จ ในการ ดําเนินการ ทั้ง นี้เ นื่อ งจากพฤติก รรม ผูม าซื้อ สินคาแตกตางจากผูซื้อ ในยานการคาสมัยใหม การดําเนินธุรกิจในรูปแบบดังกลาวจะประสบความสําเร็จและมีความเสี่ยงนอยกวา

ภาพที่ 11 บรรยากาศการคาสง ในชุม ชน ที่มา : สํานักงานทรัพยสินสวนพระมหากษัตริย

ภาพที่ 12 การขนถ ายสินคาผาด วยรถจั กรยานยนต ที่มา : สํานักงานทรัพยสินสวนพระมหากษัตริย

ชุมชนหลากหลายชาติพันธุ ที่ตั้งของชุมชนเลื่อนฤทธิ์ถือเปนสวนหนึ่งของอาณาบริเวณยานการคาเยาวราชในชวง ปลาย (โคนหางมังกร) ดังนั้น ภาพความเขาใจของผูคนสวนใหญที่มีตอ ผูอ าศัยในแถบนี้จึง มัก มองวามีแตกลุมคนไทยเชื้อ สายจีนอาศัยอยูเ ทานั้น แตสําหรับ ชุม ชนเลื่อ นฤทธิ์แหง นี้ ถาหาก ไดเดินสํารวจดูแลวจะพบวากลุมคนที่อาศัยและใชชีวิตอยูในพื้นที่ชุม ชนจะประกอบไปดวยคน ไทยอีกกลุมหนึ่งคือ คนไทยเชื้อสายอินเดีย ดังนั้น หากจะพิจารณากลุม คนที่อ าศัยอยูในพื้นที่ ตามลัก ษณะทางชาติพันธุในชุม ชนแหง นี้จึง ไปประกอบไปดวยคน 2 กลุม หลัก ๆ คือ คนไทย เชื้อ สายจีน ที่เ ปน กลุม ชนซึ่ง มีก ารอพยพเขา มาจํา นวนมากตั้ง แตส มัยรัต นโกสิน ทรต อนตน เรื่อ ยมา และคนไทยเชื ้อ สายอิน เดีย ที ่เ ปน กลุ ม ชนซึ ่ง อพยพเขา มามากในชว งปลายสมัย รัชกาลที่ 5 และหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 โดยจํานวนของคนไทยเชื้อ สายจีนจะอยูในสัดสวนที่ มากกวา กลุมคนเหลานี้บางครอบครัวไดเชาตึกแถวเพื่อ ประกอบการคา อยูอ าศัยมานานกวา 3 ชั ่ว อายุค น เกิด เปน ความผูก พัน ทางจิต ใจระหวา งผู เ ชา กับ สํา นัก งานทรัพ ยส ิน สว น พระมหากษัตริยในฐานะเจาของพื้นที่ สะทอนภาพใหเ ห็นวาพื้นที่แหง นี้ เปนเสมือ นบานที่ทํา กิน รวมทั้ง ที่เ กิด และที่ตายของหลายครอบครัว และยัง นับ เปน ชุม ชนแหง หนึ่ง ที่อ ยูรว มกัน ดวยสันติสุขและความมีดุลยภาพทามกลางความหลากหลายทางวัฒนธรรม 46


คุณลัก ษณะนิสัย ซึ่ง เปนเอกลัก ษณข องคนทั้ง สองกลุม นี้ คือ การมีความสามารถใน การประกอบธุร กิจ การคาและความขยันขันแข็ง อดทน จึง มีสวนทําใหกิจ การของแตล ะราน มั่น คง สรา งผลกํา ไร และมีก ารสืบ ทอดอาชีพ จนสูค นในรุน ลูก รุน หลาน หากไดเ ดินสํารวจ ภายในบริเ วณพื้นที่ส ามารถที่จ ะพบเห็น ความชัดเจนของกิจ กรรมการคาของกลุม คนใน 2 ชาติพันธุนี้ไดจากชื่อรานคาแตละรานที่มีเอกลัก ษณท างภาษาของกลุม ชาติพันธุ เชน กลุม คน ไทยเชื้อสายจีน อาทิ จิ้นเฮง เปงซุนเชียง บูเ ซง จึง ตึ่ง กี่ ตั้ง เกียเส็ง โควฮั้วหลี เลาฮัวเซง หวองสินไท วานฝอลี้ ยงเซงหลี โควจือฮง จือฮวด และอื่นๆ กลุม คนไทยเชื้อ สายอินเดีย อาทิ ซิง หพ านิชเอ็นเตอรไพรส โมฮันอิม เปก ส ปากหวานพรประสิท ธิ์ กฤษณาเท็ก ซไทลส รายารามแอนดซ ัน ส (ราชเต็ก สไ ตลล) ใจกวา งพานิช กุม ารเ ท็ก ซไ ทล ศรีท ัก ราล เอ็นเตอรไพรส เปนตน

มรดกทางสถาปตยกรรม

ในพื ้น ที ่ช ุม ชนเลื ่อ นฤทธิ ์ม ีสิ ่ง ปลูก สรา งที่ป ระกอบไปดว ยอาคารโบราณซึ่ง กรม พระคลังขางที่ไดจัดสรางขึ้นในปลายสมัยรัชกาลที่ 5 โดยแบง เปนหมูอ าคารได 6 กลุม มีหอ ง เชาทั้ง หมดจํานวน 225 คูห า (ตามการสํารวจของกรมศิล ปากร) อาคารตึก แถวในพื้นที่สวน ใหญมีระดับความสูง 2 – 4 ชั้น ในสวนที่มีร ะดับ ความสูง 2 ชั้น เปนสถาปตยกรรมแบบชิโ นโปรตุก ิส (Sino-Portuguese) มีลัก ษณะคลายคลึง กับ ตึก แถวในปนัง สิง คโปร และบริเ วณ แพรง ภูธร แพรง นรา หนา กวางของแตล ะคูห ากวางเพียง 3.20 เมตร โดยมีอ ยู 2 รูป แบบ ใหญๆ แบบแรก คือ มีห ลัง คามุง กระเบื ้อ งวา ว ชั ้น ลา งเดิม เปน ประตูบ านเพี ้ย ม 6 บาน มีลวดลายปูนปนตามซุมประตู หนาตางชั้นบนสวนใหญเปนรูป สี่เ หลี่ยมมีส องชอ ง แตล ะ ชองมีบานเปดสองบาน มีกันสาดและชวงลมเหนือหนาตาง แบบที่ส อง คือ หลัง คาเปนเฉลียง มีลูกกรงระเบียงปูน สวนรายละเอียดหนาตางและประตูคลายคลึง กับ รูป แบบแรก (ยงธนิศร พิม ลเสถียร 2544:4-28) ลัก ษณะของการกอ สรางตึก แถวนี้จ ะไมมีก ารปก เสาเข็ม เปนแกน หลักเหมือนกับการสรางตึก ในสมัยปจ จุบัน แตจ ะมีทอ นซุง เปนจํานวนมากที่วางอยูใตผืนดิน เพื่อรับน้ําหนัก อาคาร มีโ ครงสรางระบบเสา-คานผสมกับ ผนัง รับ น้ําหนัก พื้นที่ชั้น 2 จะเปน โครงสรางไม ระบบคาน-ตง ปูพื้นไม โครงสรางหลัง คาเปนไม ผนัง กั้นระหวางคูห าจะกอ อิฐ ฉาบปูน สูง ขึ้นไปถึง หลัง คา ทําเปนผนัง กั้นไฟ ชวงละ 2-3 คูห า ซึ่ง เปนผนัง กันไฟที่ส รางขึ้น ภายหลังมีพระราชบัญญัติปองกันอัคคีภัย (กรมศิลปากร 2546:3)

47


ภาพที่ 13 รูปแบบของอาคารภายในชุมชน ที่มา : วิฑูรย อาสาฬหประกิต (2546 :20) ตึกแถวในชุมชนเลื่อนฤทธิ์ถือไดวามีลักษณะเฉพาะที่เ ปนตัวแทนของการพัฒ นาเมือ ง สะทอนถึงพระมหากรุณาธิคุณของพระบาทสมเด็จ พระจุล จอมเกลาเจาอยูหัว ที่โ ปรดเกลาฯ ใหนํารูป แบบการกอ สรางอาคารมาจากตา งประเทศซึ่ง เปนสวนสําคัญ ของยุท ธศาสตรก าร พัฒ นาเมือ งที่ทําใหป ระเทศชาติร อดพนจากการลาอาณานิคมของชาวตะวันตก ซึ่ง ในหลาย ประเทศที่เคยเปนอาณานิคมไดทําลายอาคารเหลานี้ไปมากเนื่อ งจากเปนหลัก ฐานที่แสดงถึง ความสูญเสียเอกราช ซึ่งในกรณีของไทยมิไดเปนเชนนั้น และดวยการที่เ ปนที่ดินในความดูแล ของสํา นัก งานทรัพ ยส ิน สว นพระมหากษัต ริย ทํา ใหก ารเปลี่ย นแปลงที่เ กิด ขึ้น มีนอ ยมาก ลัก ษณะบูร ณภาพหรือ ความสมบูร ณข องการเปน หลัก ฐานทางประวัติศ าสตร (Historical Integrity)ที่สําคัญของชาติจึงยังมีอยูครบถวน (ยงธนิศร พิม ลเสถียร 2547:69)โดยในปจ จุบัน อาคารตึกแถวทั้งหมดไดรับการบูรณะจากคนในชุม ชน กรุง เทพมหานคร สํานัก งานทรัพ ยสิน สวนพระมหากษัตริย และกําลัง อยูในระหวางขึ้นทะเบียนเปนโบราณสถานของชาติจ ากกรม ศิลปากร

48


บรรยากาศภายในชุมชน

ภาพที่ 14 ภาพมุมสูงบริเวณซอยเลื่อนฤทธิ์ 1 ที่มา : กรมศิลปากร (2546)

ภาพที่ 15 บริเวณดานหนาพื้นที่ติดถนนเยาวราช ที่มา : กรมศิลปากร (2546)

ภาพที่ 16 มุมสูงบริเวณถนนเยาวราชเกือบถึงแยกวัดตึก ที่มา : กรมศิลปากร (2546)

ภาพที่ 17 ภายในซอยเลื่อนฤทธิ์ 1 ที่มา : www.bangkok.com

ภาพที่ 18 บริเวณหนาชุมชนดานถนนเยาวราช ที่มา : www.bangkok.com 49


บรรยากาศภายในชุมชน

ภาพที่ 19 บรรยากาศในซอยเลื่อนฤทธิ์ 3 ที่มา : กรมศิลปากร (2546)

ภาพที่ 20 บรรยากาศภายในซอยเลื่อนฤทธิ์ 3 ที่มา : กรมศิลปากร (2546)

ภาพที่ 21 ความแออัดของรถยนตในซอยกลาง ที่มา : กรมศิลปากร (2546)

ภาพที่ 22 กลุมอาคารดานหลังติดกับตลาดสําเพ็ง ที่มา : กรมศิลปากร (2546)

ภาพที่ 23 กลุมอาคารดานถนนมหาจักร ที่มา : กรมศิลปากร (2546)

ภาพที่ 24 บรรยากาศในซอยเลื่อนฤทธิ์ 2 ที่มา : กรมศิลปากร (2546)

50


บรรยากาศภายในชุมชน

ภาพที่ 25 บรรยากาศในซอยเลื่อนฤทธิ์ 1 ที่มา : กรมศิลปากร (2546)

ภาพที่ 26 ความสวยงามของอาคารในพื้นที่ ที่มา : กรมศิลปากร (2546)

ภาพที่ 27 บรรยากาศในซอยเลื่อนฤทธิ์ 3 ที่มา : กรมศิลปากร (2546)

ภาพที่ 28 รานคาดานหนาพื้นที่ ถนนเยาวราช ที่มา : กรมศิลปากร (2546)

ภาพที่ 29 บรรยากาศบริเวณปากซอยเลื่อนฤทธิ์ 1 ที่มา : กรมศิลปากร (2546)

ภาพที่ 30 บรรยากาศบริเวณปากซอยเลื่อนฤทธิ์ 3 ที่มา : กรมศิลปากร (2546)

51


บทสรุป พื้นที่เลื่อนฤทธิ์มีพัฒนาการเปนชุมชนเมืองมาตั้ง แตส มัยรัตนโกสินทรตอนตนปรากฏ หลัก ฐานใหเ ห็นอยางชัด เจนในสมัยพระบาทสมเด็จ พระจุล จอมเกลาเจา อยูหัว รัชกาลที่ 5 เปนตนมา โดยพื้นที่บริเวณนี้ แตเดิมเปนที่อยูของกลุมขุนนาง ขาราชการ กรรมสิท ธิ์ที่ดินอยู ในการครอบครองของคุณ หญิง เลื่อ น ภรรยาหลวงฤทธิ์น ายเวร พุด เทพหัส ดิน ณ อยุธ ยา แตเ นื ่อ งจากปจ จัย สว นตัว ของคุณ หญิง เลื ่อ นที ่จ ะตอ งรับ ภาระหนัก ในการดูแ ลจุน เจือ ครอบครัว จึงไดนําที่ดินบริเวณดังกลาวมาขายใหกับกรมพระคลังขางที่ ที่ดินบริเ วณนี้นับ วาไดรับ การพัฒ นาจากรัฐ ในหลายดาน ทั้ง นี้เ ปนเพราะวาที่ตั้ง ของ ที่ดินติดอยูกับตลาดสําเพ็ง อันเปนตลาดการคาที่สําคัญ ของกรุง เทพฯในสมัยตนรัตนโกสินทร ซึ่งมีสภาพแออัดมาก และเพื่อ เปนการรองรับ การขยายตัวของตลาด รัฐ จึง ไดทําการตัดถนน หลายสายพาดผานในบริเวณพื้นที่ โดยที่ดินนี้ที่คุณหญิงเลื่อน นํามาขาย มีถนน 3 สายตัดผาน โดยรอบ คือ ถนนสําเพ็ง ถนนเยาวราช ถนนจักรวรรดิ และที่สําคัญ ไดมีก ารปลูก สรางตึก แถว สําหรับใหเชาอยูอาศัยและประกอบอาชีพคาขายของผูคน ผลจากการสรา งตึก แถวใหเ ชา ของกรมพระคลัง ขา งที ่ จึง ทํา ใหม ีบ รรดากลุ ม คน มากมายเขามาอยูอาศัยทําการคาขาย ชวงแรกๆ คือ ประมาณ หลัง พ.ศ.2452 เปนตนมา ใน พื้นที่มีก ารทํามาคา ขายเล็ก ๆนอ ยๆของผูเ ชา รายยอ ย พื้นที่ของชุม ชนยัง เปนจุดแวะพัก คา ง แรมของผูที่มาซื้อสินคาในตลาดสําเพ็ง มีธุร กิจ หอนางโลม และมีอุตสาหกรรมครัวเรือ นการ ตัดเย็บเสื้อผาของชาวจีน ซึ่งเปนอาชีพหลักของคนในพื้นที่เกิดขึ้น ในเวลาตอ มา หลัง พ.ศ.2500 ไดม ีก ารทยอยยา ยออกของผูเ ชา ที ่อ าศัย อยู เ ดิม โดยเฉพาะในกลุ ม ของผู ที ่ป ระกอบอาชีพ การตัด เย็บ เสื ้อ ผา เนื ่อ งปจ จัย หลายดา น เชน การเกิด ขึ้นของแหลง การคาเสื้อ ผาในยานอื่น ๆ ความกาวหนาทางเทคโนโลยีก ารผลิต และ การขยายกิจ การของแตล ะราน ขณะเดียวกัน ก็มีผูค นกลุม ใหมๆ ไดเ ขามาอยูอ าศัย โดยเปน กลุม พอ คา คนกลางชาวไทยเชื้อ สายจีน และอิน เดีย ที่มีค วามสามารถในการประกอบธุร กิจ การคา ผา ซึ่ง ขยับ ขยายตัว มาจากพื้น ที่ต อนในของตลาดสําเพ็ง พาหุรัด และที่อื่น ๆ เขา มา อยางตอเนื่อง ชุม ชนเลื่อ นฤทธิ์ใ นปจ จุบ ัน จึง เปนจุด ที่ค นในพื้นที่ป ระกอบกิจ กรรมทางเศรษฐกิจ ประเภทเดียวกัน นั่นคือ การเปนแหลง คาสง และคาปลีก ผาทอซึ่ง ตอ เนื่อ งกับ ตัวตลาดสําเพ็ง อันเปนตลาดคาสงที่สําคัญแหงหนึ่งของกรุงเทพฯ ทําใหพื้นที่เ ปนบริเ วณที่มีเ อกลัก ษณเ ฉพาะ (Homogeneous) หากจะวิเ คราะหลัก ษณะภาพรวมที่สําคัญ ของชุม ชนแหง นี้ สามารถแบง ออกเปน 4 ประเด็น สําคัญไดดังนี้ 52


1) ลักษณะทางกายภาพ พื้นที่ของชุม ชนมีขนาดใหญไมม ากนัก ที่ตั้ง ของชุม ชนตั้ง อยู ในพื้นที่ทางเศรษฐกิจ ที่สําคัญ ของเมือ งซึ่ง มีม าแตอ ดีต คือ ใกลกับ ตลาดสําเพ็ง สถานที่ติดตอ ของชุม ชนในปจ จุบ ัน เต็ม ไปดว ยยา นการคา หลายแหง อยูโ ดยรอบ เชน สํ า เพ็ง คลองถม พาหุรัด สะพานหัน เวิ้งนครเขษม ราชวงศ ซึ่ง ยานตางๆเหลานี้มีถนน ตรอก ซอก ซอยตางๆ เชื่อมโยงถึงกัน จึงกอใหเกิดผลดีตอพื้นที่อยูดวยกันหลายทาง ดัง เชน ทําใหงายตอ การเขาถึง พื้นที่ทั้งทางเทาและรถยนต การเปนตัวสนับสนุนการคาซึ่ง กันและกัน คือ ทําใหผูคนสามารถ ที่จะจับจายสินคาที่ตองการไดหลากหลายอยางที่อยูใกลเ คียงกันในยานตางๆ โดยเดินทางไป มาไดอยางสะดวก 2) กิจ กรรมในพื้น ที่ พื้น ที่ข องชุม ชนถือ เปน แหลง พาณิช ยกรรมใจกลางเมือ งที่มี เอกลัก ษณ คือ การเปนแหลง การคาสง และคาปลีก สินคาประเภทผาทอ ผามวน นานาชนิด โดยเปน แหลง คาผาที่ตอ เนื่อ งกับ ตลาดสําเพ็ง ถึง แมวาในชุม ชนจะมีกิจ กรรมอื่นๆปะปนอยู ก็ตาม เชน รานคาวัสดุ อุปกรณฮารดแวร ผามาน ยา รับ ตัดเสื้อ โหล แตก ารคาสง ผาก็ถือ เปน กิจ กรรมในพื ้น ที ่ที่โ ดดเดน ของชุม ชนนี้ ขณะที ่บ ทบาทของพื ้น ที่เ พื่อ การอยู อ าศัย กลับ มี บทบาทนอยลง เกิดการแบงแยกกันระหวางที่อยูอาศัยกับที่ทํางาน อันมีส าเหตุม าจากจํานวน สมาชิก ในครอบครัวที่เ พิ่ม มากขึ้น จึง ทําใหขนาดของพื้นที่ที่ม ีอ ยูอ ยางจํากัดมีไมเ พียงพอตอ การอยูอาศัยและประกอบอาชีพ กลุมผูประกอบการรานคาเกือบทั้งหมด จึง ยายออกไปอาศัย อยูในบานพัก แถบชานเมือ ง และเขามาใชพื้นที่ในชวงทํางาน ทําใหบ รรยากาศความคึก คัก ของชุมชนจึงจํากัดอยูเฉพาะในเวลากลางวัน 3) ผูคนที่เขามาเกี่ยวของกับพื้นที่ชุม ชน ดวยปจ จัยในดานตําแหนง ที่ตั้ง ของชุม ชนซึ่ง อยูในใจกลางเมือง และการมีเสนทางการสัญจรที่มีระบบถนน และทางเดินเทาเชื่อ มตอ ถึง กัน รวมทั้ง กิจ กรรมการคาในพื้น ที่ จึง ทํา ใหพื้นที่ของชุม ชนแหง นี้เ ปน กระแสดึง ดูดใหก ลุม ผูค น มากมายที่เขามาแวะเวียนเกี่ยวขอ งกับ พื้นที่ม ากมายหลากหลายกลุม ทั้ง คนที่มีเ ปาหมายตอ พื้น ที่โ ดยตรง เชน กลุม ผูคนที่อ าศัยอยูใ นพื้นที่ และกลุม ผูป ระกอบอาชีพ พอ คา ผา ลูก คา ลูกจาง กลุมที่มิไดมีเปาหมายตอ พื้นที่โ ดยตรง เชน กลุม หาบเรแผงลอย กลุม ผูที่ใชพื้นที่เ ปน เสนทางผาน หรือเปลี่ยนรูปแบบการสัญจร ซึ่งมีอยูพลุกพลานตลอดทั้งวัน 4) กลุมและปฏิสัมพันธของคนในพื้นที่ ในชุมชนแหงนี้ปรากฏใหเห็นกลุม ทางสัง คมได ใน 3 ลักษณะ คือ กลุม แรกเปนกลุม เพื่อ นบาน (neighborhood) ซึ่ง พบวามีอ ยูห ลากหลาย รูป แบบความสัม พัน ธ เชน ความสัม พันธแ บบสนิม สนม โดยจะอยูในกลุม คนที่มีอ ายุรุนราว คราวเดียวกัน คนเฒาคนแก ที่เขามาอยูในพื้นที่พ รอ มๆกัน ,ความสัม พันธแบบผิวเผิน ซึ่ง เกิด จากการที่คนในพื้นที่มีมากหนาหลายตาและการยุง อยูกับ กิจ กรรมการคาของแตล ะคนจึง ทํา ใหผูคนมิไดมีการไปมาหาสูกันมากนัก แตก็มิไดหมายความวาจะไมรูจัก กัน,ความสัม พันธแบบ 53


ขัด แยง ซึ่ง เปน ปญ หาที ่เ กิด จากความขัด แยง ในการใชพื้น ที่ท างกายภาพ คือ ปญ หาการ จอดรถ และการทิ้ง ขยะ ,เพื่อ นบานที่ไมรูจัก กัน ซึ่ง จะอยูในกลุม คนรุนเกา ที่อ ยูม านานและ กลุมคนที่เขามาอยูใหมที่มิไดมีก ารผูก สัม พันธติดตอ กันยุง อยูกับ การคาของตนแตเ พียงอยาง เดียว กลุมที่สองคือ กลุมพอคาผาที่มีความสัมพันธในเชิงเอื้อประโยชนท างการคาและแขง ขัน กัน และกลุมสุดทายคือ กลุม ลูก จางชาวอีส าน ซึ่ง กลุม คนทั้ง หมดนี้ตางใชพื้นที่ของชุม ชนเพื่อ การดํารงชีวิตทางสังคมและเศรษฐกิจมาอยางตอเนื่อง จากการวิเคราะหใน 4 ประเด็นหลักของชุมชนดังกลาวมานี้แตละประเด็นตางมีความ เชื ่อ มโยงตอ กัน ทํ า ใหเ ห็น ถึง นัย สํา คัญ ของพื้น ที่ซึ ่ง มีค วามหมายตอ ผูค นที ่ใ ชพื ้น ที ่แ หง นี้ โดยเฉพาะประเด็นทางดานกายภาพ คือในเรื่อ งของตําแหนง ที่ตั้ง ของชุม ชนซึ่ง อยูในทําเลที่มี ศัก ยภาพทางธุร กิจ เปนแหลง การคาใจกลางเมือ ง (Center Business District) ที่ไดเ ปรียบ ในการแขงขันเชิงเศรษฐกิจมากที่สุดแหงหนึ่ง ซึ่งไดทําใหพื้นที่มีคุณลักษณะที่สําคัญ คือ ระดับ ราคาที่ดินที่สูง กิจกรรมที่ตั้งอยูใชพื้นที่นอยแตจะไดรับ คาตอบแทนที่สูง ผนวกกับ การมีร ะบบ สาธารณูป การอยา งถนนระบบขนสง ที่เ ชื่อ มโยงถึง กัน ทํา ใหง า ยตอ การเขา ถึง พื้น ที่ ปจ จัย เหลานี้จึงดึงดูดใหผูคนกลุมอื่นๆ หวังจะเขามาใชประโยชนจากพื้นที่แหงนี้อยางตอเนื่อง

54


ภาคผนวก ก

ประวัติคุณหญิงเลื่อนฤทธิ์ เทพหัสดิน ณ อยุธยา

ประวัติคุณหญิงเลื่อนฤทธิ์ที่นํามาเสนอในที่นี้ เปนพระนิพนธของ สมเด็จ พระเจาบรม วงศเธอกรมพระยาดํารงราชานุภาพอันมีที่มาจากหนัง สือ คนดีที่ขา พเจา รูจัก เลม 2 (2405– 2486 ) พิมพโดยสํานักพิมพรวมสาสน.หนา 262 – 269.

55


คุณหญิงเลื่อนฤทธิ์ เทพหัสดิน ณ อยุธยา โดย สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ กรมพระยาดํารงราชานุภาพ คุณหญิง เลื่อ นฤทธิ์ ต.จ. เปนเชื้อ สายราชินิกุล ในสมเด็จ พระเทพศิรินทราบรมราชินี พันปหลวงแหงพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว เกิดในรัชกาลที่ 4 เมื่อ วันอาทิตยที่ 6 กันยายน ปกุน เบญจศก พ.ศ.2406 พระยาจาแสนยบ ดี (เดช คฤหเดช)เปนบิดา คุณหญิง ฟกทอง ธิดาพระยาราชสุภาวดี (ปาล สุรคุปต) ราชินิกุล เปนมารดา เมื่อคุณหญิงเลื่อนฤทธิ์ยังเยาว ในเวลาตอนปลายรัชกาลที่ 4 และตอนตนรัชกาลที่ 5 นั้น การศึก ษาอัก ขรสมัยตามวิธีปจ จุบันนี้ พึ่ง เริ่ม จัดแตสําหรับ เด็ก ผูชาย สวนเด็ก ผูห ญิง ใน สมัยนั้น นอกจากเจานายในพระราชสกุล ผูป กครองมัก ยัง ไมเ ห็นกันอยูวาจําจะตอ งเลาเรียน แตเ ผอิญ คุณหญิง เลื่อ นฤทธิ์อ ยูในฐานะผิดกับ เด็ก หญิง คนอื่นดวยเหตุ 2 อยาง อยางหนึ่ง คือ เปนลูก รัก ของบิดาและทํา นองจะติดบิด า ไปไหนบิด าจึง ยอ มพาไปดวยเสมอ แมจ นถึง เมือ ง เขมรก็ไ ดเ คยไปกับ บิด าตั ้ง แตย ัง เล็ก อีก อยา งหนึ ่ง นั ้น บิด ามีตํ า แหนง รับ ราชการอยู ใ น กระทรวงมหาดไทย ไดเปนเจาหนาที่ในการทําหนังสือ เชน รางทอ งตรากระทรวง หรือ เขียน ใบบอกของตนในเวลาไปราชการเปนตน มาตั้ง แตยัง เปน หลวงศรีเ สนา คุณ หญิง เลื่อ นฤทธิ์ ตามติดตัวบิดาอยูเสมอ ก็ไดโอกาสประกอบกับ อุป นิสัยซึ่ง ชอบเรียนหนัง สือ เพียรศึก ษาอัก ข รสมัยตอ พวกนายเวรและเสมียนบาง ติดบิดาบาง จนไดรับ ความรูห นัง สือ ไทยคลายกับ เปน เด็กผูชาย เพราะฉะนั้น เมื่อภายหลัง มาจึง สามารถจนถึง แตง หนัง สือ ได เชน แตง ประวัติของ คุณหญิง ฟก ทองผูม ารดา อันปรากฏอยูขางตนหนัง สือ ประชุม พงศาวดารภาคที่ 2 ซึ่ง สมเด็จ พระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถฯทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯใหพิม พพ ระราชทานในงานศพ คุณหญิงฟกทองนั้นเปนตน ชื่อเสียงของคุณหญิงเลื่อนฤทธิ์เริ่ม ปรากฏแพรห ลายแตเ มื่อ แรกรุนสาว ดวยเลื่อ งลือ กันวาเปนหญิง สวยอยางยิ่ง ในสมัยนั้นคนหนึ่ง แตเ ปนบุญ ตัวมิตอ งรับ ความเดือ ดรอ นเพราะ เหตุนั ้น ดว ยเปน ผู ด ีม ีศ ัก ดิ ์แ ละจรรยา ทั ้ง บิด ามารดาก็ป กครองโดยทางที ่ช อบ มาถึง พ.ศ.2419 ไดทําการมงคลแตงงานกับนายพุด เทพหัสดิน ณ อยุธยา อันเปนราชนิกุล และเปน บุตรชายสืบ สกุล ของพระยาชัยสุริน ทร (เจีย ม)ซึ่ง เคยเปนที่พ ระพี่เ ลี้ย งแลว ไดเ ลื่อ นขึ้น เปน เจากรมในพระบาทสมเด็จเจาพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว เมื่อ กอ นเสด็จ เถลิง ถวัล ยราชสมบัติ คุณ หญิง เลื่อ นฤทธิ์อ ยูก ิน กับ สามีม าดว ยความสโมสรสมบูร ณพ ูน สุข ดว ยกัน ฝา ยสามีเ ปน ขา หลวงเดิม ไดร ับ ราชการสนองพระเดชพระคุณ ตั้ง แตเ ปนมหาดเล็ก วิเ ศษแลว ไดเ ลื่อ นยศ บรรดาศัก ดิ์ขึ้นโดยลําดับ ดวยมีความสามารถ จนไดเ ปนที่ห ลวงฤทธิ์นายเวรมหาดเล็ก และ 56


ทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯใหมียศทหารเปนราชองครัก ษป ระจําพระองค และไดเ ปนนายพัน เอกที่ปลัดทัพบกในกรมยุทธนาธิการ ฝายภรรยาอํานวยการบานเรือน และชวยตอ นรับ เลี้ยงดู มิต รสหายของสามีในเวลาเมื่อ มาเยี่ยมเยือ นถึง ที่อ ยูก ็ม ีผูคุน เคยชอบพอมากขึ้น โดยลํา ดับ ตัวขาพเจาผูแตงเรื่องประวัตินี้ไดคุนเคยกับ หลวงฤทธิ์นายเวรอยูกอ นแลว ครั้นเมื่อ เปนผูชวย บัญชาการทหารบก หลวงฤทธิ์นายเวรไดเ ปนตําแหนง ของขาพเจาก็เ ลยชอบพอกันสนิก สนม ไดไปหาหลวงฤทธิ์นายเวรถึง บานเรือ นเนื่อ งๆ จึง ไดเ ริ่ม คุนเคยชอบพอกับ คุณหญิง เลื่อ นฤทธิ์ แตนั้น มาจนตลอดอายุ หลวงฤทธิ์นายเวรกับคุณหญิงเลื่อนฤทธิ์มีบุตรธิดาดวยกัน 9 คน มีตัวอยูในเวลานี้แต 4 คน คือ 1. นายพลโท พระยาเทพหัสดิน (ผาด เทพหัสดิน ณ อยุธยา) 2. นางสาวละมาย เทพหัสดิน ณ อยุธยา 3. นายพลตรี พระยาอานุภาพไตรภพ (จํารัส เทพหัสดิน ณ อยุธยา) 4. คุณหญิงเพ็ญตรี อรรถกลยวทาวัติ คําโบราณที่กลาววาความสุขเปนคูกับความทุกข คํานี้ประจัก ษจ ริง ในเรื่อ งประวัติของ คุณหญิงเลื่อนฤทธิ์ ดวยตั้ง แตแตง งานมาไดมีความสุขทุก สถานอันสตรีจ ะพึง หวัง แตไดครอง ความสุขนั้นอยูเพียง 14 ป ก็อันตรธานไปโดยพลัน ดวยเมื่อ พ.ศ.2433 หลวงฤทธิ์นายเวรเกิด มีอาการปวยอยูไมกี่วันถึงแกกรรม ทั้งความทุกขและความลําบากจูมาถึงตัวคุณหญิง เลื่อ นฤทธิ์ โดยทันที ราวกับวาน้ําไหลหลากทวมมารอบขางดวยผูเ ปนชั้นบุพ การีที่ไดเ คยปกครองตนมา แตกอน เหลืออยูแตม ารดาก็ทุพ พลภาพ คุณหญิง เลื่อ นฤทธิ์ตอ งดูแลปฏิบัติอ ยูแลว ไหนบุตร และธิดาซึ่งไดมีขึ้นก็ลวนแตยอ มเยาวยัง จะตอ งเลี้ยงดูอ ยูในอกอีก ชานาน คุณหญิง เลื่อ นฤทธิ์ ไดป ระสบความทุก ขข องแมเ จา เรือ นสัก เพีย งไรในครั ้ง นั้น ไดแ ตส ัน นิษ ฐานโดยความที่ พรรณนา ที ่ม ีห วัง อยูแ ตไ มข าดแคลนทรัพ ยส มบัต ิก ับ พระบารมีใ นพระบาทสมเด็จ พระ จุล จอมเกลา เจา อยูห ัว กับ ทั้ง สมเด็จ พระอนุช าเปน ที่พึ่ง ก็ไ ดพ ระบารมีป กเกลา ฯสมหวัง เปน ตน วา การศึก ษาของบุต ร สมเด็จ พระพุท ธเจา หลวงก็ท รงพระกรุณาโปรดฯใหส ง เปน นักเรียนหลวงไปเลาเรียนในยุโรปทั้ง 2 คน และเมื่อคุณหญิงเลื่อนฤทธิ์มีความทุกขมากลําบาก อยางไร ก็โ ปรดฯพระราชทานพระบรมราชานุญ าตใหเ ขาเฝาแหนเพ็ดทูล ไดเ ปนนิจ สมเด็จ พระอนุชาก็ทรงพระกรุณาทํานองเดียวกัน แมมิตรสหายของสามี โดยมากก็มีไมตรีจิตเต็ม ใจ ชว ยเหลือ เมื่อ คุณ หญิง เลื ่อ นฤทธิ์วา วานหรือ ปรึก ษาหารือ ในเวลามีก ิจ ธุร ะหามีผู ใ ดที่จ ะ รังเกียจไม อาศัยฐานะเปนดังกลาวมา ประกอบกับความสังวรจรรยามารยาทมั่นคงเปนเครื่อ ง คุมครองตน คุณหญิงเลื่อนฤทธิ์จึงตั้งตัวมาได

57


อีกประการหนึ่ง คุณหญิงเลื่อนฤทธิ์นั้นแมเมื่อสิ้นสามีแลว กิจ ภารอันใดซึ่ง สามีไดเ คย รับ เปน ธุร ะมา เปน ตน วา ดูแ ลจัด การเลา เรีย นของนอ งๆในสกุล เทพหัส ดิน ซึ ่ง ยัง ยอ มเยา คุณหญิงก็เอาเปนธุร ะจัดการทํานุบํารุง เหมือ นอยางที่ส ามีไดเ คยทํามา อีก ประการ 1 หนาที่ อยางใดของผูเปนภรรยาขาทูลละอองธุลีพระบาทจะพึง กระทําก็ยัง คงกระทําตอ มาไมท อดทิ้ง ใหบ กพรอ ง ยกตัว อยา งดัง เมื่อ ครั้ง ตั้ง สภาอุณ าโลมแดง (อันเรียกวา “สภากาชาด” บัดนี้) ก็สมัครเขาเปนสมาชิกแตชั้นแรก และเพราะเหตุที่ไดเลาเรียนอักขรสมัยมีความรูม ากดัง กลาว มาแลว ใน ไมช า ก็ไ ดเ ลื ่อ นเ ปน ตํ า แห นง เ ลขา นุก า ร แ ละตอ มา ไดร ับ พร ะรา ชทา น เครื่องราชอิสริยาภรณจ ตุตถจุล จอมเกลาฝายใน แลวไดเ ลื่อ นขั้นถึง ชั้นตติยจุล จอมเกลาเปน เกีย รติพ ิเ ศษ อัน ภรรยาขา ราชการซึ่ง สามีม ิไ ดร ับ พานทอง นอ ยตัว จะไดร ับ พระราชทาน เหมือนคุณหญิงเลื่อนฤทธิ์ เรื่องประวัติของคุณหญิงเลื่อนฤทธิ์ตอนเมื่อตั้งตัวไดแลวไปคิดการประมาณพลาดเสีย คราวหนึ่ง ดวยเมื่อเจาพระยามหินทรศักดิ์ธํารงยัง มีชีวิตอยู ทานคิดตั้ง โรงละครเก็บ เงินคนดู อยางเลนกันในยุโรปมีคนชอบดูกันมาก ครั้นละครโรงปรินสทิเ อเตอนั้นเลิก เมื่อ เจาพระยามหิ นทรฯถึงอสัญกรรม คุณหญิงเลื่อนฤทธิ์สําคัญ วาการเลนละครเชนนั้นจะหากําไรเลี้ยงตัวได ก็ คิดฝกหัดละครขึ้นโรงเหนึ่ง เรียกชื่อ วา “ละครผสมสามัคคี” แตก ารนั้นกลับ เปนทางขาดทุน และเปนเหตุใหไดรับ ความเดือ ดรอ นตางๆ แมจ นถูก หมิ่นประมาทถึง ตอ งรอ งฟอ งในโรงศาล เพื่อ รัก ษาชื่อ เสีย ง และยัง มีค วามรํา คาญดว ยประการอยา งอื่น เกือ บเนือ งนิจ จนสมเด็จ พระพุทธเจาหลวงออกพระโอษฐวานาตอสรอยชื่อวา“ทานเลื่อนฤทธิ์นานาเนกนิตอินสิเ ดนต” ดังนี้ เพราะเกิดเหตุเดือดรอ นทีไร คุณหญิง เลื่อ นฤทธิ์ก็เ ปนเขาไปเฝาฯกราบทูล ใหท รงทราบ ความทุกขรอนตามเคยมา ดวยรูวาทรงพระกรุณาไมถือโทษ แตครั้ง นั้นเปนบุญ ที่ยัง ไมทันทรุด โทรมเสียหายมากมาย พอพระยาเทพหัสดินบุตรคนใหญซึ่งออกไปยุโ รปสําเร็จ การศึก ษากลับ มาถึง คุณ หญิง เลื่อ นฤทธิ์ก็ม อบกิจ ธุร ะใหบ ุตรคิด จัดการแกไข และไดอ าศัย พระบรมราชา นุเคราะหของสมเด็จพระพุทธเจาหลวง ทรงรับซื้อบานที่เกาแกอันอยูริมวัดจักรวรรดิราชาวาส ใหเปนทุน จึง พนความลําบากแลวไปตั้ง บานเรือ นอยูใหมที่ริม คลองสามเสนตอ กับ ถนนพิชัย ไดอยูที่นั้นตอมาโดยความผาสุกจนตลอดอายุ แมเ มื่อ คุณ หญิง เลื่อ นฤทธิ์ม อบกิจ การอยา งอื่นแกบ ุต รแลว หนา ที่อ ัน ใดซึ่ง ภรรยา ขาราชการจะพึงสนองพระเดชพระคุณในพระราชสํานัก ก็ดี จะพึง กระทําเพื่อ ความเคารพตอ ทานผูมีพระคุณแกสามีและตัวเองมาแตกอนก็ดี คุณหญิงเลื่อ นฤทธิ์ยัง คงปฏิบัติอ ยูเ ปนนิจ มิได ละเลยทอดทิ้ง เพราะฉะนั้น จึง อยูในผูซึ่ง ทรงพระกรุณาโปรดฯยกยอ ง ตอ มาในรัชกาลที่ 6 ดัง เชนเมื่อ สมเด็จ พระศรีพ ัชรินทราบรมราชินีนาถฯ ทรงฉลองพระชนมายุครบ 50 ป เมื่อ พ.ศ.2456 ก็ท รงพระกรุณาโปรดเกลา ฯใหนับ คุณหญิง เลื่อ นฤทธิ์ใ นหมูผูเ ปนสหชาติชั้นสูง 58


อันโปรดฯใหเชิญเขาประชุมนั่งรวมโตะเสวย และพระราชทานของขวัญ เปนที่ร ะลึก ในงานนั้น ดวย พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัวก็ท รงพระกรุณาโปรดเกลาฯพระราชทานเข็ม ขาหลวงเดิม กับ เข็ม พระปรมาภิไธยชั้นที่ 2 (ลงยาประดับ เพชร) แลวพระราชทานเลื่อ นขึ้น เปนชั้นที่ 1 (ประดับ เพชรลวน) เปนของขวัญ เมื่อ คุณหญิง เลื่อ นฤทธิ์ฉลองอายุครบ 60 ป เพราะไดรับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณถึงชั้นสูงสุดอันสมควรแกฐานะมาแตในรัชกาล กอนแลว เรื่องประวัติของคุณหญิงเลื่อนฤทธิ์ ในตอนเมื่ออายุลวงเขาปจ ฉิม วัยดูเ หมือ นจะกลาว ไดวาพนเขตทุก ขรอ นมีแตความสุขฝายเดียว ดวยบุตรทั้ง 2 คน ก็ไดรับ ราชการมียศศัก ดิ์สูง ดวยความชอบความดี ธิดาที่ออกเรือนก็ไดเ ปนคุณหญิง ธิดาที่ยัง อยูดวยก็อุตสาหป ฏิบัติใหได ความสุขสําราญ เปนอันปลดเปลื้อ งความวิตกในการบานเรือ น ตลอดจนการที่จ ะรัก ษาวงศ สกุล ใหถ าวรสืบ ไปภายหนา เปน อัน สิ ้น หว งใย เพราะวางใจในบุต รธิด าไดป ระการหนึ ่ง อีกประการหนึ่งวาโดยสวนผูอื่นนับตั้งแตเจานายขาราชการ ทั้งฝายหนาและฝายใน ตลอดจน บุคคลชั้นอื่น บรรดาที่ไดรูจักคุนเคยกันมาก็ดูเหมือ นจะมีแตผูชอบพอ ผิดกันแตชอบมากและ นอยตามความคุนเคย ทั้งนี้ก็เปนธรรมดา เพราะคุณหญิงเลื่อ นฤทธิ์รัก ษาวัตรปฏิบัติส ม่ําเสมอ เปนตนวาเคยสนองพระเดชพระคุณในพระบาทสมเด็จ พระเจาอยูหัวและเจานายมาแตกอ น อยางไร และเคยนบนอบนับถือหรือชอบพอทานผูอื่นมากอยางไร ก็คงประพฤติเ ชนนั้นตอ มา แมใ นเวลาเมื่อ สูง อายุแ ลวตามโอกาสและกําลัง ซึ่ง สามารถทําได มิใ หบ กพรอ งหรือ แปลก เปลี่ย นเปน อยา งอื่น จึง ชื่อ วาไดค วามสุข จากกัล ยาณมิต รดว ยอีก สถานหนึ่ง จนตลอดอายุ ประวัต ิข องคุณ หญิง เลื่อ นฤทธิ์ถา จะรวมกลา วแตโ ดยยอ ก็ด ูเ หมือ นจะสมกับ คํา อุป มาใน พระพุท ธศาสนา วาเปนผูม าดว ยความสวางไสว เมื่อ สิ้น อายุก็ล ะโลกไปดวยสวา ง มีค วามดี ปรากฏประจําอยูเปนที่สรรเสริญของสาธุชนดวยประการฉะนี้ คุณหญิง เลื่อ นฤทธิ์ปวยถึง แกก รรมเมื่อ วันที่ 22 เมษายน ปเ ถาะ พ.ศ.2470 คํานวณ อายุได 63 ป สิ้นเรื่องประวัติของคุณหญิงเลื่อนฤทธิ์

59


ทรงพระกรุณาแตงตั้งหลวงฤทธิ์นายเวร คัดจากราชกิจจานุเบกษา เลม ๗ หนา ๑๕๒-๑๕๓ ร.ศ.๑๐๙ (พ.ศ.๒๔๓๓) หลวงฤทธิ์นายเวร (พุด) บุตรพระยาไชยสุรินทร (มล.เจียม) ในรัชกาลปจจุบันนี้ไดรับ ราชการเปนมหาดเล็กหลวงเวรสวัสดิ์ ไดรับพระราชทานเบี้ยหวัดปละ ๘ ตําลึง แลวทรงพระกรุณา โปรดเกลาฯใหเปนนายรองไชยยรรค ไดรับพระราชทานเบี้ยหวัดปละ ๑๕ ตําลึง ภายหลังโปรด เลื่อนใหเปนนายสนิท หุมแพร ไดรับ พระราชทานเบี้ยหวัดปละชั่ง ๑๐ ตําลึง แลวไดเลื่อ นเปน นายกวด หุม แพร ตนเชือก ตอ มาทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯใหเปนหลวงฤทธิ์นายเวร ไดรับ พระราชทานเบี้ยหวัดปละ ๓ ชั่ง และไดเปนราชองครักษและนายพันโทรองผูชวยผูบัญ ชาการ ทหารบกดวย โปรดพระราชทานเงินเดือนๆละ ๒ ชั่ง ๑๐ ตําลึง เบี้ยเลี้ยงเดือนละ ๓๐ บาท ไดรับ พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณตติยจุลจอมเกลา ๑ และมงกุฎสยามชั้นที่ ๕ วิจิตราภรณ ๑ วันที่ ๒๑ มิถุนายน รัตนโกสินทรศก ๑๐๙ เวลาย่ําค่ําเศษ ปวยเปนลม ใหแนนเสียด หาหมอจุย เชลยศักดิ์รักษา หมอประกอบยาใหรับประทาน อาคารคอยทุเลาลง แลวโรคแปรเปนอุจจาระธาตุ ผิดปกติ หาหมอประสิทธิ์วิทยารักษาไดประกอบยาแกอาการทรงอยู แลวไดนําอาการขึ้นกราบ บังคมทูลพระกรุณาโปรดเกลาฯ พระราชทานพระยาประเสริฐสารทธํารง หลวงศรีศักดิ์ หมอหลวง มารักษาดวยอีก วันที่ ๑๑ กรกฎาคม อาการทรุดหนักลงใหออนเปลี้ยและเพอไมไดสติ วันที่ ๑๔ เวลา ๗ ทุม ใหหอบ เวลา ๑๐ ทุมเศษ หลวงฤทธิ์นายเวร(พุด)ถึงแกกรรม อายุได ๓๑ ป พระราชทานน้ํา ชําระศพ หีบสลักกานแยงเปนเกียรติยศเลื่อนภรรยาเปนผูจัดการศพ พระราชทานเพลิงศพหลวงฤทธิ์นายเวร คัดจากราชกิจจานุเบกษา เลม ๗ หนา ๔๑๓ ร.ศ.๑๐๙ (พ.ศ.๒๔๓๓) วันที่ ๓๑ มกราคม รัตนโกสินทรศก ๑๐๙ เวลาค่ํา ยกหีบ ศพ หลวงฤทธิ์นายเวร(พุด) กรมมหาดเล็ก ขึ้นวอประเทียบ มีก ลองมลายูของหลวง เขากระบวแหไปโรงทึม วัดจัก รวรรดิ ราชาวาส วันที่ ๒ กุมภาพันธ เวลาบายพระราชทานเพลิง พระราชทานผาขาว ๒ พับ เงิน ๑๔๐ เฟอง เครื่องพระราชทานเพลิงพรอม

60


ผูดีแปดสายแรก ผูดีแปดสาแหรก โดย จุลลดา ภักดีภูมินทร

ผูดีแปดสาแหรก จริงๆ แลว คืออยางไร ฟงคลายๆคําประชดนะ เพิ่ง อานหนัง สือ เลม หนึ่งพบวา รูจักชื่อบรรพบุรุษทางแมขึ้นไปถึง ๗ ชั้น ซึ่งแตละชั้นลวนแตเปนผูดี เปนที่รูจัก ของ คนทั่วๆไป เมื่อแรกทีเดียวไดฟงมาวาไมใชคําประชด เปนคําพูดเมื่อตนรัตนโกสินทรนี้เอง ตามพระนิพ นธข องสมเด็จ พระราชปตุล าบรมพงศาภิมุข เจาฟา ภาณุรัง ษีส วางวงศ กรมพระยาภาณุพัน ธุวงศว รเดช (สมเด็จ พระอนุช าธิร าชรว มพระครรภในพระบาทสมเด็จ พระพุทธเจาหลวง) เรื่อง ราชินิกุล ในรัชกาลที่ ๕ ราชิน ิก ุล นั้น ที ่ใ หค วามหมายกัน วา เปน สกุล ฝา ยราชิน ี ยัง ไมถูก ตอ ง“ราชินิก ุล ” หมายถึงสกุล พระญาติ ฝายสมเด็จ พระบรมราชชนนีพันปห ลวง คือ หากทรงพระอิส ริยยศ พระราชินี ก็ตองเปนสมเด็จพระพันปหลวงในรัชกาลตอไปดวย ทั้งนี้แม “เจาจอมมารดา” ซึ่ง เปน พระสนมเอกในพระเจา แผน ดิน หากมีพ ระราชโอรสเสด็จ ขึ้น ครองราชย ก็ส ถาปนา พระชนนีขึ้นเปน สมเด็จ พระบรมราชนนีพันปห ลวงได แตถาหากมิใชส มเด็จ พระราชินีห รือ พระสนมเอกของพระเจา แผน ดิน ก็จ ะทรงพระอิส ริย ยศ“สมเด็จ พระบรมราชชนนี”ไมมี “พันปหลวง”ทายพระนาม ราชินิกุล จึงเปนสกุลฝายสมเด็จพระบรมราชชนนีพันปหลวง ดังเชน สกุล ณ บางชาง สกุล ชูโ ต สกุล บุน นาค พระญาติข องสมเด็จ พระอมริน ทราบรมราชินี ในรัช กาลที่ ๑ เปน ราชินิกุลกอนสกุลอื่นในสมัยกรุงรัตนโกสินทร ซึ่งพอพระบาทสมเด็จ พระพุท ธเลิศหลานภาลัย เสด็จเถลิงถวัลราชสมบัติ สมเด็จ พระอมรินทราฯเสด็จ อยูในที่ส มเด็จ พระบรมราชชนนีพันป หลวง พระญาติของสมเด็จ พระอมรินทราฯก็ขึ้นสูฐ านะเปนราชินิกุล แตนั้นมา คือ เมื่อ พ.ศ. ๒๓๕๖ กรุงรัตนโกสินทรมีราชินิกุลสายแรกเปนปฐม สมเด็จพระราชปตุลาฯ ทรงพระนิพนธถึง เรื่อ ง“ผูดีแปดสายแรก” ไววา“ผูซึ่ง สืบ สาย มาแตสกุล ซึ่งเปนสกุลผูดีสายแรกๆที่เกิดขึ้นในกรุงรัตนโกสินทร”และซึ่งเปนคําที่ก ลาวโฉมถึง ผูซึ่งสืบสายมาแตผูดีหลายๆสายวาผูดีแปดสายแรก จะเห็นไดวาทานทรงใชคําวา“ผูดีแปดสาย แรก” มิใช “ผูดีแปดสาแหรก” แลว ในพระนิพ นธนั้น ทา นก็ท รงยกตัว อยา งบุต รธิด าของหลวงฤทธิ์น ายเวร (พุด เทพหัสดิน ณ อยุธยา) กับ คุณหญิง เลื่อ นฤทธิ์ (สกุล เดิม คฤหเดช สายสกุล ราชินีกุล รัชกาลที่ ๕) บุตรธิดาของทานคูนี้ เปนผูดีถึงสิบสายแรก ไมใชเ พียงแคแปดสายแรกทรงแยกสายเอาไว ดังนี้ 61


ทางบิดา (คือทางหลวงฤทธิ์นายเวร) มีเชื้อสายมาแต ๑. สายราชินิกุลกรุงรัตนโกสินทร (คือพระบรมราชจักรีวงศ) ๒. สายราชินิกุล รัชกาลที่ ๒ (คือสกุลบางชาง) ๓. สายราชินิกุล รัชกาลที่ ๔ (คือสกุลเชื้อสายจีนแซตัน) ๔. สายราชินิกุล รัชกาลที่ ๓ (คือสกุลเชื้อสายแขกสุนี) ๕. สายราชินิกุล รัชกาลที่ ๓ (คือสกุลชาวสวนวัดหนัง) ๖. สายราชตระกูลกรุงทวาราวดี (กรุงเกา) (คือสาย ม.ร.ว.ทับ) ทางมารดา (คือทางคุณหญิงเลื่อนฤทธิ์) มีเชื้อสายมาแต ๑. สายราชินิกุล รัชกาลที่ ๕ (คือสกุลหงสทองรามัญ) ๒. สายสกุลพระยาสุราสนาคุม (คือสกุลสุรคุปต)(สกุลสุรคุป ตเ ปนสายเขยของราชิกุล รัชกาลที่ ๕) ๓. สายสกุลเจาลาวกรุงศรีสัตนาคนหุต (คือสกุล ณ เวียงจันทน) ๔. สายสกุล พระยาศรีส หเทพ (เรือ น) (คือ สกุล คฤหเดช) (สกุล คฤหเดชเปนสายเขย ของราชิกุล รัชกาลที่ ๕) จึง รวมเปน ๑๐ สาย นับ วาตอ งกันกับ คําที่ก ลาวโฉมถึง ผูซึ่ง สืบ สายมาแตผูดีห ลายๆ สายวา “ผูดีแปดสายแรก” นั้น แตพวกนี้มีสายแรกถึง ๑๐ สายสัมพันธกันอยู ในพระนิพ นธแสดงวาเมื่อ กอ นโนนคงจะเรีย ก“ผูดีแ ปดสาแหรก”วา “ผูดีแปดสาย แรก” ทวาตอมาอาจเลือนไปจาก“สายแรก”เปน”สาแหรก”เพราะลัก ษณะการโยงสายขึ้นไป หาบรรพบุรุษ ตั้ง แตตัวเองขึ้นไปหาพอ แม ปูยา ตายาย และทวดทางพอ ทวดทางแมนั้น มี ลักษณะเปนสาแหรกเอาขาขึ้น เมื่อยังเด็กๆ เคยไดยืนผูใหญปากจัดบางคนคอนขอดพวกที่ไววางตัววาเปนผูดีวา“แม พวกแปดสาแหรกเกา ไมคาน”บางทีเ ลยทํา ใหเ ห็น วา คํา “ผูดีแปดสาแหรก”เปน คํา ประชด ประชัน เพราะคนพูดตอคําวา“เกาไมคาน”ใหคลองจองกันโดยปราศจากความหมายตามวิสัย ของคนไทยเจาบทเจากลอน ชอบอุทานเสริมบท คําวา “แปดสาแหรก” นี้เ จาจอมหมอ มราชวงศส ดับ เลาไวในหนัง สือ ศรุตานุส รณใน งานพระราชทานเพลิง ศพของทา นเอาไววา พระบาทสมเด็จ พระจุล จอมเกลา เจา อยูห ัว รัช กาลที่ ๕ ทา นเคยทรงพระราชดํา ริเ ลน ทายสายโลหิต ของแตล ะคน มีก ฎอยูวา ใครรูจ ัก ทวดแปด คือ

62


๑. พอของปู ๒. แมของปู ๓. พอของตา ๔. แมของตา

๕. พอของยา ๖. แมของยา ๗. พอของยาย ๘. แมของยาย

รวมเปน แปดสาย หรือ แปดสาแหรก นับ วาผูนั้นเกง จะไดรับ พระราชทานรางวัล ชมเชย สังเกตวามิไดมีคําวา “ผูดี” มีแตคําวา “แปดสาแหรก” เทานั้น ที่มา : สกุลไทย ฉบับ 2459 ปที่ 48/ 4 ธ.ค.44

63


ภาคผนวก ข

รายชื่อ รานคาในชุมชนเลื่อนฤทธิ์ ลําดับ 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11. 12. 13 14. 15. 16. 17. 18. 19. 20. 21. 22. 23. 24. 25. 26. 27. 28. 29.

ชื่อ บริษัท กิตติเวชภัณฑ จํากัด บริษัท ศรีสําอางค จํากัด หางหุนสวนจํากัด กรุงเทพดีไซนไทยผามาน จํากัด หางหุนสวนสามัญนิติบุคคล งวนฮง แอนโก หางหุนสวนสามัญนิติบุคคล วินเซนท ฮารดแวร หางหุนสวนสามัญนิติบุคคล กวงเตี่ยงดีสเปนซารี่ สหภัณฑ นิยมศิลป จิ้นเฮง บริษัทสหเศรษฐภัณฑไทย(1978) จํากัด (เอส เอส ฮีทเทค) หางซินฮะเส็ง ชั่ง ตวง วัด หางหุนสวนจํากัด เอ อนันต เอ็นเตอรไพรส หางหุนสวนจํากัด บี เค แอนนด ซันส หลี่เซี่ยงพาณิชย หางหุนสวนจํากัด ป. ไทยถาวรคาผา บริษัท วีเจริญ เท็กซไทส จํากัด หางหุน สวนจํากัด เอ็น เอส แฟบริค นิว กลอรี่ หางหุนสวนจํากัด สัญชัย คาผา บริษัท เสริมกิจเท็กซไทล จํากัด บริษัท สงวนชัยอิมปอรตเอ็กซปอรด จํากัด หางหุนสวนจํากัด ศรีสยามเท็กซไทล บริษัท MACANNON TRALING CO.LID. บริษัท K.H.กุยเฮง เท็กซไทล จํากัด กุมาร เท็กซไทล หางหุนสวนจํากัด บูเซง บริษัท เพิ่มกิจ จํากัด บริษัท กิตติชัย เท็กซไทล จํากัด บริษัท ศิลปกิจ เท็กซทล จํากัด

64

ลักษณะสินคาที่จําหนาย/บริการ ยาแผนปจจุบัน คาสงหัวแชมพู น้ํามัน ครีมเครื่องสําอาง ออกแบบ และรับตัดผามาน ลวด ทองแดง อุปกรณเครื่องจักร วัสดุอุปกรณประเภทฮารดแวร ยาแผนปจจุบัน วัสดุอุปกรณประเภทฮารดแวร หองภาพ ถายรูป ตัดผมสุภาพบุรุษ เบาหลอม เครื่องชั่ง ตวง วัด คาสงผา คาสงผา คาสงผาถุง ผาปาเตะ ผาไทย คาสงผาดิบ คาสงผา คาสงผา คาสงผา คาสงผา คาสงผา คาสงผา คาสงผา คาสงผา คาสงผา คาสงผา คาสงผา คาสงผา คาสงผา คาสงผา


ลําดับ 30. 31. 32. 33. 34. 35. 36. 37. 38. 39. 40. 41. 42. 43. 44. 45. 46. 47. 48. 49. 50. 51. 52. 53. 54. 55. 56. 57. 58. 59.

ชื่อ บริษัท ที แอนดที เท็กซไทล จํากัด หางหุนสวนจํากัด ซงเชียง บริษัท เกีย เท็กซไทล จํากัด บริษัท สินทองไทย เท็กซไทล จํากัด หางหุนสวนจํากัด ไทยอุดมคาผา ฮะ เซง หลง (เชียงกี่) หางหุนสวนสามัญนิติบุคคล ศรีไทยนคร หางหุนสวนสามัญนิติบุคคล นิวเบอรมา วัฒนาภรณ บริษัท เสริมทองไทย (1986) จํากัด บริษัท อินเตอรเนท เลซ แอนด เทรดดิ้ง คอรปอเรชั่น จํากัด หาง (ชัย) พรสยาม หางหุนสวนจํากัด กิจเจริญไทย ปกใต จึง ตึ่ง กี่ หางหุนสวนจํากัด ศรีเศรษฐี เอเยนซีส หางหุนสวนจํากัด จําปา เต็กสไตลซ สมบูรณกิจ หางหุนสวนจํากัด กังวานพานิช ตั้งเกีย เส็ง หางหุนสวนสามัญนิติบุคคล ดูวา อิมแปกซ หางหุนสวนสามัญนิติบุคคล มิตรเจริญ หางหุนสวนจํากัด ใจกวางพานิช หางหุนสวนจํากัด รอยัลสยาม เท็กซไทล หางหุนสวนสามัญนิติบุคคล รายารามแอนดซันส (ราช เต็กสไตลล) บริษัทเอ เจ ซิปเปอร หางหุนสวนจํากัด กฤษณา เท็กซไทลส ปากหวานพรประสิทธิ์ หางหุนสวนจํากัด เวิลดสตาร เท็กซไทล บริษัท ชั่งเส็งฮง จํากัด หางหุนสวนสามัญนิติบุคคล เกซาร ซิงห โก

65

ลักษณะสินคาที่จําหนาย/บริการ คาสงผา คาสงผา คาสงผา คาสงผา คาสงผา รับตัดเย็บเสื้อโหล ผาถุง ผาปาเตะ ผาไทย คาสงผา รับตัดเย็บเสื้อโหล คาสงผา ดาย ไหมพรม ริบบิ้น โบว เชือก ผาถุง ผาปาเตะ ผาเช็ดหนา คาสงผา ดาย ไหมพรม ริบบิ้น โบว เชือก คาสงผา คาสงผา ผานวม ผาหม มุง คาสงผา ดาย ไหมพรม ริบบิ้น โบว เชือก คาสงผา คาสงผา คาสงผา คาสงผา คาสงผา กระเปา คาสงผา คาสงผา คาสงผา คาสงผาดิบ คาสงผา


ลําดับ 60. 61. 62. 63. 64. 65. 66. 67. 68. 69. 70. 71. 72. 73. 74. 75. 76. 77. 78. 79. 80. 81. 82. 83. 84. 85. 86. 87. 88. 89. 90.

ชื่อ หางหุนสวนจํากัด ดี.เอส.เท็กซไทล นานา สโตร หางหุนสวนจํากัด กันเดอรรับ ภัทรชัย หางหุนสวนจํากัด เจ.เค.อินเดอรแฟบริค เจตสันติ หางหุนสวนจํากัด เอ็ม.เอส.โครานา บริษัท กานดาเอ็กเพรส เทรเวิล หางหุนสวนจํากัด ล.เลียกเส็ง ทรงศิลป หางหุนสวนจํากัด ตั้งเซงฮวด หางหุนสวนจํากัด ตรงพัฒนา หางหุนสวนจํากัด ตรงสวัสดิ์ เปงซุนเชียงพาณิชย หางหุนสวนจํากัด ยี้ เฮง หลง ลาภเจริญ ฮารดแวร มั่นคง บริษัท ไฮเทค คาผา จํากัด โอวรุงเรืองคาผา บริษัท วิเชียร เท็กซไทล (1992) จํากัด บริษัท พรชัยวิรัช จํากัด บริษัท ไมเคิลเท็กซไทล จํากัด หางหุนสวนจํากัด สงวน บราเดอรส หางหุนสวนจํากัด อมร แฟบริคส คอลเลคชั่นส หางหุนสวนสามัญนิติบุคคล นครสไตร หางหุนสวนจํากัด ศรี ทักราล เอ็นเตอรไพรส โคว ฮั้ว หลี บริษัท ธนสยาม เอ็นเตอรไพรส จํากัด จือฮวด หางหุนสวนจํากัด ศรีสมบัติ บริษัท เอส เอส บี เทรดดิ้ง (2001) จํากัด

66

ลักษณะสินคาที่จําหนาย/บริการ คาสงผา คาสงผา คาสงผา คาสงผา คาสงผา ของชํา ของเบ็ดเตล็ด คาสงผา จําหนายตั๋วเครื่องบิน วัสดุอุปกรณประเภทฮารดแวร วัสดุอุปกรณประเภทฮารดแวร วัสดุอุปกรณประเภทฮารดแวร ตัดผามาน อุปกรณประตูและประดับหนาตาง ตัดผามาน อุปกรณประตูและประดับหนาตาง เสื้อ กางเกงแพร ผาแพร วัสดุอุปกรณประเภทฮารดแวร วัสดุอุปกรณประเภทฮารดแวร ของหลุดจํานํา ของมือสอง (เพชร ทอง พระ) คาสงผา คาสงผา คาสงผา คาสงผา คาสงผา คาสงผา คาสงผา คาสงผา คาสงผา คาสงผา คาสงผา คาสงผาดิบ คาสงผา คาสงผา


ลําดับ 91. 92. 93. 94. 95. 96. 97. 98. 99 100. 101. 102. 103. 104. 105. 106. 107. 108. 109. 110. 111. 112. 113. 114. 115. 116. 117. 118. 119. 120. 121.

ชื่อ เลาฮัวเซง ทันตแพทย สุดจิตต โกรเวอร เท็กซไทส สยามเทรดเดอร หางหุนสวนจํากัด ศิริไทย อิมเปกส บริษัท ไทยถาวรเท็กซไทล จํากัด หวองสินไท วานฝอลี้ ยงเซงหลี โควจือฮง บริษัท เจริญกมล เท็กซไทล จํากัด ดี เอส ดูวา หางหุนสวนจํากัด เบกิ้มฮง จํากัด หางหุนสวนจํากัด ซวนอิ้ว หางหุนสวนจํากัด โลวชอเฮง หางหุนสวนจํากัด แฟบริค เวิลด เอ็นเตอรไพรส บริษัท เค.เอม.ดาวรุงอิมเปกส จํากัด บริษัท ไชนนิ่ง สตาร เอ็กซปอรต จํากัด หางหุนสวนจํากัด เอ.สยาม หางหุนสวนจํากัด โมฮัน อิมเปกส 119 บานลูกไม หางหุนสวนจํากัด หัวหิน การเมนท เลิศศักดิ์ เท็กซไทล หางหุนสวนจํากัด สหไทยเท็กซไทล บริษัท เฮงเอี๊ยะอัน จํากัด หางหุนสวนจํากัด เจริญถาวรเท็กซไทล บริษัท ชารเตอร เท็กซไทล จํากัด หางหุนสวนจํากัด ซาเสงโมวเอ็ก ชัยเหลียงคาผา ไทยเมอรรี่ เท็กซไทล หางหุนสวนจํากัด แสงเจริญปรีชากิจ

67

ลักษณะสินคาที่จําหนาย/บริการ คาสงผาเกา ทําฟน คาสงผา คาสงผา คาสงผา คาสงผา คาสงผา รับตัดเย็บเสื้อโหล คาสงผา ผานวม ผาปูที่นอน คาสงผา คาสงผา คาสงผา คาสงผา คาสงผา คาสงผา คาสงผา คาสงผา คาสงผา คาสงผา คาสงผาลูกไม รับตัดเย็บเสื้อโหล คาสงผา คาสงผา คาสงผา คาสงผา คาสงผา คาสงผา คาสงผา คาสงผา คาสงผา


ลําดับ 122. 123. 124. 125. 126. 127. 128. 129. 130. 131. 132. 133. 134. 135. 136. 137. 138. 139. 140.

ชื่อ หางหุนสวนจํากัด หัวหิน เท็กซไทล หางหุนสวนสามัญนิติบุคคล เอที จาวลา บริษัท ทีซีที เอ็นเตอรไพรส จํากัด บริษัท บี.เค. เท็กซไทล จํากัด หางหุน สวนจํากัด กิจทองไทย หางหุนสวนจํากัด เจริญอาภรณ บริษัท ซิงหพานิช เอ็นเตอรไพรส จํากัด บริษัท ทวีกิจ เท็กซไทล จํากัด บริษัท บุญกิจเท็กซไทล จํากัด (เอเชียอิมเปกซ) หางหุนสวนจํากัด ชัยพัฒนาพานิช สุทิน เท็กซไทล บริษัท โชคทวี เท็กซไทล จํากัด บริษัท โชคพงษ เอ็นเตอรไพรส จํากัด บริษัท ไทยฟา (2511) จํากัด ไพโรจนการแพทย เจหลี บริษัท โชคลาภ จํากัด บริษัท แสงทองไทย เท็กซไทล บริษัท ปเอสเค เท็กซไทล บริษัท เอสกาลรา แอนดิโก

ที่มา : จากการสํารวจภาคสนาม เดือนมีนาคม 2549.

68

ลักษณะสินคาที่จําหนาย/บริการ คาสงผา คาสงผา คาสงผา คาสงผา คาสงผา คาสงผาดิบ คาสงผา คาสงผา คาสงผา คาสงผา คาสงผา คาสงผา คาสงผา ยานัตถุ เยอรมัน คลีนกิ รักษาพยาบาล 30 บาท รานขายกวยเตี๋ยว ผาปูที่นอน คาสงผา คาสงผา


บรรณานุกรม เอกสารชั้นตน หอจดหมายเหตุแหงชาติ เอกสารกรมพระคลังขางที่ รัชกาลที่ 5 กระทรวงพระคลังมหาสมบัติ ก.ร.5ค/35 เรื่อง เลื่อนฤทธิ์จะขายที่บานตําบลถนนเยาวราช (29 เมษายน รศ.124 – 9 มิถุนายน รศ.128) เอกสารกรมพระคลังขางที่ รัชกาลที่ 5 กระทรวงพระคลังมหาสมบัติ ก.ร.5ค/30 เรื่อง เลื่อนฤทธิ์ยืมเงิน (6 – 8 สิงหาคม รศ.124) เอกสารกรมพระคลังขางที่ รัชกาลที่ 5 กระทรวงพระคลังมหาสมบัติ ก.ร.5ค/10 เรื่อง เรื่องราวเลื่อนฤทธิ์ เรื่องที่ตลาด (28 กุมภาพันธ รศ.110) เอกสารกรมพระคลังขางที่ รัชกาลที่ 5 กระทรวงพระคลังมหาสมบัติ ก.ร.5ค/34 เรื่อง ฟกทองกับเลื่อนขอจํานําที่บานถนนเยาวราชลงปลายเปน ชายที่ใหพระคลังขางที่ (9 มีนาคม รศ.115 – 22 พฤษภาคม รศ.117) เอกสารกรมราชเลขาธิการ รัชกาลที่ 5 ชุดสมุดพิเศษ ม.ร. 5รล พ.ศ./14 เรื่อง พระราชทานที่ดินริมถนนเยาวราชใหเปนสิทธิแกพระเจาลูกยาเธอ พระองคเจาอุรุพงษรัชสมโภช (รศ.117) เอกสารกรมราชเลขาธิการ รัชกาลที่ 5 ชุดเบ็ดเตล็ด ก.ร.5บ/20 เรื่อง เลื่อนฤทธิ์ (18 เมษายน รศ.120 – 16 มิถุนายน รศ.122) แผนที่กรมพระคลังขางที่ รัชกาลที่ 5 กระทรวงพระคลังมหาสมบัติ ผจ.ร5ค.90 แผนผังบริเวณตําบลถนนจักรกระวัติ ถนนเยาวราช และบริเวณ ใกลเคียง พ.ศ.2441 (รศ.117) หนังสือภาษาไทย กาญจนาคพันธ.(นามแฝง) 2545 กรุงเทพฯ เมื่อวานนี้. (พิมพครั้งที่ 4) กรุงเทพฯ : สารคดี. ดํารงราชานุภาพ,สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ กรมพระยา 2527 คนดีที่ขาพเจารูจัก เลม 2 ( 2405 – 2486 ) .กรุงเทพฯ : รวมสาสน. ทรัพยสินสวนพระมหากษัตริย,สํานักงาน 2546 ทรรศนียาคาร : อาคารอนุรักษของสํานักงานทรัพ ยสินสวนพระมหากษัตริย. กรุงเทพฯ : กองโครงการอนุรักษ ฝายสงเสริมธุรกิจ. 69


นอม เพ็ญกุล 2516 “ตลาดการคาในประเทศไทย” ใน อนุส รณพ ระราชทานเพลิง ศพนายกรรชิง โชติกเสถียร. กรุงเทพฯ : ไทยเขษม. นโยบาย และแผนสิ่งแวดลอม,สํานักงาน 2541 การพัฒนาการอนุรักษสิ่งแวดลอมศิลปกรรม. กรุงเทพฯ:คุมครองมรดกไทย. เนตรเสลา สิงหะ สุเตเธียรกุล (บรรณาธิการ) 2549 จงรักเกียรติยิ่ง ชีวิต พลเอก พระยาเทพหัส ดินฯ. กรุง เทพฯ : อมรินทรพ ริ้น ติ้ง แอนดพับลิชชิ่ง . ผังเมือง,สํานัก 2546 สมุดภาพแหงกรุงเทพมหานคร 220 ป.กรุงเทพฯ:สํานักผังเมือง กรุงเทพมหานคร. ราชบัณฑิตยสถาน 2549 พจนานุก รมศัพ ทส ัง คมวิท ยา อัง กฤษ-ไทย ฉบับ ราชบัณ ฑิต ยสถาน. (พิมพครั้งที่ 3 ฉบับปรับปรุง). กรุงเทพฯ : ไอเดีย สแควร. สุภางค จันทวานิช (บรรณาธิการ) 2549 สําเพ็ง : ประวัติศาสตรชุมชนชาวจีนในกรุงเทพฯ. กรุงเทพฯ : ศูนยจีนศึกษา สถาบันเอเชียศึกษา จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. สงเสริมเอกลักษณแหงชาติ,สํานักงาน 2537 นารีผูมีคุณ เลม 3.กรุงเทพฯ : รุงศิลปการพิมพ. เอกสาร และบทความในวารสาร/หนังสือพิมพ ทรัพยสินสวนพระมหากษัตริย,สํานักงาน ม.ป.ป. รายงานการรวบรวมขอ มูล อาคารพาณิช ย หมู บ า นคุณ หญิง เลื ่อ นฤทธิ์ ถนนเยาวราช แขวงจัก รวรรดิ เขตสัม พัน ธวงศ กรุง เทพมหานคร. กองโครงการอนุรักษ ฝายสงเสริมธุรกิจ (เอกสารอัดสําเนา) ยงธนิศร พิมลเสถียร 2547 “การอนุรัก ษชุม ชนประวัติศ าสตรในเมือ ง กรณีศึก ษาชุม ชนซอยเลื่อ นฤทธิ์ เขตสัมพันธวงศ” ใน อาษา ฉ.02-03 (กุมภาพันธ-มีนาคม) หนา 67 – 69. ปทมาวดี คนธิคามี และอุไร หงสกุล 2531 “ยุคทองสิ่งทอไทย” ใน วารสารเศรษฐกิจและสังคม. สมชาย กรุส วนสมบัติ (บรรณาธิการ) ปที่ 25 ฉ.3 (พฤษภาคม – มิถุนายน) หนา.4-13. 70


ศิลปากร,กรม 2546 รายงานการสํ า รวจตึก แถวชุม ชนเลื ่อ นฤทธิ ์ กลุ ม วิช าการทะเบีย น โบราณสถานและขอมูลโบราณคดี สํานักโบราณคดี.(เอกสารอัดสําเนา). อดิศร หมวกพิมาย 2538 “การใชที่ดิน ในเขตกรุง เทพมหานครและปริม ณฑลกอ นป พ.ศ.2325”ใน วารสารธรรมศาสตร ปที่ 21,ฉ.1(มกราคม – เมษายน) หนา 7 - 45. งานวิจัยและวิทยานิพนธ ไกรอัมพร พงษขจร 2548 “การดํารงอยูของผูคาสง ในพื้นที่ยานทาเตียน : กรณีศึก ษากลุม ผูคาสง ปลา แดดเดีย ว”.วิท ยานิพ นธส ัง คมวิท ยาและมานุษ ยวิท ยามหาบัณ ฑิต (สัง คม วิทยา) คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร. ยงธนิศร พิมลเสถียร และคณะ 2544 “รายงานขั ้น สมบูร ณ โครงการวางผัง เฉพาะแหง ในพื ้น ที ่สํ า คัญ ทาง ประวัติศาสตร พื้นที่บ ริเ วณยานชุม ชนเขตสัม พันธวงศ”. เสนอตอ สํานัก ผัง เมือ ง กรุง เทพมหานคร โดยคณะสถาปต ยกรรมศาสตร สถาบันเทคโนโลยี พระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง. วิฑรูย อาสาฬหประกิต 2546 “โครงการออกแบบปรับปรุงชุมชนเลื่อนฤทธิ์ถนนเยาวราชเขตสัมพันธวงศ ”. กรุง เทพฯ : สาขาวิชาการออกแบบชุม ชนเมือ ง คณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร. วิมลศรี ลิ้มธนากุล 2537 “ผลกระทบจากระบบเมืองสมัยใหมที่มีตอระบบยานของกรุง เทพมหานคร”. วิท ยานิพ นธส ัง คมวิท ยาและมานุษ ยวิท ยามหาบัณ ฑิต (มานุษ วิท ยา) คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร. อัจฉรา ปุญญฤทธิ์ 2533 “แนวทางการปรับ ปรุง ฟ น ฟู พื ้น ที ่แ ขวงจัก รวรรดิ เขตสัม พัน ธวงศ”. วิท ยานิพ นธ การวางแผนภาคและเมือ งมหาบัณ ฑิต คณะสถาปต ยกรรม ศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.

71


อินทิรา ซาฮีร 2534 “บทบาทของสมาคมศรีคุรุสิง หส ภาในสัง คมไทย”. วิท ยานิพ นธศิล ปศาสตร มหาบัณฑิต (ประวัติศาสตร) คณะศิลปศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร. อิทธิพร ขําประเสริฐ 2550 “กระบวนการสราง“ภาพแสดงแทน”เพื่อ สิท ธิเ ชิง พื้นที่” วิท ยานิพ นธสัง คม วิท ยาและมานุษ ยวิท ยามหาบัณฑิต (สัง คมวิท ยา) คณะสัง คมวิท ยาและ มานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร. Worasiangsak,J 2005 “The roles and Perspectives of a Sociologist in Urban Planning Processes : A Case Study of the Planning of ThachangThaprachan an Old Area of Inner Bangkok”,a paper presented at The 9 International Conference on Thai Studies, Northern Illinois Unniversity,3-6 April 2005.

72


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.