นวัตกรรมการบริการที่ส่งผลต่อการให้บริการที่เป็นเลิศของส่วนงานบริการด่านหน้ามหาวิทยาลัยเอกชนแห่งหนึ่ง

Page 1

The Service Innovation Influencing Service Excellence of Frontline Offices at a Private University in Nakhon Pathom Province

นวัตกรรมกำรบริกำรที่ส่งผลต่อกำรให้บริกำรที่เป็นเลิศ ของส่วนงำนบริกำรด่ำนหน้ำ ของมหำวิทยำลัยเอกชนแห่งหนึ่ง ในจังหวัดนครปฐม

คณะผู้วิจัย

อิทธิพร ขำประเสริฐ สุภัสสรำ วิภำกูล และนันทิดำ แคน้อย

Researchers: Mr.Itthiporn Khumprasert, Mrs.Supatsara Vipakul, and Miss.Nantida Kaenay งำนวิจัยนี้ได้รับทุนสนับสนุนจำกมหำวิทยำลัยคริสเตียน ปีกำรศึกษำ 2559 This research is a fully funded scholarship from Christian University of Thailand, 2016


รายงานการวิจัย นวัตกรรมการใหบริการที่สงผลตอการใหบริการที่เปนเลิศ ของสวนงานบริการดานหนา ของมหาวิทยาลัยเอกชนแหงหนึ่ง ในจังหวัดนครปฐม

The Service Innovation Influencing Service Excellence of Frontline Offices at a Private University in Nakhon Pathom Province

อิทธิพร ขําประเสริฐ สุภัสสรา วิภากูล นันทิดา แคนอย งานแผน ฝายบริหารทั่วไป มหาวิทยาลัยคริสเตียน

การวิจัยนีไ้ ดรับทุนสนับสนุนวิจัยจากมหาวิทยาลัยคริสเตียน พ.ศ. 2559 ลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยคริสเตียน


กิตติกรรมประกาศ งานวิจัยเรื่อง นวัตกรรมการใหบริการที่สงผลตอการใหบริการที่เปนเลิศของสวนงานบริการ ด า นหน า ของมหาวิ ท ยาลั ย คริ ส เตี ย นเป น ส ว นหนึ่ ง ในโครงการวิ จั ย เพื่ อ พั ฒ นาสถาบั น ซึ่งมหาวิทยาลัยคริสเตียนเปนผูสนับสนุนทุนการวิจัย โดยมีเปาหมายเพื่อนําผลที่ไดจากการศึกษาวิจัย เปนขอมูลสําคัญไปใชในการพัฒนาระบบการใหบริการที่เลิศของมหาวิทยาลัยฯ โดยนํานวัตกรรม การให บริก ารในฐานะที่เปน ทั้งความคิด เครื่องมือ และเทคโนโลยี สมัยใหมๆมาใชใ นระบบและ กลไกการใหบ ริก ารของสว นงานบริก ารดานหน าของมหาวิท ยาลั ยฯให เกิด ประสิ ทธิภ าพและ ประสิทธิผล ซึ่งการดําเนินงานดังกลาวนี้นับเปนสวนหนึ่งของการสรางวัฒนธรรมการใหบริการที่ เปนเลิศ อันเปนเอกลักษณของมหาวิทยาลัยฯประการหนึ่งใหเปนที่ประจักษมากขึ้น คณะผู วิจั ย ขอกราบขอบพระคุ ณ เปน พิเ ศษที่ ได รับ ความอนุ เคราะห อย างยิ่ ง จาก ผูช ว ย ศาสตราจารย ดร.จันทรจิรา วงษขมทอง อธิการบดีมหาวิทยาลัยคริสเตียน รองศาสตราจารย สมพันธ หิญชีร ะนันทน ที่ปรึกษาฝายวิชาการและวิจัย ที่ใหเกียรติรับเปน ผูทรงคุณ วุฒิตรวจอานงานวิจัย โดยไดใหคําปรึกษาและแนะนําในขั้นตอนกระบวนการทําวิจัย รวมทั้งตรวจสอบเนื้อหาในรายงาน วิจัยฉบับนี้ ตั้งแตเริ่มดําเนินการวิจัยจนเสร็จสิ้น ทําใหงานวิจัยชิ้นนี้มีถูกตองและสมบูรณมากยิ่งขึ้น ขอขอบพระคุณอาจารย ดร.เบ็ญจวรรณ พุทธิอังกูร รองอธิการบดี ฝายวิชาการและวิจัย อาจารย ลําไพ จุน เจิม ผูชว ยอธิก ารบดีฝายบริหารการเงิน และอาจารย นิพรรณ ทัฬหะกุลธร ผูอํานวยการ ศูนยวิทยบริการและหอสมุด ที่ชวยตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือวิจัยในครั้งนี้ ขอขอบพระคุณ ผูบริหาร คณาจารย และพนัก งานในสังกัด คณะวิชา และฝายสนับสนุน วิชาการทุกทานที่มีสวนรว มในการใหขอมูลอันมีคายิ่งในการวิจัย ขอขอบคุณ ผูชวยศาสตราจารย สุพจน สุทธิศักดิ์ ผูชวยอธิการบดีฝายวิจัยและวัฒนธรรม นางเลขา กบิลสิงห และอาจารยภัท ริยา อินทรอุดม บุคลากรในสังกัดฝายวิจัย ที่ชวยสนับสนุนและใหคําแนะนําเกี่ยวกับระบบดําเนินการวิจัย ตามขั้นตอนของมหาวิทยาลัยฯตั้งแตเริ่มตนจนเสร็จสิ้นกระบวนการวิจัยในครั้งนี้เปนอยางดี ทายที่สุด ขอขอบพระคุณ มหาวิทยาลัยคริสเตียนที่เป ด โอกาสใหค ณะผูวิจัยได มีโ อกาส ศึกษาวิจัยในครั้งนี้ ขอขอบพระคุณพระเจาที่ทรงประทานพระพร ใหคณะผูวิจัยไดเรียนรู และเพิ่มพูน ศัก ยภาพด านการวิจั ยมากยิ่งขึ้ น รวมทั้ งผลิต ผลงานทางวิช าการที่เป น ประโยชนตอ การพัฒ นา มหาวิทยาลัยคริสเตียน คณะผูวจิ ัย


บทคัดยอภาษาไทย การศึกษาวิจัยเรื่องนี้ มีวัตถุประสงคที่จะวิเคราะหการนํานวัตกรรมการใหบริการมาใชในการ ใหบริการของสวนงานตางๆ สังกัดมหาวิทยาลัยเอกชนแหงหนึ่ง รวมทั้งวิเคราะหความสัมพันธและ อํานาจในการทํานายปจ จัยนวัต กรรมบริก ารที่สงผลตอการใหบริก ารที่เปนเลิศของมหาวิทยาลัย เอกชนแหงหนึ่งในจังหวัดนครปฐม กลุมตัวอยาง เปนบุคลากรในสังกัดมหาวิทยาลัยเอกชนแหงหนึ่ง จํานวน 177 คน เครื่องมือวิจัยเปน แบบสอบถาม ซึ่งประยุก ตจากแนวคิด นวัตกรรมบริการในการ จัดการอุดมศึกษา ของสมฤทัย น้ําทิพย (2556) แดนจุมา และราสลี (Danjuma & Rasli, 2012) กีรติ ยศยิ่งยง (2552) และแนวคิดการใหบริการที่เปนเลิศของจันทรจิรา วงษขมทอง และคณะ (2552) การตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือวิจัย พบวา มีคาความสอดคลองและความตรงกับสิ่งที่ตองการวัด (Item objective congruence index : IOC ) เทากับ 0.91 มีคาความเชื่อมั่นสัมประสิทธิแอลฟาของ ครอนบาค (Cronbach’s alpha coefficient) เทากับ .958 และวิเคราะหขอมูลดวยสถิติเชิงอนุมาน ไดแก สัมประสิทธิ์สหสัมพันธเพียรสัน (Pearson ‘ s product moment correlation coefficient) และการ วิเคราะหถดถอยพหุคุณ (Multiple regression coefficient) จากการศึกษาวิจัย พบวา กลุมตัวอยางมีความคิดเห็นตอการนํานวัตกรรมการใหบริการมาใช ในการให บริ ก ารของมหาวิท ยาลั ยเอกชนแห งหนึ่ งอยูใ นระดั บมาก และพบวา นวัต กรรมการ ใหบริการดานวิชาการ นวัตกรรมการใหบริการดานการพัฒนานักศึกษา นวัตกรรมการใหบริการ ดานเทคโนโลยีสารสนเทศ นวัตกรรมการใหบริการดานการเงิน และนวัตกรรมการใหบริการดาน สิ่งอํานวยความสะดวกมีความสัมพันธในทิศทางบวกกับการใหบริการที่เปนเลิศของสวนงานบริการ ดานหนาของมหาวิทยาลัยเอกชนแหงหนึ่งในจังหวัดนครปฐม รวมทั้งพบวา ในนวัตกรรมบริการ 5 ดานนั้น มีนวัตกรรมการใหบริการ 4 ดาน ไดแก นวัตกรรมการใหบริการดานวิชาการ นวัตกรรมการ ให บริ ก ารด า นการพัฒ นานั ก ศึ ก ษา นวัต กรรมการให บริ ก ารดา นเทคโนโลยี สารสนเทศ และ นวัตกรรมบริการการใหดานสิ่งอํานวยความสะดวก ที่สามารถทํานายการใหบริการที่เปนเลิศของ สวนงานบริการดานหนา ไดรอยละ 58.3 อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (p< 0.05) มหาวิทยาลัยเอกชน แห งนี้ จึ ง ควรกํ า หนดกลยุ ท ธ และแผนปฏิ บัติ ก าร พรอ มทั้ ง จัด สรรงบประมาณเพื่อ ใชใ นการ สนับสนุนและสงเสริมการนํานวัตกรรมการใหบริการของสวนงานบริการดานหนาอยางเปนรูปธรรม อัน จะนําไปสูก ารเพิ่มประสิทธิภาพในการใหบริก ารที่เปน เลิศแกนักศึกษา และบุค ลากร รวมทั้ง เสริมสรางภาพลักษณของการมุงสูก ารเปนองคกรแหงนวัตกรรมมากยิ่งขึ้น


Abstract The objectives of this research were twofold : 1) to examine the introduction of innovative services into the services provided by a private university 2) to analyze the relationship and the power to predict the innovative services that contribute to the level of service excellence of a private university located in Nakhon Pathom province. The sample were a private university personnel of 177 cases. The questionnaire which were used as a research tool to collect the data adapted from the innovative concept in the management of higher education presented by Somruthai Namthip (2556), Danjuma and Rasli (2012), Kirati Yosyingyong (2552) and the concept of service excellence of Janjira Wongkhomtong and et al (2552). It was found that the overall Item Objective Congruence Index (IOC) of this questionnaire was at 0.91, while the reliability of the questionnaire in the form a Cronbach’s alpha coefficient was .958. The Inferential statistics for data analysis were The Pearson’s product moment correlation coefficient and Multiple regression coefficient. The research result revealed that the sample group had their opinion toward the introduction of innovative services used in the service at a private university was at a high level. Moreover , the academic service innovative factor, the student development service innovative factor, the information technology service innovative factor, the financial service innovative factor and facilities services innovative factor were contributed to the positive relationship with service excellence of the frontline at the private universities in Nakhon Pathom province. The study also revealed that among five service innovation ; there were four factors which were academic service innovative factor ; the student development service innovative factor ; the information technology service innovative factor ; and facilities services innovative factor, could have predictive power on the level of service excellence for the frontline section significantly at 58.3 percent (p<0.05). Therefore this private university should formulate its strategies and action plan along with providing the budget allocation to support and to encourage more innovative services in concretely providing all service in the frontline section. This will increase efficiency in providing services excellence to students and university’s staff, as well as enhancing the image of organization which focus on innovation. ค


สารบัญ กิตติกรรมประกาศ.................................................................................................................... บทคัดยอภาษาไทย.................................................................................................................... บทคัดยอภาษาอังกฤษ............................................................................................................... สารบัญ...................................................................................................................................... สารบัญตาราง............................................................................................................................ สารบัญภาพประกอบ................................................................................................................

หนา ก ข ค ง ช ฎ

บทที่ 1 บทนํา............................................................................................................................ ความสําคัญของปญหาการวิจัย....................................................................................... คําถามการวิจัย................................................................................................................. วัตถุประสงคของการวิจัย................................................................................................ สมมติฐานการวิจัย.......................................................................................................... กรอบแนวคิดการวิจัย...................................................................................................... ขอบเขตการวิจัย.............................................................................................................. นิยามตัวแปรทีใ่ ชในการศึกษาวิจยั ..................................................................................

1 1 4 4 4 5 6 6

บทที่ 2 วรรณกรรมและผลการวิจัยที่เกี่ยวของ.......................................................................... แนวคิดเกี่ยวกับนวัตกรรมการใหบริการ......................................................................... ความหมายของนวัตกรรมการใหบริการ................................................................ ความสําคัญของนวัตกรรมการใหบริการ............................................................... องคประกอบของนวัตกรรมการใหบริการ............................................................. การสรางนวัตกรรมการใหบริการ.......................................................................... แนวคิดเกี่ยวกับการใหบริการที่เปนเลิศ.......................................................................... ความหมายของการใหบริการที่เปนเลิศ................................................................. มาตรฐานการปฏิบัติที่เปนเลิศในการใหบริการ..................................................... ปจจัยที่เกี่ยวของกับการใหบริการ.......................................................................... วัฒนธรรมการใหบริการที่เปนเลิศของมหาวิทยาลัยคริสเตียน...............................

11 11 11 12 14 18 24 24 24 25 32


แนวคิดเกี่ยวกับความพึงพอใจและความภักดีในการใหบริการ....................................... ความพึงพอใจในการใหบริการ.............................................................................. ความภักดีจากการไดรับบริการ.............................................................................. แนวคิดการจัดการอุดมศึกษาในยุคดิจิทัล....................................................................... การใหบริการของสวนงานบริการดานหนา มหาวิทยาลัยคริสเตียน............................... สรุปการทบทวนวรรณกรรม...........................................................................................

หนา 33 33 36 40 49 52

บทที่ 3 ระเบียบวิธีวิจัย.............................................................................................................. วิธีดําเนินการวิจยั ............................................................................................................ การออกแบบการวิจัย...................................................................................................... สถานที่ที่ใชในการเก็บขอมูล................................................................................. ประชากร............................................................................................................... กลุมตัวอยางและขนาดของกลุมตัวอยาง................................................................ เครื่องมือที่ใชการวิจัย...................................................................................................... การพัฒนาเครื่องมือที่ใชในการวิจัย....................................................................... การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือวิจัย...................................................................... การพิทักษสิทธิผูเขารวมการวิจัย..................................................................................... การเก็บรวบรวมขอมูลที่ใชในการวิจยั ............................................................................ การวิเคราะหขอมูล.......................................................................................................... ขั้นตอนการศึกษาวิจัย.....................................................................................................

54 54 54 54 54 54 55 55 57 59 59 60 61

บทที่ 4 ผลการวิจัย..................................................................................................................... สวนที่ 1 ขอมูลพื้นฐานของกลุม ตัวอยาง......................................................................... สวนที่ 2 ความคิดเห็นเกี่ยวกับการนํานวัตกรรมบริการมาใชในการใหบริการ ของสวนงานบริการดานหนา มหาวิทยาลัยคริสเตียน..................................................... สวนที่ 3 ความคิดเห็นตอการใหบริการที่เปนเลิศของมหาวิทยาลัยคริสเตียน................. สวนที่ 4 การวิเคราะหความสัมพันธระหวางนวัตกรรมการใหบริการกับการใหบริการ ที่เปนเลิศของสวนงานบริการดานหนา มหาวิทยาลัยคริสเตียน......................................

62 62

64 73 77


หนา สวนที่ 5 การวิเคราะหนวัตกรรมการใหบริการที่มีอํานาจทํานายการใหบริการที่เปน เลิศของสวนงานบริการดานหนา มหาวิทยาลัยคริสเตียน............................................... 85 บทที่ 5 สรุปผลการวิจัย อภิปรายผล และขอเสนอแนะ............................................................. สรุปผลการวิจยั ............................................................................................................... อภิปรายผลการวิจัย......................................................................................................... ขอเสนอแนะ...................................................................................................................

94 94 96 101

บรรณานุกรม.................................................................................................................. ภาคผนวก ก. จํานวนประชากรอายุ 15- 17 ป และนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย เปรียบเทียบป 2557 – 2558....................................................................... ภาคผนวก ข. เครื่องมือวิจัย............................................................................................. ภาคผนวก ค. คาดัชนีความสอดคลองของเครื่องมือวิจัย................................................. ภาคผนวก ง. คาความเชื่อมั่นของเครื่องมือวิจัย.............................................................. ภาคผนวก จ. เอกสารรับรองจริยธรรมการทําวิจัยในมนุษย............................................ ประวัติผูวจิ ัย....................................................................................................................

104

110 112 123 131 136 138


สารบัญตาราง ตารางที่ หนา 1 จํานวน และรอยละของกลุมตัวอยางจําแนกตามขอมูลพื้นฐานของกลุมตัวอยาง. 62 2 คาระดับคะแนนเฉลี่ย และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของความคิดเห็นเกี่ยวกับ การนํานวัตกรรมการใหบริการมาใชในการใหบริการของสวนงานบริการ ดานหนาดานวิชาการ…………………………………………………………... 64 3 คาระดับคะแนนเฉลี่ย และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของความคิดเห็นเกี่ยวกับ การนํานวัตกรรมการใหบริการมาใชในการใหบริการของสวนงานบริการ ดานหนาดานพัฒนานักศึกษา............................................................................... 66 4 คาระดับคะแนนเฉลี่ย และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของความคิดเห็นเกี่ยวกับ การนํานวัตกรรมการใหบริการมาใชในการใหบริการของสวนงานบริการ ดานหนาดานเทคโนโลยี...................................................................................... 67 5 คาระดับคะแนนเฉลี่ย และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของความคิดเห็นเกี่ยวกับ การนํานวัตกรรมการใหบริการมาใชในการใหบริการของสวนงานบริการ ดานหนาดานการเงิน............................................................................................ 69 6 คาระดับคะแนนเฉลี่ย และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของความคิดเห็นเกี่ยวกับ การนํานวัตกรรมการใหบริการมาใชในการใหบริการของสวนงานบริการ ดานหนาดานสิ่งอํานวยความสะดวก................................................................... 70 7 คาระดับคะแนนเฉลี่ย และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของความคิดเห็นเกี่ยวกับ การนํานวัตกรรมการใหบริการมาใชในการใหบริการของสวนงานบริการ ดานหนา โดยรวมและรายดาน............................................................................. 72 8 คาระดับคะแนนเฉลี่ย และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของความคิดเห็นเกี่ยวกับ การใหบริการที่เปนเลิศ ดานพนักงานผูใ หบริการของสวนงานบริการดานหนา. 73 9 คาระดับคะแนนเฉลี่ย และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของความคิดเห็นเกี่ยวกับ การใหบริการที่เปนเลิศ ดานขั้นตอนกระบวนการใหบริการของสวนงาน บริการดานหนา………………………………………………………………… 74 10 คาระดับคะแนนเฉลี่ย และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของความคิดเห็นเกี่ยวกับ การใหบริการที่เปนเลิศ ดานสถานที่ใหบริการของสวนงานบริการดานหนา…. 75


สารบัญตาราง ตารางที่ 11 คาระดับคะแนนเฉลี่ย และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของความคิดเห็นเกี่ยวกับ การใหบริการที่เปนเลิศ โดยรวมและรายดาน..................................................... 12 คาความสัมพันธระหวางนวัตกรรมการบริการดานวิชาการ ดานพัฒนานักศึกษา ดานเทคโนโลยี ดานการเงิน และดานสิ่งอํานวยความสะดวก กับการใหบริการ ที่เปนเลิศของสวนงานบริการดานหนามหาวิทยาลัยคริสเตียน............................ 13 คาความสัมพันธระหวางนวัตกรรมการบริการดานวิชาการ ดานพัฒนานักศึกษา ดานเทคโนโลยี ดานการเงิน และดานสิ่งอํานวยความสะดวก กับการใหบริการ ที่เปนเลิศของสวนงานบริการดานหนามหาวิทยาลัยคริสเตียน ดานพนักงาน ผูใหบริการ........................................................................................................... 14 คาความสัมพันธระหวางนวัตกรรมการบริการดานวิชาการ ดานพัฒนานักศึกษา ดานเทคโนโลยี ดานการเงิน และดานสิ่งอํานวยความสะดวก กับการใหบริการ ที่เปนเลิศของสวนงานบริการดานหนามหาวิทยาลัยคริสเตียน ดานกระบวนการ ใหบริการ............................................................................................................. 15 คาความสัมพันธระหวางนวัตกรรมการบริการดานวิชาการ ดานพัฒนานักศึกษา ดานเทคโนโลยี ดานการเงิน และดานสิ่งอํานวยความสะดวก กับการใหบริการ ที่เปนเลิศของสวนงานบริการดานหนามหาวิทยาลัยคริสเตียน ดานสถานที่ ใหบริการ............................................................................................................. 16 ความสัมพันธระหวางตัวแปรนวัตกรรมการใหบริการ และตัวแปรนวัตกรรม การใหบริการกับการใหบริการที่เปนเลิศของสวนงานบริการดานหนา มหาวิทยาลัยคริสเตียน......................................................................................... 17 ความสัมพันธระหวางตัวแปรนวัตกรรมการใหบริการ และตัวแปรนวัตกรรม การใหบริการกับการใหบริการที่เปนเลิศของสวนงานบริการดานหนา มหาวิทยาลัยคริสเตียน ดานพนักงานผูใ หบริการ................................................. 18 ความสัมพันธระหวางตัวแปรนวัตกรรมการใหบริการ และตัวแปรนวัตกรรม การใหบริการกับการใหบริการที่เปนเลิศของสวนงานบริการดานหนา มหาวิทยาลัยคริสเตียน ดานกระบวนการใหบริการ............................................

หนา 76

77

78

79

80

81

82

83


สารบัญตาราง ตารางที่ 19 ความสัมพันธระหวางตัวแปรนวัตกรรมการใหบริการ และตัวแปรนวัตกรรม การใหบริการกับการใหบริการที่เปนเลิศของสวนงานบริการดานหนา มหาวิทยาลัยคริสเตียน ดานสถานที่ใหบริการ..................................................... 20 คาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธพหุคูณ (R) ระหวางตัวพยากรณที่ไดรับการคัดเลือก เขาสูสมการถดถอย คาสัมประสิทธิ์การพยากรณที่เพิ่มขึน้ (R²) และทดสอบ ความมีนัยสําคัญของสัมประสิทธิ์การพยากรณที่เพิ่มขึ้น ในการพยากรณ การใหบริการที่เปนเลิศของสวนงานบริการดานหนา มหาวิทยาลัยคริสเตียน โดยการวิเคราะหถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน (Stepwise multiple regression)... 21 คาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธพหุคูณ (R) ระหวางตัวพยากรณที่ไดรับการคัดเลือก เขาสูสมการถดถอย คาสัมประสิทธิ์ก ารพยากรณที่เพิ่มขึ้น (R²) และทดสอบ ความมีนัยสําคัญของสัมประสิทธิ์การพยากรณที่เพิ่มขึ้น ในการพยากรณ การใหบริการที่เปนเลิศของสวนงานบริการดานหนา มหาวิทยาลัยคริสเตียน ดานพนักงานผูใหบริการ โดยการวิเคราะหถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน (Stepwise multiple regression).......................................................................... 22 คาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธพหุคูณ (R) ระหวางตัวพยากรณที่ไดรับการคัดเลือก เขาสูสมการถดถอย คาสัมประสิทธิ์ก ารพยากรณที่เพิ่มขึ้น (R²) และทดสอบ ความมีนัยสําคัญของสัมประสิทธิ์การพยากรณที่เพิ่มขึ้น ในการพยากรณ การใหบริการที่เปนเลิศของสวนงานบริการดานหนา มหาวิทยาลัยคริสเตียน ดานกระบวนการใหบริการ โดยการวิเคราะหถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน (Stepwise multiple regression).......................................................................... 23 คาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธพหุคูณ (R) ระหวางตัวพยากรณที่ไดรับการคัดเลือก เขาสูสมการถดถอย คาสัมประสิทธิ์ก ารพยากรณที่เพิ่มขึ้น (R²) และทดสอบ ความมีนัยสําคัญของสัมประสิทธิ์การพยากรณที่เพิ่มขึ้น ในการพยากรณ การใหบริการที่เปนเลิศของสวนงานบริการดานหนา มหาวิทยาลัยคริสเตียน ดานสถานที่ใหบริการ โดยการวิเคราะหถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน (Stepwise multiple regression)..........................................................................

หนา

84

85

87

89

91


สารบัญตาราง ตารางที่ หนา 24 จํานวนประชากรในชวงอายุ 15-17 ป พ.ศ.2557-2558......................................... 111 25 จํานวนนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย เปรียบเทียบปการศึกษา 2557-2558.. 111 26 คาสหสัมพันธของคะแนนแตละขอความกับขอความทั้งหมด ดานนวัตกรรมการใหบริการดานวิชาการ............................................................ 132 27 คาสหสัมพันธของคะแนนแตละขอความกับขอความทั้งหมด ดานนวัตกรรมการใหบริการดานพัฒนานักศึกษา................................................ 132 28 คาสหสัมพันธของคะแนนแตละขอความกับขอความทั้งหมด ดานนวัตกรรมการใหบริการดานเทคโนโลยี....................................................... 133 29 คาสหสัมพันธของคะแนนแตละขอความกับขอความทั้งหมด ดานนวัตกรรมการใหบริการดานเงิน................................................................... 133 30 คาสหสัมพันธของคะแนนแตละขอความกับขอความทั้งหมด ดานนวัตกรรมการใหบริการดานสิ่งอํานวยความสะดวก.................................... 134 31 คาสหสัมพันธของคะแนนแตละขอความกับขอความทั้งหมด การใหบริการที่เปนเลิศดานพนักงานผูใ หบริการ................................................. 134 32 คาสหสัมพันธของคะแนนแตละขอความกับขอความทั้งหมด การใหบริการที่เปนเลิศดานกระบวนการใหบริการ................................................... 135 33 คาสหสัมพันธของคะแนนแตละขอความกับขอความทั้งหมด การใหบริการที่เปนเลิศดานสถานที่ใหบริการ..................................................... 135


สารบัญภาพประกอบ ภาพที่ 1 2

หนา กรอบแนวคิดการวิจัย…………………………………………………………... 5 ขั้นตอนการดําเนินการวิจยั ................................................................................... 61


1

บทที่ 1 บทนํา ความสําคัญของปญหาการวิจัย ปจจุบันการแขงขันในภาคอุตสาหกรรมการศึกษาของไทยมีการเปลี่ยนแปลงและขยายตัว อยางรวดเร็วโดยเฉพาะในเชิงปริมาณ ซึ่งสะทอนจากจํานวนสถาบันอุดมศึกษาหลายแหงที่ไดเพิ่ม จํา นวนขึ้ น ความพยายามในการขยายวิ ทยาเขต ศู น ยก ารศึก ษานอกสถานที่ ตั้ง ซึ่ ง ปจ จุ บั น มี สถาบัน อุด มศึก ษาในสังกัด สํานัก งานคณะกรรมการการอุด มศึก ษา จํานวน 156 สถาบัน 252 วิทยาเขต (สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา,2559) นอกจากนี้ยังมีการพัฒนาหลักสูตรใหม จํานวนมากที่ตอบสนองตอความตองการผูเรียนในแตละภูมิภาค พรอมๆกับการทีส่ ถาบันอุดมศึกษา ได ใ ช ก ลยุท ธก ารตลาดเพื่อ สรรหานัก ศึก ษา การขยายกลุ มเป าหมายทั้ งภายในประเทศและ ต า งประเทศ ตลอดจนการพั ฒ นาระบบการให บ ริ ก ารเพื่ อ เสริ ม สร า งภาพลั ก ษณ ที่ ดี ใ ห แ ก สถาบันอุดมศึกษา ยิ่งไปกวานั้นคือการสรางเอกลักษณ (Uniqueness) หรืออัตลักษณ (Identity) ของ สถาบันอุดมศึกษาที่เฉพาะเจาะจง ซึ่งจะทําใหสื่อไปถึงผูที่จะเขาศึกษาตอในสถาบันอุดมศึกษาแต ละแหงได รับรู ฝงตรึงอยูกับภาพลัก ษณ (Image) นั้นๆ อยางยาวนาน เชน การเปน ผูนําการจัด การศึ ก ษาที่ มี ค วามเป น เลิ ศ ด า นการแพทย แ ละสาธารณสุ ข ด า นวิ ท ยาศาสตร สุ ข ภาพ ดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ดานภาษาศาสตร ดานบริหารจัด การธุร กิจ ดานสังคมศาสตร ดานมนุษยศาสตร ดานศิลปะ เปนตน แต ใ นทิ ศ ทางตรงข า มจํ า นวนประชากรหรื อ จํ า นวนนั ก เรี ย นที่ จ ะป อ นเข า สู ส ถาบั น อุดมศึกษาของประเทศไทยกลับมีแนวโนมที่ลดจํานวนลง ดังที่ไดมีการสํารวจขอมูลสถิติทางการ ทะเบียน กระทรวงมหาดไทย (2560) เปรียบเทียบป 2559-2558 พบวา ประชากรที่มีอายุระหวาง 15-17 ป ลดลง จํานวน 99,878 คน คิดเปนรอยละ 3.89 และสํานักปลัดกระทรวงศึกษาธิการ (2559) ที่สํารวจขอมูลนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ชั้นปที่ 4-6 เปรียบเทียบปการศึกษา 2559-2558 พบวามีจํานวนลดลง จํานวน 331,378 คน คิดเปนรอยละ 24.7 (ภาคผนวก ก. ) สอดคลองกับจาก การคาดประมาณประชากรของประเทศไทย ป 2553-2583 ของสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการ เศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ (2556) ไดวิเคราะหวาในระยะเวลา 30 ปที่ผานมา โครงสรางอายุของ ประชากรไทยไดเปลี่ยนแปลงไปอยางมาก ประชากรไทยสูงวัยเพิ่มจํานวนมากขึ้นอยางรวดเร็ว สาเหตุที่ทําใหประชากรไทยสูงวัยเพิ่มจํานวนขึ้น เปนผลมาจากอัตราเกิดที่ลดลงอยางรวดเร็วใน เวลา 2-3 ทศวรรษที่ผานมา (มูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาผูสูงอายุไทย,2558)


2

สถานการณ ข า งต น ทํ า ให วิ เ คราะห ภ าพในอนาคตได ว า ภาวะการแข ง ขั น ของภาค อุต สาหกรรมการศึก ษาไทยจะเขมขน มากยิ่งขึ้น ภาคอุดมศึก ษาไทยนอกจากจะตองเผชิญกับ จํานวนลูกคาหรือนักศึกษาที่ลดจํานวนลงแลว การบริหารงานของสถาบันอุดมศึกษาแตละแหง นับเปนอีกสวนหนึ่งที่สําคัญซึ่งสถาบันอุดมศึกษาแตละแหงตองมีการกําหนดวิสัยทัศน ทิศทางการ พัฒนาที่ชัดเจน มีก ารบริหารความเสี่ยง ตลอดจนการนํานวัตกรรมสมัยใหมมาประยุกตในการ บริหารจัดการและใหบริการ ดังที่สมฤทัย น้ําทิพย (2556) ไดวิเคราะหวา วิกฤติในดานการตลาด ของอุ ต สาหกรรมการศึก ษาระดับอุด มศึก ษาทั่ว โลกขณะนี้ ตน เหตุเกิด จากความลมเหลวของ การศึกษาในระดับอุดมศึกษาเองในการระบุธุรกิจหลัก (Core business) การทําการตลาดไมเพียงพอ ขาดความโดดเดนของสถาบันและหลักสูตร รวมทั้งสถาบันอุดมศึกษาแตละแหงยังมุงที่จะพัฒนา ธุรกิจหลักมากกวาที่จะพัฒนาการวิจัยหรือการจัดการเรียนการสอน การใหบริการ และความพึง พอใจของนัก ศึก ษา ดังนั้น สถาบัน อุด มศึก ษาแตละแหงจึง ตองสรางสรรคและพัฒนากลยุทธที่ หลากหลาย สรางความไดเปรียบในการแขงขัน เพื่อใหบรรลุเปาหมายที่สถาบัน อุด มศึก ษาได กําหนดไว แนวคิดเรื่องนวัตกรรมบริการ (Service innovation) นับเปนอีกแนวคิดหนึ่งที่องคกรธุรกิจ ปจจุบันไดนํามาใชในการตอบสนองตอการเปลี่ยนแปลง เพื่อสรางความคาดหวัง และความตองการ ของลูกคาที่มาใชบริการ ตลอดจนการปรับปรุงตามขอเสนอแนะ ซึ่งจะเปนแรงจูงใจใหกลุมลูกคา ใหมๆเกิดขึน้ เขามาใชบริการ รวมทั้งการสรางระบบบริการใหมๆ เพื่อตอบสนองความตองการของ ลู ก ค า ป จ จุ บั น และลู ก ค า ในอนาคต (Danjuma and Rasli, 2012) นวั ต กรรมบริ ก ารใน สถาบันอุดมศึกษามิไดมีความหมายจํากัดอยูที่บทบาทการใหบริการของคณาจารยหรือ พนักงาน ขององคกรเทานั้น แตมีขอบขายที่ครอบคลุมการดําเนินการหลายดานของสถาบันอุดมศึกษาซึ่ง เปน ทั้งวิธีการ ระบบ กลไกและกระบวนการใหมๆโดยมีเทคโนโลยี สารสนเทศหรือดิจิทัล เปน เครื่องมือในการที่จ ะสงมอบคุ ณ ภาพในบริก ารใหแกนัก ศึก ษาและผูมาใชบริ ก ารตั้งแต ตน น้ํ า กลางน้ํา และปลายน้ํา ไดแก ชวงตนน้ํา อาทิ กระบวนการรับสมัคร การลงทะเบียนเรียน ระบบ การดูแลเมื่อแรกเขาศึกษา การพัฒนาหลักสูตร ชวงกลางน้ํา อาทิ วิธีการจัดการเรียนการสอนใน รายวิชาทฤษฎี รายวิชาปฏิบัติ รายวิชาฝก ปฏิบัติวิชาชีพ การฝก อบรมเสริมหลักสูต ร การจัด บรรยากาศการเรียนรู อาคารเรียน หองปฏิบัติการ หอสมุด แหลงเรียนรูตางๆ ระบบเทคโนโลยี สารสนเทศ ระบบการติด ตามดูแลนัก ศึก ษา การจัด สิ่ง อํานวยความสะดวกอื่น ๆ อาทิ หอพั ก รานอาหาร สนามกีฬา การใหบริการยานพาหนะ ระบบการดูแลความปลอดภัย และชวงปลายน้ํา เชน ระบบการดูแลกอนการสําเร็จการศึกษา การจัดพิธีปจฉิมนิเทศ การใหความรู เกี่ยวกับการ สมัครงาน การสานสัมพันธกับศิษยเกา เปนตน


3

สําหรับมหาวิทยาลัยคริสเตียน เปนมหาวิทยาลัยเอกชนในจังหวัดนครปฐม กอตั้งมาเปน เวลากวาสามทศวรรษ มีภ าพลัก ษณที่โ ดดเดน ในการจัด การศึก ษาดานวิทยาศาสตรสุข ภาพได ประยุกตแนวคิดเรื่องนวัตกรรม มาใชในการจัดการศึกษาและบริหารจัดการของสถาบันอยางชัดเจน ดังแสดงใหเห็นจากการกําหนดวิสัยทัศน ปรัชญา วัตถุประสงค และกลยุทธการดําเนินพันธกิจ อุดมศึกษาในทุกดาน อันไดแก การผลิตบัณฑิต การจัดการเรียนการสอน การทําวิจัย การใหบริการ วิชาการ และการบริหารจัดการองคกร ที่มีการระบุขอความ “นวัตกรรม” ในแตละเนื้อหา เพื่อเนน ย้ําใหหลักสูตร คณะวิชา และฝายสนับสนุนวิชาการ ผลักดันไปสูการจัดทําโครงการและกิจกรรม อยางเปนรูปธรรม นอกจากนีย้ ังสะทอนจากวัฒนธรรมการใหบริการที่เปนเลิศของมหาวิทยาลัยฯ (Service excellence) ที่กําหนดใหแกบุคลากรของมหาวิทยาลัยฯใหบริการแกนัก ศึกษาและผูมา ติด ตอโดยใหบริก ารอย างมีน วัต กรรม (Serve innovatively) อีก ดว ย ซึ่งการดํา เนิน งานของ มหาวิทยาลัยฯดังกลาวไดสอดรับกับนโยบายแผนพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ ไทย (Digital Thailand) พ.ศ. 2559 ที่มีจุดประสงคในการนําเอานวัตกรรมเทคโนโลยีดิจิทัล มาใช ขับเคลื่อนและใชประโยชน ในการยกระดับเศรษฐกิจและสังคมของประเทศไทยใหมีความกาวหนา ทามกลางการเปลี่ยนแปลงที่รวดเร็วของสังคมในยุคปจจุบัน เชนเดียวกับมหาวิทยาลัยคริสเตียนที่ มุงหวังจะนําเอานวัตกรรมดังกลาวมาใชในการใหบริการแกนักศึกษา อาจารย และบุคลากร รวมทั้ง บริหารจัดการองคกรดานตางๆ แมวามหาวิทยาลัยคริสเตียนจะมีการนําแนวคิดวาดวยนวัตกรรมบริการ มาประยุกตในการ จัดการศึกษา และบริหารจัดการองคกรแลวก็ตาม แตจากการดําเนินงานของมหาวิทยาลัยฯในชวงที่ ผานมา โดยเฉพาะกับการใหบริการของสวนงานดานหนา(Frontline offices) ของมหาวิทยาลัยฯ ยัง ไมมีก ารศึก ษาที่ ชัด เจนเกี่ยวกับ การนํานวัต กรรมบริก ารมาใช จ ากมุมมองของผูใ ชบริก าร คื อ นักศึกษา รวมทั้งจากบุคลากรที่ใหบริการดานหนาในแตละสวนงานของมหาวิท ยาลัยฯ อาทิ การ ใหบริการดานวิชาการ การใหบริการดานพัฒนานักศึกษา การใหบริการดานการเงิน การใหบริการ ดานเทคโนโลยีสารสนเทศ การใหบริการดานสิ่งอํานวยความสะดวก ตางๆ เปนตน เพื่อนําผลที่ ไดรับไปปรับปรุงในการสรางความพึงพอใจและประทับใจตอการจัดการอุดมศึกษาในระยะยาว คณะผูวิจัยในฐานะที่ปฏิบัติงานเกี่ยวกับการประสานงานดานการวางแผนและกําหนดนโยบายการ พัฒนามหาวิทยาลัยคริสเตียน จึงมีความสนใจที่จะศึกษาในประเด็นดังกลาวเพื่อนําขอคนพบที่ได ไปเปนขอเสนอแนะในการพัฒนานวัตกรรมการใหบริการดานตางๆของสวนงานใหบริการดาน หนา ในมหาวิทยาลัยคริสเตียนใหมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล อันจะนําไปสูการเพิ่มขีด ความสามารถในการแขงขันของมหาวิทยาลัย คริสเตียน ทามกลางภาวะการแขงขันที่เขมขนของ สถาบันอุดมศึกษาไทยตอไป


4

คําถามการวิจัย 1. นวัตกรรมการบริการที่จะสงผลใหเกิดการบริการที่เปนเลิศของมหาวิทยาลัยคริสเตียน มีอะไรบาง 2. นวัตกรรมการบริการมีความสัมพัน ธกับการใหบริก ารที่เปนเลิศของสวนงานบริการ ดานหนา มหาวิทยาลัยคริสเตียนอยางไร วัตถุประสงคของการวิจัย 1. วิเคราะหการนํานวัตกรรมการใหบริการมาใชในการใหบริการของมหาวิทยาลัย คริสเตียน 2. วิเ คราะห ลั ก ษณะความสั มพั น ธ แ ละอํ านาจในการทํา นายระหว า งนวัต กรรมการ ใหบริการกับการใหบริการที่เปนเลิศของสวนงานบริการดานหนา มหาวิทยาลัยคริสเตียน สมมติฐานการวิจัย 1. นวัตกรรมการใหบริการ ไดแก นวัตกรรมการใหบริการดานวิชาการ นวัตกรรมการ ใหบริการดานพัฒนานักศึกษา นวัตกรรมการใหบริการดานเทคโนโลยี นวัตกรรมการใหบริการ ดานเงิน นวัตกรรมการใหบริการดานสิ่งอํานวยความสะดวก มีความสัมพันธกับการใหบริการที่ เปนเลิศของสวนงานบริการดานหนา มหาวิทยาลัยคริสเตียน 2. นวัตกรรมการใหบริการ ไดแก นวัตกรรมการใหบริการดานวิชาการ นวัต กรรมการ ใหบริการดานพัฒนานักศึกษา นวัตกรรมการใหบริการดานเทคโนโลยี นวัตกรรมการใหบริการ ดานเงิน นวัตกรรมการใหบริการดานสิ่งอํานวยความสะดวก เปนปจจัยที่มีอํานาจในการทํานายการ ใหบริการที่เปนเลิศของสวนงานบริการดานหนา มหาวิทยาลัยคริสเตียน


5

กรอบแนวคิดการวิจัย การศึกษาวิจัยในครั้งนี้คณะผูวิจัยไดศึกษากรอบแนวคิดนวัตกรรมการใหบริการขององคกร และสถาบัน อุด มศึก ษา ซึ่งไดมีก ารศึก ษาไวโ ดยสมฤทัย น้ําทิพย (2556), แดนจุมา และราสลี (Danjuma & Rasli, 2012), กีรติ ยศยิ่งยง (2552) งานเหลานี้ตางมีขอคนพบที่สรุปตรงกันประการ หนึ่งวา การใชเทคโนโลยีสมัยใหมนับเปนสวนสําคัญตอการผลักดันการใหบริการขององคกรหรือ สถาบันอุดมศึกษาไปสูก ารสรางความพึงพอใจใหแกผูมาใชบริก ารมากขึ้นซึ่งสอดคลองกับการ เปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี ใ นปจ จุบัน ซึ่งมีค วามเปน พลวัตสูง และได ใ ชแนวคิดเกี่ยวกับการ ใหบริการที่เปนเลิศของจันทรจิรา วงษขมทองและคณะ (2552) ที่กลาวถึงองคประกอบสําคัญใน การพัฒนาการใหบริการที่เปนเลิศขององคกร ประกอบดวยปจจัยสําคัญ 3 ประการ คือ พนักงานผู ใหบริการ ขั้นตอนกระบวนการใหบริการ และสถานที่ใหบริการ จากกรอบแนวคิดการศึกษาวิจัยในครั้งนี้ จึงเปนที่มาของการกําหนดสมมติฐานวาปจจัย เกี่ยวกับนวัตกรรมบริการดานตางๆ จะมีความสัมพัน ธตอการใหบริการที่เปนเลิศของสวนงาน บริการดานหนาของมหาวิทยาลัยฯหรือไม อยางไร โดยกําหนดเปนตัวแปรอิสระคือ ปจจัยเกี่ยวกับ นวัต กรรมการบริก าร และการใหบริก ารที่เปน เลิศของสว นงานบริก ารดานหนา กําหนดเปน ตัวแปรตาม ดังนี้ ตัวแปรอิสระ นวัตกรรมการใหบริการ 1. ดานวิชาการ 2. ดานการพัฒนานักศึกษา 3. ดานเทคโนโลยีสารสนเทศ 4. ดานการเงิน 5. ดานสิ่งอํานวยความสะดวก

ตัวแปรตาม

การใหบริการที่เปนเลิศของสวนงานบริการ ดานหนาของมหาวิทยาลัยคริสเตียน 1. ดานพนักงานผูใ หบริการ 2. ดานขัน้ ตอนกระบวนการใหบริการ 3. ดานสถานที่ใหบริการ

สมฤทัย น้ําทิพย (2556), แดนจุมา และราสลี จันทรจิรา วงษขมทอง และคณะ (2552) (Danjuma & Rasli, 2012), กีรติ ยศยิ่งยง (2552) ภาพที่ 1 กรอบแนวคิดการวิจัย


6

ขอบเขตของการวิจัย 1. การศึกษาวิจัยในครั้งนี้มุงศึกษาวิเคราะหเกี่ยวกับการนํานวัตกรรมการใหบริการมาใชใน การใหบริการของสวนงานบริการดานหนา มหาวิทยาลัยคริสเตียนรวมทั้งวิเคราะหความสัมพันธ และอิทธิพลของการนํานวัตกรรมการใหบริการมาใชในการใหบริการกับการใหบริการที่เปนเลิศ ของสว นงานบริก ารดานหนา มหาวิทยาลัยคริสเตียน เพื่อนําไปสูก ารเสนอแนะประเด็น เชิง นโยบายการพัฒนาดานนวัตกรรมบริการของมหาวิทยาลัยคริสเตียน โดยประยุกตแนวคิดนวัตกรรม การบริการของสมฤทัย น้ําทิพย (2556) แดนจุมา และราสลี(Danjuma & Rasli, 2012) กีรติ ยศยิ่งยง (2552) แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการอุดมศึกษาในยุคดิจิทัล แนวคิดเกี่ยวกับการใหบริการของสวน งานบริการดานหนาของสถาบันอุดมศึกษา รวมทั้งแนวคิดการใหบริการที่เปนเลิศของจันทรจิรา วงษขมทอง (2552) เปนแนวทางในการศึกษา 2. ประชากรที่ ใ ช ใ นการศึ ก ษาครั้ ง นี้ คื อ บุ ค ลากรของมหาวิ ท ยาลั ย คริ ส เตี ย น ประกอบดวยผูบริหาร อาจารย และพนักงาน เหตุที่ศึกษากลุมบุคลากรของมหาวิทยาลัยฯ เนื่องจาก บุค ลากรของมหาวิทยาลัยฯดัง กลาวไดทําหนาที่ใ นฐานะที่เป น ผูกํากับดูแลคณะวิชา และฝา ย สนับสนุนวิชาการ รวมทั้งเปนผูปฏิบัติโดยตรงในการใหบริการแกนักศึกษาของมหาวิทยาลั ยฯ เมื่องานวิจัยเรื่องนี้แลวเสร็จจะไดนําขอคนพบที่ไดรับไปตอยอดศึกษาจากมุมมองของนักศึกษาใน ฐานะผูใชบริการในการวิจัยครั้งตอไป 3. การศึกษาวิจัยในครั้งนี้มีระยะเวลาดําเนินการตั้งแตเดือนสิงหาคม พ.ศ.2559-กรกฎาคม พ.ศ.2560 นิยามตัวแปรที่ใชในการศึกษาวิจัย 1. นวัตกรรมการใหบ ริก าร หมายถึง ความคิดเห็น ของบุค ลากรมหาวิทยาลัย คริสเตียน เกีย่ วกับการนํากระบวนการหรือวิธีการใหมๆโดยมีเทคโนโลยีสมัยใหมเขามาใชในระบบ กลไก การใหบริการของสวนงานบริการดานหนาของมหาวิทยาลัยฯ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของคุณภาพใน การใหบริการแกนักศึกษารวมทั้งบุคลากรดวยกันเอง โดยบุคลากรจะแสดงความคิดเห็นดวยมาก นอยอยางไร หรือไมเห็นดวยตอการนํานวัตกรรมบริการมาใชในการใหบริการ ประกอบดวย 5 ดาน ไดแก 1.1 นวัตกรรมการใหบริการดานวิชาการ หมายถึง การนําเทคโนโลยีสมัยใหมเขา มาประยุกตใ นระบบและกลไกการใหบริก ารแกนัก ศึกษาเพื่ออํานวยความสะดวกใหนัก ศึก ษา สามารถเขาถึงและใชบริการอยางรวดเร็วที่เกี่ยวของกับงานบริการการศึกษา เชน การใหบริการ


7

ลงทะเบียนผานระบบออนไลนใ นโทรศัพทเคลื่อนที่ การพัฒ นาแอปพลิเคชั่น ที่ใ หขอมูลของ หลักสูตร ระบบการจัดการเรียนการสอน การพัฒนาโปรแกรมสอบวัดความรูเพื่อเขาศึกษาตอผาน ระบบออนไลน การมีระบบประมวลผลการศึกษาที่เขาถึงไดอยางรวดเร็ว การมีสื่ออิเล็กทรอนิกส เช น หนัง สือ อิ เล็ ก ทรอนิ ก ส (E-book) ของทุ ก รายวิ ช า เปน ตน ซึ่ง การวิจั ย ครั้ ง นี้ วัด โดยใช แบบสอบถาม ซึ่งมีขอคําถาม จํานวน 8 ขอ 1.2 นวัตกรรมการใหบริการดานพัฒนานักศึกษา การนําเทคโนโลยีสมัยใหมเขามา ประยุก ตใ นระบบและกลไกการใหบริก ารแกนัก ศึก ษาเพื่อสงเสริมใหนัก ศึก ษามีสว นรว มใน โครงการและกิจกรรม และอํานวยความสะดวกในการดําเนินชีวิตภายในรั้วมหาวิทยาลัยฯ เชน การ พัฒนาโปรแกรม หรือ แอปพลิเคชั่ น การดําเนินงานของสภานัก ศึก ษา สโมสร ชมรมนักศึกษา โปรแกรมการตรวจสอบเขา รว มโครงการและกิจกรรมของนัก ศึก ษา โปรแกรมการจองหอพัก ภายในมหาวิทยาลัยฯ โปรแกรมการตรวจสอบสิทธิการไดรับสวัสดิการหรือการรัก ษาพยาบาล โปรแกรมการใหขอมูลเกี่ยวกับการเขาสูอาชีพ จัดหาตําแหนงงานวาง เปนตน ซึ่งการวิจัยครั้งนี้ วัดโดยใชแบบสอบถาม ซึ่งมีขอคําถาม จํานวน 8 ขอ 1.3 นวัตกรรมการใหบริการดานเทคโนโลยี การนําเทคโนโลยีสมัยใหมเขามา ประยุกตในระบบและกลไกการใหบริการเพื่อสนับสนุนการจัดการเรียนการสอน และการบํารุง อุปกรณทางเทคโนโลยีแกนักศึกษาและบุคลากร เชน การพัฒนาระบบการเรียนแบบออนไลน (Mobile learning) การวัดความรูในรายวิชาทฤษฎีที่ศึกษา ผานระบบออนไลน การพัฒนาระบบเว็บ บอรด (Web board) ประจํารายวิชา การนําอุปกรณเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาใชสนับสนุนการจัดการ เรียนการสอน เชน คอมพิวเตอรแบบจอสัมผัส (Computer touch screen) โปรเจ็คเตอรแบบอินเตอร เรคทีฟ ( Interactive white board ) มีโปรแกรมการแจงซอมคอมพิวเตอรแบบพกพาที่สามารถแจง ผลและวิเคราะหสาเหตุการชํารุดของอุปกรณ รวมทั้งแจงไปยังนักศึกษาผานระบบออนไลน เปนตน ซึ่งการวิจัยครั้งนี้ วัดโดยใชแบบสอบถาม ซึ่งมีขอคําถาม จํานวน 9 ขอ 1.4 นวัตกรรมการใหบริการดานเงิน หมายถึง การนําเทคโนโลยีสมัยใหมเขามา ประยุก ตใ นระบบและกลไกการใหบริการเพื่อสนับสนุน การดําเนินธุร กรรมทางการเงิน ใหแก นัก ศึ ก ษาและบุ ค ลากร เช น การชํ า ระเงิ น คา ลงทะเบี ย นเรีย นและค า ธรรมเนี ย มอื่ น ๆผ า น โทรศัพทเคลื่อนที่ (Mobil phone) การพัฒนาแอปพลิเคชัน หรือโปรแกรมที่ชวยสําหรับการวางแผน หรือคํานวณคาใชจายทางการศึกษาตลอดหลักสูตรแกนักศึกษา การพัฒนาโปรแกรมการเบิกเงิน โปรแกรมการเคลียรคาใชจาย และโปรแกรมการตรวจสอบการใชจายงบประมาณ ของคณะวิชา และฝายสนับสนุนวิชาการที่สามารถดําเนินการผานระบบออนไลน เปน ตน ซึ่งการวิจัยครั้งนี้ วัดโดยใชแบบสอบถาม ซึ่งมีขอคําถาม จํานวน 8 ขอ


8

1.5 นวั ต กรรมการใหบ ริก ารด านสิ่ง อํา นวยความสะดวก การนํา เทคโนโลยี สมัยใหมเขามาประยุกตในระบบและกลไกการใหบริการเพื่อใหบริการแกนักศึกษาและบุคลากรใน เรื่องปจจัยเกื้อหนุนและสิ่งอํานวยความสะดวกดานตางๆ เชน การพัฒนาโปรแกรมการเดินรถไป ฝ ก ปฏิ บั ติ วิ ช าชี พ รถรั บ -ส ง บริ ก ารผ า นระบบออนไลน โปรแกรมแสดงการใช ห อ งเรี ย น ห อ งปฏิ บั ติ ก าร ห อ งประชุ ม การพั ฒ นาฐานข อ มู ล จํ า นวนสิ น ค า ใหม ใ นร า นจํ า หน า ยของ มหาวิทยาลัยฯ การพัฒนาโปรแกรมระบบการสั่งซื้อวัสดุอุปกรณครุภัณฑการศึกษา และสํานักงาน ใหแกคณะวิชาและฝายสนับสนุนวิชาการ เปนตน ซึ่งการวิจัยครั้งนี้วัดโดยใชแบบสอบถาม ซึ่งมีขอ คําถาม จํานวน 10 ขอ 2. การใหบ ริก ารที่เ ปน เลิศ หมายถึง การกระทําของบุค ลากรสายสนับสนุน วิชาการที่ ใหบริก ารดานหนา มหาวิทยาลัยคริสเตียน ในการส งมอบบริก ารหรื อผลผลิต ใหแกนัก ศึก ษา และบุคลากร เพื่อใหผูมาใชบริการเกิดความประทับใจ โดยบุคลากรจะแสดงความคิดเห็นตอการ ใหบริการดังกลาววาอยูในระดับดีมาก ดี พอใช หรือตองปรับปรุงหรือไมอยางไร ซึ่งครอบคลุมการ ดําเนินงาน 3 ดาน ไดแก (จันทรจิรา วงษขมทอง, 2552) 2.1 ดานพนักงานผูใหบริการ หมายถึง สมรรถนะของพนักงานของมหาวิทยาลัยฯ ที่ใ หบริก ารครอบคลุมทั้งคุณ ลัก ษณะและพฤติกรรม สมรรถนะของผูใ หบริก าร ประกอบดว ย การกระตือรือรน การยิ้มแยม การมีวาจากิริยามารยาทและแตงกายสุภาพ การใหคําแนะนําขั้นตอน การใหบริการ การใสใจและใหความชวยเหลือ การมีความรับผิดชอบ การรับฟงปญหา การมีความ อดทนและอดกลั้น การตรงตอเวลา มีความซื่อสัตยสุจริต และการมีความชางสังเกตและมีความคิด สรางสรรค เปนตน ซึ่งการวิจัยครั้งนี้ วัดโดยใชแบบสอบถาม ซึ่งมีขอคําถาม จํานวน 6 ขอ 2.2 ดานกระบวนการใหบริการ หมายถึง การปฏิบัติตามขั้นตอนการใหบริการซึ่ง บุคลากรของมหาวิทยาลัยฯ ตองกระทําการใหบริการตลอดกระบวนการของแตละงานตามเงื่อนไข ของเวลาที่กําหนดจนกระทั่งสงมอบชิ้นงานบริการหรือผลผลิตของการบริการใหแกผูใชบริการ ซึ่ง ประกอบดวย การจัดปายแสดงขั้นตอนการใหบริการ การจัดคิวในการใหบริการ การใหบริการตาม ขั้นตอนการใหบริการอยางรวดเร็ว การจัดอัต รากําลังเจาหนาที่ใหเพียงพอ การจัดวัสดุอุปกรณ สํานักงานใหเพียงพอ การจัดหาเครื่องมืออุปกรณ เทคโนโลยีสารสนเทศ ฮารดแวร และซอฟทแวร การจัดใบคํารองขอใชบริการ หรือใบรับแจงขอรองเรียน/ รองทุกข การประชาสัมพันธและแนะนํา ขั้นตอนการบริการ การแกไขปญหาที่เกิดขึ้นระหวางการใหบริการ คุณภาพของชิ้นงานบริการ ประโยชนสูงสุดจากชิ้นงานบริการ ความพึงพอใจในการใหบริการและชิ้นงาน ความประทับใจใน ภาพรวมของการใหบริการ การเปดโอกาสใหผูใชบริการไดมีการประเมินความพึงพอใจในการใช บริการ เปนตน ซึ่งการวิจัยครั้งนี้ วัดโดยใชแบบสอบถาม ซึ่งมีขอคําถาม จํานวน 6 ขอ


9

2.3 ดานสถานที่ใหบริการ หมายถึง การจัดพื้นที่ทั้งภายนอกและภายในสถานที่ ใหบริการเพื่ออํานวยความสะดวกของสวนงานบริการดานหนาแกผูมาใชบริการ ควรประกอบดวย การจัดใหมีชองทางบริการที่หลากหลาย การจัดบริเวณโดยรอบสถานที่ใหบริการเปนสัดสวนและ รมรื่น การจัดจุดประชาสัมพันธและเจาหนาที่ตอนรับ การจัดบริการ น้ําดื่ม การจัดหองสุขา การ ตกแตงภายในที่สถานที่ใหบริการ การจัดทําปายแสดงอัตราคาธรรมเนียมและเวลาในการใหบริการ แตละงาน การจัดชองทางหรือกลองรับฟงความคิดเห็นหรือกลองรับเรื่องราวรองทุกข การจัดเก็บ เอกสารทางการเปนหมวดหมู และการจัดเคานเตอรใหบริการและเกาอี้รอรับบริก ารใหเพียงพอ เปนตน (จันทรจิรา วงษขมทอง, 2552) ซึ่งการวิจัยครั้งนี้ วัดโดยใชแบบสอบถาม ซึ่งมีขอคําถาม จํานวน 6 ขอ 3. สวนงานใหบริการดานหนาของมหาวิทยาลัยฯ หมายถึง สวนงานในสังกัดฝายสนับสนุน วิชาการมหาวิทยาลัยคริสเตียน ที่มีภ ารกิจ หลักของสว นงานในการใหบริก ารแกนัก ศึก ษาและ บุคลากรโดยตรง ซึ่งสามารถแสดงใหเห็นจากความถี่ในการมาใชบริการจากนักศึกษาและบุคลากร มากกวาเมื่อเปรียบเทียบกับสวนงานอื่นๆ ซึ่งบุค ลากรจะแสดงความคิด เห็น ตอการใหบริก าร ดังกลาววาอยูในระดับดีมาก ดี พอใช หรือตองปรับปรุง อยางไรตอการใหบริการของสว นงาน เหลานั้น ไดแก 3.1 ฝายวิชาการ ครอบคลุมภาระงานที่อยูในความรับผิดชอบ เชน งานทะเบียน งานสอบวั ด ความรู งานประมวลผลการศึ ก ษา งานพิม พ งานใหบ ริก ารทรัพ ยากรสารนิ เทศ สื่อโสตทัศน ฐานขอมูล เปนตน 3.2 ฝายพัฒนานักศึกษา ครอบคลุมภาระงานที่อยูในความรับผิดชอบ เชน งาน กิจกรรมนักศึกษา งานบริการกองทุนใหกูยืมเพื่อการศึกษา งานบริการหอพัก งานรักษาพยาบาล งานแนะแนวอาชีพ งานรับไปรษณีย เปนตน 3.3 ฝายบริหารทรัพยสินและสื่อสารองคกร ครอบคลุมภาระงานที่อยูในความ รับผิดชอบ โดยแบงออกเปน 4 สวนงานที่สําคัญ 3.3.1 งานสื่อสารองคกร เชน งานประชาสัมพันธ งานรับสมัครนักศึกษา ใหม งานใหบริการของศูนยขอมูล (Call center) เปนตน 3.3.2 งานบริการเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เชน งานพัฒนา โปรแกรมระบบลงทะเบียนออนไลน โปรแกรมสารสนเทศเพื่อการบริหารและการตัด สิน ใจ ประเภทตางๆ งานใหบริการสนับ สนุนการจัดทําสื่อการสอนแบบออนไลน (Digital learning) งานบริการบํารุง รักษาอุปกรณเครื่องคอมพิวเตอรแบบพกพา เปนตน


10

3.3.3 งานโสตทัศนูปกรณและบริการ เชน งานใหบริการโสตทัศนูปกรณ งานใหบริการจัดหองเรียน หองสอบ งานบริการยานพาหนะ เปนตน 3.3.4 งานบริหารพัสดุ เชน งานใหบริก ารจําหนายสิน คาในบุค สโตร งานจัดซื้อจัดจางวัสดุอุปกรณการศึกษาและสํานักงาน เปนตน 3.4 ฝายบริหารดานการเงิน ครอบคลุมภาระงานที่อยูในความรับผิดชอบ เชน การ ใหบริการชําระเงิน คาลงทะเบียนเรียน การเบิก งบประมาณ และเคลียรคาใชจายโครงการและ กิจกรรมของคณะวิชาและฝายสนับสนุนวิชาการ เปนตน 3.5 งานใหบริก ารทั่ว ไปของสํานัก งานคณะวิชา 5 วิชา ไดแก บัณ ฑิต วิทยาลัย คณะพยาบาลศาสตร คณะวิทยาศาสตรสุขภาพ คณะสหวิทยาการ และสถาบันกรุงเทพคริสตศาสน ศาสตร


11

บทที่ 2 วรรณกรรมและผลการวิจัยที่เกี่ยวของ การศึกษาวิจัยเรื่อง นวัตกรรมการใหบริการที่สงผลตอการใหบริการที่เปนเลิศของสวนงาน บริการดานหนา มหาวิทยาลัยคริสเตียน จังหวัดนครปฐม คณะผูวิจัยไดศึกษาแนวคิด ทฤษฎี เอกสาร และงานวิจัยที่เกี่ยวของ ดังนี้ 1. แนวคิดเกี่ยวกับนวัตกรรมการใหบริการ 2. แนวคิดเกี่ยวกับการใหบริการที่เปนเลิศ 3. แนวคิดเกี่ยวกับความพึงพอใจและความภักดีจากการใหบริการ 4. แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการอุดมศึกษาในยุคดิจิทัล 5. การใหบริการของสวนงานบริการดานหนา มหาวิทยาลัยคริสเตียน แนวคิดเกี่ยวกับนวัตกรรมการใหบริการ นักวิชาการหลายทานไดนิยามความหมายของนวัตกรรมการใหบริการไว ดังนี้ กวน และมา (Guan & Ma, 2003) กลาววา นวัตกรรมบริการ เปนความสามารถในการ พัฒนาผลิตภัณฑใหมใหตรงกับความตองการของตลาด เปนความสามารถในการใชกระบวนการ ทางเทคโนโลยีที่เหมาะสมในการพัฒนาผลิตภัณฑใหม ความสามารถในการพัฒนาการปรับเปลี่ยน ผลิต ภัณ ฑและกระบวนการทางเทคโนโลยี เพื่อใหสอดคลองกับความตองการในอนาคตและ สถานการณของคูแขงขัน เดรเจอร (Drejer, 2004) กลาววา นวัต กรรมบริก ารเปนการพัฒนาที่สัมฤทธิ์ผลของการ บริการใหมหรือสินคาใหม รวมถึงกิจกรรมที่เปนนวัตกรรมใหมๆ ทุกระดับที่ตองอยูภายใตการ แกไขและพัฒนา อูซุย (Usui, 2009) กลาววา นวัตกรรมบริการ คือ การยกระดับประสิทธิภาพการใหบริการ ไปพรอมๆกับการเพิ่มประสิทธิผลของระดับการบริการและการสรางมูลคาเพิ่ม ดอทเซิล, แชลเกอร และเบอรรี (Dotzel, Shankar, & Berry,2013) กลาววา นวัตกรรม บริการเปนสิ่งใหมๆในแบบที่ไมมีตัวตน มีผลตอการดําเนินงาน/กิจกรรมตางๆ เพื่อประโยชนของ ลูก คา เนื่องจากความพึงพอใจของลูกคาและมูลคาขององคก ร และความเสี่ยงนั้น มีความเกี่ยว ของกัน


12

แดนจุมา และราสลี (Danjuma & Rasli, 2012) กลาววา นวัตกรรมบริการ เปนการรวมกัน ของเทคโนโลยีน วัต กรรม (Technology innovation) รูปแบบธุร กิจ นวัตกรรม (Business model innovation) สังคมนวัตกรรมขององคกร (Social-organizational innovation) และนวัตกรรมความ ตองการ (Demand innovation) ซึ่งนับเปนวิธีการใหมๆที่นํามาใชในระบบริการ นฤดี จิยะวรนัน ท และภูมิพร ธรรมสถิต ยเดช (2559) กลาววา นวัต กรรมบริก ารเปน แนวคิดที่ตั้งใจจะบริการใหลูกคาเพื่อตอบสนองความพึงพอใจแกลูกคาอยางเต็มที่ และเพื่อเปนการ ปรับปรุงและเพิ่มผลกําไรใหกับธุรกิจ ซึ่งการบริการสามารถอธิบายเปนกระบวนการที่ถูกโอนยาย ไปยังลูกคาและถือวาเปนชุดของการโตตอบระหวางผูใหบริการและลูกคา ซึ่งลูกคามีอิทธิพลมาก ตอการปรับปรุงกระบวนการบริการ สถาบันวิทยาการ สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ (2559) กลาววา นวัตกรรมการใหบริการ คือ กลยุทธที่ใชกระบวนการทางธุรกิจรวมกับองคความรูดานเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร มาประยุกตในการสรางสรรคนวัตกรรมขององคกรภายใตแนวคิดการ สรางคุณคาแกสินคาและบริการ ที่มุงเนนผูบริโภคเปนศูนยกลาง โดยสงเสริมใหเกิดการรวมมือ ระหวางคนหลายกลุม รวมทั้งผูบริโ ภค (Co-creation) ใหไดผลอยางเปน รูปธรรม นําไปสูก าร ออกแบบกระบวนการที่สรรคสรางขอเสนอ (Offering) ใหมๆ และทําใหเกิดคุณคา (Value) แก ผูบริโภคหรือลูกคา โดยเนนการสรางคุณคาใหแกลูกคาไดโดดเดนกวาคูแขง และใหความสําคัญกับ การทําใหลูกคาประทับใจทั้ง กอน-ระหวาง-หลัง การรับบริการหรือทําธุรกรรม พูลสวัสดิ์ เผาประพัธน (2559) กลาวถึง นวัตกรรมการใหบริการจากมุมมองของการ บริหารองคกรธุรกิจวานวัตกรรมบริการเปนการเปลี่ยนแปลงสูสิ่งใหม หรือการปรับปรุงจากสิ่งเดิม ที่เกิดจากการนําความรูและความคิดริเริม่ สรางสรรค ซึ่งสามารถนําไปพัฒนาใหเกิดคุณคาตอลูกคา องคกร และสังคม จากความหมายขางตนสรุปไดวา นวัตกรรมการใหบริการ เปนกระบวนการทํางาน หรือ วิธีการใหมๆ ที่อาศัยเทคโนโลยีสารสนเทศเขามามีสวนชวยในระบบการใหบริการขององคกร ซึ่ง ในการศึกษาวิจัยครั้งนี้ คือ สถาบันอุดมศึกษา เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของคุณภาพในการใหบริการ และสรางความเปรียบในการแขงขัน ซึ่งจะสงผลใหนักศึกษาเกิดความประทับใจตอการจัดการ อุดมศึกษา ความสําคัญของนวัตกรรมการใหบริการ เสนห จุยโต (2554) กลาวถึง นวัต กรรมบริการมีความสําคัญมากตอการดําเนิ น งานของ ธุรกิจหรือองคกรในปจจุบัน ซึ่งจะชวยสรางความไดเปรียบในการแขงขัน (Competitive advantage) และสรางความเปนเลิศในการดําเนินงาน ดังนี้


13

1. สรางความเปน เลิศของบุคคล (Individual excellence) ความคิดของบุคคล กอใหเกิด นวัต กรรมหรือสิ่งใหมๆ เกิดขึ้น ไดเสมอดวยเทคโนโลยีที่ทัน สมัยดว ยพลังความคิด (Thinking) นวัตกรรมดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีมักเกิดจากปจจัยบุคคลแตละคน (Individual) กลาวคือ ถาไดมีการสงเสริมการเรียนรูและการศึกษาอบรมใหคนมีกระบวนการคิดที่ถูกตอง เปน การคิดแบบวิจารณญาณ (Critical thinking) และการคิดแบบริเริ่มสรางสรรค (Creative thinking)จะ ทําใหไดนวัตกรรมใหมขึ้นได 2. สรางความเปนเลิศของทีมงาน (Teamwork excellence) ในการทํางานรวมกัน ในองคกรบริษัทหรือสวนงานตาง ๆ ไมคอยมีการพบปะพูดคุยและมุงเนนการทํางานใหเสร็จตาม หนาที่ของตนเองเทานั้น มีผลทําใหการทํางานขาดการประสาน ขาดความรวมมือและเกิดความ ลมเหลว ในสวนงานเพราะในความเปนจริงแลวงานบริหารและองคกรตองเกี่ยวของสัมพันธกันยิ่ง มีการพูดคุยกันมากเทาใดก็จะกอใหเกิดการเรียนรูมากขึ้นเทานั้น การพัฒนาการเรียนรูดวยกลุมและ ทีมงาน(Team learning) จึงเปนสิ่งที่สําคัญในหลาย ๆ เรื่องของนวัตกรรมไมสามารถบอกไดวาเปน ของใครแตสามารถบอกไดวาเปนของกลุมใด ทีมงาน หรือแผนกใด การสงเสริมใหทีมงานมีการคิด จึงเปนสิ่งที่จะตองกระทําเพื่อใหเกิดความคิดใหม (Rethinking) ความคิดที่แตกตาง (Differentiation) เพือ่ นําไปสูนวัตกรรมใหมในการทํางาน อาทิ 2.1 การใชกระบวนการกลุมหรือกลุมสัมพันธ (Group dynamic) 2.2 การใชการระดมความคิด (Brain Storming) 2.3 การเพิ่มอํานาจใหทีมงาน (Empowerment) 2.4 การรวมพลังสรางสรรคดวยกระบวนการเอไอซี (Appreciation influence control) 2.5 การใชกลุมคุณภาพงาน (Q.C.C) 2.6 การประชุมเชิงปฏิบัตกิ าร (Workshop) 2.7 การออกแบบงาน (Job design) เปนตน 3. สรางความเปนเลิศขององคกร (Organization excellence) การสรางองคกรที่ดี เปนอีกปจจัยหนึ่งที่จะทําใหเกิดนวัตกรรมใหมขึ้น ดังนี้ (เสนห จุยโต, 2554) 3.1 องคกรแหงการเรียนรู (Learning organization) เมื่อใดมีการเรียนรูเมื่อ นั้นยอมมีนวัตกรรม 3.2 องคกรอัจฉริยะ (Intelligent organization) เมื่อใดมีสติปญญาความรู เมื่อนั้นยอมมีนวัตกรรม


14

3.3 องคกรเชิงกลยุทธ (Strategic organization) เมื่อใดมีวิสัยทัศนและ กลยุทธเมื่อนั้นยอมมีนวัตกรรม 3.4 องคก ร 3 ไอ (Triple I organization) เมื่อใดมีขอมูลขาวสาร (Information) สติปญญา (Intelligence) และความคิด (Idea) เมื่อนั้นยอมมีนวัตกรรม 2.3.5 องคกรวิจัยและพัฒนา (Research and development organization) เมื่อใดมีวิจัยและพัฒนา เมื่อนั้นยอมมีนวัตกรรม นวัต กรรมบริก ารจึงมีค วามสําคัญทั้งในระดับบุค คล ทีมงาน และตอองคก รโดยรวม สถาบันอุด มศึกษาจึงมีการสงเสริมและสนับสนุนใหสมาชิกของสถาบัน โดยเฉพาะนักศึกษาได เรียนรูและมีค วามสามารถเชิงนวัต กรรม ดังที่ สาวิต รี สุทธิจัก ร (2555) ไดศึก ษาวิจัยเกี่ยวกับ บทบาทของมหาวิทยาลัยในการสรางบัณฑิต ที่มีความสามารถเชิงนวัตกรรม ซึ่งพบวา คณะวิชา ตระหนักวาทักษะเชิงนวัตกรรมเปนสิ่งจําเปนตออนาคตการทํางานของนักศึกษาโดยวิธีการที่จะมี สว นชว ยใหผลิตบัณ ฑิต มีค วามสามารถเชิงนวัตกรรมได ประกอบดวย 1) การปรับเจตคติข อง อาจารย ที่ มี ต อ นวั ต กรรมให เ หมาะสม 2) การพั ฒ นาศั ก ยภาพด า นนวั ต กรรมให แ ก อ าจารย 3) การสรางหลักสูตรแบบบูรณาการ 4) การใชวิธีการจัดการเรียนการสอนที่หลากหลาย 5) การ สงเสริมใหนักศึกษาทํากิจกรรมนอกเวลาเรียน และ 6) การจัดเตรียมทรัพยากรและสิ่งอํานวยความ สะดวกต างๆให เหมาะสมกับ การพัฒ นาทั ก ษะเชิ งนวั ต กรรม เช น เดี ยวกั บการศึ ก ษาวิจัย ของ แดนจุมา และราสลี (Danjum & Rasli, 2012) ที่ศึก ษาความสัมพันธข องนวัต กรรมบริการและ คุณ ภาพการใหบริก ารเพื่อความพึงพอใจของลูก คา : มุมมองเกี่ยวกับอุด มศึก ษา ซึ่งคน พบวา นวัตกรรมบริการไดกลายเปนเครื่องมือสําคัญของสถาบันอุดมศึกษาที่ตองนํานวัตกรรมมาใชเพื่อ สรางสรรคสิ่งใหมๆ ทั้งในดานการกําหนดเปาหมายของกลุมนักศึกษา การสรางความเปนเลิศใน การใหบริการ ความพึงพอใจใหแกนักศึกษา สรางสิ่งแปลกใหมใหแกนักศึกษา ประเด็นที่ควรให ความสําคัญคือ ทักษะใหมๆของคณาจารยที่จะตองเปนผูเชี่ยวชาญทางเทคโนโลยีในกระบวนการ เรียนการสอน ปจจัยดังกลาวจะเปนการเพิ่มแรงผลักดันและนําไปสูความพึงพอใจของนักศึกษาและ สงผลใหเกิดการบอกตอ (Word-of-mouth) ใหสถาบันอุดมศึกษาเปนที่รูจักตอไป องคประกอบของนวัตกรรมการใหบริการ สมฤทัย น้ําทิพย (2556) ศึกษาวิจัยเรื่อง ผลกระทบนวัตกรรมบริการตอความพึงพอใจและ ความภักดีของนักศึกษาในสถาบันอุดมศึกษา ไดวิเคราะหปจจัยดานนวัตกรรมบริการที่สงผลตอ ความพึงพอใจของนักศึกษา พบวา ประกอบดวย 5 องคประกอบ ดังนี้


15

1. นวัตกรรมองคกรทางสังคม (Social-organizational innovation) หมายถึง การสรางความ เชื่อมโยงหรือการสรางพื้นทีใ่ หเกิดการทํางานรวมกันของบุคคลกับองคกร เพื่อที่จะไดความรูใหมๆ ในการนํามาพัฒนาสังคมและเสริมสรางสังคม ทั้งนี้เนื่องมาจากนักศึกษาใหความสําคัญกับการมี สังคม การมีเครือขาย เพื่อพัฒ นาตัว เอง โดยเฉพาะการสรางเครือขายใหกับตนเองจากสิ่งที่อยู รอบตัว โดยสิ่งดังกลาวเปน สิ่งที่นักศึก ษาตองเผชิญขณะที่เรียน หรือหลังจากที่สําเร็จ การศึกษา ไมวาจะเปนความตองการไดรับเครือขายจาก คณาจารยหรือวิทยากรที่นักศึกษาจะตองมีปฏิสัมพันธ ระหวางศึกษา โดยคณาจารยหรือวิทยากรนั้นจะตองเปนผูที่เปนแบบอยางที่ดีในสังคม มีชื่อเสียง เปนที่รูจัก มีความเชี่ยวชาญทีห่ ลากหลาย เครือขายทางสังคมจึงเปนสิ่งที่นักศึกษาตองการและนํามา สูความพึงพอใจของนักศึกษา 2. นวัต กรรมรูปแบบธุร กิจ (Business model innovation) เปน ปจ จัยสําคัญที่จ ะทําให นักศึกษาไดรูสึก และรับรูถึงคุณคาตางๆที่ไดรับจากสถาบันนอกเหนือจากกระบวนการเรียนการ สอน และจะเปนสิ่งสงเสริมและทําใหเกิดความพึงพอใจตอสถาบันอุดมศึกษา ซึ่งเกี่ยวของกับหลาย การดําเนิน งาน เช น การมีสถานที่ มี ภูมิ ทั ศน ใ นการเรีย นที่เ อื้อ ตอการเรีย นรู การสร างสรรค นวัตกรรม เชน หองเรียนอิเล็กทรอนิกส (E – classroom) ภายในหองเรียนประกอบไปดวย จอทีวี แบบสัมผัสที่จะนํามาใชแทนการใช เครื่องฉายภาพ (Projector) และกระดาน (Whiteboard) ที่ สามารถรองรับการเขียน และบันทึกแสดงผลงาน ผานระบบอินเทอรเน็ต เปนตน การใหบริการ สนับสนุนการเรียนการสอนดวยการมีชองทางในการใหบริการ การใหคําปรึกษาในรูปแบบพิเศษ เชน ศูนยใหคําปรึกษา (Counseling center) ศูน ยบริการแบบเบ็ดเสร็จ (One-stop service) และ เคานเตอรเซอรวิส(Counter service) และการมีบริการเสริมเพิ่มเติมจากการจัดการเรียนการสอนใน หลัก สูตร ผานการฝกอบรมตางๆ เชน การฝกอบรมพัฒนางานในสายอาชีพ (Career path) การ ฝกอบรมเพื่อการทําวิจัย เปนตน ทั้งนี้เปนเพราะบริการตางๆที่กลาวมา ลวนเปนสิง่ ที่นักศึกษาไดรับ และสัมผัสไดเปนสิ่งแรกๆ ซึ่งจะทําใหไดรับผลประโยชนและความสะดวกสบายโดยตรง ทั้งนี้จึง เปน สาเหตุทําใหก ารลดคาธรรมเนียมการศึกษา เมื่อนั ก ศึก ษาแนะนําใหเพื่อนมาเรียน ซึ่งเรื่อง ดังกลาวเปนสิ่งที่นักศึกษาใหความสําคัญอยูในลําดับรองลงมา เนื่องจากเมื่อนักศึกษารูสึกถึงการรับ บริการที่มีความคุมคากับเงินที่ตองจายไปแลว นักศึกษาจะยอมจายถึงแมวาจะไมไดรับสวนลดก็ ตาม 3. นวัตกรรมเทคโนโลยี (Technology innovation) เทคโนโลยีถือเปนสิ่งที่ชวยตอกย้ําถึง ภาพลักษณในการเปนผูนํา ดานเทคโนโลยี และนวัตกรรม รวมถึงความล้ําสมัย โดยนักศึกษาจะให ความสําคัญกับเทคโนโลยีที่อยูใกลตัวที่ตนเองไดรับประโยชน ไมวาจะเปนเทคโนโลยีที่ใชในการ ประชาสัมพันธผานทางโทรศัพทเคลื่อนที่ (Mobile application) เฟสบุก (Facebook) เทคโนโลยีที่


16

ใชในการสนับสนุนการเรียนรูดวยตนเอง เช น บทเรียนอิเล็กทรอนิกส (E-Learning) หองสมุด อัตโนมัติ (E-library) เทคโนโลยีที่ใชในการเรียนการสอน เชน ระบบโทรศัพทเคลื่อนที่ (Mobile application) ระบบการประชุมทางไกล (VDO conference) และเทคโนโลยีที่ใชในการใหบริการแก นักศึกษา การลงทะเบียน และการติดตอสอบถาม เปนตน สิ่งดังกลาวสะทอนใหเห็นถึง เทคโนโลยี ที่นํามาใชในดานตางๆที่นํามาเปนตัวกลางในการแจงกิจกรรม ขาวสารตางๆใหความรู ซึ่งจะเปนสิง่ ที่จะชวยอํานวยความสะดวก และใหประโยชนแกนักศึกษา อีกทั้งในปจจุบันเทคโนโลยีไดเขามามี บทบาทในชีวิต ประจําวันเปน อยางมาก ซึ่งเทคโนโลยี เปน สิ่งที่ทําใหนักศึก ษานั้น ไดรับความ สะดวกสบายมากยิ่งขึ้น สามารถเขาถึงขอมูลไดทุก ที่ทุกเวลา และงายดายมากยิ่งขึ้น ซึ่งการนํา เทคโนโลยีที่ ทัน สมัยต างๆมาช ว ยในกิจ กรรมทั้ง ดานการจัด การเรียนการสอน และกิจ กรรม สนับสนุนการจัดการเรียนการสอน ยังเปนสิ่งที่ชวยสงเสริมองคประกอบดานนวัตกรรมหลักสูตรที่ มีความสอดคลองกับเศรษฐกิจ สังคม และเทคโนโลยีอีกดวย 4. นวัตกรรมหลักสูตร (Curriculum innovation) เปนสิ่งที่สถาบันอุดมศึกษาความ มุ ง เน น ให ห ลั ก สู ต รมี เ นื้ อ หาการจั ด การเรี ย นการสอน การฝ ก ปฏิ บั ติ ป ระสบกา รณ วิ ช า การ ประสบการณวิชาชีพ หรือสหกิจศึกษาที่มีความแปลกใหมและโดดเดน การจัดการเรียนการ สอนที่มุงเนนโครงงาน (Project-based learning) การทําวิจัย (Research-based learning) การใช ปญหาเปนหลัก (Problem-based learning) กรณีศึกษา (Case study-based learning) ซึ่งจะตองถูก ถายทอดความรูตางๆผานคณาจารยที่มีความเชี่ยวชาญ และประสบการณที่หลากหลายตามมุมมอง ขององคความรูศาสตรสาขาตางๆ เพื่อคณาจารยจะไดถายทอดความรูและประสบการณตางๆได อยางถูกตองชัดเจน รวมทั้งควรนําความรู ความเชี่ยวชาญของคณาจารยมาเปนคานิยมหลัก (Core value) ของสถาบัน เพื่อเปนสิ่งที่จะดึงดูดนักศึกษาเขามาศึกษาในสถาบันอุดมศึกษา 5. นวั ต กรรมบริ ก ารนั ก ศึ ก ษา (Student care innovation) เป น สิ่ ง ที่ สถาบัน อุดมศึก ษาควรมุงเนนใหเจาหนาที่ใ หบริก ารแกนัก ศึก ษาดว ยความเต็มใจ มีจิต บริก าร (Service mind) และใหบริการดวยความรวดเร็ว ชัดเจน ถูกตอง ซึ่งควรมุงพัฒนาผานการเพิ่มทักษะ ความรูทั้งดานเทคโนโลยี ดานกระบวนการแกเจาหนาที่ เพื่อใหเจาหนาที่มีความพรอมและสามารถ ที่จะใหบริการแกนักศึกษาไดในทุกๆรูปแบบไมวาจะเปนการใหบริการผานการสื่อสารระบบไลน (Line) เฟสบุค (Facebook) เฟสไทม (Face Time) และเวป ตางๆ เปนตน นอกจากนี้แลวยังควรมี กระบวนการดูแลนักศึกษาอยางตอเนื่องตั้งแตเริ่มเขาศึกษาจนกระทั่งสําเร็จการศึกษา อาทิ การจัด งานเขาชมมหาวิทยาลัย (Open house) กอนเรียน การจัดการฝกอบรมตางๆระหวางเรียน และการจัด งานปจฉิมนิเทศ งานคืนสูเหยา อยางตอเนื่องตลอดทุกๆป โดยควรทําแผนการดําเนินโครงการหรือ กิจกรรมใหอยูในรูปแบบของปฏิทินการดําเนินงานตางๆ และระบุรูปแบบวิธีการดําเนินงานอยาง


17

นาสนใจ สรางสรรค แปลกใหม โดดเดน อาทิ การจัดงานเปดบาน (Open house) ในรูปแบบการเลา เรื่องราวของสถาบัน (Story) ผานการเยี่ยมชมสถานที่จริง การจัดงานคืนสูเหยาในรูปแบบ Business talk / Innovation forum แทนการจัดงานในรูปแบบเดิมๆ เพื่อเปนการสรางเครือขายทางสังคม สราง ความเชื่อมโยงระหวางหนวยงาน องคกรภาครัฐ และภาคเอกชน ชุมชน สังคม อีกรูปแบบหนึ่ง เปนตน จากแนวคิดองคประกอบของนวัตกรรมการใหบริการบริการ ทําใหสถาบันอุดมศึกษาหลาย แหงสงเสริมการนํานวัตกรรมมาใชในการใหบริก ารแกนัก ศึก ษาโดยเฉพาะงานใหบริการดาน วิชาการ และการพัฒนานักศึกษา ดังที่ไดมีการศึกษาวิจัยในหลายเรือ่ ง อาทิ ผลการศึกษาวิจัยของพัช รี ศิริพรวิจิตร (2555) เรื่อง การใหบริการขอมูลการศึกษา ผานระบบโทรศัพทตอบรับอัตโนมัติ : กรณีศึกษาบัณฑิตศึกษา คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย โดยพัฒนาระบบ การใหบริการขอมูลผานระบบตอบรับอัตโนมัติ (IVR : Interactive Response) ซึ่งเปนซอฟแวรที่ถูก พัฒนาขึ้นมาเพื่อใชทําเปนระบบตอบรับอัตโนมัติ โดยการนําเขาเสียงไวลวงหนา (pre-recording) และใชการกดปุมเพื่อตอบสนองความตองการของนักศึกษาในรูปแบบของเสียง เชน การกดปุม เพือ่ เลือกเมนูตางๆและจะไดยินผลลัพธออกมาเปนขอความตางๆตามที่เลือก ซึ่งสอดคลองกับปจจุบัน ที่นักศึกษามีการใชอุปกรณสื่อสารที่เปนแบบไรสายมากขึ้น เชน โทรศัพทมือถือ ซึ่งเปนอุปกรณทมี่ ี ขนาดเล็กลงและมีความสะดวกสบายในการพกพา ทําใหมีการพัฒนาแอฟพลิเคชันสําหรับบริการ ขอมูลการศึกษา ซึ่งการพัฒนาระบบดังกลาวนอกจากขอมูลในระบบจะตรงตามความตองการ ศึก ษาของนัก ศึก ษาแลว นักศึก ษายังสามารถฝากขอความผานระบบถึงคณาจารย และอาจารย สามารถฟงขอความที่นักศึก ษาฝากถึงผานเว็บสําหรับคณาจารย รวมทั้งรองรับกับนักศึกษาที่ไม สามารถตรวจสอบขอมูลผานเว็บไซต ตลอดจนยังชวยลดตุนทุนการดําเนินงานดานการจางบุคลากร เนื่องจากระบบสามารถใหบริการไดตลอด 24 ชั่วโมง และปลอดภัยมากขึ้น ผลการศึกษาวิจัยของอภิชัย ศิริสวัสดิ์ (2556) เรื่อง แนวทางการใหบริการการศึกษาผานทาง เว็บไซตของคณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มหาวิทยาลัยศิลปากร พบวา การใหบริการ การศึ ก ษาผ า นทางเว็ บ ไซต มี บ ทบาทสํ า คั ญ เพราะเป น เครื่ อ งมื อ ช ว ยในการดํ า เนิ น การด า น สารสนเทศไดอยางมีประสิทธิภาพ อาทิ การผลิต การจัดเก็บ การประมวลผล การเรียกใชขอมูล การ ติดตอสื่อสาร การแลกเปลี่ยนและใชทรัพยากรรวมกัน เมื่อนํามาใชกับการบริการการศึกษา จึงมี ความสําคัญอยางมากในการบริหารจัดการ ไดแก ชวยจัดการขอมูลสารสนเทศจํานวนมาก ชว ย จัดการขอมูลขาวสาร/การสื่อสารสําหรับนักศึกษาและอาจารยกับคณะวิชา ชวยจัดเรียงเขาถึงและ สืบคนขอมูลสารสนเทศไดอยางรวดเร็วและทุกที่ทุกเวลา ชวยลดภาระงานใหกับเจาหนาที่ที่บริการ การศึกษา ผูใชบริการจะไดรับความสะดวกโดยอาจจะไมตองมาติดตอกับเจาหนาที่โดยตรง ยกเวน


18

เมื่อมีปญหาขัดของ ซึ่งภาพรวมระบบสารสนเทศมีสวนชวยในการเรียนรูปจจุบันอยางมาก ซึ่งจะ ชวยเพิ่มประสิทธิภาพในกระบวนการศึกษาใหมีความสะดวกมากขึ้น ผลการศึกษาวิจัย ของของฐาปนี เพ็งสุข (2556) เรื่อง การพัฒ นาระบบสารสนเทศงาน กิจ การนิสิต คณะศึก ษาศาสตร มหาวิทยาลัยมหาสารคาม โดยใชสถาปตยกรรมเชิงบริก ารและ เทคโนโลยีเว็บเซอรวิส การวิจัยไดวิเคราะหปญหาเดิมในระบบปกติ ศึกษาความตองการของผูใช ระบบงานใหม ทําการออกแบบระบบใหม และพัฒ นาโปรแกรมระบบการจัด การสารสนเทศ กิจการนิสิต ใหผูบริหาร อาจารยและนิสิตรับทราบผานทางอินเทอรเน็ต จากการวิจัยไดแบงผูใ ชงาน เปน 4 กลุม ไดแก นิสิต อาจารย/คณบดี เจาหนาที่ดูแลระบบ และบุคลากรทั่วไป ผูใชแตละกลุม เมือ่ เขาสูระบบแลวจะแสดงขอมูลระบบที่แตกตางกันตามบทบาทหนาที่ ซึ่งงานหลักของระบบงาน กิจการนิสิต มี 4 สวน คือ 1) การเสนอโครงการ 2) การสมัครรับทุนการศึกษานิสิต 3) การเลือก โรงเรียนฝกปฏิบัติวิชาชีพ และ 4) การบริการเว็บเซอรวิส ซึ่งผลจากการประเมินความพึงพอใจของ ผูใชระบบงาน ภาพรวมและรายดานไดแก การแสดงผล ความถูกตองของโปรแกรม ประสิทธิภาพ ของโปรแกรม และความตองการของผูใชอยูในระดับมาก ซึ่งการพัฒนาระบบดังกลาวทําใหเห็น ภาพรวมการจัด โครงการ/กิจ กรรม และสามารถนําไปใชเปน ขอมูลตอยอดในการวางแผนการ จัดการดานนิสิตของคณะวิชาไดอยางมีประสิทธิภาพ ผลการศึกษาวิจัย ของรัชนิวัลย มูลสีละ (2556) เรื่อง การพัฒ นาระบบสารสนเทศระบบ สารสนเทศการใหบริการนักศึกษาดานงานวิชาการ คณะวิศวกรรมศาสตรมหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลอีสาน วิทยาเขตขอนแกน ดําเนิน การโดยยึด หลัก วงจร การพัฒ นาระบบ (Systems Development Life Cycle : SDLC) 5 ขั้นตอน คือ การศึกษาระบบ การวิเคราะหระบบ การออกแบบ ระบบ การนําระบบไปใชการบํารุงรักษาและตรวจสอบระบบงานดานวิชาการ เชน การลงทะเบียน เรียน การเพิ่มรายวิชา การถอนรายวิชา การชําระเงิน การผอนผันการชําระเงิน การขอขึ้นทะเบียน บัณฑิต การขอแจงการสําเร็จการศึกษา เปนตน ผลการศึกษาพบวา ระบบดังกลาวสามารถจัดเก็บ ขอมูลไดสมบูรณในดานการใหบริการวิชาการของนักศึกษา และดานบุคลากร การประมวลผล การแสดงขอมูลขั้น ตอนการใหบริก ารดานวิชาการของนัก ศึก ษา และบุค ลากรมีค วามถูก ตอง สมบูรณเปนปจจุบัน ซึ่งที่พัฒนาขึ้นนับเปนระบบที่ใหความสะดวกรวดเร็วในการใชบริการและ สืบคนไดงายใหแกนักศึกษาและบุคลากร การสรางนวัตกรรมการใหบริการ มารค ารท และเรโนวส (Marquardt & Reynolds, 1994) กลาววา กระบวนการสราง นวัตกรรมการใหบริการในองคกรนั้น ผูบริหารขององคกรจะตองใหความสําคัญและบริหารจัดการ ใหเกิดขึ้น โดยกระบวนการสรางนวัตกรรมมีลักษณะทั้งหมด 11 ประการ ดังนี้


19

1. มีโครงสรางที่เหมาะสม (Appropriate structure) กลาวคือ ตองมีขั้นการบังคับ บัญชาใหเหลือนอยที่สุดเพื่อเอื้ออํานวยใหเกิดความอิสระในการทํางาน และเกิดความคลองตัวใน การประสานงานกับทีมขามสายงานหรือระหวางแผนกอื่นๆ มีมากขึ้น 2. มีวัฒนธรรมแหงการเรียนรูภายในองคกร (Corporate learning culture) การมี วัฒนธรรมองคกรที่เดนชัด มีการทํางานและการเรียนรูที่เปนเอกลักษณ สมาชิกในองคกรมีความ ตระหนั ก รู ถึ ง ความสํ า คัญ ของการเรี ยนรู ขณะเดี ย วกั น ผู บ ริห ารต องมี วิ สั ยทั ศ น เ ล็ง เห็ น ถึ ง ความสําคัญของการเรียนรูภายในองคกรไปพรอมๆกับการทําผลกําไรหรือผลประโยชนขององคกร ดวย เพราะวัฒนธรรมขององคกร โดยเฉพาะวัฒนธรรมแหงการเรียนรูตองมาจากคานิยมและ นโยบายขององคกร จึงจะเกิดเปนวัฒนธรรมรวมขององคกรหรือเกิดเปน "นวัตกรรมองคกร" ที่ แข็งแกรงได 3. มีการเพิ่มอํานาจแกสมาชิก (Empowerment) เปนการกระจายเพิ่มอํานาจความ รับผิดชอบและการตัดสินใจแกปญหาไปสูพนักงานระดับลางอยางทั่วถึงกัน ทั้งนี้เพื่อใหพนักงาน ไดฝกฝนการเรียนรู และคนควาหาวิธีการแกปญหาดวยตนเองมากขึ้น รวมถึงการไดมีอิสระในการ ตัดสินใจ ซึ่งจะทําใหเรียนรูผลลัพธจากสิ่งที่ตนไดตัดสินใจลงไปอีกดวย 4. มีการตรวจสอบสภาพแวดลอม (Environment scanning) องคกรแหงการเรียนรู นอกจากจะเปนองคกรที่มีความยืดหยุนแลวยังตองมีลักษณะที่เคลื่อนไหวอยูตลอดเวลา ซึ่งองคกร ตองทําการตรวจสอบการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดลอม ที่จะกอใหเกิดผลกระทบตอองคก ร เพื่อสะทอนภาพใหเห็นถึงความเปนองคกรแหงการเรียนรู ที่จะนําไปสูก ารสรรคสรางนวัตกรรมได อยางชัดเจน 5. มีการสรางสรรคองคความรู (Knowledge creation) และมีความสามารถในการ ถายโอนความรูเหลานั้น ไปยังสมาชิกอื่นในองคกรเพื่อใหเกิดผลอยางตอเนื่อง โดยผานชองทางการ สื่อสารและเทคโนโลยีตางๆ ที่มีการสรางฐานขอมูลที่เขาถึงกันไดทั้งภายในและภายนอกองคกร 6. มีเทคโนโลยีเพื่อสนับสนุนการเรียนรู (Learning technology) โดยการนํา วิทยาการคอมพิวเตอรอันทันสมัยเขามาสนับสนุนการปฏิบัติงานใหเกิดการเรียนรู เพราะเทคโนโลยี ที่เหมาะสมจะชวยในการปฏิบัติงานที่มีการเรียนรูอยางทั่วถึง มีการเก็บ ประมวล ซึ่งจะชวยทําใหมี การกระจายขอมูลขาวสารไดอยางถูกตอง และรวดเร็วมากขึ้น 7. ใหความสําคัญกับคุณภาพ (Quality) การที่องคกรใหความสําคัญกับการบริหาร คุณภาพทั่วทั้งองคกร ที่เนนการปรับปรุงประสิทธิภาพอยางตอเนื่อง ซึ่งทําใหผลการเรียนรูทั้งโดย ตั้งใจ และไมตั้งใจกลายเปนผลงานที่ดีขึ้น โดยถือหลักในการพัฒนาคุณภาพตามคุณคาในสายตา ของผูรับบริการ


20

8. เนนเรื่องกลยุทธ (Strategy) มีการยึดถือเอาการเรียนรูใหเปนพื้นฐานเบื้องตนใน การดําเนินธุรกิจขององคกรหรือยึดถือเอาเปนกลยุทธสําคัญขององคกร เชน เนนย้ําถึงกลยุทธของ การเรียนรูเชิงปฏิบัติการ (Action learning) หรือเนนย้ําสมาชิกถึงกลยุทธการเรียนรูโดยเจตนาโดย ใหกลยุทธดังกลาว เปนจิตสํานึกของสมาชิกในองคกรควบคูไปกับการปฏิบัติงานซึ่งจะนําไปสูกล ยุทธการบริหารจัดการองคกรในดานอื่นๆ ไดอยางตอเนื่อง 9. มีบรรยากาศที่สนับสนุน (Supportive atmosphere) เปน บรรยากาศภายใน องคกรที่มุงสรางคุณภาพชีวิตที่ดีใหกับสมาชิก เพื่อนําไปสูการสรางสรรคนวัตกรรมและพัฒนา ศักยภาพอยางเปนอิสระและตอเนื่องเปนองคกรที่เอาใจใสตอความเปนมนุษย เคารพศักดิ์ศรีซึ่งกัน และกันมีความเสมอภาคเทาเทียมกันไรซึ่งการแบงแยกและสนับสนุนการมีสวนรวมในการทํางาน 10. มีก ารทํางานรว มกัน เปน ทีมและเครือขาย (Teamwork and networking) การทํางานในลักษณะนี้ จะชวยสงเสริมใหเกิดความคิดสรางสรรค ทําใหกลายเปนพลังรวมในการ สรางองคกรแหงการเรียนรู โดยสมาชิกในองคกรจะตองตระหนักถึงความรวมมือกัน การแบงปน ความรู การทํางานและแกปญหารวมกัน ซึ่งสามารถนําประสบการณและความเชี่ยวชาญเฉพาะดาน มาสรางคุณคาใหกับสินคาและบริการได 11. สมาชิกมีวิสัยทัศน(Vision) รวมกัน วิสัยทัศนเปนสิ่งที่เปนความมุงหวังของ องคกร ที่ทุก คนจะตองรวมกัน ทําใหเกิดความเปน รูปธรรมขึ้น เปน การเนน ใหเกิดการเรียนรู ในเรื่องที่มีทิศทางเปนไปตามความตองการรวมกันขององคกร แบรรี และคณะ (Berry et al, 2006) อธิบายวา ปจจัยที่สนับสนุนหรือผลักดันการสราง นวัตกรรมบริการในตลาดใหมๆนั้น ผูบริหารองคกรตองใหความสําคัญ ในประเด็นตางๆ ดังนี้ 1. การมีรูปแบบธุรกิจที่สามารถปรับขนาดได 2. การจัดการประสบการณของลูกคาที่มีความครอบคลุม 3. เงินลงทุนในประสิทธิภาพการทํางานของพนักงาน 4. การดําเนินงานดานนวัตกรรมอยางตอเนื่อง 5. การสรางความแตกตางของสินคา 6. การเปนผูนําดานนวัตกรรม 7. การถือผลประโยชนของลูกคาเปนเรื่องสําคัญ 8. การกําหนดราคาที่ยอมเยา 9. การดําเนินการสรางนวัตกรรมเชิงกลยุทธอยางตอเนื่อง


21

กีรติ ยศยิ่งยง (2552) กลาวถึง ปจจัยที่สงผลตอการสรางนวัตกรรมบริการวาประกอบดวย 4 ปจจัยสําคัญ คือ 1. ปจ จั ยด านทรัพ ยากรเทคโนโลยี (Technological resource management) ทรัพยากรเทคโนโลยี คือ การจัดการ การสะสมความรู และประสบการณปฏิบัติจริง (Experience) กับเทคโนโลยี (Technologies available) การมีความรูและสามารถใชเปน (Know-how) เทคโนโลยี มีความจําเปนตอการผลิต เพือ่ ใหเกิดความเขาใจ (Insight) กับเทคโนโลยีที่มีอยูและกําลังจะเกิดขึ้น ดังนั้นองคการจะตองมีการประเมินเทคโนโลยี (Technologies assessment) เพื่อตรวจสอบความ เหมาะสม และเขากันไดของเทคโนโลยีที่เปนเทคโนโลยีแบบใหม ทั้งในปจจุบันและอนาคตที่จะ สงผลกระทบตอทักษะขององคกร และศักยภาพทางดานเทคโนโลยี ( Potential technologies) โดยเฉพาะในสาขาเทคโนโลยีขั้นสูงที่มีผลโดยตรงกับการผลิต การขนสง การจาง งานระดับของ การลงทุน และความเปนอยูของหนวยเศรษฐกิจโดยรวมของหนวยธุรกิจทั้งหมด 2. ปจจัยดานการบริหารทรัพยากรมนุษย (Human resource management)พนักงาน เปนผูสรางนวัตกรรม ดังนั้นองคกรตองใหการศึกษาหรือฝกอบรมใหพนักงานมีความรูที่สามารถ นํ า ไปเชื่ อ มโยงกั บ ความคิ ด สร า งสรรค (Creative) และความเป น ภาวะผู ป ระกอบการ (Entrepreneurship) เพื่อใชในการสรางนวัตกรรม ในขณะเดียวกันองคการควรจะทําใหพนักงานเกิด ความผู ก พั น ต อ องค ก าร (Commitment) โดยการนํ า ระบบการจั ด การสายอาชี พ (Career management)เขามาใช จากวิจัยองคการที่ประสบความสําเร็จจะตองมีการรักษาความรูและความทา ทายเอาไว โดยการรักษาและสรางความผูกพันของพนักงานใหเกิดขึ้นองคก รจะตองสรางใหเกิด “ทีมรวมสายงาน” (Team-composition) เพื่อใหเกิดความหลากหลายทางดานความคิด ความสามารถ ทักษะ ความเชี่ยวชาญและประสบการณการทํางาน ขณะเดียวกันองคกรตองมีวัฒนธรรม (Culture) ที่เปนคานิยมรวมที่เนนความสําเร็จในการทํางาน และการสนับสนุนซึ่งกันและกัน รวมไปถึงการมี กฎระเบียบภายใน (Internal regulations) และโครงสราง (Structure) ที่สอดคลอง เปนเหตุเปนผล และการมีผูนํา (Leadership) ที่กลาเสี่ยง และสามารถสรางแรงจูงใจใหกับทีมงาน เมื่อองคกรมี วัฒนธรรมที่เหมาะสมแลว ก็จะทําใหเกิดพฤติกรรมนวัตกรรมและผลงานที่มีประสิทธิภาพ 3. ปจจัยดานสภาวะเงื่อนไขขององคกร (Organizational conditions) กระบวนการ ของนวัตกรรม มีสวนเกี่ยวของโดยตรงกับปจจัยดานสภาวะเงื่อนไขขององคกร ไดแก 3.1 วิสัยทัศน ถือเปนเงื่อนไขหลัก ในการจัด การนวัต กรรมตองการ วิสัยทัศนที่แสดงถึงความปรารถนาที่เดนชัดในการสรางนวัตกรรม 3.2 กลยุทธองคกร ควรพัฒนากลยุทธใหมีความชัดเจนภายใตนโยบาย ทั่วไป ซึ่งควรมีการระบุถึงเปาหมายและแนวทางการดําเนินธุรกิจ


22

3.3 โครงสรางองคกร จะตองสงเสริมศักยภาพดานนวัตกรรม องคกรจึง ตองปรับโครงสรางใหมีความเหมาะสมกับแนวทางขององคกร ซึ่งโครงสรางขององคกรแบบ Adhocracy ถือเปนโครงสรางที่ยืดหยุนเหมาะสมกับแนวทางการพัฒนานวัตกรรม ที่ตองมีความ รวดเร็ว มีการควบคุม และมีคุณภาพ 4. ปจจัยดานการปฏิบัติก าร (Operational guidance) องคกรสวนใหญขาดการ วางแผนและงบประมาณในระยะยาวในการสรางนวัตกรรม จึงทําใหเกิดความลมเหลว ในการสราง นวัตกรรม ดังนั้นองคกรจะตองใหความใสใจกับการจัดการดานงบประมาณ (Budget) และการ วางแผนและการคัดเลือกโครงการ (Planning and selection projects) การควบคุมเปนสิ่งสําคัญใน การสรางนวัตกรรม ประเด็นที่สําคัญที่สุดคือ การควบคุมงบประมาณ (Budget) และเวลา (Time) ความเร็ว (Speed) เปนเสมือนอาวุธในการตอสู เวลา คือ ปจจัยใหม ที่มีความสัมพันธโดยตรงตอ ความยืดหยุน พูลสวัสดิ์ เผาประพัธน (2559) กลาวถึง การสรางนวัตกรรมบริการจากมุมมองของการ บริหารองคกรธุรกิจกรณี บริษัท ซีพี ออลล จํากัด (มหาชน) วาเปนการวิเคราะหเพื่อตั้งคําถามใน 2 มุมมอง คือ 1. การวิเคราะหสินคาที่ผูใชบริการตองการ (Production innovation) โดยมุงไปที่ 5 คําถามสําคัญ ไดแก 1) สินคาที่ผูใชบริการถามหา แตองคกรไมมีจัดจําหนาย 2) สินคาที่องคกรจัด จําหนาย แตผูใชบริการไมทราบ 3) สินคาที่มียอดจําหนายสูงในตางประเทศ แตองคกรยังไมเคย จําหนาย 4) สินคาที่จัดจําหนายไปแลว และผูใชบริการยังไมพึงพอใจ และ 5) สินคาที่เกิดปญหากับ ผูใชบริการบอยครั้ง 2. การวิเ คราะห เกี่ ย วกั บ การอํ านวยความสะดวกให แ ก ผูใ ช บริ ก าร (Service innovation) โดยมุงไปที่ 5 คําถามสําคัญ ไดแก 1) การใหบริการทีผ่ ูใชบริการถามหา แตองคกรไมมี 2)การใหบริการที่องคกรมีอยู แตผูใชบริการไมคอยไดใช 3) การใหบริการที่ทําใหผูใชบริการ รอนาน 4) การใหบริการที่ทําไปแลว แตผูใชบริการยังไมพึงพอใจ และ 5) การใหบริการที่เกิด ปญหากับผูใชบริการบอยครั้ง ในบริบทอุดมศึกษาการสรางนวัตกรรมจึงมีความสําคัญตอการดําเนินงานในหลายๆดาน ดังที่ ปรากฏในงานศึกษาของ จุฬารัตน บุษ บงก (2553) เรื่อง การพัฒนาแผนกลยุทธการจัด การ ความรูเชิงนวัตกรรมสําหรับมหาวิทยาลัยราชภัฏ พบวาประเด็นสําคัญในการพัฒนาแผนกลยุทธการ จัด การความรู เชิ งนวัต กรรม คื อ การมี ยุท ธศาสตรแ ละวิสั ยทั ศน ที่ชั ด เจน มี ก ารส งเสริ มและ สนับสนุนการสรางและพัฒนานวัตกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู และมีโครงสรางพื้นฐานเทคโนโลยี


23

สารสนเทศที่มีมาตรฐาน โดยยุทธศาสตรที่สําคัญในการพัฒนาแผนกลยุทธการจัดการความรูเชิง นวัตกรรม ประกอบดวย 12 ประการ คือ 1) การสรางวัฒนธรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรูบนพื้นฐาน ของภูมิปญญาทองถิ่น 2)การพัฒนาบุคลากรใหมีสมรรถนะดานการจัดการความรูและนวัตกรรม 3) การสรางแรงจูงใจบุคลากรเพื่อการสรางสรรคนวัตกรรมและองคความรูอยางตอเนื่องและยั่งยืน 4) การพัฒนาระบบสนับสนุนการสรางและพัฒนานวัตกรรมทางการศึกษาใหไดมาตรฐาน 5) การ พัฒนาระบบการสงเสริมการเผยแพรนวัตกรรมงานวิจัย 6) การสรางความสัมพันธและความรวมมือ ระหวางเครือขายองคกรแหงนวัตกรรม 7) การพัฒนาเครือขายความรวมมือสรางนวัต กรรมเพื่อ พัฒนาทองถิ่นกับหนวยงานภาครัฐและเอกชนทั้งในและตางประเทศ 8) การสงเสริมการศึกษาวิจัย การสรางองคความรู/ นวัตกรรมที่เพิ่มศักยภาพและขีดความสามารถในการแขงขัน 9) พัฒนาชุมชน นวัตกรรมตนแบบบนพื้นฐานภูมิปญญาทองถิ่น 10) การสงเสริมการใชเทคโนโลยีสารสนเทศเปน เครื่องมือสําหรับการแลกเปลี่ยนเรียนรูรวมกัน 11) การสรางเครือขายสังคมแหงการเรียนรูและการ สรางสรรคนวัตกรรม โดยใชเทคโนโลยีสารสนเทศเปนเครื่องมือ และ 12)พัฒนาระบบการจัดเก็บ และเผยแพรนวัตกรรม/องคความรู การศึกษาวิจัยของสุพรรณี ทองแมน (2554) เรื่อง ผลกระทบของกลยุทธการจัดการความรู ที่มีตอศักยภาพทางนวัตกรรมของสถาบันอุดมศึกษาในสังกัดคณะกรรมการการอุดมศึกษา พบวา การจัด การความรูมีค วามสัมพัน ธตอการสรางนวัต กรรมของสถาบันอุดมศึกษา ซึ่งการที่จะนํา สถาบัน อุด มศึกษาไปสูการพัฒนานวัต กรรมไดนั้น ผูบริหารสถาบันควรใหความสําคัญกับการ สงเสริมใหบุคลากรเพิ่มพูนความรู และทักษะในการนําเทคโนโลยีใหมๆมาใชในการปฏิบัติงาน การแลกเปลี่ยนความรูและประสบการณ การจัดระบบบริหารจัดการสารสนเทศที่มีความรวดเร็วใน การจัดเก็บ คนหา และการนํามาใชประโยชน ผลการศึกษาวิจัยของ จินตหรา แสงทะรา (2557) เรื่อง ผลกระทบของศัก ยภาพทางดาน นวัตกรรมสมัยใหมที่สัมพันธกับผลการดําเนินงานของสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทย พบวา ศักยภาพทางดานนวัตกรรมสมัยใหมดานการเรียนรู ดานการใชทรัพยากรใหเกิดประโยชน ดานการ ผลิต ดานการตลาด ดานองคกร ดานกลยุทธ ดานการวิจัยและพัฒนามีความสัมพันธและผลกระทบ กับผลการดําเนินงานดานลูกคา ดานการเงิน ดานกระบวนการภายในองคกร และดานการเรียนรู และเติบโต ดังนั้น ผูบริหารสถาบันอุดมศึกษาตองมุงเนนในการพัฒนาใหองคกรมีความสามารถใน การเรียนรูและเขาใจสภาพแวดลอมในการดําเนินงานขององคกร เพื่อใหการดําเนินงานขององคกร มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลมากยิ่งขึ้น อยางไรก็ตาม ตองตระหนักถึงความพรอมขององคกร และทรัพยากรที่มีอยูดวยเนื่องจากการพัฒนาศักยภาพดานนวัตกรรมที่เร็วเกินไปอาจทําใหเกิดผล เสียหายแกองคกรทั้งในปจจุบันและอนาคต


24

แนวคิดการใหบริการที่เปนเลิศ จันทรจิรา วงษขมทอง และคณะ (2552) ไดทําการวิจัยปฏิบัติการเพื่อพัฒนารูปแบบและ ศักยภาพในการบริการที่เปนเลิศของอําเภอในสังกัดกรมการปกครอง โดยสังเคราะหแนวคิดการ บริการที่เปนเลิศในการใหบริการประชาชนของอําเภอ รวมทั้งไดศึกษาขอมูลแนวคิดเกี่ยวกับการ บริการที่เปนเลิศในตางประเทศ แนวคิดเกี่ยวกับการบริการที่เปนเลิศของภาคเอกชนในประเทศ ซึ่ง สามารถนํามาประยุกตในการวิจัย สรุปไดดังนี้ 1. ความหมายของการใหบริการที่เปนเลิศ การบริก ารที่เปน เลิศหมายถึง การกระทําของผูใ ห บริก ารในการสงมอบผลผลิต ใหแก ผูใชบริการ เกิดความประทับใจ ทั้งดานบุคลากรผูใหบริการ กระบวนการใหบริการ และสถานที่ ใหบริการ (จันทรจิรา วงษขมทอง ,2552) 2. มาตรฐานการปฏิบัติทเี่ ปนเลิศในการใหบริการ การบริการที่เปนเลิศเปนการใหบริการที่ยึดผูมาใชบริการเปนศูนยกลาง (People-servingpeople) เปนการใหเกียรติผูมาใชบริการ การสรางวัฒนธรรมในการบริการที่เปนเลิศตองอาศัยการ สงเสริมบุค ลากรใหไดรับการฝก อบรม การมีค วามคิด สรางสรรค และมีภาวะผูนํา มาตรฐานที่ สําคัญในการใหบริการที่เปนเลิศ ประกอบดวย 3 ดาน ไดแก 1) การพัฒนาบุคลากรผูใหบริการ 2) การพัฒนากระบวนการใหบริการ และ 3) การพัฒนาสถานที่ใหบริการ โดยมีรายละเอียด ดังนี้ 2.1 การพัฒนาบุคลากรผูใหบริการ การพัฒนาบุคลากรผูใหบริการ ซึ่งเปนทรัพยากรที่มีคุณคาตองานบริการ หมายถึง การสรางสมรรถนะของผูใหบริการที่ค รอบคลุมทั้งคุณ ลักษณะและพฤติกรรม สมรรถนะของผู ใหบริการ ควรประกอบดวย การกระตือรือรน การยิ้มแยม การมีวาจากิริยามารยาทและแตงกาย สุภ าพ การให คํา แนะนํ าขั้น ตอนการใหบ ริก าร การใสใ จและใหค วามชว ยเหลื อ การมีค วาม รับผิดชอบ การรับฟงปญหา การมีความอดทนและอดกลั้น การตรงตอเวลา มีความซื่อสัตยสุจริต และการมีความชางสังเกตและมีความคิดสรางสรรค 2.2 การพัฒนากระบวนการใหบริการ การบริก ารที่เปน เลิศควรมีก ารพัฒ นากระบวนการใหบริการอยางตอเนื่อง ซึ่ง หมายถึง การปฏิบัติต ามขั้น ตอนการใหบริก ารซึ่งผูใหบริ ก ารตองกระทําการใหบริก ารตลอด กระบวนการของแตละงานตามเงื่อนไขของเวลาที่กําหนดจนกระทั่งสงมอบชิ้น งานบริการหรือ ผลผลิตของการบริการใหแกผูใชบริการ ซึ่งประกอบดวย การจัดปายแสดงขั้นตอนการใหบริการ การจัดคิวในการใหบริการ การใหบริการตามขั้นตอนการใหบริการอยางรวดเร็ว การจัดอัตรากําลัง


25

เจ าหนา ที่ใ หเ พีย งพอ การจัด วัส ดุอุ ป กรณสํ านั ก งานให เ พีย งพอ การจั ด หาเครื่อ งมื ออุ ปกรณ เทคโนโลยีสารสนเทศ ฮารดแวร และซอฟทแวร การจัดใบคํารองขอใชบริการ หรือใบรับแจงขอ รองเรียน/ รองทุกข การประชาสัมพันธและแนะนําขั้นตอนการบริการ การแกไขปญหาที่เกิดขึ้น ระหวางการใหบริการ คุณภาพของชิ้น งานบริก าร ประโยชนสูงสุดจากชิ้นงานบริการ ความพึง พอใจในการใหบริการและชิ้นงาน ความประทับใจในภาพรวมของการใหบริการ การเปดโอกาสให ผูใชบริการไดมีการประเมินความพึงพอใจในการใชบริการ 2.3 การพัฒนาสถานที่ใหบริการ การพัฒนาสถานที่ใหบริการเพื่อเอื้ออํานวยตอการใหบริการใหดีที่สุดเทาที่จะทํา ได หมายถึง การจัดพื้นที่ทั้งภายนอกและภายในสถานที่ใหบริการเพื่ออํานวยความสะดวกแกผูมา ใชบริก าร ควรประกอบดว ย การจัด ใหมีชองทางบริก ารที่หลากหลาย การจัด บริเวณโดยรอบ สถานที่ใ หบริการเปนสัดสวนและรมรื่น การจัดใหมีพื้น ที่จอดรถ การจัดจุดประชาสัมพันธและ เจาหนาที่ตอนรับ การจัดบริการ น้ําดื่ม การจัดหองสุขา การตกแตงภายในที่สถานที่ใหบริการ การ จัดใหมีที่วางหนังสือหรือขาวสารประชาสัมพันธ การจัดทําปายแสดงอัตราคาธรรมเนียมและเวลา ในการใหบริการแตละงาน การจัดชองทางหรือกลองรับฟงความคิดเห็นหรือกลองรับเรื่องราวรอง ทุกข การจัดเก็บเอกสารทางการเปนหมวดหมู และการจัดเคานเตอรใหบริการและเกาอี้รอรับบริการ ใหเพียงพอ 3. ปจจัยที่เกี่ยวของกับการใหบริการ 3.1 ผูใชบริการ ผูมาใชบริการทุกคนตองการไดรับการบริการชั้นหนึ่ง คือ สะดวก รวดเร็ว ทันใจ ถูกตอง สมบูรณ ไดรับประโยชนสูงสุด และไดรับการตอนรับที่อบอุน ดังนั้นผูใหบริการควรให ความสนใจ และเอาใจใส ต อบสนองความต อ งการของผู ใ ช บ ริ ก ารอย า งถู ก ต อ งและถู ก ใจ การใหบริการที่จะสรางความพึงพอใจไดนั้น ผูใหบริการจะตองสนองความคาดหวังของผูมาใช บริการ ซึ่งความคาดหวังเปนเรื่องของจิตใจ และอาจแสดงออกไดโดยตรงทางคําพูด หรือการบอก กลาว หรือผูใชบริการอาจตั้งสมมติฐานวาผูใหบริการจะตองรูความคาดหวังของผูใชบริการไดดกี วา 3.2 ผูใหบริการ การพัฒ นาบุค ลากรผูใ หบริก าร โดยใหมีก ารพัฒ นาศัก ยภาพหรือทัก ษะความ เชี่ยวชาญดวยการกําหนดและพัฒนาสมรรถนะดานการใหบริการที่เปนเลิศ และไดมาตรฐานของ บุค ลากรผูใ หบริก ารควรมีสมรรถนะสําคัญ 2 ประการ คือ คุณ ลัก ษณะของผูใ หบริก ารและ พฤติกรรมของผูใหบริการ ดังนี้


26

3.2.1.คุ ณ ลั ก ษณะ หมายถึ ง สิ่ ง ที่ ชี้ ใ ห เ ห็ น ความดี ข องผู ใ ห บ ริ ก าร อาจเปนสิ่งซึ่งปรากฏใหเห็นจากภายนอก เชน รูปลักษณ รูปราง เปนตน และอาจเปนสิ่งซึ่งอยู ภายใน เชน จิตใจ อารมณ เจตคติและความรูสึกนึกคิด เปนตน คุณลักษณะที่ดี ยอมนํามาซึง่ ผลดี จึงเปนสมรรถนะสําคัญที่ผูใหบริการตองมี คุณลักษณะของผูใหบริการที่เปนเลิศ มีดังตอไปนี้ 3.2.1.1 มีจิตใจรักงานบริการ ผู ใ ห บ ริ ก ารที่ ทํ า สิ่ ง หนึ่ ง สิ่ ง ใดด ว ยความสมั ค รใจและทุ ม เท แรงกายแรงใจใหแกสิ่งนั้น ยอมเกิดจากความมีใจรักเปนทุนเดิม การทํางานที่รัก ที่ชอบหรือที่ถนัด ทําใหเกิดความสมัครใจทํา ซึ่งจะเปนผลใหผใู หบริการเอาใจใสตองานนั้น ผูที่จะทํางานบริการให ไดดีจึงตองมีใจรักและชอบงานบริการ 3.2.1.2 มีความรูในงานที่จะบริการ งานบริการตองการความถูกตองครบถวนสมบูรณเปนสิ่งสําคัญ ดังนั้นผูใหบริการในเรื่องใด จําเปนตองมีความรูความเขาใจในงานที่จะตองใหบริการอยางถูกตอง แทจริง มิฉะนั้นจะกอใหเกิดความผิดพลาด ตกหลน และเสียหายแกงานบริการนั้นได 3.2.1.3 มีความรูในกระบวนการบริการ ผูใหบริการจําเปนตองมีความรูในกระบวนการหรือแนวปฏิบัติ ในการบริการที่จะใหบริการ เพราะการใหความรูและสารสนเทศเกี่ยวกับกระบวนการหรือแนว ปฏิบัติในการบริการเปนสวนสําคัญของงานบริการและเปนงานบริการขั้นพื้นฐานที่ทุ กคนจะตอง ทําในแตละหนาที่ 3.2.1.4 มีความรับผิดชอบตอการปฏิบัติตน ผูใ ห บ ริ ก ารจะต อ งติ ด ต อ สั ม พัน ธ เ กี่ ย วข อ งกั บ ผู ใ ช บ ริ ก ารที่ หลากหลาย การวางตนจึงเปนสิ่งสําคัญ เพราะเปนพันธะผูกพันตอผลที่ไดกระทําลงไป หากการ ปฏิบัติตนเปนผลใหผูใชบริการพึงพอใจก็เปนการดี แตถาในทางตรงกันขาม การปฏิบัติตนเปนผล ใหผูใชบริการเกิดความไมพอใจ ก็ยอมจะสงผลเสียตองานบริการได การปฏิบัติตนทั้งดานกายและ วาจาเป น เรื่องที่ตองระมัด ระวัง เนื่อ งจากเปน สิ่งที่ เห็น ได งาย ทั้ งจากการแตง กาย การแสดง กิริยามารยาท และการสื่อสารทั้งที่ใชถอยคําและไมใชถอยคํา 3.2.1.5 มีความรับผิดชอบตองานในหนาที่ ความรับผิดชอบเปน เงื่อนไขสําคัญที่จ ะทําใหก ารทํางานใด ๆ บรรลุผล ผูที่มีความรับผิดชอบ ยอมจะมีความผูกพันตอผลของการกระทํา ไมเพิกเฉยละเลยตอสิ่ง ทีค่ วรทําเพื่อใหเกิดผลดีตองานบริการ และใหความเอาใจใสตอการปฏิบัติหนาที่ในการใหบริการ


27

3.2.1.6 มีความรับผิดชอบตอผูใชบริการ ผูใหบริการที่มีการผูกพันตอผลของการกระทําที่ดีตอผูใชบริการ ยอมเปนหลักประกันไดวาจะใหบริการอยางมีคุณภาพ เพราะจะระมัดระวังที่จะสรางความพอใจ และสนองตอบความตองการของผูใชบริการอยางสอดคลอง ถูกตอง และครบถวน 3.2.1.7 มีเจตคติที่ดีตองานบริการ ผูทํา งานบริก ารเป น ผูใ ห จึง ตอ งมี ค วามคิ ด ความรู สึก ตอ งาน บริการในทางบวกและเต็มใจที่จะใหบริการ ถาผูใหบริการมีความคิดความรูสึกไมชอบงานบริการ ก็ไมอาจจะทํางานบริการใหเปนผลดีได เจตคติมีอิทธิพลตอกระบวนการคิดของผูใหบริการเปน อันมาก ถาบุคคลใดมีเจตคติตองานบริการดี ก็จะใหความสําคัญตองานบริการและปฏิบัติงานอยาง เต็มที่ เปนผลใหงานบริการมีคุณคาและนําไปสูความเปนเลิศ 3.2.1.8 มีจิตใจมุงมั่นแนวแน ผูใหบริการจะตองมีความมุงมั่นในจิตใจ ไมวาจะมีสิ่งหนึ่งสิ่งใด มากระทบก็จะตองมีสมาธิ และคํานึงถึงงานบริการที่กําลังทําอยูเปนหลัก 3.2.1.9 มีความชางสังเกต ผูใหบริการควรจะมีลักษณะเฉพาะในการชางสังเกต เพราะหาก มีการรับรูวาบริการอยางไรเปนที่พอใจของผูใชบริการ ก็จะพยายามนํามาคิดสรางสรรคใหบริการที่ ดียิ่งขึ้น และตอบสนองความตองการของผูใชบริการไดมากยิ่งขึ้น การรับรูที่ไดมาจากการสังเกต สามารถกอใหเกิดความคิดสรางสรรคในงานบริการได ผูใหบริการที่ไมมีความชางสังเกตจะไม สามารถแยกไดวาบริการที่ดีกับบริการที่ไมดีแตกตางกันอยางไร 3.2.1.10 มีความคิดริเริ่มสรางสรรค ผูใหบริการเปนผูที่อยูหนางาน ไดพบเห็นเหตุการณตางๆและมี ประสบการณตรง จึงควรมีความคิดใหม ๆ ในการปรับปรุงงานบริการไดดียิ่งขึ้น ผูใหบริการจึง ควรเปนผูที่มีคุณลักษณะในการคิดสรางสรรค และสรางจินตนาการเพื่อพัฒนาการบริการใหดีขึ้น 3.2.1.11 มีวิจารณญาณไตรตรอง ผูใหบริการอาจเผชิญเหตุการณหรือปญหาเฉพาะหนา ซึ่งจะตอง ใชวิจารณญาณไตรตรองอยางรอบคอบวาควรจะทําอยางไร โดยไมจําเปนตองนําปญหาเฉพาะหนา ดังกลาวไปใหผูบังคับบัญชาตองพิจารณาวินิจฉัยสั่งการในทุกเรื่อง 3.2.1.12 มีความสามารถวิเคราะหปญหา ผูใ หบริก ารจะตองมีค วามสัมพัน ธทั้งทางตรงและทางออมกับ บุคคลที่มีภูมิหลังที่หลากหลาย ผูใชบริการสวนใหญเขามาติดตอสัมพันธอยางปกติ แตบางคนอาจ


28

นําปญหามาใหซึ่งอาจจะเปนปญหาของผูใชบริการเอง ดังนั้นผูใหบริการจึงควรสามารถวิเคราะห หาสาเหตุของปญหาที่แทจริงใหพบ และคิดหาวิธีการที่หลากหลายในการแกปญหาและเลือกวิธีที่ดี ที่สุดในการแกปญหา 3.2.2 พฤติก รรม หมายถึง การแสดงออกทางความคิด และความรูสึ ก โดยทั่วไปจะเห็นไดจากการกระทําของบุคคล บุคคลใดมีความคิดและความรูสึกที่ดี ก็จะมีการ กระทําที่ดี การกระทําจึงเปนเครื่องบงชี้ถึงสภาพความคิดและความรูสึก พฤติกรรมที่ดียอมนํามา ซึ่งผลดี พฤติกรรมของผูที่จะทํางานบริการเปนเลิศ ควรมีดังนี้ 3.2.2.1 มีความกระตือรือรน อุปนิสัยที่แสดงออกถึงความกระตือรือรนเปนพฤติกรรมที่ดีอยาง ยิ่งในงานบริการ ผูใหบริการที่ขาดความกระตือรือรน นอกจากจะทําใหภาพลักษณของงานบริการ เสียไปแลว ยังจะเปนผลใหการบริการลาชาและผิดเวลาหรือไมทันกําหนดที่ควรจะเปน 3.2.2.2 มีอัธยาศัยดี ผูใชบริการสวนใหญลวนมีความคาดหวังวา ผูใหบริการจะให การตอนรับดวยอัธยาศัยอันดี ทั้งดวยสีหนาแววตา ทาทาง และคําพูด การตอนรับผูใชบริการดวย ใบหนายิ้มแยมเปนเสนหที่สําคัญ การมองดวยแววตาที่ฉ ายแววความเปนมิตรเปนการแสดงถึง ความเต็มใจในการใหการตอนรับอยางอบอุนซึ่งเปนการแสดงออกทางความคิดและความรูสึกที่ดี และจะสรางความรูสึกประทับใจแกผมู าใชบริการตั้งแตตน 3.2.2.3 มีมิตรไมตรี ผูใหบริการที่แสดงออกใหผูใชบริก ารเห็นวามีมิต รไมตรี ก็จ ะ ชนะใจผูใชบริการตั้งแตตน ความมีมิตรไมตรีจะนําไปสูความสําเร็จในการใหบริการ การใหบริการ ที่ดีบวกกับการใหความชวยเหลือจะทําใหผูใชบริการเกิดความพอใจ ประทับใจ และเกิดมิตรภาพ ในการบริการที่ยั่งยืน 3.2.2.4 มีการเอาใจใสในงานบริการ ความมุงมั่นในการใหบริการ มีความสัมพันธกับความเอาใจใส ในงานบริก ารเปน อยางมาก เพราะหากขาดความเอาใจใสใ นงานบริก ารแลว ก็จ ะละเลยการ ปฏิบัตงิ าน การพิจารณาพฤติกรรมของผูใหบริการวามีความเอาใจใสในงานบริการหรือไม จะตอง ดูวาผูใหบริการมีความมุงมั่นจริงจังในการทํางานบริการมากนอยเพียงใด


29

3.2.2.5 มีบุคลิกภาพที่ดี ผูใหบริก ารจะตองเปนผูมีบุคลิกภาพที่ดีเพื่อใหเปนที่ นาเชื่อถือ ไววางใจของผูใชบริการ การแตงกายที่สะอาดเรียบรอย และถูกกาลเทศะ เหมาะสมทั้งตอสถานที่ ทํางานและสถานภาพของหนวยงาน จะชวยใหผูใชบริการเกิดความรูสึกที่ดี 3.2.2.6 มีกิริยา มารยาทสุภาพ ผูใชบริการทุกคนคาดหวังวาจะไดรับบริการจากผูใหบริการดวย กิริยาสุภาพ และจะรังเกียจผูใหบริการกิริยาหยาบคาย ผูใหบริการที่มีกิริยาสุภาพออนนอมจะเปน เครื่องมือเชิดหนาชูตาหรือเสริมสรางภาพลักษณที่ดีของหนวยงาน นอกจากนั้นควรมีการแสดงออก ถึงความมีมารยาท รูวาอะไรควรทํา อะไรไมควรทํา 3.2.2.7 วาจาสุภาพและน้ําเสียงไพเราะ การทํางานบริการเปน การใหความชวยเหลือผูอื่นใหเกิดความ พึงพอใจ จึงตองเปนผูมีวาจาสุภาพเพื่อใหผูใชบริการมีความสบายใจที่จะมาติดตอขอรับบริการ การคัดเลือกผูทํางานบริการจึงควรใชวิธีสัมภาษณเพื่อจะสามารถพิจารณาวามีการใชถอยคําหรือการ ใชวาจาสุภาพอยางไร การจะทํางานบริการใหไดดีตองเปนผูมีน้ําเสียงไพเราะ แตถามีน้ําเสียงที่ไม ไพเราะ ก็ควรมีน้ําเสียงชัดเจนและชวนฟง 3.2.2.8 มีการควบคุมอารมณไดดี ผูใ หบริก ารจะตองมีอารมณมั่น คง เพราะอยูใ นสถานการณที่ จะตองพบปะผูมาใชบริการที่มีภูมิหลังตางกัน ผูใชบริการบางคนมีกิริยาดี มีความสุภาพ และมี ความเปนผูดี แตบางคนอาจมีกิริยามารยาทไมดี แสดงทาทางหยิ่งยโส พูดจาโอหัง กาวราวหรือมี อุปนิสัยใจรอนตองการบริการที่รวดเร็วทันใจ และเมื่อไมไดดังใจอาจพูดตําหนิหรืออาจขูตะคอก ดวยกิริยาหยาบคาย ผูใหบริการไมควรจะแสดงอารมณตอบโต แตควรควบคุมอารมณดวยความ อดทนอดกลั้น 3.2.2.9 รับฟงปญหาและความตองการของผูใชบริการ พฤติกรรมที่แสดงออกของผูใหบริการ จะตองสนองตอบความ ตองการและรับฟงปญหาของผูใชบริการ เมื่อผูใชบริการมีปญหาหรือขอรองเรียนใด ๆ ผูใหบริการ จะตองแสดงความสนใจรับฟงปญหาเปนเบื้องตน และนอกจากแสดงความเอาใจใสอยางจริงจังแลว ควรมีค วามรูสึก เต็มใจที่จ ะใหค วามชว ยเหลือแกปญหาตางๆ ใหแกผูใ ชบริก ารดว ย จะทําให ผูใชบริการเกิดความประทับใจ


30

3.2.2.10 มีวินัย ผู ทํ า งานบริ ก ารที่ มี ร ะเบี ย บวิ นั ย จะทํ า งานเป น ระบบอย า ง สม่ําเสมอ และมีนิสัยยึด มั่น ในคําสัญญาหรือเงื่อนไขในการใหบริก าร เมื่อหนว ยงานกําหนด เงื่อนไขหรือแนวปฏิบัติการใหบริการไวอยางไร ผูใหบริการจะปฏิบัติตามเงื่อนไขหรือแนวปฏิบัติที่ กําหนดไวโดยเครงครัด 3.2.2.11 มีความซื่อสัตย ผูใ หบริก ารจะตองใหค วามชว ยเหลืออยางถูก ตองและปฏิบั ติ อยางตรงไปตรงมา ไมทุจริต ไมใชเลหกล หรือไมฉอฉล (สมิต สัชฌุกร, 2550) 3.3 สถานที่ใหบริการ 3.3.1 การจัดสํานักงานภายในอาคาร การจั ด สถานที่ ใ ห บริ ก าร จะตอ งมี ก ารระดมความคิ ด ของบุค ลากรผู ใหบริการ เปน หลัก โดยพิจารณาจากการจัดพื้นที่ใหมีความสอดคลองกับการใชงานเปน สําคัญ สวนผูบริหารควรเขามามีบทบาทในการสอดสองดูแลและตรวจสอบความถูกตองเหมาะสม โดย การวางผังของที่วาการอําเภอใหมีความสอดคลองกับเสนทางของงานบริก าร มีความเหมาะสม สะอาด และนาใชบริการ สถานที่บางแหงอาจมีความจํากัดในเรื่องขนาดของพื้นที่ ทําใหจําเปนตอง มีการปรับผังสํานักงานตามความเหมาะสมกับสภาพความเปนจริง แตยังคงตองยึดการใหบริการขัน้ พื้นฐานไว เชน จัดตั้งหนวยประชาสัมพันธ และเคานเตอรบริการไวดานหนาของอาคาร จัดโตะ เกาอี้ใหเพียงพอกับจํานวนผูมารับบริการ จัดมุมอานหนังสือพิมพ วารสารและขาวสารตาง ๆ ไว บริการประชาชน มีก ารจัด จุด บริการน้ําดื่ม จัดปายแสดงอั ตราคาธรรมเนียมและระยะเวลาการ ใหบริการ ทั้งนี้อาจจัดจุดที่แตกตางกันไปจัดตั้งหรือจุดที่จัดบริการ ดังนี้ 3.1.1.1 ติด ปายแสดงอัต ราคาธรรมเนียมของงานทะเบียนและ ปายเกณฑระยะเวลาการใหบริการไวดานหนาอาคารในจุดที่สายตาของประชาชนจะเห็นไดสะดวก และชัดเจน 3.1.1.2 จัดตูรับเรื่องราวรองทุกขติดตั้งไวใหเพียงพอ 3.1.1.3 จัดระบบการจัดเก็บเอกสารโดยการแยกแฟมเอกสารตาม ประเภทของงาน 3.1.1.4 ควรมีการตกแตงไมประดับหรือไมดอก และเปดเพลง เพื่อสรางบรรยากาศที่ชวยผอนคลาย ลดความตึงเครียด


31

3.1.1.5 ควรจัดใหมีผูดูแลทําความสะอาดหองสุขาเปนประจํา ทั้ง ชวงเชาและชวงเย็นเพื่อไมใหมีกลิ่นเหม็น การทําความสะอาดหองน้ําควรทําในชวงเที่ยงวันและ ชวงเย็นเพื่อความสะดวกของผูใชบริการ 3.3.2 การจัดสถานที่ภายนอกอาคาร 3.3.2.1 ควรจัดใหมีพื้นที่ลานจอดรถใหเพียงพอ โดยอาจจัดใหมี ทัง้ บริเวณดานหนาและดานหลังสถานที่ โดยพื้นที่จอดรถดานหลังสํานักงานควรจัดเปนที่จอดรถ ของเจาหนาที่ผูใหบริการ และจัดพื้นที่จอดรถบริเวณดานหนาสํานักงานเปนที่จอดรถผูมาใชบริการ เพื่อใหเขาออกสะดวกเพราะติดถนนทางเขา พื้นที่จอดรถอาจจัดทําหลังคากันแดดและแบงประเภท ของการจอดรถยนต รถจักรยานยนต และรถจักรยานไวอยางชัดเจน 3.3.2.2 ควรจัดสวนหยอมไวหากมีพื้นที่เพียงพอ เพื่อความรมรื่น และใชเปนที่พักผอนของผูใชบริการ หากพื้นที่มีขอจํากัดก็อาจปลูกตนไมกระถางเปนบางจุดทั้ง ดานหนาและดานหลังของสํานักงาน 3.3.2.3 ควรจัดใหมีถนนและทางเดินโดยรอบสํานักงาน และจัด ใหมีผูดูแลทําความสะอาดอยูเสมอ และดูแลใหเปน ระเบียบเรียบรอยเปน ประจําอยางสม่ําเสมอ โดยควรจัดใหมีการทําความสะอาดอยางนอยวันละหนึ่งครั้งชวงเย็น (พนิดา เอกภูธร, 2549) 3.4 การจัดเทคโนโลยีสารสนเทศ วัสดุอุปกรณและงบประมาณ การใหบริการจะตองมีการดําเนินการปรับปรุงระบบงาน และจัดหาวัสดุอุปกรณ และงบประมาณใหเพียงพอ รวมทั้งมีการนําระบบเทคโนโลยีสารสนเทศที่ทันสมัยมาใช เพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพในการใหบริการ ดังนี้ 3.4.1 ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ การนําระบบเทคโนโลยีสารสนเทศที่ทันสมัยมาใชเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ ในการใหบริการ โดยเนนดานการใชสารสนเทศและดานการจัดการความรูที่มีความเชื่อมโยงและ บูร ณาการในหนวยงานภายใน การจัด ใหมีระบบบริการออนไลน (e-service) เพื่ออํานวยความ สะดวก รวดเร็ว และถูกตองในการใหบริการของเจาหนาที่ การจัดใหมีเครื่องคอมพิวเตอรแบบจอ สัมผัส เพื่อใหผูใชบริการคนหาขอมูล นอกจากนี้การสนับสนุนใหมีการฝกอบรมเจาหนาที่ใหมี ความรูและทัก ษะดานเทคนิค เปน สิ่ งที่ตองดํา เนิน การควบคูไปกับดา นการพัฒ นาเทคโนโลยี สารสนเทศ รวมถึงการติดตามตรวจสอบและประเมิน ผลการนําระบบสารสนเทศมาใชใ นการ ใหบริการอยางเปนระบบและมีความตอเนื่อง


32

3.4.2 การจัดหาวัสดุอุปกรณ และงบประมาณ การจัด หาวัส ดุอุป กรณ และงบประมาณอยา งเพี ยงพอเพื่อใชใ นการ ดําเนินงานใหบริการของสํานักงาน อาทิ การจัดหาวัสดุอุปกรณสํานักงานที่ทันสมัยเพื่ออํานวย ความสะดวกในการมาใชบริการ ซึ่งจะทําใหผูที่มาติดตอไดรับความสะดวกในการติดตอขอรับการ บริการเกิดความประทับใจ และความพึงพอใจตอการใหบริการ การไดรับการจัดสรรงบประมาณ สนับสนุนใหเพียงพอที่จะจัดหาทรัพยากรทุกดาน เพื่อใหผูใชบริการไดรับบริการที่เปนเลิศ (พนิดา เอกภูธร, 2549) 4. วัฒ นธรรมการใหบ ริก ารที่เปน เลิศของมหาวิทยาลัยคริสเตีย น มหาวิทยาลัยคริสเตียน กําหนดวัฒนธรรมการใหบริการที่เปนเลิศเพื่อใหบุคลากรใชเปน แนวทางในการใหบริการแกนักศึกษา ผูปกครอง บุคลากรภายในองคกร ประชาชนที่มีติดตอใช บริก าร รวมทั้งใหอาจารยใ ชเปนแนวทางในการประยุก ตสําหรับการจัด การเรียนการสอนหรือ สอดแทรกในรายวิ ชาที่เกี่ย วของ เพื่ อใหนัก ศึ ก ษาไดนํ าไปปรับใชใ นการปฏิบัติงานหรือการ ประกอบอาชีพ โดยกําหนดวัฒนธรรมการใหบริการที่เปนเลิศไว 12 ประการ ดังนี้ 4.1 บริการดวยรอยยิ้ม (Serve with a smile) 4.2 บริการดวยทาทีกระตือรือรน (Serve enthusiastically) 4.3 บริการมากกวาเดิม (Serve more than before) 4.4 บริการอยางสัตยซื่อ (Serve with honesty) 4.5 บริการผูใ ชบริการกอนทํางานประจํา (Serve client before doing routine work) 4.6 บริการดวยความรูสึกเปนเจาของ (Serve with a sense of ownership) 4.7 บริการดวยหัวใจ (Serve from the heart) 4.8 บริการอยางมีนวัตกรรม (Serve innovatively) 4.9 บริการเปนทีม (Serve on a team) 4.10 บริการอยางมีวนิ ัย (Serve with discipline) 4.11 บริการเพื่อสวนรวม (Serve with mindfulness) 4.12 บริการใหนักศึกษา/ผูใชบริการเกิดความประทับใจ (Serve to delight the student/client)


33

แนวคิดเกี่ยวกับความพึงพอใจและความภักดีในการใหบริการ ความพึงพอใจในการใหบริการ คอทเทอร (Kotler, 2003) กลาววา ความพึงพอใจ (Satisfaction) คือ สิ่งที่ลูกคารูสึกหลังการ ซื้อสินคาเมื่อเทียบระหวางสิ่งทีค่ าดหมายกับคุณภาพสินคา โดยถาผลที่ไดรับต่ํากวาที่คาดหมายจะ ไมพึงพอใจ (Dissatisfied customer) และถาผลที่ไดรับตรงกับที่คาดหมายก็จะเกิดความพึงพอใจ (Satisfied customer) และถ าผลที่ได รับนั้น สูง กวาที่ค าดหมายก็จ ะทาใหเ กิด ความประทับใจ (Delighted Customer) คอทเทอร และคีลเลอร (Kotler & Keller, 2006) สรุปวา ความพึงพอใจ คือ ระดับของ ความรูสึกเมื่อมีการเทียบระหวางบริการที่รับรูกับสิ่งที่คาดหมายของบุคคลนั้น โดยลูกคาสามารถ รูสึกถึงระดับความพึงพอใจไดดังนี้ 1. ถาผลงานที่รับรูต่ํากวาความคาดหวังจะรูสึกไมพึงพอใจ 2. ถาผลงานที่รับรูเทากับความคาดหวังจะรูสึกพึงพอใจ 3. ถาผลงานที่รับรูนั้นสูงกวาที่ความคาดหวังจะรูสึกพึงพอใจมาก ศิริวรรณ เสรีรัตน(2546) กลาววา ความพึงพอใจของลูกคา คือ สิ่งที่รูสึก ซึ่งมีระดับที่ แตกตางกันที่เกิด จากการเทียบสิ่งที่ค าดหมายของลู ก คาซึ่งมาจากความรูและประสบการณกับ ประโยชนที่ไดรับ ซึ่งคุณคาที่สงมอบจะตองมากกวาราคาที่ลูกคาจายไป เกษมสันต พิพัฒนศิริศักดิ์ (2552) สรุปวา ความพึงพอใจ คือ สัมผัสที่ดีเมื่อลูกคาพบวา สินคานั้นใชงานไดจริงเกินกวาความคาดหมายที่ตั้งไว ซึ่งตามมาคือความภักดี จากนิยามความหมายของความพึงพอใจขางตน สรุปไดวา ความพึงพอใจเปนเจตคติ หรือ ความรูสึก ทั้งในเชิงบวกและเชิงลบของบุคคลที่มีตอสิ่งใดสิ่งหนึ่ง ซึ่งจะมีการเปลี่ยนแปลงไมคงที่ อันเนื่องมาจากเงื่อนไขภายใตสภาพแวดลอมตางๆ ปจจัยที่สงผลตอความพึงพอใจ สมฤทัย น้ําทิพย (2546) วิเคราะหถึงปจจัยที่สงผลตอความพึงพอใจของนักศึกษาในการ จัดบริการการศึกษาของสถาบันอุดมศึกษาไวดังนี้ 1. การรับรูถึงคุณภาพ (Perceived quality) หมายถึง การรับรูถึงคุณภาพในการ ใหบริการ การจัดการที่ดี การบรรลุเปาหมายของการศึกษาและในการทํางาน 2. การรับรูถึงคุณคา (Perceived value) หมายถึง การรับรูถึงความคุมคา รับรูถึง ประโยชนที่ไดรับจากสินคาและบริการ โดยรูสึกถึงความคุมคาเมื่อเปรียบเทียบกับเงินที่จายไป


34

3. ความคาดหวังของนักศึกษา (Expectations of students) เปน ผลมาจากการมี ประสบการณกอนหนานี้กับผลิต ภัณฑหรือบริก าร โดยจะประเมิน ความคาดหวังของนัก ศึก ษา เกี่ยวกับคุณภาพการศึกษา สภาพแวดลอมทางสังคมที่มีอยู การบรรลุเปาหมายของการศึกษาและใน การทํางาน และการบริหารจัดการที่ดี 4. ภาพลักษณ (Image) หมายถึง พื้นฐานของสถาบันอุดมศึกษา หรือชื่อแบรนดที่ เปนผลมาจากการเปนที่นาเชื่อถือได ความเปนมืออาชีพ การมีสวนรวมในการชวยเหลือสังคม การมี ความสัมพันธที่ดีกับนักศึกษา การมีนวัตกรรม เปนตน การมีน วัต กรรมบริก ารที่ต อบสนองตอความตองการของนัก ศึกษาจึงสะทอนจากการ ใหบริก ารการศึกษาของสถาบันอุดมศึกษาแตละแหงซึ่งมีค วามแตกตางกันออกไป ตามเงื่อนไข บริบท เชน ขนาด สถานที่ตั้ง นโยบายการดําเนินงาน ดังที่ปรากฏในงานศึกษาวิจัยเกี่ยวกับความ พึงพอใจตอการใหบริการการศึกษาของสถาบันอุดมศึกษาจํานวนหลายเรื่อง อาทิ งานศึกษาของ สมพร ภูชํานิ (2552) ศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษาระดับปริญญาตรีที่มีตอการใหบริการของ งานบริการการศึกษา คณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัยรามคําแหง พบวา นักศึกษามีความพึงพอใจตอ การให บ ริ ก ารการศึ ก ษาของคณะฯด า นวิ ธี ก ารและขั้ น ตอนการให บริ ก าร ด า นสถานที่ แ ละ สิ่งแวดลอ ม ด านการใหบริ ก ารของเจา หนา ที่ และด านการใหขอ มูลข าวสารและการปรึก ษา แนะแนว อยูในระดับปานกลาง โดยไดเสนอแนะประเด็นที่ควรปรับปรุงเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพใน การใหบริการ ไดแก การปรับปรุงสภาพแวดลอม เชน การจัดบรรยายกาศใหปลอดโปรง มีแสง สวางเพียงพอ สะอาดเปนระเบียบ จัดตูรับฟงความคิดเห็น การฝกอบรมเจาหนาทีใหบริการใหเกิด ความคิดริเริ่มสรางสรรคและสามารถวิเคราะหปญหาได ควรปรับปรุงขั้นตอนการใหบริการให กระชั บ ชั ด เจนหรื อ ศู น ย บ ริ ก ารแบบจุ ด เดี ย วเบ็ ด เสร็ จ (One-stop-service) รวมทั้ ง เพิ่ ม การ ประชาสัมพันธขอมูลขาวสารของคณะวิชาผานสื่อที่หลากหลาย ผลการศึก ษาวิ จัย ของทวีรัต น ญาณฤกษ (2555) เรื่อง ความพึงพอใจของนิสิต ตอการ ใหบริการของหนวยบริการการศึกษา คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขต บางเขน พบวา นิสิต มีค วามพึงพอใจดานสถานที่ใหบริก าร เจาหนาที่ผูใ หบริก าร คุณ ภาพการ ใหบริการ และกระบวนการใหบริการอยูในระดับมาก ทั้งนี้ไดเสนอแนะประเด็นที่ควรปรับปรุงเพือ่ เพิ่มคุณภาพในการใหบริการของหนวยบริการ ไดแก ดานสถานที่ ควรเพิ่มกลองรับขอเสนอแนะ และจัดที่นั่งรอรับบริการที่สะดวกและเพียงพอ ดานเจาหนาที่ผูใหบริการ ควรเพิ่มความเอาใจใส กระตือรือรนในการใหบริการ และใหบริการดวยความสุภาพ ยิ้มแยม ดานคุณภาพการใหบริการ ควรเพิ่มการบริการติดตามความกาวหนาของเรื่องที่มารับบริการและจุดบริการตอบขอซักถาม และ


35

ดานกระบวนการใหบริการ ควรมีการชี้แจงเหตุผลเมื่อตองใหผูมารับบริการรอนาน และใหบริการ อยางรวดเร็วในกรณีเรงดวน ผลการศึกษาวิจัยของพัชรี ภูบุญอิ่ม (2558) เรื่อง ปจจัยที่มีอิทธิพลตอความพึงพอใจของ นัก ศึก ษาเกี่ยวกับการบริก ารของสํานัก สงเสริมวิชาการและงานทะเบียน มหาวิทยาลัยราชภัฏ มหาสารคาม พบวา นักศึกษามีความพึงพอใจตอการใหบริการในดานต างๆ ไดแก การใหบริการ อยางเสมอภาค การใหบริการอยางกาวหนา การใหบริการดานเทคโนโลยีดวยระบบสารสนเทศเพื่อ การจัดการ (Management Information System : MIS) การใหบริการอยางเพียงพอ การใหบริการ อยางตอเนื่อง และการใหบริการที่ตรงเวลาอยูในระดับมาก และพบวาปจจัยเกี่ยวกับบุคลากรของ เจาหนาที่ ระบบบริการ คุณภาพการใหบริการ ระยะเวลาที่ใหบริการ ความสะดวกในการใหบริการ และสภาพแวดลอม สามารถรวมกันอธิบายความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีตอการใหบริการของ สํานักสงเสริมวิชาการณ ไดรอยละ 70.20 รวมทั้งเสนอแนะวา ควรปรับปรุงความเร็ว ของระบบ เครือขายอินเตอรเน็ตใหเหมาะสมกับการใชงาน การเพิ่มชองทางบริการตอบคําถามผานระบบ สารสนเทศ และควรมีระบบขอความในการแจงเตือนสถานะปจจุบันของนักศึกษา ผลการศึกษาวิจัยของบัตต และเรแมน (Butt & Rehman, 2010) เรื่อง การศึกษาความพึง พอใจของนักศึก ษาระดับอุดมศึกษา กรณีศึกษาสถาบันอุดมศึกษาในปากีสถาน พบวา ตัว แปร ความรูความเชี่ยวชาญของคณาจารย การจัดหลักสูตรระบบการสอน สภาพแวดลอมการเรียนรู และ การจัดสิ่งอํานวยความสะดวกในชั้นเรียนมีความสัมพันธทางบวกกับความพึงพอใจของนักศึกษา อย า งมี นั ย สํ า คั ญ และเสนอแนะว า การจะยกระดั บ ความพึ ง พอใจของนั ก ศึ ก ษาที่ มี ต อ สถาบัน อุดมศึก ษานั้น ควรสงเสริมและสนับสนุนการฝก อบรมใหแกคณาจารย และธํารงรักษา คณาจารยที่มีค วามเหมาะสมและเชี่ยวชาญไว เพื่อพัฒ นาการจัด การศึกษาใหมีคุณภาพ ขณะที่ หลักสูตรควรมีการออกแบบใหสนองตอความทาทายของความเปลี่ยนแปลงทางสังคม เศรษฐกิจใน ปจจุบัน ดานสภาพแวดลอมในสถาบัน อุดมศึกษาและสถานที่เรียนรูควรไดรับการยกระดับใหมี เทคโนโลยีที่ทันสมัย เพิ่มการสื่อสารและโตตอบที่มากขึ้นระหวางนักศึกษา คณาจารย ผูบริหาร และเจาหนาที่ในการใหคําปรึกษาหารือ หรือขอมูลที่จําเปนเกี่ยวกับหลักสูตร และการใชชีวิตใน สถาบันอุดมศึกษา ผลการศึกษาวิจัยของแฮนเนเชล, อับดุลเลาะห และคณะวอลร็อคกา (Hanaysha, Abdullah & Warokka 2011) เรื่องคุณภาพบริการและความพึงพอใจของนักศึกษาสถาบันอุดมศึกษา : มิติการ แขงขันของสถาบันอุดมศึกษาในสหพันธรัฐมาเลเซีย พบวา ปจจัย คุณ ภาพในการใหบริการหา ประการที่มีอิทธิพลตอความพึงพอใจของนักศึกษา ไดแก การสรางความเปนรูปธรรมในการจัด การศึกษาการสรางความเชื่อมั่น ความรับผิดชอบ การประกันคุณภาพ และระบบการดูแลเอาใจใส


36

อยางมีนัยสําคัญ ผลการวิจัยดังกลาวจะชวยใหมหาวิทยาลัยใชเปนขอมูลในการจัดทําแผนกลยุทธ เพื่อเพิ่มความพึงพอใจของนักเรียนโดยเฉพาะอยางยิ่งประสิทธิภาพโดยรวม และเปนขอมูลสําคัญ ในการสรางตลาดเชิงบวก เพื่อใหสังคมไดรับรูการจัดการเรียนรูที่มาเลเซีย ซึ่งมีสถาบันอุดมศึกษาที่ จั ด การบริ ก ารที่ มี คุ ณ ภาพ และสร า งสามารถใช สํ า หรั บ การสร า งแบรนด ก ารรั บ รู ข อง สถาบันการศึกษามาเลเซีย ที่ชวยดึงดูดนักศึกษาตางชาติเขามาศึกษาตอดวย ความภักดีจากการไดรับบริการ กอนรอส (Gronroos, 2000) กลาววาความจงรักภักดี (Loyalty) ของลูกคา คือการสนับสนุน อยางเต็มใจหรือมอบผลประโยชนใหกับกิจการในระยะยาวของลูกคา โดยการซื้อซ้ําหรือใชบริการ อยางอยาสม่ําเสมอจากกิจการ หรือแนะนาบุคคลอื่นถึงขอดีขององคการ ซึ่งสิ่งเหลานี้จะเกิดบน พื้นฐานของความรูสึกที่ลูกคาชื่นชอบในองคการที่เลือกมากกวาองคการอื่นๆ ความภักดีจึงไมเพียง หมายถึง พฤติกรรมที่ลูกคาแสดงออกวาจงรักภักดีเทานั้น แตยังหมายรวมไปถึงความรูสึกในแงบวก ตางๆ ซึ่งความจงรักภักดีนั้นจะคงอยูตราบเทาที่ลูกคารูสึกวาไดรับในคุณคาที่ดีกวาที่ไดรั บจาก องคการอื่นๆ คูมาร และเวอรเนอร (Kumar & Werner, 2006) กลาววา ลูกคาที่จงรักภักดีตอบริการ คือ บุคคลที่เชื่อมั่นและศรัทธาอยางแรงกลาวาบริษัทจะตอบสนองความปรารถนา ของพวกเขาไดดี ที่สุดทั้งปจจุบันและอนาคต จนทาใหบริษัทคูแขงไมถูกเลือกมาพิจารณาในการซื้อเลย และลูกคา เต็มใจที่จะใชบริการตอไปในอนาคต รวมไปถึงพรอมที่จะทําหนาที่เปนผูแทนขององคกรในการ เชิญชวนบุคคลใกลชิด ญาติสนิทของพวกเขาเขามารวมเปนลูกคาของบริษัท ซึ่งเปนความภักดีที่เกิด จากทัศนคติที่ดีที่มีความรูสึกผูกพันกับองคกรในระดับที่ลึกซึ้งและเกิดขึ้นในระยะยาว ณัฐพัชร ลอประดิษฐพงษ (2549) กลาววา ความจงรักภักดี คือ เจตคติที่ดีของลูกคาที่มีตอ บริการ ซึ่งจะนาไปสูความเกี่ยวพันที่ดีของลูกคาและบริษัทในระยะยาว ความจงรักภักดีนั้นไมใชแค การซื้อสินคาซ้ําเทานั้น แตยังรวมถึงความรูสึกและความเกี่ยวพันที่ดีในระยะยาวอีกดวย สรุปไดวา ความจงรักภักดี เปนผลมาจากการที่ลูกคามีทัศนคติในเชิงบวกจากการไดรับ บริการจากองคกร จนรูสึกวาเปนสวนหนึ่งหรือเปรียบเสมือนสมาชิกหนึ่งขององคกรที่ไดมีสวน รวมสนับสนุนในเชิงการแลกเปลี่ยนสินคาหรือบริการ ซึ่งเปนผลดีตอการสรางความมีชื่อเสียงและ ความมั่นคงขององคกรไปอยางยาวนาน


37

ปจจัยที่สะทอนถึงความจงรักภักดี พง และยี (Pong & Yee, 2001) สรุปวา ความจงรักภักดีตอการบริการ คือ สิ่งที่เกิดจาก พฤติกรรม เจตคติและความรู ซึ่งปจจัยที่ใชในการวัดความจงรักภักดี ไดแก 1. พฤติกรรมซื้อซ้ํา (Repeat purchase behaviors) เปนการแสดงความผูกพันที่ ลูกคามีตอผูใหบริการ 2. คําบอกเลา (Words of mouth) เปนการวัดผลของความจงรักภักดีตอการบริการที่ ดีและมีประสิทธิภาพ ซึ่งคนที่จงรักภักดีตอการบริการมักจะมอบผลในทางบวกตอบริการนั้นๆ 3. ชวงเวลาที่ผูบริโภคเลือกรับบริการ (Period of usage) เปนการวัดการเขาถึงการ บริการวามีความสม่ําเสมอหรือไม ซึ่งสามารถสะทอนสถานการณการบริโ ภควาจะเปน ความ จงรักภักดีตอการบริการในระยะยาวหรือไม 4. ความไมหวั่นไหวตอราคาที่เปลี่ยนแปลง (Price tolerance) คือ การที่ราคาสูงขึ้น ผูบริโภคที่มีความจงรักภักดีตอการบริการยังเลือกใชบริการนั้นอยูหรือไม 5. ความตั้งใจซื้อซ้ํา (Repeat purchase intention) คือ การเลือกใชหรือซื้อในสินคา เดิมเปนประจํา 6. ความชอบมากกวา (Reference) ผูบริโภคที่มีความภักดีตอการบริการจะมีการหา ขอมูลนอยลงเพื่อการตัดสินใจ 7. อันดับแรกในใจ (First-in-mind) การบริการนั้นจะเปนตัวเลือกแรกเสมอหาก ผูบริโภคมีความจงรักภักดีตอการบริการ สมฤทัย น้ําทิพย (2556) ยังไดนําเสนอแนวคิดสวนผสมทางการตลาด (Marketing Mix- 7 P’s) มาใชวิเคราะหและกําหนดกลยุทธทางการตลาดของสถาบันอุดมศึกษาซึ่งมีผลกระทบตอการ ใหบริการและความพึงพอใจของนักศึกษา ดังนี้ 1. ดานผลิตภัณฑ (Product) ผลิต ภัณ ฑในอุต สาหกรรมการศึกษา คือ ลัก ษณะทั้งหมดของการใหบริการไม สามารถจับตองได แบงแยกไมได มีความแปรปรวน และสามารถหมดไปได ดั งนั้นสวนประสม การตลาดจึงเนนในดานสิ่งแวดลอมทางกายภาพ เพื่อเปนวิธีการแกปญหาการขาดรูปแบบในสิ่งที่ จับตองไมได กลยุทธผลิตภัณฑยังสามารถวิเคราะหไดจากสองมุมมองที่แตกตางกัน คือ มุมแรก เปนการใหบริการดานการศึกษาแกนักศึกษาที่เปรียบเสมือนเปนลูกคา สถาบันอุดมศึกษาจะมุงเนน ใหค วามสําคัญ และตอบสนองความตองการนัก เรียน เพื่อที่จ ะดึงดูนัก เรียนใหเขามาศึก ษาใน สถาบัน มุมมองที่สอง เปน การสงมอบนักศึก ษาที่เปนผลิตภัณฑของสถาบัน ไปสูต ลาดแรงงาน


38

โดยสถาบันอุดมศึกษาจะมุงเนนการใหความรูหรือทักษะที่จําเปนสําหรับการกาวเขาสูวิชาชีพเมื่อ สําเร็จการศึกษา 2. ดานราคา (Price) กลยุทธดานราคาเปนกลยุทธเดียวที่มีผลโดยตรงตอรายไดของสถาบันการศึกษา ราคาของหลักสูตรการศึกษา คาเลาเรียน เปนผลมาจากตนทุน ความตองการและราคาของคูแขงขัน ถาหลักสูตรมีความตองการมากในตลาด การเรียนการสอนในหลักสูตรดังกลาวก็จะเพิ่มขึ้น รวมถึง คาเลาเรียนก็จะมีแนวโนมเพิ่มสูงขึ้น และถาเปนการควบรวมการดําเนินการระหวางสถาบันที่มีชื่อ เสี่ยงในการจัดการศึกษา จะยิ่งเพิ่มโอกาสในดานราคาตามขึ้นไปดวย หรือการแขงขันภายใตตลดา นั้น มีการแขงขันไมมากนัก ก็จะสงผลใหคาเลาเรียนสูงขึ้นดวย ทั้งนี้กลยุทธดานราคายังคงผูกโยง กั บ แบรนด กล า วคื อ ค า ใช จ า ยที่ สู ง กว า ของหลั ก สู ต รการศึ ก ษา เป น สิ่ ง ที่ ส ง สั ญ ญาณได ว า มหาวิ ท ยาลั ย คณะวิ ช า หรื อ หลั ก สู ต รนั้ น ดี ก ว า หลั ก สู ต รอื่ น ๆในตลาดอย า งไร นอกจากนี้ ทุนการศึกษายังเปนสิ่งทีช่ วยจูงใจใหแกนักศึกษามาศึกษาตอในสถาบันอุดมศึกษาอีกทางหนึ่งดวย 3. ดานชองทางการจัดจําหนาย (Place) กลยุทธดานชองทางการจัดจําหนาย คือ องคประกอบดานสถานที่หรือระบบการ จัดสงการศึกษาที่ถูกออกแบบมาเพื่อสรางความพรอมในการเขาถึงและการใหบริการ ทั้งในดา น ของเวลาและการกระจายทางภูมิศาสตรในการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู หรืออาจเรียกได วาตําแหนงแหงที่ทางกายภาพของมหาวิทยาลัย รวมไปถึงการพัฒนาดานเทคโนโลยีที่ชวยเพิ่มการ เขาถึงของมหาวิทยาลัย ผานระบบอิเล็กทรอนิกส เชน การใช e-learning ยังเปนสวนชวยเพิ่มสวน แบงการตลาดดวย 4. ดานการสงเสริมการตลาด (Promotion) กลยุทธดานการสงเสริมการตลาดในอุตสาหกรรมการศึกษามีชองทางที่สําคัญ ซึ่ง ประกอบดวยการใหขอมูลที่ดี และมีประสิทธิภาพ รวมทั้งมีชองทางในการสื่อสารที่หลากหลาย เชน เว็บไซตที่สามารถแจงขอมูลของนักศึ กษาตางๆไดเปนอยางดี รวมถึงการโฆษณา ขอมูลที่มี ประโยชนสูสาธารณะชน ทั้งนี้หนวยงานประชาสัมพันธของสถาบันอุดมศึกษาจะถือเปนเครื่องมือ สําคัญในการปรับปรุงกลยุทธการสงเสริมการขายของสถาบันอุดมศึกษาได อยางไรก็ตาม กลยุทธ การสงเสริมการขายจะไดรับอิทธิพลอยางมากโดยตรงจากภาพลักษณของสถาบัน โดยภาพลักษณ ของสถาบั น นั้ น สามารถที่ จ ะเพิ่ ม ความสํ า เร็ จ ในการส ง ข อ มู ล ข า วสารสู ส าธารณะชน และ ภาพลักษณของมหาวิทยาลัยนี้ไดรับการพิสูจนแลววาเปนสถานที่ที่ยากแกการ Rebranding ดังนั้น สถาบันอุดมศึกษาจึงมุงที่จะพัฒนาและรักษาชื่อเสียงที่ดีเอาไว ทั้งนี้สถาบันอุดมศึกษาสามารถใช


39

เครื่องมือตางๆในการสงเสริมการขาย อาทิ การจัดแสดงนิทรรศการการศึกษา วันเปดใหบริการ การ ประชุมวิชาการ เปนตน 5. ดานบุคคล (People) กลยุทธดานบุคคล คือ ความสัมพันธทั้งหมดของคณาจารยผูสอน และพนักงาน สายสนับสนุน วิช าการที่ใ หบริก ารแกนัก ศึก ษา มีความสําคั ญในการดึงดูด นักศึก ษา และความ พึงพอใจในการรับบริการ ทั้งนี้กลยุทธดานบุคคลเปนปจจัยที่มีอิทธิพลตอกลยุทธดานผลิตภัณฑ กลยุทธดานราคา กลยุทธดานกระบวนการ และกลยุทธดานการสงเสริมการขาย พนักงานสายสนับสนุนวิชาการลวนมีบทบาทสําคัญ เมื่อนักศึกษามีการรองขอสิ่ง อํานวยความสะดวกตางๆ เมื่อมีการดําเนินการ ซึ่งเจาหนาที่จะทําใหเกิดรูปแบบการใหบริการที่ชว ย สรางความประทับใจตั้งแตครั้งแรกใหแกผูพบเห็น และถายทอดขอมูล ความรูที่เปนประโยชน ใหแกนักศึกษา ขณะทีค่ ณาจารย เปนสวนประกอบที่สําคัญของสวนประสมทางการตลาดทั้งหมด กลาวคือ หากสถาบันอุดมศึกษาสามารถที่จะสงเสริมและสรางแรงจูงใจที่ดีใหแกอาจารยมากเทาใด ก็จ ะสามารถนําไปสูก ารสรางผลิต ภัณ ฑทางการศึก ษาที่ดีได รวมถึงภาพลัก ษณ ความพึงพอใจ ความประทับใจ ของนักศึกษาและการยอมรับจากสังคมดวย 6. ดานกระบวนการ (Process) กลยุทธดานกระบวนการ คือ การรับ ผิด ชอบในการสงมอบบริก ารใหมีค วาม ราบรื่น และมีบทบาทในการรักษาระดับมาตรฐานการบริการ รวมถึงการสรางความแตกตางในการ ใหบริก ารจากคู แขง ประกอบด ว ย ขั้น ตอนในการลงทะเบียนเรียน กระบวนการจัด การเรีย น การสอน กระบวนการในการใหบริการและจัดการของทุกสวนงานสนับสนุนวิชาการ คณะวิชา โดยกลยุทธนี้ตองไดรับความรวมมือจาก กลยุทธดานบุคคลและกลยุทธดานการสรางลักษณะทาง กายภาพ ทั้งนี้ กลยุทธดานกระบวนการนี้สามารถที่จะปรับปรุงภาพลักษณของสถาบันอุดมศึกษา และดึงดูดใหนักศึก ษามาสมัค รเรียนได กระบวนการลงทะเบียนเรียนที่ประสบผลสําเร็จนั้นจะ สามารถชวยเตรียมความพรอมใหแกนักศึกษา สามารถที่จะใชประโยชนจากการถายโอนความรูได ซึ่งจะสงผลกระทบตอคุณภาพของผลิตภัณฑในการศึกษา ชวยชะลออัตราการลาออกกลางคัน และ สามารถเขาตลาดแรงงานไดเร็วขึ้น 7. ดานการสรางลักษณะทางกายภาพ (Physical Evidence) กลยุทธดานการสรางลักษณะทางกายภาพนี้ชวยทําหนาที่ในการสื่อสารคุณภาพ และผลประโยชนที่มีเหตุผลดานคุณคา โดยสรางลักษณะทางกายภาพใหแกผลิตภัณฑทางการศึกษา ที่ไมมีตัวตน เชน ในขั้นตอนการลงทะเบียนจะเปนสิ่งที่ชวยสรางความมีตัวตนของความรูที่ไดมา จากการศึกษาใหที่อยูในรูปแบบของการสําเร็จการศึกษา รวมถึงการมีอาคาร สถานที่ที่มีการดูแลให


40

อยูในสภาพที่สวยงาม สะอาดทั้งภายในและภายนอก ตลอดจนการจัดสิ่งอํานวยความสะดวกตางๆ ของสถาบันอุดมศึกษา อาทิ เทคโนโลยีสารสนเทศ หอสมุด อาคาร สนามกีฬา หอพัก ที่สะทอนให เห็นถึงคุณภาพของการบริการซึ่งเปนลักษณะทางกายภาพที่นําไปสูความประทับใจตั้งแตครั้งแรก และเชิญชวนใหนักศึกษาเขามาศึกษา แนวคิดการจัดการอุดมศึกษาในยุคดิจิทลั แผนพัฒนาดิจิทัลเศรษฐกิจและสังคม พ.ศ.2559 (กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม, 2559) กลาววา เทคโนโลยีดิจิทัลเปนเทคโนโลยีที่มีอิทธิพลอยางมากตอการใชชีวิตของประชาชน ทุก คน การดําเนินงานของภาคธุร กิจ ภาครัฐ และภาคประชาสังคมทุกๆ องคก ร ขณะเดียวกัน เทคโนโลยีดิจิทัลเปนเทคโนโลยีที่มีการเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็วอยูตลอดเวลาและยากตอการคาด เดาในระยะยาว ทํ า ให มี ผ ลกระทบต อ การบริห ารขององค ก ร รวมทั้ง การจั ด การศึ ก ษาของ สถาบันอุดมศึกษาดวย ซึ่งตัวอยางการเปลี่ยนแปลงและผลกระทบของเทคโนโลยีดิจิทัล มีดังนี้ 1. การเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี เกิดความเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีแบบ กาวกระโดด โดยเทคโนโลยีดิจิทัลทีจ่ ะ เขามามีบทบาทสําคัญ ไดแก เทคโนโลยีสื่อสารที่ มี ค ว า ม เ ร็ ว แ ล ะ คุ ณ ภ า พ สู ง ม า ก (New communications technology) เ ท ค โ น โ ล ยีอุปกรณเคลื่อนที่เพื่อการเชื่อมตออินเทอรเน็ตแบบ ทุก ที่ทุก เวลา (Mobile/ wearable computing) เทคโนโลยีการประมวลผลแบบคลาวด (Cloud computing) เทคโนโลยีการวิเคราะหขอมูลขนาดใหญ (Big data analytics) เทคโนโลยีการเชื่อมตอ ของสรรพสิ่ง (Internet of things) เทคโนโลยีการพิมพสามมิติ (3D printing) และเทคโนโลยีความ มั่นคงปลอดภัยไซเบอร (Cyber security) โดยมีเทคโนโลยีอื่น เชน หุนยนต (Robotics) หรือ รถยนต อัตโนมัติ (Autonomous car) เปนเรื่องสําคัญในอนาคตระยะยาว 2. การหลอมรวมของกิจกรรม เกิดการหลอมรวมระหวางกิจ กรรมทางเศรษฐกิจ สังคมของโลกออนไลนและ ออฟไลน (Convergence of online and offline activities) โดยที่เทคโนโลยีใ หมหรือการใช เทคโนโลยีเดิมในรูปแบบใหม ทําใหเสนแบงระหวางระบบเศรษฐกิจสังคมของโลกเสมือนและ โลกทางกายภาพเกือบจะเลือนหายไป กิจกรรมที่หลากหลายของประชาชน ธุรกิจ หรือรัฐ จะถูกยาย มาอยูบน ระบบออนไลนมากขึ้น เชน การสื่อสาร การซื้อขาย สินคา การทําธุรกรรมทางการเงิน การเรียนรู การดูแลสุขภาพ การบริการของภาครัฐ ฯลฯ


41

3. ผูบริโภคกลายเปนผูผลิต เกิดแนวโนมการใชเทคโนโลยีดิจิทัล เพื่อใหเกิดการผลิตมากขึ้น (Consumption to production) โดยในอดี ต ที่ ผา นมาสัง คมในระดั บประชาชนยั งใชเ ทคโนโลยี เพื่ อ การสื่ อสาร การ เขาถึงขอมูลขาวสาร หรือกิจกรรมสาระบันเทิง เปนสวนใหญ แตในยุคปจจุบันนั้นจะเปนโลกที่ ประชาชนและผูบริโภคกลายมาเปนผูผลิต โดยใชเทคโนโลยีดิจิทัล เพื่อทําใหเกิดผลผลิต และ รายไดมากขึน้ 4. การแขงขันบนฐานนวัตกรรม เกิด การแขงขัน ที่ อยูบนพื้น ฐานของนวัต กรรมสิน คา และบริก าร ( Innovation economy) โลกยุคดิจิทัล และธุรกิจที่ ไมสามารถใชเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อปรับเปลี่ยน กระบวนการ ทางธุรกิจ สรางมูลคาเพิ่มใหกับ สินคาและบริการเดิมของตนหรือสรางสินคา และบริการใหมๆ ที่ ตอบสนองความตองการของ ตลาด จะอยูอยางลําบาก 5. ยุคของระบบอัจฉริยะ เกิด การใช ระบบอัจ ฉริยะ (Smart everything) มากขึ้น เรื่อยๆ จากนี้ไปจะเปน ยุคของการใชเทคโนโลยีและแอปพลิเคชัน อัจฉริยะตางๆ ในกิจกรรมทางเศรษฐกิจและ สังคมมาก ขึ้นเรื่อยๆ ตั้งแตระดับประชาชน เชน การใชชีวิตประจําวันในบาน การเดินทาง การดูแลสุขภาพ การใชพลังงาน ไปถึงระดับ อุตสาหกรรม เชน การเกษตร การผลิตสินคา ในโรงงาน หรือแมกระทัง่ เรื่องการเฝาระวัง ภัยพิบัติ การดูแลสิ่งแวดลอม และอื่นๆ อีก มากมายในอนาคต 6. การแขงขันดวยขอมูล เกิ ด ข อ มู ล ทั้ งจากผู ใ ช ง าน และจากอุ ปกรณ เ ซ็ น เซอร ต า งๆ จํ า นวนมหาศาล โลกดิจิทัลจึงเปนโลกของการแขงขันดวยขอมูล ซึ่งศักยภาพในดานการวิเคราะหขอมูลขนาดใหญ จะเป น เรื่ องจํ า เป น และเปน พื้ น ฐานสํา หรับ ทุก หน ว ยงานและองคก รทั้ง ภาครัฐและเอกชน นอกจากนี้ ขอมูลสวนบุคคลมีความสําคัญมาก ทั้งในเชิงธุรกิจ และการคุมครองขอมูล สวนบุคคล จะกลายเปนประเด็นสําคัญที่สุดในยุคของขอมูลจํานวนมาก (Big data) 7. การแพรระบาดของภัยไซเบอร เกิดความเสี่ยงดานความปลอดภัยไซเบอรตามมาอีกหลายรูปแบบ เชน การกอกวน สรางความ รําคาญแกผูใชระบบ การเขาถึงขอมูลและระบบโดย ไมไดรับอนุญาต การยับยั้งขอมูล และระบบ การสรางความเสียหายแกร ะบบ การจารกรรมขอมูลบนระบบ คอมพิว เตอร (ขอมูล การคา การเงิน หรือขอมูล สวนตัว)


42

8. การเปลี่ยนโครงสรางกําลังคน เกิดการเปลี่ยนแปลงครั้งใหญในเรื่องของโครงสรางกําลังคนทั้งในเชิงลบและเชิง บวก งานหลายประเภท โดยเฉพาะอยางยิ่งในภาคอุตสาหกรรม โรงงาน และภาคบริการ จะเริ่มถูก ทดแทนดวยเทคโนโลยีดิจิทัลที่สามารถทําไดดีกวาและมีประสิทธิภาพมากกวา (เชน พนักงานขาย ตั๋ว การใชบริการทางการเงิน) ขณะเดียวกันก็จะมีงานรูปแบบใหมที่ตองใชความรูและทักษะสูง เกิด ขึ้น เชน นัก วิทยาศาสตรหรือผูเชี่ยวชาญ ดานขอมูล ผูเชี่ยวชาญดานความมั่น คงปลอดภัย ไซเบอร ผูเชี่ยวชาญดานโซเชียลเน็ตเวิรค นักธุรกิจดิจิทัล ฯลฯ นอกจากนี้จะมีงานบางประเภทที่ อาจตองเปลีย่ นบทบาทไป เชน ครูกลายเปนผูอํานวยการสอนมากกวาผูสอน วิ จิ ต ร ศรี ส ะอ า น (2559) กล า วถึ ง การบริ ห ารงานอุ ด มศึ ก ษาในยุ ค ดิ จิ ทั ล ว า สถาบั น อุดมศึกษาแตละแหงควรมีเทคนิคและวิธีการใหมๆในการดําเนินการประกอบไปดวย 1. องคการแหงการเรียนรู (Learning organization) หรือ หมายถึง องคการซึ่ง บุค คลเรียนรูอยางตอเนื่องดว ยกันทั้งองคก ร โดยมีประเด็น ที่สําคัญตองมีพิจ ารณา (The fifth discipline) ไดแก การเรียนรูของสมาชิกในองคการ (Personal mastery) ความมีสติ (Mental model) การมีวิสัยทัศนรวม (Shared vision) การเรียนรูเปนทีม (Team learning) และระบบการคิดของคนใน องคการ (System thinking) 2. การจัดการความรู (Knowledge management) หมายถึง การรวบรวมองค ความรูที่มีอยูในองคการซึ่งกระจัดกระจายอยูในตัวบุคคลหรือเอกสารมาพัฒนาใหเปนระบบเพื่อให ทุ ก คนในองค ก ารเข า ถึ ง ความรู แ ละพั ฒ นาตนเองให ส ามารถนาความรู สู ก ารปฏิ บั ติ อ ย า งมี ประสิทธิภาพ ทั้ง (1) ความรูที่ฝงในตัวตน (Tacit knowledge) และ (2) ความรูที่ชัดแจง (Explicit knowledge) 3. การเรียนการสอนดวยสื่ออิเล็กทรอนิกสผานระบบเครือขายอินเทอรเน็ต (E-

Learning) การศึกษาทางไกลแบบออนไลน 4. การวัดผลงานเชิงดุลยภาพ (Balanced scorecard) เปนเครื่องมือทางการ บริ ห ารสมั ย ใหม ที่ ใ ช ส าหรั บ การบริ ห ารผลการปฏิ บั ติ ง าน (Performance management) ประกอบดวยปจจัยหลัก 4 ดาน ดานการเงิน ดานลูกคา ดานกระบวนการภายใน ดานการเรียนรูแ ละ การพัฒนา


43

5. ธรรมาภิบาล (Good governance) ตองมีการบริหารจัดการที่ดี โดยยึดหลัก สําคัญ 6 ประการ ไดแก นิติธรรม คุณธรรม ความโปรงใส การมีสวนรวม ความรับผิดชอบ และ ความคุมคา 6. สํานักงานอัตโนมัติ (Office automation:OA) เปนการประยุกตใชเทคโนโลยี คอมพิวเตอร เทคโนโลยีโทรคมนาคม และอุปกรณสานักงานตางๆ เชื่อมโยงกันดวยระบบสื่อสาร ขอมูลโดยอัตโนมัติ โดยหลีกเลี่ยงการปฏิบัติดวยมือ (Manual) ใหมากที่สุด เพื่อใหผูปฏิบัติงานใน สานักงานสามารถทางานรวมกันไดอยางรวดเร็วและสะดวกสบาย ทั้งในดานการผลิต การสืบคน เอกสาร การประมวลผลขอมูล การติดตอสื่อสารทั้งภายในและภายนอกสํานักงาน การนัดหมาย การประชุมและการตัดสินใจ ซึ่งการดําเนินการดังกลาวจะชวยใหเพิ่มประสิทธิภาพ (Efficiency) ลดระยะเวลา (Reduce time) และประหยัดคาใชจาย (Reduce cost) 7. การวิจัยและพัฒนา (Research and development : R&D) เนนการทําวิจัยที่ มุงเนนการนาผลไปใชประโยชนไดโดยตรงเพื่อตอบสนองความตองการขององคก ารดานการ แกปญหา และการสรางนวัตกรรม เศรษฐพงค มะลิสุวรรณ. (2559). กลาวไวในบทความ เรื่อง การปฏิรูปการใหบริการลูกคา ดวยนวัตกรรมดิจิทัลในยุคไทยแลนด 4.0 ไดอธิบายถึงบทบาทของเทคโนโลยีดิจิทัล ทีม่ ีอิทธิพลตอ องคกรและการใหบริการลูกคา ดังนี้ 1. เทคโนโลยีดิจิทัล ทําใหรูปแบบธุรกิจที่มีอยูเกิดความตอเนื่องมากขึ้น หรือเกิด เปนธุรกิจรูปแบบใหม (New business model) และทําใหธุรกิจที่แตกตางกันสามารถเชื่อมถึงกันได หมด ทํ าใหเ กิด ผลิ ต ภั ณ ฑ ใ หม การให บริ ก ารใหม หรื อประสบการณ ใ หมๆ ด านขอ มูล และ เทคโนโลยีที่สามารถตอบสนองการสื่อสารสองทางและการตอบสนองทันที (Real time) ใหแก ลูกคาไดอยางมีประสิทธิภาพ 2. นวัตกรรมดานดิจิทัลจะทําใหองคกรสามารถลดตนทุนในการใหบริการลูกคา และในขณะเดียวกันสามารถเพิ่มความพึงพอใจของลูกคา รวมทั้งทําใหองคกรสามารถรักษาลูกคา เดิมไวได โดยนวัตกรรมดานดิจิทัล ดังนั้น องคกรจึงมีความความจําเปนที่จะตองพัฒนากลยุทธ ขององคกรเพื่อใหสามารถรักษาตําแหนงทางการตลาดไวได 3. อุปสรรคขององคกรในการนํานวัตกรรมดานดิจิทัลมาใช เกิ ดจากหลายปจจัย เชน การมี ชองทางการจัด จําหนายที่หลากหลายและเทคโนโลยีแบบดั้งเดิม ทําให ยากตอการ ดําเนินงาน และสงผลกระทบตอความรวดเร็วในการนํากลยุทธใหมๆมาปรับใช เพราะเทคโนโลยี เกาที่ใชอยู รวมทั้งบุคลากรไมพรอมที่จะรับกับการเปลี่ยนแปลงในการทํางานรูปแบบใหม


44

4. ประสบการณเกี่ยวกับการใชนวัตกรรมดิจิทัลที่แตกตางกันของลูกคา เปนปจจัย สําคัญทีอ่ งคกรจะตองใหความสําคัญ ลูกคาที่มีการใชงานออนไลนเปนประจํา สามารถติดตอกับ ฝายลูกคาสัมพันธทางชองทางออนไลน (เว็บไซต โทรศัพทเคลื่อนที่ เปนตน) ไดดวยตนเอง ซึ่ง ลูก คาเหลานี้มีความคาดหวังวาผูใ หบริก าร สามารถที่จะตอบคําถามลูก คาไดอยางชัด เจนและมี ประสิทธิภาพ หากผูใหบริการประสบความลมเหลวในการใหบริการออนไลนแกลูกคา ไมสามารถ ตอบคําถามลูกคา หรือลูกคาอาจรูสึกถึงความยุงยากซับซอนในการดําเนินการ จะสงผลใหลูกคาไม ตองการใชบริการผานชองทางออนไลน และเปลี่ยนไปใชชองทางอื่นแทน ทําใหผูใหบริการมี ตนทุนที่สูงขึ้น อยางเชน ชองทางโทรศัพท หรือการอีเมลไปยังศูนยรับแจง 5. การนํานวัตกรรมดิจิทัลมาใชในการปฏิสัมพันธกับลูกคานั้น เครื่องมือดิจิทัลที่ ไดรบั การออกแบบมาเพือ่ ตอบสนองลูกคาตองยึดลูกคาเปนศูนยกลาง และมีคุณลักษณะที่สําคัญ คือ 5.1 สามารถที่จะอธิบายถึงสิทธิประโยชนของผลิตภัณฑและบริการที่มี ความซับซอน ใหลูกคาเขาใจไดงายขึ้น 5.2 สามารถปรับปรุงกระบวนการใหบริการหรือการจัดจําหนายสินคา มี ความกระชับมากขึ้น 5.3 สามารถทําใหการดําเนินการทางธุรกิจมีความรวดเร็วมากขึ้น ชวยลด คาใชจาย และมีความผิดพลาดนอยลง ทั้งนี้ แนวทางในการออกแบบนวัตกรรมดิจิทัล เพื่อใหสามารถตอบสนองความ ตองการของลูก คาหรือผูใ ชบริก ารที่นิยมคือ การออกแบบผานสวนติดตอระหวางผูใชกับระบบ (User interfaces) ที่ถูกออกแบบมาใหสามารถปรับเปลี่ยนขนาดไดตามรูปแบบของหนาจออุปกรณ ที่ใช ถือเปนการเพิ่มประสิทธิภาพของประสบการณของผูใชงานผานอุปกรณที่หลากหลาย รวมทั้ง การใหค วามสําคัญตอเนื้อหาและบริก ารที่เกี่ยวของกับลูก คา กรณีตัว อยางในธุร กิจ ประกัน ภัย ผูใชงานสามารถดูคาใชจายหรือคาเบี้ยประกัน ผานสมารทโฟน หรือสามารถดูขอมู ลดังกลาวใน เครื่องคอมพิวเตอรได รวมทั้งมี การปรับปรุงเนื้อหาใหทันสมัยที่สามารถจูงใจใหลูกคาเขามาชม เว็บไซตเพิ่มมากขึ้น ซึ่งถือไดวา เปนการเปลี่ยนแปลงเพื่อใหเกิดความสามารถในการตอบสนอง ลูกคามากขึ้นดวย โมฮาเหม็ด (Mohammed, 2016) ไดวิเคราะหวา เทคโนโลยีดิจิทัลมีบทบาทในทุกวงการ รวมทั้งการศึก ษา ซึ่งมีแนวโนมที่จ ะเพิ่มบทบาทมากขึ้น ในอนาคต เนื่องจากเทคโนโลยีมีก าร เปลี่ยนแปลงที่รวดเร็ว สถาบันการศึกษาแตละแหงจึงตองปรับตัวตาม เทคโนโลยีสมัยใหมที่จะเขา มามีบทบาทตอการจัดการศึกษาในอนาคต ไดแก


45

1. การประมวลผล จัดเก็บขอมูลการเรียนรูออนไลน (Cloud mobile learning) เปนรูปแบบการใหบริการในลักษณะการแบงปนทรัพยากร แอปพลิเคชัน และ/ หรือขอมูลตางๆ โดยขอมูลตางๆ จะถูกเก็บไวบนเครื่องเซิรฟเวอร (Server) ขนาดใหญ ผูใชสามารถเชื่อมตอกับ ระบบคลาวด (Cloud)ไดผานทาง เชน เครื่องคอมพิวเตอรสวนบุคคล (Personnel computer : PC) เครื่องคอมพิวเตอรแบบพกพา (Notebook) โทรศัพทแบบพกพา (Mobile phone) แท็บเล็ต (Tablet) ที่สามารถเชื่อมตอกับอินเทอรเน็ตได เปนระบบที่ครอบคลุมถึงการใหใชกําลังประมวลผล หนวย จัดเก็บขอมูล และระบบออนไลนตางๆจากผูใหบริการ เพื่อลดความยุงยากในการติดตั้งดูแลระบบ ชวยประหยัดเวลา และลดตนทุนในการสรางระบบคอมพิวเตอรและเครือขายเอง ปจจุบันมีการใช คลาวดในการจัดการเรียนการสอนเพิ่มมากขึน้ เนื่องจากความกาวหนาทางดานเทคโนโลยี ตัวอยาง ที่นํามาใชในการเรียนการสอน เชน จีเมล (Gmail) ฮอตเมล (Hotmail) หรือยาฮูเมล (Yahoo mail) เวิรก เพรสดอทคอม (Wordpress.com) สไลดแชรด อทเน็ต (Slideshare.net) ยูทูป (Youtube) กูเกิลดอท (Google Docs) เฟสบุก (Facebook) วีกิ (Wiki) หรือกูเกิลกรุป (Google group) เปนตน 2. การนําเสนอหรือ ระบบการประชุมแบบเสมือ นจริง (Telepresence) เปน เทคนิคการสรางภาพวัตถุตางๆจากระยะไกลดวยเทคโนโลยีมัลติมีเดีย ทั้งดานภาพ เสียงและการ สัมผัสมีลักษณะเปนแบบใหความเสมือนจริง (Real-time) สูงทั้งภาพและเสียง (จะรูสึกวาฝงตรงขาม นั่งอยูภายในหองเดียวกับเรา) สามารถประยุกตไดในหลายวงการ เชน การจัดการเรียนการสอน การแพทย การทหาร การสื่อสาร ฯลฯ 3. การเรียนรูผานโทรศัพทเคลื่อนที่ (Mobile learning) เปนการพัฒนาระบบที่ ชวยใหผเู รียนสามารถที่จะศึกษาบทเรียนบนโทรศัพทแบบพกพาและเขาถึงไดตลอดเวลาทุกที่ เปน การจัด การเรียนการสอนหรือบทเรียนสําเร็จ รูป (Instruction package) ที่นําเสนอเนื้อหาและ กิจกรรมการเรียนการสอนผานเทคโนโลยีไรสาย (Wireless telecommunication network) และ เทคโนโลยีอิน เทอรเน็ต ผู เรียนสามารถเรียนไดทุก ที่ และทุก เวลา โดยไมตองเชื่อมตอโดยใช สายสัญญาณ ผูเรียนและผูสอนใชเครื่องมือสําคัญ คือ อุปกรณประเภทเคลื่อนที่ไดโดยสะดวกและ สามารถเชื่อมตอเครือขายคอมพิวเตอรโดยไมตองใชสายสัญญาณแบบเวลาจริง ไดแก คอมพิวเตอร แบบพกพา) แท็บเล็ต พีซี (Tablet PC) คอลโฟน (Cell Phones) ในการจัด กิจกรรมการเรียน การสอน 4. ตํ าราอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส (E-books) เป น หนั งสื อ ที่ ส ร างขึ้ น ด ว ยโปรแกรม คอมพิว เตอร มีลักษณะเปนเอกสารอิเล็กทรอนิกส โดยปกติมักจะเปนแฟมขอมูลที่สามารถอาน เอกสารผานทางหนาจอคอมพิวเตอร ทั้งในระบบออฟไลน และออนไลน คุณลักษณะของหนังสือ อิเ ล็ก ทรอนิ ก ส สามารถเชื่ อมโยงจุ ด ไปยั งส ว นตา ง ๆ ของหนัง สือ เว็บ ไซตต างๆ ตลอดจนมี


46

ปฏิสัมพันธและโตตอบกับผูเรียนได นอกจากนั้นหนังสืออิเล็กทรอนิกสสามารถแทรกภาพ เสียง ภาพเคลื่อนไหว แบบทดสอบ และสามารถสั่งพิมพเอกสารที่ตองการออกทางเครื่องพิมพได อีก ประการหนึ่งที่สําคัญก็คือ หนังสืออิเล็กทรอนิกสสามารถปรับปรุงใหทัน สมัยไดต ลอดเวลา ซึ่ง คุณสมบัติเหลานี้จะไมมีในหนังสือธรรมดาทั่วไป 5. การเรียนรูแบบเสมือนจริง (Augmented reality หรือ AR) เปนเทคโนโลยี สมัยใหม ทีผ่ สมผสานเอาโลกแหงความเปนจริง (Real) เขากับโลกเสมือน (Virtual) โดยผานทาง อุปกรณเวปแคม (Webcam) กลองมือถือ คอมพิวเตอร รวมกับการใชซอฟแวร (Software) ตางๆ ซึง่ จะทําใหภาพที่เห็นในจอภาพปรากฏเปนวัตถุ (Object) 3 มิติ โดยมีมุมมอง 360 องศา ลอยอยูเหนือ พื้นผิวจริง 6. การเรี ย นรู ที่ รั บ คํ า สั่ ง จากการเคลื่ อ นไหว (Gesture-based learning) เทคโนโลยีที่รับคําสั่งจากความเคลื่อนไหวของรางกายมนุษ ยซึ่งสามารถมี ปฏิสัมพัน ธกับ ระบบ ดิจิตอลโดยไมตองใชอุปกรณปอนขอมูลทั่วไป เชน คียบอรด เมาส ควบคุมเกม หรือเสียงรายการ กลไก แตสามารถใชทาทางการขยับมือ ผานอุปกรณลิฟโมชัน (Leap motion) ที่เปนอุปกรณใ ช ควบคุมคอมพิวเตอรผานการทํางานบนเทคโนโลยีโมชันเซนเซอร (Motion sensor) หรือเซนเซอร จับการเคลื่อนไหว ที่จะแปลงสัญญาณความเคลื่อนไหวบนอากาศใหก ลายเปนคําสั่งที่สงต อไป ควบคุม การทํางานของแอพพลิเคชั่นในคอมพิวเตอรซึ่งมีความแมนยํา 7. การวิเคราะหขอมูลภาพ (Visual data analysis) เปนการสื่อสารกันระหวาง ผูเชี่ยวชาญหรือนักวิเคราะหขอมูลมืออาชีพและผูใชงานทั่วไป ในระบบออนไลน ซึ่งจะปรากฏขึ้น ผานการนําเสนอขอมูลแบบเห็นภาพ (Visualize) เปนแผนภูมิหรือแผนภาพ เพื่อตอบโจทยปญหา หรือวิเคราะหขอมูลและสถานการณตางๆ 8. ระบบการตอบสนองของผูเรียน (Student response systems) เปนอุปกรณ สําหรับ ผูเรียนใชสําหรับถาม-ตอบ ระหวางการเรียนหรือการบรรยาย ผานระบบการสื่อสาร ตอบสนองผานระบบไรสายระหวางผูสอนและผูเรียน หรือทีเ่ รียกวา "Clicker" ระบบสําหรับโหวต เพื่อ แสดงความคิดเห็นรวมกับ การนําเสนอขอมูลระหวางการจัดการเรียนการสอน ซึ่งจะชวยให ผูเรียนมีความตื่นตัวและ สนุกกับการโตตอบกับผูสอนในหองเรียน 9. คลังบันทึกระบบการเรียนการสอนออนไลน (Learning record stores : e –

lecture recording) เปนระบบบันทึกการจัดการเรียนการสอนออนไลนที่ทําใหนักศึกษาสามารถ เรียนรูและทบทวนบทเรียนการเรียนการสอนไดอยางไมจํากัด โดยจะมีการระบบบันทึกการเรียน การสอนในหองเรียน อัตโนมัติผานระบบเครือขาย อินเทอรเน็ต สามารถแสดงรายละเอียดขอมูล


47

Powerpoint พรอมกับการเรียนการสอน นักศึกษาสามารถรับชมรายวิชาตาง ๆ หลังจากไดบันทึก การเรียนการสอนเสร็จแลว ทําใหสถาบันการศึกษามีระบบจัดเก็บและบันทึก การเรียนรู ขอมูล ประวัติของการจัดการเรียนการสอนใหเปนหมวดหมู หรือจําแนกตามแตละระเบียน สามารถจํากัด ผูเขาถึงขอมูล และเขียนบันทึกการเรียนรู นับเปนเครื่องมือที่ใชในการรายงานที่มีความแมนยํา เกี่ยวกับผูเรียน รวมทั้งยังสามารถแบงปนขอมูลระหวางกันเพื่อใหผูเรียน ผูสอนและสามารถถาย โอนขอมูลเพื่อรายงานสรุปใหแกหนวยงานหรือองคกร 10. การเรียนรูผานเกมส (Game based learning) เปนนวัตกรรมสื่อการเรียนรู รูปแบบใหมที่ออกแบบและสอดแทรกเนื้อหาบทเรียนลงไปในเกมใหผูเรียนมีสวนรว มในการ เรียนรูลงมือเลนและฝก ปฏิบัติในการเรียนรูดว ยตนเอง โดยในขณะที่ลงมือเลน ผูเรียนจะไดรับ ทักษะ ควบคูไปกับความรูจากเนื้อหาบทเรียนไปดวยขณะเลนกัน ซึ่งเกมมักมีสถานการณจําลอง เพื่อดึงดูดความสนใจของผูเรียน เพื่อใหผูเรียนมีความรูสึกทาทายและกระตุนการมีสวนรวมที่จะ เลนตามองคประกอบของเกม 11. แอปพลิเคชัน (Application) หมายถึง โปรแกรมที่อํานวยความสะดวกใน ดานตางๆ ซึ่งออกแบบมาสําหรับโมบาย (Mobile) แท็บเล็ต (Teblet) หรืออุปกรณเคลื่อนที่ ซึ่งในแตละระบบปฏิบัติการจะมีผูพัฒนาแอพพลิเคชั่นขึ้นมาในหลายลักษณะเพื่อใหตรงกับความ ตองการของผูใชงาน ซึ่งมีการใหบริการแบบไมเสียคาใชจายและเสียคาใชจาย ทั้งในดานการศึกษา ดานการสื่อสาร หรือแมแตดานความบันเทิงตางๆ เปน ตน โมบายแอปพลิเคชัน แบงออกเปน 3 ประเภท คื อ เนทีฟ แอปพลิ เคชั น (Native application) ไฮบริ ค แอปพลิเ คชั น (Hybrid

application) และเวปแอปพลิเคชัน (Web application) สถาบันอุดมศึกษาหลายแหงจึงมีความพยายามในการนําเอานวัตกรรมดิจิทัลมาประยุกตใน การจัดการเรียนการสอนและการใหบริการแกนักศึกษา ดังที่ปรากฏในผลการวิจัยหลายเรื่อง อาทิ ปาริชาติ ปาละนันทน (2554) ศึกษาความเปนไปไดในการจัดการเรียนการสอน โดยใชเทคโนโลยี แบบเคลื่อนที่ในสถาบันอุดมศึกษา ที่วิเคราะหตามกรอบความเปนไปได 5 ดาน (TELOS) พบวา 1. ดานเทคนิคและระบบ (Technology and System : T) สถาบันอุดมศึกษาไดมีการพัฒนา ระบบและ/หรือสื่อการสอนสําหรับการจัดการเรียนการสอนโดยใชเทคโนโลยีแบบเคลื่อนที่ใน 4 แบบ ไดแก 1) การพัฒนาระบบและสื่อการสอนดวยซอฟตแวรระบบ (Software-based system) ใน ลักษณะของการบันทึกการสอน (Classroom record/VDO Capture) 2) การพัฒนาระบบและสื่อการ สอนดวยอุปกรณฮ ารด แวรและซอฟตแวรร ะบบ (Hardware-based system) ในลัก ษณะของการ


48

บันทึกการสอนแบบเบ็ดเสร็จ (All in one recording) 3) กระบวนการพัฒนาสื่อการสอนจากการใช โปรแกรมซอฟตแวรสําเร็จรูปตางๆมาบูรณาการเขาดวยกัน (Package software-based process) 4) การพัฒ นาระบบและสื่อการสอนดว ยการพัฒ นาระบบโปรแกรมประยุก ต (Application-based system) ในลักษณะของแอพพลิคเคชั่นบนอุปกรณโมบายดิวาย (Mobile device) 2. ดา นเศรษฐศาสตร (Economics : E) มีก ารพิ จ ารณาการจัด สรรงบประมาณจาก ผลประโยชนใ นรูปแบบของผลประโยชนที่มองไมเห็น หรือไมอยูใ นรูปของตัวเงิน (Intangible benefits) มากที่สุด ไดแก การเพิ่มชองทางการเรียนรูใหกับนักศึกษา การสงเสริมใหนักศึกษาเกิด การเรียนรูนอกหองเรียน การสงเสริมทักษะการใชเทคโนโลยีก ารเรียนรู การขยายโอกาสทาง การศึกษา และการพัฒนาการเรียนรูดวยตนเองของนักศึกษา 3. ดานกฎหมาย (Legal : L) พบวา การจัดการเรียนการสอนโดยการใชเทคโนโลยีแบบ เคลื่อนที่ในรูปแบบสนับสนุนหรือเปนสื่อเสริม สถาบันอุดมศึกษาไมตองมีการจัดทําเปนหลักสูตร และการขออนุมัติจากสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา 4. ดานการปฏิบัติงาน (Operation : O) พบวา มีหนวยงานและบุคลากรที่ดูแลรับผิดชอบ การผลิตสื่อการสอน และระบบการบริหารการจัดการเรียนการสอน (Learning Management System) สํ าหรับการพัฒนาระบบการจัด การเรี ยนการสอนโดยการใชเ ทคโนโลยีแ บบเคลื่ อนที่ โดยเฉพาะ 5. ดานตารางเวลา (Schedule : S) พบวา มีการใชระยะเวลาในการพัฒนาระบบ ตั้งแตการ จัดทําโครงการ วางแผนปฏิบัติงาน การจัดสรรและติดตั้งอุปกรณฮารด แวร และซอฟตแวร การ ทดสอบระบบ การอบรมบุคลากรทีเ่ กี่ยวของ จนสามารถใชงานไดจริง ตามวัตถุประสงคที่กําหนด ไวใชระยะเวลาประมาณการที่ 7-12 เดือน มารุต คลองแคลว (2557) ศึกษาปจจัยที่สงผลตอความตองการเรียนผานโทรศัพทเคลื่อนที่ ของนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา บัณฑิตวิทยาลัยการศึกษาอิเล็กทรอนิกส มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ พบวา 1) ความตองการการเรียนผานโทรศัพทเคลื่ อนที่ ข องนัก ศึก ษาภาพรวมอยูในระดับมาก โดยประเด็น ที่มีคาเฉลี่ ยสูงสุด คือ ดานการใหบริการนัก ศึก ษา รองลงมา คือ ดานสื่ อเพิ่มเติม ดานการติดตอสื่อสารระหวางผูเรียนกับผูสอน ดานเนื้อหา ดานการเขาถึงเว็บไซต และดานการ ติดตอสือ่ สารระหวางผูเรียนกับผูเรียน 2)ปจจัยดานการใชโทรศัพทเคลือ่ นที่ ไดแก ระบบปฏิบัติการ ของโทรศัพทวินโดวโมบาย (Windows mobile) และขนาดหนาจอที่ใช 6 นิ้ว มีความสัมพันธกับ ความตองการการเรียนผานโทรศัพทเคลือ่ นทีข่ องนักศึกษา ปจจัยดานการใชอินเตอรเพือ่ การศึกษามี ความสัมพัน ธทางบวกในระดับปานกลางกับความตองการการเรียนผานโทรศัพทเคลื่ อนที่ ของ นักศึกษา ปจจัยดานเทคโนโลยีของมหาวิทยาลัยมีความสัมพันธทางบวกในระดับปานกลางกับ


49

ความตองการการเรียนผานโทรศัพทเคลื่อนทีของนักศึกษา และ 3) ปจจัยที่มีผลตอความตองการ การเรียนผานโทรศัพทเคลื่ อนที่ ข องนัก ศึก ษา คือ ปจ จัยดานลัก ษณะการใชอิน เทอรเน็ต เพื่ อ การศึก ษาของนั ก ศึ ก ษา ดา นพฤติ ก รรมการใช อิน เทอร เน็ ต , ความต องการใชอิ น เทอรเ น็ต , สภาพแวดลอมในการใชอินเทอรเน็ต และปจจัยดานความพรอมทางเทคโนโลยีของมหาวิทยาลัย การใหบริการของสวนงานบริการดานหนา มหาวิทยาลัยคริสเตียน ปจจุบันมหาวิทยาลัยคริสเตียนแบงโครงสรางการบริหารงานออกเปน 2 ฝายหลักในการ ใหบริการแกนักศึกษา ไดแก ฝายวิชาการ ซึ่งประกอบไปดวยคณะวิชาตางๆ ไดแก บัณฑิตวิทยาลัย คณะพยาบาลศาสตร คณะวิทยาศาสตรสุขภาพ คณะสหวิทยาการ และสถาบันกรุงเทพคริสตศาสน ศาสตร มีบทบาทหนาที่ในการดําเนินพันธกิจอุดมศึกษา ประกอบดวย การผลิตบัณฑิต การจัดการ เรียนการสอน การทําวิจัย การใหบริการแกสังคม และการทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรม ฝายที่สอง คือ ฝายสนับสนุนวิชาการ มีบทบาทหนาที่ในการสนับสนุนการดําเนินงานทาง วิชาการแกคณะวิชา นักศึกษา อาจารย รวมทั้งสนับสนุนการดําเนินพันธกิจอุดมศึกษาในทุกดาน ของมหาวิทยาลัยคริสเตียน มหาวิทยาลัยฯ แบงการบริหารงานฝายสนับสนุนวิชาการออกเปน 4 ฝายหลัก ไดแก 1. ฝายวิชาการและฝายวิจัย ประกอบดวย 1.1 ฝายวิชาการ 1.2 ฝายวิจัยและวัฒนธรรม 1.3 สํานักประกันคุณภาพการศึกษา 1.4 ศูนยวิทยบริการและหอสมุด 2. ฝายพัฒนานักศึกษา ประกอบดวย 2.1 กลุมงานศาสนกิจ 2.2 กลุมงานกิจกรรมนักศึกษาและหอพัก 2.3 งานสงเสริมสุขภาพและบริการอาหาร 2.4 งานกีฬาและนันทนาการ 3. ฝายบริหารและการตางประเทศ ประกอบดวย 3.1 ฝายบริหารทั่วไป ประกอบดวย 3.1.1 ศูนยศึกษาสยามคอมเพล็กซ 3.1.2 สํานักบริหารบุคลากร 3.1.3 กลุมงานตางประเทศ


50

3.1.4 งานแผน 3.1.5 งานบริหารทั่วไป 3.2 ฝายบริหารดานการเงิน ประกอบไปดวย 3.2.1 กลุมงานงบประมาณ 3.2.2 กลุมงานการเงินและบัญชี 3.3 กลุมงานตรวจสอบภายใน 4. ฝายบริหารทรัพยสินและสื่อสารองคกร ประกอบดวย 4.1 ฝายบริหารทรัพยสิน ประกอบดวย 4.1.1 สํานักการพัสดุ 4.1.2 สํานักโสตทัศนูปกรณและบริการ 4.1.3 กลุมงานบริการยานพาหนะ 4.1.4 กลุมงานรักษาความปลอดภัย 4.2 ฝายสื่อสารองคกร ประกอบดวย 4.2.1 ฝายสื่อสารองคกร 4.2.1 สํานักบริการดิจิทัลเพื่อการศึกษา สําหรับสวนงานการใหบริการดานหนาของมหาวิทยาลัยฯ ประกอบดวยสวนงานในสังกัด จาก ฝายสนับสนุนวิชาการหลายสวนงานที่มีบทบาทในการใหบริการดานหนาโดยตรงแกนักศึกษา และบุคลากร รวมทั้งประชาชนผูมาติดตอภายนอก สามารถพิจารณาจากภารกิจของสวนงาน และ ความถี่ในการมาใชบริการ ซึ่งในการศึกษาวิจัยครั้งนี้ไดแบงสวนงานใหบริการดานหนาออกเปน 5 ดานหลัก ดังนี้ 1. การใหบ ริก ารดา นวิ ชาการ เป น การให บริ ก ารแกนั ก ศึ ก ษาและบุค ลากรที่ เชื่อมโยงกับการจัดการเรียนการสอน ซึ่งมีสวนงานหลักที่เกี่ยวของไดแก ฝายวิชาการ ฝายสื่อสาร องคกรโดยครอบคลุมการใหบริการตั้งแตการใหบริการแนะแนวการศึกษาตอ ศูนยใหบริการขอมูล การรับสมัครนักศึกษา การรับสมัครนักศึกษา การลงทะเบียนเรียน การตรวจสอบรายวิชาที่เปดสอน การจัดทําตารางสอนและตารางสอบ การสอบวัดความรู การประมวลผลการศึกษา การขออนุมัติ การสําเร็จการศึกษา การตรวจสอบคุณวุฒิ การใหคําปรึกษาของอาจารยที่ปรึกษา การผลิตขอสอบ การใหบริการดานงานพิมพประเภทตางๆ เปนตน รวมไปถึงการใหบริการดานทรัพยากรสารนิเทศ ในศูนยวิทยบริการและหอสมุด เชน การใหบริการสืบคนสารนิเทศ ประเภทตางๆ การสํารวจความ ตองการใชทรัพยากรสารนิเทศ สื่ออิเล็กทรอนิกส ฐานขอมูลออนไลน และหนังสืออิเล็คทรอนิค


51

(e-book) เพื่อการคนควา การจัดหาทรัพยากรสารนิเทศ การสงเสริมการใชบริการสารนิเทศเพื่อใช สนับสนุนการจัดการเรียนการสอน เปนตน 2. การใหบริการดานพัฒนานักศึกษา เปนการใหบริการแกนักศึกษาที่เกี่ยวของกับ การมุงเนนใหนักศึกษาไดมีสวนรวมในโครงการและกิจกรรมพัฒนานักศึกษาของมหาวิทยาลัยฯ ดานการใชชีวิตในมหาวิทยาลัยฯ และการอํานวยความสะดวกใหแกนักศึกษาในดานตางๆ เชน การสนับสนุนการจัดโครงการและกิจกรรมนัก ศึกษาของสภานัก ศึกษา สโมสร ชมรมนักศึกษา การใหบริการดานการกูยืมเงินเพื่อการศึกษา การใหบริการหอพัก การใหบริการแนะแนวและเขาสู อาชีพ การใหบริการหารายไดระหวางเรียน การประชาสัมพันธขอมูลขาวสารโครงการ กิจกรรม และข อ มูล ที่ เ ป น ประโยชน ผ า นสื่ อ ต า งๆ การให บ ริ ก ารด า นสวั ส ดิ ก าร สงเคราะหนั ก ศึ ก ษา การใหบริการเกี่ยวกับการรักษาพยาบาลเบื้องตน การประกันสุขภาพและอุบัติเหตุ การสงเสริม สุขภาพในมิติตางๆใหแกนักศึกษา การใหบริการศูนยอาหาร และการดําเนินการศึกษาวิชาทหาร ของนักศึกษา เปนตน โดยสวนงานหลักของมหาวิทยาลัยฯที่เกี่ยวของ ไดแก ฝา ยพัฒนานักศึกษา ศูนยวัฒนธรรมฯ กลุมงานศาสนกิจ งานกีฬา เปนตน 3. การใหบริ การดานเทคโนโลยี เปนการใหบริการแกนัก ศึก ษาที่เกี่ยวของกับ เทคโนโลยีสารสนเทศการสื่อสาร เพื่อสนับสนุน การจัด การเรียนการสอนใหแกนัก ศึก ษาและ อาจารย เชน การจัด อบรมใหค วามรูดานการใชเทคโนโลยีสารสนเทศของมหาวิทยาลัยฯ การ สนับสนุนการจัดทําสื่อดิจิทัล การจัดการเรียนการสอนผานสื่ออิเล็กทรอนิกสสําหรับรายวิชาใหแก อาจารยผูสอน การใหบริการทําสัญญาเชาซื้อเครื่องคอมพิวเตอรโนตบุค การใหบริการตรวจสภาพ และบํารุงดูแลเครื่องคอมพิวเตอรโนตบุคและเครื่องคอมพิวเตอรในหองปฏิบัติการ หรือสํานักงาน ใหอยูใ นสภาพพรอมใชงาน การให บริก ารอิน ทราเน็ ต การพัฒ นาระบบการลงทะเบียนเรีย น ออนไลน การปรับปรุ งเว็ปไซตข องมหาวิทยาลัยฯ คณะวิชาและฝา ยสนับสนุ น วิชาการ การ ใหบริการยืมคืนทรัพยากรสารนิเทศแบบอัตโนมัติ รวมไปถึงการพัฒนาโปแกรมระบบสารสนเทศ ดานการบริหารจัดการและการตัดสินใจดานตางๆ เชน การเงิน บัญชี งบประมาณ พัสดุ เปนตน เพื่ ออํ า นวยความสะดวกให แก ผูบ ริ หารและบุค ลากรในการบริ ก าร โดยสว นงานหลั ก ของ มหาวิทยาลัยฯที่เกี่ยวของ ไดแก สํานักบริการดิจิทัลเพื่อการศึกษา ศูนยวิทยบริการและหอสมุด ฝายบริหารทรัพยสิน เปนตน 4. การใหบริการดานเงิน เปน การใหบริการที่เกี่ยวกับการชําระเงินและจายเงิน สามารถแบงไดตามลักษณะกลุมผูมาใชบริการ ไดแก นักศึกษา ซึ่งสวนใหญจะเกี่ยวของกับการ ชําระเงิน เชน การรับเงิน คาลงทะเบียนเรียน คาบํารุงหอพักนักศึกษา คาธรรมเนียมตางๆ คา กิจกรรมพัฒนานักศึกษา เปนตน หรือการจายเงินคืนประกันของเสียหาย เงินมัดจํา และสวนที่เปน


52

การใหบริการชําระเงินและการจายเงินที่เกี่ยวของกับอาจารยและพนักงาน เชน การเบิกคาใชจาย การจัดโครงการและกิจกรรมของคณะวิชาและฝายสนับสนุนวิชาการ การเบิกคาสอนของอาจารย คาสมนาคุณแหลงฝกปฏิบัติ การเบิกคาใชจายทั่วไป เปนตน ซึ่งจะมีการจายเงินในรูปแบบเงินสด เช็ค และการโอนเงิน รวมทั้งตรวจสอบการเคลียรคาใชจายจาการจัด โครงการและกิจ กรรม คาใชจายจากการเบิกเงินเพื่อไปใชตามวัตถุประสงคตางๆของคณะวิชาและฝายสนับสนุนวิชาการ โดยสวนงานหลักของมหาวิทยาลัยฯที่เกี่ยวของ ไดแก ฝายบริหารดานการเงิน 5. การใหบริการดานสิ่งอํานวยความสะดวก เปนการใหบริการแกนักศึกษาและ บุคลากรที่อยูนอกเหนือการใหบริการดานตางๆที่กลาวมาขางตน ไดแก การใหบริการทางกายภาพ เชน การใหบริการดานสาธารณู ปโภค ไฟฟา น้ําประปา การใหบริการหองประชุม สนามกีฬา อุปกรณออกกําลังกาย พื้นที่ทํากิจกรรม การใหบริการน้ําดื่ม การใหบริการหองน้ํา สุขา การจัดที่ รองรั บ ขยะและสิ่ ง ปฏิ กู ล การจั ด พื้ น ที่ จ อดรถ การดู แ ลระบบรั ก ษาความปลอดภั ย ภายใน มหาวิทยาลัยฯ รวมทั้ง การใหบ ริก ารทรัพ ยากรสนับสนุน การเรี ยนรู อื่น ๆ เชน การใหบริก าร จําหนายหนังสือ อุปกรณการเรียน ชุดฝกปฏิบัติวิชาชีพที่รานจําหนายของมหาวิทยาลัยฯ (Book store) การใหบริก ารหองเรียน หองปฏิบัติการ หองปฏิบัติการวิชาชีพ อุปกรณโสตทัศนูปกรณ การดูแล บํารุง ซอมแซมอุปกรณในหองเรียนและหองปฏิบัติการ การจัดบริการยานพาหนะ โดยมี สวนงานหลักของมหาวิทยาลัยฯที่เกี่ยวของ ไดแก ฝายบริหารทรัพยสิน สรุปการทบทวนวรรณกรรม จากการทบทวนแนวคิด ทฤษฎี และเอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวของ กลาวไดวา นวัตกรรมการ ใหบริการเปนการนําวิธีการหรือการนํากระบวนการใหมๆ ที่อาศัยเทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม เขามามี สว นชว ยในการบริหารจัดการองคก ร การใหบริก ารขององคกรใหมีประสิทธิภ าพ และ ประสิทธิผล ซึ่งจะทําใหลูกคาขององคกร พนักงานภายในองคกรเกิดความพึงพอใจ นวัตกรรม บริก ารจึง มีสว นสําคัญตอการบริหารองคกร รวมทั้งสถาบันอุด มศึกษา คณะผูวิจัยไดประยุก ต แนวคิดของสมฤทัย น้ําทิพย (2556),แดนจุมา และราสลี (Danjuma & Rasli, 2012), กีรติ ยศยิ่งยง (2552) ซึ่งใหความคิดที่สอดคลองกันวาการสรางนวัตกรรมการใหบริการสําหรับนํามาใชในการ ใหบริการนั้นปจจัยเกี่ยวกับเทคโนโลยีนับเปนสวนที่สําคัญยิ่ง รวมทั้งแนวคิดเกี่ยวกับการจัดการ อุ ด มศึ ก ษาในยุ ค ดิ จิ ทั ล ที่ อ ธิ บ ายถึ ง การนํ า สื่ อ เทคโนโลยี ส มั ย ใหม ป ระเภทต า งๆมาใช ใ น สถาบัน อุด มศึก ษา โดยนํามาปรับใหสอดคลองกับระบบการใหบริก ารของสว นงานดานหนา มหาวิทยาลัยคริสเตียน และไดกําหนดเปนตัวแปรอิสระ (Independence variable) ซึ่งประกอบดวย นวั ต กรรมการให บ ริ ก าร จํ า นวน 5 ด า น ได แ ก 1) นวั ต กรรมการให บ ริ ก ารด า นวิ ช าการ


53

2) นวัต กรรมการใหบริก ารดานพัฒ นานักศึก ษา 3) นวัต กรรมการใหบริก ารดานเทคโนโลยี 4) นวัตกรรมการใหบริการดานเงิน 5) นวัตกรรมการใหบริการดานสิ่งอํานวยความสะดวก นอกจากนี้ยังไดนําแนวคิด การใหบริการที่เปน เลิศ ของจัน ทรจิรา วงษข มทอง (2552) ซึ่งอธิบายวาการใหบริการที่เปนเลิศนั้นสามารถวิเคราะหไดจาก 3 ตัวแปรที่สําคัญ คือ ขั้นตอนการ ใหบริการ เจาหนาที่ผูใหบริการ และสถานที่ใหบริการ มากําหนดเปนตัวแปรตาม (Independence variable) การศึกษาวิจัยในครั้งนี้จึงคาดวาตัวแปรอิสระที่กําหนดขึ้น 5 ตัวแปร คือ นวัตกรรมการ ให บริก ารดานตางๆ จะเปน ปจจัย มีค วามสัมพันธและสามารถที่จ ะชว ยทํานายตัว แปรตาม คือ การใหบริก ารที่เปนเลิศ ของมหาวิทยาลัยคริสเตียนโดยศึกษาจากมุมมองของบุค ลากรในฐานะ ผูใหบริการของมหาวิทยาลัยฯ


54

บทที่ 3 ระเบียบวิธีวิจัย วิธีดําเนินการวิจัย การวิจัย เรื่อง นวัตกรรมการบริการที่สงผลตอการใหบริการที่เปนเลิศของสวนงานบริการ ดานหนา มหาวิทยาลัยคริสเตียน จังหวัดนครปฐม มีวัตถุประสงคเพื่อวิเคราะหการนํานวัตกรรมการ บริการมาใชในการใหบริการของมหาวิทยาลัยคริสเตียน รวมทั้งวิเคราะหลักษณะความสัมพันธและ อํานาจในการทํานายระหวางการนํานวัตกรรมการบริการมาใชในการใหบริการกับการใหบริการที่ เปนเลิศของสวนงานบริการดานหนา มหาวิทยาลัยคริสเตียน คณะผูวิจัย ใชวิธีวิจัยเชิงพรรณนา (Descriptive research) ในการศึกษาและใชสถิติเชิงพรรณนา (descriptive statistics) สถิตเิ ชิงอนุมาน (Inferential statistics) ในการประมวลผลการวิเคราะหขอมูลดวยโปรแกรมสําเร็จรูปทางสถิติ การออกแบบการวิจัย 1. สถานที่เก็บขอมูล คือ มหาวิทยาลัยคริสเตียน จังหวัดนครปฐม 2. ประชากร ที่ใชในการศึกษาครั้งนี้คือ กลุมบุคลากร ซึ่งประกอบดวยผูบริหาร อาจารย และพนักงาน จํานวนทั้งหมด 314 คน (สํานักบริหารบุคลากร 31 กรกฎาคม พ.ศ.2559) 3. กลุมตัวอยางและขนาดกลุมตัวอยาง กลุมบุคลากรของมหาวิทยาลัยคริสเตียน จังหวัดนครปฐม กําหนดขนาดของกลุมตัวอยาง ตามสูต รการคํานวณของทาโร ยามาเน (Taro Yamane) ที่ข นาดความคลาดเคลื่อน รอยละ 5 ตามสูตร

n=

N 1+ N (e)²

=

314 1+ 314 (0.05)²

= 176

ดั ง นั้ น จากสู ต รที่ คํ า นวณได ก ลุ ม ตั ว อย า งที่ ใ ช ใ นการศึ ก ษาครั้ ง นี้ จํ า นวน 176 คน คณะผูวิจัย ทําการสุมตัวอยางแบบใชความนาจะเปน (Probability sampling) โดยวิธีการเลือกสุม ตัวอยางเปนระบบ (Systematic random sampling) ตามสัดสวนของบุคลากรในสังกัดคณะวิชาและ ฝายสนับสนุนวิชาการ ดังนี้


55

ระดับการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย คณะพยาบาลศาสตร คณะวิทยาศาสตรสุขภาพ คณะสหวิทยาการ สถาบันกรุงเทพคริสตศาสนศาสตร ฝายสนับสนุนวิชาการ รวม

จํานวนบุคลากร 23 82 19 34 10 146 314

ตัวอยาง (คน) 12 45 12 19 6 82 176

เครื่องมือที่ใชในการวิจัย 1. การพัฒนาเครื่องมือวิจัย เครื่องมือที่ใชในการวิจัยครั้งนี้ คือ แบบสอบถาม จํานวน 1 ชุด ที่คณะผูวิจัยพัฒนาขึ้นจาก การศึกษาแนวความคิดนวัตกรรมบริการและศึกษาจากภารกิจการใหบริการสวนงานดานหนาของ มหาวิทยาลัยฯ รวมทั้งแนวคิดการใหบริการที่เปนเลิศของจันทรจิรา วงษขมทอง (2552) โดยสราง แนวประเด็นคําถามใหสอดคลองกับบริบทของมหาวิทยาลัย คริสเตียนเพื่อวัดระดับความคิดเห็น เกี่ยวกับปจจัยการนํานวัตกรรมบริการมาใชในการใหบริการ และระดับการใหบริการทีเ่ ปนเลิศของ มหาวิทยาลัยฯ โดยแบงแบบสอบถามออกเปน 4 ตอน ตอนที่ 1 ขอมูลพื้นฐานของผูตอบแบบสอบถาม ใชการสอบถามแบบตรวจสอบ รายการ (Checklist) ประกอบดว ย เพศ อายุ คุณ วุฒิการศึกษา สวนงานที่สังกัด ตําแหนง และ ระยะเวลาการปฏิบัติงานที่มหาวิทยาลัยฯ ตอนที่ 2 การวัดระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับการนํานวัตกรรมบริการมาใชในการ ใหบริการของมหาวิทยาลัยคริสเตียน จําแนกเปน 5 ดาน ประกอบดวยขอคําถาม จํานวน 43 ขอ ไดแก 1. นวัตกรรมการใหบริการดานวิชาการ จํานวน 8 ขอ 2. นวัตกรรมการใหบริการดานการพัฒนานักศึกษา จํานวน 8 ขอ 3. นวัตกรรมการใหบริการดานเทคโนโลยีสารสนเทศ จํานวน 9 ขอ 4. นวัตกรรมการใหบริการดานการเงิน จํานวน 8 ขอ 5. นวัตกรรมการใหบริการดานสิ่งอํานวยความสะดวก จํานวน 10 ขอ


56

แบบสอบถามในตอนที่ 2 สรางเปนมาตรวัดแบบลิเครท ( Likert’s rating Scale ) แบงระดับความคิดเห็นออกเปน 5 ระดับ และมีเกณฑการใหคะแนนความคิด เห็นและการแปล ความหมายคะแนนของผูตอบแบบสอบถาม ดังนี้ (สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา, 2558) การใหคะแนนความคิดเห็นของผูตอบแบบสอบถาม การใหคะแนน หมายถึง 5 มีความเห็นดวยมากที่สุด 4 มีความเห็นดวย 3 มีความไมแนใจ 2 มีความเห็นดวยนอย 1 มีความไมเห็นดวย คาระดับคะแนนเฉลี่ย การแปลความหมาย 4.51 – 5.00 มากที่สุด 3.51 – 4.50 มาก 2.51 – 3.50 ปานกลาง 1.51 – 2.50 นอย 1.00 – 1.50 นอยที่สุด ตอนที่ 3 การวั ด ระดั บ ความคิ ด เห็ น เกี่ ย วกั บ การให บ ริ ก ารที่ เ ป น เลิ ศ ของ มหาวิทยาลัยคริสเตียน ประกอบดวยขอคําถามจํานวน 18 ขอ จําแนกเปน 1. ดานพนักงานผูใหบริการของสวนงานบริการดานหนา จํานวน 6 ขอ 2. ดานขั้นตอนกระบวนการใหบริการของสวนงานบริการดานหนา จํานวน 6 ขอ 3. ดานสถานที่ใหบริการของสวนงานบริการดานหนา จํานวน 6 ขอ แบบสอบถามในตอนที่ 3 สรางเปนมาตรวัดแบบลิเครท ( Likert’s rating Scale ) แบงระดับความคิดเห็นออกเปน 5 ระดับ และมีเกณฑการใหคะแนนความคิด เห็นและการแปล ความหมายคะแนนของผูตอบแบบสอบถาม ดังนี้ (สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา, 2558) การใหคะแนนความคิดเห็นของผูตอบแบบสอบถาม การใหคะแนน หมายถึง 5 มีความเห็นวาดีมาก 4 มีความเห็นวาดี 3 มีความเห็นวาพอใช


57

2 มีความเห็นวาตองปรับปรุง 1 มีความเห็นวาตองปรับปรุงอยางเรงดวน คาระดับคะแนนเฉลี่ย การแปลความหมาย 4.51 – 5.00 ดีมาก 3.51 – 4.50 ดี 2.51 – 3.50 พอใช 1.51 – 2.50 ตองปรับปรุง 1.00 – 1.50 ตองปรับปรุงอยางเรงดวน ตอนที่ 4 แบบสอบถามปลายเปดใหผูตอบแสดงความคิดเห็น หรือขอเสนอแนะ เกี่ยวกับการพัฒนานวัตกรรมบริการของมหาวิทยาลัยคริสเตียน 2. การตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือวิจัย การศึก ษาวิจัยในครั้งนี้มีเครื่องมือ คื อ มาตรวัด จํานวน 1 ชุด ที่จ ะตองตรวจสอบ คุณภาพของ ซึ่งการตรวจสอบประกอบดวย 2 สวน คือ การทดสอบความแมนตรง (Validity) และ ความเชื่อถือได (Reliability) ของมาตรวัด ดังนี้ 1. การทดสอบความแมนตรง (Validity) ผูวิจัยตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหาของแบบสอบถามโดยใหผูทรงคุณวุฒิ จํานวน 3 คน วิจารณความตรงเชิงเนื้อหาโดยพิจารณาความสอดคลองระหวางขอคําถามกับวัตถุประสงค ของการวิจัย จากคาดัชนีความสอดคลอง Index of congruency : IOC (ลวน สายยศ และอังคณา สายยศ, 2548) และกําหนดการใหคะแนน ดังนี้ คะแนน + 1 เมื่อผูทรงคุณวุฒิแนใจวา ขอคําถามนั้นสอดคลองกับวัตถุประสงคการวิจัย คะแนน 0 เมื่อผูทรงคุณวุฒิไมแนใจวา ขอคําถามนัน้ สอดคลองกับวัตถุประสงคการวิจัย คะแนน - 1 ผูทรงคุณวุฒไิ มเห็นดวย ขอคําถามนั้นไมสอดคลองกับวัตถุประสงคการวิจัย หลังจากการตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหาของผูทรงคุณวุฒิ ผูวิจัยจะนําคะแนนใน แตละขอคําถามที่ไดมาแทนคาในสูตร IOC

=

ΣR N

IOC

=

55.56 = 0.91 61


58

IOC หมายถึง ดัชนีความสอดคลองระหวางขอคําถามกับแบบสอบถาม ΣR หมายถึง ผลรวมของคะแนนความคิดเห็นของผูทรงคุณวุฒิ N หมายถึง จํานวนผูทรงคุณวุฒิ ผลจากคาดัชนีความสอดคลองที่มีคาดัชนีความสอดคลองมากกวาหรือเทากับ 0.5 จะคงขอคําถามไว ถ าขอคําถามใดมีคาดัชนีค วามสอดคลองต่ํากวา 0.5 ไดตัด ออกหรือนําไป ปรับปรุงใหม ซึ่งผลจากการตรวจสอบความเที่ยงตรงของเนื้อหาของผูทรงคุณวุฒิ จํานวน 3 คน พบวา ภาพรวมคาดัชนีค วามสอดคลองทุก ขอคําถาม มีคาเทากับ 0.91 จึงสามารถนําไปใชใ น การศึกษาวิจัยได 2. ความเชื่อถือได (Reliability) ในการวิจัย ครั้งนี้ มีมาตรวั ด จํานวน 1 ชุด คือ แบบสอบถามสําหรับบุค ลากร คณะผูวิจัยนํามาตรวัดดังกลาวไปทําการทดสอบกอนใชจริง (Pilot study) กับกลุมตัวอยางที่ไมใช กลุมเปาหมาย จํานวน 30 คน เพื่อหาขอบกพรองของขอคําถามที่ใชตัวแปรดั งกลาว และไดนํา โปรแกรมสําเร็จ รูป ทางสถิติมาใช ใ นการคํานวณหาคาสัมประสิทธิ์อัลฟา (Coefficient alpha) ของครอนบาค (Cronbach) ภาพรวมมีคาเทากับ .958 โดยในแตละดานมีคาสัมประสิทธิ์อัลฟา (Alpha) ดังนี้ 2.1 ขอคําถามเกี่ยวกับการนํานวัตกรรมบริการมาใชในการใหบริการของ สวนงานดานหนาของมหาวิทยาลัยคริสเตียน ดังนี้ 2.1.1 นวัตกรรมการใหบริการดานวิชาการ ไดคาความเชื่อมั่นเทากับ .870 2.1.2 นวัตกรรมการใหบริการดานการพัฒนานักศึกษา ไดคาความเชื่อมั่นเทากับ .863 2.1.3 นวัตกรรมการใหบริการดานเทคโนโลยีสารสนเทศ ไดคาความเชื่อมั่นเทากับ .927 2.1.4 นวัตกรรมการใหบริการดานการเงิน ไดคาความเชื่อมั่นเทากับ .946 2.1.5 นวัตกรรมการใหบริการดานสิ่งอํานวยความสะดวก ไดคาความเชื่อมั่นเทากับ .949 2.2 ข อคํ า ถามเกี่ย วกั บการให บ ริก ารที่ เ ปน เลิ ศของส ว นงานบริ ก าร ดานหนาของมหาวิทยาลัยคริสเตียน 2.2.1 ดานพนักงานผูใหบริการ ไดคาความเชื่อมั่นเทากับ .934


59

2.2.2 ดานกระบวนการใหบริการ ไดคาความเชื่อมั่นเทากับ .967 2.2.3 ดานสถานที่ใหบริการ ไดคาความเชื่อมั่นเทากับ .951 ทั้งนี้จากการพิจารณาคาความเชื่อมั่นของมาตรวัดในแตละดาน พบวามีคาความ เชื่อมั่นที่อยูระหวาง .70 – 1.00 แสดงวามีความเชื่อมั่นสูง จึงสามารถนําไปใชในการศึกษาวิจัยได การพิทักษสิทธิของกลุมตัวอยาง การศึกษาวิจัยครั้งนี้คณะผูวิจัยไดคํานึงถึงจริยธรรมและจรรยาบรรณของการทําวิจัย โดยมี การทําหนังสือผานความเห็น ชอบจากคณะกรรมการพิจ ารณาจริยธรรมการวิจัยในมนุษ ยข อง มหาวิทยาลัยเอกชนแหงหนึ่ง ทั้งนี้ผูวิจัยไดพิทักษสิทธิของผูใหขอมูลตั้งแตเริ่มตนขั้นตอนการเก็บ รวบรวมขอมูลจนกระทั่งการนําเสนอผลการวิจัย โดยคณะผูวิจัยไดเขาพบและชี้แจงสรางความ เขาใจใหแกกลุมตัวอยาง โดยแนะนําตัว อธิบายวัตถุประสงคและวิธีการเก็บรวบรวมขอมูลในการ ศึกษาวิจัยครั้งนี้วาเปนการศึกษาวิจัยเพื่อกอใหเกิดประโยชนตอการกําหนดนโยบายในการพัฒนา มหาวิทยาลัยเอกชนแหงหนึ่ง รวมทั้งไดเปดโอกาสใหกลุมตัวอยางซักถามขอมูล ประเด็นขอคิดเห็น เกี่ยวกับแบบสอบถาม และการทํา วิจัย พรอมทั้งยืน ยัน วา การใหขอมู ล ดังกลาวจะถูก เก็บเป น ความลับและนําไปใชประโยชนในการศึกษาเทานั้น การเก็บรวบรวมขอมูล คณะผูวิจัยดําเนินการเก็บรวบรวมขอมูล ดังนี้ 1. จัด ทํา หนั งสื อ ถึง คณบดี และผูบ ริห ารฝายสนั บสนุน วิชาการในสั งกัด มหาวิ ทยาลั ย คริสเตียน จํานวน 5 คณะวิชา และ 4 ฝายสนับสนุนวิชาการ เพื่อขอความรว มมือใหบุคลากรใน สังกัด กรอกขอมูลลงในแบบสอบถามตามจํานวนกลุมตัว อยางที่กําหนด โดยใชเวลาการเก็บ รวบรวมขอมูลในเดือนมีนาคม 2560 คณะผูวิจัยไดแจกแบบสอบถามดวยตนเอง และทําการชี้แจง ขอมูลในการเก็บรวบรวมขอมูลอยางละเอียด 2. คณะผูวิจัยตรวจสอบความสมบูรณของแบบสอบถามที่เก็บรวบรวมขอมูลจากบุคลากร ครบตามจํานวนที่กําหนดไว และไดรับแบบสอบถามกลับคืนจากบุคลากร จํานวน 177 ชุด คิดเปน รอยละ 100 นํามาดําเนินการบันทึกและวิเคราะหขอมูลตอไป


60

วิธีการวิเคราะหขอ มูล การวิเคราะหข อมูล ประกอบดว ย 2 สว น ไดแ ก การวิ เคราะหขอ มูลเชิงปริม าณ และการ วิเคราะหขอมูลเชิงคุณภาพ ดังนี้ 1. การวิเคราะหขอมูลเชิงปริมาณ กําหนดสถิติที่จะใชศึกษา ดังนี้ 1.1 ขอมูลพื้นฐานของกลุมตัวอยางใชสถิติเชิงพรรณนา (Descriptive statistics) ดวยการแจกแจงความถี่ (Frequency) คารอยละ (Percent) 1.2 ขอมูลระดับความคิดเห็น ของบุค ลากรเกี่ยวกับปจ จัยการนํา นวัต กรรมการ บริการมาใชในการใหบริการของมหาวิทยาลัยคริสเตียน และระดับการใหบริการที่เปนเลิศ ใชสถิติ สถิติเชิงพรรณนา (descriptive statistics) ไดแก คาเฉลี่ย (Mean) สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard deviation) 1.3 การวิเคราะหความสัมพันธระหวางตัวแปรการนํานวัตกรรมการบริการมาใช ในการใหบริการของมหาวิทยาลัยคริสเตียน และตัวแปรการใหบริการที่เปนเลิศของมหาวิทยาลัย คริสเตียน วิเคราะหโดยใชสถิติเชิงอนุมาน (Inferential statistics) ไดแก คาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ เพียรสัน(Pearson ‘ s product moment correlation coefficient) ทั้งนี้ไดกําหนดคาความสัมพันธ แบงออกเปน 5 ระดับ ดังนี้ (Munro,2001) .00 - .25 หมายถึง มีความสัมพันธในระดับเล็กนอย .26 - .49 หมายถึง มีความสัมพันธในระดับต่ํา .50 - .69 หมายถึง มีความสัมพันธในระดับปานกลาง .70 - .89 หมายถึง มีความสัมพันธในระดับสูง .90 - 1.00 หมายถึงมีความสัมพันธในระดับสูงมาก 1.4 การวิเคราะหตัว แปรการนํา นวัตกรรมบริก ารมาใชใ นการใหบริก ารของ มหาวิทยาลัยคริสเตียนเพื่อทํานายการใหบริการที่เปนเลิศของมหาวิทยาลัย คริสเตียนใชสถิติเชิง อนุมาน (Inferential statistics) ไดแก การวิเคราะหถดถอยพหุคุณ (Multiple regression coefficient) ระหวางตัวแปรพยากรณทั้งหมดแบบขั้นตอน (Stepwise multiple regression) ทั้งนี้กําหนดระดับ ความมีนัยสําคัญทางสถิติที่ .05 2. การวิเคราะหขอมูลเชิงคุณภาพ ใชวิธีก ารสรุปเนื้อหาจากขอคําถามปลายเปดที่ ก ลุม ตัวอยางแสดงความคิดเห็น


61

สรุปการศึกษาวิจัยในครั้งนี้มีขนั้ ตอนการดําเนินงาน ดังนี้ ขั้นตอนที่ 1

การทบทวนเอกสาร เพื่อคนหาตัวแปรและกําหนดกรอบแนวคิด

ศึกษาแนวคิด ทฤษฎี เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ - การพัฒนานวัตกรรมบริการ - การใหบริการที่เปนเลิศ - การจัดการอุดมศึกษาในยุคดิจิทัล - ความพึงพอใจในการใหบริการ - การใหบริการของสวนงานบริการดานหนา มหาวิทยาลัยคริสเตียน สรางกรอบแนวคิดการวิจัย

ขั้นตอนที่ 2

การสรางเครื่องมือ

สรางแบบสอบถาม - การนํานวัตกรรมบริการมาใชในการใหบริการ ของสวนงานใหบริการดานหนา มหาวิทยาลัยคริสเตียน - การใหบริการที่เปนเลิศของมหาวิทยาลัยคริสเตียน

ขั้นตอนที่ 3

ตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ - Validity - Reliability

การเก็บรวบรวมขอมูล กลุมตัวอยางบุคลากรของมหาวิทยาลัยคริสเตียน

ขั้นตอนที่ 4

การวิเคราะหขอมูล วิเคราะหปจจัยนวัตกรรมการบริการมาใชในการใหบริการ ความสัมพันธระหวางตัวแปร และอํานาจในการทํานายตัวแปร

ขั้นตอนที่ 5

สรุปผลการวิจัย สรุปผลการวิจัย อภิปรายผล และขอเสนอแนะ

เรียบเรียงบทความวิจัย 15 หนา เพื่อตีพิมพเผยแพร

ภาพที่ 2 ขั้นตอนการศึกษาวิจยั


62

บทที่ 4 ผลการวิจัย การวิจัย เรื่อง นวัตกรรมการบริการที่สงผลตอการใหบริการที่เปนเลิศของสวนงานบริการ ดานหนา มหาวิทยาลัยคริสเตียน จังหวัดนครปฐม คณะผูวิจัยใชวิธีวิจัยเชิงบรรยาย (Descriptive research) ในการศึกษา และทําการประมวลผลการวิเคราะหขอมูลดวยโปรแกรมทางสถิติ มีผลการ วิเคราะห ออกเปน 5 สวน ดังนี้ สวนที่ 1 ขอมูลพื้นฐานของกลุมตัวอยาง สวนที่ 2 ความคิดเห็นเกี่ยวกับการนํานวัตกรรมบริการมาใชในการใหบริการของ สวนงานบริการดานหนา มหาวิทยาลัยคริสเตียน สวนที่ 3 ความคิดเห็นตอการใหบริการที่เปนเลิศของมหาวิทยาลัยคริสเตียน สว นที่ 4 การวิเคราะหค วามสัมพัน ธร ะหวางนวัต กรรมการให บริก ารกับการ ใหบริการที่เปนเลิศของสวนงานบริการดานหนา มหาวิทยาลัยคริสเตียน สวนที่ 5 การวิเคราะหนวัตกรรมการบริการที่มีอํานาจทํานายการใหบริการที่เปน เลิศของสวนงานบริการดานหนา มหาวิทยาลัยคริสเตียน สวนที่ 1

ขอมูลพื้นฐานของกลุมตัวอยาง

ตารางที่ 1

จํานวน และรอยละของกลุมตัวอยางจําแนกตามขอมูลพื้นฐานของกลุมตัวอยาง ขอมูลพืน้ ฐาน

จํานวน (177)

รอยละ (100)

154 23

87.0 13.0

30 70 56 19 2

16.9 39.5 31.7 10.8 1.1

เพศ หญิง ชาย อายุ ต่ํากวา 30 ป 30 – 40 ป 41 – 50 ป 51 – 60 ป 60 ปขึ้นไป


63

สวนที่ 1 ตารางที่ 1

ขอมูลพื้นฐานของกลุมตัวอยาง (ตอ) จํานวน และรอยละของกลุมตัวอยางจําแนกตามขอมูลพื้นฐานของกลุมตัวอยาง(ตอ) ขอมูลพืน้ ฐาน

ตําแหนง ผูบริหาร อาจารย พนักงาน คุณวุฒิการศึกษา ปริญญาเอก ปริญญาโท ปริญญาตรี ต่ํากวาปริญญาตรี คณะวิชาที่สังกัด บัณฑิตวิทยาลัย คณะพยาบาลศาสตร คณะวิทยาศาสตรสุขภาพ คณะสหวิทยาการ สถาบันกรุงเทพคริสตศาสนศาสตร ฝายสนับสนุนวิชาการที่สังกัด ฝายบริหารและการตางประเทศ ฝายวิชาการและวิจัย ฝายพัฒนานักศึกษา ฝายบริหารทรัพยสินและสื่อสารองคกร ระยะเวลาที่ปฏิบัติงาน 20 ปขึ้นไป 11 – 20 ป 5 – 10 ป ต่ํากวา 5 ป

จํานวน (177)

รอยละ (100)

26 71 80

14.7 40.1 45.2

16 91 67 3

9.0 51.4 37.9 1.7

11 46 13 19 6

11.6 48.4 13.7 20.0 6.3

23 21 11 27

28.0 25.6 13.4 32.9

6 52 51 68

3.4 29.4 28.8 38.4


64

จากตารางที่ 1 พบวา กลุมตัวอยางสวนใหญเปนเพศหญิง (รอยละ 87) มีอายุระหวาง 30 40 ป (รอยละ 39.5) สวนใหญอยูในตําแหนงพนักงานมหาวิทยาลัยฯ (รอยละ 45.2) กลุมตัวอยาง ครึ่งหนึ่งมีคุณวุฒิการศึกษาระดับปริญญาโท ( รอยละ 51.4) สังกัดคณะพยาบาลศาสตร (รอยละ 48.4) และสังกัดฝายบริหารทรัพยสินและสื่อสารองคกร (รอยละ 32.9) โดยมีระยะเวลาที่ปฏิบัติงาน ที่มหาวิทยาลัยคริสเตียนต่ํากวา 5 ป (รอยละ 38.4) สวนที่ 2 ความคิดเห็นเกี่ยวกับการนํานวัตกรรมบริการมาใชในการใหบริการของสวนงานบริก าร ดานหนา มหาวิทยาลัยคริสเตียน ตารางที่ 2 คาระดับคะแนนเฉลี่ย และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของความคิดเห็นเกี่ยวกับการนํา นวัตกรรมการใหบริการมาใชในการใหบริการของสวนงานบริการดานหนาดานวิชาการ

นวัตกรรมการใหบริการดานวิชาการ มีตําราอีเล็คทรอนิกส(E-book) หรือเอกสารประกอบการ สอนของทุกรายวิชาที่เปดสอนใหศึกษาลวงหนาผาน ระบบออนไลน มีโปรแกรมสําหรับชวยวางแผนการเรียน นอกเหนือจากการ เรียนตามแผนที่มหาวิทยาลัยฯกําหนดไว (กรณีนักศึกษาไม สามารถศึกษาไดตามแผน) มีแอปพลิเคชัน (Application) ที่ใหขอมูลครอบคลุมเกี่ยวกับ หลักสูตรและการจัดการเรียนการสอนของทุกหลักสูตรที่ มหาวิทยาลัยฯ เปดสอน มีโปรแกรมที่สามารถสอบวัดความรูเพื่อเขาศึกษาตอของทุก หลักสูตรผานระบบออนไลนและประมวลผลไดอยาง รวดเร็ว มีศูนยใหบริการขอมูล (Call cnter) ที่สามารถติดตอผาน สื่อหลายชองทาง เชน โทรศัพท โทรสาร ไปรษณีย อิเล็กทรอนิกส (E-mail) อินเทอรเน็ต ( Internet) ระบบไลน (Line) ตลอด 24 ชั่วโมง

คาระดับ คะแนน เฉลีย่ 4.25

สวน เบี่ยงเบน มาตรฐาน .65

การ แปลผล

อันดับ

เห็นดวยมาก

1

4.19

.64

เห็นดวยมาก

2

3.96

.74

เห็นดวยมาก

3

3.95

.61

เห็นดวยมาก

4

3.89

.67

เห็นดวยมาก

5


65

ตารางที่ 2 คาระดับคะแนนเฉลี่ย และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของความคิดเห็นเกี่ยวกับการนํา นวัตกรรมการใหบริการมาใชในการใหบริการของสวนงานบริการดานหนาดานวิชาการ (ตอ)

นวัตกรรมการใหบริการดานวิชาการ มีระบบการลงทะเบียนเรียนผานระบบออนไลนใน โทรศัพทเคลื่อนที่ (Mobile phone) ที่มีประสิทธิภาพ มีระบบการประมวลผลการศึกษาออนไลนที่สามารถ กระตุนเตือน (Alert) เมื่อผลการศึกษามีปญหา มีระบบการยืม-คืนทรัพยากรสารนิเทศทุกประเภทแบบ อัตโนมัติ รวมทั้งการนําเสนอทรัพยากรสารนิเทศใหมๆไป ยังโทรศัพทเคลื่อนที่ (Mobile phone) ของนักศึกษาและ บุคลากร

รวม

คาระดับ คะแนน เฉลีย่ 3.86

สวน เบี่ยงเบน มาตรฐาน .66

การ แปลผล

อันดับ

เห็นดวยมาก

6

3.84

.65

เห็นดวยมาก

7

3.82

.65

เห็นดวยมาก

8

3.97

.42

เห็นดวยมาก

จากตารางที่ 2 พบวา ในภาพรวมกลุมตัวอยางมีความคิดเห็นเกี่ยวกับการนํานวัตกรรมการ ใหบริ ก ารดานวิ ชาการมาใชใ นการใหบ ริก ารของสว นงานบริก ารดานหนาของมหาวิท ยาลั ย คริสเตียน ในระดับมาก ( X =3.97, S D=.42) โดยเรื่องที่ก ลุมตัวอยางมีความคิดเห็นมากที่สุด 3 เรื่อง ไดแก (1) มีตําราอิเล็คทรอนิกส (E-book) หรือเอกสารประกอบการสอนของทุกรายวิชาที่ เปดสอนใหศึกษาลวงหนาผานระบบออนไลน ( x =4.25, S D=.65) (2) มีโปรแกรมสําหรับชวยวาง แผนการเรียน นอกเหนือจากการเรียนตามแผนที่มหาวิทยาลัยฯกําหนดไว (กรณีนัก ศึก ษาไม สามารถศึกษาไดตามแผน) ( x =4.19, S D=.64) และ (3) มีแอปพลิเคชัน (Application) ที่ใหขอมูล ครอบคลุมเกี่ยวกับหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอนของทุกหลักสูตรที่มหาวิทยาลัยฯเปดสอน ( x =3.96, S D=.74)


66

ตารางที่ 3 คาระดับคะแนนเฉลี่ย และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของความคิดเห็น เกี่ยวกับ การนํา นวัตกรรมการใหบริการมาใชในการใหบริการของสวนงานบริการดานหนาดานพัฒนานักศึกษา นวัตกรรมการใหบริการดานพัฒนานักศึกษา มีแอปพลิเคชัน (Application) การดําเนินงานของสภานักศึกษา สโมสรนักศึกษา และชมรมนักศึกษาที่ดึงดูดใหนักศึกษา มีสวนรวม มีฐานขอมูลการรับ-สงไปรษณียและพัสดุของนักศึกษาและ บุคลากรที่สามารถตรวจสอบไดผานระบบออนไลน มีโปรแกรมการจองหองพักภายในมหาวิทยาลัยฯ ที่สามารถ แสดงถึงจํานวนหองวาง ระยะเวลาการพักอาศัย รวมทั้งการ คํานวณคาใชจายใหนักศึกษาเขาถึงไดอยางสะดวก มีพื้นที่ทางสังคมออนไลนดานการพัฒนานักศึกษา ใหนักศึกษาสามารถนําเสนอความคิดแปลกใหม สรางสรรค เกี่ยวกับการจัดโครงการ/กิจกรรมพัฒนานักศึกษา มีโปรแกรมการกูยืมเงินกองทุนเพื่อการศึกษาที่ชวยใหนักศึกษา สามารถกรอกขอมูลสวนตัว ครอบครัว และตรวจสอบ หลักฐานประกอบการกูยืมเงิน รวมทั้งวางแผนการใชจายเงิน ไดกอนดําเนินการตามระบบจริง มีฐานขอมูลใหบริการเกี่ยวกับการเขาสูอาชีพ (ตําแหนงงาน วาง)ที่สามารถใหนักศึกษากรอกขอมูล และประสานงานให นักศึกษาไดงานทํา ทั้งจากโรงพยาบาล สถานประกอบการที่ มีการตกลงความรวมมือกับมหาวิทยาลัยฯและหนวยงาน อื่นๆ แอปพลิเคชัน (Application) ที่ใหขอมูลเกี่ยวกับสวัสดิการ นักศึกษาทุกประเภท ที่แสดงใหเห็นถึงเงื่อนไข การเขาถึงการ ใชบริการการตรวจสอบขอมูล และการรับสิทธิสวัสดิการ อยางชัดเจน มีศูนยใหคําปรึกษาการใชชีวิต จิตวิญาณ แกนักศึกษาทั้งใน รูปแบบเผชิญหนา (Face to Face) และรูปแบบออนไลน (Online)

รวม

คาระดับ สวน การ คะแนน เบี่ยงเบน แปลผล เฉลีย่ มาตรฐาน เห็นดวยมาก 4.07 .65

อันดับ 1

4.01

.70

เห็นดวยมาก

2

3.99

.71

เห็นดวยมาก

3

3.93

.73

เห็นดวยมาก

4

3.94

.68

เห็นดวยมาก

5

3.85

.68

เห็นดวยมาก

6

3.79

.74

เห็นดวยมาก

6

3.79

.59

เห็นดวยมาก

7

3.91

.43

เห็นดวยมาก


67

จากตารางที่ 3 พบวา ภาพรวมกลุมตัวอยางมีความคิดเห็นเกี่ยวกับการนํานวัต กรรมการ ใหบริการดานพัฒนานักศึกษามาใชในการใหบริการของสวนงานบริการดานหนาของมหาวิทยาลัย คริสเตียน ในระดับมาก ( X =3.91, S D=.43) โดยเรื่องที่ก ลุมตัวอยางมีความคิดเห็นมากที่สุด 3 เรื่อง ไดแก (1) มีแอปพลิเคชัน (Application) การดําเนินงานของสภานักศึกษา สโมสรนักศึกษา และชมรมนักศึกษาที่ดึงดูดใหนักศึกษามีสวนรวม ( x =4.07, S D=.65) (2) มีฐานขอมูลการรับ-สง ไปรษณียและพัสดุของนักศึกษาและบุคลากรที่สามารถตรวจสอบไดผานระบบออนไลน ( x =4.01, S D=.70) และ (3) มีโปรแกรมการจองหองพักภายในมหาวิทยาลัยฯ ที่สามารถแสดงถึงจํานวนหอง วาง ระยะเวลาการพักอาศัย รวมทั้งการคํานวณคาใชจายใหนักศึกษาเขาถึงไดอยางสะดวก ( x =3.99, S D=.71) ตารางที่ 4 คาระดับคะแนนเฉลี่ย และสว นเบี่ยงเบนมาตรฐานของความคิด เห็น เกี่ยวกับการนํา นวัตกรรมการใหบริการมาใชในการใหบริการของสวนงานบริการดานหนาดานเทคโนโลยี นวัตกรรมการใหบริการดานเทคโนโลยี มีการนําอุปกรณเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาใชสนับสนุนการ จัดการเรียนการสอน เชน คอมพิวเตอรแบบจอสัมผัส (Computer Touch Screen) โปรเจ็คเตอรแบบอินเตอรเรคทีฟ ( Interactive White Board ) อุปกรณโหวตถาม- ตอบระหวาง เรียนในชั้นเรียน(Student Response Systems) นักศึกษาและอาจารยสามารถนําเสนอผลงานของตนเอง (Presentation) ผานระบบการนําเสนอหรือระบบการประชุม แบบเสมือนจริง (Telepresence)ไปยังการจัดการเรียนการ สอนในชั้นเรียนปกติ นักศึกษาสามารถสอบวัดความรูในรายวิชาทฤษฎีที่ศึกษา ผานระบบออนไลน มีโปรแกรมการแจงซอมคอมพิวเตอรแบบพกพาที่สามารถให ทานบันทึกขอมูล และเมื่อภายหลังการซอมเสร็จ สามารถแจง ผลและวิเคราะหสาเหตุการชํารุดของอุปกรณ รวมทั้งแจงไป ยังทานผานขอความหรือไปรษณียอิเล็กทรอนิกส (E-mail)

คาระดับ สวน การ คะแนน เบี่ยงเบน แปลผล เฉลีย่ มาตรฐาน เห็นดวยมาก 4.24 .67

อันดับ 1

4.20

.71

เห็นดวยมาก

2

4.19

.74

เห็นดวยมาก

3

4.19

.64

เห็นดวยมาก

3


68

ตารางที่ 4 คาระดับคะแนนเฉลี่ย และสว นเบี่ยงเบนมาตรฐานของความคิด เห็น เกี่ยวกับการนํา นวัตกรรมการใหบริการมาใชในการใหบริการของสวนงานบริการดานหนาดานเทคโนโลยี (ตอ) นวัตกรรมการใหบริการดานเทคโนโลยี มีจุดใหบริการคอมพิวเตอรแบบจอสัมผัส (Computer touch screen) สําหรับการลงทะเบียนเรียน นักศึกษาสามารถศึกษารายวิชายอนหลังไดจากคลังจัดเก็บ

คาระดับ สวน การ คะแนน เบี่ยงเบน แปลผล เฉลีย่ มาตรฐาน เห็นดวยมาก 4.16 .69

อันดับ 4

4.11

.72

เห็นดวยมาก

5

4.09

.72

เห็นดวยมาก

6

4.06

.69

เห็นดวยมาก

7

4.05

.73

เห็นดวยมาก

8

4.14

.50

เห็นดวยมาก

ระบบบันทึกการจัดการเรียนการสอน (D –Lecture

recording) ผานระบบออนไลนของทุกรายวิชา นักศึกษาสามารถศึกษารายวิชาทฤษฎีจากการถายทอดสดในชั้น เรียนผานระบบการเรียนทางเครือขายไรสาย ( Mobile

learning) ไปยังเครื่องคอมพิวเตอรแบบพกพา (Laptop) หรือ โทรศัพทเคลื่อนที่ (Mobil phone) อาจารยและนักศึกษาสามารถแลกเปลี่ยนเรียนรู และตอบขอ ซักถามในรายวิชาที่ศึกษาผานระบบเว็บบอรด (Web board) ประจํารายวิชา แอปพลิเคชัน (Application) ใหความรูแกนักศึกษาและบุคลากร เกี่ยวกับการปองกันระบบความปลอดภัยของอุปกรณ ขอมูล อยางสม่ําเสมอ

รวม

จากตารางที่ 4 พบวา ในภาพรวมกลุมตัวอยางมีความคิดเห็นเกี่ยวกับการนํานวัตกรรมการ ใหบริการดานเทคโนโลยีมาใชในการใหบริการของสวนงานบริการดานหนาของมหาวิทยาลัย คริสเตียนในระดับมาก ( X =414, S D=.50) โดยเรื่ องที่ก ลุมตัว อยางมีค วามคิด เห็น มากที่สุด 3 เรื่อง ไดแก (1) มีการนําอุปกรณเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาใชสนับสนุนการจัดการเรียนการสอน เชน คอมพิว เตอรแบบจอสัมผัส (Computer touch screen) โปรเจ็ค เตอรแบบอิน เตอรเรคทีฟ (Interactive white board) อุปกรณโหวตถาม- ตอบระหวางเรียนในชั้น เรียน(Student response systems) ( x =4.24, S D=.67) (2) นั ก ศึ ก ษาและอาจารย ส ามารถนํา เสนอผลงานของตนเอง (Presentation) ผานระบบการนําเสนอหรือระบบการประชุมแบบเสมือนจริง (Telepresence)ไปยัง การจัดการเรียนการสอนในชั้นเรียนปกติ ( x =4.20, S D=.71) และ (3) นักศึกษาสามารถสอบวัด


69

ความรูในรายวิชาทฤษฎีที่ศึกษา ผานระบบออนไลน และมีโปรแกรมการแจงซอมคอมพิวเตอรแบบ พกพาที่สามารถใหทานบันทึกขอมูล และเมื่อภายหลังการซอมเสร็จ สามารถแจงผลและวิเคราะห สาเหตุการชํารุดของอุปกรณ รวมทั้งแจงไปยังทานผานขอความหรือ ไปรษณียอิเล็กทรอนิกส (Email) ( x =4.19, S D=.74, .64) ตารางที่ 5 คาระดับคะแนนเฉลี่ย และสว นเบี่ยงเบนมาตรฐานของความคิด เห็น เกี่ยวกับการนํา นวัตกรรมการใหบริการมาใชในการใหบริการของสวนงานบริการดานหนาดานการเงิน

นวัตกรรมการใหบริการดานการเงิน มีโปรแกรมการเคลียรคาใชจายทางการเงินของคณะวิชา/ฝาย สนับสนุนวิชาการที่สามารถกรอกขอมูล พรอมแนบหลักฐาน ประกอบผานระบบออนไลน มีโปรแกรมการเบิกเงิน ของคณะวิชาและฝายสนับสนุน วิชาการที่สามารถกรอกขอมูลลงในแบบฟอรมผานระบบ ออนไลน มีแอปพลิเคชัน (Application) หรือโปรแกรมที่ชวยสําหรับการ วางแผนหรือคํานวณคาใชจายทางการศึกษาตลอดหลักสูตร แกนักศึกษา มีระบบการสง E-mail หรือขอความ เพื่อใหขอมูลเกี่ยวกับการ ชําระเงินประเภทตางๆแกนักศึกษาทั้งกอนและภายหลังการ ชําระเงิน มีจุดใหบริการคอมพิวเตอรแบบจอสัมผัส (Computer Touch Screen) สําหรับตรวจสอบการชําระเงินประเภทตางๆใหแก นักศึกษาและบุคลากร มีโปรแกรมการติดตามการใชจายงบประมาณและเคลียร คาใชจา ยการจัดโครงการ/กิจกรรมของคณะวิชาและฝาย สนับสนุนวิชาการ มีระบบการชําระเงินคาลงทะเบียนเรียนและคาธรรมเนียมอื่นๆ ผานโทรศัพทเคลื่อนที่ (Mobil Phone)

คาระดับ สวน การ คะแนน เบี่ยงเบน แปลผล เฉลีย่ มาตรฐาน เห็นดวยมาก 4.29 .65

อันดับ 1

4.24

.70

เห็นดวยมาก

2

4.20

.71

เห็นดวยมาก

3

4.19

.64

เห็นดวยมาก

4

4.09

.72

เห็นดวยมาก

5

4.08

.77

เห็นดวยมาก

6

7.07

.70

เห็นดวยมาก

7


70

ตารางที่ 5 คาระดับคะแนนเฉลี่ย และสว นเบี่ยงเบนมาตรฐานของความคิด เห็น เกี่ยวกับการนํา นวัตกรรมการใหบริการมาใชในการใหบริการของสวนงานบริการดานหนาดานการเงิน (ตอ)

นวัตกรรมการใหบริการดานการเงิน มีโปรแกรมที่สามารถตรวจสอบการใชจายงบประมาณของ คณะวิชา/ฝายสนับสนุนวิชาการที่เปนปจจุบันโดยสามารถ เขาถึงไดผานระบบออนไลน

รวม

คาระดับ สวน การ คะแนน เบี่ยงเบน แปลผล เฉลีย่ มาตรฐาน เห็นดวยมาก 3.82 .65 4.12

.44

อันดับ 8

เห็นดวยมาก

จากตารางที่ 5 พบวา ในภาพรวมกลุมตัวอยางมีความคิดเห็นเกี่ยวกับการนํานวัตกรรมการ ใหบ ริก ารด านการเงิน มาใชใ นการใหบ ริก ารของส ว นงานบริ ก ารดา นหน าของมหาวิทยาลั ย คริสเตียนในระดับมาก ( X =4.12, S D=.44) โดยเรื่ องที่ก ลุมตัว อยางมีค วามคิด เห็นมากที่สุ ด 3 เรื่อง ไดแก (1) มีโปรแกรมการเคลียรคาใชจายทางการเงินของคณะวิชา/ฝายสนับสนุนวิชาการที่ สามารถกรอกขอ มูล พรอ มแนบหลัก ฐานประกอบผ านระบบออนไลน ( x =4.29, S D=.65) (2) มีโปรแกรมการเบิกเงินของคณะวิชาและฝายสนับสนุนวิชาการที่สามารถกรอกขอมูลลงใน แบบฟอรมผานระบบออนไลน ( x =4.24, S D=.70) และ (3) มีแอปพลิเคชัน (Application) หรือ โปรแกรมที่ชวยสําหรับการวางแผนหรือคํานวณคาใชจายทางการศึกษาตลอดหลักสูตรแกนักศึกษา ( x =4.20, S D=.71) ตารางที่ 6 คาระดับคะแนนเฉลี่ย และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของความคิดเห็น เกี่ยวกับ การนํา นวัตกรรมการใหบริการมาใชในการใหบริการของสวนงานบริการดานหนา ดานสิ่งอํานวยความ สะดวก นวัตกรรมการใหบริการดานสิ่งอํานวยความสะดวก มีโปรแกรมควบคุมการใชพลังงานที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม เชน การใชแสงสวาง การใชเครื่องปรับอากาศในอาคารเรียน และสํานักงาน

คาระดับ สวน การ คะแนน เบี่ยงเบน แปลผล เฉลีย่ มาตรฐาน เห็นดวยมาก 4.07 .65

อันดับ 1


71

ตารางที่ 6 คาระดับคะแนนเฉลี่ย และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของความคิดเห็น เกี่ยวกับ การนํา นวัตกรรมการใหบริการมาใชในการใหบริการของสวนงานบริการดานหนา ดานสิ่งอํานวยความ สะดวก (ตอ) นวัตกรรมการใหบริการดานสิ่งอํานวยความสะดวก มีโปรแกรมการขอใชบริการยานพาหนะทุกประเภท และ สามารถแสดงตารางการเดินรถไปฝกปฏิบัติรายวิชาฝกปฏิบัติ วิชาชีพและรถบริการรับ-สงนักศึกษา/บุคลากรผานระบบ ออนไลน มีโปรแกรมแสดงตารางการใชหองเรียน หองปฏิบัติการ และ หองประชุมทุกหองผานระบบออนไลน มีโปรแกรมที่สามารถกรอกขอมูลการเบิก-จายพัสดุการจัด โครงการและกิจกรรมของคณะวิชาและฝายสนับสนุน วิชาการผานระบบออนไลน มีระบบการสั่งจองชุดฝกปฏิบัติวิชาชีพ หนังสือ ชุดกีฬา อุปกรณทางการศึกษา ฯ ใหแกนักศึกษาสามารถเขาถึงไดผาน ระบบออนไลน มีโปรแกรมการขอใชหองเรียน หองปฏิบัติการ หองประชุมที่ สามารถใหบริการไดผานระบบออนไลน มีฐานขอมูลที่แสดงจํานวนวัสดุ ครุภัณฑ อุปกรณการศึกษา/ อุปกรณสํานักงานของทุกคณะวิชา/ฝายสนับสนุนวิชาการที่ เปนปจจุบัน และสามารถเขาถึงไดทุกสวนงาน มีฐานขอมูลที่แสดงจํานวนสินคา เชน ชุดฝกปฏิบัติวิชาชีพ หนังสือ ชุดกีฬา ฯ ที่จัดจําหนายใหแกนักศึกษาใน รานบุคสโตรใหสามารถเขาถึงไดผานระบบออนไลน มีโปรแกรมที่สามารถตรวจสอบการใชพัสดุการจัดโครงการ หรือกิจกรรมของคณะวิชาและฝายสนับสนุนวิชาการที่เปน ปจจุบันผานระบบออนไลน มีโปรแกรมการจัดซื้อ-จัดจางการจัดโครงการและกิจกรรมของ คณะวิชาและฝายสนับสนุนวิชาการผานระบบออนไลน

รวม

คาระดับ สวน การ คะแนน เบี่ยงเบน แปลผล เฉลีย่ มาตรฐาน เห็นดวยมาก 3.96 .64

อันดับ 2

3.94

.65

เห็นดวยมาก

3

3.94

.77

เห็นดวยมาก

3

3.93

.74

เห็นดวยมาก

4

3.92

.65

เห็นดวยมาก

5

3.92

.64

เห็นดวยมาก

5

3.89

.73

เห็นดวยมาก

6

3.89

.73

เห็นดวยมาก

6

3.85

.73

เห็นดวยมาก

7

3.93

.52

เห็นดวยมาก


72

จากตารางที่ 6 พบวา ภาพรวมกลุมตัวอยางมีความคิดเห็นเกี่ยวกับการนํานวัต กรรมการ ใหบริก ารดานสิ่งอํานวยความสะดวกมาใชใ นการใหบริก ารของสว นงานบริการดานหนาของ มหาวิทยาลัยคริสเตียนในระดับมาก ( X =3.93, S D=.52) โดยเรื่องที่กลุมตัวอยางมีความคิดเห็นมาก ที่สุด 3 เรื่อง ไดแก (1) มีโปรแกรมควบคุมการใชพลังงานที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม เชน การใช แสงสวาง การใชเครื่องปรับอากาศในอาคารเรียน และสํานัก งาน ( x =4.07, S D=.65) (2) มี โปรแกรมการขอใชบริการยานพาหนะทุกประเภท และสามารถแสดงตารางการเดินรถไปฝกปฏิบตั ิ รายวิชาฝกปฏิบัติวิชาชีพและรถบริก ารรับ -สงนัก ศึก ษา/บุค ลากรผานระบบออนไลน ( x =3.96, S D=.64) และ (3) มีโปรแกรมแสดงตารางการใชหองเรียน หองปฏิบัติการ และหองประชุมทุกหอง ผานระบบออนไลน และมีโปรแกรมที่สามารถกรอกขอมูลการเบิก -จายพัสดุการจัดโครงการและ กิจกรรมของคณะวิชาและฝายสนับสนุนวิชาการผานระบบออนไลน ( x =3.94, S D=.65, .77) ตารางที่ 7 คาระดับคะแนนเฉลี่ย และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของความคิดเห็น เกี่ยวกับ การนํา นวัตกรรมการใหบริการมาใชในการใหบริการของสวนงานบริการดานหนา ภาพรวมและรายดาน นวัตกรรมการใหบริการ นวัตกรรมการใหบริการดานเทคโนโลยี นวัตกรรมการใหบริการดานการเงิน นวัตกรรมการใหบริการดานวิชาการ นวัตกรรมการใหบริการดานสิ่งอํานวยความ สะดวก นวัตกรรมการใหบริการดานพัฒนานักศึกษา รวม

คาระดับ คะแนน เฉลีย่ 4.14 4.12 3.97 3.93

สวน เบี่ยงเบน มาตรฐาน .50 .44 .42 .52

3.91 4.01

.43 .46

การ แปลผล

อันดับ

เห็นดวยมาก

เห็นดวยมาก

1 2 3 4

เห็นดวยมาก

5

เห็นดวยมาก เห็นดวยมาก

เห็นดวยมาก

จากตารางที่ 7 พบวา ในภาพรวมกลุมตัวอยางมีความคิดเห็นเกี่ยวกับการนํานวัตกรรมการ ใหบริก ารมาใชใ นการให บริก ารของสว นงานบริก ารดานหนาของมหาวิทยาลัยคริส เตียนใน ระดับมาก ( X =4.01, S D=.46) โดยนวัตกรรมการใหบริการที่กลุมตัวอยางมีความคิดเห็นมากที่สุด 3 เรื่อง ไดแก (1) นวัตกรรมการใหบริการดานเทคโนโลยี ( x =4.14, S D=.50) (2) นวัตกรรมการ ใหบริการดานการเงิน ( x =4.12, S D=.44) และ (3) นวัตกรรมการใหบริการดานวิชาการ ( x =3.97, S D=.42)


73

สวนที่ 3 ความคิดเห็นตอการใหบริการที่เปนเลิศของมหาวิทยาลัยคริสเตียน ตารางที่ 8 คาระดับคะแนนเฉลี่ย และสว นเบี่ยงเบนมาตรฐานของความคิด เห็น เกี่ยวกับ การ ใหบริการที่เปนเลิศ ดานพนักงานผูใหบริการของสวนงานบริการดานหนา คาระดับ สวน การ ดานพนักงานผูใ หบริการของสวนงานบริการดานหนา คะแนน เบี่ยงเบน แปลผล เฉลีย่ มาตรฐาน พนักงานของสวนงานใหบริการดานหนาใสใจ และสนองความ เห็นดวยมาก 3.86 .72 ตองการในการใหความชวยเหลือทานอยางเหมาะสม พนักงานของสวนงานใหบริการดานหนาใหบริการและ คําแนะนําเกี่ยวกับขั้นตอนการใหบริการแกทานอยางชัดเจน และครบถวน พนักงานของสวนงานใหบริการดานหนาใหบริการทานตาม กําหนดเวลาที่เหมาะสม พนักงานของสวนงานบริการดานหนา มีความรู และความคิด สรางสรรคในการใหบริการ มีการจัดจํานวนพนักงานใหบริการประจําสวนงานใหบริการ ดานหนาอยางเหมาะสม พนักงานของสวนงานบริการดานหนา มีจิตใจใหบริการ ตอนรับดวยใบหนาที่ยิ้มแยม และกระตือรือรนดวยมิตรไมตรี

รวม

อันดับ 1

3.84

.70

เห็นดวยมาก

2

3.83

.79

เห็นดวยมาก

3

3.80

.57

เห็นดวยมาก

4

3.79

.64

เห็นดวยมาก

5

3.77

.66

เห็นดวยมาก

6

3.81

.54

เห็นดวยมาก

จากตารางที่ 8 พบวา ในภาพรวมกลุมตัวอยางมีความคิดเห็นตอการใหบริการที่เปนเลิศของ สวนงานบริการดานหนา ดานพนักงานผูใหบริการในระดับมาก ( X =3.81, S D=.54) โดยเรื่องที่ กลุมตัวอยางมีความคิดเห็นมากที่สุด 3 เรื่อง ไดแก (1) พนักงานของสวนงานให บริการดานหนา ใสใจ และสนองความตองการในการใหความชวยเหลือทานอยางเหมาะสม ( x =3.86, S D=.72) (2) พนักงานของสวนงานใหบริการดานหนาใหบริการและคําแนะนําเกี่ยวกับขั้นตอนการใหบริการ แกทานอยางชัดเจนและครบถวน ( x =3.84, S D=.70) และ (3) พนักงานของสวนงานใหบริการดาน หนาใหบริการทานตามกําหนดเวลาที่เหมาะสม ( x =3.83, S D=.79)


74

ตารางที่ 9 คาระดับคะแนนเฉลี่ย และสว นเบี่ยงเบนมาตรฐานของความคิด เห็น เกี่ยวกับ การ ใหบริการที่เปนเลิศ ดานขั้นตอนกระบวนการใหบริการของสวนงานบริการดานหนา ดานขัน้ ตอนกระบวนการใหบริการของ สวนงานบริการดานหนา มีการใหบริการตามขั้นตอนอยางรวดเร็ว ไดรับบริการตามลําดับกอน-หลัง และมีระยะเวลารอที่ เหมาะสม ขั้นตอนการใหบริการของสวนงานบริการดานหนามีความ ชัดเจน และสะดวกในการใชบริการ แบบฟอรมหรือใบคํารองขอใชบริการทั้งภาษาไทยและ ภาษาอังกฤษมีความชัดเจน ชิ้นงานบริการที่ทานไดรับมีความถูกตอง ครบถวนสมบูรณตาม กําหนดเวลา มีการแกไขปญหาที่เกิดขึ้นระหวางที่นักศึกษาและบุคลากร มาใชบริการอยางเหมาะสม

รวม

คาระดับ สวน คะแนน เบี่ยงเบน เฉลีย่ มาตรฐาน 3.95 .71 3.90 .70

การ แปลผล

อันดับ

ดี ดี

1 2

3.88

.70

ดี

3

3.88

.72

ดี

3

3.82

.68

ดี

4

3.65

.72

ดี

5

3.84

.53

ดี

จากตารางที่ 9 พบวา ในภาพรวมกลุมตัวอยางมีความคิดเห็นตอการใหบริการที่เปนเลิศของ สวนงานบริการดานหนา ดานกระบวนการใหบริการ ในระดับมาก ( X =3.84, S D=.53) โดยเรือ่ งที่ กลุมตัวอยางมีความคิดเห็นมากที่สุด 3 เรื่อง ไดแก (1) มีการใหบริการตามขั้นตอนอยางรวดเร็ว ( x =3.95, S D=.71) (2) ไดรับบริการตามลําดับกอน-หลัง และมีระยะเวลารอที่เหมาะสม ( x =3.90, S D=.70) และ (3) ขั้นตอนการใหบริการของสวนงานบริการดานหนามีความชัดเจนและสะดวกใน การใชบริการ รวมทั้งแบบฟอรมหรือใบคํารองขอใชบริการทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษมีความ ชัดเจน ( x =3.88, S D=.70)


75

ตารางที่ 10 คาระดับคะแนนเฉลี่ย และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของความคิดเห็นเกี่ยวกับการ ใหบริการที่เปนเลิศ ดานสถานที่ใหบริการของสวนงานบริการดานหนา

ดานสถานทีใ่ หบริการของสวนงานบริการดานหนา มีชองทางหรือกลองรับฟงความคิดเห็นของนักศึกษาและ บุคลากรอยางชัดเจน มีอุปกรณสํานักงาน เทคโนโลยีที่ทันสมัยสนับสนุนการ ใหบริการของสวนงานบริการดานหนา เชน บัตรคิวอัตโนมัติ เครื่องถายเอกสาร คอมพิวเตอร เครื่องสแกน เครื่องทําบัตร อเนกประสงค เปนตน มีการจัดบรรยากาศภายในและภายนอกของสวนงานใหบริการ ดานหนาดวยความสะดวก เปนระเบียบ และสวยงาม จัดใหมีชองทางบริการที่หลากหลาย เพื่อความสะดวกในการ เขาถึงบริการของนักศึกษาและบุคลากร มีการจัดเคานเตอรใหบริการและเกาอี้รองรับบริการไวอยาง เหมาะสม มีการจัดปายแสดงขาวสาร ขอมูลสําคัญทั้งภาษาไทยและ ภาษาอังกฤษที่เปนปจจุบันของสวนงานบริการดานหนา

รวม

คาระดับ คะแนน เฉลีย่ 3.89

สวน เบี่ยงเบน มาตรฐาน .69

3.80

การ แปลผล

อันดับ

ดี

1

.73

ดี

2

3.79

.68

ดี

3

3.76

.66

ดี

4

3.75

.71

ดี

5

3.73

.70

ดี

6

3.78

.56

ดี

จากตารางที่ 10 พบวา ในภาพรวมกลุมตัวอยางมีความคิดเห็นตอการใหบริการที่เปนเลิศ ของสวนงานบริการดานหนา ดานสถานที่ใหบริการในระดับมาก ( X =3.78, S D=.56) โดยเรื่องที่ กลุมตัวอยางมีความคิดเห็นมากที่สุด 3 เรื่อง ไดแก (1) มีชองทางหรือกลองรับฟงความคิดเห็นของ นักศึกษาและบุคลากรอยางชัด เจน ( x =3.89, S D=.69) (2) มีอุปกรณสํานักงาน เทคโนโลยีที่ ทันสมัยสนับสนุนการใหบริการของสว นงานบริก ารดานหนา เชน บัตรคิวอัตโนมัติ เครื่องถาย เอกสาร คอมพิวเตอร เครื่องสแกน เครื่องทําบัตรอเนกประสงค เปนตน ( x =3.80, S D=.73) และ (3) มีก ารจัด บรรยากาศภายในและภายนอกของสวนงานใหบริ ก ารดานหนาดว ยความสะดวก เปนระเบียบ และสวยงาม ( x =3.79, S D=.68)


76

ตารางที่ 11 คาระดับคะแนนเฉลี่ย และสว นเบี่ยงเบนมาตรฐานของความคิด เห็นเกี่ยวกับการ ใหบริการที่เปนเลิศ ภาพรวมและรายดาน การใหบริการที่เปนเลิศของ สวนงานบริการดานหนา ดานขั้นตอนกระบวนการใหบริการ ดานพนักงานผูใหบริการ ดานสถานที่ใหบริการ รวม

คาระดับ สวนเบีย่ งเบน คะแนนเฉลี่ย มาตรฐาน 3.84 3.81 3.78 3.81

.54 .53 .56 .54

การ แปลผล

อันดับ

ดี ดี ดี ดี

1 2 3

จากตารางที่ 11 พบวา ในภาพรวมกลุมตัวอยางมีความคิดเห็นตอการใหบริการที่เปนเลิศ ของสวนงานบริการดานหนา ในระดับมาก ( X =3.81, S D=.54) โดยจําแนกตามดานการใหบริการ ตามลําดับ ไดแก (1) ดานขั้นตอนกระบวนการใหบริการ ( x =3.84, S D=.54) (2)ดานพนักงาน ผูใหบริการ ( x =3.81, S D=.53) และ (3) ดานสถานที่ใหบริการ ( x =3.78, S D=.56)


77

สวนที่ 4 การวิเคราะหความสัมพันธระหวางนวัตกรรมการใหบริการกับการใหบริการที่เปนเลิศของ สวนงานบริการดานหนา มหาวิทยาลัยคริสเตียน ตารางที่ 12 คาความสัมพันธระหวางนวัต กรรมการใหบริก ารดานวิชาการ ดานพัฒนานักศึกษา ดานเทคโนโลยี ดานการเงิน และดานสิ่งอํานวยความสะดวก กับการใหบริการที่เปนเลิศของสวน งานบริการดานหนามหาวิทยาลัยคริสเตียน คาความสัมพันธกับการใหบริการ ที่เปนเลิศของสวนงานบริการดานหนา ตัวแปรนวัตกรรมการใหบริการ มหาวิทยาลัยคริสเตียน (r) นวัตกรรมการใหบริการดานวิชาการ .703** นวัตกรรมการใหบริการดานพัฒนานักศึกษา .638** นวัตกรรมการใหบริการดานเทคโนโลยี .414** นวัตกรรมการใหบริการดานการเงิน .434** นวัตกรรมการใหบริการดานสิ่งอํานวยความสะดวก .441** ** Correlation is significant at the 0.01 level (2 tailed) จากตารางที่ 12 พบวา นวัตกรรมการใหบริการดานวิชาการ มีความสัมพันธทางบวกใน ระดับสูงกับการใหบริการที่เปนเลิศของสวนงานบริการดานหนา มหาวิทยาลัยคริสเตียน อยางมี นัยสําคัญทางสถิติ (p< 0.01; r = .703) นวัตกรรมการใหบริการดานพัฒนานักศึกษา มีความสัมพันธทางบวกในระดับปานกลาง กับการใหบริการที่เปนเลิศของสวนงานบริการดานหนา มหาวิทยาลัยคริสเตียน อยางมีนัยสําคัญ ทางสถิติ (p< 0.01; r = .638) นวัต กรรมการใหบ ริก ารดา นเทคโนโลยี มีค วามสัมพัน ธทางบวกในระดับ ต่ํากับการ ใหบริการที่เปนเลิศของสวนงานบริการดานหนา มหาวิทยาลัยคริสเตียน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (p< 0.01; r = .414)


78

นวัตกรรมการใหบริการดานการเงินมีความสัมพันธทางบวกในระดับต่ํากับการใหบริการที่ เปนเลิศของสวนงานบริการดานหนา มหาวิทยาลัยคริสเตียน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (p< 0.01; r = .434) นวัตกรรมการใหบริการดานสิ่งอํานวยความสะดวก มีความสัมพันธทางบวกในระดับต่ํา กับการใหบริการที่เปนเลิศของสวนงานบริการดานหนา มหาวิทยาลัยคริสเตียน อยางมีนัยสําคัญ ทางสถิติ (p< 0.01; r = .441) ตารางที่ 13 คาความสัมพันธระหวางนวัต กรรมการใหบริก ารดานวิชาการ ดานพัฒนานักศึกษา ดานเทคโนโลยี ดานการเงิน และดานสิ่งอํานวยความสะดวก กับการใหบริการที่เปนเลิศของส วน งานบริการดานหนามหาวิทยาลัยคริสเตียนดานพนักงานผูใหบริการ คาความสัมพันธกับการใหบริการ ที่เปนเลิศของสวนงานบริการดานหนา ตัวแปรนวัตกรรมการใหบริการ มหาวิทยาลัยคริสเตียน ดานพนักงานผูใ หบริการ (r) นวัตกรรมการใหบริการดานวิชาการ .558** นวัตกรรมการใหบริการดานพัฒนานักศึกษา .550** นวัตกรรมการใหบริการดานเทคโนโลยี .352** นวัตกรรมการใหบริการดานการเงิน .316** นวัตกรรมการใหบริการดานสิ่งอํานวยความสะดวก .405** ** Correlation is significant at the 0.01 level (2 tailed) จากตารางที่ 13 พบวา นวัตกรรมการใหบริการดานวิชาการ มีความสัมพันธทางบวกใน ระดับปานกลางกับการใหบริการที่เปนเลิศของสวนงานบริก ารดานหนา มหาวิทยาลัยคริสเตียน ดานพนักงานผูใหบริการ อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (p< 0.01; r = .558) นวัตกรรมการใหบริการดานพัฒนานักศึกษา มีความสัมพันธทางบวกในระดับปานกลาง กับการใหบริการที่เปน เลิศของสว นงานบริก ารดานหนา มหาวิทยาลัยคริสเตียนดานพนัก งาน ผูใหบริการ อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (p< 0.01; r = .550)


79

นวัต กรรมการใหบ ริก ารดา นเทคโนโลยี มีค วามสัมพัน ธทางบวกในระดับ ต่ํากับการ ใหบริการที่เปนเลิศของสวนงานบริการดานหนา มหาวิทยาลัยคริสเตียน ดานพนักงานผูใหบริการ อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (p< 0.01; r = .352) นวัตกรรมการใหบริการดานการเงินมีความสัมพันธทางบวกในระดับต่ํากับการใหบริการที่ เปนเลิศของสว นงานบริการดานหนา มหาวิทยาลัยคริสเตียน ดานพนัก งานผูใ หบริการ อยางมี นัยสําคัญทางสถิติ (p< 0.01; r = .316) นวัตกรรมการใหบริการดานสิ่งอํานวยความสะดวก มีความสัมพันธทางบวกในระดับต่ํา กับการใหบริการที่เปน เลิศของสว นงานบริก ารดานหนา มหาวิทยาลัยคริสเตียนดานพนัก งาน ผูใหบริการ อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (p< 0.01; r = .405) ตารางที่ 14 คาความสัมพันธระหวางนวัต กรรมการใหบริก ารดานวิชาการ ดานพัฒนานักศึกษา ดานเทคโนโลยี ดานการเงิน และดานสิ่งอํานวยความสะดวก กับการใหบริการที่เปนเลิศของสวน งานบริการดานหนามหาวิทยาลัยคริสเตียนดานกระบวนการใหบริการ คาความสัมพันธกับการใหบริการ ที่เปนเลิศของสวนงานบริการดานหนา ตัวแปรนวัตกรรมการใหบริการ มหาวิทยาลัยคริสเตียน ดานกระบวนการใหบริการ (r) นวัตกรรมการใหบริการดานวิชาการ .591** นวัตกรรมการใหบริการดานพัฒนานักศึกษา .538** นวัตกรรมการใหบริการดานเทคโนโลยี .332** นวัตกรรมการใหบริการดานการเงิน .348** นวัตกรรมการใหบริการดานสิ่งอํานวยความสะดวก .353** ** Correlation is significant at the 0.01 level (2 tailed) จากตารางที่ 14 พบวา นวัตกรรมการใหบริก ารดานวิชาการ มีค วามสัมพัน ธทางบวก ในระดับปานกลางกับการใหบริการที่เปนเลิศของสวนงานบริการดานหนา มหาวิทยาลัยคริสเตียน ดานกระบวนการใหบริการ อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (p< 0.01; r = .591)


80

นวัตกรรมการใหบริการดานพัฒนานักศึกษา มีความสัมพันธทางบวกในระดับปานกลาง กับการใหบริการที่เปนเลิศของสวนงานบริการดานหนา มหาวิทยาลัยคริสเตียนดานกระบวนการ ใหบริการ อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (p< 0.01; r = .538) นวัต กรรมการใหบ ริก ารดา นเทคโนโลยี มีค วามสัมพัน ธทางบวกในระดับ ต่ํากับการ ให บริ ก ารที่ เ ปน เลิ ศของส ว นงานบริก ารด านหน า มหาวิท ยาลัย คริส เตี ยน ด า นกระบวนการ ใหบริการ อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (p< 0.01; r = .332) นวัตกรรมการใหบริการดานการเงินมีความสัมพันธทางบวกในระดับต่ํากับการใหบริการที่ เปนเลิศของสวนงานบริการดานหนา มหาวิทยาลัยคริสเตียน ดานกระบวนการใหบริการ อยางมี นัยสําคัญทางสถิติ (p< 0.01; r = .348) นวัตกรรมการใหบริการดานสิ่งอํานวยความสะดวก มีความสัมพันธทางบวกในระดับต่ํา กับการใหบริการที่เปนเลิศของสวนงานบริการดานหนา มหาวิทยาลัยคริสเตียนดานกระบวนการ ใหบริการ อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (p< 0.01; r = .353) ตารางที่ 15 คาความสัมพันธระหวางนวัตกรรมการใหบริการดานวิชาการ ดานพัฒนานักศึกษา ดานเทคโนโลยี ดานการเงิน และดานสิ่งอํานวยความสะดวก กับการใหบริการที่เปนเลิศของสวน งานบริการดานหนามหาวิทยาลัยคริสเตียนดานสถานที่ใหบริการ คาความสัมพันธกับการใหบริการ ที่เปนเลิศของสวนงานบริการดานหนา ตัวแปรนวัตกรรมการใหบริการ มหาวิทยาลัยคริสเตียน ดานสถานทีใ่ หบริการ (r) นวัตกรรมการใหบริการดานวิชาการ .672** นวัตกรรมการใหบริการดานพัฒนานักศึกษา .568** นวัตกรรมการใหบริการดานเทคโนโลยี .389** นวัตกรรมการใหบริการดานการเงิน .458** นวัตกรรมการใหบริการดานสิ่งอํานวยความสะดวก .388** ** Correlation is significant at the 0.01 level (2 tailed) จากตารางที่ 15 พบวา นวัตกรรมการใหบริก ารดานวิชาการ มีค วามสัมพัน ธทางบวก ในระดับปานกลางกับการใหบริการที่เปนเลิศของสวนงานบริการดานหนา มหาวิทยาลัยคริสเตียน ดานสถานที่ใหบริการ อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (p< 0.01; r = .672)


81

นวัตกรรมการใหบริการดานพัฒนานักศึกษา มีความสัมพันธทางบวกในระดับปานกลาง กับการใหบริก ารที่เป น เลิ ศของสว นงานบริ ก ารด านหนา มหาวิ ทยาลัย คริสเตี ยนดานสถานที่ ใหบริการ อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (p< 0.01; r = .568) นวัต กรรมการใหบ ริก ารดา นเทคโนโลยี มีค วามสัมพัน ธทางบวกในระดับ ต่ํากับการ ใหบริก ารที่เปนเลิศของสว นงานบริการดานหนา มหาวิทยาลัยคริสเตียน ดานสถานที่ ใหบริการ อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (p< 0.01; r = .389) นวัตกรรมการใหบริการดานการเงินมีความสัมพันธทางบวกในระดับต่ํากับการใหบริการที่ เปน เลิ ศของส ว นงานบริก ารด านหนา มหาวิท ยาลั ยคริส เตีย น ดา นสถานที่ใ หบ ริก าร อย างมี นัยสําคัญทางสถิติ (p< 0.01; r = .458) นวัตกรรมการใหบริการดานสิ่งอํานวยความสะดวก มีความสัมพันธทางบวกในระดับต่ํา กับการใหบริก ารที่เป น เลิศของสว นงานบริ ก ารด านหนา มหาวิ ทยาลัย คริสเตี ยนดานสถานที่ ใหบริการ อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (p< 0.01; r = .388) ตารางที่ 16 ความสัมพัน ธร ะหวางตัวแปรนวัตกรรมการใหบริก าร และตัว แปรนวัต กรรมการ ใหบริการกับการใหบริการที่เปนเลิศของสวนงานบริการดานหนามหาวิทยาลัยคริสเตียน ตัวแปร 1. นวัตกรรมการใหบริการ ดานวิชาการ 2. นวัตกรรมการใหบริการ ดานพัฒนานักศึกษา 3. นวัตกรรมการใหบริการ ดานเทคโนโลยี 4. นวัตกรรมการใหบริการ ดานการเงิน 5. นวัตกรรมการใหบริการ ดานสิ่งอํานวยความสะดวก 6. การใหบริการที่เปนเลิศของ สวนงานบริการดานหนา มหาวิทยาลัยคริสเตียน

1

2

3

4

5

6

1.00 .720**

1.00

.676**

.689**

1.00

.695**

.684**

.796**

1.00

.776**

.602**

.550**

.593**

1.00

.703**

.638**

.414**

.434**

.441**

1.00

** Correlation is significant at the 0.01 level (2 tailed)


82

จากตารางที่ 16 พบวา นวัตกรรมการใหบริการดานวิชาการ นวัตกรรมการใหบริการดาน พัฒนานักศึกษา นวัตกรรมการใหบริการดานเทคโนโลยี นวัตกรรมการใหบริการดานการเงินและ นวัตกรรมการใหบริการดานสิ่งอํานวยความสะดวก มีความสัมพันธทางบวกกับการใหบริการทีเ่ ปน เลิศของสวนงานบริการดานหนา มหาวิทยาลัยคริสเตียน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (p< 0.01) ตารางที่ 17 ความสัมพัน ธร ะหวางตัวแปรนวัตกรรมการใหบริก าร และตัว แปรนวัต กรรมการ ให บ ริ ก ารกั บ การให บ ริ ก ารที่ เ ป น เลิ ศ ของส ว นงานบริ ก ารด า นหน า มหาวิ ท ยาลั ย คริ ส เตี ย น ดานพนักงานผูใหบริการ ตัวแปร 1. นวัตกรรมการใหบริการ ดานวิชาการ 2. นวัตกรรมการใหบริการ ดานพัฒนานักศึกษา 3. นวัตกรรมการใหบริการ ดานเทคโนโลยี 4. นวัตกรรมการใหบริการ ดานการเงิน 5. นวัตกรรมการใหบริการ ดานสิ่งอํานวยความสะดวก 6. การใหบริการที่เปนเลิศของ สวนงานบริการดานหนา มหาวิทยาลัยคริสเตียน

1

2

3

4

5

6

1.00 .720**

1.00

.676**

.689**

1.00

.695**

.689**

.796**

1.00

.776**

.602**

.550**

.593**

1.00

.558**

.550**

.352**

.316**

.405**

1.00

** Correlation is significant at the 0.01 level (2 tailed) จากตารางที่ 17 พบวา นวัตกรรมการใหบริการดานวิชาการ นวัตกรรมการใหบริการดาน พัฒนานักศึกษา นวัตกรรมการใหบริการดานเทคโนโลยี นวัตกรรมการใหบริการดานการเงินและ นวัตกรรมการใหบริการดานสิ่งอํานวยความสะดวก มีความสัมพันธทางบวกกับการใหบริการทีเ่ ปน เลิศของสวนงานบริการดานหนา มหาวิทยาลัยคริสเตียนดานพนักงานผูใหบริการ อยางมีนัยสําคัญ ทางสถิติ (p< 0.01)


83

ตารางที่ 18 ความสัมพัน ธร ะหวางตัวแปรนวัตกรรมการใหบริก าร และตัว แปรนวัต กรรมการ ให บ ริ ก ารกั บ การให บ ริ ก ารที่ เ ป น เลิ ศ ของส ว นงานบริ ก ารด า นหน า มหาวิ ท ยาลั ย คริ ส เตี ย น ดานกระบวนการใหบริการ ตัวแปร 1. นวัตกรรมการใหบริการ ดานวิชาการ 2. นวัตกรรมการใหบริการ ดานพัฒนานักศึกษา 3. นวัตกรรมการใหบริการ ดานเทคโนโลยี 4. นวัตกรรมการใหบริการ ดานการเงิน 5. นวัตกรรมการใหบริการ ดานสิ่งอํานวยความสะดวก 6. การใหบริการที่เปนเลิศของ สวนงานบริการดานหนา มหาวิทยาลัยคริสเตียน

1

2

3

4

5

6

1.00 .720**

1.00

.676**

.689**

1.00

.695**

.684**

.796**

1.00

.776**

.602**

.550**

.593**

1.00

.591**

.538**

.332**

.348**

.353**

1.00

** Correlation is significant at the 0.01 level (2 tailed) จากตารางที่ 18 พบวา นวัตกรรมการใหบริการดานวิชาการ นวัตกรรมการใหบริการดาน พัฒนานักศึกษา นวัตกรรมการใหบริการดานเทคโนโลยี นวัตกรรมการใหบริการดานการเงินและ นวัตกรรมการใหบริการดานสิ่งอํานวยความสะดวก มีความสัมพันธทางบวกกับการใหบริการทีเ่ ปน เลิศของสว นงานบริก ารด านหน า มหาวิท ยาลั ยคริส เตียนดานกระบวนการให บริก าร อยางมี นัยสําคัญทางสถิติ (p< 0.01)


84

ตารางที่ 19 ความสัมพัน ธร ะหวางตัวแปรนวัตกรรมการใหบริก าร และตัว แปรนวัต กรรมการ ให บ ริ ก ารกั บ การให บ ริ ก ารที่ เ ป น เลิ ศ ของส ว นงานบริ ก ารด า นหน า มหาวิ ท ยาลั ย คริ ส เตี ย น ดานสถานที่ใหบริการ ตัวแปร 1. นวัตกรรมการใหบริการ ดานวิชาการ 2. นวัตกรรมการใหบริการ ดานพัฒนานักศึกษา 3. นวัตกรรมการใหบริการ ดานเทคโนโลยี 4. นวัตกรรมการใหบริการ ดานการเงิน 5. นวัตกรรมการใหบริการ ดานสิ่งอํานวยความสะดวก 6. การใหบริการที่เปนเลิศของ สวนงานบริการดานหนา มหาวิทยาลัยคริสเตียน

1

2

3

4

5

6

1.00 .720**

1.00

.676**

.689**

1.00

.695**

.684**

.796**

1.00

.776**

.602**

.550**

.593**

1.00

.672**

.568**

.389**

.458**

.388**

1.00

** Correlation is significant at the 0.01 level (2 tailed) จากตารางที่ 19 พบวา นวัตกรรมการใหบริการดานวิชาการ นวัตกรรมการใหบริการดาน พัฒนานักศึกษา นวัตกรรมการใหบริการดานเทคโนโลยี นวัตกรรมการใหบริการดานการเงินและ นวัตกรรมการใหบริการดานสิ่งอํานวยความสะดวก มีความสัมพันธทางบวกกับการใหบริการทีเ่ ปน เลิศของสวนงานบริการดานหนา มหาวิทยาลัยคริสเตียนดานสถานที่ใหบริการ อยางมีนัยสําคัญทาง สถิติ (p< 0.01)


85

สวนที่ 5 การวิเคราะหนวัตกรรมการใหบริการที่มีอํานาจทํานายการใหบริการที่เปนเลิศของสวนงาน บริการดานหนา มหาวิทยาลัยคริสเตียน ตารางที่ 20 คาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธพหุคูณ (R) ระหวางตัว พยากรณที่ไดรับการคัด เลือกเขาสู สมการถดถอย ค า สั ม ประสิ ท ธิ์ก ารพยากรณ ที่เ พิ่ ม ขึ้ น (R²) และทดสอบความมี นั ย สํ า คั ญ ของ สัมประสิทธิ์การพยากรณที่เพิ่ มขึ้น ในการพยากรณก ารใหบริก ารที่เปนเลิศของสวนงานบริก าร ดานหนา มหาวิทยาลัยคริสเตียน โดยการวิเคราะหถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน (Stepwise multiple regression) ขั้นที่

ตัวพยากรณ

1

นวัตกรรมการใหบริการ ดานวิชาการ นวัตกรรมการใหบริการ ดานพัฒนานักศึกษา นวัตกรรมการใหบริการ ดานเทคโนโลยี นวัตกรรมการใหบริการ ดานสิ่งอํานวยความสะดวก

2 3 4

R Adjusted b Square R Square 0.703 0.494 0.491 1.997

0.804

8.652

.000

0.728 0.530

0.525

0.999

0.405

5.280

.000

0.751 0.564

0.556

-0.463

-0.289

-3.724

.000

0.770 0.592

0.583

-0.466

-0.279

-3.463

.001

R

Beta

t

Sig.

Constant (a) = 9.5000 S.E.est.y = 5.47446 Durbin-Watson = 1.606 จากตารางที่ 20 พบวา ในขั้นที่ 1 ของการวิเคราะหถดถอยพหุคุณแบบขั้นตอนตัวพยากรณ ตัวแรก คือ นวัตกรรมการใหบริการดานวิชาการ เนื่องจากมีความสัมพันธกับการใหบริการที่เปน เลิศของสวนงานบริการดานหนามหาวิทยาลัยคริสเตียนมากที่สุด โดยมีคาสัมประสิทธิ์การพยากรณ เทากับ 0.491 แสดงวา นวัตกรรมการใหบริการดานวิชาการ สามารถทํานายการใหบริการที่เปนเลิศ ของสว นงานบริก ารดานหนามหาวิทยาลัยคริ สเตียน ไดรอยละ 49.1 อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (p<0.05) การวิเคราะหขั้นที่ 2 ตัวพยากรณที่ไดรับการคัด เลือกเขาไปพิจารณา คือ นวัตกรรมการ ใหบริการดานพัฒนานักศึกษา พบวา คาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธเพิ่มขึ้นเปนรอยละ 52.5 อยางมี นัยสําคัญทางสถิติ (p<0.05)


86

การวิเคราะหขั้นที่ 3 ตัวพยากรณที่ไดรับการคัด เลือกเขาไปพิจารณา คือ นวัตกรรมการ ใหบ ริก ารด านเทคโนโลยี พบวา คา สัมประสิทธิ์ สหสัมพั น ธ เพิ่ม ขึ้น เปน รอยละ 55.6 อย างมี นัยสําคัญทางสถิติ (p<0.05) การวิเคราะหขั้นที่ 4 ตัวพยากรณที่ไดรับการคัด เลือกเขาไปพิจารณา คือ นวัตกรรมการ ใหบริการดานสิ่งอํานวยความสะดวก พบวา คาสัมประสิทธิ์สหสัมพัน ธเพิ่มขึ้นเปน รอยละ 58.3 อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (p<0.05) และเมื่อเพิ่มตัวพยากรณที่เหลือ ไดแก นวัตกรรมการใหบริการดานการเงิน ในขั้นตอไป ของการวิ เคราะห คา สัมประสิท ธิ์พยากรณเปลี่ยนไปอยางไมมีนั ยสํา คัญทางสถิติ ดังนั้ น การ วิเคราะหถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอนเพื่อหาตัวพยากรณการใหบริการที่เปนเลิศของสวนงานบริการ ดานหนามหาวิทยาลัยคริสเตียน จึงยุติลงในขั้นที่ 4 จะเห็นไดวา เมื่อวิเคราะหถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอนแลว ตัวพยากรณการใหบริการที่เปน เลิศของสวนงานบริการดานหนามหาวิทยาลัยคริสเตียน ไดอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ประกอบดวย 4 ตัวแปร คือ นวัตกรรมการใหบริการดานวิชาการ นวัตกรรมการใหบริการดานพัฒนานักศึกษา นวัตกรรมการใหบริการดานเทคโนโลยี และนวัตกรรมการใหบริการดานสิ่งอํานวยความสะดวก โดยตัวแปรทั้ง 4 สามารถรวมกันทํานายความผันแปรของการใหบริการที่เปน เลิศของสวนงาน บริการดานหนามหาวิทยาลัยคริสเตียนไดรอยละ 58.3 อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (p<0.05) การสรางสมการพยากรณจากผลการวิเคราะหในตารางที่ 20 พบวา สัมประสิทธิ์ถดถอย (b) แตละคาของตัวพยากรณที่ถูกเลือกเขาไปวิเคราะหในขั้นที่ 1- ขั้นที่ 4 คือ นวัตกรรมการใหบริการ ดานวิชาการ นวัตกรรมการใหบริการดานพัฒนานักศึกษา นวัตกรรมการใหบริการดานเทคโนโลยี และนวัตกรรมการใหบริการดานสิ่งอํานวยความสะดวก มีระดับนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ คาคงที่ (a) =9.5000 จากการวิเคราะหการถดถอยและสหสัมพันธพหุคุณในขั้นที่ 4 จะไดเสนถดถอย ที่ดีที่สุด เพื่อพยากรณการใหบริการที่เปนเลิศของสวนงานบริการดานหนามหาวิทยาลัย คริสเตียน ดังนั้น การวิเคราะหครั้งนีจ้ ึงสามารถสรางสมการพยากรณการใหบริการที่เปนเลิศของสวน งานบริการดานหนามหาวิทยาลัยคริสเตียนในรูปของคะแนนดิบและคะแนนมาตรฐาน ดังนี้ การให บ ริ ก ารที่ เป น เลิศ ของส ว นงานบริ ก ารด า นหน า มหาวิ ทยาลั ยคริ ส เตี ย น=0.804 (นวัต กรรมการใหบริก ารดานวิชาการ)+0.405 (นวัตกรรมการใหบริการดานพัฒ นานักศึก ษา)+ 0.289 (นวัตกรรมการใหบริการดานเทคโนโลยี )+0.279 (นวัตกรรมการใหบริการดานสิ่งอํานวย ความสะดวก) ซึ่งหมายความวาการใหบริการที่เปนเลิศของสวนงานบริการดานหนามหาวิทยาลัย คริสเตียน จะเกิด ขึ้ น ได มหาวิทยาลัยฯตองใหค วามสําคัญ สูงสุ ด กับ การพัฒ นานวัต กรรมการ ใหบริการดานวิชาการ และนวัตกรรมการใหบริการดานการพัฒนานักศึกษา โดยอาจไมจําเปนตอง


87

เนนการสงเสริมพัฒนาเกี่ยวกับนวัตกรรมการใหบริการดานเทคโนโลยีและนวัตกรรมการใหบริการ ดานสิ่งอํานวยความสะดวก กลาวคือ นวัตกรรมทั้ง 2 ดานนี้อาจไดรับการสงเสริมพัฒนาใหเพียงพอ อยูแลว ตารางที่ 21 คาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธพหุคูณ (R) ระหวางตัวพยากรณที่ไดรับการคัดเลือกเขาสู สมการถดถอย คาสัม ประสิทธิ์ก ารพยากรณที่เพิ่ มขึ้น (R²) และทดสอบความมีนั ยสําคั ญของ สัมประสิทธิ์การพยากรณที่เพิ่มขึ้น ในการพยากรณก ารใหบริการที่เปนเลิศของสวนงานบริการ ดานหนา มหาวิทยาลัยคริสเตียน ดานพนักงานผูใหบริการ โดยการวิเคราะหถดถอยพหุคูณแบบ ขั้นตอน (Stepwise multiple regression) ขั้นที่ 1 2 3

ตัวพยากรณ นวัตกรรมการใหบริการ ดานวิชาการ นวัตกรรมการใหบริการ ดานพัฒนานักศึกษา นวัตกรรมการใหบริการ ดานการเงิน

R Adjusted Square R Square 0.558 0.311 0.308

b

Beta

t

Sig.

0.425

0.458

4.916

.000

0.597 0.357

0.349

0.384

0.416

4.533

.000

0.627 0.393

0.383

-0.259

-0.286

-3.232

.001

R

Constant (a) =5.899 S.E.est.y =2.48899 Durbin-Watson =1.574 จากตารางที่ 21 พบวา ในขั้นที่ 1 ของการวิเคราะหถดถอยพหุคุณแบบขั้นตอนตัวพยากรณ ตัวแรก คือ นวัตกรรมการใหบริการดานวิชาการ เนื่องจากมีความสัมพันธกับการใหบริการที่เปน เลิศของสวนงานบริการดานหนามหาวิทยาลัยคริสเตียนดานพนักงานผูใหบริการมากที่สุด โดยมีคา สัมประสิ ทธิ์ก ารพยากรณเทากับ 0.308 แสดงวา นวัต กรรมการใหบริการดานวิชาการ สามารถ ทํานายการใหบริการที่เปนเลิศของสวนงานบริการดานหนามหาวิทยาลัยคริสเตียนดานพนักงานผู ใหบริการ ไดรอยละ 30.8 อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (p<0.05) การวิเคราะหขั้นที่ 2 ตัวพยากรณที่ไดรับการคัด เลือกเขาไปพิจารณา คือ นวัตกรรมการ ใหบริการดานพัฒนานักศึกษา พบวา คาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธเพิ่มขึ้นเปนรอยละ 34.9 อยางมี นัยสําคัญทางสถิติ (p<0.05)


88

การวิเคราะหขั้นที่ 3 ตัวพยากรณที่ไดรับการคัด เลือกเขาไปพิจารณา คือ นวัตกรรมการ ใหบริการดานการเงิน พบวา คาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธเพิ่มขึ้นเปนรอยละ 38.3 อยางมีนัยสําคัญ ทางสถิติ (p<0.05) และเมื่อ เพิ่มตัว พยากรณ ที่เหลือ ไดแก นวัต กรรมการใหบริก ารดานเทคโนโลยี และ นวัตกรรมการใหบริการดานสิ่งอํานวยความสะดวก ในขั้นตอไปของการวิเคราะห คาสัมประสิทธิ์ พยากรณเปลี่ยนไปอยางไมมีนัยสําคัญทางสถิติ ดังนั้นการวิเคราะหถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอนเพื่อ หาตัว พยากรณการใหบริการที่เปนเลิศของสวนงานบริก ารดานหนามหาวิทยาลัยคริสเตียนดาน พนักงานผูใหบริการ จึงยุติลงในขั้นที่ 3 จะเห็นไดวา เมื่อวิเคราะหถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอนแลว ตัวพยากรณการใหบริการที่เปน เลิศ ของสว นงานบริ ก ารดานหน ามหาวิท ยาลั ยคริสเตียนดานพนั ก งานผูใ หบริ ก าร ไดอย า งมี นัยสําคัญทางสถิติ ประกอบดวย 3 ตัวแปร คือ นวัตกรรมการใหบริการดานวิชาการ นวัตกรรมการ ใหบริการดานพัฒนานักศึกษา และนวัตกรรมการใหบริการดานการเงิน โดยตัวแปรทั้ง 3 สามารถ รวมกันทํานายความผันแปรของการใหบริการที่เปนเลิศของสวนงานบริการดานหนามหาวิทยาลัย คริสเตียนดานพนักงานผูใหบริการ ไดรอยละ 38.3 อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (p<0.05) การสรางสมการพยากรณจากผลการวิเคราะหในตารางที่ 21 พบวา สัมประสิทธิ์ถดถอย (b) แตละคาของตัวพยากรณที่ถูกเลือกเขาไปวิเคราะหในขั้นที่ 1- ขั้นที่ 3 คือ นวัตกรรมการใหบริการ ดานวิชาการ นวัตกรรมการใหบริการดานพัฒนานักศึกษา และนวัตกรรมการใหบริการดานการเงิน มีระดับนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และคาคงที่ (a) = 5.899 จากการวิเคราะหการถดถอยและ สหสัมพันธพหุคุณในขั้นที่ 3 จะไดเสนถดถอยที่ดีที่สุด เพื่อพยากรณการใหบริการที่เปนเลิศของ สวนงานบริการดานหนามหาวิทยาลัยคริสเตียนดานพนักงานผูใหบริการ ดังนั้น การวิเคราะหครั้งนี้จึงสามารถสรางสมการพยากรณการใหบริการที่เปนเลิศของสวน งานบริการดานหนามหาวิทยาลัยคริสเตียนในรูปของคะแนนดิบและคะแนนมาตรฐาน ดังนี้ การใหบริการที่เปนเลิศของสวนงานบริการดานหนามหาวิทยาลัยคริสเตียนดานพนักงาน ผูใหบริการ= 0.458 (นวัตกรรมการใหบริการดานวิชาการ)+0.416 (นวัตกรรมการใหบริการดาน พัฒนานักศึกษา)+0.286 (นวัตกรรมการใหบริการดานการเงิน) ซึ่งหมายความวา การใหบริการที่ เปนเลิศของสวนงานบริการดานหนามหาวิทยาลัยคริสเตียนดานพนัก งานผูใหบริก าร จะเกิดขึ้น ได นั้น มหาวิทยาลัยฯตองใหความสําคัญกับสูงสุด กับ การพัฒ นานวั ต กรรมการใหบริก ารดาน วิชาการ และนวัตกรรมการใหบริการดานพัฒนานักศึกษา โดยที่ตองพยายามรักษาเสถียรภาพของ ความมั่นคงทางการเงินไว กลาวคือ นวัตกรรมการใหบริการทางการเงินของมหาวิทยาลัยฯ อาจ ไดรับการสงเสริมพัฒนาใหเพียงพออยูแลว


89

ตารางที่ 22 คาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธพหุคูณ (R) ระหวางตัวพยากรณที่ไดรับการคัดเลือกเขาสู สมการถดถอย คาสัม ประสิทธิ์ก ารพยากรณที่เพิ่ มขึ้น (R²) และทดสอบความมีนั ยสําคั ญของ สัมประสิทธิ์การพยากรณที่เพิ่มขึ้น ในการพยากรณก ารใหบริการที่เปนเลิศของสวนงานบริการ ดานหนา มหาวิทยาลัยคริสเตียน ดานกระบวนการใหบริการ โดยการวิเคราะหถดถอยพหุคูณแบบ ขั้นตอน (Stepwise multiple regression) ขั้นที่

ตัวพยากรณ

1

นวัตกรรมการใหบริการ ดานวิชาการ นวัตกรรมการใหบริการ ดานสิ่งอํานวยความสะดวก นวัตกรรมการใหบริการ ดานพัฒนานักศึกษา นวัตกรรมการใหบริการ ดานเทคโนโลยี

2 3 4

R Adjusted Square R Square 0.591 0.349 0.345

b

Beta

t

Sig.

0.685

0.719

6.581

.000

0.614 0.377

0.370

-0.177

-0.288

-3.164

.002

0.640 0.409

0.399

0.343

0.362

4.017

.000

0.661 0.436

0.423

-0.175

-0.244

-2.887

.004

R

Constant (a) =4.089 S.E.est.y =2.46794 Durbin-Watson =1.540 จากตารางที่ 22 พบวา ในขั้นที่ 1 ของการวิเคราะหถดถอยพหุคุณแบบขั้นตอนตัวพยากรณ ตัวแรก คือ นวัตกรรมการใหบริการดานวิชาการ เนื่องจากมีความสัมพันธกับการใหบริการที่เปน เลิศของสวนงานบริการดานหนามหาวิทยาลัยคริสเตียนดานกระบวนการใหบริการมากที่สุด โดยมี คาสัมประสิทธิ์การพยากรณเทากับ 0.345 แสดงวา นวัตกรรมการใหบริการดานวิชาการ สามารถ ทํานายการใหบริการที่เปนเลิศของสวนงานบริการดานหนามหาวิทยาลัยคริสเตียนดานกระบวนการ ใหบริการ ไดรอยละ 34.5 อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (p<.05) การวิเคราะหขั้นที่ 2 ตัวพยากรณที่ไดรับการคัด เลือกเขาไปพิจารณา คือ นวัตกรรมการ ใหบริการดานสิ่งอํานวยความสะดวก พบวา คาสัมประสิทธิ์สหสัมพัน ธเพิ่มขึ้นเปน รอยละ 37.0 อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (p<.05) การวิเคราะหขั้นที่ 3 ตัวพยากรณ ที่ไดรับการคัด เลือกเขาไปพิจารณา คือ นวัตกรรมการ ใหบริการดานพัฒนานักศึกษา พบวา คาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธเพิ่มขึ้นเปนรอยละ 39.9 อยางมี นัยสําคัญทางสถิติ (p<.05)


90

การวิเคราะหขั้นที่ 4 ตัวพยากรณที่ไดรับการคัด เลือกเขาไปพิจารณา คือ นวัตกรรมการ ใหบ ริก ารด านเทคโนโลยี พบวา คา สัมประสิทธิ์ สหสัมพั น ธ เพิ่ม ขึ้น เปน รอยละ 42.3 อย างมี นัยสําคัญทางสถิติ (p<.05) และเมื่อเพิ่มตัวพยากรณที่เหลือ ไดแก นวัตกรรมการใหบริการดานการเงิน ในขั้นตอไป ของการวิ เคราะห คา สัมประสิท ธิ์พยากรณเปลี่ยนไปอยางไมมีนั ยสํา คัญทางสถิ ติ ดังนั้ น การ วิเคราะหถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอนเพื่อหาตัวพยากรณการใหบริการที่เปนเลิศของสวนงานบริการ ดานหนามหาวิทยาลัยคริสเตียนดานกระบวนการใหบริการ จึงยุติลงในขั้นที่ 4 จะเห็นไดวา เมื่อวิเคราะหถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอนแลว ตัวพยากรณการใหบริการที่เปน เลิศของสว นงานบริการดานหนามหาวิทยาลัยคริสเตียนดานกระบวนการใหบริก าร ไดอยางมี นัยสําคัญทางสถิติ ประกอบดวย 4 ตัวแปร คือ นวัตกรรมการใหบริการดานวิชาการ นวัตกรรมการ ใหบริการดานสิ่งอํานวยความสะดวก นวัตกรรมการใหบริการดานพัฒนานักศึกษา และนวัตกรรม การใหบริก ารดานเทคโนโลยี โดยตัว แปรทั้ง 4 สามารถรว มกัน ทํานายความผัน แปรของการ ใหบริการที่เปนเลิศของสวนงานบริการดานหนามหาวิทยาลัยคริสเตียนดานกระบวนการใหบริการ ไดรอยละ 42.3 อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (p<.05) การสรางสมการพยากรณจากผลการวิเคราะหในตารางที่ 22 พบวา สัมประสิทธิ์ถดถอย (b) แตละคาของตัวพยากรณที่ถูกเลือกเขาไปวิเคราะหในขั้นที่ 1- ขั้นที่ 4 คือ นวัตกรรมการใหบริการ ดานวิชาการ นวัตกรรมการใหบริการดานสิ่งอํานวยความสะดวก นวัตกรรมการใหบริการดาน พัฒนานักศึกษา และนวัตกรรมการใหบริการดานเทคโนโลยี ระดับนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และคาคงที่ (a) = 4.089 จากการวิเคราะหการถดถอยและสหสัมพันธพหุคุณในขั้นที่ 4 จะไดเสน ถดถอยที่ดีที่สุด เพื่อพยากรณการใหบริการที่เปนเลิศของสวนงานบริการดานหนามหาวิทยาลัยคริส เตียนดานกระบวนการใหบริการ ดังนั้น การวิเคราะหในครั้งนี้จึงสามารถสรางสมการพยากรณการใหบริการที่เปนเลิศของ สวนงานบริการดานหนามหาวิทยาลัยคริสเตียนดานกระบวนการใหบริการในรูปของคะแนนดิบ และคะแนนมาตรฐาน ดังนี้ การให บ ริ ก ารที่ เ ป น เลิ ศ ของส ว นงานบริ ก ารด า นหน า มหาวิ ท ยาลั ย คริ ส เตี ย นด า น กระบวนการใหบริการ= 0.719 (นวัต กรรมการใหบริก ารดานวิชาการ)+0.288 (นวัต กรรมการ ใหบริก ารดานสิ่งอํานวยความสะดวก)+0.362 (นวัตกรรมการใหบริการดานพัฒ นานักศึกษา)+ 0.244 (นวัตกรรมการใหบริการดานเทคโนโลยี) ซึ่งหมายความวา การใหบริการที่เปนเลิศของสวน งานบริ ก ารด า นหน า มหาวิ ท ยาลั ย คริ ส เตี ย นด า นกระบวนการให บ ริ ก าร จะเกิ ด ขึ้ น ได นั้ น มหาวิทยาลัยฯตองใหความสําคัญสูงสุดกับการพัฒนานวัต กรรมการใหบริการดานวิชาการ และ


91

นวัต กรรมการใหบริการดานการพัฒนานัก ศึกษา โดยอาจไมจําเปน ตองเนนการสงเสริมพัฒนา เกี่ยวกับนวัต กรรมการใหบริก ารดานสิ่งอํา นวยความสะดวก และนวัตกรรมการใหบริก ารดาน เทคโนโลยี กลาวคือ นวัตกรรมทั้ง 2 ดานนี้อาจไดรับการสงเสริมพัฒนาใหเพียงพออยูแลว ตารางที่ 23 คาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธพหุคูณ (R) ระหวางตัวพยากรณที่ไดรับการคัดเลือกเขาสู สมการถดถอย คาสัม ประสิทธิ์ก ารพยากรณ ที่เพิ่ มขึ้น (R²) และทดสอบความมีนั ยสําคั ญของ สัมประสิทธิ์การพยากรณที่เพิ่มขึ้น ในการพยากรณก ารใหบริการที่เปนเลิศของสวนงานบริการ ดานหนา มหาวิทยาลัยคริสเตียน ดานสถานที่ใหบริก าร โดยการวิเคราะหถดถอยพหุคูณ แบบ ขั้นตอน (Stepwise multiple regression) ขั้นที่

ตัวพยากรณ

1

นวัตกรรมการใหบริการ ดานวิชาการ นวัตกรรมการใหบริการ ดานสิ่งอํานวยความสะดวก นวัตกรรมการใหบริการ ดานพัฒนานักศึกษา นวัตกรรมการใหบริการ ดานเทคโนโลยี

2 3 4

R Adjusted Square R Square 0.672 0.452 0.448

b

Beta

t

Sig.

0.867

.876

8.856

.000

0.704 0.496

0.490

-0.225

-0.353

-4.271

.000

0.719 0.517

0.508

0.292

0.297

3.638

.000

0.733 0.537

0.527

-0.159

-0.214

-2.790

.006

R

Constant (a) = 0.807 S.E.est.y = 2.32318 Durbin-Watson = 1.859 จากตารางที่ 23 พบวา ในขั้นที่ 1 ของการวิเคราะหถดถอยพหุคุณแบบขั้นตอนตัวพยากรณ ตัวแรก คือ นวัตกรรมการใหบริการดานวิชาการ เนื่องจากมีความสัมพันธกับการใหบริการที่เปน เลิศของสวนงานบริการดานหนามหาวิทยาลัยคริสเตียนดานสถานที่ใหบริการมากที่สุด โดยมีคา สัมประสิทธิ์ก ารพยากรณเทากับ 0.448 แสดงวา นวัต กรรมการใหบริการดานวิชาการ สามารถ ทํานายการใหบริก ารที่เปนเลิศของสวนงานบริการดานหนามหาวิทยาลัยคริสเตียนดานสถานที่ ใหบริการ ไดรอยละ 44.8 อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (p<.05) การวิเคราะหขั้นที่ 2 ตัวพยากรณที่ไดรับการคัด เลือกเขาไปพิจารณา คือ นวัตกรรมการ ใหบริการดานสิ่งอํานวยความสะดวก พบวา คาสัมประสิทธิ์สหสัมพัน ธเพิ่มขึ้นเปน รอยละ 49.0 อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (p<.05)


92

การวิเคราะหขั้นที่ 3 ตัวพยากรณที่ไดรับการคัด เลือกเขาไปพิจารณา คือ นวัตกรรมการ ใหบริการดานพัฒนานักศึกษา พบวา คาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธเพิ่มขึ้นเปนรอยละ 50.8 อยางมี นัยสําคัญทางสถิติ (p<.05) การวิเคราะหขั้นที่ 4 ตัวพยากรณที่ไดรับการคัด เลือกเขาไปพิจารณา คือ นวัตกรรมการ ใหบ ริก ารด านเทคโนโลยี พบวา คา สัมประสิทธิ์ สหสัมพั น ธ เพิ่ม ขึ้น เปน รอยละ 52.7 อย างมี นัยสําคัญทางสถิติ (p<.05) และเมื่อเพิ่มตัวพยากรณที่เหลือ ไดแก นวัตกรรมการใหบริการดานการเงิน ในขั้นตอไป ของการวิ เคราะห คา สัมประสิท ธิ์พยากรณเปลี่ยนไปอยางไมมีนั ยสํา คัญทางสถิติ ดังนั้ น การ วิเคราะหถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอนเพื่อหาตัวพยากรณการใหบริการที่เปนเลิศของสวนงานบริการ ดานหนามหาวิทยาลัยคริสเตียนดานสถานที่ใหบริการ จึงยุติลงในขั้นที่ 4 จะเห็นไดวา เมื่อวิเคราะหถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอนแลว ตัวพยากรณการใหบริการที่เปน เลิศของสวนงานบริการดานหนามหาวิทยาลัยคริสเตียนดานสถานที่ใหบริการ ไดอยางมีนัยสําคัญ ทางสถิติ ประกอบดวย 4 ตัวแปร คือ นวัตกรรมการใหบริการดานวิชาการ นวัตกรรมการใหบริการ ดานสิ่งอํานวยความสะดวก นวัต กรรมการใหบริก ารดานพัฒ นานัก ศึก ษา และนวัต กรรมการ ใหบริการดานเทคโนโลยี โดยตัวแปรทั้ง 4 สามารถรวมกันทํานายความผันแปรของการใหบริการที่ เปนเลิศของสวนงานบริการดานหนามหาวิทยาลัยคริสเตียนดานสถานที่ใหบริการ ไดรอยละ 52.7 อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (p<.05) การสรางสมการพยากรณจากผลการวิเคราะหในตารางที่ 23 พบวา สัมประสิทธิ์ถดถอย (b) แตละคาของตัวพยากรณที่ถูกเลือกเขาไปวิเคราะหในขั้นที่ 1- ขั้นที่ 4 คือ นวัตกรรมการใหบริการ ดานวิชาการ นวัตกรรมการใหบริการดานสิ่งอํานวยความสะดวก นวัตกรรมการใหบริการดาน พัฒนานักศึกษา และนวัตกรรมการใหบริการดานเทคโนโลยี มีระดับนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และคาคงที่ (a) = 0.807 จากการวิเคราะหการถดถอยและสหสัมพันธพหุคุณในขั้นที่ 4 จะไดเสน ถดถอยที่ดีที่สุด เพื่อพยากรณก ารใหบริการที่เปนเลิศของสวนงานบริก ารดานหนามหาวิทยาลัย คริสเตียนดานสถานทีใ่ หบริการ ดังนั้น การวิเคราะหในครั้งนี้จึงสามารถสรางสมการพยากรณการใหบริการที่เปนเลิศของ สวนงานบริการดานหนามหาวิทยาลัยคริสเตียนดานสถานที่ใหบริการในรูปของคะแนนดิบและ คะแนนมาตรฐาน ดังนี้ การใหบริการที่เปนเลิศของสวนงานบริการดานหนามหาวิทยาลัยคริสเตียนดานสถานที่ ใหบริการ= 0.876 (นวัตกรรมการใหบริการดานวิชาการ)+0.353 (นวัตกรรมการใหบริการดานสิ่ง อํานวยความสะดวก)+0.297 (นวัตกรรมการใหบริการดานพัฒนานักศึกษา)+0.214 (นวัตกรรมการ


93

ใหบริการดานเทคโนโลยี) ซึ่งหมายความวา การใหบริการที่เปนเลิศของสวนงานบริการดานหนา มหาวิทยาลัยคริสเตียนดานสถานที่ใหบริการ จะเกิดขึ้นไดนั้น มหาวิทยาลัยฯตองใหความสําคัญ สูงสุด กับการพัฒนานวัต กรรมการใหบริการด านวิชาการ และนวัต กรรมการใหบริก ารดานการ พัฒนานักศึกษา โดยอาจไมจําเปนตองเนนการสงเสริมพัฒนาเกี่ยวกับนวัตกรรมการใหบริการดาน สิ่งอํานวยความสะดวก และนวัตกรรมการใหบริการดานเทคโนโลยี กลาวคือ นวัตกรรมทัง้ 2 ดานนี้ อาจไดรับการสงเสริมพัฒนาใหเพียงพออยูแลว


94

บทที่ 5 สรุปผลการวิจัย อภิปรายผล และขอเสนอแนะ การวิจัย เรื่อง นวัตกรรมการให บริก ารที่สงผลตอการใหบริก ารที่เปนเลิศของสวนงาน บริ ก ารด า นหน า มหาวิ ท ยาลั ย คริ ส เตี ย น จั ง หวั ด นครปฐม คณะผู วิ จั ย ใช วิ ธี วิ จั ย เชิง บรรยาย (Descriptive research) ในการศึกษา โดยตั้งคําถามการวิจัยวานวัตกรรมการใหบริการที่จะสงผลให เกิดการบริก ารที่เปน เลิศของมหาวิทยาลัยคริสเตียนมีอะไรบาง และนวัต กรรมการใหบริการมี ความสัมพัน ธกับการใหบริก ารที่เปน เลิศของสว นงานบริก ารดานหนา มหาวิทยาลัยคริสเตียน อยางไร ซึ่งไดกําหนดวัตถุประสงคของการวิจยั ที่จะวิเคราะหการนํานวัตกรรมการใหบริการมาใช ในการใหบริการของมหาวิทยาลัยคริสเตียน รวมทั้งวิเคราะหลักษณะความสัมพันธและอํานาจใน การทํานายระหวางนวัตกรรมการใหบริการกับการใหบริการที่เปนเลิศของสวนงานบริการดานหนา มหาวิทยาลัยคริสเตียน กลุมตัวอยาง คือ บุคลากรในสังกัดมหาวิทยาลัยคริสเตียน จังหวัดนครปฐม จํานวน 314 คน โดยกําหนดขนาดของกลุมตัวอยางตามสูตรการคํานวณของทาโร ยามาเน (Taro Yamane) ที่ขนาดความคลาดเคลื่อน รอยละ 5 จึงไดกลุมตัวอยางที่ใชในการศึกษาครั้งนี้อยางนอย จํานวน 176 คน ผูวิจัยใชเครื่องมือวิจัยเปนแบบสอบถาม ซึ่งประยุกตจากแนวคิดนวัตกรรมการ ใหบริการในการจัดการอุดมศึกษาของสมฤทัย น้ําทิพย (2556) แดนจุมา และราสลี (Danjuma & Rasli, 2012) กีรติ ยศยิ่งยง (2552) และแนวคิดการใหบริการที่เปนเลิศของจันทรจิรา วงษขมทอง (2552) การตรวจสอบคุณภาพของเครือ่ งมือวิจัย พบวา มีคาความสอดคลองและความตรงกับสิ่งที่ ตองการวัด (Item objective congruence index : IOC ) เทากับ 0.91 มีคาสัมประสิทธิ์แอลฟา ของครอนบาค (Cronbach’s alpha coefficient) เทากับ .958 และใชคา สัมประสิทธิ์สหสัมพัน ธ เพียรสัน (Pearson ‘ s product moment correlation coefficient) ในการหาความสัมพันธของตัวแปร และการวิเคราะหถดถอยพหุคุณ (Multiple regression coefficient) เพื่อหาอํานาจในการทํานาย ตัวแปรพยากรณในการวิเคราะหขอมูล สรุปผลการวิจัย การศึกษาวิจัยในครั้งนี้กลุมตัวอยางสวนใหญเปนเพศหญิง (รอยละ 87) มีอายุระหวาง 30 40 ป (รอยละ 39.5) สวนใหญอยูในตําแหนงพนักงานมหาวิทยาลัยฯ (รอยละ 45.2) กลุมตัวอยาง ครึ่งหนึ่งมีคุณวุฒิการศึกษาระดับปริญญาโท ( รอยละ 51.4) สังกัดคณะพยาบาลศาสตร (รอยละ


95

48.4) และสังกัดฝายบริหารทรัพยสินและสื่อสารองคกร (รอยละ 32.9) โดยมีระยะเวลาที่ปฏิบัติงาน ที่มหาวิทยาลัยคริสเตียนต่ํากวา 5 ป (รอยละ 38.4) 1. การวิเคราะหการนํานวัตกรรมการใหบริการมาใชในการใหบริการของสวนงานบริการ ดานหนาของมหาวิทยาลัยคริสเตียน การวิ จัย พบวา ในภาพรวมกลุ มตัว อยางมีค วามคิด เห็น เกี่ย วกับการนํ านวัต กรรมการ ใหบริก ารมาใชใ นการให บริก ารของสว นงานบริก ารดานหนาของมหาวิทยาลัยคริส เตียนใน ระดับมาก ( X =4.01, S D=.46) โดยจําแนกตามลําดับ ไดแก นวัตกรรมการใหบริการดานเทคโนโลยี ( x =4.14, SD=.50) รองลงมา คือ นวัตกรรมการใหบริการดานการเงิน ( x =4.12, S D=.44) นวัตกรรม การใหบริการดานวิชาการ ( x =3.97, S D=.42) นวัตกรรมการใหบริการดานสิ่งอํานวยความสะดวก ( x =3.93, S D=.52) และนวัตกรรมการใหบริการดานพัฒนานักศึกษา ( x =3.91, SD=.43) ตามลําดับ การประเมินความคิดเห็นเกี่ยวกับการใหบริการที่เปนเลิศของสวนงานบริการดานหนาของ มหาวิทยาลัยคริสเตียน พบวาภาพรวมกลุมตัวอยางมีความคิดเห็นตอการใหบริการที่เปนเลิศของ สวนงานบริการดานหนา ในระดับมาก ( X =3.81, S D=.54) และจําแนกตามดานการใหบริการ ตามลําดับ ดังนี้ ดานขั้นตอนกระบวนการใหบริการ ( x =3.84, S D=.54) ดานพนักงานผูใหบริการ ( x =3.81, S D=.53) และ ดานสถานที่ใหบริการ ( x =3.78, S D=.56) 2. การวิเคราะหลัก ษณะความสัมพันธ และอํานาจในการทํานายระหวางนวัตกรรมการ ใหบริการกับการใหบริการที่เปนเลิศของสวนงานบริการดานหนา มหาวิทยาลัยคริสเตียน เมื่อวิเคราะหจากสมมติฐานที่ตั้งไว 2 สมมติฐาน ไดแก 2.1 นวั ต กรรมการให บริ ก าร ได แ ก นวั ต กรรมการใหบ ริ ก ารด า นวิช าการ นวัตกรรมการใหบริการดานพัฒนานักศึกษา นวัตกรรมการใหบริการดานเทคโนโลยี นวัตกรรม การใหบริการดานเงิน นวัตกรรมการใหบริการดานสิ่งอํานวยความสะดวก มีความสัมพันธกบั การ ใหบริการที่เปนเลิศของสวนงานบริการดานหนา มหาวิทยาลัยคริสเตียน การวิจัยครั้ง นี้ พบวา นวั ต กรรมการใหบริก าร 5 ดานลว นมีค วามสัมพัน ธใ น ทิศทางบวกกับการใหบริการที่เปนเลิศของสวนงานบริ การดานหนาของมหาวิทยาลัยคริสเตียน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (p<0.01) ไดแก 2.1.1 การให บ ริ ก ารที่ เ ป น เลิ ศ ของส ว นงานบริ ก ารด า นหน า ของ มหาวิทยาลัยคริสเตียนมีความสัมพันธระดับสูงกับนวัตกรรมการใหบริการดานวิชาการ (p <0.01 ; r=.703)


96

2.1.2 การให บ ริ ก ารที่ เ ป น เลิ ศ ของส ว นงานบริ ก ารด า นหน า ของ มหาวิทยาลัยคริสเตียนมีค วามสัมพัน ธร ะดับปานกลางกับนวัต กรรมการใหบริก ารดานพัฒ นา นักศึกษา (p <0.01 ; r=.638) 2.1.3 การให บ ริ ก ารที่ เ ป น เลิ ศ ของส ว นงานบริ ก ารด า นหน า ของ มหาวิทยาลัยคริสเตียนมีค วามสัมพัน ธใ นระดับต่ํากับ นวัต กรรมการใหบริก ารดานเทคโนโลยี (p<0.01 ; r=.414) 2.1.4 การให บ ริ ก ารที่ เ ป น เลิ ศ ของส ว นงานบริ ก ารด า นหน า ของ มหาวิทยาลัยคริสเตียนมีความสัมพันธในระดับต่ํากับนวัตกรรมการใหบริการดานการเงิน (p<0.01 ; r=.434) 2.1.5 การให บ ริ ก ารที่ เ ป น เลิ ศ ของส ว นงานบริ ก ารด า นหน า ของ มหาวิทยาลัยคริสเตียนมีความสัมพันธในระดับต่ํากับนวัตกรรมการใหบริการดานสิ่งอํานวยความ สะดวก (p<0.01 ; r=.441) 2.2 นวั ต กรรมการให บ ริ ก าร ได แ ก นวั ต กรรมการให บ ริ ก ารด า นวิ ช าการ นวัตกรรมการใหบริการดานพัฒนานักศึกษา นวัตกรรมการใหบริการดานเทคโนโลยี นวัตกรรม การใหบริการดานเงิน นวัตกรรมการใหบริการดานสิ่งอํานวยความสะดวก เปนปจจัยที่มีอํานาจใน การทํานายการใหบริการที่เปนเลิศของสวนงานบริการดานหนา มหาวิทยาลัยคริสเตียน การวิจัย พบวา นวัตกรรมการใหบริการ 4 ดาน ไดแก นวัตกรรมการใหบริการดาน วิชาการ นวัตกรรมการใหบริการดานการพัฒนานักศึกษา นวัตกรรมการใหบริการดานเทคโนโลยี สารสนเทศ และนวัตกรรมการใหบริการดานสิ่งอํานวยความสะดวก สามารถรวมกันทํานายการ ใหบริการที่เปนเลิศของสวนงานบริการดานหนาของมหาวิทยาลัยคริสเตียน ไดรอยละ 58.3 อยางมี นัยสําคัญทางสถิติ (p<0.05) อภิปรายผลการวิจัย จากผลการศึกษาวิจัยครั้งนี้ มีประเด็นสําคัญที่สามารถนํามาอภิปรายผล ไดดังนี้ 1. การนํานวัตกรรมการใหบริการมาใชในการใหบริการของสวนงานบริการดานหนาของ มหาวิทยาลัยคริสเตียน จากการศึกษาพบวา กลุมตัวอยางมีความคิดเห็นเกี่ยวกับการนํานวัตกรรมการใหบริการดาน วิชาการ นวัต กรรมการใหบริการดานพัฒนานัก ศึก ษา นวัตกรรมการใหบริ การดานเทคโนโลยี นวัตกรรมการใหบริการดานการเงิน และนวัตกรรมการใหบริการดานสิ่งอํานวยความสะดวกมาใช ในการให บ ริ ก ารของส ว นงานบริ ก ารด า นหน า ของมหาวิ ท ยาลั ย คริ ส เตี ย นในระดั บ มาก


97

ผลการศึกษาดังกลาวสอดคลองกับงานวิจัยของแดนจุมา และราสลี (Danjuma & Rasli, 2012) ที่ ศึกษาความสัมพันธของนวัตกรรมการใหบริการและคุณภาพการใหบริการเพื่อความพึงพอใจของ ลูกคา : มุมมองเกี่ยวกับอุดมศึกษาซึ่งคนพบวา นวัตกรรมการใหบริการไดกลายเปนเครื่องมือสําคัญ ของสถาบัน อุด มศึกษาที่ตองนํานวัต กรรมมาใชเพื่อสรางสรรคสิ่งใหมๆ ทั้ งในดานการกําหนด เปาหมายของกลุมนักศึกษา การสรางความเปนเลิศในการใหบริการเพื่อสรางความพึงพอใจใหแก นักศึกษา และสรางสิ่งแปลกใหมใหแกนักศึกษา รวมทั้งตรงกับความตองการของนักศึกษาตามที่ ปรากฏในขอคน พบในการศึกษาวิจัยของปาริชาติ ปาละนันท (2554) และมารุต คลองแคลว ) (2557) ที่ศึกษาความตองการเรียนรูผานเทคโนโลยีเคลื่อนที่ในสถาบันอุดมศึกษา พบวา นักศึกษา ตางมีความตองการเรียนรูอยูในระดับมาก โดยเรื่องที่อยูในลําดับแรก คือ การใหบริการนักศึกษาใน รูปแบบตางๆ และการติด ตอสื่อสารระหวางผูเรียนกับผูสอน ซึ่งป จ จัยที่สงผลตอกระบวนการ ใหบริการดังกลาว คือ ความพรอมดานเทคโนโลยีของสถาบันอุดมศึกษา ผลการวิจัยดังกลาวยัง สอดคลองกับแนวคิดของเสนห จุยโต (2554) ที่กลาววา นวัตกรรมการใหบริการมีความสําคัญมาก ตอการดําเนินงานของธุรกิจหรือองคกรในปจจุบัน ซึ่งจะชวยสรางความไดเปรียบในการแขงขัน (Competitive advantage) และสร า งความเป น เลิ ศ ให แ ก บุ ค คล ที ม งาน และองค ก ร ดั ง นั้ น มหาวิทยาลัยคริสเตียน จึงควรจัดเตรียมปจจัยสนับสนุน การสรางนวัต กรรมการใหบริการของ องคกร ดังที่ กีรติ ยศยิ่งยง (2552) ระบุวา สถาบันอุดมศึกษาควรจัดเตรียม 4 ปจจัยสําคัญ ไดแก (1) ปจจัยดานทรัพยากรเทคโนโลยี (Technological resource management) คือ การจัดการ การสะสม ความรู และประสบการณปฏิบัติจริง (Experience) กับเทคโนโลยี (Technologies available) การมี ความรูและสามารถใชเปน (Know-how) (2) ปจ จัยดานการบริหารทรัพยากรมนุษ ย (Human resource management) คือ การสงเสริมและสนับสนุนพนักงานในฐานะที่เปนผูสรางนวัตกรรม (3) ปจจัยดานสภาวะเงื่อนไขขององคกร (Organizational conditions) ไดแก วิสัยทัศน กลยุทธองคกร และโครงสรางองคกรที่เอื้ออํานวยตอกัน และ (4) ปจจัยดานการปฏิบัติการ (Operational guidance) ที่ตองใหความใสใจกับการจัดการดานงบประมาณ (Budget) และการวางแผนและการคัดเลือก โครงการ (Planning and selection projects) 2. การใหบริการที่เปนเลิศของสวนงานบริการดานหนาของมหาวิทยาลัยคริสเตียน จากการศึกษาพบวา กลุมตัวอยางมีความคิดเห็นตอการใหบริการที่เปนเลิศของสวนงาน บริก ารดานหนาของมหาวิทยาลัยคริสเตียนดานพนักงานผูใหบริก าร ดานขั้น ตอนกระบวนการ ใหบริการ และดานสถานที่ใหบริการ และภาพรวมอยูในระดับดี สอดคลองกับขอคนพบในงาน ศึกษาวิจัยของทวีรัตน ญาณฤกษ (2555) ที่ศึกษาความพึงพอใจของนิสิตตอการใหบริการของหนวย


98

บริการการศึกษา คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตบางเขน พบวา นิสิตมี ความพึงพอใจดานสถานที่ใหบริการ เจาหนาที่ผูใหบริการ คุณภาพการใหบริการ และกระบวนการ ใหบริการอยูในระดับมาก รวมทั้งงานวิจัยของสมฤทัย น้ําทิพย (2546) ซึ่งวิเคราะหปจจัยที่สงผลตอ ความพึงพอใจของนัก ศึก ษาในการจัด บริก ารการศึก ษาของสถาบัน อุด มศึก ษา กลาวคือ การที่ นัก ศึก ษาไดรับรูถึงคุณ ภาพ (Perceived quality) ในการใหบริก ารและรับรูถึงคุณคา (Perceived value) คือ การรับรูถึงความคุมคา รับรูถึงประโยชนที่ไดรับจากสินคาและบริการเมื่อเปรียบเทียบกับ เงิน ที่ ได จายไป และสามารถที่จ ะนําไปสูก ารสรางความพึงพอใจและความภัก ดี ข องนัก ศึก ษา ตามไปด ว ย ผลการวิ จั ย ดั ง กล า วยั ง สอดคล อ งกั บ ผลการสํ า รวจความคิ ด เห็ น ของบุ ค ลากร มหาวิทยาลัยคริสเตียนตอการใหบริการของสวนงานในสังกัดมหาวิทยาลัยคริสเตียน สํารวจโดย สํานักบริหารบุคลากร (2559) พบวา บุคลากรซึ่งประกอบดวยผูบริหาร อาจารย และพนักงานของ มหาวิทยาลัยฯ มีความคิดเห็นเกี่ยวกับการใหบริการดานพนักงานผูใหบริการ ขั้นตอนกระบวนการ ใหบริการ และการจัดสิ่งอํานวยความสะดวกในการใหบริการในระดับดี อยางไรก็ตามขอคนพบจากการวิจัยครั้งนี้ แตกตางจากงานวิจัยของสมพร ภูชํานิ (2552) ที่ศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษาระดับปริญญาตรีที่มีตอการใหบริการของงานบริการการศึกษา คณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัยรามคําแหง พบวา นักศึกษามีความพึงพอใจตอการใหบริการการศึกษา ของคณะฯ ดานวิธีการและขั้นตอนการใหบริการ ดานสถานที่และสิ่งแวดลอม ดานการใหบริการ ของเจา หน าที่ อยูใ นระดั บ ปานกลาง ทั้ ง นี้อ าจเป น เพราะจํ านวนนัก ศึ ก ษาของมหาวิท ยาลั ย รามคําแหงซึ่งเปนมหาวิทยาลัยเปดที่มาใชบริการที่มีจํานวนมากกวา อีกทั้งรูปแบบการใหบริการ ของสถาบันแตละแหงซึ่งมีความแตกตางกัน 3. นวัตกรรมการใหบริการที่สงผลตอการใหบริการที่เปนเลิศของสวนงานบริการดานหนา มหาวิทยาลัยคริสเตียน จากการศึกษาพบวา นวัตกรรมบริการ 5 ดาน ไดแก นวัตกรรมการใหบริการดานวิชาการ นวัตกรรมการใหบริการดานพัฒนานักศึกษา นวัตกรรมการใหบริการดานเทคโนโลยี นวัตกรรม การใหบริการดานการเงิน และนวัตกรรมการใหบริการดานสิ่งอํานวยความสะดวก มีความสัมพันธ กับการใหบริการที่เปนเลิศของสวนงานบริการดานหนาของมหาวิทยาลัยคริสเตียน ซึ่งผลการศึกษา ดังกลาวสอดคล องกับงานวิจัยของสมฤทัย น้ํา ทิพย (2556) ที่ศึก ษาผลกระทบนวัต กรรมการ ใหบริก ารตอความพึงพอใจและความภักดีของนักศึกษาในสถาบัน อุด มศึกษา งานของสุพรรณี ทองแมน (2554) เรื่อง ผลกระทบของกลยุทธการจัดการความรูที่มีตอศักยภาพทางนวัตกรรมของ สถาบัน อุด มศึก ษาในสังกัด คณะกรรมการการอุด มศึก ษา งานของจิน ตหรา แสงทะรา (2557)


99

ที่ศึกษาผลกระทบของศัก ยภาพทางดานนวัต กรรมสมัยใหมที่สัมพันธกับผลการดําเนินงานของ สถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทย อีกทั้งงานของพัชรี ภูบุญอิ่ม (2558) ที่ศึกษาปจจัยที่มีอิทธิพลตอ ความพึ งพอใจของนัก ศึก ษาเกี่ ยวกั บการบริ ก ารของสํา นัก สง เสริ มวิ ชาการและงานทะเบีย น มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม และงานของบัตต และเรแมน (Butt & Rehman, 2010) ที่ศึกษา ความพึงพอใจของนักศึกษาระดับอุดมศึกษา กรณีศึกษาสถาบันอุดมศึกษาในปากีสถาน ซึ่งตางมีขอ คนพบที่ตรงกันวา ปจจัยเกี่ยวกับการนําเทคโนโลยีหรือนวัตกรรมสมัยใหมในรูปแบบตางๆมาใช ในการใหบริการนักศึกษา รวมทั้งการจัดการเรียนการสอนมีความสัมพันธกับความพึงพอใจตอการ ใหบริการของสถาบันอุดมศึกษา ทั้งนี้เนื่องจากในปจจุบันนักศึกษามีการใชอุปกรณการสื่อสารแบบ ไรสายมากขึ้น เชน โทรศัพทมือถือ ซึ่งเปนอุปกรณที่มีขนาดเล็กและมีความสะดวกในการพกพา นักศึกษาจึงใหความสําคัญกับเทคโนโลยีที่อยูใกลตัวที่ตนเองไดรับประโยชน เชน เทคโนโลยีที่ใช ในการประชาสัมพันธการใหบริการผานทางโมบายแอปพลิเคชัน (Mobile application) เฟสบุก (facebook) เทคโนโลยีที่ ใ ช ใ นการสนั บสนุ น การเรี ย นรูด ว ยตนเอง เชน การเรีย นรู ผา นสื่ อ อิเล็ก ทรอนิก ส (E-learning) หองสมุด อัต โนมัติ (E-library) ระบบการประชุมทางไกล (VDO conference) และเทคโนโลยีที่ใ ชใ นการใหบริก ารแกนักศึก ษา การลงทะเบียน และการติด ตอ สอบถาม ซึ่งเทคโนโลยี เปนสิ่งที่ทําใหนักศึกษาไดรับความสะดวกสบายมากยิ่งขึ้น สามารถเขาถึง ขอมูลไดทุกที่ทุกเวลา และยังสอดคลองกับงานศึกษาวิจัยของพัชรี ศิริพรวิจิตร (2555) ที่ไดศึกษา การใหบริการขอมูลการศึกษาผานระบบโทรศัพทตอบรับอัตโนมัติ : กรณีศึกษาบัณฑิตศึกษา คณะ เทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย นอกจากนี้ยังสอดคลองกับงานของรัชนิวัลย มูลสีละ (2556) ทีไ่ ดศึกษาการพัฒนาระบบสารสนเทศการใหบริการนักศึกษาดานงานวิชาการ คณะ วิศวกรรมศาสตรมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตขอนแกน รวมทั้งสอดคลองกับ งานของอภิชัย ศิริสวัสดิ์ (2556) ที่ศึกษาแนวทางการใหบริก ารการศึก ษาผานทางเว็บไซตข อง คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มหาวิทยาลัยศิลปากร และงานของฐาปนี เพ็งสุข (2556) ทีศ่ ึกษาการพัฒนาระบบสารสนเทศงานกิจการนิสิต คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยมหาสารคาม โดยใชสถาปตยกรรมเชิงบริการและเทคโนโลยีเว็บเซอรวิส ซึ่งทั้งหมดเปนงานศึกษาวิจัย เกี่ยวกับ การพัฒนาระบบสารสนเทศการใหบริการนักศึกษาดานวิชาการและดานการพัฒนานักศึกษาตางมี ขอคนพบไปในทิศทางเดียวกันวา ระบบที่พัฒนาขึ้นไดชวยใหนักศึกษาและบุคลากรสามารถเขาถึง การใชบริการไดตลอดเวลา มีความปลอดภัย สามารถที่จะสืบคนขอมูลไดอยางรวดเร็ว อีกทั้งยังทํา ใหเห็นภาพรวมของขอมูลคณะวิชา/สถาบันอุดมศึกษา สามารถนําขอมูลไปตอยอดในการวางแผน พัฒนาระบบการใหบริการตรงกับขอเท็จจริงและเปนปจจุบัน


100

จะเห็นไดวาปจจัยนวัตกรรมบริการดานตางๆที่สงผลตอการใหบริการที่เปนเลิศของสวน งานบริการดานหนาของมหาวิทยาลัยคริสเตียนหากอภิปรายในเชิงประสิทธิภาพแลวอาจวิเคราะห ไดวา ยิ่งมหาวิทยาลัยฯนํานวัตกรรมการใหบริการมาใชในการใหบริการของสวนงานบริการดาน หนามากยิ่งขึ้น เทา ไร ยอมสงผลตอการใหบริก ารที่เปน เลิศของสว นงานบริก ารด านหนา ของ มหาวิทยาลัยคริสเตียนดียิ่งขึ้นตามไปดวย กลาวคือ นวัตกรรมการใหบริการชวยสรางความพึงพอใจ แกผูใชบริการกลุมตางๆ ทําใหนักศึกษา บุคลากร และมหาวิทยาลัย ฯ สามารถที่จะชวยลดตนทุน ดานเวลา งบประมาณ และทรัพยากรบุคคลที่ใชในการดําเนินงานไดมากขึ้นดวย เนื่องจากการใช เทคโนโลยี/นวัตกรรมการใหบริการจะเปนเครื่องมือในการสรางความเชื่อมโยงในการให บริการ ระหวางผูใหบริการและผูมาใชบริการไดอยางตอเนื่อง สะดวก และรวดเร็ว สอดคลองกับแนวคิด ของเศรษฐพงศ มะลิสุวรรณ (2559) ที่อธิบายวา นวัตกรรมบริการดิจิทัลสงผลใหรูปแบบธุรกิจ บริการที่มีอยูเกิดความตอเนื่องมากขึ้น ทําใหสามารถเชื่อมโยงถึงกันไดในบริการใหมๆ ตอบสนอง การสื่อสารสองทาง และการตอบสนองแบบทันที นอกจากนี้ยังทําใหองคกรสามารถลดตนทุนใน การใหบริการลูกคา ขณะเดียวกันสามารถเพิ่มความพึงพอใจของลูกคา รวมทั้งทําใหองคกรสามารถ รัก ษาลูก คาเดิม ไวได และสอดคลองกับ แนวคิด ของจัน ทรจิร า วงษข มทอง และคณะ (2552) ที่อธิบายวาการใหบริการที่เปนเลิศนั้นองคกรตองมีการเรียนรูและสรางนวัตกรรม (Learning and innovation) อยางตอเนื่อง โดยการสรางระบบและความเชื่อมั่นที่มีคุณภาพ และใชเทคโนโลยีใหม มาผสมผสานและปรับปรุงระบบบริก ารอยางตอเนื่อง ทั้งนี้ หากไดมี การพัฒนานวัต กรรมการ ใหบริการดานตางๆของมหาวิทยาลัยคริสเตียน ตามขอคน พบของการวิจัยในครั้งนี้ จะสงผลให เกิดผลตอการใหบริการของสวนงานดานหนาของมหาวิทยาลัยฯในเรื่องตางๆ ดังนี้ 3.1 นวัตกรรมการใหบริการดานวิชาการ โดยจัดใหมีตําราอิเล็กทรอนิกส (E-book) หรือเอกสารประกอบการสอนของทุกรายวิชาที่เปดสอนใหศึกษาลวงหนาผานระบบออนไลน จะ ชวยลดจํานวนการใชทรัพยากรสิ้นเปลื้องอยางกระดาษ และคาใชจายทางการศึกษาของนักศึกษา ทําใหนัก ศึก ษาสามารถเขาถึงการใชงานไดต ลอดเวลา อีก ทั้งไมเพิ่มภาระงานแกบุค ลากรของ มหาวิทยาลัยฯตองมาใหบริการจัดจําหนายเอกสารดังกลาวในรูปแบบเดิม 3.2 นวัตกรรมการใหบริการดานการพัฒนานักศึกษา โดยจัดใหมีโปรแกรมจอง หอพักภายในมหาวิทยาลัยฯ ที่สามารถแสดงถึงจํานวนหองวาง ระยะเวลาการพักอาศัย รวมทั้งการ คํานวณคาใชจาย ทําใหนักศึกษาสามารถเขาถึง ขอมูลไดอยางสะดวกในการรับบริก าร ชวยให สามารถวางแผนการใช ชี วิ ต ภายในมหาวิ ท ยาลั ย ฯ และคํ า นวณค า ใช จ า ยส ว นตั ว ได อ ย า งมี ประสิทธิภาพ ขณะเดียวกันมหาวิทยาลัยฯจะไดใชประโยชนจากการวางแผนการใหบริการหอพัก


101

แกนักศึกษาและคํานวณรายไดจากการดําเนินงาน รวมทั้งยังประหยัดจํานวนบุคลากรที่ใหบริการ ดูแลภาระงานดังกลาวไดมากขึ้น 3.3 นวัตกรรมการใหบริการดานเทคโนโลยี โดยจัดใหมีจุดบริการคอมพิวเตอร แบบจอสัมผัส (Computer touch screen) สําหรับการลงทะเบียน จะชวยอํานวยความสะดวกใหแก นัก ศึ ก ษาได ลงทะเบีย นอยางสะดวกและรวดเร็ว รวมทั้ งสามารถใชท ดแทนบุ ค ลากรในการ ใหบริการได 3.4 นวัต กรรมการให บ ริ ก ารดา นการเงิ น โดยจั ด ใหมี โ ปรแกรมการเคลี ย ร คาใชจา ยทางการเงิ น ของคณะวิ ชา/ฝายสนับ สนุน วิชาการที่ส ามารถกรอกขอมู ล พรอมแนบ หลักฐานผานระบบออนไลน สามารถชวยลดขอจํากัดดานเวลา และการใชทรัพยากรที่ฟุมเฟอยใน รูปแบบกระดาษ ทดแทนบุคลากรที่ใหบริการ รวมทั้งยังสามารถเชื่อมโยงขอมูลดังกลาวไปใช ประกอบการวางแผนการบริหารงบประมาณของคณะวิชา/ฝายสนับสนุนวิชาการดวย 3.5 นวัตกรรมการใหบริการดานสิ่งอํานวยความสะดวก โดยจัดใหมีโปรแกรมการ ขอใชบริการยานพาหนะทุกประเภท และสามารถแสดงตารางการเดินรถไปฝกปฏิบัติรายวิชาฝก ปฏิบัติวิชาชีพ และรถบริก ารรับ -สงนัก ศึก ษา/บุคลากรในโครงการ/กิจกรรมที่ไดรับอนุมัติจาก มหาวิทยาลั ยฯผานระบบออนไลน จะชว ยใหผูใ ชบริ ก ารสามารถเขาถึง ขอมูลการเดิน รถของ มหาวิทยาลัยฯไดต ลอดเวลา ลดขั้น ตอนการเขีย นขอใชบริก ารในเอกสารตามรูปแบบเดิม และ สามารถวางแผน ควบคุม ตรวจสอบ และคาใชจายในการดําเนินการเกี่ยวกับการเดินรถภาพรวมทั้ง ระบบของมหาวิทยาลัยฯในแตละวันทําการไดอยางมีประสิทธิภาพ ขอเสนอแนะ ขอเสนอแนะเชิงวิชาการ การศึกษาปจจัยที่สงผลตอการใหบริการที่เปนเลิศของสวนงานบริการดานหนาและสราง ความพึงพอใจจากการใชบริก ารตามมุมมองของผูมาใชบริก ารขององคก ร/สถาบัน ทั้งภาครั ฐ ภาคเอกชนงานศึก ษาสวนใหญจะมีขอคนพบเกี่ยวกับสาเหตุหรือปจจัยที่สงผลตอการใหบริการ ไดแก ปจจัยสวนบุคคล เชน เพศ อายุ การศึกษา ระยะเวลาที่ปฏิบัติงาน ปจจัยที่เปนผลมาจากการ ดําเนินงานขององคกร เชน นโยบายองคกร การสนับสนุนดานงบประมาณ หรือปจจัยเชิงจิตวิทยา เชน บุคลิกภาพของผูใหบริการ ความไวเนื้อเชื่อใจ การตอบสนองในการใหบริการ เปนตน แตจาก การศึกษาวิจัยในครั้งนี้บงชี้ใหเห็นวาปจจัยเกี่ ยวกับ “นวัตกรรมการใหบริการ” หมายถึง การนํา กระบวนการหรือวิธีการใหมๆโดยมีเทคโนโลยีสมัยใหมเขามาใชในระบบและกลไกการใหบริการ


102

ของสวนงานบริการดานหนา นับเปนอีกปจจัยหนึ่งที่สามารถใชเปนตัวแปรอธิบายการใหบริการที่ เปนเลิศหรือการสรางความพึงพอใจของผูใชบริ การ นอกจากเหนือจากปจจัยที่กลาวมาขางตน ซึ่งแตละองคกรหรือผูสนใจศึกษาสามารถนําไปประยุกตใหสอดคลองกับบริบทขององคกร เพื่อ คนหาคําตอบและสามารถใชประโยชนที่ไดจากการศึกษาวิจัยไดอีกแนวทางหนึ่ง 1. ขอเสนอแนะสําหรับการบริหาร จากการศึกษาวิจัย ในครั้งนี้แสดงใหเห็นวา นวัตกรรมการใหบริการมีความสัมพันธและ สงผลตอการใหบริการที่เปนเลิศของมหาวิทยาลัยคริสเตียน ดังนั้นเพื่อใหเกิดเปนรูปธรรมในการ ดําเนินงานของมหาวิทยาลัยฯ คณะผูว ิจัย มีขอเสนอแนะเพื่อนําไปสูการนํานวัตกรรมการใหบริการ มาใชในมหาวิทยาลัยฯ ดังนี้ 1.1 มหาวิท ยาลัย ฯควรจั ด ทําแผนกลยุทธที่เ นน การวิจัย พัฒ นานวัต กรรมการ ใหบริก ารแกฝายสนับสนุน วิชาการที่เกี่ยวของใชเปน แนวทางในการนําไปสู ปฏิบัติ เพื่อจัด ทํา แผนปฏิบัติการเกี่ยวกับการใหบริการของสวนงานบริการดานหนาเสนอตอมหาวิทยาลัยฯในทุกป การศึกษา 1.2 มหาวิทยาลัยฯควรสงเสริมและสนับสนุน ใหฝายสนับสนุนวิชาการพัฒ นา โครงการวิจัยดานนวัตกรรมการใหบริการแกนักศึกษาและบุคลากรอยางตอเนื่อง เชน การพัฒนา โปรแกรมเทคโนโลยีดิจิทัลในงานประเภทตางๆ ซึ่งอาจดําเนินการรวมกันระหวางสวนงานหรือ คณะวิชา โดยตองจัดใหมีการพัฒนาคูมือการใชงานโปรแกรมที่พัฒนาขึ้นควบคูกันไปดวยเพื่อให บุคลากรที่เกี่ยวของสามารถเรียนรูไดอยางเขาใจ 1.3 มหาวิทยาลัยฯควรจัด สรรงบประมาณการพัฒนานวัต กรรมการใหบริก าร/ เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อพัฒนาการจัดการเรียนการสอนและการใหบริการของทุกสวนงานบริการดาน หนาอยางเหมาะสม 1.4 มหาวิทยาลัยฯ ควรจัดใหมีกระบวนการติดตาม และประเมินผลการดําเนินงาน การใชน วัตกรรมบริก ารประเภทตางๆของสวนงานบริก ารดานหนาจากมุมมองของผูใ ชบริการ ไดแก ผูบริหาร อาจารย นักศึกษา และพนักงาน เพื่อนํามาปรับปรุงการใหบริการอยางตอเนื่ องทุก ปการศึกษา 2. ขอเสนอแนะสําหรับการใหบริการ 2.1 จัดใหมีการสํารวจรูปแบบการใหบริการของสวนงานใหบริการดานหนา และ สวนงานอื่นๆในปจจุบันที่ยังคงใชระบบปกติ (manual) แกนักศึกษา/บุคลากรเพื่อเตรียมการพัฒนา ใหอยูในรูปแบบเทคโนโลยีดิจิทัล ซึ่งจะชวยลดตนทุนคาใชจายดานทรัพยากรบุคคล งบประมาณ และทรัพยากรสิ้นเปลื้องประเภทตางๆลดลง


103

2.2 สงเสริมและสนับสนุนการพัฒนาบุคลากรที่รับผิดชอบงานพัฒนาเทคโนโลยี ดิจิทั ลของมหาวิท ยาลัย ฯ และควรกํ าหนดให ทุก ส ว นงานมี บุค ลากรประจํา ที่มีค วามรู ความ เชี่ยวชาญดานเทคโนโลยีดิจิทัลอยางนอยหนึ่งคน ใหไดรับการเพิ่มพูนความรูและพัฒนาทักษะดาน เทคโนโลยีดิจิทัล โดยจัดสงไปอบรมภายนอกอยางตอเนื่อง 2.3 สงเสริมและสนับสนุนใหมีการจัดการศึกษาดูงานเกี่ยวกับนวัตกรรมบริการ ของสถาบั น อุ ด มศึ ก ษาแห ง อื่ น ๆ ทั้ ง สถาบั น อุ ด มศึ ก ษา องค ก ร หน ว ยงานในสั ง กั ด ภาครั ฐ ภาคเอกชน เพื่อนําขอมูลที่ไดมาเปรียบเทียบ วิเคราะห ประยุกตใหเปนประโยชนกับมหาวิทยาลัยฯ 3. ขอเสนอแนะสําหรับการวิจัยครั้งตอไป ในระหวางกระบวนการวิจัยและเสร็จ สิ้น การวิจัย คณะผูวิจัยพบประเด็น ที่นาสนใจซึ่ง สามารถพัฒนาเปนโจทยในการศึกษาวิจัยเพื่อเพิ่มพูนองคความรูและขอคนพบใหมๆสําหรับการ วิจัยเพื่อพัฒนาระบบการใหบริการของมหาวิทยาลัยฯ ในครั้งตอไป ดังนี้ 3.1 นํา ข อ คน พบจากการศึ ก ษาวิ จั ย ในครั้ งนี้ ไ ปศึ ก ษากั บกลุ ม ตัว อย างที่ เ ป น นัก ศึก ษาของมหาวิ ทยาลัยฯ โดยปรั บหรื อเพิ่ มขอคํ าถามการวิจั ยให สอดคลอ งกับ บริบ ทการ ใหบริการกับกลุมนักศึกษาในฐานะที่เปนผูใชบริการบริการกลุมหลักของมหาวิทยาลัยฯ 3.2 จั ด ใหมี ก ารศึก ษาวิจั ยเพื่อพั ฒ นานวัต กรรมการจัด การเรียนการสอนของ รายวิชา หลักสูตร เพื่อสรางบรรยากาศที่แปลกใหมในการจัดการเรียนการสอนและทันสมัย รวมทั้ง อํานวยความสะดวกใหแกนักศึกษาและอาจารยในการถายทอด แลกเปลี่ยนความรูมากขึ้น 3.3 พัฒนาโจทยการวิจัยที่นําปจจัยนวัตกรรมการใหบริการผสมผสานกับแนวคิด การสื่ อสารการตลาดดิจิ ทัล มาใช เปน กลยุท ธใ นการสื่ อสารการตลาดเพื่ อเพิ่ มจํานวนการรั บ นัก ศึ ก ษาและกลยุ ท ธก ารสื่ อ สารองค ก รไปยั ง ภายนอก เพื่ อเสริ ม สร างภาพลั ก ษณ ที่ ดี ใ ห แ ก มหาวิทยาลัยฯ 3.4 ศึกษาตัวแปรนวัตกรรมบริการดานอื่นๆ ที่ไดจากการทบทวนวรรณกรรมใน ครั้งนี้ เชน นวัตกรรมองคกรทางสังคม (Social–organization innovation) นวัตกรรมรูปแบบธุรกิจ (Business model innovation) นวัตกรรมหลักสูตร (Curriculum innovation) และนวัตกรรมเครือขาย งานวิจัย (Research network innovation) ของมหาวิทยาลัยฯมาศึกษาเพื่อคนหาคําตอบเกี่ยวกับการ พัฒนานวัตกรรมการใหบริการดานอื่นๆของมหาวิทยาลัยฯนอกเหนือจากการศึกษาวิจัยในครั้งนี้ --------------------------------------------------------------------


104

บรรณานุกรม กระทรวงมหาดไทย. (2560). ระบบสถิติทางการทะเบียน. (ออนไลน). สืบคนเมื่อวันที่ 2 กรกฎาคม 2560, จาก http://stat.bora.dopa.go.th/. กระทรวงศึกษาธิการ. (2560) สารสนเทศเพื่อการศึกษาแหงชาติ. (ออนไลน) เขาถึงไดจาก : www.mis.moe.go.th.statistic, วันที่คนขอมูล 26 พฤษภาคม 2560. กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร. (2559). แผนพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม พ.ศ.2559 Digital Thailand. นนทบุรี : กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร. กีรติ ยศยิ่งยง. (2552). องคกรแหงนวัตกรรม แนวคิดและกระบวนการ. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. เกษมสันต พิพัฒนศิริศกั ดิ.์ (2552). การจัดการการตลาด.กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยกรุงเทพ. จันทรจิรา วงษขมทอง และคณะ. (2552). โครงการวิจัยปฏิบัติการเพื่อพัฒนารูปแบบและศักยภาพ การใหบริการที่เปนเลิศของอําเภอในสังกัดกรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย. นครปฐม : มหาวิทยาลัยคริสเตียน. จินตหรา แสงทะรา. (2557). ผลกระทบของศักยภาพทางดานนวัตกรรมสมัยใหมที่สัมพันธกับ ผลการดําเนินงานของสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทย. วิทยานิพนธบริหารธุรกิจ มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. จุฬารัตน บุษบงก. (2553). การพัฒนาแผนกลยุทธการจัดการความรูเชิงนวัตกรรมสําหรับ มหาวิทยาลัยราชภัฏ. วิทยานิพนธครุศาสตรดุษฎีบณ ั ฑิต (สาขาเทคโนโลยีและสื่อสาร การศึกษา) จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. ฐาปนี เพ็งสุข. (2556). การพัฒนาระบบสารสนเทศงานกิจการนิสิต คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัย มหาสารคาม โดยใชสถาปตยกรรมเชิงบริการและเทคโนโลยีเว็บเซอรวิส.วิทยานิพนธ วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. ณัฐพัชร ลอประดิษฐพงษ. (2549). คูมือสํารวจความพึงพอใจลูกคา. กรุงเทพฯ: ประชุมทอง. ทวีรัตน ญาณฤกษ. (2555). ความพึงพอใจของนิสิตตอการใหบริการของหนวยบริการการศึกษา คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตบางเขน.วิทยานิพนธ ครุศาสตรมหาบัณฑิต (สาขาบริหารการศึกษา). มหาวิทยาลัยราชภัฏจัทรเกษม.


105

นฤดี จิยะวรนันท และภูมิพร ธรรมสถิตยเดช. (2559). การศึกษาธุรกิจบริการนิตยสารจัดชุดใหเชา แบบและสงถึงที่ ในมุมมองของนวัตกรรมการบริการ. (ออนไลน). สืบคนเมื่อวันที่ 7 กันยายน 2559, จาก http://www2.citu.tu.ac.th/citu/www/sites/all/themes/

maxx/research_student/Naruedee.pdf. ประคอง กรรณสูตร (2538). สถิติเพื่อการวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย. ปาริชาติ ปาละนันทน. (2554). การวิเคราะหความเปนไปไดในการจัดการเรียนการสอน โดยใช เทคโนโลยีแบบเคลื่อนที่ในสถาบันอุดมศึกษา. วิทยานิพนธครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขานโยบาย การจัดการและความเปนผูนําทางการศึกษา จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. พูลสวัสดิ์ เผาประพัธน. (2559). Innovation Management in CP ALL. (ออนไลน). สืบคน เมื่อวันที่ 23 กันยายน 2559, จาก http://www.ftpi.or.th/download/seminarfile/4.Inno_ Management_25-7-14_print.pdf.

พนิดา เอกภูธร. (2548). การประเมินผลการปรับปรุงการบริหารและการใหบริการของอําเภอ กรณีศกึ ษา สํานักงานทะเบียนอําเภอเมืองแพร. วิทยานิพนธรัฐประศาสนศาสตร มหาบัณฑิต จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. พัชรี ภูบุญอิ่ม. (2558). ปจจัยที่มีอิทธิพลตอความพึงพอใจของนักศึกษาเกี่ยวกับการบริการของ สํานักสงเสริมวิชาการและงานทะเบียน มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม. วิทยานิพนธ รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม. พัชรี ศิริพรวิจติ ร. (2555). การใหบริการขอมูลการศึกษา ผานระบบโทรศัพทตอบรับอัตโนมัติ : กรณีศกึ ษาบัณฑิตศึกษา คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย. วิทยานิพนธวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีคอมพิวเตอรและการสื่อสาร มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย. มารุต คลองแคลว. (2557). ปจจัยที่สงผลตอความตองการเรียนผานโทรศัพทเคลือ่ นทีข่ องนักศึกษา ระดับบัณฑิตศึกษา บัณฑิตวิทยาลัยการศึกษาอิเล็กทรอนิกส มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ. วิทยานิพนธศกึ ษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา มหาวิทยาลัยศิลปากร. มูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาผูสูงอายุไทย. (2558). สถานการณผูสูงอายุไทย พ.ศ. 2557. กรุงเทพฯ : อมรินทรพริ้นติ้งแอนดพับลิชชิ่ง.


106

รัชนิวัลย มูลสีละ. (2556). การพัฒนาระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศการใหบริการนักศึกษา ดานงานวิชาการ คณะวิศวกรรมศาสตรมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขต ขอนแกน.วิทยานิพนธการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัย มหาสารคาม. ลวน สายยศ และอังคณา สายยศ. (2548). เทคนิคการวิจัยทางการศึกษา. (พิมพครัง้ ที่ 9). กรุงเทพฯ : สุวีริยาสาสน. วิจิตร ศรีสอาน. (2559). การบริหารงานอุดมศึกษาในยุคดิจทิ ัล. (ออนไลน). สืบคนเมื่อวันที่ 7 กันยายน 2559, จาก http://ced.sut.ac.th/newtheme/administrator/document

/subjectDocument/14316600697420.pdf . ศิริวรรณ เสรีรัตน. (2546). การบริหารการตลาดยุคใหม. กรุงเทพฯ: ธรรมสาร. สมพร ภูชํานิ. (2552). ความพึงพอใจของนักศึกษาระดับปริญญาตรีที่มีตอการใหบริการ ของงานบริการการศึกษา คณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัยรามคําแหง. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยรามคําแหง. สมฤทัย น้ําทิพย. (2556). ผลกระทบนวัตกรรมบริการตอความพึงพอใจและความภักดีของนักศึกษา ในสถาบันอุดมศึกษา. วิทยานิพนธวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (สาขาการบริหารเทคโนโลยี) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร. สมิต สัชฌุกร. (2550). การตอนรับและบริการที่เปนเลิศ. พิมพครั้งที่ 5 กรุงเทพฯ : สายธาร. ----------. (2550). ศิลปะการใหบริการ. พิมพครั้งที่ 2 กรุงเทพฯ : สายธาร. สุพรรณี ทองแมน. (2554). ผลกระทบของกลยุทธการจัดการความรูที่มตี อศักยภาพทางนวัตกรรม ของสถาบันอุดมศึกษาในสังกัดสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา. วิทยานิพนธ หลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (สาขาการจัดการเชิงกลยุทธ) มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. สถาบันวิทยาการ สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ. (2559). นวัตกรรมบริการ กลยุทธเพื่อการสรางคุณคาเชิงธุรกิจยุคใหม. (ออนไลน). สืบคนเมื่อวันที่ 23 กันยายน 2559, จาก http://www.nstdaacademy .com/webnsa/index.php/innovationtraining/

sim2014-1. สาวิตรี สุทธิจักร. (2555). บทบาทของมหาวิทยาลัยในการสรางบัณฑิตที่มีความสามารถ เชิงนวัตกรรม. ภาควิชาการจัดการ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย. สํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ. (2557). สถิติการศึกษาฉบับยอ 2556. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ สกสค.ลาดพราว. ----------. (2558). สถิติการศึกษาฉบับยอ 2557. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ สกสค.ลาดพราว.


107

สํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ. (2559).จํานวนนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ปการศึกษา 2557-2558. (ออนไลน). สืบคนเมื่อวันที่ 7 กันยายน 2559, จาก www.chk.moe.go.th. สํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2558). สถิตกิ ารศึกษาของประเทศไทย ปการศึกษา 2556-2557. กรุงเทพฯ : สํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา. (2559). สถิติการศึกษาฉบับยอ ปการศึกษา 2558. กรุงเทพฯ: สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา. ----------. (2560). สถิติการศึกษาฉบับยอ ปการศึกษา 2559. กรุงเทพฯ: สํานักงานคณะกรรมการ การอุดมศึกษา. ----------. (2558). คูมือการประกันคุณภาพการศึกษาภายในระดับอุดมศึกษา พ.ศ.2557. กรุงเทพฯ : ภาพพิมพ. ----------. (2559). รายงานผลการดําเนินงานประจําป 2558. กรุงเทพฯ: สํานักงานคณะกรรมการการ อุดมศึกษา. สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ. (2556) . การคาดประมาณ ประชากรของประเทศไทย พ.ศ. 2553-2583. กรุงเทพฯ: เดือนตุลา. สํานักบริหารบุคลากร. (2559). ความคิดเห็นของบุคลากรตอการใหบริการของสวนงานในสังกัด มหาวิทยาลัยคริสเตียน ปการศึกษา 2558. นครปฐม : มหาวิทยาลัยคริสเตียน. เสนห จุยโต. (2554). การบริหารนวัตกรรมแนวใหม. นนทบุรี : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. เศรษฐพงค มะลิสุวรรณ. (2559). การปฏิรูปการใหบริการลูกคาดวยนวัตกรรมดิจิทัลในยุค. (ออนไลน).สืบคนเมื่อวันที่ 26 กันยายน 2559, จาก http://www.it24hrs.com/2016/

digital-innovation-thailand-4-0/. อภิชัย ศิริสวัสดิ.์ (2556). แนวทางการใหบริการการศึกษาผานทางเว็บไซตของคณะเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร มหาวิทยาลัยศิลปากร. วิทยานิพนธศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา มหาวิทยาลัยศิลปากร.

Butt, B.Z., Rehman, K.U. (2010). A study examining the students satisfaction in higher education. Procedia - Social and Behavioral Sciences Volume 2, Issue 2, 2010, Pages 5446–5450. Berry, L.L., Shankar, V., Parish, J.T., Cadwallader, S., & Dotzel, T. (2006). Through service innovation: Creating new markets. Sloan Management Review, 47(2), 56-63.


108

Drejer, I. (2004). Identifying innovation in surveys of services: a Schumpeterian perspective. Research Policy, 2004, vol. 33, issue 3, pages 551-562. Gronroos, C. (2000). Service management and marketing: A customer relationship management approach. Chichester: Wiley. Danjuma, I., Rasli, A. (2012). Imperatives of service innovation and service quality for customer satisfaction: Perspective on higher education. Procedia - Social and Behavioral Sciences 40 ( 2012 ) 347 – 352. Dotzel, T., Shankar, V., & Berry, L.L. (2013). Service Innovativeness and Firm Value. Journal of Marketing Research: April 2013, Vol. 50, No. 2, pp. 259-276. Hanaysha, J.R.M., Abdullah, H.H., & Warokka, A. (2011). Service Quality and Students’ Satisfaction at Higher Learning Institutions: The Competing Dimensions of Malaysian Universities’ Competitiveness. Journal of Southeast Asian Research Vol. 2011 (2011) Volume 2011 (2011), Article ID 855931, 10 pages, DOI: 10.5171/2011.855931. Guan, J., Ma, N. (2003). Innovative capability and export performance of Chinese firms. Technovation Volume 23, Issue 9, September 2003, Pages 737–747. Mohammed, K. (2016). Top 10 trends In Education Technology for 2016.[online]. Retrieved September 1 ,2016, from: http://www.slideshare.net/karima1/ top-10-trends-in-education-technology-for-2016?from_action=save. Kotler, P. (2003). Marketing management (11th ed.). Upper Saddle River, NJ: Prentice-Hall. Kotler, P., & Keller, K. L. (2006). Marketing management. New Jersey: Peason Education. Krejcie, R.V.and Morgan,V.D.(1970) “Determining Sample Size for Research Activities” Educational and Psychological Measurement. p80,607-610.


109

Kumar, V., Werner, J., & Reinartz. (2006). Customer relationship management a databased approach (2nd ed.). Singapore: John Wiley & Sons. Marquardt,M , Reynolds. (1994). The global learning organization. Burr Ridge, IL: Irwin Professional. Munro, B.H. (2001). Statistical Methods for Health Care Research (Fourth Edition). Philadelphia: Lippincott Williams and Wilkins.

Pong, L. T., & Yee, T. P. (2001). An integrated model of service loyalty. [online]. Retrieved September 1 ,2016, from: http://www.lib.but.fi/Diss/2002/isbn 9512258994/isbn9512258994.pdf. Usui, M. (2009). Zukai seven-eleven ryu service innovation no joken. Nikkei Business Publication, Inc.


110

ภาคผนวก ก. จํานวนประชากรในชวงอายุ 15-17 ป พ.ศ.2557-2558 จํานวนนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาตอนปลาย เปรียบเทียบปการศึกษา 2557-2558


111

ตารางที่ 24 จํานวนประชากรในชวงอายุ 15-17 ป พ.ศ.2557-2558 ป พ.ศ. ชวงอายุ 15 16 17 รวม

2559 795,130 838,883 836,940 2,470,953

2558 838,989 837,203 894,639 2,570,831

เพิ่ม/ (ลด) (43,859) 1,680 (57,699) (99,878)

คิดเปน รอยละ (5.23) 0.20 (6.45) (3.89)

ที่มา : ระบบสถิติทางการทะเบียน กระทรวงมหาดไทย, 2560 ตารางที่ 25 จํานวนนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย เปรียบเทียบปการศึกษา 2557-2558 ปการศึกษา ระดับชั้น มัธยมศึกษาปที่ 4 มัธยมศึกษาปที่ 5 มัธยมศึกษาปที่ 6 รวมมัธยมศึกษาตอนปลาย

2559

2558

348,661 332,689 331,335 1,012,685

447,551 429,006 467,506 1,344,063

จํานวน เพิ่ม/(ลด) (98,890) (96,317) (136,171) (331,378)

รอยละ เพิ่ม/ (ลด) (22.1) (22.5) (29.1) (24.7)

ที่มา : 1) สํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2559). สถิติการศึกษาของประเทศไทย ปการศึกษา 25572558. กรุงเทพฯ : กระทรวงศึกษาธิการ. 2) กระทรวงศึกษาธิการ. (2560) สารสนเทศเพื่อการศึกษาแหงชาติ. (ออนไลน) เขาถึงไดจาก : www.mis.moe.go.th.statistic, วันที่คนขอมูล 26 พฤษภาคม 2560.


112

ภาคผนวก ข. เครื่องมือวิจัย


113

การพิทักษสิทธิผ์ ูเขารวมการวิจัย เรียน ผูเขารวมโครงการวิจัย ขาพเจา นายอิทธิพร ขําประเสริฐ หัวหนาโครงการวิจัย เรื่อง ปจจัยเกี่ยวกับนวัตกรรมการบริการ ที่สงผลตอการใหบริการที่เปน เลิศของสวนงานบริการดานหนา ของมหาวิทยาลัยเอกชนแหงหนึ่งในจังหวัด นครปฐม ซึ่งเปน โครงการวิจัยพัฒนาสถาบัน ที่งานแผน ฝายบริหารทั่ว ไปไดรับอนุมัติจากมหาวิทยาลัยฯให ดําเนินการ มีความประสงคจะขอความรวมมือจากทานใหมีสวนรวมในการกรอกขอมูลความคิดเห็นเกี่ยวกับการ นํานวัต กรรมบริก ารมาใชในการใหบริก ารของสว นงานบริก ารดานหนา และระดับการใหบริก ารที่เปน เลิศ มหาวิทยาลัยเอกชนแหงหนึ่ง การศึกษาครั้งนี้ใชเวลาประมาณ 12 เดือน โดยมีผูเขารวมวิจัยจาก 5 คณะวิชา และ 4 ฝา ยสนั บ สนุ น วิ ช าการหลั ก ของมหาวิท ยาลั ย เอกชนแห งหนึ่ ง จํ า นวน 176 คน ตามคุ ณ สมบัติ ที่ กํ า หนด ผูวิจัยจึง ขอเรียนเชิญทานกรอกขอมูลในแบบสอบถามในฐานะที่ทานเปนผูบริหาร อาจารย และพนักงานของ มหาวิ ท ยาลั ย ฯ ซึ่ ง จะมี บ ทบาทสํ า คั ญ ในการผลั ก ดั น การพั ฒ นานวั ต กรรมการให บ ริ ก ารด า นต า งๆของ มหาวิทยาลัยฯ เพื่อนําไปสูการใหบริการที่เปนเลิศแกนักศึกษา โดยโครงการวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงคหลักเพื่อ วิเคราะหปจจัยเกี่ยวกับนวัตกรรมการบริการของมหาวิทยาลัยฯ ตลอดจนลักษณะความสัมพันธระหวางการนํา นวัตกรรมการบริการมาใชในการใหบริการกับการใหบริการที่เปนเลิศของสวนงานบริการดานหนา มหาวิทยาลัยฯ ทานมีสิทธิ์ที่จะตอบรับหรือปฏิเสธการเขารวมวิจัยเมื่อใดก็ได และจะไมมีผลตอสิทธิประโยชนใดๆ ที่ ทานควรจะไดรับ ตลอดจนขอมูลของทานจะถูก เก็บไวเปน ความลับและเก็บไวอยางมิดชิด การนําขอมูลไป วิเคราะห อภิปราย หรือพิมพเผยแพรจะทําในภาพรวมของผลการศึกษาเทานั้น และสิทธิประโยชนอื่นอันจะเกิด จากผลการศึกษาใหเปนไปตามระเบียบขอบังคับของมหาวิทยาลัยคริสเตียน หากทานมีขอสงสัยเกี่ยวกับการศึกษา ครั้งนี้สามารถติดตอกับขาพเจาไดที่เบอรโทรศัพท 086-722-7519 ขอขอบพระคุณเปนอยางสูงที่ใหความรวมมือมา ณ โอกาสนี้ ลงชื่อ........................................................ (นายอิทธิพร ขําประเสริฐ) หัวหนาโครงการวิจัย


114

คําชี้แจง แบบสอบถามฉบับนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาวิจัยเรื่อง ปจจัยเกี่ยวกับนวัตกรรมการบริการที่สงผลตอ การใหบริก ารที่เปน เลิศของสว นงานบริก ารดานหนา ของมหาวิทยาลัยเอกชนแหงหนึ่งในจังหวัด นครปฐม เปนโครงการวิจัยพัฒนาสถาบันที่งานแผน ฝายบริหารทั่วไปไดรับอนุมัติจากมหาวิทยาลัยฯใหดําเนินการ ผลที่ได จากการศึกษาวิจัยจะใชเปนขอมูลปอนกลับเพื่อกําหนดนโยบายการพัฒนานวัต กรรมบริการของมหาวิทยาลัย เอกชนแหงหนึ่งใหมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล ขอมูลที่ไดจากการศึกษาจะถูกนําไปใชในการวิเคราะหใน ภาพรวม และปดเปนความลับและไมมีผลกระทบตอตัวทานแตอยางใด แบบสอบถามนี้ แบงออกเปน 4 ตอน ตอนที่ 1 ขอมูลพื้นฐานของผูตอบแบบสอบถาม ตอนที่ 2 ระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับการนํานวัตกรรมบริการมาใชในการใหบริการของสวนงาน บริก ารด านหนา มหาวิทยาลัยเอกชนแหงหนึ่ง แบงเปน 5 ดาน คือ 1)นวัต กรรมการใหบริการดานวิชาการ 2) นวัตกรรมการใหบริการดานพัฒ นานักศึกษา 3)นวัตกรรมการใหบริการดานเทคโนโลยี 4)นวัตกรรมการ ใหบริการดานเงิน และ 5)นวัตกรรมการใหบริการดานสิ่งอํานวยความสะดวก ทั้งนี้ใหทานพิจารณาวา ในอนาคตทานมีความคิดเห็นเกี่ยวกับการนํานวัตกรรมบริการ 5 ดาน ดังกลาวนี้ มาใชในการใหบริการของสวนงานบริการดานหนา มหาวิทยาลัยเอกชนแหงหนึ่งมากนอยเพียงใด โดย มีคะแนนการประเมิน 5 หมายถึง ทานเห็นดวยมากที่สุด 4 หมายถึง ทานเห็นดวยมาก 3 หมายถึง ทานไมแนใจ 2 หมายถึง ทานเห็นดวยนอย 1 หมายถึง ทานไมเห็นดวย ตอนที่ 3 ระดับการใหบริการที่เปนเลิศของมหาวิทยาลัยเอกชนแหงหนึ่ง ทั้งนี้ใหทานพิจารณาวา ทานมีความคิดเห็นตอการใหบริการที่เปนเลิศของมหาวิทยาลัยเอกชน แหงหนึ่ง มากนอยเพียงใด โดยมีคะแนนการประเมิน 5 หมายถึง ทานมีความเห็นวาดีมาก 4 หมายถึง ทานมีความเห็นวาดี 3 หมายถึง ทานมีความเห็นวาพอใช 2 หมายถึง ทานมีความเห็นวาตองปรับปรุง 1 หมายถึง ทานมีความเห็นวาตองปรับปรุงอยางเรงดวน ตอนที่ 4 ขอเสนอแนะของผูตอบแบบสอบถาม


115

ตอนที่ 1 คําชี้แจง

ขอมูลพื้นฐาน โปรดใสเครื่องหมาย / หรือกรอกขอมูลในชองที่ตรงกับขอมูลของทาน

1. เพศ

 1. ชาย

 2. หญิง

2. อายุ.....................ป 3. ตําแหนง 1. ผูบริหาร  2. อาจารย  3. พนักงาน 4. คุณวุฒิการศึกษา  1. ปริญญาตรี  2. ปริญญาโท  3. ปริญญาเอก  4. ต่ํากวาปริญญาตรี 5. สวนงานทีส่ ังกัด 5.1 คณะวิชา  1. บัณฑิตวิทยาลัย  2. คณะพยาบาลศาสตร  3. คณะวิทยาศาสตรสุขภาพ  4. คณะสหวิทยาการ  5. สถาบันกรุงเทพคริสตศาสนศาสตร 5.2 ฝายสนับสนุนวิชาการ  1. ฝายวิชาการและฝายวิจัย  2. ฝายพัฒนานักศึกษา  3. ฝายบริหารและการตางประเทศ  4. ฝายบริหารทรัพยสินและสื่อสารองคกร 6. ระยะเวลาที่ปฏิบัติงานในมหาวิทยาลัยฯ................. ป

ตอนที่ 2 คําชี้แจง

ระดับความคิดเห็นเกีย่ วกับการนํานวัตกรรมบริการมาใชในการใหบริการ ของสวนงานบริการดานหนา มหาวิทยาลัยเอกชนแหงหนึ่งในอนาคต โปรดใสเครื่องหมาย / ในชองที่ตรงกับความคิดเห็นของทาน ระดับความคิดเห็น นวัตกรรมบริการ

1. นวัตกรรมการใหบริการดานวิชาการ 1.1 มีแอปพลิเคชัน (Application) ที่ใหขอมูลครอบคลุมเกี่ยวกับ หลั ก สูตรและการจัด การเรี ยนการสอนของทุ กหลั กสู ตรที่ มหาวิทยาลัยฯ เปดสอน 1.2 มีศูนยใหบริการขอมูล (Call center) ที่สามารถติดตอผานสื่อ หลายชองทาง เชน โทรศัพท โทรสาร ไปรษณีย อิเล็กทรอนิกส (E-mail) อินเทอรเน็ต (Internet) ระบบไลน (Line) ตลอด 24 ชั่วโมง 1.3 มีโปรแกรมที่สามารถสอบวัดความรูเพื่อเขาศึกษาตอของทุก หลักสูตรผานระบบออนไลนและประมวลผลไดอยางรวดเร็ว

มากที่สุด (5)

มาก (4)

ไมแนใจ (3)

นอย (2)

ไมเห็นดวย

(1)


116

ระดับความคิดเห็น นวัตกรรมบริการ 1.4 มีระบบการลงทะเบียนเรียนผานระบบออนไลนใน โทรศัพทเคลื่อนที่ (Mobile phone) ที่มีประสิทธิภาพ 1.5 มีระบบการประมวลผลการศึกษาออนไลนที่สามารถ กระตุนเตือน (Alert) เมื่อผลการศึกษามีปญหา 1.6 มีโปรแกรมสําหรับชวยวางแผนการเรียน นอกเหนือจากการ เรียนตามแผนที่มหาวิทยาลัยฯกําหนดไว (กรณีนักศึกษาไม สามารถศึกษาไดตามแผน) 1.7 มีตําราอิเล็กทรอนิกส (E-book) หรือเอกสารประกอบ การสอน ของทุกรายวิชาที่เปดสอนใหศึกษาลวงหนา ผานระบบออนไลน 1.8 มีระบบการยืม-คืนทรัพยากรสารนิเทศทุกประเภทแบบ อัตโนมัติ รวมทั้งการนําเสนอทรัพยากรสารนิเทศใหมๆไปยัง โทรศัพทเคลื่อนที่ (Mobile phone) ของนักศึกษาและบุคลากร 2. นวัตกรรมการใหบริการดานพัฒนานักศึกษา 2.1 มีแอปพลิเคชัน (Application) การดําเนินงานของสภา นักศึกษา สโมสรนักศึกษา และชมรมนักศึกษาที่ดึงดูดให นักศึกษามีสวนรวม 2.2 มีศูนยใหคําปรึกษาการใชชีวิต จิตวิญาณ แกนักศึกษาทั้งใน รูปแบบเผชิญหนา (Face to Face) และรูปแบบออนไลน (Online) 2.3 มีโปรแกรมการจองหองพักภายในมหาวิทยาลัยฯ ที่สามารถ แสดงถึงจํานวนหองวาง ระยะเวลาการพักอาศัย รวมทั้งการ คํานวณคาใชจายใหนักศึกษาเขาถึงไดอยางสะดวก 2.4 มีโปรแกรมการกูยืมเงินกองทุนเพื่อการศึกษาที่ชวยให นักศึกษาสามารถกรอกขอมูลสวนตัว ครอบครัว และ ตรวจสอบหลักฐานประกอบการกูยืมเงิน รวมทั้งวางแผน การใชจายเงินไดกอนดําเนินการตามระบบจริง 2.5 มีแอปพลิเคชัน (Application) ที่ใหขอมูลเกี่ยวกับสวัสดิการ นักศึกษาทุกประเภท ที่แสดงใหเห็นถึงเงื่อนไข การเขาถึงการ ใชบริการ การตรวจสอบขอมูล และการรับสิทธิสวัสดิการ อยางชัดเจน

มากที่สุด (5)

มาก (4)

ไมแนใจ (3)

นอย (2)

ไมเห็นดวย

(1)


117

ระดับความคิดเห็น นวัตกรรมบริการ 2.6 มีพื้นที่ทางสังคมออนไลนดานการพัฒนานักศึกษา ใหนักศึกษาสามารถนําเสนอความคิดแปลกใหม สรางสรรค เกี่ยวกับการจัดโครงการ/กิจกรรมพัฒนานักศึกษา 2.7 มีฐานขอมูลการรับ-สงไปรษณียและพัสดุของนักศึกษาและ บุคลากรที่สามารถตรวจสอบไดผานระบบออนไลน 2.8 มีฐานขอมูลใหบริการเกี่ยวกับการเขาสูอาชีพ (ตําแหนงงาน วาง)ที่สามารถใหนักศึกษากรอกขอมูล และประสานงานให นักศึกษาไดงานทํา ทั้งจากโรงพยาบาล สถานประกอบการที่ มีการตกลงความรวมมือกับมหาวิทยาลัยฯ และหนวยงาน อื่นๆ 3. นวัตกรรมการใหบริการดานเทคโนโลยี 3.1 นักศึกษาสามารถศึกษารายวิชาทฤษฎีจากการถายทอดสดใน ชั้นเรียนผานระบบการเรียนทางเครือขายไรสาย ( Mobile learning) ไปยังเครื่องคอมพิวเตอรแบบพกพา (Laptop) หรือ โทรศัพทเคลื่อนที่ (Mobil phone) 3.2 นักศึกษาสามารถสอบวัดความรูในรายวิชาทฤษฎีที่ศึกษา ผานระบบออนไลน 3.3 อาจารยและนักศึกษาสามารถแลกเปลี่ยนเรียนรู และตอบขอ ซักถามในรายวิชาที่ศึกษาผานระบบเว็บบอรด (Web board) ประจํารายวิชา 3.4 นักศึกษาและอาจารยสามารถนําเสนอผลงานของตนเอง (Presentation) ผานระบบการนําเสนอหรือระบบการประชุม แบบเสมือนจริง (Telepresence)ไปยังการจัดการเรียนการ สอนในชั้นเรียนปกติ 3.5 นักศึกษาสามารถศึกษารายวิชายอนหลังไดจากคลังจัดเก็บ ระบบบันทึกการจัดการเรียนการสอน (D –lecture

recording) ผานระบบออนไลนของทุกรายวิชา 3.6 มีโปรแกรมการแจงซอมคอมพิวเตอรแบบพกพาที่สามารถ ใหทานบันทึกขอมูล และเมื่อภายหลังการซอมเสร็จ สามารถ แจงผลและวิเคราะหสาเหตุการชํารุดของอุปกรณ รวมทั้งแจง ไปยังทานผานขอความหรือไปรษณียอิเล็กทรอนิกส (E-mail)

มากที่สุด (5)

มาก (4)

ไมแนใจ (3)

นอย (2)

ไมเห็นดวย

(1)


118

ระดับความคิดเห็น นวัตกรรมบริการ 3.7 มีจุดใหบริการคอมพิวเตอรแบบจอสัมผัส (Computer touch Screen) สําหรับการลงทะเบียนเรียน 3.8 มีการนําอุปกรณเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาใชสนับสนุนการ จัดการเรียนการสอน เชน คอมพิวเตอรแบบจอสัมผัส (Computer touch screen) โปรเจ็คเตอรแบบอินเตอรเรคทีฟ ( Interactive white board ) อุปกรณโหวตถาม- ตอบระหวาง เรียนในชั้นเรียน(Student response systems) 3.9 มีแอปพลิเคชัน (Application) ใหความรูแกนักศึกษาและ บุคลากรเกี่ยวกับการปองกันระบบความปลอดภัยของ อุปกรณ ขอมูลอยางสม่ําเสมอ

4. นวัตกรรมการใหบริการดานเงิน 4.1 มีระบบการชําระเงินคาลงทะเบียนเรียนและคาธรรมเนียม อื่นๆ ผานโทรศัพทเคลื่อนที่ (Mobil phone) 4.2 มีจุดใหบริการคอมพิวเตอรแบบจอสัมผัส (Computer touch Screen) สําหรับตรวจสอบการชําระเงินประเภทตางๆใหแก นักศึกษาและบุคลากร 4.3 มีระบบการสงไปรษณียอิเล็กทรอนิกส (E-mail) หรือ ขอความ เพื่อใหขอมูลเกี่ยวกับการชําระเงินประเภทตางๆ แกนักศึกษาทั้งกอนและภายหลังการชําระเงิน 4.4 มีแอปพลิเคชัน (Application) หรือโปรแกรมที่ชวยสําหรับ การวางแผนหรือคํานวณคาใชจายทางการศึกษาตลอด หลักสูตรแกนักศึกษา 4.5 มีโปรแกรมการเบิกเงิน ของคณะวิชาและฝายสนับสนุน วิชาการที่สามารถกรอกขอมูลลงในแบบฟอรมผานระบบ ออนไลน 4.6 มีโปรแกรมการเคลียรคาใชจายทางการเงินของคณะวิชา/ฝาย สนับสนุนวิชาการที่สามารถกรอกขอมูล พรอมแนบหลักฐาน ประกอบผานระบบออนไลน 4.7 มีโปรแกรมที่สามารถตรวจสอบการใชจายงบประมาณของ คณะวิชา/ฝายสนับสนุนวิชาการที่เปนปจจุบันโดยสามารถ เขาถึงไดผานระบบออนไลน

มากที่สุด (5)

มาก (4)

ไมแนใจ (3)

นอย (2)

ไมเห็นดวย

(1)


119

ระดับความคิดเห็น นวัตกรรมบริการ 4.8 มีโปรแกรมการติดตามการใชจายงบประมาณและเคลียร คาใชจายการจัดโครงการ/กิจกรรมของคณะวิชาและฝาย สนับสนุนวิชาการ

5. นวัตกรรมการใหบริการดานสิ่งอํานวยความสะดวก 5.1 มีโปรแกรมควบคุมการใชพลังงานที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม เชน การใชแสงสวาง การใชเครื่องปรับอากาศในอาคารเรียน และสํานักงาน 5.2 มีโปรแกรมการขอใชหองเรียน หองปฏิบัติการ หองประชุมที่ สามารถใหบริการไดผานระบบออนไลน 5.3 มีโปรแกรมการขอใชบริการยานพาหนะทุกประเภท และ สามารถแสดงตารางการเดินรถไปฝกปฏิบัติรายวิชาฝก ปฏิบัติวิชาชีพและรถบริการรับ-สงนักศึกษา/บุคลากรผาน ระบบออนไลน 5.4 มีโปรแกรมแสดงตารางการใชหองเรียน หองปฏิบัติการ และ หองประชุมทุกหองผานระบบออนไลน 5.5 มีฐานขอมูลที่แสดงจํานวนสินคา เชน ชุดฝกปฏิบัติวิชาชีพ หนังสือ ชุดกีฬา ฯ ที่จัดจําหนายใหแกนักศึกษาใน รานบุคสโตรใหสามารถเขาถึงไดผานระบบออนไลน 5.6 มีระบบการสั่งจองชุดฝกปฏิบัติวิชาชีพ หนังสือ ชุดกีฬา อุปกรณทางการศึกษา ฯ ใหแกนักศึกษาสามารถเขาถึงไดผาน ระบบออนไลน 5.7 มีโปรแกรมที่สามารถตรวจสอบการใชพัสดุการจัดโครงการ หรือกิจกรรมของคณะวิชาและฝายสนับสนุนวิชาการที่เปน ปจจุบันผานระบบออนไลน 5.8 มีโปรแกรมที่สามารถกรอกขอมูลการเบิก-จายพัสดุการจัด โครงการและกิจกรรมของคณะวิชาและฝายสนับสนุน วิชาการผานระบบออนไลน 5.9 มีโปรแกรมการจัดซื้อ-จัดจางการจัดโครงการและกิจกรรม ของคณะวิชาและฝายสนับสนุนวิชาการผานระบบออนไลน 5.10 มีฐานขอมูลที่แสดงจํานวนวัสดุ ครุภัณฑ อุปกรณ การศึกษา/อุปกรณสํานักงานของทุกคณะวิชา/ฝายสนับสนุน วิชาการที่เปนปจจุบัน และสามารถเขาถึงไดทุกสวนงาน

มากที่สุด (5)

มาก (4)

ไมแนใจ (3)

นอย (2)

ไมเห็นดวย

(1)


120

ตอนที่ 3 คําชี้แจง

ระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับการใหบริการที่เปนเลิศของมหาวิทยาลัยเอกชนแหงหนึ่ง โปรดใสเครื่องหมาย / ในชองที่ตรงกับความคิดเห็นของทาน การใหบริการที่เปนเลิศ

1. ดานพนักงานผูใหบริการ 1.1 พนักงานของสวนงานบริการดานหนา มีจิตใจใหบริการ ตอนรับดวยใบหนาที่ยิ้มแยม และกระตือรือรนดวยมิตร ไมตรี 1.2 พนักงานของสวนงานบริการดานหนา มีความรู และความคิด สรางสรรคในการใหบริการ 1.3 มีการจัดจํานวนพนักงานใหบริการประจําสวนงานใหบริการ ดานหนาอยางเหมาะสม 1.4 พนักงานของสวนงานใหบริการดานหนาใหบริการและ คําแนะนําเกี่ยวกับขั้นตอนการใหบริการแกทานอยางชัดเจน และครบถวน 1.5 พนักงานของสวนงานใหบริการดานหนาใสใจ และสนอง ความตองการในการใหความชวยเหลือทานอยางเหมาะสม 1.6 พนักงานของสวนงานใหบริการดานหนาใหบริการทานตาม กําหนดเวลาที่เหมาะสม

2. ดานขั้นตอนกระบวนการใหบริการ 2.1 ขั้นตอนการใหบริการของสวนงานบริการดานหนามีความ ชัดเจน และสะดวกในการใชบริการ 2.2 มีการใหบริการตามขั้นตอนอยางรวดเร็ว 2.3 ไดรับบริการตามลําดับกอน-หลัง และมีระยะเวลารอที่ เหมาะสม 2.4 แบบฟอรมหรือใบคํารองขอใชบริการทั้งภาษาไทยและ ภาษาอังกฤษมีความชัดเจน 2.5 มีการแกไขปญหาที่เกิดขึ้นระหวางที่นักศึกษาและบุคลากร มาใชบริการอยางเหมาะสม 2.6 ชิ้นงานบริการที่ทานไดรับมีความถูกตอง ครบถวนสมบูรณ ตามกําหนดเวลา

ดีมาก (5)

ระดับความคิดเห็น ตอง ดี พอใช ปรับปรุง (4) (3) (2)

ตองปรับปรุง อยางเรงดวน

(1)


121

การใหบริการที่เปนเลิศ

ดีมาก (5)

ระดับความคิดเห็น ตอง ดี พอใช ปรับปรุง (4) (3) (2)

ตองปรับปรุง อยางเรงดวน

(1)

3. ดานสถานที่ใหบริการ 3.1 มีการจัดบรรยากาศภายในและภายนอกของสวนงาน ใหบริการดานหนาดวยความสะดวก เปนระเบียบ และสวยงาม 3.2 มีการจัดเคานเตอรใหบริการและเกาอี้รองรับบริการไวอยาง เหมาะสม 3.3 มีการจัดปายแสดงขาวสาร ขอมูลสําคัญทั้งภาษาไทยและ ภาษาอังกฤษที่เปนปจจุบันของสวนงานบริการดานหนา 3.4 มีอุปกรณสํานักงาน เทคโนโลยีที่ทันสมัยสนับสนุนการ ใหบริการของสวนงานบริการดานหนา เชน บัตรคิวอัตโนมัติ เครื่องถายเอกสาร คอมพิวเตอร เครื่องสแกน เครื่องทําบัตร อเนกประสงค เปนตน 3.5 จัดใหมีชองทางบริการที่หลากหลาย เพื่อความสะดวกในการ เขาถึงบริการของนักศึกษาและบุคลากร 3.6 มีชองทางหรือกลองรับฟงความคิดเห็นของนักศึกษาและ บุคลากรอยางชัดเจน

ตอนที่ 4 คําชี้แจง

ขอเสนอแนะของผูตอบแบบสอบถาม โปรดแสดงความคิดเห็นหรือใหขอเสนอแนะเกี่ยวกับการพัฒนานวัตกรรมบริการของ มหาวิทยาลัยเอกชนแหงหนึ่ง

1) นวัตกรรมการใหบริการดานวิชาการ ……………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………… 2) นวัตกรรมการใหบริการดานพัฒนานักศึกษา ……………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………


122

3) นวัตกรรมการใหบริการดานเทคโนโลยี ……………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………… 4) นวัตกรรมการใหบริการดานเงิน ……………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………… 5) นวัตกรรมการใหบริการดานสิ่งอํานวยความสะดวก ……………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………… 6) อื่นๆ ……………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………… ขอขอบคุณ ทีใ่ หความรวมมือในการตอบแบบสอบถาม


123

ภาคผนวก ค. คาดัชนีความสอดคลอง Index of congruency : IOC ของเครื่องมือวิจัย ที่ประเมินโดยผูท รงคุณวุฒิ จํานวน 3 คน


124

1. คาดัชนีความสอดคลองของความคิดเห็นเกี่ยวกับการนํานวัตกรรมบริการมาใชในการใหบริการ ของสวนงานบริการดานหนา มหาวิทยาลัยเอกชนแหงหนึ่ง

รายการประเมิน

1. นวัตกรรมการใหบริการดานวิชาการ 1.1 มีแอปพลิเคชัน (Application) ที่ใหขอมูลครอบคลุม เกี่ยวกับหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอนของทุก หลักสูตรที่มหาวิทยาลัยฯ เปดสอน 1.2 มีศูนยใหบริการขอมูล (Call center) ที่สามารถติดตอ ผานสื่อหลายชองทาง เชน โทรศัพท โทรสาร ไปรษณียอิเล็กทรอนิกส (E-mail) อินเทอรเน็ต (Internet) ระบบไลน (Line) ตลอด 24 ชั่วโมง 1.3 มีโปรแกรมที่สามารถสอบวัดความรูเพื่อเขาศึกษาตอ ของทุกหลักสูตรผานระบบออนไลนและประมวลผล ไดอยางรวดเร็ว 1.4 มีระบบการลงทะเบียนเรียนผานระบบออนไลนใน โทรศัพทเคลื่อนที่ (Mobile phone) ที่มีประสิทธิภาพ 1.5 มีระบบการประมวลผลการศึกษาออนไลนที่สามารถ กระตุนเตือน (Alert) เมื่อผลการศึกษามีปญหา 1.6 มีโปรแกรมสําหรับชวยวางแผนการเรียนนอกเหนือ จากการเรียนตามแผนที่มหาวิทยาลัยฯ กําหนดไว (กรณีนักศึกษาไมสามารถศึกษาไดตามแผน) 1.7 มีตําราอิเล็คทรอนิกส (E-book) หรือเอกสารประกอบ การสอนของทุกรายวิชาที่เปดสอนใหศึกษาลวงหนา ผานระบบออนไลน 1.8 มีระบบการยืม-คืนทรัพยากรสารนิเทศทุกประเภท แบบอัตโนมัติ รวมทั้งการนําเสนอทรัพยากรสารนิเทศ ใหมๆไปยังโทรศัพทเคลื่อนที่ (Mobile phone) ของ นักศึกษาและบุคลากร

1

2

3

ผลรวม ของ คะแนน ความ คิดเห็น

+1

+1

+1

3

1

ใชได

+1

0

+1

2

0.66

ใชได

+1

+1

0

2

0.66

ใชได

+1

+1

+1

3

1

ใชได

+1

+1

+1

3

1

ใชได

+1

+1

+1

3

1

ใชได

+1

0

+1

2

0.66

ใชได

+1

+1

+1

3

1

ใชได

คะแนนการพิจารณา ของผูเชี่ยวชาญคนที่

IOC

แปล ผล

ขอเสนอแนะ


125

รายการประเมิน

2. นวัตกรรมการใหบริการดานพัฒนานักศึกษา 2.1 มีแอปพลิเคชัน (Application) การดําเนินงานของสภา นักศึกษา สโมสรนักศึกษา และชมรมนักศึกษาที่ดึงดูด ใหนักศึกษามีสวนรวม 2.2 มีศูนยใหคําปรึกษาการใชชีวิต จิตวิญาณ แกนักศึกษา ทั้งในรูปแบบเผชิญหนา (Face to Face) และรูปแบบ ออนไลน (Online) 2.3 มีโปรแกรมการจองพักภายในมหาวิทยาลัยฯ ที่ สามารถแสดงถึงจํานวนหองวาง ระยะเวลาการพัก อาศัย การเขาพัก รวมทั้งการคํานวณคาใชจายให นักศึกษาเขาถึงไดอยางสะดวก 2.4 มีโปรแกรมการกูยืมเงินกองทุนเพื่อการศึกษาที่ชวยให นักศึกษาสามารถกรอกขอมูลสวนตัว ครอบครัว และ ตรวจสอบหลักฐานประกอบการกูยืมเงิน รวมทั้งวาง แผนการใชจา ยเงินไดกอนดําเนินการตามระบบจริง 2.5 มีแอปพลิเคชัน (Application) ที่ใหขอมูลเกี่ยวกับ สวัสดิการนักศึกษาทุกประเภท ที่แสดงใหเห็นถึง เงื่อนไข การเขาถึงการใชบริการ การตรวจสอบขอมูล และการรับสิทธิ สวัสดิการอยางชัดเจน 2.6 มีพื้นที่ทางสังคมออนไลนดานการพัฒนานักศึกษาให นักศึกษาสามารถนําเสนอความคิดแปลกใหม สรางสรรคเกี่ยวกับการจัดโครงการ/กิจกรรมพัฒนา นักศึกษา 2.7 มีฐานขอมูลใหบริการเกี่ยวกับการเขาสูอาชีพ (ตําแหนงงานวาง)ที่สามารถใหนักศึกษากรอกขอมูล และประสานงานใหนักศึกษาไดงานทํา ทั้งจาก โรงพยาบาล สถานประกอบการที่มีการตกลงความ รวมมือกับมหาวิทยาลัย และหนวยงานอื่นๆ 2.8 มีฐานขอมูลการรับ-สงไปรษณียและพัสดุของนักศึกษา และบุคลากรที่สามารถตรวจสอบไดผานระบบ ออนไลน

คะแนนการพิจารณา ของผูเชี่ยวชาญคนที่

ผลรวม ของ คะแนน ความ คิดเห็น

IOC

แปล ผล

+1

+1

+1

3

1

ใชได

+1

+1

+1

3

1

ใชได

+1

+1

0

2

0.66

ใชได

+1

+1

+1

3

1

ใชได

+1

+1

0

2

0.66

ใชได

+1

+1

0

2

0.66

ใชได

+1

+1

0

2

0.66

ใชได

+1

+1

+1

3

1

ใชได

ขอเสนอแนะ


126

รายการประเมิน

3. นวัตกรรมการใหบริการดานเทคโนโลยี 3.1 นักศึกษาสามารถศึกษารายวิชาทฤษฎีจากการถายทอดสด ในชั้นเรียนผานระบบการเรียนทางเครือขายไรสาย ( Mobile learning) ไปยังเครือ่ งคอมพิวเตอรแบบพกพา (Laptop) หรือโทรศัพทเคลื่อนที่ (Mobil Phone) 3.2 นักศึกษาสามารถสอบวัดความรูในรายวิชาทฤษฎีที่ ศึกษา ผานระบบออนไลน 3.3 อาจารยและนักศึกษาสามารถแลกเปลี่ยนเรียนรู และ ตอบขอซักถามในรายวิชาที่ศึกษาผานระบบเว็บบอรด (Web board) ประจํารายวิชา 3.4 นักศึกษาและอาจารยสามารถนําเสนอผลงานของ ตนเอง (Presentation) ผานระบบการนําเสนอหรือ ระบบการประชุมแบบเสมือนจริง (Telepresence)ไปยัง การจัดการเรียนการสอนในชั้นเรียนปกติ 3.5 นักศึกษาสามารถศึกษารายวิชายอนหลังไดจากคลัง

คะแนนการพิจารณา ของผูเชี่ยวชาญคนที่

ผลรวม ของ คะแนน ความ คิดเห็น

IOC

แปล ผล

+1

+1

+1

3

1

ใชได

+1

+1

0

2

0.66

ใชได

+1

+1

+1

3

1

ใชได

+1

+1

0

2

0.66

ใชได

+1

+1

+1

3

1

ใชได

+1

+1

+1

3

1

ใชได

+1

+1

+1

3

1

ใชได

+1

0

+1

2

0.66

ใชได

จัดเก็บระบบบันทึกการจัดการเรียนการสอน (D –

lecture recording) ผานระบบออนไลนของทุก รายวิชา 3.6 มีโปรแกรมการแจงซอมคอมพิวเตอรแบบพกพาที่ สามารถใหทานบันทึกขอมูล และเมื่อภายหลังการซอม เสร็จ สามารถแจงผลและวิเคราะหสาเหตุการชํารุดของ อุปกรณ รวมทั้งแจงไปยังทานผานขอความหรือ E-mail 3.7 มีการนําอุปกรณเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาใชสนับสนุน การจัดการเรียนการสอน เชน คอมพิวเตอรแบบจอ สัมผัส (Computer touch screen) โปรเจ็คเตอรแบบ อินเตอรเรคทีฟ ( Interactive white board ) อุปกรณ โหวตถาม- ตอบระหวางเรียนในชั้นเรียน ( Student response systems) 3.8 มีจุดใหบริการคอมพิวเตอรแบบจอสัมผัส (Computer touch screen) สําหรับการลงทะเบียนเรียน

ขอเสนอแนะ


127

รายการประเมิน

3.9 มีแอปพลิเคชัน (Application) ใหความรูแกนักศึกษา และบุคลากรเกี่ยวกับการปองกันระบบความปลอดภัย ของอุปกรณ ขอมูลอยางสม่ําเสมอ 4. นวัตกรรมการใหบริการดานเงิน 4.1 มีระบบการชําระเงินคาลงทะเบียนเรียนและคา ธรรมเนียมอื่นๆ ผานโทรศัพทเคลื่อนที่ (Mobil phone) 4.2 มีจุดใหบริการคอมพิวเตอรแบบจอสัมผัส (Computer touch screen) สําหรับตรวจสอบการชําระเงินประเภท ตางๆใหแกนักศึกษาและบุคลากร 4.3 มีระบบการสงไปรษณียอิเล็กทรอนิกส (E-mail) หรือ ขอความ เพื่อใหขอมูล เกี่ยวกับการชําระเงินประเภท ตางๆแกนักศึกษาทั้งกอนและภายหลังการชําระเงิน 4.4 มีแอปพลิเคชัน (Application) หรือโปรแกรมที่ชวย สําหรับการวางแผนหรือคํานวณคาใชจายทางการ ศึกษาตลอดหลักสูตรแกนักศึกษา 4.5 มีโปรแกรมการเบิกเงิน ของคณะวิชาและฝาย สนับสนุนวิชาการที่สามารถกรอกขอมูลลงใน แบบฟอรมผานระบบออนไลน 4.6 มีโปรแกรมการเคลียรคาใชจายทางการเงินของคณะ วิชา/ฝายสนับสนุนวิชาการที่สามารถกรอกขอมูล พรอมแนบหลักฐานประกอบผานระบบออนไลน 4.7 มีโปรแกรมที่สามารถตรวจสอบการใชจาย งบประมาณของคณะวิชา/ฝายสนับสนุนวิชาการที่เปน ปจจุบันโดยสามารถเขาถึงไดผานระบบออนไลน 4.8 มีโปรแกรมการติดตามการใชจายงบประมาณและ เคลียรคาใชจายการจัดโครงการ/กิจกรรมของคณะวิชา และฝายสนับสนุนวิชาการ 5. นวัตกรรมการใหบริการดานสิ่งอํานวยความสะดวก 5.1 มีโปรแกรมควบคุมการใชพลังงานที่เปนมิตรกับ สิ่งแวดลอม เชน การใชแสงสวาง การใช เครื่องปรับอากาศในอาคารเรียน และสํานักงาน

คะแนนการพิจารณา ของผูเชี่ยวชาญคนที่

+1

+1

+1

+1

+1

+1

ผลรวม ของ คะแนน ความ คิดเห็น 3

IOC

แปล ผล

1

ใชได

3

1

ใชได

+1

0

+1

2

0.66

ใชได

+1

+1

+1

3

1

ใชได

+1

+1

+1

3

1

ใชได

+1

+1

+1

3

1

ใชได

+1

+1

+1

3

1

ใชได

+1

+1

+1

3

1

ใชได

+1

+1

+1

3

1

ใชได

+1

+1

+1

3

1

ใชได

ขอเสนอแนะ


128

รายการประเมิน

5.2 มีโปรแกรมการขอใชบริการยานพาหนะทุกประเภท และสามารถแสดงตารางการเดินรถไปฝกปฏิบัติ วิชาชีพและรถบริการรับ-สงนักศึกษา/บุคลากรผาน ระบบออนไลน 5.3 มีโปรแกรมการขอใชหองเรียน หองปฏิบัติการ หองประชุมที่สามารถใหบริการไดผานระบบออนไลน 5.4 มีโปรแกรมแสดงตารางการใชหองเรียน หองปฏิบัติการ และหองประชุมทุกหองผานระบบ ออนไลน 5.5 มีฐานขอมูลที่แสดงจํานวนสินคา เชน ชุดฝกปฏิบัติ วิชาชีพ หนังสือ ชุดกีฬา ฯ ที่จัดจําหนายใหแกนักศึกษา ในรานบุคสโตรใหสามารถเขาถึงไดผานระบบ ออนไลน 5.6 มีระบบการสั่งจองชุดฝกปฏิบัติวิชาชีพ หนังสือ ชุดกีฬา อุปกรณทางการศึกษา ฯ ใหแกนักศึกษา สามารถเขาถึงไดผานระบบออนไลน 5.7 มีโปรแกรมที่สามารถตรวจสอบการใชพัสดุการจัด โครงการหรือกิจกรรมของคณะวิชาและฝายสนับสนุน วิชาการที่เปนปจจุบันผานระบบออนไลน 5.8 มีโปรแกรมที่สามารถกรอกขอมูลการเบิก-จายพัสดุ การจัดโครงการและกิจกรรมของคณะวิชาและฝาย สนับสนุนวิชาการผานระบบออนไลน 5.9 มีโปรแกรมการจัดซื้อ-จัดจางการจัดโครงการและ กิจกรรมของคณะวิชาและฝายสนับสนุนวิชาการผาน ระบบออนไลน 5.10 มีฐานขอมูลที่แสดงจํานวนวัสดุ ครุภัณฑ อุปกรณ การศึกษา/อุปกรณสํานักงานของทุกคณะวิชา/ฝาย สนับสนุนวิชาการที่เปนปจจุบัน และสามารถเขาถึง ไดทุกสวนงาน

+1

+1

+1

ผลรวม ของ คะแนน ความ คิดเห็น 3

+1

+1

+1

3

1

ใชได

+1

+1

+1

3

1

ใชได

+1

+1

+1

3

1

ใชได

+1

+1

0

2

0.66

ใชได

+1

+1

+1

3

1

ใชได

+1

+1

0

2

0.66

ใชได

+1

+1

0

2

0.66

ใชได

+1

+1

+1

3

1

ใชได

คะแนนการพิจารณา ของผูเชี่ยวชาญคนที่

IOC

แปล ผล

1

ใชได

ขอเสนอแนะ


129

2. คาดัชนีความสอดคลองของความคิดเห็นเกี่ยวกับการใหบริการที่เปนเลิศของมหาวิทยาลัยเอกชนแหงหนึ่ง

1

2

3

ผลรวม ของ คะแนน ความ คิดเห็น

+1

+1

+1

3

1

ใชได

+1

+1

+1

3

1

ใชได

+1

0

+1

2

0.66

ใชได

+1

+1

+1

3

1

ใชได

+1

0

+1

2

0.66

ใชได

+1

+1

+1

3

1

ใชได

+1

+1

+1

3

1

ใชได

+1

+1

+1

3

1

ใชได

2.3 ไดรับบริการตามลําดับกอน-หลัง และมีระยะเวลารอที่ เหมาะสม 2.4 แบบฟอรมหรือใบคํารองขอใชบริการมีความชัดเจน

+1

+1

+1

3

1

ใชได

+1

+1

+1

3

1

ใชได

2.5 มีการแกไขปญหาที่เกิดขึ้นระหวางที่นักศึกษาและ บุคลากรมาใชบริการอยางเหมาะสม 2.6 ชิ้นงานบริการที่ทานไดรับมีความถูกตอง ครบถวน สมบูรณตามกําหนดเวลา

+1

+1

+1

3

1

ใชได

+1

+1

+1

3

1

ใชได

รายการประเมิน

1. ดานเจาหนาที่ผูใหบริการ 1.1 พนักงานของสวนงานบริการดานหนา มีจิตใจ ใหบริการตอนรับดวยใบหนาที่ยิ้มแยม และ กระตือรือรนดวยมิตรไมตรี 1.2 พนักงานของสวนงานบริการดานหนา มีความรู และ ความคิดสรางสรรคในการใหบริการ 1.3 มีการจัดจํานวนพนักงานใหบริการประจําสวนงาน ใหบริการดานหนาอยางเหมาะสม 1.4 พนักงานของสวนงานใหบริการดานหนาใหบริการ และคําแนะนําเกี่ยวกับขั้นตอนการใหบริการแกทาน อยางชัดเจนและครบถวน 1.5 พนักงานของสวนงานใหบริการดานหนาใสใจ และ สนองความตองการในการใหความชวยเหลือทานอยาง เหมาะสม 1.6 พนักงานของสวนงานใหบริการดานหนาใหบริการ ทานตามกําหนดเวลาที่เหมาะสม 2. ดานขั้นตอนกระบวนการใหบริการ 2.1 ขั้นตอนการใหบริการของสวนงานบริการดานหนามี ความชัดเจน และสะดวกในการใชบริการ 2.2 มีการใหบริการตามขั้นตอนอยางรวดเร็ว

คะแนนการพิจารณา ของผูเชี่ยวชาญคนที่

IOC

แปล ผล

ขอเสนอแนะ


130

รายการประเมิน

3. ดานสถานที่ใหบริการ 3.1 มีการจัดบรรยากาศภายในและภายนอกของสวนงาน ใหบริการดานหนาดวยความสะดวก เปนระเบียบ และ สวยงาม 3.2 มีการจัดเคานเตอรใหบริการและเกาอี้รองรับบริการไว อยางเหมาะสม 3.3 มีการจัดปายแสดงขาวสาร ขอมูลสําคัญที่เปนปจจุบัน ของสวนงานบริการดานหนา 3.4 มีอุปกรณสํานักงาน เทคโนโลยีที่ทันสมัยสนับสนุนการ ใหบริการของสวนงานบริการดานหนา เชน บัตรคิวอัตโนมัติ เครื่องถายเอกสาร คอมพิวเตอร เครื่องสแกน เครื่องทําบัตร อเนกประสงค เปนตน 3.5 จัดใหมีชองทางบริการที่หลากหลาย เพื่อความสะดวก ในการเขาถึงบริการของนักศึกษาและบุคลากร 3.6 มีชองทางหรือกลองรับฟงความคิดเห็นของนักศึกษา และบุคลากรอยางชัดเจน

คะแนนการพิจารณา ของผูเชี่ยวชาญคนที่

ผลรวม ของ คะแนน ความ คิดเห็น

IOC

แปล ผล

+1

+1

+1

3

1

ใชได

+1

+1

+1

3

1

ใชได

+1

+1

+1

3

1

ใชได

+1

+1

+1

3

1

ใชได

+1

+1

+1

3

1

ใชได

+1

+1

+1

3

1

ใชได

คาเฉลี่ย IOC = ( 1 X 45) + (0.66 X 16) / 61 = 55.56 / 61 = 0.91

ขอเสนอแนะ


131

ภาคผนวก ง. คาดัชนีความเชื่อมัน่ (Reliability) ของเครื่องมือวิจัย


132

ตารางที่ 26 แสดงคาสหสัมพันธของคะแนนแตละขอความกับขอความทั้งหมด (คา Corrected Item- Total Correlation และคา Alpha if Item Deleted ) ดานนวัตกรรมการใหบริการดานวิชาการ Corrected Item- Total Correlation ขอคําถาม Cronbach’s Alpha Alpha if Item Deleted ขอที่ 1 .627 .854 ขอที่ 2 .549 .862 ขอที่ 3 .629 .854 ขอที่ 4 .557 .862 ขอที่ 5 .719 .844 ขอที่ 6 .584 .859 ขอที่ 7 .614 .855 ขอที่ 8 .729 .842 Reliability Coefficients 8 items Cronbach’s Alpha = .870 Standardized item alpha = .863

ตารางที่ 27 แสดงคาสหสัมพันธของคะแนนแตละขอความกับขอความทั้งหมด (คา Corrected Item- Total Correlation และคา Alpha if Item Deleted ) ดานนวัตกรรมการใหบริการดานพัฒนานักศึกษา Corrected Item- Total Correlation ขอคําถาม Cronbach’s Alpha Alpha if Item Deleted ขอที่ 1 .627 .845 ขอที่ 2 .544 .854 ขอที่ 3 .719 .835 ขอที่ 4 .446 .866 ขอที่ 5 .668 .840 ขอที่ 6 .618 .846 ขอที่ 7 .618 .846 ขอที่ 8 .684 .839 Reliability Coefficients 8 items Cronbach’s Alpha = .863 Standardized item alpha = .861


133

ตารางที่ 28 แสดงคาสหสัมพันธของคะแนนแตละขอความกับขอความทั้งหมด (คา Corrected Item- Total Correlation และคา Alpha if Item Deleted ) ดานนวัตกรรมการใหบริการดานเทคโนโลยี Corrected Item- Total Correlation ขอคําถาม Cronbach’s Alpha Alpha if Item Deleted ขอที่ 1 .730 .918 ขอที่ 2 .503 .935 ขอที่ 3 .783 .916 ขอที่ 4 .799 .914 ขอที่ 5 .770 .916 ขอที่ 6 .755 .917 ขอที่ 7 .806 .914 ขอที่ 8 .804 .913 ขอที่ 9 .727 .919 Reliability Coefficients 9 items Cronbach’s Alpha = .927 Standardized item alpha = .931 ตารางที่ 29 แสดงคาสหสัมพันธของคะแนนแตละขอความกับขอความทั้งหมด (คา Corrected Item- Total Correlation และคา Alpha if Item Deleted ) ดานนวัตกรรมการใหบริการดานเงิน Corrected Item- Total Correlation ขอคําถาม Cronbach’s Alpha Alpha if Item Deleted ขอที่ 1 .807 .939 ขอที่ 2 .834 .937 ขอที่ 3 .791 .940 ขอที่ 4 .817 .938 ขอที่ 5 .802 .939 ขอที่ 6 .755 .943 ขอที่ 7 .862 .936 ขอที่ 8 .791 .940 Reliability Coefficients 8 items Cronbach’s Alpha = .946 Standardized item alpha = .948


134

ตารางที่ 30 แสดงคาสหสัมพันธของคะแนนแตละขอความกับขอความทั้งหมด (คา Corrected Item- Total Correlation และคา Alpha if Item Deleted ) ดานนวัตกรรมการใหบริการดานสิ่งอํานวยความสะดวก Corrected Item- Total Correlation ขอคําถาม Cronbach’s Alpha Alpha if Item Deleted ขอที่ 1 .638 .950 ขอที่ 2 .834 .942 ขอที่ 3 .794 .943 ขอที่ 4 .854 .941 ขอที่ 5 .864 .940 ขอที่ 6 .811 .943 ขอที่ 7 .780 .944 ขอที่ 8 .733 .946 ขอที่ 9 .794 .943 ขอที่ 10 .741 .945 Reliability Coefficients 10 items Cronbach’s Alpha = .949 Standardized item alpha = .949

ตารางที่ 31 แสดงคาสหสัมพันธของคะแนนแตละขอความกับขอความทั้งหมด (คา Corrected Item- Total Correlation และคา Alpha if Item Deleted ) การใหบริการที่เปนเลิศดานพนักงานผูใ หบริการ Corrected Item- Total Correlation ขอคําถาม Cronbach’s Alpha Alpha if Item Deleted ขอที่ 1 .851 .918 ขอที่ 2 .874 .916 ขอที่ 3 .643 .963 ขอที่ 4 .900 .912 ขอที่ 5 .874 .914 ขอที่ 6 .882 .914 Reliability Coefficients 6 items Cronbach’s Alpha = .934 Standardized item alpha = .950


135

ตารางที่ 32 แสดงคาสหสัมพันธของคะแนนแตละขอความกับขอความทั้งหมด (คา Corrected Item- Total Correlation และคา Alpha if Item Deleted ) การใหบริการที่เปนเลิศดานกระบวนการใหบริการ Corrected Item- Total Correlation ขอคําถาม Cronbach’s Alpha Alpha if Item Deleted ขอที่ 1 .953 .954 ขอที่ 2 .911 .958 ขอที่ 3 .899 .960 ขอที่ 4 .840 .966 ขอที่ 5 .869 .963 ขอที่ 6 .894 .960 Reliability Coefficients 6 items Cronbach’s Alpha = .967 Standardized item alpha = .967

ตารางที่ 33 แสดงคาสหสัมพันธของคะแนนแตละขอความกับขอความทั้งหมด (คา Corrected Item- Total Correlation และคา Alpha if Item Deleted ) การใหบริการที่เปนเลิศดานสถานที่ใหบริการ Corrected Item- Total Correlation ขอคําถาม Cronbach’s Alpha Alpha if Item Deleted ขอที่ 1 .904 .937 ขอที่ 2 .889 .938 ขอที่ 3 .747 .953 ขอที่ 4 .885 .939 ขอที่ 5 .825 .945 ขอที่ 6 .876 .939 Reliability Coefficients 6 items Cronbach’s Alpha = .951 Standardized item alpha = .953


136

ภาคผนวก จ. เอกสารรับรองจริยธรรมการทําวิจัยในมนุษย


137

นวัตกรรมการบริการทีส่ งผลตอการใหบริการที่เปนเลิศของสวนงาน บริการดานหนา ของมหาวิทยาลัยเอกชนแหงหนึง่ ในจังหวัดนครปฐม


138

ประวัติผูวิจัย นายอิทธิพร

ชื่อ ประวัติการศึกษา ปริญญาโท ปริญญาตรี

ตําแหนงปจจุบัน

ขําประเสริฐ หัวหนาโครงการวิจัย

สังคมวิทยาและมานุษยวิทยามหาบัณฑิต (สังคมวิทยา) คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ครุศาสตรบัณฑิต (สังคมศึกษา) คณะครุศาสตร สถาบันราชภัฏบานสมเด็จเจาพระยา ศิลปศาสตรบัณฑิต (สารสนเทศศาสตร) สํานักวิชาศิลปศาสตร มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช พนักงานงานแผน สังกัดกลุมงานแผน ฝายบริหารทั่วไป มหาวิทยาลัยคริสเตียน

ผลงานทางวิชาการ สุพิศวง ธรรมพันทา และอิทธิพร ขําประเสริฐ. (2547) บทบาทของศูนยก ารคาตอการมี สว นรวมพัฒ นาประชาคมกรุงเทพมหานคร พ.ศ.2546-2550. ทุนสนับสนุน จากสถาบันราชภัฏ บานสมเด็จเจาพระยา.

Worasiangsuk,J and Khumprasert,I . (2008). How Middle Class Move to Defend Their Space : A Case Study of an Area in Chinatown. ทุนสนับสนุนจาก คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร. สุภัสสรา วิภากูล, นันทิดา แคนอย และอิทธิพร ขําประเสริฐ. (2551). ความพึงพอใจของ นัก ศึก ษาชั้น ปที่ 1 มหาวิ ทยาลัย คริสเตีย นที่มีตอ การใหบ ริก ารการศึก ษา. ทุน สนับ สนุน จาก มหาวิทยาลัย คริสเตียน. จันทรจิรา วงษขมทอง, สุภัสสรา วิภากูล, จุฑาทิพย ถาวรรัตน, ชิษณุพงศ ทองพวง, อัชฌา ชื่นบุญ, อิทธิพร ขําประเสริฐ และสุจิรา อุนศิร.ิ (2552). โครงการวิจัยปฏิบัติการเพื่อพัฒนา รูปแบบและศักยภาพในการบริการที่เปนเลิศของอําเภอในสังกัดกรมการปกครอง. ทุนสนับสนุน จากกรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย.


139

ภูริทัต สิงหเสม, อิทธิพร ขําประเสริฐ , สุจิร า อุน ศิริ และวาสนา ตริต านนท . (2552). ความคาดหวังตอความมั่นคงในชีวิตของนักศึกษาระดับปริญญาตรีชั้นปสุดทาย สถาบันอุดมศึกษา ของรัฐ. ทุนสนับสนุนจากบริษัทไทยประกันชีวิต จํากัด. สุภัสสรา วิภากูล, นันทิดา แคนอย และอิทธิพร ขําประเสริฐ. (2553). การศึกษาการมีสว น รวมในการจัดทําแผนปฏิบัติการเชิงกลยุทธประจําปการศึกษาของบุคลากรมหาวิทยาลัยคริสเตียน. ทุนสนับสนุนจากมหาวิทยาลัยคริสเตียน. สุภัสสรา วิภากูล, นันทิดา แคนอย, อิทธิพร ขําประเสริฐ, มณีวรรณ แกมดุ และรัชเกลา นนทะวงศ. (2554). การพัฒ นาคูมือวิธีปฏิบัติในการใหบริการที่เปน เลิศของสวนงานสนับสนุน วิชาการมหาวิทยาลัยคริสเตียน. ทุนสนับสนุนจากมหาวิทยาลัยคริสเตียน. อิทธิพร ขําประเสริฐ, สุภัสสรา วิภ ากูล และนัน ทิดา แคนอย. (2555). ปจ จัยการเพิ่ม ประสิทธิภาพในการนําแผนกลยุทธไปสูการปฏิบัติของมหาวิทยาลัยคริสเตียน. ทุนสนับสนุนจาก มหาวิทยาลัยคริสเตียน. ไพศาล จันทรังษี , สุภ ไวศยารัทธ, ชิษณุพงศ ทองพวง, อิทธิพร ขําประเสริฐ และสุจิร า อุนศิร.ิ (2555). การวิเคราะหองคประกอบการบริการตามรูปแบบและศักยภาพการใหบริการที่เปน เลิศของบุคลากรในสังกัดอําเภอ กรมการปกครอง. ทุนสนับสนุนจากมหาวิทยาลัยคริสเตียน. เบ็ญจวรรณ พุทธิอังกูร, สุภัสสรา วิภากูล , นัน ทิดา แคนอย และอิทธิพร ขําประเสริฐ . (2555). การกํ าหนดทิศทางของมหาวิทยาลัยคริ สเตีย นในการจั ด การอุด มศึ ก ษาในประชาคม เศรษฐกิจอาเซียน. ทุนสนับสนุนจากมหาวิทยาลัยคริสเตียน. อิทธิพร ขําประเสริฐ. (2559). เรื่องเลาจากรานเอี้ยะเลงฮึ้ง : ความเปนมาและการใหบริการ ทางการแพทยแผนจีนโบราณแหงหนึ่ง ในอําเภอดําเนินสะดวก จังหวัดราชบุร.ี ทุนวิจัยสวนบุคคล. รางวัลที่ไดรับ บุคลากรดีเดนสายสนับสนุนวิชาการ มหาวิทยาลัยคริสเตียน ประจําปพุทธศักราช 2555


140

นางสุภัสสรา

ชื่อ ประวัติการศึกษา ปริญญาโท ปริญญาตรี

ตําแหนงปจจุบัน

วิภากูล

ผูรวมวิจัย

การจัดการมหาบัณฑิต (การจัดการภาครัฐและเอกชน) บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยคริสเตียน ศิลปศาสตรบัณฑิต (รัฐศาสตร) คณะรัฐศาสตร มหาวิทยาลัยรามคําแหง ผูชวยอธิการบดี มหาวิทยาลัยคริสเตียน กํากับดูแลกลุมงานแผน

ผลงานทางวิชาการ สุภัสสรา วิภากูล. (2546). การศึกษาปญหาการปฏิบัติงานธุรการสารบรรณในมหาวิทยาลัย คริสเตียน ทุนสนับสนุนจากมหาวิทยาลัยคริสเตียน. สุภัสสรา วิภากูล, นันทิดา แคนอย และอิทธิพร ขําประเสริฐ. (2551). ความพึงพอใจของ นัก ศึก ษาชั้น ปที่ 1 มหาวิ ทยาลัย คริสเตีย นที่มีตอ การใหบ ริก ารการศึก ษา. ทุน สนับ สนุน จาก มหาวิทยาลัย คริสเตียน. จันทรจิรา วงษขมทอง, สุภัสสรา วิภากูล, จุฑาทิพย ถาวรรัตน, ชิษณุพงศ ทองพวง, อัชฌา ชื่นบุญ, อิทธิพร ขําประเสริฐ และสุจิรา อุนศิร.ิ (2552). โครงการวิจัยปฏิบัติการเพื่อพัฒนา รูปแบบและศักยภาพในการบริการที่เปนเลิศของอําเภอในสังกัดกรมการปกครอง. ทุนสนับสนุน จากกรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย. สุภัสสรา วิภากูล, นันทิดา แคนอย และอิทธิพร ขําประเสริฐ. (2553). การศึกษาการมีสว น รวมในการจัดทําแผนปฏิบัติการเชิงกลยุทธประจําปการศึกษาของบุคลากรมหาวิทยาลัยคริสเตียน. ทุนสนับสนุนจากมหาวิทยาลัยคริสเตียน. สุภัสสรา วิภากูล, นันทิดา แคนอย, อิทธิพร ขําประเสริฐ, มณีวรรณ แกมดุ และรัชเกลา นนทะวงศ. (2554). การพัฒ นาคูมือวิธีปฏิบัติในการใหบริการที่เปน เลิศของสวนงานสนับสนุน วิชาการมหาวิทยาลัยคริสเตียน. ทุนสนับสนุนจากมหาวิทยาลัยคริสเตียน. สุภัสสรา วิภากูล, มณีวรรณ แกมดุ และรัชเกลา นนทะวงศ. (2555). การศึกษาพฤติกรรม การปฏิบัติงานที่มีประสิทธิผลของเจาหนาที่สารบรรณ มหาวิทยาลัยคริสเตียน.ทุนสนับสนุนจาก มหาวิทยาลัยคริสเตียน.


141

อิทธิพร ขําประเสริฐ , สุภัสสรา วิภ ากูล และนัน ทิดา แคนอย. (2555). ปจ จัยการเพิ่ม ประสิทธิภาพในการนําแผนกลยุทธไปสูการปฏิบัติของมหาวิทยาลัยคริสเตียน. ทุนสนับสนุนจาก มหาวิทยาลัยคริสเตียน. เบ็ญจวรรณ พุทธิอังกูร, สุภัสสรา วิภากูล , นัน ทิดา แคนอย และอิทธิพร ขําประเสริฐ . (2555). การกํ าหนดทิศทางของมหาวิทยาลัยคริ สเตีย นในการจั ด การอุด มศึ ก ษาในประชาคม เศรษฐกิจอาเซียน. ทุนสนับสนุนจากมหาวิทยาลัยคริสเตียน.


142

นางสาวนันทิดา แคนอย

ชื่อ ประวัติการศึกษา ปริญญาโท ปริญญาตรี

ตําแหนงปจจุบัน

ผูรวมวิจัย

ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (รัฐศาสตร) คณะรัฐศาสตร มหาวิทยาลัยรามคําแหง ศิลปศาสตรบัณฑิต (รัฐศาสตร) คณะรัฐศาสตร มหาวิทยาลัยรามคําแหง พนักงานงานแผน สังกัดกลุมงานแผน ฝายบริหารทั่วไป มหาวิทยาลัยคริสเตียน

ผลงานทางวิชาการ สุภัสสรา วิภากูล, นันทิดา แคนอย และอิทธิพร ขําประเสริฐ. (2551). ความพึงพอใจของ นัก ศึก ษาชั้น ปที่ 1 มหาวิ ทยาลัย คริสเตีย นที่มีตอ การใหบ ริก ารการศึก ษา. ทุน สนับ สนุน จาก มหาวิทยาลัย คริสเตียน. สุภัสสรา วิภากูล, นันทิดา แคนอย และอิทธิพร ขําประเสริฐ. (2553). การศึกษาการมีสว น รวมในการจัดทําแผนปฏิบัติการเชิงกลยุทธประจําปการศึกษาของบุคลากรมหาวิทยาลัยคริสเตียน. ทุนสนับสนุนจากมหาวิทยาลัยคริสเตียน. สุภัสสรา วิภากูล, นันทิดา แคนอย, อิทธิพร ขําประเสริฐ, มณีวรรณ แกมดุ และรัชเกลา นนทะวงศ. (2554). การพัฒ นาคูมือวิธีปฏิบัติในการใหบริการที่เปน เลิศของสวนงานสนับสนุน วิชาการมหาวิทยาลัยคริสเตียน. ทุนสนับสนุนจากมหาวิทยาลัยคริสเตียน. อิทธิพร ขําประเสริฐ , สุภัสสรา วิภ ากูล และนัน ทิดา แคนอย. (2555). ปจ จัยการเพิ่ม ประสิทธิภาพในการนําแผนกลยุทธไปสูการปฏิบัติของมหาวิทยาลัยคริสเตียน. ทุนสนับสนุนจาก มหาวิทยาลัยคริสเตียน. เบ็ญจวรรณ พุทธิอังกูร, สุภัสสรา วิภากูล , นัน ทิดา แคนอย และอิทธิพร ขําประเสริฐ . (2555). การกํ าหนดทิศทางของมหาวิทยาลัยคริ สเตีย นในการจั ด การอุด มศึ ก ษาในประชาคม เศรษฐกิจอาเซียน. ทุนสนับสนุนจากมหาวิทยาลัยคริสเตียน.


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.