ร้านเอี้ยะเล่งฮึ้ง : ความเป็นมาและการให้บริการทางการแพทย์แผนจีนโบราณแห่งหนึ่ง

Page 1

เรื่องเล่าจาก

ร้านเอี้ยะเล่งฮึ้ง ความเป็นมา และการให้บริการทางการแพทย์แผนจีนโบราณแห่งหนึ่ง ในอาเภอดาเนินสะดวก จังหวัดราชบุรี

อิทธิพร ขาประเสริฐ ที่ระลึกในโอกาสครบรอบ 78 ปี แห่งการดาเนินกิจการร้านเอี้ยะเล่งฮึ้ง พ.ศ. 2559



เรื่องเลาจากรานเอี้ยะเลงฮึ้ง :

ความเปนมา และการใหบริการทางการแพทยแผนจีนโบราณแหงหนึ่ง ในอําเภอดําเนินสะดวก จังหวัดราชบุรี The Tale from Ear-Leng-Heung Store : The Origin and Management of a Traditional Chinese Medical Services in Damnoen Saduak District, Ratchaburi Province

โดย อิทธิพร ขําประเสริฐ

ที่ระลึกในโอกาสครบรอบ 78 ป แหงการดําเนินกิจการรานเอี้ยะเลงฮึ้ง ทุนวิจัยสวนบุคคล 2559



The Tale from Ear-Leng-Heung Store : The Origin and Management of a Traditional Chinese Medical Services in Damnoen Saduak District, Ratchaburi Province

By Itthiporn Khumprasert

In Commemoration of the 78 th Anniversary of Operation, Ear-Leng-Heung Store Personal Research Fund 2016



คํานํา เรื่องเลาจากรานเอี้ยะเลง ฮึ้ง : ความเปนมา และการใหบริก ารทางการแพทยแผนจีน โบราณแหงในหนึ่งในอําเภอดําเนินสะดวก จังหวัดราชบุรี จัดทําขึ้นเปนที่ระลึกในโอกาสครบรอบ 78 ป แหงการเปดดําเนินกิจการของรานฯ ผูวิจัยไดศึกษาและวิเคราะหขอมูลเกี่ยวกับประวัติความ เป น มา พั ฒ นาการ การสืบ ทอดกิ จ การ รู ป แบบการให บ ริ ก ารทางสุ ข ภาพ รวมทั้ ง ลั ก ษณะ ความสัมพันธกับผูคาสงสมุนไพร และกลุมลูกคาที่มาใชบริการกับรานเอี้ยะเลงฮึ้ง โดยนําแนวคิด และทฤษฎีทางสังคมวิท ยามาใชใ นการทําความเขาใจปรากฏการณ และใชวิธีก ารศึก ษาเชิง คุณภาพดวยการศึกษาเอกสาร งานวิจัย การสัมภาษณ และโดยเฉพาะอยางยิ่งการสังเกตแบบมี สวนรวมของผูวิจัยในฐานะที่เปนสวนหนึ่งของสมาชิกในรานเอี้ยะเลงฮึ้ง งานวิจัยชิ้นนี้ถือเปนสวนหนึ่งในการศึกษาประวัติศาสตรชุมชน ทองถิ่นที่บันทึกเรื่องราว ความเปนมาของธุรกิจ ครอบครัว ชีวิต ผูค นในอําเภอดําเนินสะดวก ชุมชนชาวไทยเชื้อสายจีน เกษตรกรชาวสวนของอําเภอดําเนินสะดวก ที่มีความเชื่อในการรักษา และดูแลสุขภาพดวยความรู ทางการแพทยแผนจีน โบราณมาอยางยาวนานทําใหเ ห็น สายสัมพัน ธท างสังคมระหวางผูคน ภายในรานเอี้ยะเลงฮึ้ง และสะทอนวาองคความรูทางการแพทยแผนจีนยังมีประโยชนในการรับใช ดูแลสุขภาพของผูคนในสังคมไทย อยางไรก็ตามงานวิจัยชิ้นนี้อาจมีขอบกพรองที่ยังไมครบถวน สมบูรณลุมลึกในเชิงเนื้อหาและการวิเคราะหมากนักเนื่องจากขอจํากัดดานตางๆ ผูวิจัยจึงยินดี นอมรับขอผิดพลาดดัง กลาวไวทุกประการ ทายที่สุด นี้ผูวิจัย ปรารถนาเปนอยางยิ่งวางานวิจัย เรื่องดังกล าวจะมีสวนชวยเติมเต็มและสรา งความรูค วามเขาใจเกี่ย วกับ ชี วิตทางสังคมและ วัฒนธรรมของผูคนในอําเภอดําเนินสะดวกไดอีกแงมุมหนึ่ง.


กิตติกรรมประกาศ ขอระลึกถึงอากงคี้ แซตั้ง ผูกอตั้งรานเอี้ยะเลงฮึ้ง อามาเอี่ยมเจ็ง แซเฮง ที่รวมกันบุกเบิก สรางรานเอี้ยะเลงฮึ้ง สรางฐานครอบครัวที่มั่นคงมาตั้งแตอดีตถึงปจจุบัน ขอขอบพระคุณสมาชิกในครอบครัวทุกทาน อันไดแก อาแหมะ:นางบุนเกียง พัฒนตรีกูณฐ อี้เกียง:นางสาวภัทรภร จงกลทิพย (ลี่เกียง แซตั้ง) แม :นางอรุณี ขําประเสริฐ อี้ไอ:นางสาวชญานุช (ทั ศ นี ย) ตั น วิ จิต ร ที่เ ลา เรื่ อง ถ ายทอดเรื่อ งราว ประสบการณ ตา งๆซึ่ง เป น ข อมู ลที่ มีคุ ณ ค า ประกอบการเขียนงานวิจัย ขอขอบพระคุณลูกคาที่มาใชบริการจากรานเอี้ยะเลงฮึ้งทุกทานที่ไดมีสวนรวมในการให ขอมูลประกอบการวิจัย การทําวิจัยในครั้งนี้ทําใหผูวิจัยไดเรียนรูวา การมีสุขภาพที่ดีนั้นเปนสวนสําคัญที่ทําใหการ ใชชีวิต ของมนุษยสามารถดําเนินไปตามจุดมุงหมายที่ค าดหวังไว มนุษ ยแตละคนจึงพยายาม แสวงหาการมีสุขภาพที่ดีดวยวิถีทางตางๆ ตามความเชื่อของตน สําหรับผูวิจัยนั้นถือไดวาโชคดีที่ ไดอาศัยอยูในรานเอี้ยะเลงฮึ้งแหงนี้ตั้งแตเกิดจนปจจุบัน ซึ่งแมวาระหวางการดําเนินชีวิตจะไดรับ ความเจ็บปวยทางกายที่ทําใหสุขภาพดูจะติดขัดไปบางในบางชวงของชีวิต แตผูวิจัยก็ไดรับการ ดูแล และบํารุงรักษาสุขภาพจากบุคคลที่อาศัยอยูรวมกันภายใตรานเอี้ยะเลงฮึ้งแหงนี้เปนอยางดี


เรื่องเลาจากรานเอี้ยะเลงฮึ้ง : ความเปนมา และการใหบริการ ทางการแพทยแผนจีนโบราณแหงหนึ่ง ในอําเภอดําเนินสะดวก จังหวัดราชบุรี ผูวิจัย : นายอิทธิพร ขําประเสริฐ ปที่วิจัยแลวเสร็จ : 2559 บทคัดยอ การศึกษาวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค 2 ประการ คือ 1)การศึกษาความเปนมา พัฒนาการ และการสืบทอดกิจการของรานเอี้ยะเลงฮึ้ง และ 2)การศึกษาลักษณะความสัมพันธและเครือขาย ทางสังคมระหวางผูใหบริการกับผูคาสงสมุนไพร และลูกคาที่มาใชบริการที่สงผลตอการดํารงอยู ของรานเอี้ย ะเลงฮึ้ง โดยอาศัย ระเบีย บวิธีวิ จัย เชิงคุณ ภาพ ดวยการศึก ษาวิ เ คราะหเ อกสาร งานวิจัย การสัมภาษณและการสังเกตแบบมีสวนรวมเปน แนวทางในการศึก ษา มีระยะเวลา ดําเนินการตั้งแตเดือนกรกฎาคม 2556-ธันวาคม 2558 ขอคนพบจากการศึกษาวิจัย พบวา รานเอี้ยะเลงฮึ้ง เปนสถานที่ใหบริการทางการแพทยแผนจีนโบราณกอตั้งโดยนายคี้ แซตั้ง ชาวไทยเชื้ อ สายจี น ที่ อ พยพมาจากอํ า เภอกิ ก ไซ มณฑลกวางตุ ง สาธารณรั ฐ ประชาชนจี น โดยเลือกพื้นที่อําเภอดําเนิน สะดวกซึ่งเปน ชุมชนชาวจีนแหลง ใหญตั้ง ถิ่น ฐาน รานเอี้ย ะเลงฮึ้ง มีพัฒนาการมาเปน ลําดับ สามารถแบงออกเปน 3 ชวงเวลา ไดแก ชวงที่ 1 พ.ศ.2480-2500 เป น ยุ ค บุ ก เบิ ก การค าและการลงทุ น ชว งที่ 2 พ.ศ.2501-2538 เปน ยุค การคา เฟ อ งฟู และ ผลกระทบจากการพัฒนาอําเภอดําเนินสะดวก และชวงที่ 3 พ.ศ.2539-ปจจุบัน เปนยุคการพลัด เปลี่ยนสูทายาทและการปรับตัว การดํารงอยูของรานเอี้ยะเลงฮึ้งเกิดจากลักษณะความสัมพันธทางสังคมของกลุมผูค น ที่มาเกี่ย วของ ไดแก ความสัมพัน ธระหวางรานฯกับ ผูคาสง สมุนไพรที่มีระยะเวลายาวนานจน นําไปสูความไวเนื้อเชื่อใจระหวางกัน และความสัมพันธระหวางรานฯกับกลุมลูกคาที่มาใชบริการ ซึ่ง ประกอบด ว ย ความสั ม พั น ธ แ บบเครื อ ญาติแ ละเพื่ อ นบ า นของกลุม ชาวไทยเชื้ อ สายจี น ความสัมพันธกับ“ชาวสวน”ในฐานะที่เปนกลุมลูกคาหลัก และความสัมพันธแบบสงตอจาก “ลูกคา ประจํา” การศึก ษาในครั้งนี้จึงแสดงใหเ ห็นวาความสัมพันธท างสังคมเปนสวนหนึ่งที่สนับ สนุน ความสัมพันธทางเศรษฐกิจใหมีความตอเนื่องและดํารงอยูได งานวิจัยเรื่อง :

คําสําคัญ : การแพทยแผนจีนโบราณ ชุมชนชาวจีน การใหบริการ ความสัมพันธทางสังคม


ฉ

Title:

The Tale from Ear-Leng-Heung Store: The Origin and Management of a Traditional Chinese Medical Services in Damnoen Saduak District, Ratchaburi Province

Researcher:

Mr. Itthiporn Khumprasert

Year:

2016

Abstract The purposes of this research were twofold: 1) to examine the origin background including the store development and the succession of key management position in the family-run store, and 2) to study the characteristics of relations and social network among the store owner, herb suppliers, and customers that were the essential elements to the survival and persistence of Ear-Leng-Heung Store. The study was a qualitative research. The instruments used comprised of literature review, interview, and participatory observation. The study had been conducted from July 2013 to December 2015. The findings revealed that: Ear-Leng-Heung Store, the traditional Chinese medical services, was founded by Mr.Khi SaeTang, Thai of Chinese descent migrated from Kik Sai District, Guangdong Province, China. He chose Damnoen Saduak District, which was a large Chinese Community for resettlement, to start his business. The development of Ear-Leng-Heung Store can be divided into three periods of time. The first period, the pioneer phase on trade and investment started from 1937 to 1957. The second period, from 1958 to 1995, was the glorious years resulted from the development and expansion of Damnoen Saduak community. The last period, from 1996 to present, has been the time of adaptation and leadership succession. The survival and persistence of Ear-Leng-Heung Store originated from the characteristics of social relations among groups of people involved. This included the last long relation between the store owner and herb suppliers that build and sustain trust in their business relationship. The patterns of relation among the store owner and its customers, including clan relation, neighborhood relation among Thais of Chinese descent, relation with farmers who were the main target customer base, and also the pass-on relation from loyal customers who spread favorable word-of-mouth referrals. This study showed that social relation has been the key element that sustains economic relations continuously. Keywords:

Tradition Chinese Medicine, Chinese Community, Services, Social Relationship


สารบัญ คํานํา..................................................................................................................... กิตติกรรมประกาศ.................................................................................................. บทคัดยอภาษาไทย................................................................................................. บทคัดยอภาษาอังกฤษ............................................................................................ สารบัญ.................................................................................................................. สารบัญรูปภาพ....................................................................................................... สารบัญตาราง........................................................................................................

หนา ค ง จ ฉ ช ญ ฐ

บทที่ 1 บทนํา...................................................................................................... ความเปนมาและสําคัญของปญหา........................................................... วัตถุประสงค........................................................................................... ขอบเขตการวิจัย...................................................................................... ขั้นตอนและวิธีการศึกษา.......................................................................... นิยามศัพท.............................................................................................. การวิเคราะหขอมูล.................................................................................. ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ....................................................................... การพิทักษสิทธิของผูใหขอมูล................................................................... แนวความคิดและทฤษฎีที่ใชศึกษา............................................................ การทบทวนวรรณกรรม............................................................................

1 1 4 4 4 6 6 6 7 7 9

บทที่ 2 องคความรูเกี่ยวกับการแพทยแผนจีน..................................................... แนวคิดพื้นฐานสําคัญของการแพทยแผนจีน.............................................. ทฤษฎีการแพทยแผนจีน.......................................................................... การวิเคราะหและวิธีการรักษาโรคของการแพทยแผนจีน.............................. การตรวจวินิจฉัยของศาสตรการแพทยแผนจีน........................................... การแพทยแผนจีนในประเทศไทย.............................................................. แนวโนมการแพทยแผนจีนในอนาคต......................................................... บทสรุป...................................................................................................

15 15 17 37 45 45 47 53


บทที่ 3 บริบททางสังคมและวัฒนธรรมของอําเภอดําเนินสะดวก จังหวัดราชบุรี ลักษณะทางกายภาพของพื้นที่อําเภอดําเนินสะดวก................................... ชุมชนการปกครองในเขตอําเภอดําเนินสะดวก........................................... เอกลักษณทางสังคมและวัฒนธรรมของอําเภอดําเนินสะดวก...................... บทสรุป...................................................................................................

หนา 55 55 57 58 73

บทที่ 4 ประวัติความเปนมาของรานเอี้ยะเลงฮึ้ง : พัฒนาการจากอดีตสูปจจุบัน ที่มาของคําวา “เอี้ยะเลงฮึ้ง” .................................................................... ผูกอตั้งรานเอี้ยะเลงฮึ้ง............................................................................. ที่ตั้งและการคมนาคม.............................................................................. พัฒนาการของการรานเอี้ยะเลงฮึ้ง............................................................ ชวงที่ 1 ยุคบุกเบิกการคาและการลงทุน (พ.ศ.2480-2500)......................... ชวงที่ 2 ยุคการคาเฟองฟูและผลจากการพัฒนาอําเภอดําเนินสะดวก (พ.ศ.2501-2538)......................................................................... ชวงที่ 3 ยุคการพลัดเปลี่ยนสูทายาทและการปรับตัว (พ.ศ.2539-ปจจุบัน).... การสืบทอดกิจการรานขายยา................................................................... การสืบทอดทางการคา.......................................................................... การสืบทอดความรู................................................................................ บทสรุป...................................................................................................

75 75 76 79 81 81

บทที่ 5 ยาสมุนไพรจีนของรานเอี้ยะเลงฮึ้ง.......................................................... เครื่องยาสมุนไพรจีนของรานเอี้ยะเลงฮึ้ง.................................................... แหลงที่มาของสมุนไพรจีน..................................................................... การจัดหาสมุนไพร................................................................................ การดูแลรักษาสมุนไพร.......................................................................... สถานการณสมุนไพรจีน........................................................................ การปรุงยาสมุนไพรจีนของรานเอี้ยะเลงฮึ้ง................................................. ประเภทของยาสมุนไพรและกรรมวิธีการปรุง...........................................

97 97 97 99 101 104 108 108

85 90 94 94 95 96


เทคโนโลยีที่ใชในการปรุงยา.................................................................. การควบคุมคุณภาพของยา................................................................... ยาประเภทอื่นๆที่ใหบริการ....................................................................... บทสรุป................................................................................................... บทที่ 6 การใหบริการและความสัมพันธกับผูมาใชบริการของรานเฮี๊ยะเลงฮึ้ง.... ขอมูลเบื้องตนเกี่ยวกับการใหบริการ.......................................................... รูปแบบการตรวจวินิจฉัยรักษาโรค............................................................. วิธีการบําบัดรักษาโรคและการดูแลสุขภาพ................................................ การจัดยาใหรับประทาน........................................................................ การแนะนําใหดูแลสุขภาพดวยตนเอง..................................................... การผสมผสานการแพทยแผนจีนกับการแพทยแผนอื่น............................. จุดยืนของรานขายยา : จรรยาบรรณในการใหบริการ ................................. ความสัมพันธกับกลุมผูเ ขามาใชบริการ : ปจจัยสนับสนุนการดํารงอยู ของรานเอี้ยะเลงฮึ้ง.................................................................................. ความสัมพันธแบบเครือญาติและเพื่อนบานชาวไทยเชื้อสายจีน................ ความสัมพันธกับ “ชาวสวน”ในฐานะลูกคากลุมหลัก................................ ความสัมพันธแบบสงตอจาก“ลูกคาประจํา”………………………………. ปจจัยที่เปนแรงจูงใจใหมาใชบริการ.......................................................... บทสรุป...................................................................................................

หนา 111 117 118 119 121 121 122 124 124 130 132 134 137 138 139 141 143 150

บทที่ 7 บทสรุปและขอเสนอแนะ......................................................................... 152 บรรณานุกรม.......................................................................................................... 159 ภาคผนวก : ประวัติคลองดําเนินสะดวก.................................................................... 164 ประวัติผูวิจัย........................................................................................................... 170


สารบัญรูปภาพ ภาพที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25

การใหกําเนิดและการขมของปญจธาตุ……………………………………. ความสัมพันธของจิตใจ และอารมณกับอวัยวะตัน………………..………. โครงสรางระบบของเสนลมปราณ.......................................................... วงจรวิถีไหลเวียนของเสนลมปราณหลัก.................................................. แผนที่อําเภอดําเนินสะดวกและอาณาเขตติดตอ………………………….. ลักษณะของสวนยกรองในอําเภอดําเนินสะดวก...................................... ศาลเจาจีนในอําเภอดําเนินสะดวก......................................................... การจําลองหมูบานไทยทรงดําที่บานดอนคลัง.......................................... การละเลนรําลาวของชาวไทยทรงดํา...................................................... วัดแมพระสายประคําศักดิ์สิทธิ.์ ............................................................. วัดนักบุญอันตนนีโอ............................................................................. วัดโคกหลวง......................................................................................... วัดหลักหกรัตนานาม............................................................................. วัดใหมสี่หมื่น....................................................................................... วัดปราสาทสิทธิ.์ ................................................................................... เรือนแถวริมคลองดําเนินสะดวกและลําคลองยอยและสวนพริกไทย พ.ศ.2479............................................................................................ เรือบรรทุกหอมแดงของชาวสวนจีน........................................................ บริเวณชุมชนริมคลองดําเนินสะดวกหนาวัดปราสาทสิทธิ.์ ........................ คลองโพหักเปนที่ตั้งของตลาดน้ําคลองโพหัก.......................................... ตลาดน้ําคลองลัดพลีในอดีต.................................................................. บรรยากาศการสัญจรและชุมชนริมคลองดําเนินสะดวกในปจจุบัน............ ตลาดน้ําคลองตนเข็มในปจจุบัน............................................................ บริเวณปากคลองลัดพลีปจจุบัน............................................................. นายคี้ แซตั้ง ผูกอตัง้ รานเอี้ยะเลงฮึ้ง....................................................... ครอบครัวของนายคี้ แซตั้ง.....................................................................

หนา 23 29 32 33 56 59 63 65 65 66 66 67 67 67 67 68 69 69 69 70 71 73 73 76 77


สารบัญรูปภาพ (ตอ) ภาพที่ 26 การมีสวนรวมในกิจกรรมทางสังคมกับเพื่อนบาน และสมาคมชาวจีน ของนายคี้ แซตั้ง…………………………………………………………… 27 บริเวณตลาดปากคลองสะเดา เปนที่ตั้งของรานเอี้ยะเลงฮึ้งกอนยายมาอยู ณ ที่ปจจุบัน ถายเมื่อ พ.ศ.2546………………………………………. 28 รานเอี้ยะเลงฮึ้ง ที่ตั้งปจจุบัน ริมถนนสาย 325 แมกลอง ดําเนินสะดวก บางแพ................................................................................................ 29 ภาพถายทางอากาศแสดงบริเวณพื้นที่ตั้งของรานเอี้ยะเลงฮึ้ง จากริมคลองดําเนินสะดวกสูริมถนน....................................................... 30 นายคี้และบุตรสาวกําลังจัดเตรียมยากอนจัดจําหนาย............................. 31 บรรยากาศบริเวณฝงตรงกันขามกับรานเอี้ยะเลงฮึ้งและตลาดปากคลอง สะเดาในอดีต....................................................................................... 32 สมาชิกในครอบครัวและเครือญาติของนายคี้ แซตั้ง................................. 33 บริเวณตลาดปกคลองสะเดาในสถานการณน้ําทวมใหญในอําเภอดําเนิน สะดวก เมื่อป พ.ศ.2539…………………………………………………... 34 บริเวณตลาดปากคลองสะเดาและการจัดจําหนายสมุนไพร ในรานเอีย้ ะเลงฮึ้ง................................................................................. 35 ภายในรานเอีย้ ะเลงฮึ้งปจจุบัน............................................................... 36 ตราประทับชื่อของรานเอี้ยะเลงฮึ้งในแตละยุค......................................... 37 การนําสมุนไพรออกมาแตกแดดและตูลิ้นชัก กระปอง ขวดสําหรับจัดเก็บ สมุนไพรกอนจัดจําหนาย...................................................................... 38 ภายในลิ้นชักที่ใสสมุนไพรของรานเอี้ยะเลงฮึ้ง......................................... 39 สมุนไพรที่ไดรับการแปรรูปใหอยูในหีบหอที่สะดวกตอการใช.................... 40 เครื่องชั่งยาประเภทตางๆสําหรับคํานวณน้ําหนักสมุนไพร........................ 41 เครื่องใสยา.......................................................................................... 42 มีดสําหรับหั่นยา และหินลับมีด.............................................................. 43 ครกประเภทตางๆสําหรับตําสมุนไพร.....................................................

หนา 79 80 80 81 84 86 87 91 92 93 94 103 104 108 112 112 113 113


สารบัญรูปภาพ (ตอ) ภาพที่ 44 45 46 47 48 49 50 51

หนา 114 114 115 115 116

แทนไมสําหรับปนยาและเครื่องปนยา..................................................... รางบดยา............................................................................................. เครื่องอัดเม็ดยาทองเหลือง.................................................................... เครื่องบดยาไฟฟา................................................................................. ตะแกรงรอนยาขนาดตางๆ................................................................... หมึกจีน และพูกันจีนสําหรับออกตั๋วยา และเขียนเสือที่ใบหนา สําหรับผูที่เปนโรคคางทูม...................................................................... 116 เครื่องคิดเลขจีนโบราณและไมสําหรับทับกระดาษหอยาเวลาจัดยา........... 116 ยาประเภทอื่นๆที่นํามาใหบริการแกลูกคา............................................... 119


สารบัญตาราง ตารางที่ 1 แสดงรายชื่อรานที่ใหบริการดวยการแพทยแผนจีนของอําเภอดําเนิน สะดวกในอดีตจนถึงปจจุบนั …………………………………………….. 2 การแบงรางกายและเนื้อเยื้อโครงสรางตามทฤษฎีอิน-หยาง.................. 3 การแบงหนาที่สรีรวิทยาตามทฤษฎีอิน-หยาง....................................... 4 การแบงอาการแสดงของโรคตามทฤษฎีอิน-หยาง................................. 5 การแบงตามอิทธิพลหรือปจจัยตางๆที่กอใหเกิดโรคตามทฤษฎีอิน-หยาง 6 การแบงตามตามรสและฤทธิ์ของยาตามทฤษฎีอิน-หยาง...................... 7 แสดงความสัมพันธระหวางปญจธาตุกับสรรพสิ่ง................................. 8 แสดงการจําแนกหมวดหมูของอวัยวะภายใน....................................... 9 ความสัมพันธของทวารและอวัยวะตันทั้ง 5 อวัยวะ............................... 10 แสดงชื่อของเสนลมปราณ อวัยวะตนสังกัดและอวัยวะคูสัมพันธ........... 11 แสดงจํานวนสถาบันอุดมศึกษาที่เปดสอนหลักสูตรระดับปริญญาตรี สาขาวิชาการแพทยแผนจีนในประเทศไทย.......................................... 12 แสดงจํานวนผูประกอบโรคศิลปะสาขาการแพทยแผนจีนที่ไดขึ้น ทะเบียนไว ป พ.ศ.2552-2555............................................................ 13 แสดงตัวเลขการนําเขาผลิตภัณฑสมุนไพรจีนสูประเทศไทย................... 14 แสดงตัวเลขการสงออกผลิตภัณฑสมุนไพรจีนไปทั่วโลก........................ 15 เปรียบเทียบราคาสมุนไพรที่สําคัญกอนและหลังป พ.ศ.2555…………..

หนา 3 18 18 19 19 20 22 28 29 31 50 51 105 106 107



บทที่ 1 บทนํา ความเปนมาและความสําคัญของปญหา การดูแลสุขภาพและรักษาภาวะการเจ็บปวยของคนไทยดวยการแพทยแผนจีนนั้นมีนาน แลวนับตั้งแตสมัยกรุงศรีอยุธยา1ในรัชสมัยสมเด็จพระนารายณมหาราช โดยปรากฏหลักฐานใน คัมภีร โอสถพระนารายณ ซึ่ง เปน คั มภีรที่ รวบรวมยาในราชสํา นัก ของไทย ไดร ะบุชื่อ แพทย ผูประกอบยา คือ หมอจีน จํานวน 1 คน ไดแก ขุนประสิทธิโอสถจีน ที่มีสวนรวมในการปรุงยา ถวาย แสดงใหเห็นถึงอิทธิพลวัฒนธรรมทางการแพทยของจีนที่เขามามีบทบาทและผสมผสานกับ ภู มิ ป ญ ญาดั้ ง เดิ ม ของไทย (กรมการพั ฒ นาการแพทย แ ผนไทยและทางเลื อ ก,2555:11) การแพรหลายของการใชยาสมุนไพรจีนในสังคมไทยหลังจากนั้นจึงมีมาอยางตอเนื่อง โดยปจจัยที่ มีสวนสําคัญ คือ การอพยพยายถิ่นเขามาตั้งรกรากทํากินของชาวจีนสูประเทศไทยจํานวนมาก โดยเฉพาะในชวงรัตนโกสินทรตอนตนเรื่อยมา สาเหตุที่ชาวจีนอพยพเขามาเกิดจากปญหาภายใน ของสาธารณรัฐประชาชนจีน 3 ประการ คือ ความอดอยากความเดือนรอนจากภาวะสงครามและ ความสะดวกในการคมนาคม (วิยะดา ทองมิตร,2527: 28-34) คนจีนที่อพยพเขามาเหลานี้ได นําเอาความรู วิท ยาการเกี่ย วกับ การประกอบอาชีพที่ห ลากหลายเขามาปรับ ใชใ นสังคมไทย โดยเฉพาะการทํามาคาขาย และยิ่งไปกวานั้น คือ การเปนผูที่มีความมุงมั่นขยัน หมันเพียร อดทน อดออมจนสามารถที่จะสรางฐานะใหแกตนเอง ครอบครัวสืบสกุลหลายรุน และดํารงชีวิตอยูใ น สังคมไทยไดอยางผาสุก การประกอบอาชีพเกี่ยวกับการใหบริการบําบัด รักษาโรคและการดูแลสุขภาพของชาว ไทยเชื้อสายจีน ในรานจําหนายยาสมุน ไพรจีนนับ เปน อีก อาชีพหนึ่ง ที่ชาวไทยเชื้อสายจีน ซึ่งมี ความรูทางการแพทยแผนจีนที่ไดเ ปดใหบริก ารคนจีนดวยกันเองรวมทั้งคนไทยดวยมาชานาน โดยรานจําหนายยาสมุนไพรสวนใหญมักจะตั้งหลักแหลงอยูในยานชุมชนชาวไทยเชื้อสายจีนตาม หัวเมืองสําคัญทางเศรษฐกิจของประเทศไทย เชน เชียงใหม อุดรธานี ขอนแกน นครราชสีมา นครสวรรค ชลบุรี จันทบุรี ตรัง ระนอง ภูเก็ต นครปฐม ราชบุรี สมุทรสาคร สมุทรสงคราม เปนตน 1

จากการศึกษาทางประวัติศาสตรพบวาจักรวรรดิจีนนั้นไดมีการติดตอกับอาณาจักรโบราณในภูมิภาคเอเชีย ตะวันออกเฉียงใตมาตั้งแตกอนพุทธศตวรรษที่ 18 เชน อาณาจักรสุโขทัยมีการติดตอคาขายสังคโลกกับจีน ทําให สันนิษฐานไดวาความรูระหวางทองถิ่นสองอาณาจักรนาจะมีการปะทะผสมผสานขามกันไปมา ซึ่งรวมถึงการใช ยาสมุนไพรในการรักษาโรคดวย แตปรากฏหลักฐานที่ชัดเจนในสมัยกรุงศรีอยุธยา


2

การใหบริการของรานจําหนายยาสมุนไพรจีนดังกลาวประกอบดวยการตรวจวินิจฉัยโรคอาการของ โรคใหแกคนไขโดยแพทยจีนหรือที่ผูคนนิยมเรียกวา“ซิ่นแส”ซึ่งการตรวจวินิจฉัยโรคใชวิธีการอยู หลายรูปแบบ ไดแก การจับชีพจรหรือ“การแมะ”การสังเกตสีหนา ลิ้น ริมฝปาก การฟง เชน การ หายใจ ลักษณะอาการไอ การดม การซักถามอาการเจ็บปวยตามรางกาย เพื่อวิเคราะหสาเหตุ หรือปจจัยที่กอใหเกิดโรคดังกลาว จากนั้นจะใหคําแนะนําในการรักษาอาการของโรคตามแบบ ฉบับของซิ่นแสแตละทาน เชน การออกใบสั่งยาโดยจัดยาสมุนไพรจีนใหรับประทานตามอาการ ของโรค การรักษาดวยวิธีการฝงเข็ม รมยา การนวด กดจุด เปนตน รวมทั้งการใหคําแนะนําในการ ดูแลสุขภาพผูปวยตามแนวทางการแพทยแผนจีน และมีการติดตามอาการโดยการนัดหมายใหมา ตรวจอาการในชวงเวลาตอมา ในพื้นที่อําเภอดําเนิน สะดวก จังหวัด ราชบุรี นับ เปนพื้นที่ห นึ่ง ซึ่ง มีชาวไทยเชื้อสายจีน หลายเชื้อสายอพยพเขามาอยูอาศัย เชน แตจิ๋ว แคะ ฮกเกี้ยน ไหหลํา เปนตน ซึ่งไดอพยพเขามา อาศัยตั้งแตแรกเริ่มเมื่อมีการขุดคลองดําเนินสะดวก2 โดยชวงแรกเขามาเปนแรงงานรับจางในการ ขุดคลอง และหลังจากที่มีการขุดคลองเสร็จแลวจึงไดตั้งรกรากทํากินอาศัยอยูตลอดสองฝงคลอง ดําเนินสะดวก ซึ่งมีผลทําใหในภายหลังชาวจีนไดทยอยอพยพเขามาอยางตอเนื่อง เหตุผลที่ทําให ชาวจีนอพยพเขามาอยางตอเนื่องอาจเปนเพราะความสําคัญของพื้นที่ในหลายประการ อันไดแก การมีท รัพยากรดิน ที่อุดมสมบูรณ ตลอดสองฝงคลองดําเนิน สะดวกเหมาะแกก ารเพาะปลูก ประกอบการมีคูคลองที่เชื่อมโยงกันอยางทั่วถึงทําใหมีผลดีตอการประกอบอาชีพ และการเดินทาง ไปมาที่ ส ะดวกด ว ยการคมนาคมทางน้ํ า อี ก ทั้ ง พื้ น ที่ อํ า เภอดํ า เนิ น สะดวกยั ง ไม ไ กลจาก กรุงเทพมหานครมากนัก สําหรับอาชีพที่นิยมทํากันมากที่สุด คือ การทําเกษตรกรรม โดยเฉพาะ การทําสวนยกรองปลูก พืช ผักผลไมน านาชนิดซึ่งผลผลิต ที่ไดเหลานี้ไดมีการลําเลียงสง เขาไป จําหนายในกรุงเทพมหานครและตามหัวเมืองตางๆ และจําหนายกันภายในพื้นที่ตามตลาดน้ํา ยานชุมชนตางๆ ทั้งในเขตอําเภอดําเนินสะดวก และอําเภอบางคนทีในจังหวัดสมุทรสงคราม เชน 2

เปนคลองที่ขุดขึ้นจากแนวพระราชดําริของพระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ 4 ปจจัยสําคัญที่ กอ ให เ กิด การขุด คลองดํ าเนิ นสะดวก คื อ ผลกระทบจากการขยายตั วทางเศรษฐกิ จและการพั ฒนาประเทศ โดยเฉพาะอยางยิ่งในชวงสมัยรัตนโกสินทรตอนตน จนถึงรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ 5 คลองดําเนินสะดวกเปนคลองที่ขุด เชื่อมระหวางแมน้ําแมกลองกับแมน้ําทาจีน ครอบคลุมพื้นที่ 3 จังหวั ด คื อ ในอําเภอบ านแพ ว จั งหวั ดสมุท รสาคร อําเภอดํา เนิน สะดวก จั งหวั ดราชบุรี และอําเภอบางคนที จังหวัดสมุทรสงคราม เปนคลองที่ชวยยนระยะทางการเดินไปยังหัวเมืองตะวันตก (โปรดดูรายละเอียดเพิ่มเติมได ที่ภาคผนวก)


3

ตลาดนัดศาลาแดง (ตลาดนัดศาลา 5 หอง) ตลาดปากคลอง ที่บางนกแขวก ตลาดน้ําคลองโพหัก ตลาดน้ําคลองตนเข็ม ตลาดน้ําขุนพิทักษ ตลาดน้ําทาคา ตลาดน้ําบางนอย โดยใชลําคลองที่มีการ ขุดเชื่อมตอกันไปเสนทางคมนาคมในการขนสงลําเลียงสินคา อยางไรก็ตามชาวไทยเชื้อสายจีนจํานวนหนึ่งที่อพยพและเขามาตั้งหลักแหลงอยูที่อําเภอ ดําเนินสะดวกไดประกอบอาชีพการใหบริการรักษาโรคดวยความรูทางการแพทยแผนจีน โดยมีการ จําหนายยาสมุนไพรจีนเพื่อใชในการรักษาควบคูไปดวย ซึ่งไดใหบริการชาวไทยเชื้อสายจีนดวย กันเองและคนไทยทั่วไปในอําเภอดําเนินสะดวกตามยานชุมชนตางๆ จากคําบอกเลาของคนเฒา คนแกในพื้นที่ตลาดดําเนินสะดวกกลาววาในอดีตนั้นมีรานที่ใหบริการรักษาโรคดวยการแพทย แผนจีนตั้งอยูในอําเภอดําเนินสะดวกจํานวนหลายแหง โดยเฉพาะริมสองฝงคลองดําเนินสะดวก ตั้งแตยานหลักหา หลักหก และหลักเจ็ดไปจนถึงบริเวณปากคลองลัดพลี แตปจจุบันไดสูญหาย และลมเลิกกิจการไป จากการสํารวจรานจําหนายสมุนไพรจีนที่ยังเปดดําเนินการอยูในปจจุบัน พบวามีอยูเพียงไมกี่แหง รวมทั้งรานที่ไดปดดําเนินการไปแลวเทาที่สํารวจชื่อได แสดงดังตาราง ตารางที่ 1 แสดงรายชื่อรานที่ใหบริการดวยการแพทยแผนจีนของอําเภอดําเนินสะดวกในอดีต จนถึงปจจุบนั ลําดับ ชื่อราน สถานที่ตั้ง สถานะ 1 จีนแซตึ้ง ตําบลประสาทสิทธิ์ เปดดําเนินการ 2 ตงซุตึ้ง ตําบลประสาทสิทธิ์ เปดดําเนินการ 3 เทียนอิดตึ้ง ตําบลศรีสุราษฎร เปดดําเนินการ 4 อีแซตึ้ง ตําบลศรีสุราษฎร ปดดําเนินการ 5 เอี้ยะเลงฮึ้ง ตําบลดําเนินสะดวก เปดดําเนินการ 6 เอี้ยงอันตึ้ง ดําบลดําเนินสะดวก เปดดําเนินการ 7 ไตลงโอสถ ตําบลดําเนินสะดวก ยายกิจการ 8 โอสถสุวรรณ ตําบลดําเนินสะดวก ปดกิจการ 9 ไทเพงโอสถ ตําบลดําเนินสะดวก ปดกิจการ ที่มา : จากคําบอกเลาของผูคนในพื้นที่ตลาดดําเนินสะดวก


4

ปรากฏการณที่เกิดขึ้นจึงเปนประเด็นปญหาที่นาสนใจศึกษาคนควาวารานสมุนไพรจีน เหลานี้ มีเ รื่องราวความเปนมา รูปแบบการใหบ ริก าร และการสืบ ทอดกิจการอยางไร มีปจ จัย ใดบางที่มีสวนสําคัญตอการดํารงอยูของรานจําหนายยาสมุนไพรจีนเหลานี้ โดยผูวิจัย ไดเลือก รานเอี้ยะเลงฮึ้ง ซึ่งเปนรานจําหนายยาสมุนไพรจีนทีใ่ หบริการตรวจวินิจฉัย บําบัด รักษาโรค ดูแล สุข ภาพรั บ ใช ผู ค นในพื้ น ที่ อํ า เภอดํ า เนิ น สะดวกและในท อ งที่ใ กล เ คี ย งมาเป น เวลา 78 ป เปนกรณีศึกษา วัตถุประสงคของการวิจัย

ปจจุบัน

การศึกษาในครั้งนี้มีวัตถุประสงคที่จะศึกษา 1. ประวัติความเปนมา พัฒนาการ และการสืบทอดกิจการรานเอี้ยะเลงฮึ้งจากอดีตจนถึง

2. ลักษณะความสัมพันธและเครือขายทางสังคมระหวางผูใหบริการ ผูคาสงสมุนไพร และ ลูกคาที่มาใชบริการซึ่งสงผลตอการดํารงอยูของรานเอี้ยะเลงฮึ้ง ขอบเขตการวิจัย การศึกษาในครั้งนี้เปนกรณีศึกษาเฉพาะรานเอี้ยะเลงฮึ้ง อําเภอดําเนินสะดวก จังหวัด ราชบุรี ซึ่งมุงเนนการศึกษาและวิเคราะหใน 2 ประเด็นหลัก คือ ประวัติ พัฒนาการและการสืบทอด กิจการรานเอี้ยะเลงฮึ้งซึ่งเชื่อมโยงจากอดีตจนถึงปจจุบัน และศึกษาถึงลักษณะความสัมพันธหรือ เครือขายทางสังคมที่สงผลใหรักษาโรคและการดูแลสุขภาพดวยองคความรูทางการแพทยแผนจีน ของรานเอี้ยะเลงฮึ้ง สามารถดํารงอยูได โดยวิเคราะหจ ากผูที่มีสวน (Stakeholders) เกี่ย วของ 3 ฝาย คือ ผูใหบ ริการหรือเจาของรานฯ ผูคาสงสมุน ไพร และลูก คาที่มาใชบริการ มีระยะเวลา ดําเนินการตั้งแตเดือนกรกฎาคม 2556 – ธันวาคม 2558 ขั้นตอนและวิธีการศึกษา การศึกษาวิจัยในครั้งนี้เปนการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative approach) โดยมีขั้นตอน การศึกษา ดังนี้ 1. การศึกษาและวิเคราะหขอมูลจากเอกสาร เปนการศึกษาขอมูลจากเอกสารซึ่งประกอบดวยบทความ งานเขียน ตํารา หนังสือ และ งานวิจัย ซึ่งประกอบดวย 2 สวน คือ


5

1.1 การศึกษาเอกสารที่เปนองคความรูเกี่ยวกับแนวคิด ทฤษฎีการรักษาโรคดวย การแพทยแผนจีน (Traditional Chinese Medicine) การแพทยจีนในประเทศไทย ซึ่งอางอิงจาก งานเขียนของกรมพัฒนาการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข รวมทั้ง ผูวิจัยยังไดวิเคราะหแนวโนมการแพทยแผนจีนในอนาคต ซึ่งจะชวยเปนแนวทางในการทําความ เขาใจเกี่ยวกับการรักษาโรคและการดูแลสุขภาพดวยระบบการแพทยแผนจีน และเชื่อมโยงมาสู การใหบริการของรานเอี้ยะเลงฮึ้งที่เปนกรณีศึกษา 1.2 การศึกษาเอกสารที่เกี่ยวของกับบริบททางสังคมและวัฒนธรรมของอําเภอ ดําเนินสะดวก ซึ่งประกอบดวย ลักษณะทางกายภาพของพื้นที่ ชาติพันธุ การประกอบอาชีพของ ผูคน ความเชื่อ ขนบธรรมเนียมประเพณีประจําทองถิ่น การศึกษาดังกลาวจะชวยสรางความเขาใจ เกี่ยวกับวิถีชีวิตของผูคนในทองถิ่นดําเนินสะดวก และสามารถที่จะเชื่อมโยงไปถึงการวิเคราะห ที่มาของการวินิจฉัยโรค ความเชื่อที่มีตอการรักษาโรคดวยแพทยแผนจีน การดูแลสุขภาพดวย ระบบการแพทยแผนจีนของการใหบริการรานเอี้ยะเลงฮึ้ง 2. การศึกษาขอมูลภาคสนาม การศึกษาวิจัยในครั้งนี้ผูวิจัยมีบทบาทในสองสถานะไดแก หนึ่งสถานะ “นักวิจัย” และสอง การเปนสวนหนึ่งของสมาชิกในรานเอี้ยะเลงฮึ้ง ในฐานะที่เปน“หลาน”ของผูกอตั้งซึ่งอยูอาศัยกับ รานแหงนี้มาตั้งแตเ กิดจนถึงปจจุบัน รวมทั้งยังไดมีสวนรวมในการชวยดูแลและจําหนายยา สมุนไพรจีนของรานฯ จึงเปนโอกาสที่ดีในการศึกษาทําใหเห็นภาพปรากฏการณที่เกิดขึ้นในราน เอี้ยะเลงฮึ้งซึ่ง ซึ่งกอใหเกิดความรูสึกใกลชิดคุนเคยกับพื้นที่ศึกษาจนเสมือนเปนสวนหนึ่งของผูถูก ศึ ก ษา (ราชบั ณ ฑิ ต ยสถาน,2557:146) โดยผู วิ จั ย สามารถที่ จ ะสั ง เกตโดยตรง (Direct Observation) และสังเกตแบบมีสวนรวม (Participant Observation) ในแงมุมตางๆ อัน ไดแก ที่ตั้งของราน การตรวจวินิจ ฉัย โรค การใหคํา แนะนําในการรัก ษาโรค การดูแลสุขภาพความ เจ็บปวย การผลิต การปรุงยา กลุมผูมาใชบริการ กระบวนการใหบริการ ตลอดจนความสัมพันธ ระหวางผูใหบริการและผูมาใชบริการ บริบทหรือภูมหิ ลังที่มีสวนเกี่ยวของกับลูกคา รวมทั้งผูคาสง สมุน ไพร การศึก ษาในครั้งนี้ยังใชวิธีการสัมภาษณแบบไมเ ปนทางการ (Informal Interview) โดยตั้งคําถามเพื่อขอรายละเอีย ดและความชัดเจน (Probing Question) และเพื่อขอขอมูลที่ เจาะจง (Specifying Question) กับกลุมตัวอยาง (Steinar Kvale 1996 อางในชาย โพธิสิต า ,2549: 292) ซึ่งผูวิจัยจะเนนไปที่การพูดคุยโดยปลอยใหบรรยากาศของการสัมภาษณเปนไปอยาง งายๆไมมีพิธีรีตอง ไมเปนทางการและเครง ครัดในเรื่องขั้นตอนและลําดับของขอคําถาม (อุทัย ดุลยเกษม, 2553:166)


6

นิยามศัพท รานจําหนายสมุน ไพรจีน หมายถึง รานที่ใหบริการตรวจและวินิจ ฉัยโรค การรักษาโรค รวมทั้ ง การให คํ า แนะนํ า ในการดู แ ลสุ ข ภาพโดยผู ที่ ไ ด รั บ ใบอนุ ญ าตประกอบโรคศิ ล ป ตามพระราชบัญ ญัติยา พ.ศ.2510 ซึ่งอาศัยองคค วามรูทางการแพทยแผนจีน เปน หลักในการ ใหบริการ เครื่องยาสมุนไพรจีน หมายถึง วัตถุดิบที่เปนสวนประกอบสําหรับใชในการรักษาโรคและ การดูแลสุขภาพตั้งแต 2 ชนิดขึ้นไป ซึ่งประกอบดวยพืชสมุนไพร ผลผลิตที่ไดจากคน สัตวแรธาตุ บางอยางที่สามารถนํามาปรุงเปนยารักษาโรคไดโดยมีแหลงที่มาจากสาธารณรัฐประชาชนจีนเปน สวนใหญ การดํารงอยูของรานสมุนไพรจีน หมายถึง ปจจัยที่มีสวนสําคัญซึ่งทําใหกิจการของราน จํ า หน า ยสมุ น ไพรจี น สามารถดํ า รงอยู ไ ด เช น รู ป แบบการให บ ริ ก าร การสื บ ทอดกิ จ การ ความสัมพันธกับกลุมผูมีสวนเกี่ยวของตางๆ อาทิ เจาของกิจการ ผูคาสงสมุนไพรจีน และกลุม ลูกคาที่มาใชบริการ การวิเคราะหขอมูล การศึก ษาในครั้งนี้เปน การวิจัย เชิงคุณ ภาพซึ่งจะใชวิธีก ารวิเ คราะหเนื้อหา (Content Analysis) เปนหลักโดยขอมูลที่ไดจากการศึกษาวิจัยจะถูกนํามารวบรวมจัดระบบตามประเด็น หรือหัวขอที่กําหนดไวและเรียบเรียงขอมูลใหเปนระบบ ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ การศึกษาวิจัยในครั้งนี้จะทําใหเกิดความเขาใจเกี่ยวกับบทบาทของรานขายยาสมุนไพร จีนที่มีตอรักษาโรคและการดูแลสุขภาพของคนไทย ตลอดจนทราบถึงปจจัยที่มีสวนสําคัญตอการ ดํารงอยูของการรักษาโรคและการดูแลสุขภาพดวยการแพทยแผนจีนและยาสมุนไพรจีน รวมทั้งยัง เป น ข อมู ลเบื้ องตน แก ผู ที่ส นใจในประเด็น ดัง กลา ว และเป น ประโยชนแ กห นว ยงานภาครั ฐ ภาคเอกชน ทองถิ่นที่จะมีสวนรวมในการสงเสริมและสนับสนุนการพัฒนายาสมุนไพรจีนตอการ ดูแลสุขภาพของคนไทย


7

การพิทักษสิทธิของผูใหขอมูล การนํ า เสนอข อ มู ล และผลจากการศึ ก ษาวิ จั ย ในครั้ ง นี้ เ ป น กรณี ศึ ก ษาเฉพาะร า น เฮี๊ยะเลง ฮึ้ง ซึ่งมีขอมูลประการที่เ ปน ผลประโยชนของกิจการรานขายยา ซึ่งผูวิจัย จะไมนํามา เผยแพร เชน รายละเอียดของตํารับยาจีน รวมทั้งขอมูลเกี่ยวกับผลกําไรหรือการลงทุนของรานฯซึ่ง จําเปน ตองเคารพและใหเกีย รติแกผูใ หขอมูล จึงจะไมก ลาวในการวิจัยครั้งนี้ เวน แตจ ะนํามา ประกอบการอธิบายเพื่อทําใหเห็นภาพรวมและความสมบูรณของเนื้อหาเทานั้น เชนเดียวกับการ ใหขอมูลของลูกคาที่มาใชบริการจากทางรานฯโดยจะระบุเปนนามสมุมติ ขอจํากัดในการศึกษาวิจัย การศึกษาวิจัยในครั้งนี้มีขอจํากัดในสองประการ กลาวคือ ประการแรกเกี่ยวกับการศึกษา ในเชิงประวัติความเปนมาของรานเอี้ยะเลงฮึ้ง ซึ่งไดขอมูลจากการสัมภาษณและเอกสารแลวนํามา เรียบเรียงปะติดปะตอเรื่องราวโดยนําเอาเหตุการณสําคัญมานําเสนอ จึงทําใหการพรรณนาขอมูล โดยละเอียดของปรากฏการณที่เกิดขึ้นกับรานเอี้ยะเลงฮึ้งยังไมชัดเจนมากนัก เนื่องจากขอจํากัดใน ดานเวลาของผูวิจัยและการศึกษาบันทึก ตางๆที่เกี่ยวของกับ รานฯ แตก็ยัง พอมีงานศึก ษาวิจัย เกี่ยวกับ ความเปน มาของชุมชน ทองถิ่น ของอําเภอดําเนิน สะดวกในดานตางๆอยูจํานวนหนึ่ง ซึ่งสามารถนํามาใชประกอบการศึกษาผูกโยงเรื่องราวใหเห็นภาพไดชัดเจนมากขึ้น ประการตอมา เปนขอจํากัดเรื่องการใชภาษาในงานวิจัยชิ้นนี้ สังเกตไดจากบทที่ 3 องคความรูเกี่ยวกับการแพทย แผนจีน ภาษาจีนที่ใชที่นําเสนอเปนภาษาจีนกลางแมนดาริน เนื่องจากผูวิจัยไดศึกษางานเขียน ของกรมพัฒนาการแพทยแผนไทยและการแพทยแผนทางเลือก กระทรวงสาธารณสุขเปนหลัก ขณะที่ภาษาจีนที่นําเสนอในบทที่ 4-6 จะเปนภาษาจีนแตจิ๋ว ซึ่งเปนภาษาที่ใชในปรากฏการณจริง และถูกถายทอดจากผูใหขอมูล แนวความคิดและทฤษฎีที่ใชศึกษา การศึก ษาวิจัย ในครั้งนี้อาศัย แนวความคิดและทฤษฎีทางสังคมวิทยาในการทําความ เขาใจปรากฏการณ ดังนี้ 1. ทฤษฎีโครงสรางและการหนาที่ (Structural Functional Theory) ทฤษฎีนี้มุงให ความสําคัญเกี่ยวกับมิติหรือแงมุมระดับมหภาคของชีวิตทางสังคมจากความคิดพื้นฐานที่เชื่อวา


8

สังคมคือระบบชนิดหนึ่ง “ระบบ”ประกอบดวยองคประกอบยอยชุดหนึ่ง ซึ่งมีความสัมพันธซึ่งกัน และกันในลักษณะที่มีเสถียรภาพตลอดชวงเวลาใดชวงเวลาหนึ่ง จุดสนใจของทฤษฎีนี้จึงใหความ สนใจสวนตางๆของสังคมโดยเฉพาะอยางยิ่งคือ“สถาบัน” (Institute ions) โดยสถาบันตางๆลวนมี “การหนาที่”(function) ตางๆ ซึ่งการหนาที่จะเปนผลที่สังเกตได (Observed consequences) ที่ ชวยในการปรับแปลง (adaptation) ของระบบใหสอดคลองกับเงื่อนไขของสิ่งแวดลอมหรือทําให ระบบสามารถประสานกันได ดังนั้น ระบบจะสามารถดํารงอยูไดก็ตอเมื่อภารกิจสําคัญ ตางๆมี ผูรับ ผิดชอบ ถาหากการดําเนิน การเหลานี้ก ระทําไดไมเต็มที่ห รือหากสถาบัน ใดเกิด “การเสีย หนาที่” (dysfunction) ระบบจะไมสามารถดํารงตนอยูไดและอาจลมสลายไปในที่สุด (พงสวัสดิ์ สวัสดิพงษ, 2546:2-3) การศึกษาวิจัยในครั้งนี้ “สถาบัน” จึงเปนชุดของแบบแผนความสัมพันธหรือ บทบาทการหนาที่ของการดูแลสุขภาพและบําบัด รักษาโรคดวยการแพทยแผนจีน ที่ใ หบริก าร ตอบสนองแกผูมาใชบริการโดยมีความเปนมาและบริบทของปรากฏการณเปนองคประกอบในการ อธิบาย 2. แนวคิ ด เกี่ ย วกั บ เครื อ ขา ยทางสั ง คม (Social Network) เครือ ข ายทางสัง คม คื อ กระบวนการติดตอหรือพบปะกันทางสังคมซึ่งเกิดขึ้นระหวางผูกระทําระดับปจเจกบุคคลหรือระดับ กลุมและสังคมตางๆ (actors) ซึ่งผูกระทําแตละคนแตละกลุมถูกเชื่อมโยงโดยความสัมพันธทาง สังคมประเภทตางๆ (ties) เชน ความผูกพันในลักษณะของการแลกเปลี่ยนขอมูลขาวสาร การให คําปรึก ษา เพื่อนสนิท กลุมที่มีผลประโยชนรวมกันหรือเปนสมาชิกกลุมเดียวกัน และลัก ษณะ รูปแบบความผูกพันประเภทอื่นๆที่บงบอกถึงความไวเนื้อเชื่อใจกันในกระบวนการปฏิสัมพันธทาง สังคม (Granovetter & Swedberg, 2001 : 11) เครือขายทางสังคมยังอาจพิจารณาไดวาเปนทุน ทางสังคมชนิดหนึ่ง (social capital) กลาวคือ ความสัมพันธในเครือขายอยูบนพื้นฐานของการ ตอบสนองซึ่งกันและกัน (reciprocity) ไมวาในรูปวัตถุสิ่งของหรือจิตใจ เชน ในคราวที่ตองเผชิญ กับปญหา วิกฤต ปจเจกบุคคลคาดหวังวาจะไดรับการชวยเหลือหรือความเห็นอกเห็นใจจากคนใน เครือขาย โดยการตอบแทนซึ่งกันและกันซึ่งเปนบรรทัดฐานสําคัญของเครือขาย JA.Barnes (1972) ไดเสนอลักษณะของเครือขายทางสังคมไววา 1)เครือขายทางสังคม ชวยใหเกิดความเขาใจสายสัมพันธระหวางที่ติดตอกัน 2)ผูคนที่มีอยูในเครือขายหลายคนอาจไมมี ความสัมพันธระหวางกันทําใหมีลักษณะเปนเครือขายไมใชกลุม (a network not a group) เชน ภายในกลุมเพื่อนจะรูจักกันทั้งหมด แตถาเปนเครือขายเพื่อนของเราอาจมีเพื่อนที่เปนคนนอกกลุม แตละคนจะมีเครือขายของตนเองขยายออกไปไมมีจุดสิ้นสุด เพื่อนของเพื่อนสมาชิกในกลุมอาจไม รูจักแตก็คือเปนสวนหนึ่งของเครือขายทั้งหมดที่ไมจํากัดเขตหรือพรมแดน 3)เครือขายในลักษณะ


9

ดังกลาวไมจํากัดเขตหรือพรมแดน (unbounded network) 4)เครือขายมีลักษณะยึดบุคคลเปน ศูนยกลาง (egocentric work) เราสามารถที่จะพิจารณาเครือขายไดโดยเริ่มตนที่บุคคลคนหนึ่ง เสนสายของความสัมพันธที่บุคคลนั้นมีกับผูอื่น คือ เครือขายสังคมของคนๆนั้น การศึกษาวิจัยใน ครั้งนี้ รานขายยาเอี้ยะเลงฮึ้ง จึงเปรียบเสมือนจุดรวมของเครือขายทางสังคมหรือความสัมพันธกับ ผูมีสวนเกี่ย วของอัน ไดแก ผูใ หบ ริก าร ผูคาส ง สมุน ไพรและลูก คาที่มาใชบ ริก ารซึ่งมีลัก ษณะ ความสัมพันธในรูปแบบตางๆที่เปนปจจัยสนับสนุนการดํารงอยูของรานเอี้ยะเลงฮึ้ง การทบทวนวรรณกรรม เพื่อเปนแนวทางในการศึกษาวิจัยในครั้งนี้ ผูวิจัยไดศึกษาเอกสาร งานวิจัยที่เกี่ยวของซึ่ง ชวยใหมุมมองในการทําความเขาใจเกี่ยวกับการศึกษาวิจัย สามารถแบงออกได 4 ประเด็น ดังนี้ 1. การศึกษาในเชิงประวัติศาสตร ความเปนมาเกี่ยวกับการแพทยแผนจีน และ การแพทยแผนจีนในประเทศไทย เปนการรวบรวมขอมูลจากเอกสารทางประวัติศาสตรทั้งใน ประเทศไทยและสาธารณรัฐ ประชาชนจีน รวมทั้งพระราชบัญญัติก ารสาธารณสุขของไทย เชน บทความของวิชัย โชควิวัฒน (2547) ที่ศึก ษาประวัติก ารแพทยจีน โดยสังเขป ซึ่งไดก ลาวถึ ง เหตุการณสําคัญในพัฒนาการทางการแพทยของจีน โดยแบงออกเปน 7 ยุค ไดแก 1)ยุคโบราณ 2)ยุคราชวงศเซี่ย ถัง ยุคชุนชิว 3)ยุคกอกําเนิดทฤษฎีการแพทยจีน 4)ยุคราชวงศชิ้น ราชวงศใตกับ เหนือ ราชวงศถัง และยุคหาราชวงศ 5)ยุคราชวงศซงถัง ราชวงศหมิง 6)ยุคพัฒนาการแพทยและ เวชปฏิบัติแผนใหมในยุคราชวงศหมิง ราชวงศชิงกอนสงครามฝน และ7)ยุคการแพทยสมัยใหม งานของวิทิต วัณนาวิบูล (2548) ศึกษาประวัติการแพทยจีน ซึ่งรวบรวมขอมูลเกี่ยวกับการกําเนิด แพทยจี น สภาพเศรษฐกิ จ และวัฒ นธรรมของเซี่ ย และซาง การแพทยใ นสมัย โจวและชุ น ชิ ว สมั ย จา นกัว ะ สภาพสั ง คม เศรษฐกิจ และการเมือ งสมั ย ฉิน และฮั่ น การแพทย ใ นสมัย สอง จิ้นหนานไปฉางและสมัยสุยและถัง บทความของชวลิต สันติกิจรุงเรือง (2549) ที่ศึกษาการแพทย แผนจีน ในประเทศไทย : อดีต ปจ จุบั น และอนาคต โดยกลาวถึง หลัก ฐานที่บงบอกถึงการ กอกําเนิดแพทยจีนในประเทศไทย สถานการณการแพทยแผนจีนในประเทศไทยโดยมุงไปอธิบาย ความรวมมือทางวิชาการระหวางกระทรวงสาธารณสุขของประเทศไทยและสาธารณรัฐประชาชน จีนในดานการเปดสอนหลักสูตรการแพทยแผนจีนในประเทศไทย สถาบันการแพทยไทย-จีน เอเชีย ตะวัน ออกเฉีย งใต ซึ่ง สังกัดกรมพัฒนาการแพทยแผนไทยและการแพทยท างเลือก รวมทั้ง ให มุมมองตออนาคตการแพทยแผนจีนในประเทศไทยซึ่งคาดหวังเกี่ยวกับกฎหมาย พระราชบัญญัติ


10

ที่จะมารองรับการประกอบโรคศิลปะดวยความรูทางการแพทยแผนจีน ตลอดจนสมาคมวิชาชีพ ของแพทยแผนจีนที่จะมีสวนรวมในการดูแลสมาชิกและคุมครองประชาชน 2. การศึกษารวบรวมองคความรูเกี่ยวกับการแพทยแผนจีน งานศึกษาประเภทนี้จะ รวบรวมขอมูลที่เกี่ยวของกับทฤษฎีการแพทยจีน เชน ทฤษฎีหยิน-หยาง ทฤษฎีปญจธาต ทฤษฎี ระบบเสนลมปราณ การตรวจวินิจฉัยโรคในรูปแบบตางๆ เชน การจับชีพจร การพิจารณาสังเกต สภาพรางกาย อาทิ ลิ้น เสียง การดมกลิ่น สังเกตสีหนา เปนตน การวิเคราะหกลุมอาการของโรค การอธิบายที่มาของโรค การเปลี่ยนแปลงของโรค ระบบความสัมพันธของอวัยวะภายในรางกาย มนุษย และวิธีการรักษาโรคตามแนวทางการแพทยแผนจีน เชน การฝงเข็ม-รมยา การกดจุด การ นวดทุยนา เปนตน ซึ่งเปนงานคนควาอางอิงจากตําราการแพทยทั้งในประเทศไทยและสาธารณรัฐ ประชาชนจีน งานเขียนดังกลาว ไดแก สํานักพิมพหมอชาวบาน (2540) ทฤษฎีแพทยจีน, โกวิท คัมภีรภาพ (2549) ทฤษฎีพื้นฐานการแพทยจีน (2553) เทคนิคฝงเข็มรมยา (2554) การตรวจวินิจ ฉับกับการแพทยแผนจีน, ภาสกิจ วัณนาวิบูล (2547) คลินิกแพทยจีน (2551) ตําราการแพทยจีน : การตรวจวินิจฉัยโรค (2550) ทฤษฎีแพทยจีน : ลิ้นบอกโรค (2555) กินกันปวยตามศาสตรแพทย จีน ) หมอไพร (2550) ชีวิต สมดุลดวยแพทยจีน (2553) รูกอนปวยดวยแพทยจีน, หลี่ กั๊วะโตง (เขียน) เรืองรอง รุงรัศมี (แปล) (2545) การแพทยจีน, สุรพรรณ ศิริธรรมวานิช (2546) แมะยืดชีวิต จับชีพจร, จรัส ตั้งอรามวงศและคณะ (2547) ศาสตรแพทยแผนจีนการตรวจชีพจร, ฮิระมะ นะโอกิ และคณะ (เขียน) ฉวีวงศ อัศวเสนา (แปล) (2550) จีนบําบัด, ศุกนิมิต ทีฆชุณหเถียร (2551) ยาจีน กับพลังปราณ, ทีปทัศน ชุณหสวัสดิกุล (2553) แพทยจีนกับทางเลือกสุขภาพ, จรุณ มไหศวรรย (2556) คูมือกดจุด 174 จุด หยุดปวยตามหลักการแพทยจีน นอกจากนี้ยังมีงานเขียนที่จัดทําขึ้น โดยสถาบันการแพทยไทย-จีน เอเชียตะวันออกเฉียงใต สังกัดกรมพัฒนาการแพทยแผนไทยและ การแพทยทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข อาทิ (2551) ศาสตรการแพทยจีนเบื้องตน (2552) เรื่อง ควรรู เ กี่ ย วกั บ การฝ ง เข็ ม (2554) ความรู ศ าสตร ก ารแพทย แ ผนจี น สํ า หรั บ ประชาชน และ พจนานุกรมศัพทการแพทยจีน (2551) ตําราฝงเข็ม-รมยา (ศาสตรการฝงเข็ม)เลม 1 (2553) ตํารา ฝงเข็ม -รมยา (การฝง เข็ มรั ก ษาโรคที่พบบอ ย 11 ระบบ) เล ม 2 (2554) ตํา ราฝง เข็ ม-รมยา (การฝงเข็มรักษาอาการปวด) เลม 3 และ (2555) ตําราฝงเข็ม-รมยา (การฝงเข็มรักษาโรคหลอด เลือดสมอง)เลม 4 (2554) กาตรวจชีพจร 3. การศึกษารวบรวมองคความรูเ กี่ย วกับสมุนไพรจีน ซึ่ง รวบรวมขอมูลเกี่ย วกับ สมุนไพรจีนที่ใชในการรักษาโรค และตํารับยาจีนที่นิยมใชกันอยางแพรหลาย พรอมกับสรรพคุณ ทางยา วิธีการใช งานเขียนดังกลาวมีการตีพิมพเผยแพรทั้งจากภาครัฐและผูเขียนที่เปนแพทยซึ่งมี


11

ความสนใจและศึกษาเรียนรูการแพทยแผนจีน งานเขียนดังกลาว ไดแก เจนกิจ เวชพงศา (2526) สมุนไพรจีน, วีระชัย มาศฉมาดล และทัศนีย เมฆอริยะ (2531) ยาจีน : คูมือสมุนไพรและตํารับยา บํารุง ของจีน, บุญชัย ฉัตตะวานิช (2534) ยาสมุนไพรจีน 100 ชนิด :คุณสมบัติและการรักษา, สํานักพิมพสปรีเชียลคอลเลท (2540) ตํารับยาจีน : รวมสูตรปรุงยารักษาโรคแผนโบราณตํารับ เกาแกและเปน ที่เ ชื่อถือมาจากแผน ดิน จีน , ยงกุย แซตั้ง (2545) ตํารายาสมุน ไพรจีน , โกวิ ท คัมภีรภาพ (2551) ยาจีน กองบรรณาธิการหยังสือสุขภาพกาย-ใจ (2552) มหัศจรรยสมุนไพรจีน, โจว ซวิ่น หลน (เขีย น) สมชาย จิร พินิจ วงศ (แปล) (2554) สมุน ไพรจีน ในเวชปฏิบั ติ, วิท ยา บุญวรพัฒน (2554) สารานุกรมสมุนไพรไทย-จีนที่ใชบอยในประเทศไทย, เย็นจิตร เตชะดํารงสิน (2554) ตํารับยาจีนที่ใชบอยในประเทศไทย, ภาสกิจ วัณนาวิบูล (2552) คูมือสมุนไพรจีนกับการ รัก ษาทางคลินิก (2555) รูเ ลือกรูใ ช 100 สมุนไพรจีน นอกจากนี้ยังมีงานเขีย นที่จัด ทําขึ้นโดย สถาบัน การแพทยไทย-จีน เอเชียตะวัน ออกเฉีย งใต สัง กัดกรมพัฒนาการแพทยแผนไทยและ การแพทยทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข อาทิ (2551) คูมือการใชสมุนไพรไทย-จีน (2549) ตํารับ ยาจีนที่ใชบอยในประเทศไทย เลม 1 (2551) ตํารับยาจีนที่ใชบอยในประเทศไทย เลม 2 (2553) ตํารับยาจีนที่ใชบอยในประเทศไทย เลม 3 (2554) ศาสตรยาสมุนไพรจีน และ (2554) ตํารับยาจีน ที่ใชบอยในประเทศไทยฉบับสมบูรณ 4. การศึกษาเกี่ยวกับพฤติกรรมของผูบริโภคที่ใชการรักษาและการดูแลสุขภาพ ดวยการแพทยแผนจีน และสถานภาพการใหบริการแพทยแผนจีน วิเคราะหเกี่ยวกับปจจัย ที่มีสวนสําคัญตอการไปใชบริการและความคาดหวังในการใหบริการของสถานพยาบาลการแพทย แผนจีน รูปแบบการใหบริการของสถานภาพพยาล โดยใชระเบียบวิธีวิจัยทางสังคมศาสตรที่เนน การศึกษาวิจัยเชิงปริมาณทําการศึกษา อาทิ ยุพาวดี บุญธิต และทัศนีย ฮาซาไนน (2549) ศึกษา สถานภาพการใหบริการการแพทยแผนจีนของสถานพยาบาลในปจ จุบัน พบวา การใหบริการ แพทยจีนในประเทศไทยสวนใหญเปน การใหบ ริการในสถานพยาบาลของรัฐ ซึ่งมีรูปแบบการ ใหบริการที่มากสุด คือ การบริการประเภทฝงเข็ม และการใชสมุนไพรและยาตํารับจีน ซึ่งมีการแพร ขยายอยางรวดเร็ว แตก็พบวาสถานพยาบาลที่ใหบริการประสบกับปญหาการขาดแคลนบุคลากร ทางการแพทย และปญหาอื่นๆ เชน การที่ผูปวยขาดความรูความเขาใจเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพ ตามแนวทางการแพทยแผนจีน นอกจากนี้ยังพบวาสถานพยาบาลที่ยังไมมีบริการการแพทยแผน จีนของไทยปจจุบันมีความประสงคที่จะเปดใหบริการดวยการแพทยแผนจีนที่เนนดานการฝงเข็ม มากขึ้น TAN XUE PING (2551) ศึกษาปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกใชบริการแพทยจีนใน โรงพยาบาลหั วเฉี ย ว พบว า ป จ จัย ดานเจา หนาที่ ผูใ หบ ริ ก าร และระบบการใหบ ริ ก าร และ


12

กระบวนการใหบ ริก ารมีสวนสําคัญ ตอการมาใชบ ริการของคนไข โดยเหตุผลที่เลือกใชบ ริก าร เนื่องจากการที่โรงพยาบาลมีแพทยผูเชี่ยวชาญ โดยนิยมใชบริการฝงเข็มมากที่สุด และยังพบอีกวา คารักษาพยาบาลมีผลตอการตัดสินใจเลือกใชบริการ ชาวเยว ถังซู (2552) ศึกษา รานคาสมุนไพร จีนที่มีผลตอพฤติกรรมการซื้อสมุนไพรของคนไทย กรณีศึกษาความตองการบริโภคสมุนไพรจีน ของคนในเขตกรุงเทพมหานคร พบวา ความตองการซื้อสมุนไพรจีนขึ้นอยูกับการใหความสําคัญ กับความเหมาะสมที่ตั้งรานจําหนาย รองลงมาคือคุณภาพของสมุนไพร และความหลากหลายของ สมุนไพรที่มีจําหนาย โดยพฤติกรรมการซื้อสมุนไพรจีนนั้นเกิดจากการที่ลูกคาสวนใหญเคยใช สมุนไพรจีนมากอนซึ่งลูก คารูจัก รานจําหนายสมุนไพรจากการบอกตอจากคนที่รูจักมากที่สุด โดยเหตุ ผ ลสํ า คั ญ ในการซื้ อ คื อ การบํ า รุ ง สุ ขภาพ และรองลงมาคือ ซื้ อ ตามใบสั่ ง แพทย จี น ปยะวัฒน เหรียญเดชากุล (2555) ศึก ษาปจจัยที่มีผลตอพฤติก รรมการตัดสินใจรักษาโรคของ ผูป ว ยด ว ยแพทย แ ผนจี น กรณีศึ ก ษาย า นถนนรามคํ า แหง ซึ่ง พบว า ป จ จั ย ที่ ก ลุ ม ผู ป ว ยให ความสําคัญ ในการตัดสินใจมากที่สุด คือ ความชอบในวิธีก ารรักษาดวยยาสมุนไพรธรรมชาติ ซึ่งผูปวยที่มีอาชีพเปนเจาของกิจการและผูปวยที่มีรายไดเฉลี่ย 1-20,000 บาท เปนกลุมที่เลือกใช บริการมากที่สุด Ou Liyun (2555) ศึกษาความสัมพันธระหวางสวนประสมทางการตลาดกับ พฤติก รรมการซื้อสมุน ไพรจีน ของผูบ ริโภคในกรุง เทพมหานคร ไดวิเ คราะหพฤติก รรมการซื้อ สมุนไพรจีน พบวา ผูที่มีความรูเกี่ยวกับสมุนไพรจีนแตกตางกันมีผลตอพฤติกรรมการซื้อในดาน ความถี่ มูลคาการซื้อ และผูสวนรวมในการตัดสินใจซื้อแตกตางกัน เชน ผูมีความรูเรื่องสมุนไพร นอย จะมีผูขายเปนสวนรวมในการตัดสินใจ ผูที่มีความรูระดับปานกลาง จะตัดสินใจดวยตัวเอง ขณะที่ผูมีความรูมาก จะมีคนในครอบครัวเปนสวนรวมในการตัด สินใจ เนื่องจากผูมีค วามรูใ น ระดับมากสวนใหญเปนคนไทยเชื้อสายจีนหรือครอบครัวมีพื้นฐานเกี่ยวกับสมุนไพรจีน ทําใหไดรับ ความรูเรื่องสมุนไพรจีนมาจากคนในครอบครัว และการบริโภคสมุนไพรจีนทั้งครอบครัว ทําใหมีผล ตอมูลคาและความถี่ในการซื้อสมุนไพร นอกจากการนําเสนองานศึก ษาวิจัย ใน 4 ประเด็นขางตน แลวยังมีง านศึกษาเกี่ยวกับ การแพทยแผนไทยและการแผนทางเลือกจํานวนหนึ่งที่ยังสามารถนํามาประยุกตในการศึกษาครั้ง นี้ไดอีก อาทิ พรทิพย อุศุภรัตน (2536) ศึกษา การรักษาโรคดวยยาแผนโบราณ: กรณีศึกษาราน ขายยาเจากรมเปอ พบวา การเปลี่ยนแปลงในดานเศรษฐกิจและสังคมตลอดจนสภาพแวดลอม ตางๆทําใหค วามจําเปน ในการพึ่ง พาการแพทยแผนโบราณเปลี่ย นไป การแพทยแผนปจจุบัน กลายเปน ทางเลือกที่ป ระชาชนไปใชบ ริก ารมากขึ้น แตก็พบวายังมีประชาชนจํานวนไมนอยที่ พึ่งพาบริการทางการแพทยแผนโบราณ โดยใชควบคูไปกับการแพทยแผนปจจุบัน โดยที่การใชยา


13

แผนโบราณมักถูกเลือกใชกับโรคที่เชื่อวาการรักษาดวยวิธีการสมัยใหมไมไดผลและกับโรคที่เปน เรื้อรัง ซึ่งแสดงใหเห็นวาการรักษาโรคดวยวิธีนี้ยังมีคุณคาเปนที่ตองการและเปนที่พึ่งของประชาชน ได พรทิพยไดเสนอวาการที่จะทําใหการรักษาโรคดวยยาแผนโบราณดํารงอยูไดนั้น ผูใหบริการคือ หมอยา ซึ่ง หมายรวมถึงรานขายยาจะตองมีก ารพัฒนาปรับปรุงตัวเองอยูต ลอดเวลาเพื่อสราง ความศรัทธาเชื่อมั่นแกผูใชบริการ ซึ่งงานวิจัยชิ้นดังกลาวสามารถนํามาเปนแนวทางการศึกษาวิจัย ในครั้งนี้ไดเปนอยางดีโดยผูวิจัยไดประยุกตเปนกรอบการศึกษาวิจัยในครั้งนี้ นอกจากนี้ยังมีงานของรุงรังสี วิบูลชัย (2538) ที่ศึกษาการดํารงอยูของการแพทยพื้นบาน : กรณีศึกษาหมูบานนาสีดา ตําบลขาวปุน อําเภอกุดขาวปุน จังหวัดอุบลราชธานี พบวา ปจจัย หลัก 3 ประการที่มีผลตอการดํารงอยูของแพทยพื้นบาน คือ 1)ความเชื่อของชาวบานที่เชื่อวา ลักษณะการเจ็บปวยของตนเองตองรักษากับหมอพื้นบานเทานั้นจึงจะหาย 2)ความเชื่อเกี่ยวกับ สาเหตุการเจ็บปวยและเกณฑของการประเมินอาการเจ็บปวยที่สอดคลองกันของหมอพื้นบานและ ชาวบาน และ3)ประสิทธิภาพและความชํานาญในการรักษาความเจ็บปวย และยังพบวามีปจจัย เสริ ม ที่ ทํ า ให ก ารแพทย พื้ น บ า นดํ า รงอยู ไ ด อี ก คื อ ระยะทางในการเข า ถึ ง หมอพื้ น บ า น คารัก ษาพยาบาลที่ถูก การรักษาโรคที่มีความสอดคลองกับ วิถีชีวิตชาวบานที่เรียบงาย ความ พึงพอใจรูปแบบบริการของหมอพื้นบานซึ่งมีลักษณะเปนองครวมเขาใจปญหาสุขภาพผูปวยทั้ง กาย ใจ และสังคม ความศรัทธาและนาเชื่อของหมอพื้นบาน จํานวนตัวยาสมุนไพรที่เพียงพอ และ คานิยมในการใชบริการของผูปวยที่ใชบริการซึ่งรูสึกวาตนเองไมไดแปลกแยกจากสมาชิกคนอื่น ของหมูบาน งานของประดิษฐ จิระเดชประไพ (2540) ศึกษาการดํารงอยูและการปรับเปลี่ยนของระบบ การแพทยพื้นบาน : กรณีศึกษาการใชสมุนไพรในจังหวัดพิษณุโลก พบวา การดํารงอยูของระบบ การแพทยพื้นบานขึ้นอยูกับประสิทธิภาพของการรักษา รวมทั้งความเชื่อความศรัทธาของผูปวย หรือญาติพี่นองที่มีตอสมุนไพร สําหรับปจจัยที่มีผลตอการดํารงอยูของการใชสมุนไพร คือ ความ แพรห ลายและการพัฒนาของระบบการแพทยสมัย ใหม การที่แพทยพื้นบานมีขอจํากัดในเรื่อง ประสิทธิภาพของการรักษาและโรคที่สามารถรักษาได การเขามาดูแลของรัฐในกิจการของระบบ การแพทยพื้นบาน การขาดสิทธิอํานาจของหมอสมุนไพรที่มีตอผูสืบทอด การลดจํานวนลงของปา ซึ่งเปนแหลงสมุนไพรโดยตรง รวมทั้งปจจัยเกี่ยวกับระบบการศึกษาปจจุบันซึ่งปลูกฝงความเชื่อถือ ในระบบการรักษาแผนใหม และการเปลี่ยนแปลงโครงสรางของครอบครัว งานของบัวตั๋น เธียรอารมณ (2549) ศึกษาความสัมพันธเกื้อกูลของการแพทยทางเลือก : ศึก ษาในกลุมการแพทยท างเลือกของอํา เภอเมืองเชี ย งใหม พบวา สถานบริ ก ารการแพทย


14

ทางเลือกที่เปนตัวอยางในการศึกษา มีการทําหนาที่บําบัดผูรับบริการดวยวิธีการบําบัดที่ตางกัน คือ การฝงเข็มจีน การฝงเข็มแบบดุลยภาพบําบัด พลังจักรวาล โภชนบําบัด สมุนไพรบําบัด หัตถบําบัด และกายและจิตบําบัด และมีการทําหนาที่ในสังคมในรูปแบบที่เหมือนกัน และตางกัน คือ 1) การดํารงอยูดวยภาพลักษณที่กลมกลืนไปกับชุมชน เชน ทําการบําบัดที่รานขายยา และ บาน 2) การสืบทอดองคความรูที่เปนศาสตรดั้งเดิม และศาสนา เชน การสืบทอดองคความรูจาก บรรพบุรุษ 3) ความสัมพันธระหวางผูรักษาและผูรับการรักษา เปนแบบสามัญชนและวิชาชีพ 4)การอางอิงองคความรูทางดานวิทยาศาสตร และศาสตรของความเปนธรรมชาติ 5) ผูรักษามี ความสามารถพิเศษเฉพาะตัวและเปนศาสตรที่ตองเรียนรูจากตนเอง 6) มีการฝกปฏิบัติที่พัฒนา ศัก ยภาพของผู รั บ บริ ก ารด ว ยการฝ ก ฝนตนเอง และ7)มี ก ารบํ า บั ด โรคเรื้ อ รั ง และพบว า ความสัมพันธเกื้อกูลของการแพทยทางเลือกกับระบบการแพทยแผนปจจุบัน มี 2 รูปแบบคือ 1)Alternative of Medicine (การแพทยทางเลือก) เปนระบบการแพทยทางเลือกที่ดํารงอยูอยาง อิสระ และมีการจัดระบบการทํางานดวยตนเอง ผูประกอบการไมมีใบประกอบโรคศิลปะ แตอุทิศ ตนเพื่อใหการชวยเหลืออยางจริงใจ (voluntary)ในกลุมผูปวยที่หมดหวัง หรือผูปวยโรคเรื้อรัง การแพทยทางเลือกแบบนี้มักเนนความสัมพันธของกาย และจิต ความสัมพันธระหวางผูทําการ รัก ษาและผูรับ บริการมีค วามเปน กัน เอง และ 2) Alternative in Medicine (ทางเลือกของ การแพทย) เปนระบบการแพทยท างเลือก ที่ระบบการแพทยแผนปจจุบันเลือกมาใชใ นระบบ สุขภาพ ไดแก การฝงเข็มเปนการเกื้อกูลที่เกิดขึ้นจากวิชาชีพแพทย และอยูภายใตกฎเกณฑการ ดูแลของวิชาชีพแพทย สวนความสัมพันธเกื้อกูลของผูรับบริการในระบบการแพทยทางเลือกนั้น เปน ความสัมพั น ธแ บบถอ ยทีถ อยอาศัย ที่ผูรั บ บริก ารสามารถที่ จ ะเลือกใชบ ริ ก ารการแพทย ทางเลือกดวยเหตุผลตางๆ เชน เพื่อน และญาติแนะนําตองการทดลอง เปนตน โดยที่ผูรับบริการมี ความสัมพันธที่เกื้อกูลระบบการแพทยทางเลือกทางดานโครงสราง(Instrumental) คือ การนําองค ความรู ระเบียบกฎเกณฑไปใชในการดํารงชีวิตประจําวัน และการมีกลุมเพื่อนที่สนใจทางดาน สุขภาพทางเลือกและทางดานอารมณ ความรูสึก (Expressive) คือ การมีความหวัง กําลังใจ และ ความศรัทธาตอระบบการแพทยทางเลือก


บทที่ 2 องคความรูเกี่ยวกับการแพทยแผนจีน บทนี้จ ะเปนการนําเสนอขอมูลเบื้องตนเกี่ยวกับองคความรูท างการแพทยแผนจีน โดย กลาวถึงแนวคิดพื้นฐานสําคัญของการแพทยแผนจีน ทฤษฎีทางการแพทยแผนจีน การวิเคราะห สาเหตุและวิธีการรักษาโรค รวมทั้งการตรวจวินิจฉัยโรคตามศาสตรการแพทยแผนจีนเพื่อเชื่อมโยง มาสูการทําความเขาใจปรากฏการณ หรือบริบทในการใหบริการของรานเอี้ยะเลงฮึ้งที่สอดคลอง กับแนวคิด ทฤษฎีดังกลาว รวมทั้งการนําเสนอความเปนมาของการแพทยแผนจีนในประเทศไทย ตลอดจนแนวโนมของการแพทยแผนจีนในอนาคต แนวคิดพื้นฐานสําคัญของการแพทยแผนจีน การแพทยแผนจีนนับเปน องคความรูที่มีการจัดระบบระเบียบเปนหมวดหมูชัดเจนเปน ศาสตรที่มีความเกาแก โดยมีจุดเดนที่สําคัญหลายประการ ซึ่งชวลิต สันติกิจรุงเรือง (2547: 5357) ไดสรุปไวดังนี้ 1. เปนศาสตรที่มีการบันทึกเรื่องราวประสบการณอยางครอบถวนมากกวา 5,000 ป 2. องคความรูของการแพทยแผนจีนมีการพัฒนา ชําระและปรับปรุงอยางถูกตอง และตอเนื่อง 3. มีอ งคความรูค รบถว นทั้งในเชิง แนวคิ ด ทฤษฎี หลัก การตรวจวินิจ ฉัย โรค การจําแนกโรค การบําบัดรักษา การสงเสริมสุขภาพ การปองกันโรคและการฟนฟูสมรรถภาพ 4. เน น ความเป น องค ร วมเกี่ ย วกั บ ความสมดุ ล ระหว า งร า งกาย ใจ และ สิ่งแวดลอมทั้งภายในและภายนอก 5. สามารถตอตานการรุก รานของวัฒนธรรมตะวัน ตก และยังสามารถขยาย แนวคิดไปยังตะวันตกและภูมิภาคอื่นๆทั่วโลก 6. มีนโยบายและการจัดการเพื่อปรับปรุงความรูใหทันสมัยและประยุกตเพื่อใหมี ความปลอดภัย เพิ่มประสิทธิผล


16

ทั้งนี้หลักพื้นฐานสําคัญในการวินิจฉัย บําบัดรักษาอาการเจ็บปวยและดูแลสุขภาพตาม ศาสตรการแพทยแผนจีนนั้น ยังมีคุณลักษณะที่เฉพาะ 4 ประการ คือ 1. เปนการปรับ สมดุลของกาย ใจ สิ่งแวดลอมตามทฤษฎีอิน -หยาง ธาตุทั้งหา อวัยวะภายในทั้งกลวงและตันภายในรางกาย และปจจัยสิ่งแวดลอมภายนอกแบบเปนองครวม 2. รางกายมีชีวิตไดดวยการเคลื่อนไหวของลมปราณ ในเสนลมปราณที่เชื่อมตอ สวนตางๆของรางกาย ถาการโคจรของลมปราณปกติรางกายจะแข็งแรงสมบูรณ ในทางตรงกัน ขามหากลมปราณโคจรติดขัด ณ ที่ใด ก็จะแสดงอาการเจ็บปวยปรากฏใหเห็นได 3. การตรวจวินิจฉัยโรคใชวิธีสี่ประการในการตรวจความผิดปกติของการโคจร ของลมปราณและการทํางานของอวัยวะภายใน โดยใชการมอง การดมหรือฟง การถาม และการ จับชีพจร 4. มีก ารใชก ารรัก ษาโดยการปรับ สมดุ ลดวยยา อาหาร การฝง เข็ม การเดิ น ลมปราณ การกดจุด การนวดทุยนา การใชแกวดูดและการกวาซา โกวิท คัมภีรภาพ (2544: 2) ยังไดวิเคราะหถึงจุดเดนพื้นฐานของการแพทยแผนจีนซึ่งมี ลักษณะที่สําคัญ 2 ประการ คือ 1. การใหความสําคัญระหวางมนุษยกับสิ่งแวดลอม การแพทยแผนจีน เนนการพิจ ารณาวามนุษ ยเ ปน สวนหนึ่งของธรรมชาติห รือ สิ่ง แวดลอม ซึ่ง มีความสัมพันธกันอยางใกลชิด รางกายของมนุษ ยประกอบดวยอวัย วะ และ เนื้อเยื้อตางๆที่ทํางานเชื่อมโยงประสานกันภายใตการควบคุมของจิตใจ โดยอยูในสิ่งแวดลอม เมื่อ เกิดการเปลี่ย นแปลงของธรรมชาติห รือสิ่งแวดลอม ยอมทํา ใหมีผลกระทบต อสรีรวิท ยาและ พยาธิวิทยา1ของรางกายมนุษยตามไปดวย

1

พยาธิวิทยา (Pathology) เปนการศึกษาและวินิจฉัยโรคจากการตรวจอวัยวะ, เนื้อเยื่อ, เซลล, สารคัดหลั่ง,

และจากทั้งรางกายมนุษย (จากการชันสูตรพลิกศพ) พยาธิวิทยายังหมายถึงการศึกษาทางวิทยาศาสตรของการ ดําเนินโรค ซึ่งหมายถึงพยาธิวิทยาทั่วไป(General pathology) พยาธิวิทยาทางการแพทยแบงออกเปน 2 สาขา หลักๆ ไดแก พยาธิกายวิภาค (Anatomical pathology) และพยาธิวิทยาคลินิก (Clinical pathology) นอกจาก การศึกษาในคนแลว ยังมีการศึกษาพยาธิวิทยาในสัตว (Veterinary pathology) และในพืช (Phytopathology) ดวย (วิกีพีเดีย : ออนไลน)


17

2. การเนนวินิจฉัยและการรักษาตามกลุมอาการ การวินิจ ฉัยตามกลุมอาการ2ตามแนวทางการแพทยแผนจีน เปน การนําขอมูล อาการและอาการแสดงจากการดู การฟ ง การถาม และการคลํ า มาวิ เ คราะห ห าสาเหตุ คุณลักษณะ ตําแหนงของโรค และความสัมพันธระหวางลมปราณกอโรคและลมปราณตานโรค3 แลวแยกแยะออกมาเปนกลุมอาการ ซึ่งการวินิจฉัยตามกลุมอาการจะเปนขอมูลสําคัญที่เชื่อมโยง กับแนวทางการรักษาที่ถูกตอไป เชน การมีไข หนาวสั่น ปวดศีรษะ ปวดเมื่อยตัว เปนความผิดปกติ อยูที่สวนนอกของรางกาย ซึ่งจะตองแยกแยะใหชัดเจนวาเปนกลุมอาการที่มีสาเหตุจากลมรอน หรือลมเย็นมากระทบเพราะจะตองใชยาในการรักษาที่แตกตางกัน ทฤษฎีการแพทยแผนจีน ทฤษฎีทางการแพทยแผนจีนซึ่งใชเปนแนวทางในการอธิบายความเจ็บปวยและการรักษา ดูแลสุขภาพที่สําคัญมีอยูดวยกันหลากหลายทฤษฎี แตที่จะนํามาเสนอในที่นี้จะกลาวถึงทฤษฎี หลัก 4 ทฤษฎี คือ ทฤษฎีอิน-หยาง ทฤษฎีปญจธาตุ ทฤษฎีอวัยวะภายใน และทฤษฎีระบบเสน ลมปราณ เนื่องจากทฤษฎีดัง กลาวนับเปนทฤษฎีหลัก พื้นฐานในการทําความเขาใจและเรียนรู สําหรับการแพทยแผนจีน สํานัก การแพทยก ารแพทยท างเลือก กระทรวงสาธารณสุข (2556) กลาววา ทฤษฎี พื้น ฐานของการแพทยแผนโบราณจีน เกิดจากการสรุปทฤษฎีดานชีวิตของรางกายมนุษ ยและ กฎเกณฑการเปลี่ยนแปลงของอาการโรครวมถึงทฤษฎีเกี่ยวกับอินหยาง โงวเฮง การเดินลมปราณ ลักษณะของอวัยวะสวนตางๆตลอดจนทางเดินของเลือดลม เปนตน นอกจากนี้ยังมีเนื้อหาเกี่ยวกับ 2

อาการเจ็บปว ยเปนความผิดปกติของร างกายที่ผูปวยรูสึกไดเ องหรือ แสดงออกมา เชน การปวดศีรษะ มีไ ข คลื่นไสอาเจียน อาการแสดง คือ ขอมูลสภาวะของรางกายผูปวยที่ไดจากการตรวจวินิจฉัยของแพทย สวนกลุม อาการ คือ อาการและอาการแสดงที่ ชวงเวลาหนึ่ง เป นการเปลี่ย นแปลงทางพยาธิวิท ยาตามสาเหตุ ของโรค คุณลักษณะของโรค ตําแหนงของโรค ความสัมพันธระหวางมนุษยกับสิ่งแวดลอม และปฏิกิริยาของรางกายตอ สาเหตุของโรคในชวงเวลานั้นๆ ทําใหทราบถึงแกนแทของการเปลี่ยนแปลงทางพยาธิวิทยาอยางครบถวน ลึกซึ้ง และถูกตองมากกวาใชอาการเพียงอยางเดียว 3

ลมปราณตานทานโรค คือ สมรรถภาพในการตานทานโรค จากภายในรางกาย ไดแก สารจําเปนในรางกาย สว นลมปราณก อ โรคคื อ อิ ท ธิ พ ลและป จ จั ย ต า ง ๆ ที่ ทํ า ให เ กิ ด โรค จากภายนอกร า งกาย ได แ ก ความเย็ น ความชื้น ความรอน เปนตน (คณะการแพทยแผนจีน มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ : ออนไลน)


18

สาเหตุการเกิดโรค อาการของโรค วิธีการวินิจฉัยโรค การแยกแยะวิเคราะห หลักการรักษาโรค การ ปองกันโรคและการบํารุงสุขภาพ เปนตน แตละทฤษฎีมีรายละเอียดโดยสรุป ดังนี้ 1. ทฤษฎีอิน – หยาง ทฤษฏีอิน-หยางเปนปรัชญาโบราณของจีน เกิดจากการสังเกตปรากฏการณใน โลกที่ตรงกันขามจนไดขอสรุปเปนทฤษฏีอินหยาง และอาศัยการปรับสมดุลระหวางอินกับหยางมา อธิบายการเปลี่ยนแปลงของสรรพสิ่ง ดานการแพทยแผนโบราณของจีนใชอินกับหยางมาอธิบาย ความสัมพันธทางกายวิภาคของรางกาย ตลอดจนความสัมพันธระหวางชีวิตมนุษยกับสิ่งแวดลอม และสังคม ดังนั้นเมื่อความสมดุลระหวางอิน-หยางในรางกายเปลี่ยนแปลง ก็จะทําใหรางกายเกิด โรคภัยไขเจ็บขึ้น แพทยแผนจีนจึงใชหลักความสมดุลระหวางอิน-หยาง เปนพื้นฐานของการรักษา ความเจ็บปวยของรางกายมนุษย 1.1 การจําแนกอิน-หยาง การแพทยแผนจีนไดจําแนกอิน-หยาง ดังนี้ (กรมพัฒนาการแพทยแผน ไทยและการแพทยทางเลือก, 2551: 30-33) 1.1.1. แบงรางกายและเนื้อเยื้อโครงสราง ตารางที่ 2 การแบงรางกายและเนื้อเยื้อโครงสรางตามทฤษฎีอิน-หยาง หยาง อิน อวัยวะภายนอก ขาแขนดานนอก อวัยวะภายนอก ขาแขนดานใน อวัยวะภายใน หัวใจ ปอด อยูดานบน อวัยวะภายในมาม ตับ ไต อยูดานลาง ชี่ (ลมปราณ) พลังงาน ไมมีรูป เลือด ของเหลวในรางกาย (จินเยี่ย) มีรูป ที่มา : กรมพัฒนาการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลือก, 2551: 30 1.1.2 แบงตามหนาที่สรีรวิทยา ตารางที่ 3 การแบงหนาที่สรีรวิทยาตามทฤษฎีอิน-หยาง หยาง อิน ขึ้นบน ลงลาง ออกนอก เขาใน กระตุน กดยับยั้ง ใหความรอนอุน ใหความหนาวเย็น


19

ตารางที่ 3 การแบงหนาที่สรีรวิทยาตามทฤษฎีอิน-หยาง (ตอ) หยาง อิน ขับเคลื่อน ใหความชื้น (นิ่ง) อรูป (พลังงาน) มีรูป ที่มา : กรมพัฒนาการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลือก, 2551: 31 1.1.3 แบงตามอาการแสดงของโรค ตารางที่ 4 การแบงอาการแสดงของโรคตามทฤษฎีอิน-หยาง หยาง อิน ไขรอน หนาว จิตตื่นเตน จิตหงอยเหงา อุจจาระแหง อุจจาระเหลว ปสสาวะสั้น เหลืองเขม ปสสาวะใสขาว สีหนาสวาง มีเงา สีหนามืด หมองคล้ํา เสียงดัง เสียงสูง เสียงคอย เสียงต่ํา ชีพจรลอย ใหญ ลื่น เร็ว แกรง ชีพจรจม เล็ก ฝด ชา พรอง ที่มา : กรมพัฒนาการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลือก, 2551: 31 1.1.4 แบงตามอิทธิพลหรือปจจัยตางๆที่กอใหเกิดโรค ตารางที่ 5 การแบงตามอิทธิพลหรือปจจัยตางๆที่กอใหเกิดโรคตามทฤษฎีอิน-หยาง หยาง อิน แหง ลม ชื้น ไฟ (รอน) หนาว (เย็น) เสียชี่หยาง เสียชี่อิน (เปนอันตรายตออินและน้ําของรางกาย) (เปนอันตรายตอหยางชี่ของรางกาย) แหงรอน แหงเย็น ที่มา : กรมพัฒนาการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลือก, 2551: 31


20

1.1.5 แบงตามรสและฤทธิ์ของยา (4 ฤทธิ์ 5 รส) ตารางที่ 6 การแบงตามตามรสและฤทธิ์ของยาตามทฤษฎีอิน-หยาง หยาง อิน ฤทธิ์รอน ฤทธิ์เย็นจัด ฤทธิ์อุน ฤทธิ์เย็น รสเผ็ด รสขม รสหวาน รสเปรี้ยว รสเค็ม ที่มา : กรมพัฒนาการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลือก, 2551: 32 1.2 การแปรเปลี่ยนไปสูโรคพยาธิ ความสมบูรณของอิน-หยางในรางกาย มีความสําคัญตอสุขภาพไมวาจะ เปนความสมดุลระหวางสวนบนหรือสวนลางของรางกาย หรือระหวางภายในหรือภายนอกรางกาย หรือระหวางพลังงานชี่(ลมปราณ) นอกหรือพลังงานชี่ในรางกาย ถาความสมดุลเสียไปก็ปวยเปน โรค แมโรคตางๆจะซับซอนเพียงใด ก็มีวิธีรักษาโดยปรับสมดุลของอิน-หยางในรางกาย ทั้ง นี้ ลักษณะของการเสียสมดุลมี 2 แบบ ไดแก (กรมพัฒนาการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลือก , 2551: 32) 1.2.1 อินหรือหยางแกรง หมายถึง ภาวะที่อินหรือหยาง ดานใด ดานหนึ่งเกิดแกรงขึ้นมาขมดานตรงขามทําใหเกิดโรค เชน เสียชี่ที่เปนหยางเขาสูรางกาย อิน และเยี่ย (น้ําจะถูกกระทบ เสียชี่ที่เปนหยางมีลักษณะรอน ภาวะรางกายจะมีหยางเพิ่มขึ้น มีอาการ รอน) แตถาเสียชี่เปนอิน มีลักษณะเย็นเขาสูรางกายความเย็นจะเพิ่มขึ้น ทําลายหักลางหยางลง จะมีอาการของความหนาวเย็น 1.2.2. อินหรือหยางพรอง หมายถึง ภาวะที่อินหรือหยาง ดานใด ดานหนึ่ง ขมหรือยับยั้งดานตรงขามไมอยู ทําใหเ กิด โรคขึ้น ตัวอยางเชน อินพรองหยางเกิน หยางพรองอินเกิน อินพรองจะรอน หยางพรองจะหนาว สําหรับอินพรองหยางแกรง เนื่องจากอินที่ พรองจะทําใหมีอาการรอน คอแหง ปากแหง อุจจาระแข็งแหง เมื่อไฟลอยขึ้นขางบนแกมจะแดง มีเหงื่อออกและรอนวันละสองครั้งเปนเวลา เรียกวา เฉาเยอ ลิ้นแดงฝานอย ชีพจรเล็กเตนเร็ว สําหรับกรณีหยางพรองอินแกรง หยางพรอง จะทําใหหนาวจิตใจหอเหี่ยวและไมมีแรง กลัวหนาว ปลายมือเทาเย็น อุจจาระเหลว ปสสาวะมากนาน สีขาว ลิ้นอวนซีด ชีพจรพรอง ออนแรง


21

2. ทฤษฎีปญจธาตุ ทฤษฏีปญจธาตุหรืออากาศธาตุ หรือเรียกวาปญจธาตุทั้ง 5 และอากาศธาตุทั้ง 6 เปนทฤษฏีวิเคราะหผลกระทบทางดาราศาสตร อุตุนิยมวิทยาและการเปลี่ยนแปลงของภูมิอากาศ ที่มีตอสุขภาพทําใหเกิดโรคภัยไขเจ็บของรางกายมนุษย ปญจธาตุทั้ง5 ไดแก ธาตุไม ไฟ ดิน ทอง และน้ํา หมายถึงการหมุนเวียนของฤดูกาล 5 ฤดูตลอดป ในประเทศจีน ไดแก ฤดูใบไมผลิ ฤดูรอน ฤดูรอนมาก ฤดูใบไมรวงและฤดูหนาว สวนอากาศธาตุทั้ง 6 คือ ปจจัยดินฟาอากาศ 6 ชนิดตลอด ทั้งป ไดแก ลม หนาว รอน ชื้น แหงและไฟ ทฤษฏีปญจธาตุหรืออากาศธาตุเปนการใชขอมูลทาง ปฏิทินทางดาราศาสตรมาคํานวณการเปลี่ยนแปลงของดินฟาอากาศและกฎเกณฑการเปนโรคภัย ไขเจ็บในรางกายมนุษย (สํานักการแพทยทางเลือก, 2556) 2.1 ลักษณะเฉพาะตัวของปญจธาตุ กอนราชวงศจิ้นมีการบันทึก ลักษณะพิเ ศษเฉพาะตัวของปญ จธาตุไว ดัง นี้ (กรมพัฒนาการแพทยแผนไทยและการแพทย ทางเลือก, 2551: 35-36) ธาตุไม - งอตรงเหมือนกิ่งไม มีหัวงอตรงเปนปลอง - แผกระจายเหมือนกิ่งไมยืดสาขากระจายออกไปเรื่อย ๆ - กระจายออกดานนอก - ความหมายคือ งอ ยืด ไดแก ตับ ถุงน้ําดี เอ็น ธาตุไฟ - ใหความอบอุน - ความรอนลอยขึ้นบน - ไดแก หัวใจ ลําไสเล็ก ธาตุดิน - ใหกําเนิดแกสรรพสิ่ง - ดินเปนมารดาของสรรพสิ่ง ทุกอยางมาจากดิน - ดินเปนสิ่งที่สรรพสิ่งตองกลับคืนสู - สังกัดอยูไดกับ 4 ธาตุที่เหลือ - ไดแก มาม กระเพาะอาหาร กลามเนื้อ ธาตุทอง - สามารถแปรสลายแยกออกจากกัน เชน แยกทองออกมาจาก แรดิน - สามารถแสดงความแข็งแกรงของโลหะ - ดูดซับสารบริสุทธิ์ ทิศทางกระจายและลง - ไดแก ปอด และ ลําไสใหญ


22

ธาตุน้ํา - จําศีล หลีกเรน เก็บซอน - ใหความชุมชื้น - ทิศทางลงลาง - หนาวเย็น 2.2 การจําแนกสรรพสิ่งใหเขากับธาตุทั้ง 5 ตารางที่ 7 แสดงความสัมพันธระหวางปญจธาตุกับสรรพสิ่ง สรรพสิ่ง อวัยวะตัน ทั้ง 5 อวัยวะกลวง ทั้ง 6 เนื้อเยื่อ อวัยวะ รับสัมผัส เสียง อารมณ ฤดูกาล ทิศ สภาพอากาศ สี รส ของเหลว ความสมบูรณ กลิ่น

ไม 

ไฟ

ดิน

ทอง

นํ้า

ตับ

หัวใจ

มาม

ปอด

ไต

ถุงนํ้าดี

ลําไสเล็ก

เอ็น

หลอดเลือด

กระเพาะ อาหาร กลามเนื้อ

ตา

ลิ้น

ตะโกน โกรธ ใบไมผลิ ตะวันออก ลม เขียว เปรี้ยว นํ้าตา เล็บ หืน

หัวเราะ ดีใจ ฤดูรอน ใต  รอน แดง ขม เหงื่อ สีหนา ไหม 

ผิวหนัง

กระเพา ปสสาวะ กระดูก

ปาก

จมูก

หู

รองเพลง กังวล ครุนคิด ปลายฤดูรอน กลาง ชื้น เหลือง หวาน นํ้าลาย (ใส) ริมฝปาก หอม

รองไห  เศรา ใบไมรวง ตะวันตก แหง ขาว เผ็ด นํ้ามูก เสนขน เนา

ครวญคราง กลัว หนาว เหนือ เย็น ดํา เค็ม นํ้าลาย (ขน) เสนผม บูด

ลําไสใหญ

ที่มา : กรมพัฒนาการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลือก, 2551: 36 ตัวอยาง - อารมณกลัว มีอาการตกใจมาก ๆ จะมีผลตอทวารหนัก หรือทวารเบาอาจมีผลทําให อุจจาระราดหรือ ปสสาวะราดได - คนที่เครียดมากเปนเวลานาน ๆ ครุนคิดมาก มักไมรูสึกหิวขาวและจะมีผลตอมาม


23

- คนที่โกรธรุนแรงจะมีใบหนาเขียวหมองคล้ํา - คนที่มีเสนผมดกดํา จะสะทอนถึงการทํางานของไตยังดีอยู - ปลายลิ้นมีสีแดงจ้ํา ๆ จะสะทอนถึงปญหาที่หัวใจและหลอดเลือด 2.3 ความสัมพันธระหวางปญจธาตุ ตามธรรมชาติเ พื่อใหเ กิดความสมดุลจะมีก ารใหกําเนิ ด (สรางหรื อ เกื้อกูล) และการขม (ทําลายหรือยับยั้ง) ในรางกายคนก็เหมือนกันจะมีทั้งการสงเสริมและยับยั้ง ไมใหมากเกิน ไปเพื่อใหรางกายสมดุล ดังภาพ (กรมพัฒนาการแพทยแผนไทยและการแพทย ทางเลือก, 2551: 37)

เสนประ เสนทึบ

แสดงการสราง แสดงการขม

รูปที่ 1 ภาพแสดงการใหกําเนิดและการขมของปญจธาตุ ที่มา : กรมพัฒนาการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลือก, 2551: 37 2.4 ความสัมพันธระหวางปญจธาตุกบั อวัยวะตัน ทฤษฎีปญจธาตุ อธิบายวา ความสามารถของหนาที่อวัยวะตันนอกจาก จะมีหนาที่ตออวัยวะตันนั้น ๆ แลว ยังสัมพันธกับอวัยวะตันที่มาใหกําเนิดสรางเกื้อกูล หรือ อวัยวะ ตันที่มาขม ไดแก (กรมพัฒนาการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลือก, 2551: 39)


24

2.4.1 ความสามารถของหนาที่ขึ้นกับอวัยวะตันที่สราง 2.4.1.1 การสรางไฟ ตับ (ไม) ใหกําเนิดหัวใจ (ไฟ) ตับมี หนาที่เก็บเลือดเพื่อมาเกื้อกูลหลอเลี้ยงหัวใจ เพื่อฉีดไปเลี้ยงทั่วรางกาย เรียกวา ตับ (ไม) สรางไฟ (หัวใจ) 2.4.1.2 การสรางดิน หัวใจ (ไฟ) ฉีดเลือดไปเลี้ยงมาม (ดิน) ใหความอบอุน พลังงานแกมาม (ดิน) เรียกวา หัวใจ (ไฟ) สรางมาม (ดิน) 2.4.1.3 การสรา งทอง มา มสรางเลือดและจิง(สาร จําเปน)สงไปใหปอด (ทอง) เรียกวา มาม (ดิน) สรางปอด (ทอง) 2.4.1.4 การสรางน้ํา ปอด (ทอง) จะเกื้อกูลหนุนอินของ ไต (น้ํา) หรือกลาวไดวา ปอดเปนตนน้ํา ซึ่งชวยใหไตอินสามารถยับยั้งไตหยางใหอยูในภาวะสมดุล เรียกวา ปอด (ทอง) สรางไต (น้ํา) 2.4.1.5 การสรางไม สารจําเปนของไต คือ จิง จะแปร สภาพไปเปนเลือดในตับ (ไม) เรียกวา ไต (น้ํา) สรางตับ (ไม) 2.4.2 ความสามารถของหนาที่อวัยวะตันขึ้นกับอวัยวะตันที่ขม 2.4.2.1 ไม (ตับ) ขมดิน (มาม) คือ ตับมีหนาที่ควบคุม การไหลเวียนของพลังชี่ของมาม ใหอยูในภาวะปกติ ไมใหชี่ของมามติดขัด 2.4.2.2 ดิน (มาม) ขมน้ํา (ไต) คือ มามขับความชื้นและ น้ําไดปกติ จะมีผลใหไตขับน้ําปกติไมเกิดการคั่งของน้ํา 2.4.2.3 น้ํา (ไต) ขมไฟ (หัวใจ) คือ อินของไตไปควบคุม ไฟของหัวใจไมใหมากเกินไป 2.4.2.4 ไฟ (หัวใจ) ขมทอง (ปอด) คือ ไฟของหัวใจ สามารถควบคุมไมใหชี่ของปอดกระจายมากเกินไป 2.4.2.5 ทอง (ปอด) ขมไม (ตับ) คือ ชี่ของปอดที่ กระจายและลงลางจะขมชี่ของตับไมใหขึ้นบนมากไป 2.5 การขมผิดปกติกับการเกิดโรค เมื่อมองสรีระของรางกายโดยองครวม จะเห็น วาอาการของโรคที่เกิด ขึ้นนั้น เปนผลรวมของความสัมพันธระหวางปญจธาตุ ซึ่งเกิดไดในกรณีที่การสรางผิดปกติ หรือ ใน กรณีที่มีการขมเกิน ไดแก (กรมพัฒนาการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลือก, 2551: 39-40)


25

2.5.1 อาการที่เกิดจากการสรางที่ผิดปกติระหวางปญจธาตุที่ เรียกวา แมลูกถายทอดอาการใหกัน มี 2 แบบ ดังนี้ แบบที่ 1 แมปวยกระทบถึงลูก เมื่ออวัยวะของแมพรอง อวัยวะของลูกก็จะพรองตามทําใหเกิดภาวะพรองทั้งแมและลูก ตัวอยางเชน เมื่อไตพรองมีผลให สารจิงและเลือดของตับไมเพียงพอ หรือเมื่ออินของไตไมเพียงพอไมสามารถไปหลอเลี้ยงอินของ ตับ จนเกิดภาวะอินของไตและตับทั้งคูพรอง เปนเหตุใหเกิดภาวะตับแกรงเกิน น้ําไมสามารถหลอ เลี้ยงเกื้อกูลตับ มีอาการอินของตับและไตพรองเปนสําคัญ อีกตัวอยางที่แมปวยกระทบถึงลูกคือ ตับเปนอวัยวะแมเกิดแกรงเปนไฟ กระทบถึงหัวใจ (ไฟ) อวัยวะลูก ทําใหเกิดภาวะไฟของตับและ หัวใจแกรงทั้งคู แบบที่ 2 ลูกปวยแมปวยตาม สวนใหญเมื่อลูกมีอาการ พรองแมจะมีอาการพรองตาม เรียกวา จื่อเตาหมูชี่ อวัยวะของลูกอาจจะแกรงหรือพรองก็ได เชน อินของไตพรอง ทําใหอินของปอดพรองตาม เกิดอินของไตและปอดพรอง หรือ ไฟของตับแกรงจน ทําใหอินของไตพรอง กลายเปนโรคอินของไตพรอง ไฟของตับแกรง ซึ่งเปนโรคที่มีทั้งแกรงและ พรองอยูดวยกัน โรคที่เกิดจากแมกระทบถึงลูกจะมากกวาโรคที่เกิดจากลูกกระทบถึงแม 2.5.2 อาการที่เกิดจากการขมที่ผิดปกติระหวางปญจธาตุ มี 2 แบบ ดังนี้ แบบที่ 1 แบบขมเกิน เชน ไม (ตับ) แกรงเกินขมดิน (มาม) ทําใหมีอาการของชี่ติดขัดสงผลตอการทํางานของมาม เกิด อาการแนนลิ้นป ทองอืด ปากขม เรอเปรี้ยว อุจจาระเหลว หรือ ตับ (ไม) ขมมาม (ดิน) ที่พรอง มีอาการของมามและ กระเพาะอาหารออนแอ ไมสามารถทนตอการขมของตับ เกิดอาการเวียนศีรษะ ไมมีแรง อาหารไม ยอย เรอแนน อึดอัดชายโครง ทองเสีย ถายเหลว เปนตน แบบที่ 2 แบบขมกลับ เชน ปกติทอง (ปอด) จะขมไม (ตับ) แตถาตับแกรงมากจนขมสวนทอง(ปอด)กลับ เรียกภาวะนี้วา ไมแกรงขมทองกลับ พบมี อาการของไฟตับ หงุดหงิด ขี้โมโห หนาแดง ตาแดง แนนหนาอก ไอมาก เสมหะมีเลือดโรคที่เกิด จากการขมกลับจะเบากวาโรคที่เกิดจากการขมเกิน 2.6 หลักการใชปญจธาตุในการรักษาโรค (กรมพัฒนาการแพทย แผนไทยและการแพทยทางเลือก, 2551: 41)


26

2.6.1 เนนการหลักแกรงใหทอน พรองใหเสริม 2.6.2 การเนนรักษาอวัยวะที่ถูกกระทบกอน เชน ไมแกรงขมดิน เกินไป การรักษานั้นตองบํารุงเสริมมามใหแข็งแรงกอน เมื่อมามแข็งแรงทนการขม โรคก็จะหาย โดยงาย 2.6.3 พรองใหบํารุงแม แกรงใหทอนลูก เชน อินของไตและตับ พรองทั้งคู การรักษาไมเพียงแตจะรักษาอินของตับเทานั้น ยังตองบํารุงเสริมอินของไตดวยเพราะ เปนอวัยวะแมของไมตับ 2.6.4 การรักษาโรคโดยใชอารมณของปญจธาตุ คัมภีรเนยจิง ภาคซูเวิ่น อินหยางอิ้งเซี่ยงตาลุน กลาววา “คนมีอวัยวะตันทั้งหา สรางชี่หาอยางใหเปน โกรธ ดีใจ กังวล (ครุนคิด) เศรา และกลัว” อารมณโกรธจะมีผลไมดีตอตับ อารมณดีใจจะมีผลไมดีตอหัวใจ อารมณครุนคิดกังวลจะมีผลไมดีตอมาม อารมณเศราจะมีผลไมดีตอปอด อารมณกลัวจะมีผลไมดี ตอไต อารมณโกรธชนะครุนคิดกังวล อารมณดีชนะความเศรา ความกลัวชนะความดีใจ ความ เศราชนะความโกรธ อารมณครุนคิดกังวลชนะความกลัว ซึ่งเปนไปตามลักษณะความสัมพันธ ระหวางปญจธาตุในแงอารมณ 3. ทฤษฎีอวัยวะภายใน จั้งเซี่ยงเสฺวียซัว หรือ ทฤษฎีอวัยวะภายใน เปนวิชาที่วาดวยอาการแสดงทาง สรีรวิท ยาหรือพยาธิวิ ท ยา ซึ่งบอกถึงภาวะของอวัย วะที่ซอนอยูภายในรางกายสมัย โบราณ การแพทยแผนจีนไดจัดกายวิภาคศาสตร สรีรวิทยา และพยาธิวิทยาเขาดวยกัน ดังนั้น กายวิภาค ศาสตรของการแพทยแผนจีน จึงมีเนื้อหาความรูดานกายวิภาคศาสตรของการแพทยแผนตะวันตก เชน กลาวถึงปอด มาม หัวใจ ไต ตับ เหมือนกัน แตจะแตกตางกันที่หนาที่ของอวัยวะการแพทย แผนจีนไดจัดใหวิชาสรีรวิท ยาและพยาธิวิท ยากลาวรวมถึงอวัย วะ ทําใหหนาที่ของอวัย วะใน การแพทยแผนจีนมีมากกวาในการแพทยแผนตะวันตก ตัวอยางเชน หัวใจ ทางการแพทยแผนจีน นอกจากจะมีห นาที่เ ชน เดีย วกับ การแพทยแผนตะวัน ตกแลว ยังทําหนาที่ค วบคุมจิต ใจดวย (เสิ น จื้ อ) กลา วคื อไดค รอบคลุ มถึ ง บางส วนของระบบประสาทในการแพทย แ ผนตะวัน ตก นอกจากนั้นการแสดงออกซึ่งความแข็งแรงของหัวใจสามารถสังเกตไดจากใบหนา เนื่องจากหัวใจ เปดทวารที่ลิ้น ความสมบูรณจึงอยูที่ใบหนา เปนตน (กรมพัฒนาการแพทยแผนไทยและการแพทย ทางเลือก, 2551: 42)


27

3.1 การจัดประเภทอวัยวะภายใน จั้งเซี่ยงเสฺวียซัวไดกลาวถึงสรีรวิทยาและพยาธิวิทยาของจั้งฝูเปนพื้นฐาน คําวา“จั้งฝู” จึงใชเปนคําแทนของอวัยวะภายใน (เนยจั้ง) อวัยวะภายในแบงเปน 3 กลุม ดังนี้ 3.1.1 อวัยวะตัน(จั้ง)มี 5 ชนิด ไดแก หัวใจ ตับ มาม ปอดและไต 3.1.2 อวัยวะกลวง (ฝู) มี 6 ชนิด ไดแก ถุงน้ําดี กระเพาะอาหาร ลําไสเล็ก ลําไสใหญ กระเพาะปสสาวะ และซานเจียว4 3.1.3 อวัยวะกลวงพิเศษ (ฉีเหิงจือฝู) มี 6 ชนิด ไดแก สมอง ไข กระดูก กระดูก เสนเลือด ถุงน้ําดี และมดลูก ลักษณะพิเศษของหนาที่ของอวัยวะตัน และอวัยวะกลวง คือเก็บและแปรสภาพ อวัยวะภายในทําหนาที่เปนสถานที่เก็บสารจําเปนเพื่อหลอเลี้ยงรางกาย อวัยวะกลวงเปนสถานที่ เปลี่ยนผานของสารอาหารเพื่อการดูดซึมสารจําเปนแกรางกาย อวัยวะกลวงพิเศษ เปนอวัยวะที่มีลักษณะโครงสรางที่แตกตางจากอวัยวะตัน แต มีหนาที่เหมือนอวัยวะตัน คือ ใชเก็บสารจิง5 แตเนื่องจากรูปรางและหนาที่ไมเหมือนอวัยวะกลวง ไมสัมผัสกับอาหารและน้ําที่กินเขาไป คลายกับอวัยวะที่มีโครงสรางมิดชิด จึงไดชื่อวา อวัยวะกลวง 4

ซานเจียว เปนหนึ่งในหกอวัยวะกลวง ในคัมภีรเนยจิง อธิบายซานเจียววา คือ อวัยวะที่มีชื่อแตไมมีรูป ในยุค ราชวงศหมิง แพทยจีนจางเจี้ยปน อธิบายถึงซานเจียววา อยูนอกอวัยวะภายใน อยูในรางกาย หุมรอบอวัยวะ เปนอวัยวะกลวงขนาดใหญ ซานเจียว แบงเปน 3 สวน ไดแก สวนบน (ซางเจียว) สวนกลาง (จงเจียว) และ สวนลาง กลาวคือ สวนบน (ซางเจียว) คือ ชวงอกที่อยูของหัวใจและปอด มีหนาที่สําคัญคือ รับอาหารและน้ํา และสงผานไปยังหลอเลี้ยงระบบตางๆ ของรางกาย เนื่องจากปอดและหัวใจตั้งอยูในซางเจียว จึงทําหนาที่สงผาน เลือดไปหลอเลี้ยงทั่วรางกาย สวนกลาง (จงเจียว) คือ ชวงทองบริเวณเหนือสะดือ เปนที่อยูของมามและกระเพาะ อาหาร มีหนาที่ยอยอาหาร และหลอเลี้ยงใหพลังแกชี่ เลือด และของเหลวในรางกาย เนื่องจากมามและกระเพาะ อาหารตั้งอยูในบริเวณจงเจียว หนาที่ของจงเจียวจึงตรงกับหนาที่ของมามและกระเพาะอาหาร และสวนลาง (เซี่ยเจียว) คือ ชวงทองบริเวณใตสะดือลงไป เปนที่ตั้งของตับ ไต ลําไสเล็ก ลําไสใหญ กระเพาะปสสาวะ และ มดลูก หนาที่สําคัญคือ แปรรูปกากอาหารและของเหลือใชในรางกายใหเปนอุจจาระและปสสาวะ เพื่อขับออก นอกรางกาย (กรมพัฒนาการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลือก, 2551: 68) 5

สารจํ า เป น หมายถึง สารประกอบชนิ ด หนึ่ งที่ เ ป น สิ่ ง จํา เป น พื้ นฐานของรา งกายและการดํ า รงชี วิ ต จิ ง มีแหลงกําเนิด 2 แหลง ไดแก สารจําเปนกอนกําเนิด ไดรับการถายทอดจากบิดามารดาเกิดพรอมกับการกําเนิด ชีวิตในครรภและสารจําเปนหลังกําเนิด ไดรับจากอาหาร เมื่อรับประทานอาหารรางกายมีการดูดซึม มามจะ เปลี่ ยนสารที่ ถูก ดูดซึ มใหเ ปน จิง แลว รวมกั บของเหลวในร างกาย แลวส งไปยั งอวัย วะภายใน เส นลมปราณ รางกาย และทวารทั้งหลาย


28

พิเศษ ซึ่งประกอบดวย “สมอง กระดูก ไขกระดูก เสนเลือด ถุงน้ําดี และมดลูก ทั้ง 6 นี้ รูปรางเก็บ ซอนลึกและมั่นคงคลายอิน ดังนั้น จึงมีหนาที่เก็บและถายทิ้ง ตารางที่ 8 แสดงการจําแนกหมวดหมูของอวัยวะภายใน อวัยวะ อวัยวะตันทั้ง 5

อวัยวะที่เกี่ยวของ หัวใจ มาม ไต ตับ ปอด

อวัยวะกลวงทั้ง 6 กระเพาะปสสาวะ กระเพาะอาหาร ลําไส ใหญ ลําไสเล็ก ถุงน้ําดี ซานเจียว อวัยวะกลวง สมอง ไขกระดูก กระดูก พิเศษ เสนเลือด ถุงน้ําดี มดลูก

ลักษณะสําคัญ 1. มีรูปรางแนนอน 2. สรางและสะสมสารจําเปน 3. แตละอวัยวะมีหนาที่เฉพาะแตกตางกัน แตทํางานเชื่อมโยงกัน 1. มีลักษณะเปนโพรง กลวง 2. มีหนาที่รับน้ําและสารอาหาร ยอยดูดซึมอาหาร และขับถายของเสีย 1. เปนอวัยวะที่มีรูปรางมิดชิด 2. เก็บสะสมสารจําเปนเหมือนอวัยวะตัน

ที่มา : กรมพัฒนาการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลือก, 2551: 43 3.2 ลักษณะพิเศษของจั้งเซี่ยงเสฺวี่ยซัว 3.2.1 อวั ย วะตั น และอวั ย วะกลวงมี ค วามสั ม พั น ธ กั น แบบ นอก-ใน กลาวคือ อวัยวะทั้งคูสัมพันธกันไดตามลักษณะเสนลมปราณที่เชื่อมกันตามแนวขวาง เชน เสนมือไทอินปอด สัมพันธกับ ลําไสใหญ เสนมือเสาอินหัวใจ สัมพันธกับ ลําไสเล็ก (โปรดดูทฤษฎีลมปราณประกอบ) โดยสรุป มาม สัมพันธกับ กระเพาะอาหาร ไต สัมพันธกับ กระเพาะปสสาวะ ตับ สัมพันธกับ ถุงน้ําดี เยื่อหุมหัวใจ สัมพันธกับ ซานเจียว และในทางกายภาพอวัยวะคูสัมพันธนี้มักอยูใกลกันและเวลา ปวยมักกระทบถึงกันได


29

3.2.2 ความสัมพันธของทวารและอวัยวะตันทั้ง 5 อวัยวะ ตารางที่ 9 ความสัมพันธของทวารและอวัยวะตันทั้ง 5 อวัยวะ อวัยวะ หัวใจ ปอด มาม ตับ ไต

รวมถึง เสนเลือด ผิวหนัง กลามเนื้อ เอ็น กระดูก

เปดทวารที่ ลิ้น จมูก ปาก ตา หู

ความสมบูรณดูที่ หนา ขน ริมฝปาก เล็บ เสนผม

ที่มา : กรมพัฒนาการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลือก, 2551: 44 หากอาการแสดงของทวาร หรือความสมบูรณ หรืออวัยวะที่คลุม ถึงมีความผิดปกติ แสดงถึงเลือดลมจากอินหยางของอวัยวะตันที่มาเลี้ยงผิดปกติ 3.2.3 ความสัมพันธของจิตใจ อารมณ กับ อวัยวะตันทั้ง 5

รูปที่ 2 แสดงความสัมพันธของจิตใจ และอารมณกับอวัยวะตัน ที่มา : กรมพัฒนาการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลือก, 2551: 44 ความสัมพันธของอารมณกับอวัยวะตันทั้ง 5 คือ ถาอารมณผิดปกติ เชน โกรธมากเกินไปจะมีผลกระทบตอตับได ดีใจมากเกินไปจะมีผลกระทบตอหัวใจได ความสัมพันธของจิตใจกับอวัยวะตันทั้ง 5 มีดังนี้ เสิน เปนจิตสวนที่สําคัญ เปนเจาเหนือจิตสวนอื่น มีสติรอบรู อี้ เปนจิตสวนที่แยกแยะผิดชอบชั่วดีออกจากกัน ปอ เปนจิตสวนที่รับทราบความรูสึกและไปดําเนินจัดการบริหาร


30

จื้อ หุน

เปนจิตที่สามารถคิดหากลยุทธ เทคนิค วิธีการ ที่ฉลาดได เปนจิตที่มีความกลาหาญ เด็ดเดี่ยว ตั้งมั่น

4. ทฤษฎีระบบลมปราณ ระบบเสนลมปราณ (จิงลั่วซี่ถง) เปนทฤษฎีพื้นฐานที่สําคัญของการฝงเข็มและรม ยา และการแพทยแผนจีนทุกสาขา เสนลมปราณเปนเสนทางไหลเวียนของเลือดและชี่ โดยจะแตก แขนงเชื่อมโยงกันเปนรางแหไปหลอเลี้ยงทุกสวนของรางกาย แบงเปนเสนลมปราณหลัก (จิง) และ เสนลมปราณยอย (ลั่ว) (กรมพัฒนาการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลือก, 2551: 82) 1) เสนลมปราณหลัก เปนเสนลมปราณใหญ มีเสนทางตามแนวยาวของ ลําตัวและแขนขา มักอยูลึกลงไปใตผิวหนังและในชั้นกลามเนื้อ ทําหนาที่เชื่อมสัมพันธรางกาย สวนบนกับสวนลางและอวัยวะภายในกับระบบโครงสรางของรางกาย 2) เสนลมปราณยอย เปนเสนลมปราณที่แตกแขนงจากเสนลมปราณ หลัก สวนมากแยกออกตามแนวขวางไปยังผิวหนังและสวนตางๆ ของรางกาย โดยแตกเปนแขนง ยอย ๆ เชื่อมโยงกันเปนรางแหคลายระบบเสนเลือดฝอย 4.1 องคประกอบของระบบเสนลมปราณ เสนลมปราณ จําแนกออกเปน 6 ประเภท ไดแก เสนลมปราณหลัก 12 เสน (สือเออรจิงมาย) เสนลมปราณสาขา 12 เสน (สือเออรจิงเปย) เสนลมปราณลั่ว 15 เสน (สือ อูลั่วมาย) เสนลมปราณเอ็น 12 เสน (สือเออรจิงจิน) แนวเขตผิวหนัง 12 แนว (สือเออรผีปู) และ เสนลมปราณพิเศษ 8 เสน (ฉีจิงปามาย) (กรมพัฒนาการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลือก ,2551: 82) 4.2 ลักษณะของเสนลมปราณ 6 ประเภท 4.2.1 เสนลมปราณหลัก 12 เสน (สือเออรจิงมาย) เสนลมปราณหลัก 12 เสน เปนเสนลมปราณปกติที่ทําหนาที่ เชื่อมโยงอวัยวะภายในกับระบบโครงสรางรางกายและแขนขา แบงเปนเสนลมปราณอิน 6 เสน สังกัดในอวัยวะตัน (จั้ง) และเสนลมปราณหยาง 6 เสนสังกัดในอวัยวะกลวง (ฝู) แขนและขาแตละ ขางมีเสนลมปราณหลัก 6 เสน แบงเปนเสนลมปราณหยาง 3 เสน และเสนลมปราณอิน 3 เสน โดยเสน ลมปราณอินและเสนลมปราณหยางของแขนขาแตละขางจะมีระดับความเปนอิน และ หยางตางกัน (กรมพัฒนาการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลือก, 2551: 82-83)


31

เสนลมปราณอินแบงเปน 3 ระดับ ไดแก ไทอิน เสาอิน และจฺเหวียอิน เสนลมปราณหยางแบงเปน 3 ระดับ ไดแก หยางหมิง ไทหยาง และเสาหยาง ชื่อของเสนลมปราณแตละเสนจะประกอบดวยคุณสมบัติ 3 อยาง คือ 1) เปนเสนลมปราณมือหรือเทา 2) ระดับความเปนอินหรือหยาง 3) อวัยวะตนสังกัด ตารางที่ 10 แสดงชื่อของเสนลมปราณ อวัยวะตนสังกัดและอวัยวะคูสัมพันธ เสนลมปราณ เสนอินมือ 3 เสน

เสนอินเทา 3 เสน

เสนหยางมือ 3 เสน

เสนหยางเทา 3 เสน

ชื่อเสนลมปราณ เสนมือไทอินปอด เสนมือเสาอินหัวใจ เสนมือจฺเหวียอินเยื่อหุม หัวใจ เสนเทาไทอินมาม เสนเทาเสาอินไต เสนเทาจฺเหวียอินตับ เสนมือหยางหมิงลําไสใหญ เสนมือไทหยางลําไสเล็ก เสนมือเสาหยางซานเจียว เสนเทาหยางหมิงกระเพาะ อาหาร เสนเทาไทหยางกระเพาะ ปสสาวะ เสนเทาเสาหยางถุงน้ําดี

อวัยวะตนสังกัด ปอด หัวใจ เยื่อหุมหัวใจ

อวัยวะคูสัมพันธ ลําไสใหญ ลําไสเล็ก ซานเจียว

มาม ไต ตับ ลําไสใหญ ลําไสเล็ก ซานเจียว กระเพาะอาหาร

กระเพาะอาหาร กระเพาะปสสาวะ ถุงน้ําดี ปอด หัวใจ เยื่อหุมหัวใจ มาม

กระเพาะปสสาวะ

ไต

ถุงน้ําดี

ตับ

ที่มา : กรมพัฒนาการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลือก, 2551: 83


32

รูปที่ 3 แสดงโครงสรางระบบของเสนลมปราณ ที่มา : กรมพัฒนาการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลือก, 2551: 84


33

รูปที่ 4 แสดงวงจรวิถีไหลเวียนของเสนลมปราณหลัก ที่มา : กรมพัฒนาการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลือก, 2551: 85 4.2.2 เสนลมปราณสาขา 12 เสน ( สือเออรจิงเปย) เสนลมปราณสาขา เปนเสนลมปราณที่แยกจากเสนลมปราณ หลักที่บ ริเ วณแขนขา แลวกระจายเขาสูสวนลึกของลําตัวไปยังอวัย วะภายในตน สัง กัด และ เชื่อมโยงกับเสนลมปราณสาขาของอวัยวะคูสัมพันธแลวออกสูภายนอกบริเวณลําคอ ทายทอย หรือใบหนา เขาบรรจบรวมกับเสนลมปราณหลักอีก ครั้ง หนึ่ง เนื่องจากเสนลมปราณสาขาแผ กระจายอยูสวนลึกของรางกายจึงไมมีจุดฝงเข็ม ในความเปนจริงเสนลมปราณ สาขาคือสวนหนึ่ง ของเสนลมปราณหลักที่ทําหนาที่ไหลเวียนหลอเลี้ยงอวัยวะภายใน เชื่อมสัมพันธอวัยวะบน-ลาง นอก-ใน ทําใหโครงขายของระบบเสน ลมปราณแผก วางขวางครอบคลุมยิ่ง ขึ้น (กรมพัฒนา การแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลือก 2551: 83-84)


34

4.2.3 เสนลมปราณลั่ว 15 เสน (สืออูลั่วมาย) เสนลมปราณลั่ว 15 เสน เปนเสนลมปราณที่แยกจากจุดลั่วของ เสนลมปราณหลัก 12 เสนจากจุดลั่วของเสนลมปราณตูทางดานหลังลําตัว 1 เสน จากจุดลั่วของ เสน ลมปราณเญิ่นทางดานหนาลําตัว 1 เสน และจากจุด ตาเปา ซึ่ง เปน จุด สุด ทายของเสน ลมปราณมามอยูดานขางลําตัว 1 เสน รวมเปน 15 เสน (กรมพัฒนาการแพทยแผนไทยและ การแพทยทางเลือก, 2551: 88) เสนลมปราณลั่วมีลักษณะเปนเสนที่แตกแขนง แผกิ่งกานสาขา เปน เสนเล็ก ละเอียดจํานวน มากมายกระจายสูสวนผิวของรางกาย เสนลมปราณลั่วของเสน ลมปราณหลักแตละเสน มีแนวทางการไหลเวียนหลักเปน 2 ทิศทาง โดยเมื่อออกจากจุดลั่ว เสน แขนงสวนหนึ่งจะไปเชื่อมโยงกับเสนลมปราณหลักที่เปนคูสัมพันธ สวนที่เหลือจะไหลเวียนขนาน ไปกับ เสน ลมปราณเดิมไปยังอวัย วะเปาหมายในลําตัวและศีรษะ เสน ลมปราณลั่วของเส น ลมปราณหลักทั้ง 12 เสน จึงทําหนาที่เชื่อมโยงเสนลมปราณหลักที่เปนคูสัมพันธ และสงเสริมการ ไหลเวียนของเลือดและชี่ไปยังพื้นที่อวัยวะที่เสนลมปราณหลักครอบคลุม 4.2.4 เสนลมปราณเอ็น 12 เสน (สือเออรจิงจิน) เสนลมปราณเอ็น เปนชองทางใหเลือดและชี่จากเสนลมปราณ หลักไปหลอเลี้ยงและควบคุมการทํางานของเอ็นและกลามเนื้อ เอ็นและกลามเนื้อเชื่อมตอกระดูก และขอไวดวยกัน เสน ลมปราณเอ็น จึง หลอเลี้ย งและควบคุมการทํางานของระบบโครงสราง รางกาย ไดแก กระดูก ขอ เอ็นและกลามเนื้อ เสนลมปราณเอ็น มีประโยชนในการรักษาโรคระบบ โครงสรางของรางกาย โดยเฉพาะโรคของกลามเนื้อและเสนเอ็น เชน กลุมอาการปวดกลามเนื้อ กลามเนื้อหดเกร็งเปนตะคริว กลามเนื้อฝอลีบ เสนเอ็นหดรั้งติดขัด (กรมพัฒนาการแพทยแผนไทย และการแพทยทางเลือก 2551: 88-89) เสนลมปราณเอ็น มีจํานวน 12 เสน เทากับจํานวนของเสน ลมปราณหลัก และมีแนวเสนทางสวนใหญ ซอนทับกับเสนลมปราณหลัก จึงมีชื่อลอตามชื่อของ เสนลมปราณหลักที่ครอบคลุมอยู อยางไรก็ตาม เสนลมปราณเอ็นมีลักษณะพิเศษ คือ ทุกเสนมี จุดเริ่มตนจากปลายมือหรือปลายเทา เมื่อออกจากจุดเริ่มตน จะแผออกไปตามกลามเนื้อ แลว ขมวดสอบแคบเปนระยะ คลายเปนเสนขอปลอง ไหลเวียนเขาสูลําตัวและศีรษะ แตไมเขาไป เชื่อมโยงกับอวัยวะภายในวิถีไหลเวียนสวนใหญของเสนลมปราณเอ็น แมจะมีแนวซอนทับกับเสน ลมปราณหลัก แตเสนลมปราณเอ็น ก็มีระบบวิถีไหลเวียนที่แตกตาง


35

4.2.5 แนวเขตผิวหนัง 12 แนว (สือเออรผีปู) ผิวหนังเปน ดานชั้น นอกสุดของรางกาย เปน ชองทางติดตอ ระหวางอวัยวะภายในกับสิ่งแวดลอมและทําหนาที่ปกปองรางกาย จากปจ จัยรุกรานภายนอก การแพทยแผนจีนจัดผิวหนัง เปนสวนหนึ่ง ของระบบเสนลมปราณ โดยเปนอวัย วะชั้นนอกสุด ที่ ระบบเสนลมปราณหลอเลี้ยงอยู ผิวหนังแบงเปน 12 แนวเขต ตามแนวการไหลเวียนของเสนหลัก 12 เสน (กรมพัฒนาการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลือก, 2551: 89-90) ระบบเสนลมปราณปกปองรางกายจากปจจัยรุก รานภายนอก โดยการควบคุมการปดและเปดของรูขุมขนและตอมเหงื่อ เมื่อระบบของผิวหนังสูญเสียการปองกัน ทําใหเหตุแหงโรครุกล้ําผานผิวหนังเขาเสนลมปราณยอย ไปเขาเสนลมปราณตน แลวผานตามเสน ลมปราณตนเขาสูอวัยวะภายใน ผิวหนังและเสนลมปราณ จึงเปนชองทางใหเหตุแหงโรครุกรานเขา สูอวัยวะภายใน ในทางกลับกัน เมื่อมีความผิดปกติของอวัยวะภายใน อาการ และอาการแสดงของโรคสามารถสะทอนผานระบบเสนลมปราณออกสูผิวหนัง ตําแหนงและ ลักษณะความผิดปกติของผิวหนัง ใชเปนแนวทางในการวินิจฉัยถึงอวัยวะภายในที่ผิดปกติ และ ลัก ษณะทางพยาธิสภาพในการรักษาโรค ผิวหนัง เปนชองทางในการรัก ษาความผิด ปกติของ อวัยวะภายใน โดยอาศัยการเชื่อมโยงของระบบเสนลมปราณ โดยเฉพาะอยางยิ่งในการรักษาโรค ดวยการฝงเข็ม ซึ่งมีจุดฝงเข็มจํานวนมากมายในระบบเสนลมปราณ จําเปนตองอาศัยผิวหนังเปน จุดอางอิงในการหาตําแหนงจุด และใชผิวหนังเปนทางผานในการกระตุนจุดฝงเข็ม นอกจากนี้ ตําแหนงที่ผิดปกติบนผิวหนังที่เกี่ยวของกับโรคยังสามารถใชเปนจุดฝงเข็มไดอีกดวย 4.2.6 เสนลมปราณพิเศษ 8 เสน (ฉีจิงปามาย) เส น ลมปราณพิเ ศษประกอบดว ย เส น ลมปราณเญิ่ น เส น ลมปราณตู เสนลมปราณชง เสนลมปราณไต เสนลมปราณอินเหวย เสนลมปราณหยางเหวย เสน ลมปราณอินเชียว และเสนลมปราณหยางเชียว มีความแตกตางจากเสนลมปราณหลัก ที่ไมมี จุดเริ่มตนจากอวัยวะภายในและไมไดสังกัดอยูกับอวัยวะภายใน เสนลมปราณพิเศษแตละเสน มีจุดเริ่มตน และวิถีการไหลเวียนที่เฉพาะของตนเอง โดยวิถีไหลเวียนมัก รอยรัดอยูระหวางเสน ลมปราณหลัก นอกจากนี้เสนลมปราณพิเศษไมมีจุดฝงเข็มเปนของตนเอง ยกเวนเสนลมปราณตู และเสนลมปราณเญิ่น หนาที่โดยรวมของเสนลมปราณพิเศษ คือ เชื่อมโยงเสนหลักใหทํางาน สอดคลองสัมพันธกันเปนแหลงพักสํารองเลือดและชี่ รวมถึงควบคุมและปรับสมดุลการไหลเวียน


36

ของเลือดและชี่ อยางไรก็ตาม เสนลมปราณพิเศษทั้ง 8 เสน ตางมีวิถีการไหลเวียน คุณสมบัติ และ หนาที่แตกตางกัน (กรมพัฒนาการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลือก, 2551: 90) 4.3 หนาที่ของระบบเสนลมปราณ 1) เปนทางไหลเวียนของเลือดและชี่ ไปหลอเลี้ยงทุกสวนของ รางกายอยางเปนระบบ 2) ควบคุมและปรับสมดุลการไหลเวียนของเลือดและชี่ 3) ชวยในการเชื่อมโยงเนื้อเยื่อและอวัยวะทุกสวนของรางกาย ทั้งภายนอกและภายใน ตื้นและลึก บนและลาง ซายและขวา ใหทํางานสอดคลองสัมพันธกัน 4) เปนระบบติด ตอระหวางรางกายกับสิ่งแวดลอม ปรับ การ ทํางานของรางกายใหเหมาะสมกับการเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดลอม รวมทั้งปกปองรางกายจาก เหตุแหงโรคที่มากระทําตอรางกาย 5) เปนชองทางในการรักษาความผิดปกติของอวัยวะตาง ๆ ใน รางกาย (กรมพัฒนาการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลือก, 2551: 92) 4.4 การประยุกตใชทฤษฏีเสนลมปราณทางคลินิก 1) ใชอธิบายสรีรวิทยาและการเปลี่ยนแปลงทางพยาธิวิทยา 1.1) ทฤษฎีเสนลมปราณ ใชอธิบายความสัมพันธการ ทํางานของอวัยวะตางๆ ทั้งในภาวะปกติและในภาวะขาดสมดุล ซึ่งสามารถใชอธิบายถึงการ เปลี่ยนแปลงของอวัยวะอื่น เมื่อเกิดความผิดปกติกับอวัยวะหนึ่ง 1.2) เสนลมปราณเปน ชองทางใหสาเหตุของโรคจาก ภายนอกรุก รานเขาสูภายในรางกาย โดยเฉพาะเมื่อระบบการปกปองรางกายของระบบเสน ลมปราณบกพรอง 1.3) เสนลมปราณชวยสะทอนอาการและอาการแสดง ของความผิดปกติของอวัยวะภายในสูภายนอก จึงชวยในการวินิจฉัยความผิดปกติของอวัยวะหรือ ตําแหนงของการเกิดโรค เชน ความผิดปกติของหัวใจจะมีอาการแสดงออกมาตามแนวเสน ลมปราณหัวใจ หรือที่ลิ้นซึ่งเปนทวารของหัวใจ เปนตน 1.4) เสนลมปราณชวยสะทอนลักษณะของพยาธิสภาพ จึงชวยในการวินิจฉัยแยกโรค เชน การมีแผลที่ลิ้นบงบอกวามีไฟหัวใจมากเกินไป การที่ผิวหนังมีสี คล้ําบงบอกถึงการไหลเวียนของเลือดและชี่ติดขัด ผิวหนังซีดขาวบงบอกถึงการไดรับผลกระทบ จากความเย็น เปนตน


37

2) การประยุกตใชในการรักษาโรค เสนลมปราณเปนชองทางในการรักษาโรคของอวัยวะภายใน โดยอาศัยจุดบนเสนลมปราณที่สัมพันธกับอวัยวะนั้น หรือจุดบนเสนลมปราณที่มีวิถีการไหลเวียน ผานไปยังอวัยวะที่ผิดปกติ เสน ลมปราณใชพิจ ารณาในการเลื อกและกํ าหนดวิธีใ นการ รักษาโรค เชน เมื่อพบวาชี่ของอวัยวะบกพรอง ควรใชการฝงเข็มกระตุนแบบเสริมบํารุง หรือการ รมยา บนจุดที่เ ปน จุด เสริมบํารุงของอวัยวะนั้น หรือเมื่อวินิจ ฉัยวามีเ ลือดและชี่แกรงแตก าร ไหลเวียนติดขัดทําใหเกิดอาการปวด ควรใชการฝงเข็มกระตุนแบบระบาย หรือปลอยเลือด หรือ ครอบถวยที่จุดที่ใชในการระบายของตําแหนงที่เกิดโรค เปนตน (กรมพัฒนาการแพทยแผนไทย และการแพทยทางเลือก, 2551: 92-93) การตรวจวินิจฉัยโรคตามศาสตรการแพทยแผนจีน 1. การวิเคราะหสาเหตุ การวิเคราะหสาเหตุของโรคในทางการแพทยแผนจีนเปนการคนหาสาเหตุหรือภาวะที่ทํา ใหรางกายเกิดการเปลี่ยนแปลงทางพยาธิวิทยาทําใหเกิดโรค โดยปจจัยที่กอใหเกิดโรคนั้นมีจาก หลายสาเหตุ ดังนี้ (กรมพัฒนาการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลือก 2551: 99-117) 1.1 ปจจัยจากลมฟาอากาศทั้งหกทําใหเกิดโรค ลมฟาอากาศทั้งหก ประกอบดวย ลม ความเย็น ความรอนอบอาว ความชื้น ความแหง และไฟ ศาสตรการแพทยจีนอธิบายการเปลี่ยนแปลงของลมฟาทั้งหกที่มีตอรางกาย มนุษย ดังนี้ 1.1.1 ลมภายนอก เปนลักษณะของลมฟาอากาศหลักในฤดูใบไมผลิ ที่มักมีลมพัดจัด ทําใหโรคที่มีสาเหตุจากลมจึงพบบอยในฤดูใบไมผลิ แตก็พบไดในฤดูอื่น เชน ปอดเปนอวัยวะภายในที่อยูบนสุดจึงถูกลมมากระทบไดงาย ถาปอดถูกกระทบทําใหลมปราณ ปอดไมแผกระจาย จะมีอาการคัดจมูก น้ํามูกไหล คัน คอ ไอ ถาลมกระทบศีรษะและใบหนาจะมี อาการเวียนศีรษะ ปวดศีรษะ คอแข็ง ใบหนาชาปวด ปากเบี้ยว ถาลมกระทบสวนนอกของรางกาย จะเกิดกลุมอาการสวนนอกของรางกาย เชน กลัวลมมีไข ลมมีลักษณะโลงกระจาย ถาลมมา กระทบผิวหนังและทําใหชองใตผิวหนังและรูเหงื่อเปด มีอาการกลัวลม มีเหงือ่ ออก เปนตน 1.1.2 ความเย็น ภายนอก เปนลักษณะของลมฟาอากาศหลัก ในฤดู หนาว ซึ่งมีโอกาสปวยจากความเย็นไดงายถารักษาความอบอุนของรางกายไมเพียงพอ เชน อยูใน


38

ที่มีอากาศหนาวเย็นเกินไป สวมใสเสื้อผาบางเกินไปถูกฝน แชอยูในน้ําเย็นนานเกินไป จะมีโอกาส เจ็บปวยจากความเย็นไดงาย ถาความเย็นมากระทบที่สวนนอกของรางกาย ทําใหผลักดันหยางที่ ชวยปกปองรางกายเขาไปอยูสวนในของรางกาย สงผลใหมีอาการกลัวหนาว มีไข เหงื่อไมออก ปวดศีรษะ ปวดตัว ปวดขอ ชีพจรตึงแนน เรียกวา ซางหาน ถาความเย็นตรงเขาสวนในทําลาย ลมปราณหยางของอวัยวะภายในเรียกวา จงหาน เปนตน 1.1.3 ความรอนอบอาว เปนลักษณะของลมฟาอากาศที่พบในชวงกลาง ฤดูรอนเปนตนไป เปน สาเหตุของโรคจากภายนอกเทานั้น ไมมีค วามรอนอบอาวที่กอตัวจาก ภายในรางกาย มักเกิดเมื่อมีอากาศรอนจัด หรืออยูกลางแดดจัดมากเกินไป หรือทํางานอยูในที่มี อากาศอบอาว เชน ถาความรอนอบอาวกระทบรางกายจะเกิดอาการหยางรอนแรง เชน ไขสูง กระวนกระวาย หนาแดง หงุดหงิด ชีพจรใหญ ถาความรอนอบอาวกระทบรางกาย ซึ่งมีผลตอ ระบบลมปราณ จะทําใหชองใตผิวหนังและรูเหงื่อเปด ถาเหงื่อออกมากจะเกิดการสูญ เสีย ของเหลวในรางกายคอแหง กระหายน้ํา ริมฝปากและลิ้นแหง ปสสาวะนอยสีเขม เปนตน 1.1.4 ความชื้น เปนลักษณะของลมฟาอากาศในปลายฤดูรอนที่มีอากาศ รอนและฝนตกหนัก โรคจากความชื้นเกิดในคนทํางานใกลน้ํา เกษตรกรแชในน้ํา ตากฝน ความชื้น มากระทบรางกายมักเขาไปอุดตันในอวัยวะภายในและเสนลมปราณ มามเปนธาตุดิน ชอบความ แหง กลัวความชื้น มามถูกความชื้นรุกรานไดงาย ถามามและกระเพาะอาหารกระทบ ความชื้นจะ ทําใหการยอยและการดูดซึมอาหารเสียไป มีอาการเบื่ออาหาร ทองอืด ทองเดิน ปสสาวะนอย เกิดน้ําคั่ง บวมน้ํา การรักษาใชวิธีเพิ่มการไหลเวียนลมปราณ และขับ ปสสาวะ โรคที่เกิดจาก ความชื้นทําใหรางกายมีอาการหนักเปนสําคัญ อาทิ ศีรษะหนัก ตัวหนัก แขนขาหนักลา สิ่งคัดหลั่ง หรือขับถายของเหลวขุน สกปรก ถาความชื้นกระทบผิวหนังรวมกับความรอน จะเกิดโรคผิวหนังได งาย ถาความชื้นเขาสูเสนลมปราณและขอทําใหลมปราณติดขัด มีอาการกลามเนื้อออนแรง หนัก และปวดตามขอ เปนตน 1.1.5 ความแหง เปนลัก ษณะของลมฟาอากาศในฤดูใ บไมรวงซึ่งมี อากาศแจมใสและแหง ความแหงที่เปนสาเหตุของโรค แบงเปน 2 แบบ คือ ความแหงเย็นและ ความแหงรอน ความแหงรอนพบในตนฤดูใบไมรวงที่มีอากาศอบอุนและแหง ความแหงเย็นพบ ตอนปลายฤดูใบไมรวงใกลฤดูหนาวที่มีอากาศเย็นและแหง ความแหงเปนตัวทําลายอิน ระเหย ของเหลวในรางกาย ทําใหเกิดความแหงผากของอวัยวะและเนื้อเยื่อตาง ๆ เชน ผิวหนังแหงแตก จมูกแหง คอแหง ปากแหง ริมฝปากแตก ผมแหงหยาบ ปสสาวะนอย ทองผูก เปนตน


39

1.1.6 ไฟ คือ ความอบอุน ความรอนของรางกาย เกิดจากรางกายไดรับ ความรอนเขาสูรางกาย หรือจากสาเหตุโรคจากภายนอกทั้ง 5 ไดแก ความเย็น ความชื้น ความแหง ลม และความรอนอบอาว มีการสะสมคั่งเปนเวลานานแลวเปลี่ยนเปนไฟเชน ความเย็นเปลี่ยนเปน ความรอน ความรอนเปลี่ยนเปนไฟ ความรอนชื้นเปลี่ยนเปนไฟ ถารางกายมีอินพรองหรือหยาง เพิ่มก็จะเปลี่ยนเปนไฟไดงาย อวัยวะที่ถูกรุกรานก็มีความสําคัญ เชน กระเพาะอาหารไมชอบแหง ถาถูกรุกรานจะเกิดไฟไดงาย ไฟจากหัวใจลอยขึ้น ทําใหปลายลิ้นแดงเจ็บ ลิ้นและปากเปนแผล ถาไฟจากตับเพิ่มสูงและลอยขึ้น ทําใหปวดศีรษะ ตาบวมแดง ถามีไฟเพิ่มสูงในกระเพาะอาหาร ทําใหเหงือกบวมปวด มีเลือดออกตามไรฟน เปนตน 1.2 อารมณทั้งเจ็ดทําใหเกิดโรค อารมณทั้ง 7 แบบ ประกอบดวย โกรธ ยินดี เศราโศก วิต กกัง วล ครุนคิด หวาดกลัว ตกใจ มีผลกระทบทิศทางการไหลเวียนลมปราณของอวัยวะภายใน ทําใหการไหลเวียน เลือดและลมปราณผิดปกติ ดังนี้ 1.2.1 ความยินดีเปนอารมณของหัวใจ ความยินดีทําใหผอนคลาย รูสึก สบายใจ เลือดและลมปราณไหลเวียนสม่ําเสมอ เปนผลดีตอรางกาย แตความยินดีเกินขนาดจะ กระทบตอหัวใจทําใหลมปราณหัวใจกระจัดกระจาย จิตใจจึงไมอยูเปนที่ มีอาการออนเพลีย เกียจ คราน ไมมีสมาธิ ถาเปนมากมีอาการใจสั่น กระวนกระวาย อาละวาด 1.2.2 ความโกรธกระทบตอตับ ทําใหลมปราณแผซานมากเกินไป หรือ ลอยสวนขึ้นขางบนและพาเอาเลือดไหลขึ้นไปดวย ทําใหมีอาการเวียนศีรษะ ปวดศีรษะ หนาแดง หูมีเสียงดัง อาเจียนเปนเลือดหมดสติ ตับเปนอวัยวะที่สําคัญ ความผิดปกติของลมปราณตับมักจะ มีผลกระทบอวัยวะอื่นๆ ดวย ถาลมปราณตับไปกระทบมาม ทําใหทองอืด ทองเดิน ถาลมปราณ ตับไปกระทบกระเพาะอาหาร ทําใหคลื่นไสอาเจียน ตับและไตมีกําเนิดเดียวกัน ความโกรธจึงมัก กระทบไตดวย มีอาการหวาดกลัว ความจําเสื่อม ปวดเมื่อยออนแรงที่เอว 1.2.3 ความเศราโศกเกินไปทําลายลมปราณปอด แลวไปมีผลกระทบ อวัยวะอื่น ถาลมปราณปอดถูกทําลาย จะเกิดอาการลมปราณปอดพรอง คือ แนนหนาอก หายใจ ขัด เซื่องซึม ไมมีแรง ความเศราโศกไปกระทบลมปราณหัวใจ มีอาการใจสั่น ใจลอย ความเศรา โศกไปกระทบตับ ทําใหเกิดความผิดปกติทางจิต แนนชายโครง แขนขาชา เกร็ง ชักกระตุก ความ เศราโศกไปกระทบมาม ทําใหการไหลเวียนของลมปราณของจงเจียวติดขัด อาหาร ไมยอย ทองอืด แขนขาออนแรง


40

1.2.4 ความวิตกกังวลเกินไปทําใหลมปราณปอดติดขัด มีอาการหายใจ เบา พูดเสียงต่ํา ไอแนนหนาอก แลวไปมีผลกระทบตอลมปราณของหัวใจ ตับ และมามได 1.2.5 ความครุ น คิ ด มากเกิ น ไปทํ า ให ล มปราณม า มคั่ ง อยู ภ ายใน ลมปราณของจงเจียวติดขัดกระทบการทํางานของมามและกระเพาะอาหาร มีอาการเบื่ออาหาร ทองอืด แนนทอง ทองเดิน ถาเปนมากทําใหกลามเนื้อลีบ ความครุนคิดเกิดจากมามแลวสงผลตอ หัวใจทําใหเลือดในหัวใจพรอง มีอาการใจสั่น นอนไมหลับ ฝน ความจําเสื่อม 1.2.6 ความหวาดกลัวทําใหลมปราณไตไมมั่นคง มีอาการกลั้นอุจจาระ ปสสาวะไมได ฝนเปยก แขนขาไมมีแรง ปวดเอว ความหวาดกลัวยังทําใหไตไมสามารถสงสาร จําเปนและลมปราณขึ้นไปหลอเลี้ยง หัวใจและปอด เรียกวา น้ํากับไฟไมปรองดองกัน มีอาการ แนนหนาอกและทอง หงุดหงิด นอนไมหลับ 1.2.7 ความตกใจเกินไปทําใหลมปราณหัวใจสับสน เลือดและลมปราณ ไมอยูในสมดุล มีอาการใจสั่น กระวนกระวาย นอนไมหลับ หายใจขัด ถาเปนมากอาจมีอาการ โรคจิต 1.3 โภชนาการที่ไมเหมาะสม เกิดจากความผิดปกติในการรับประทานอาหารและน้ํา ไดแก 1.3.1 การรับประทานอาหารไมดีพอ รับประทานอาหารนอยเกินไปหรือ มากเกินไป เชน ถารับประทานอาหารนอยเกินไปจะขาดสารอาหาร ทําใหเลือดและลมปราณ พรองเพราะสรางไมเพียงพอ รางกายซูบผอมความตานทานโรคต่ํา เจ็บปวยบอย ถารับประทาน อาหารมากเกินไปหรือรับประทานอาหารเร็วเกินไปอาหารยอยและดูดซึมไมทัน อาหารไมยอย มีอาการทองอืด เรอบูดเปรี้ยว อาเจียน ทองเดิน เปนตน 1.3.2 การรั บ ประทานอาหารที่ ไมส ะอาด ถารั บ ประทานอาหารที่ ปนเปอนเชื้อแบคทีเรียจะทําใหปวยเปนโรคอาหารเปนพิษ มีอาการปวดทอง อาเจียน ทองเดิน 1.3.3 การเลือกรับประทานอาหารมากเกินไป เชน การเลือกรับประทาน อาหารบางชนิดบางรสชาติมากเกินไปอาจทําใหเ กิด โรคขาดสารอาหาร หรือชอบรับประทาน อาหารรอนหรือเย็น เกินไปทําใหรางกายเสียสมดุลอิน-หยาง ถาชอบรับประทานอาหารสดเย็น ความเย็น จะไปทําลายลมปราณหยางของมามและกระเพาะ อาหารเกิดความเย็น ชื้น ภายใน รางกาย มีอาการปวดทอง ทองเดิน ถาชอบรับประทานอาหารเผ็ดรอนแหงจะเกิดความรอนคั่งใน กระเพาะอาหารและลําไส มีอาการคอแหง ทองอืด ปวดทอง ทองผูก ถาเรื้อรังอาจทําใหเปน ริดสีดวงทวารหนัก เปนตน


41

อาหารมี 5 รสชาติหลัก ซึ่งมีสัมพันธกับอวัยวะตันทั้ง 5 คือ รสเปรี้ยวเขาสู ตับ รสขมเขาสูหัวใจ รสหวานเขาสูมาม รสเผ็ดเขาสูปอด รสเค็มเขาสูไต รางกายจําเปนตองไดรับ อาหารครบ 5 รสชาติเพื่อใหรางกายทํางานเปนปกติ ถาชอบรับประทานอาหารบางรสชาติมาก เกินไปเปนเวลานาน อาจเกิดความผิดปกติของอวัยวะภายใน เชน - รับประทานอาหารเค็มมากเกินไป ทําใหเลือดไหลเวียนติดขัด ใบหนา ไมสดใส - รับประทานอาหารขมมากเกินไป ทําใหผิวแหง ผมรวง - รับประทานอาหารเผ็ดมากเกินไป ทําใหเสนเลือดและเอ็นหดเกร็ง เล็บ หยาบแหง - รับประทานอาหารเปรี้ยวมากเกินไป ทําใหผิวแหงและกลามเนื้อหนา หยาบแหง ริมฝปากแหง - รับประทานอาหารหวานมากเกินไป ทําใหปวดกระดูก ผมรวง 1.4 การตรากตรํามากเกินไปหรือนอยเกินไป การออกกําลังกายใชแรงงานทําใหรางกายแข็งแรง เลือดและลมปราณไหลเวียน คลอง การพักผอนทําใหหายเหน็ดเหนื่อย รางกายและสมองฟนตัว แข็งแรง ในทางตรงกันขามถา ตรากตรําใชแรงงาน ใชสมองหรือหักโหมการทํางานมากเกินไปเปนเวลานาน สามารถเปนสาเหตุ ของความเจ็บปวย เชนเดียวกับการพักผอนสบายเกินไป ไมออกแรงออกกําลังกาย 1.5 โรคระบาด เปนโรคติดตอที่เกิดขึ้นจากเชื้อโรคเปนสาเหตุ โดยโรคระบาดมี คุณลักษณะเฉพาะ ดังนี้ 1.5.1 โรคที่เกิดอยางรวดเร็ว อาการรุนแรงและคลายคลึงกัน มีอาการ เหมือนกลุมอาการที่เกิดจากไฟแตรุนแรงกวา เชน ไขสูง กระวนกระวาย คอแหง ลิ้นแดง มีฝา เหลือง มักมีกลุมอาการความชื้นรวมดวย 1.5.2 โรคที่ติดตอไดงาย ระบาดแพรกระจายอยางรวดเร็ว อาจพบชุกชุม เปนแหงๆ หรือระบาดอยางกวางขวาง มีทั้งโรคระบาดชนิดไมรายแรงและชนิดรายแรงทําใหถึงตาย เชน ไฟลามทุง คางทูม ไทฟอยด คอตีบ ไขอีดําอีแดง ไขทรพิษ อหิวาตกโรค กาฬโรค เปนตน 1.5.3 การเกิด โรคและการระบาดมีความเกี่ย วของกับสาเหตุ ไดแก อากาศเปลี่ยนแปลงผิดปกติ เชน รอนจัด แลงจัด น้ําทวม สิ่งแวดลอม เชน อากาศและน้ําถูก ปนเปอน อาหารสกปรก การแยกผูปวยทันที จะชวยปองการการระบาดของโรค การควบคุมโรค ระบาดไดผลดีดวยการฉีดวัคซีนปองกันหรือใหยารักษาโรค


42

1.6 โรคปาราสิต เกิดจากรางกายไดรับ ปาราสิตหรือเชื้อพยาธิจากการ รับประทานอาหารหรือน้ําที่ มีปาราสิตปนเปอน หรือสัมผัสน้ําหรือ อาหารที่ปรุงไมสุก หรือดินที่มี ปาราสิตอยูอาการของโรคปาราสิตที่พบสวนใหญ คือ ใบหนาซีดเหลือง ผายผอม กลามเนื้อลีบ ปวดทอง การแพทยแผนจีนถือวาความรอนชื้นสะสมคั่งในมามและกระเพาะอาหารทําใหเปนโรค ปาราสิตไดงาย ผูปวยโรคปาราสิตจึง มักมีอาการของความรอนชื้นสะสมในมามและกระเพาะ อาหารดวย ปาราสิตมีหลายชนิด ทําใหเกิดอาการตางๆกัน เชน พยาธิตัวกลมมักทําใหปวดทอง แขนขา เย็นออนแรง พยาธิเสนดายทําใหคันที่ทวารหนัก เปนตน 1.7 การบาดเจ็บ การไดรับบาดเจ็บจากภายนอกมีหลายชนิด เชน การถูกยิง ฟน แทง ฟกช้ํา ทําใหผิวหนังและกลามเนื้อและหอเลือดบวมปวด บาดแผลมีเลือดออก กระดูกหัก ขอเคลื่อน ความรอนจากไฟไหม น้ํารอนลวก ไฟดูด ทําใหผิวหนังบวมแดงรอนหรือเปนตุมน้ําใส ถาผิวหนังไหมรุนแรงจะเปลี่ยนเปนสีขาว น้ําตาล หรือดํา ไมรูสึกปวด หรือการไดรับบาดเจ็บจาก ความหนาวเย็นซึ่งความหนาวเย็นมีผลกระทบตอรางกายทั่วไปและมีผลกระทบเฉพาะที่ หรือการ ถูกแมลงสัตวกัดตอย ถาถูกสัตวกัดทําใหบริเวณที่ถูกกัดบวมปวดมีเลือดออก ถาถูกกัดรุนแรงอาจ ทําใหอวัยวะภายในไดรับบาดเจ็บ เสียเลือดมาก หรือไดรับพิษเขาสูรางกายถึงตายได 1.8 เสมหะและของเหลวคั่ง และอาการเลือดคั่ง เสมหะและของเหลวคั่ง และอาการเลือดคั่ง เปนผลของความผิดปกติในการ ทํางานของอวัยวะภายใน เสมหะและของเหลวคั่ง และอาการเลือดคั่งอาจกลายเปนสาเหตุของโรค ทําใหเกิดความผิดปกติของอวัยวะและเนื้อเยื่อได 1.8.1 เสมหะและของเหลวคั่ง เปนการสูญเสียสมดุลของของเหลวใน รางกายทําใหเ กิด เสมหะและของเหลวคั่ง เสมหะและของเหลวคั่งก็เปน สาเหตุกอใหเกิดการ เปลี่ยนแปลงทางพยาธิวิทยา ทําใหอวัยวะภายในทํางานผิดปกติ เสมหะและของเหลวมี 2 ชนิด คือ ชนิดที่มองเห็น คือ เสมหะและของเหลวที่มีรูปรางมองเห็นได สัมผัสได มีเสียง เชน เสมหะจาก ลําคอ เสียงเสมหะเวลาหอบ และชนิดที่มองไมเห็น คือ อาการและอาการแสดงที่เกิดจากเสมหะ และของเหลวคั่ง แตมองไมเห็นตัวตนของสาเหตุ มีแตอาการ เชน เวียนศีรษะ ตาลาย ใจสั่น หายใจขัด คลื่นไสอาเจียน เปนลม พูดจาไมรูเรื่อง อาละวาด เปนตน 1.8.2 อาการเลือดคั่ง คือ ลักษณะการไหลเวียนของระบบเลือดไหลที่ ชาลง มีการคั่ง อยูในเสน ลมปราณ อวัยวะ เนื้อเยื้อตางๆ หรือเลือดไหลออกมาคั่งนอกเสน ลมปราณ เลือดคั่งเปนผลของการเปลี่ยนแปลงทางพยาธิวิทยาของบางโรคและเปนสาเหตุของโรค ไดดวย สาเหตุของการเกิดเลือดคั่ง ไดแก สาเหตุจากภายนอก คือ การกระทบกระแทก บาดเจ็บ


43

จากภายนอก ทําใหเลือดไหลเวียนไมคลองหรือเลือดคั่งอยูภายใน สาเหตุจากความผิดปกติภายใน รางกายลมปราณพรอง ทําใหเ ลือดไมไหลเวีย น ลมปราณไหลเวียนติดขัดทําใหเลือดไหลเวีย น ติดขัดไปดวย อาการเลือดคั่งทําใหเกิดอาการเฉพาะ ไดแก มีอาการปวดเหมือนเข็มแทง ตําแหนงที่ ปวดแนนอน กดเจ็บ เปนๆ หายๆ มีอาการบวมเปนกอนอยูกับที่ ถาอยูที่ผิวหนังจะมีสีเขียวมวงคล้ํา ถึงเขียวเหลือง ถาอยูภายในรางกายจะเปนกอนคอนขางแข็ง หรือกดเจ็บ มีเลือดออก เลือดมีสีมวง คล้ํา หรือปนกอนเลือด ใบหนา ริมฝปาก เล็บมีสีเขียวมวงคล้ํา เปนตน 2. วิธีการรักษาโรคของการแพทยจีน วิธีการรักษาโรคของแพทยแผนจีนมีหลายวิธี แตละวิธีลวนมีจุดเดนในตัวเองโดยทั่วไป วิธีการรักษาโรคของการแพทยแผนจีน แบงเปน 8 วิธี ดังนี้ (สถาบันการแพทยแผนไทย-จีน เอเชีย ตะวันออกเฉียงใต, 2552: 43-49) 2.1. วิธีขับเหงื่อ (ฮั่นฝา) วิธีขับเหงื่อ คือ การรักษาโรคดวยยาที่ไปขจัดสาเหตุของโรคที่สวนนอกของราง กายใหออกไปจากรางกายทางเหงื่อ สวนมากใชรัก ษากลุมอาการหรือโรคที่เ กิ ด จากสาเหตุ ภายนอกของรางกาย 2.2 วิธีทําใหอาเจียน (ถูฝา ) วิธีทําใหอาเจียน คือ การรักษาโดยการขับเสมหะ น้ําลายที่คั่งอุดตันอยูในลําคอ หรือทรวงอกออกจากรางกายทางปาก ใชรักษาผูที่อาหารไมยอยหรือรับประทานสารพิษเขาไป วิธีการรักษาโดยทําใหอาเจียนเปนการรักษาโรคฉุกเฉิน จึงควรใชเมื่อจําเปนจริงๆเทานั้น เพราะ การอาเจียนทําใหสูญเสียยินและชี่ การอาเจียนทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงเฉียบพลันของความดัน ในทรวงอกและทอง จึงหามใชวิธีกระตุนใหอาเจียนในผูปวยโรคความดันโลหิตสูง หลอดเลือด แข็งตัว หลอดเลือดโปงพอง โรคกระเพาะอาหารเปนแผล วัณโรคปอดที่มีเ ลือดออกงาย หญิง มี ครรภ นอกจากนี้ควรพิจารณาดวยความระมัดระวังหากตองใชกับผูปวยโรคหัวใจ และผูที่รางกาย ออนแอมาก 3. วิธีระบาย (เซี่ยฝา) วิธีระบาย คือ การขับสิ่งที่คั่งคางอยูในกระเพาะอาหารและลําไส ไดแก อาหารที่ ไมยอย อุจจาระที่แข็ง ความเย็นคั่ง เลือดคั่ง หรือเสมหะและของเหลวคั่ง โดยการขับ ออกจาก รางกายทางทวารหนัก


44

4. วิธีประสาน (เหอฝา) วิธีประสาน คือ วิธีรักษาโรคโดยการปรับ ความผิด ปกติใหพอดีทําใหอิน -หยาง กลับมาอยูในสมดุล ชวยเสริมลมปราณต านทานโรคและขจัด ลมปราณกอโรค ทําใหรางกาย กลับเปน ปกติ ใชรัก ษาความผิดปกติของเลือดและลมปราณของอวัย วะภายใน กลุมอาการกึ่ง ภายนอกกึ่ ง ภายใน กลุ มอาการรอนปนเย็ น ในทางคลินิ ก วิ ธีป รั บ สมดุ ลใชบ รรเทากลุ มโรค ซาวหยาง ปรับสมดุลตับและมาม (ระบายตับ บํารุงมาม) ปรับสมดุลตับกับกระเพาะอาหาร (สงบ ตับ ปรับกระเพาะอาหาร) ปรับสมดุลกระเพาะอาหารกับลําไส 5. วิธีใหความอบอุน (เวินฝา) วิธีใหความอบอุน คือ การรักษาโรคโดยการใหความอบอุน ขับไลความเย็นใน อวัยวะภายในและเสนลมปราณ แบงเปน 3 วิธี คือ วิธีใหความอบอุนจงเจียวเพื่อขับไลความเย็น วิธีใ หความอบอุน เสริมหยาง ใชรักษาอาการหยางชี่ของหัวใจ และไตพรอง และวิธีใ หค วาม อบอุนเสนลมปราณขับไลความเย็น 6. วิธีลดความรอน (ชิงฝา) วิธีลดความรอน คือ การรักษากลุมอาการภายในของรางกายจากสาเหตุความ รอนและไฟ โดยระบายความรอนและดับไฟ ยาที่ใชระบายความรอนมีฤทธิ์ฆาเชื้อแบคทีเรีย ลด อาการอักเสบ และลดไข ใชรักษากลุมอาการภายในของรางกายจากความรอน ไดแก ระยะที่ ความรอนเขาสูระบบลมปราณ ระยะที่ความรอนเขาสูระบบอิ๋งและระบบเลือด กลุมอาการไฟและ พิษไฟในอวัยวะภายใน ซึ่งเปนโรคติดเชื้อแบคทีเรีย กลุมอาการรอนพรอง 7. วิธีบํารุง (ปูฝา) วิธีบํารุง คือ การรักษาโรคดวยการหลอเลี้ยง เสริมบํารุงชี่และเลือด และอิน-หยาง ของรางกาย ใชรัก ษากลุมอาการพรองออนแอของอวัย วะภายใน ชี่และเลือด และอิน -หยาง แบงเปน 4 วิธีคือ การบํารุงชี่ โดยทั่วไปหมายถึงบํารุงชี่ของมามและปอดใชรักษากลุมอาการชี่ พรอง บางครั้งก็ใชรักษากลุมอาการเลือดพรองโดยใชควบคูกับยาบํารุงเลือด การบํารุงเลือดใช รักษากลุมอาการเลือดพรอง การบํารุงหยางมักใชรักษากลุมอาการหยางไตพรองหรือหยางของ มามพรอง และการบํารุงอิน คือ บํารุงสารจําเปน เลือด และของเหลวในรางกาย 8. วิธีทําใหสลาย (เซียวฝา) วิธีทําใหสลาย คือ การสลายการคั่งหรือการสะสมของชี่และเลือด เสมหะ น้ําหรือ กอน โดยการปรับการไหลเวียนของชี่ ระบายการคั่งของเลือด ขับความชื้นทางปสสาวะ เรงการ ยอยอาหาร ขับเสมหะ สมานแผล ฝ เปนตน


45

การตรวจวินิจฉัยของศาสตรการแพทยแผนจีน การแพทยแผนจีนใชการตรวจดวยประสาทสัมผัสทั้ง 5 ของแพทยในการวินิจฉัยโรค คือ (สํานักการแพทยทางเลือก, 2556) 1. ตา แพทยจีนใชการมองดูเสน สี รูปรางของรางกายและอวัยวะสวนตางๆ ลักษณะ ทาทาง การเดิน ดูลิ้น สารคัดหลั่ง และสิ่งขับถาย เปนตน 2. จมูก ใชดมกลิ่นตัว กลิ่นปาก กลิ่นอุจจาระ และกลิ่นปสสาวะของคนไข 3. หู ใชฟงเสียงพูด เสียงไอ เสียงลมหายใจ 4. ปาก ถามถึงประวัติความเจ็บปวด ชีวิตความเปนอยู ประวัติครอบครัว อาการที่ผูปวย รูสึกไมสบาย 5. ผิวหนัง แพทยจีนใชการสัมผัสดวยการใชนิ้วจับชีพจรเพื่อตรวจตรวจอวัยวะภายใน ภาวะเลือดและพลังงานของรางกาย นอกจากนี้ก็ใชมือกดสัมผัสเพื่อตรวจสอบตําแหนงเจ็บปวย ของรางกายทําใหทราบถึงภาวะโรคของผูปวย เมื่อแพทยจีนไดตรวจรางกายผูปวยดวยวิธีการทั้งหาแลวก็จะนํามาวิเคราะหถึงปจจัยที่ เปนสาเหตุของการเกิดโรค ระบบอวัยวะใดที่ผิดปกติบาง เพื่อใชในการวางแผนและเลือกวิธีในการ รักษา เชน การรับประทานยาตม การฝงเข็ม การใหยาจีน ทุยนา ชี่กงหรือผสมผสานกัน เปนตน การแพทยแผนจีนในประเทศไทย ดังที่ไดกลาวมาแลวบางในบทที่ 1 วาการแพทยแผนจีนไดเขามาในสังคมไทยโดยปรากฏ หลัก ฐานชัดเจนตั้งแตสมัยกรุงศรีอยุธยา แตก็สามารถสัน นิษ ฐานยอนไปกวานั้น ไดวาความรู ทางการแพทยแผนจีนอาจเขามากอนหนานั้น เนื่องจากมีการติดตอสัมพันธกันระหวางจักรวรรดิ จีนกับอาณาจักรตางๆในภูมิภาคเอเชีย ตะวัน ออกเฉียงใตในทั้ง ระดับ เจาผูปกครองอาณาจัก ร พอคา และประชาชน ซึ่งผลจากการติดตอไปมาระหวางกันนี้ทําใหความรูทางการแพทยแผนจีนได ถูกนํามาใชในการบําบัดและรักษาโรค การดูแลสุขภาพของประชาชนซึ่ง มีการแพรห ลายมาก ยิ่งขึ้น โดยลําดับ จากบทความเรื่อง การแพทยแผนจีนในประเทศไทย : อดีต ปจจุบัน อนาคต ของ ชวลิ ต สั น ติ กิจ รุ ง เรือง (2549) ได วิเ คราะหถึ ง หลั ก ฐานที่ แสดงว าการแพทย แผนจีน เขา มาสู สังคมไทยไวดังนี้ 1. ความคลายคลึงกันระหวางการแพทยลานนาและการแพทยแผนไต ซึ่งเปนการ แพทยพื้นบานของชนเผาไตในเขตสิบสองปนนา มณฑลยูนนาน สาธารณรัฐประชาชนจีน


46

2. คัมภีรโ อสถพระนารายณซึ่งรวบรวมตํารับยาที่ใชในวังหลวงของสมเด็จพระนา รายณมหาราช เมื่อ 400 ปเศษที่ผานมา ปรากฏมีตํารับยาจีนบรรจุอยูในคัมภีรด ังกลาว 3. โรงพยาบาลเทียนฟามูลนิธิ บนถนนเยาวราช กรุงเทพมหานครเปดใหบริการ การแพทยแผนจีน ตั้งแต พ.ศ. 2446 4. หางขายยาไต อัน ตึ๊งซึ่งเปนรานขายยาจีน ที่เปดดําเนิน การในถนนวานิช 1 กรุงเทพมหานคร ตั้งแต พ.ศ.2449 5. สมาคมแพทยจีนในประเทศไทยที่กอ ตั้งตั้งแต พ.ศ. 2468 6. ไดพบหลักฐานแพทยจีนซึ่งไดรับ อนุญาตใหประกอบโรคศิลปะแผนโบราณ สาขาการบําบัดโรคทางยา ชั้น 2 เมื่อวันที่ 18 สิงหาคม พ.ศ.2473 การแพทยแผนจีนในสังคมไทยจึงไดรับการยอมรับ จากวงวิช าการแพทยของไทยอยาง ตอเนื่องสะทอนจากการที่กระทรวงสาธารณสุข ไดมีการจัดตั้งหนวยงานขึ้นมารองรับเพื่อกํากับ ดูแลการใชความรูทางการแพทยแผนจีนในบําบัดรักษาโรคและดูแลสุขภาพ ไดแก ป พ.ศ. 2538 กระทรวงสาธารณสุขโดยกรมการแพทย ไดจัด ตั้งศูนยค วามรวมมือการ แพทยไทย-จีน เปนหนวยงานระดับกองเปนการภายใน โดยมีวัตถุประสงคเพื่อพัฒนาศาสตรการ แพทยแผนจีน ใหไดคุณภาพและมาตรฐานที่เหมาะสม เพื่อเปนการแพทยทางเลือกในการดูแล สุขภาพของคนไทยรวมกับการแพทยแผนปจ จุบัน และการแพทยแผนไทย และเปน หนวยงาน ประสานความสัมพันธระหวางไทยและจีนของกระทรวงสาธารณสุขของทั้งสองประเทศ ป พ.ศ. 2542 มีการลงนามรวมกับกระทรวงสาธารณสุขจีนในบันทึกความเขาใจดานควา มรวมมือดานการแพทยและการสาธารณสุข ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2543 โดยกระทรวงสาธารณสุขจีน สนับสนุนใหไทยเปนศูนยกลางดานการศึกษา การบริการ และการวิจัยการแพทยแผนไทยและแผน จีนของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต ป พ.ศ. 2545 มีการปฏิรูประบบระบบราชการที่มีผลทําใหเกิดการปฏิรูปโครงสรางบทบาท ภารกิจอัตรากําลังดานการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลือกขึ้น โดยโอนหนวยงานสถาบัน การแพทยแผนไทย ศูนยความรวมมือการแพทยไทย-จีน และศูนยประสานงานการแพทยทางเลือก มาสังกัดกรม พัฒนาการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลือกที่ตั้งขึ้นใหมตามพระราชบัญญัติ ระเบียบบริหารราชการแผนดิน พ.ศ. 2545 ป พ.ศ.2547 มีการกําหนดใหศูนยความรวมมือการแพทยไทย-จีน เปนกลุมงานหนึ่งใน กองการแพทยทางเลือก คือ กลุมงานความรวมมือการแพทยไทย-จีน และเมื่อวันที่ 26 กรกฎาคม พ.ศ. 2547 กรมพัฒนาการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลือก ไดมีคําสั่งที่ 158/2547 ใหศูนย


47

ความรวมมือการแพทยไทย-จีนเปนสถาบันระดับกอง ในสังกัดกรมพัฒนาการแพทยแผนไทยและ การแพทยทางเลือกและไดกําหนดชื่อใหมวา สถาบันการแพทยไทย-จีน เอเชียตะวันออกเฉียงใต สถาบั น การแพทย ไ ทย-จี น เอเชี ย ตะวั น ออกเฉี ย งใต มี บ ทบาทที่ สํ า คั ญ ได แ ก การประสานงานความรวมมือในการผลิตและพัฒนาสมรรถนะบุคลากร การวิจัย และการบริการ การแพทยแผนจีน การประสานงานความรวมมือระหวางกระทรวงสาธารณสุขไทย-จีน และทบวง การแพทยแผนจีนการศึกษา การวิเคราะห วิจัย พัฒนาความรูและเทคโนโลยีดานการแพทยแผน จีน การกําหนดพัฒนาคุณภาพมาตรฐานการแพทยแผนจีนและเสนอแนะ การคุมครองผูบริโภค การถายทอดองคความรูและเทคโนโลยีการแพทยแผนจีน รวมทั้งการสนับสนุนใหมีการผสมผสาน การแพทยแผนจีนที่เหมาะสมในระบบบริการสุขภาพไทย แนวโนมการแพทยแผนจีนในอนาคต องคความรูท างการแพทยแผนจีน ในปจ จุ บัน ยังคงเปน สิ่งที่สามารถตอบสนองความ ตองการของผูคนไดในทุกยุคสมัย เนื่องจากมีการสั่งสม ประยุกต คิดคนความรูใหสอดคลองกับ สถานการณของโรค อาการเจ็บปวยที่มีการเปลี่ยนแปลงไป ประกอบกับการไดรับการสนับสนุน จากหนวยงานภาครัฐทั้งในดานการจัดใหมีหนวยงานรองรับ การคนควาศึกษาวิจัย การศึกษาทาง การแพทยแผนจีน ในระดับ ที่สูงขึ้น จึงทําใหก ารแพทยแผนจีน แพรขยายออกไปสูคนไทย ทั้งนี้ แนวโนมที่มีสว นสําคัญตอการทําใหความรูทางการแพทยแผนจีนไดรับใชผูคนในสังคมมากยิ่งขึ้น มีดังนี้ 1. กระแสการใหความสําคัญกับการดูแลสุขภาพดวยการแพทยแผนตะวันออกที่ เพิ่มมากขึ้น เปนแนวนิยมของผูคนในการรักษาสุขภาพ บําบัดรักษาโรคดวยความรูทางการแพทย แผนตะวันออก อาทิ การแพทยแผนจีน การแพทยแผนไทย การแพทยยูนานิ การแพทยอายุรเวท การแพทยธิเบต เปนตน ซึ่งสาเหตุสําคัญที่กอใหเกิดการหันมาใหความตระหนักหรือสนใจในวิถี ดังกลาว ลือชัย ศรีเงินยวง (2547: 11) ไดวิเคราะหวา เกิดจากความรูสึกไมพึงพอใจของสังคมตอ ระบบสุขภาพสมัยใหมโดยมีการหยิบยกประเด็นความคิดในเรื่องสุขภาพแบบองครวมที่เนนการ สอดประสานระหวางกาย จิตใจ และจิตวิญญาณอันเปนสิ่งซึ่งแยกจากกันไมได แนวคิดนี้แตกตาง จากแนวคิดการแพทยแบบวิทยาสาสตรที่เปนกระแสหลักอยู รวมทั้งวิกฤตคาใชจายทางสุขภาพ โดยเนนการใชยาและเทคโนโลยีขั้นสูง ซึ่งกลับกลายเปนภาระคาใชจายและไรประสิทธิภาพในการ จัดการโรคเรื้อรัง สําหรับการแพทยแผนจีนนับเปนการแพทยแผนตะวันออกที่ไดรับความสนใจใน การใชบริก ารจากผูค นเพิ่มมากขึ้น ตัวอยางเชน ในประเทศจีน ที่มีโรงพยาบาลกวา 2,600 แหง


48

ซึ่งในจํานวนนี้กวารอยละ 90 มีแผนกการแพทยจีนอยูดวย โดยมีการรักษาแบบฝงเข็ม การนวด ทุยนา (หมอชาวบาน 2546 : ออนไลน) เชนเดีย วกับสังคมไทย จากการศึกษาวิจัย ของยุพาวดี บุญชิต และทัศนีย อาซาไนท (2549) พบวา การใหบริการทางการแพทยแผนจีนในประเทศไทย สว นใหญ เ ปน การให บ ริ ก ารในสถานพยาบาลของรั ฐ โดยเป น การให บ ริก ารประเภทฝ ง เข็ ม การใหบริการดานการใชสมุนไพรและตํารับยาจีน การแพทยแผนจีนนับ วามีการขยายตัวอยาง รวดเร็วทั้งในดานจํานวนผูปวยใหมและผูปวยเกาที่เพิ่มมากขึ้น แตท วา สถานพยาบาลที่มีการ ใหบริการการแพทยแผนจีนกับประสบปญหาการขาดแคลนบุคลากรทางการแพทย และยังพบวา สถานพยาบาลอีกจํานวนหนึ่งที่ทําการสํารวจ รอยละ 45.24 ซึ่งยังไมมีบริการการแพทยแผนจีน มีความตองการที่จะเปดใหบริการทางการแพทยแผนจีนดวย โดยเนนการรักษาแบบการฝงเข็ม การนวดทุยนา และการใชยาสมุนไพร เหตุผลที่ผูคนนิยมในการใชบริการดวยการแพทยแผนจีน สวนใหญสะทอนจากการศึก ษาความตองการใชบ ริก ารแพทยจีน ที่โรงพยาบาลหัวเฉีย วของ Tan Xue Ping (2553) ที่พบวาเกิดจากความนาเชื่อถือ การตอบสนองตอผูปวยที่รวดเร็ว รวมทั้ง การเขาถึงจิตใจของผูปวยของแพทยแผนจีน ทั้งนี้อาจกลาวไดวาแนวโนมการรักษาดวยการแพทย แผนจีนโดยเฉพาะการฝงเข็มนับเปนรูปแบบการรักษาที่ไดรับความนิยมในการใชบริการมากที่สุด ซึ่งจากการสํารวจของสถาบันการแพทยไทย-จีน เอเชียตะวันออกเฉียงใต (2555: 292) ที่สํารวจ สถานพยาบาลในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขที่มีการใหบริการฝงเข็มทั้งหมด 166 แหง โดยจําแนก เปนโรงพยาบาลศูน ย จํานวน 25 แหง โรงพยาบาลทั่วไป จํานวน 56 แหง โรงพยาบาลชุมชน จํานวน 85 แหง โดยภาคกลางมีสถานบริการฝงเข็มสูงสุด จํานวน 63 แหง ซึ่งภาพรวมทั้งประเทศ มีเพียง 8 จังหวัดเทานั้นที่ยังไมมีการใหบริการฝงเข็ม ไดแก จังหวัดนาน เพชรบูรณ สิงหบุรี ตราด บึงกาฬ เลย หนองบัวลําภู และสตูล 2. การพัฒนามาตรฐานทางการแพทยแผนจีนในสังคมไทย การแพทยแผนจีนใน ประเทศไทยไดถูกรับ รองจากหนวยงานดานสาธารณสุขของไทย มีก ารจัดตั้งหนวยงานขึ้น มา รองรับเพื่อกํากับ ควบคุมดูแลการใชความรูทางการแพทยแผนจีนในการบําบัดรักษาโรค และดูแล สุขภาพดังที่ไดกลาวมาแลวเกี่ยวกับความเปนมาของการแพทยแผนจีนในไทย หนวยงานภาครัฐที่ มีบ ทบาทสําคัญ คือ สถาบัน การแพทยไทย-จีน เอเชีย ตะวัน ออกเฉีย งใต หนวยงานในกํากั บ กรมการพัฒนาการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ซึ่งไดกําหนด พัน ธกิ จ ที่ สํ า คั ญ ของสถาบั น ฯ 5 ประการ ได แ ก การรวบรวมข อ มู ล ด า นการแพทย แ ผนจี น การจั ด การความรู ก ารแพทย แ ผนจี น ในไทย การกํ า กั บ มาตรฐานการแพทย จี น ในไทย


49

การบูรณาการการแพทยแผนจีนเขาสูระบบบริการสุขภาพ และการผสมผสานการแพทยแผนจีน และการแพทยแผนปจจุบัน โดยผลการดําเนินงานของสถาบันฯที่สําคัญ คือการรวบรวมขอมูลและ จัดการความรูเ พื่ อการพัฒ นาการแพทย จีน ในสังคมไทย โดยเฉพาะมีก ารจัดทํ าตํ าราที่ เ ป น มาตรฐานทางการแพทยจีนเพื่อใหแพทยจีนและประชาชนไดศึกษาเรียนรู จํานวนหลายเลม ไดแก กลุมศาสตรการแพทยจีน จํานวน 4 เลม คือ ตําราศาสตรการแพทยแผนจีนเบื้องตน หนังสือพัฒนา การแพทยแผนจีนในประเทศไทย หนังสือการตรวจชีพจร และหนังสือพจนานุกรมศัพทการแพทย จีน กลุมศาสตรการฝงเข็มรมยา จํานวน 5 เลม กลุมศาสตรยาสมุนไพรจีน จํานวน 7 เลม อาทิ คูมือการใชสมุนไพรจีน ชุดตํารับยาจีนที่ใชบอยในประเทศไทย กลุมศาสตรการสรางเสริมสุขภาพ อาทิ คูมือการดูแลสุขภาพดวยศาสตรการแพทยจีน หนังสือเห็ดหลินจือกับการดูแลสุขภาพ เปนตน นอกจากนี้ใ นการพัฒนามาตรฐานทางการแพทยแผนจีน ที่สําคัญ ประการหนึ่ง คือ การใชก ฎ ระเบียบตางๆ ซึ่งในประเทศไทยไดมีการออกพระราชกฤษฎีกาที่กําหนดใหสาขาการแพทยจีนเปน สาขาการประกอบโรคศิลปะตามพระราชบัญญัติการประกอบโรคศิลปะ พ.ศ.2542 รวมทั้งมีการ จัดใหมีการสอบประเมินคุณสมบัติการแพทยจีนที่สําเร็จการศึกษาจากสาธารณรัฐประชาชนจีน และแพทยจีน ที่สืบทอดจากบรรพบุรุษ เพื่อรับใบอนุญาตประกอบโรคศิลปะสาขาการแพทยจีน มีการกําหนดมาตรฐานวัสดุและเครื่องมือแพทย เชน มาตรฐานเข็มที่ใชในการฝงเข็ม มาตรฐาน อุปกรณและเครื่องมือแพทยอื่นๆที่ใชในการแพทยจีน การประกาศคณะกรรมการวิชาชีพ สาขา การแพทยแผนจีน ฉบับที่ 2/2554 เรื่อง เกณฑมาตรฐานการรับรองสถาบันการศึกษาที่จัดการเรียน การสอนหลักสูตรปริญญาหรือประกาศนียบัตรเทียบเทาปริญญา สาขาการแพทยแผนจีน พ.ศ. 2554 รวมทั้งการจัดตั้งสมาคมแพทยแผนจีน ในประเทศไทยขึ้น โดยมีวัตถุประสงคในการผนึก กําลังภูมิปญญาและทุนทรัพยในการขับเคลื่อนการพัฒนามาตรฐานการแพทยแผนจีนในประเทศ ไทยดวย 3. การศึกษาเรียนรูและคนควาวิจัยทางการแพทยแผนจีน ในปจจุบันการแพทยแผน จีนไดถูกทําใหแพรหลายดวยการศึกษาเรียนรูและคนควาวิจันผานหนวยงานหลายแหลงทั้งภาครัฐ และเอกชน โดยมุงหวังที่จ ะผลิตกําลังคนทางดานการแพทยแผนจีนและการพัฒนาองคความรู ใหม ๆ จากการศึ ก ษา วิ จั ย ทดลอง ตั ว อย า งเช น สถาบั น อุ ด มศึ ก ษาของไทยในสั ง กั ด กระทรวงศึกษาธิการที่เปดสอนหลักสูตรระดับปริญญาตรีสาขาวิชาการแพทยแผนจีน ซึ่งปจจุบันมี อยูจํานวน 7 สถาบัน จําแนกเปนสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ 3 แหง และสถาบันอุดมศึกษาเอกชน จํ า นวน 4 แห ง ซึ่ ง ในแต ล ะหลั ก สู ต รของแต ล ะสถาบั น มี ร ะยะเวลาในการศึ ก ษา 5-6 ป


50

บางสถาบันอุดมศึกษาที่ทําการตกลงความรวมมือกับสถาบันอุดมศึกษาในตางประเทศโดยเฉพาะ กับ สาธารณรัฐประชาชนจีน ไดมีการจัด ใหนัก ศึกษาไปฝกประสบการณวิช าชีพหรือเรียนรูใ น ประเทศดังกลาว เปนระยะเวลา 1 ป โดยในแตละปการศึกษาสถาบันอุดมศึก ษาเหลานี้เปดรับ นักศึกษาที่สนใจศึกษาตอในสาขาวิชาการแพทยแผนจีน จํานวน 460 คน ตารางที่ 11 แสดงจํานวนสถาบันอุดมศึกษาที่เปดสอนหลักสูตรระดับปริญญาตรี สาขาวิชาการแพทยแผนจีนในประเทศไทย สถาบันอุดมศึกษา

ชื่อหลักสูตร

1. มหาวิทยาลัยแมฟาหลวง สํานักวิชาวิทยาศาสตรสุขภาพ 2. มหาวิทยาลัยพะเยา คณะแพทยศาสตร 3. มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม วิทยาลัยการแพทยทางเลือก 4. มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิม พระเกียรติ คณะการแพทยแผนจีน 5. มหาวิทยาลัยรังสิต คณะการแพทยแผนตะวันออก

การแพทยแผนจีน บัณฑิต การแพทยแผนจีน บัณฑิต การแพทยแผนจีน บัณฑิต การแพทยแผนจีน บัณฑิต วิทยาศาสตรบัณฑิต การแพทยแผน ตะวันออก การแพทยแผนจีน บัณฑิต การแพทยแผนจีน บัณฑิต

6. มหาวิทยาลัยเชียงราย คณะการแพทยแผนตะวันออก 7. วิทยาลัยนครราชสีมา คณะวิทยาศาสตรสุขภาพ

ระยะ เวลา ศึกษา

ปที่เริ่ม เปด สอน

5 ป

2557

การรับ นักศึกษา ตอป การศึกษา 40 คน

6 ป

2557

60 คน

5 ป

2549

60 คน

6 ป

2545

120 คน

5 ป

2557

60 คน

5 ป

2556

60 คน

5 ป

2552

60 คน

ที่มา : สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา,2557 นอกจากการศึ ก ษาในระดั บ ปริ ญ ญาตรี ท างการแพทย แ ผนจี น ทางเป ด สอนโดย สถาบันอุดมศึกษาแลว ยังมีการจัดหลักสูตรการอบรมระยะสั้นเกี่ยวกับการฝงเข็มที่จัดโดยสถาบัน การแพทยไทย-จีน เอเชียตะวันออกเฉียงใต สถาบันพระบรมราชชนก และกรมการแพทยทหารบก


51

กระทรวงกลาโหม ซึ่งเปน หลัก สูต รมาตรฐานการฝง เข็มที่พัฒนาขึ้น จากความรวมมือระหวาง กระทรวงสาธารณสุขของไทยกับมหาวิทยาลัยการแพทยแผนจีนเซี่ยงไฮ จากการผลิตกําลังคน ทางดานการแพทยแผนจีน ดังที่กลาวมานี้ ทําใหบุคลากรทางการแพทยแผนจีน เพิ่มจํานวนขึ้น ดัง ปรากฏในขอมูลของสํานักสถานพยาบาลและการประกอบโรคศิลปะ กรมสนับ สนุนบริก าร สุขภาพ (2555) ที่พบวามีจํานวนผูป ระกอบโรคศิลปะ สาขาการแพทยแผนจีน เพิ่มขึ้น อยาง ตอเนื่องตั้งแตป 2552-2555 โดยป 2552 มีจํานวน 312 คน และในป 2553-2556 มีจํานวนเพิ่มขึ้น สะสมเปน 347 คน 400 คน 469 คน และ 631 คน ตามลําดับ ดังตาราง ตารางที่ 12 แสดงจํานวนผูประกอบโรคศิลปะสาขาการแพทยแผนจีนที่ไดขึ้นทะเบียนไว ป พ.ศ.2552-2555 จํานวนผูประกอบโรคศิลปะ ประเภท ที่ไดขึ้นทะเบียนไว (คน) 2552 2553 2554 2555 2556 แพทยจีนที่สืบทอดจากบรรพบุรุษ 312 แ พ ท ย จี น ที่ สํ า เ ร็ จ ก า ร ศึ ก ษ า จ า ก 35 53 96 135 มหาวิทยาลัย ทั้งในและตางประเทศ จํานวนแพทยจีนสะสมรวม (คน) 312 347 400 496 631 รอยละที่เพิ่มจากป พ.ศ.2552 252 11.22 15.28 24.00 27.22

ที่มา : สํานักสถานพยาบาลและการประกอบโรคศิลปะ กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ,2556 สําหรับ ในด านการศึก ษาวิ จัย หนวยงานที่มี บ ทบาทหลั ก ในการส ง เสริม การคน คว า ศึกษาวิจัยทางการแพทยแผนจีนในประเทศไทย ไดแก สถาบันการแพทยไทย-จีน เอเชียตะวันออก เฉียงใต ซึ่งระหวางปงบประมาณ 2546-2555 ไดผลักดันใหเกิดโครงการวิจัยหลายชุดโดยเปนการ ดํ า เนิ น การร ว มกั บ หลายหน ว ยงาน เช น กรมวิ ท ยาศาสตร ก ารแพทย องค ก รเภสั ช กรรม กรมวิชาการเกษตร กรมพัฒนาที่ดิน รวมทั้งสถาบันอุดมศึกษาหลายแหง โครงการวิจัยที่สําคัญ อาทิ โครงการวิจัยการผลิตและการแปรรูปสมุนไพรจีนในไทย เพื่อลดการนําเขา ขอคนพบจากการ วิจัยไดชี้ใหเห็นวา พื้นที่บางแหงในประเทศไทยเหมาะสมสําหรับการเพาะปลูกพืชสมุนไพรจีน เชน ปญจขันธ ปลูกไดที่จังหวัดเชียงใหม เชียงราย โกศสอ ปลูกไดที่จังหวัดแพร ชะเอมเทศปลูกไดที่


52

จังหวัดอุดรธานี ขอนแกน กาฬสินธุ หรือโครงการวิจัยเห็ดหลินจือและสปอรเห็ดหลินจือในประเทศ ไทย ซึ่งพบวา สามารถพัฒนาชนิดพันธุเห็ดหลินจืดที่มีปริมาณสารสําคัญใหผลผลิตสูงคุมคาตอ การลงทุนเชิงพาณิชย ไดแนวปฏิบัติที่เปนมาตรฐานในการควบคุมคุณภาพตลอดจนวิธีการผลิตยา เห็ดหลืนจือและสปอรเห็นหลินจือที่ไดมาตรฐาน เปนตน 4. การผสมผสานความรูทางการแพทยแผนจีนกับการแพทยแผนอื่นๆ การแพทย ผสมผสานเปน การพิจารณาของแพทยรวมกับตัวผูปวยที่จะตองการบําบัด รัก ษาโรค หรือดูแล สุขภาพโดยใชศาสตรที่มีอยูหลากหลายรวมกัน เชน ศาสตรการแพทยปจจุบัน (ตะวันตก) ศาสตร การแพทยจีน การแพทยอายุรเวช การแพทยแผนไทย การแพทยพื้นฐานทองถิ่นตางมาใชในการ สงเสริมดูแลสุขภาพหรือรักษาโรค โดยมีการวิเคราะหพิจารณาทางเลือกที่มีประสิทธิภาพและเกิด ประสิท ธิ ผลสู ง สุ ด เหมาะสมสอดคล อ งกั บ อาการความเจ็บ ป วย เน น การยึ ด หลั ก ความเป น องครวมทั้ง รางกาย จิตใจ และจิตวิญญาณของบุคคล สําหรับสาเหตุที่ผูคนมีแนวนิย มที่จะใช การแพทยแบบผสมผสานเปนแนวทางในการบําบัดรักษาอาการเจ็บปวยและดูแลสุขภาพนั้นจาก การสํารวจในสังคมอเมริกัน เมื่อราวป 2002 โดย National Center for Complementary and alternative Medicine (ออนไลน) พบวามีเหตุผลหลัก 5 ประการ โดยเรียงลําดับ ไดแก การแพทย แบบผสมผสานจะชวยใหก ารรั ก ษาดีขึ้ น เมื่อใชรวมกับ การแพทยแผนปจ จุบัน รองลงมา คื อ นาสนใจที่จะทดลองรักษา การรักษาดวยการแพทยแผนปจจุบันใชไมไดผล แพทยแผนปจจุบัน แนะนําทดลองใหใช และยาแผนปจจุบันมีราคาแพงเกินไป สําหรับการใชการแพทยแผนจีนในการ รักษาแบบผสมผสานนั้นมีอยูดวยการหลายรูปแบบซึ่งขึ้นอยูกับอาการเจ็บปวยหรือโรคที่มีความ แตกตางกัน กรณีตัวอยางการรักษาแบบผสมผสานดวยการแพทยแผนจีนกับการแพทยแผนอื่น เชน การศึกษาวิจัยดูแลผูปวยโรคมะเร็งที่ไดมีการศึกษาวิจัยรวมกันระหวางนักวิจัยชาวจีนและ นักวิจัยชาวตะวันตก ซึ่งไดพัฒนายาน้ําที่เรียกวา เทียนเซีย (Tian Xian Liguid) โดยมีสวนผสม หลักของโสมและสมุนไพรจีนอีกหลายชนิดที่จะชวยกระตุนการสรางตัวของสารในเม็ดเลือดขาวใน การยับ ยั้งไมใ หเกิดการสรางเซลลมะเร็งในรางกายและขัดขวางการเจริญ เติบ โตของเนื้องอก รวมทั้งยับ ยั้งการกระจายตัวของเซลลมะเร็ง ผลจากการวิจัย ชี้ใ หเ ห็นวา ผูปวยที่บ ริโภคยาน้ํา เทียนเซียควบคูไปกับการฉายรังสี สงผลใหประสิทธิภาพการทํางานของระบบภูมิคุมกันในผูปวย มะเร็งโดยเฉพาะในกลุมผูปวยมะเร็ง เตานม ซึ่งประสิท ธิภาพของภูมิคุมกัน เพิ่มขึ้นถึง 83.3 % เมื่อเปรียบเทียบกับ กลุมผูปวยมะเร็งเตานมที่เขารับการฉายรังสีอยางเดีย วที่มีคาประสิทธิภาพ เทากับ 33.33 % (www.kiingz.wordpress.com : ออนไลน) ในสังคมไทยก็มีความพยายามจาก


53

หนวยงานทางการแพทย สถานพยาบาลหลายแหงที่จะใชการรักษาแบบผสมผสาน ตัวอยางเชน ศูนยการแพทยกาญจนาภิเษก มหาวิทยาลัยมหิดล ซึ่งมีฝายการแพทยทางเลือกโดยมีการรักษา ผูปวยในรูปแบบผสมผสาน เชน ผูปวยที่เลือกใชการฝงเข็มควบคูกับการนวดแผนไทย โดยการ รักษาดวยการแพทยแผนไทยจะเริ่มตนดวยการรักษาตามธาตุเจาเรือน ซึ่งเปนพื้นฐานในการรักษา โรค และเปนกระบวนการทีช่ วยปรับสมดุลธาตุและการใชชีวิต (www.matichon.co.th : ออนไลน) หรือจากการศึกษาวิจัยของทัศนีย ศรีญาณลักษณ (2554) ที่ศึกษาเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพแบบ ผสมผสานของผูปวยโรคความดัดโลหิต สูง พบวา รูปแบบของดูแลผสมผสานดวยการทําโยคะ ชีวจิตและชี่กง มีระดับผลการใชอยูในระดับมากเพื่อควบคุมโรค ซึ่งสามารถที่จะใชเปนแนวทางใน การสงเสริมและจัดระบบการดูแลแบบผสมผสานรวมกับการแพทยแผนปจจุบันแกผูปวยโรคความ ดัด โลหิตสูงไดอยางเหมาะสม การศึก ษาของนิลเนตร วีระสมบัติ และคณะ (2557) ซึ่งพบวา การฝงเข็มรวมกับการบูรณาการดูแลผูปวยเบาหวานที่มีอาการชาปลายเทา ดวยการทํากิจกรรม การออกกําลังเทา การนวดเทาดวยตนเอง การใชยา การใหความรู การคลายความเครียด การดูแล ชองปากและฟนทําใหผูปวยมีอาการชาเทาลดลงและมีการควบคุมเบาหวานดีขึ้น เปนตน บทสรุป องคความรูทางการแพทยแผนจีนเปนศาสตรที่มีการสั่งสมความรู ดัดแปลง ประยุกตให สอดคลองกับสถานการณการเปลี่ยนแปลงของโรคและการดูแลรักษาสุขภาพของมนุษยมาเปน เวลากวา 5,000 ป ซึ่งตั้งอยูบนพื้นฐานแนวคิดที่วามนุษยเปนสวนหนึ่งของธรรมชาติ มองชีวิตแบบ องครวม ยึดหลักความสมดุลระหวางกาย จิตใจ และจิตวิญญาณ ผลจากการที่การแพทยแผนจีน เปนศาสตรที่มีการจัดการอยางเปนระบบไดนําไปสูการพัฒนาแนวคิด ทฤษฎีที่ใชเปนแนวทางใน การอธิบายความเจ็บปวย การรักษาโรคและการดูแลสุขภาพ อาทิ ทฤษฎีอินหยาง ทฤษฎีปญ จ ธาตุ ทฤษฎีอวัยวะภายใน ทฤษฎีระบบลมปราณ ซึ่งรวมไปถึงการวิเคราะหอาการของโรคตางๆที่มี มุมมองสัมพันธกับธรรมชาติ สิ่งแวดลอม และพฤติกรรมการใชชีวิต ไดแก ลมฟาอากาศ อารมณ ภาวะโภชนาการ เปนตน โดยมีวิธีการวินิจฉัยรักษาดวยการใชประสาทสัมผัสทั้ง 5 ไดแก การใชตา ในการพิจารณามองดูอวัยวะตางๆของรางกาย การใชจมูกเพื่อดมกลิ่น การใชหูฟงเสียง การใช ปากซัก ถาม และการสัมผัสผิวหนัง เพื่อจีบ ชีพจร และมีวิธีการรักษาที่ขึ้น อยูกับลักษณะอาการ ของโรค ประกอบดวย 8 วิธี ไดแก การขับเหงื่อ การทําใหอาเจียน การระบาย การประสาน การให ความอบอุน การลดความรอน การบํารุง และการทําใหสลาย


54

และจากการที่องคความรูทางการแพทยแผนจีนไดแพรขยายไปสูทั่วทุกมุมโลกซึ่งรวมถึง สังคมไทยดวยโดยการติดตอปฏิสัมพันธของผูคนจากในอดีตจนถึงปจจุบัน อันไดแก บรรพบุรุษ ชาวจีนที่อพยพเขามาสูประเทศไทยประกอบอาชีพแพทยแผนจีนและสืบทอดความรูกันมาเปนรุน ตอรุน ความสนใจทางการแพทยแผนจีนในกลุมคนรุนใหม จึงทําใหการแพทยแผนจีนเปนทางเลือก หนึ่งใหแกคนไทยในการบําบัดรักษาความเจ็บปวยจากโรคตางๆ พรอมกับการที่ภาครัฐของไทยได แลเห็นความสําคัญดังกลาวจึงมีการจัดตั้งหนวยงานขึ้นมาดูแลการใชความรูทางการแพทยแผนจีน ในสั ง คมไทย ควบคู ไ ปกั บ ส ง เสริ ม การศึ ก ษาเรี ย นรู แ ละค น คว า วิ จั ย ทางการแพทย แ ผนจี น การพัฒนามาตรฐานทางการแพทยแผนจีน รวมทัง้ การผสมผสานความรูทางการแพทยแผนจีนกับ การแพทย แ ผนอื่ น ๆ ซึ่ง ทํ าให ค นไทยไดรั บ ประโยชน ใ นดู แ ลสุ ข ภาพจากความก า วหน าทาง การแพทยแผนจีนมากยิ่งขึ้น.


บทที่ 3 บริบททางสังคมและวัฒนธรรมของอําเภอดําเนินสะดวก บทนี้จะนําเสนอขอมูลพื้นฐานของอําเภอดําเนินสะดวก อันประกอบดวย ลัก ษณะทาง กายภาพของพื้นที่ ชุมชนการปกครอง กลุมคนที่อาศัยในพื้นที่อําเภอดําเนินสะดวกที่มีความเชื่อ และขนบธรรมเนียมประเพณี รวมทั้งการประกอบอาชีพทีเ่ ปนลักษณะเฉพาะ ซึ่งจะทําใหเห็นภาพ วิถีชีวิตหรือบริบททางสังคมและวัฒนธรรมของคนในอําเภอดําเนินสะดวก สามารถเชื่อมโยงไปสู การทําความเขาใจเกี่ยวกับประวัติความเปนมา พัฒนาการ และการใหบริการของรานเอี้ยะเลงฮึ้ง ไดอีกนัยหนึ่งดวย ลักษณะทางกายภาพของพื้นที่อําเภอดําเนินสะดวก ในอดีตนั้นพื้นที่บริเวณอําเภอดําเนินสะดวก เปนทะเลอันอุดมสมบูรณรอบอาวไทยแตเมื่อ กาลเวลาผานไปในชวง 3,000 ปที่ผานมา จนถึงปจจุบันไดกลายเปนแผนดินที่งอกตัวออกไปจาก ชายฝง ซึ่งเกิดจากการสะสมโคลนตะกอนของลําน้ําสายหลักที่ไหลลงสูอาวไทยตอนใน คือ แมน้ํา แมกลอง แมน้ําทาจีน แมน้ําเจาพระยา แมน้ําเพชรบุรี และแมน้ําบางปะกง จนกลายเปนที่ราบลุม กวางไพศาลหรือที่เรียกวาดินดอนสามเหลี่ยมปากแมน้ําเจาพระยาดานตะวันตก มีความสูงจาก ระดับน้ําทะเลปานกลางประมาณ 2-3 เมตร เปนพื้นที่ที่มีการสะสมของแรธาตุจากทะเลอยูใ น ปริมาณสูง เนื้อดินละเอียดเปนดินเหนียวหรือดินรวนปนดินเหนียวสีเทาเขมถึงสีดํา (สารคดี 2541: 38-39) สมรรถนะของดินบริเวณอําเภอดําเนินสะดวก จึงเหมาะสมกับการเพาะปลูกไมผลไมยืนตน โดยชุดดินสามารถแบงออกเปน 2 ตอน คือ ตอนลางของพื้นที่บริเวณตําบลดําเนินสะดวก ทานัด ศรีสุราษฎร ประสาทสิทธิ์ ดอนไผ บัวงาม ขุนพิทักษ สี่หมื่น และตาหลวง เปนดินชุดดําเนินสะดวก เปนดินที่เหมาะสมสําหรับปลูกไมยืนตนหรือพืชผักตางๆ และตอนบนของพื้นที่บริเวณตําบลบานไร ดอนคลัง ดอนกรวย แพงพวย และบัวงามบางสวน เปนดินชุดบางกอกเหมาะสมสําหรับการปลูก ข า ว ถ า ทํ า คั น ดิ น กั้ น น้ํ า และยกร อ งก็ ส ามารถที่ จ ะปลู ก พื ช ไร แ ละไม ผ ลได (พรรณทิ พ ย เปยมพุทธากุล 2537 : 38) บริเวณตอนลางของพื้นที่อําเภอดําเนินสะดวกยังมีระบบโครงขายคูคลองที่มีประสิทธิภาพ โดยมีคลองดําเนินสะดวกเปนคลองสายหลักและมีคูคลองซอยยอยซึ่งมีชื่อเรียกตางๆ อาทิ คลอง ลัดราชบุรี (ชาวจีนเรียกเพี้ยนไปวา คลองลัดพลี้ หรือ คลองลัดพลี โดยที่ภาษาจีนแตจิ๋ว เรียกคําวา “ราชบุ รี ”ว า “ลั ด พลี้ ”) คลองทองหลาง คลองศรี สุ ร าษฎร คลองบั ว งามหรื อ คลองโพหั ก


56

คลองตน หวา คลองสะเดา คลองวัดหลัก หกรัตนาราม คลองราง (คลองสวา งเจริญ ) คลอง กํานัน ฮวด คลองกํานัน คลองตน ตาล คลองโรงสี คลองไชฮวด คลองเจริญสุข คลองเลีย งเฮง คลองประเสริฐสุข คลองยงวัฒนา คลองเวฬุน าราม คลองเจริญราษฎร คลองสมบูรณทรัพย คลองวัด อุบ ล คลองบันได คลองตน ไทร (คลองฮกเกี้ย น) คลองตาโตะ คลองตนเข็ม เปนตน คลองซอยเหลานี้เชื่อมตอจากคลองดําเนินสะดวกซึ่งเปนคลองสายหลักหรือที่คนตั้งบานเรือนริม คลองจะเรียกวา “คลองใหญ” บางคลองซอยยอยก็เชื่อมตอถึงกันทําใหเกิดระบบการกระจายน้ํา และระบายน้ําไดอยางทั่วถึงเปนปจจัยสนับสนุนที่สําคัญตอการประกอบอาชีพเกษตรกรรมของ ชาวอําเภอดําเนินสะดวก พื้นที่โดยรวมของอําเภอดําเนินสะดวกในปจจุบันมีทั้งหมด 210.3 ตารางกิโลเมตร ตั้งอยู ทางทิศตะวันออกของตัวจังหวัดราชบุรีโดยมีอาณาเขตติดตอ ดังนี้ ทิศเหนือ ติดตอกับ อําเภอโพธารามและอําเภอบางแพ จังหวัดราชบุรี ทิศใต ติดตอกับ อําเภอเมืองสมุทรสงคราม และอําเภอบางคนที จังหวัดสมุทรสงคราม ทิศตะวันออก ติดตอกับ อําเภอบานแพว จังหวัดสมุทรสาคร ทิศตะวันตก ติดตอกับ อําเภอเมืองราชบุรี จังหวัดราชบุรี

รูปที่ 5 แผนที่อําเภอดําเนินสะดวกและอาณาเขตติดตอ


57

ชุมชนการปกครองในอําเภอดําเนินสะดวก อําเภอดําเนินสะดวก ประกอบดวยดวย 13 ตําบล และ 108 หมูบาน ดังนี้ 1. ตําบลดําเนินสะดวก ประกอบดวย 10 หมูบาน ไดแก บานคลองตนตาล บานคลองตน เข็ม บานศาลาหาหอง บานคลองหนองแกว บานคลองลัด บานตลาดน้ํา บานเจตั๊ว บานคลอง ตาไฮ บานคลองกอไผ และบานดําเนินสะดวก 2. ตําบลประสาทสิท ธิ์ ประกอบดวย 6 หมูบาน ไดแก บานรางเกษร บานตน กระทุม บานหนองงูเหลือม บานคลองสามวา (เจริญสุข) บานประสาทสิทธิ์ และบานตนไทร 3. ตําบลศรีสุราษฎร ประกอบดวย 11 หมูบาน ไดแก บานศาลเจาซําปอกง บานคลอง ตารัก บานวัดอุบ ลวรรณาราม บานหลัก หก บานศาลปูเ ขีย ว บานหลักเมือง บานศรีสุราษฎร บานคลองสังกะสี บานไทยพัฒนา บานคลองสะเดา และบานตาหลวงพัฒนา 4. ตํ าบลตาหลวง ประกอบดว ย 6 หมูบ าน ไดแ ก บา นคลองกอไผ บ านบางคนที บานคลองยายแพง บานคลองตาหลวง บานคลองมะยม และบานวัดปรกเจริญ 5. ตําบลดอนกรวย ประกอบดวย 12 หมูบาน ไดแก บานรางตับเตา บานหนองสลิด บานชายราง บานนัดพันลี้ บานโคกวัด บานโคกตะนาค บานโคกหวา บานโคกแขก บานคลอง มอญ บานรางลูกนาก บานโคกกรวย และบานหนองอากรณ 6. ตําบลบัวงาม ประกอบดวย 6 หมูบาน ไดแก บานบัวงาม บานตลาดบัว บานคอก ความ บานดงมะขามเทศ บานดอนขอย และบานตาลเรียง 7. ตําบลบานไร ประกอบดวย 8 หมูบาน ไดแก บานศาลา บานตนโพธิ์ บานมะขามหมู บานดงขี้เหล็ก บานนอก บานหัวสนุน บานชาวเหนือ และบานไร 8. ตําบลแพงพวย ประกอบดวย 12 หมูบาน ไดแก บานโคกหลวง บานทาเรือ บานหนอง ไกแกว บานอูตะเภา บานคลองปูเ จริญ บานดอนมดตะนอย บานโคกตะมั่ง บานนายรอ ย บานหนองชองลม บานคลองรัดชู บานปากคลองขุด และบานปูเจริญ 9. ตําบลขุนพิทักษ ประกอบดวย 9 หมูบาน ไดแก บานคลองขุนพิทักษ บานดอนสะแก บานคลองเม็ง บานหนองปลาเล็ก บานดอนฟก ทอง (หมู5) บานศาลไตเ ซี่ย บานรางหาตําลึง บานคลองสุวรรณพันเละ และบานดอนฟกทอง (หมู6 ) 10. ตําบลดอนไผ ประกอบดวย 7 หมูบาน ไดแก บานคลองกํานันฮวด บานตลาดแคระ บานคลองตนตาล บานแชไห บานศาลเจากิมเซี่ยงกง บานประชาสะดวกดี และบานคลองราง


58

11. ตําบลทานัด ประกอบดวย 8 หมูบาน ไดแก บานทานัด บานรางสีหมอก บานคลอง มอญ บานรางยาว บานคลองราษฎรเจริญ บานคลองตาเล็ก บานคลองวัดหลักหก และบานวัด คลองอุบล 12. ตําบลดอนคลัง ประกอบดวย 5 หมูบาน ไดแก บานโคกตับเปด บานโคกกลาง บานดอนคลัง บานหัวโคก และบานรางเฟอ 13. ตําบลสี่หมื่น ประกอบดวย 8 หมูบานไดแก บานสี่หมื่น หมู 1 บานสี่หมื่น หมู 2 บานสี่ หมื่น หมู 3 บานหนองบัว บานสี่หมื่น หมู 5 บานคูหาสวรรค บานสี่หมื่น หมู 7 และบานสี่หมื่น หมู 8 เอกลักษณทางสังคมและวัฒนธรรมของอําเภอดําเนินสะดวก สภาพแวดลอมทางภูมิศาสตรของอําเภอดําเนินสะดวก โดยเฉพาะการตั้งอยูใ นพื้นที่มี ความอุดมสมบูรณของทรัพยากรดิน และการมีระบบคูคลองที่เชื่อมโยงถึงกัน รวมทั้งลักษณะทาง ประชากรในพื้นที่ซึ่งมีชาวไทยเชื้อสายจีนเปนคนกลุมใหญที่อาศัยในพื้นที่รวมทั้งคนไทยพื้นถิ่น และกลุมชาติพันธุที่มีความเชื่อ ขนบธรรมเนียมประเพณี และการประกอบอาชีพไดหลอหลอมเปน เอกลักษณที่สําคัญของอําเภอดําเนินสะดวก ดังนี้ 1. สังคมดําเนินสะดวกเปนสังคมเกษตรกรรมหรือสังคมชาวสวนที่สําคัญของพื้นที่ ภาคกลางตอนลาง สังคมดําเนินสะดวกเปนสังคมเกษตรกรรม เต็มไปดวยเรือกสวนพืชผักผลไมนานาชนิด ทั้งนี้เปนผลมาจากการมีทรัพยากรที่สําคัญอยู 2 ประการคือ การมีชุดดินที่มีคุณภาพเหมาะแกการ เพาะปลูก และระบบโครงขายการระบายน้ําโดยมีคลองดําเนินสะดวกซึ่งเปนคลองสายหลักและ คลองซอยตางๆจํานวนมากที่เชื่อมโยงถึงกัน จึงทําใหพื้น ที่ของอําเภอดําเนินสะดวกโดยเฉพาะ พื้นที่ริมสองฝงคลองดําเนินสะดวกมีการเพาะปลูกเปนจํานวนมาก เปนแหลงเกษตรกรรมที่สําคัญ ของประเทศไทยตั้งแตอดีตจนถึงปจจุบัน โดยในอดีตมักจะไดยินวลีโบราณที่วา “สวนในบางกอก สวนนอกบางชาง” ดังที่สุดารา สุจฉายา (2541: 160) ไดกลาวไววา “ดว ยแต โ บราณแหลง ปลู ก ผลาหารหรื อผลหมากรากไม ที่ ค นไทย บริโ ภคกั น มัก ปลูก กัน มากในสวนสองแหลง คือ สวนใน อัน ไดแ ก เรือกสวนตามลําแมน้ําเจาพระยาตั้งแตเมืองนนทบุรี เมืองธนบุรีหรือ บางกอก ลงไปจนถึงเมืองพระประแดง และ “สวนนอก” อยูในแถบลํา น้ําแมกลอง ซึ่งคนทั่วไปแลวมักคิดวาอยูในเขตตําบลบางชาง อําเภอ


59

อัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม เพียงเทานั้น แตเมื่อไดพูดคุยสอบถาม กับชาวสวนดําเนินแลวปรากฏวา ผลผลิตที่ในสวนนอกนี้เปนผลผลิต สวนใหญจากชาวดําเนินสะดวกหาใชแตในเขตบางชาง สมุทรสงคราม แตอยางเดียว เพราะคําวา“บางชาง”ในอดีตครอบคลุมไปถึงเขตคลอง ดําเนินสะดวกดวย เนื่องจากแตเดิม จังหวัดสมุทรสงครามเปนแขวง หนึ่งที่รวมอยูกับจังหวัดราชบุรี เรียกวา“แขวงบางชาง”ตอมาในปลาย สมัยกรุงศรีอยุธยาตนสมัยธนบุรีจึงไดแยกออกจากแขวงจังหวัดราชบุรี เรียกวา“เมืองแมกลอง” การทําเกษตรกรรมในพื้นที่อําเภอดําเนินสะดวกนั้นมีชาวไทยเชื้อสายจีนและชาวไทยพื้น ถิ่นเปนผูที่มีความเชี่ยวชาญในการเพาะปลูกมีการปรับสภาพแวดลอมในพื้นที่ใหเปนประโยชนตอ การประกอบอาชีพดวยการทําสวนยกรอง โดยในขั้นแรกเกษตรกร จะทําพื้นที่วางใหเปนสวนๆโดย การยกรอง ซึ่งเรีย กวา “การเบิก สวน” แลวทําคันลอมรอบสวนที่เบิกนั้น สวนหนึ่ง ๆ จะมีพื้น ที่ โดยทั่วไปประมาณ 10 ไร สามารถแบงเปนรองหรือที่เรียกวาขนัดสวนไดป ระมาณ 10–15 รอง ซึ่งนับเปนภูมิปญญาที่ไดมีการสืบทอดกันมาอยางตอเนื่องหลายชั่วอายุคนจนถึงปจจุบัน ระบบ สวนยกรองจะเชื่อมตอกับระบบโครงขายน้ําลําคลองสายรองและสายหลักเพื่อทดน้ําหรือปลอยน้ํา ออกจากสวน ลักษณะพื้นฐานของสวนยกรองนั้น ชาวสวนจะขุดทองรองสวนใหมีขนาดกวาง เพียงพอที่เรือสามารถพายเขาไปได ชาวสวนสามารถที่จะเก็บผลผลิตและขนสงผลผลิต รวมทั้ง การดูแลรักษาพืชผักไดงายและรวดเร็วขึ้น (วาริกา มังกะลัง, 2556: 146) ลักษณะทั่วไปของสวนใน พื้นที่อําเภอดําเนินสะดวกแบงเปน 2 ประเภทใหญๆ คือ สวนเตี้ย และสวนสูง ซึ่งประเภทของสวน นี้เรียกตามความสูง–ต่ําของคันสวนที่ลมรอบรองสวน (ราตรี โตเพงพิพัฒน, 2543:159)

รูปที่ 6 ลักษณะของสวนยกรองในอําเภอดําเนินสะดวก


60

สวนเตี้ย มีมากในสมัยแรกเริ่มของการบุกเบิกการทําสวนในพื้นที่อําเภอดําเนินสะดวก ลักษณะของสวนจะมีคันดินที่มีความสูงพอๆกันกับรองสวน สวนประเภทนี้ไมสามารถปลูกพืชใน ราวเดือน 8 ใกลเทศกาลเขาพรรษา ซึ่งจะเปนฤดูน้ําหลากได จะถูกน้ําทวม เพราะไมมีคันดินที่สูง พอเพื่อกั้นน้ํา โดยน้ําจะทวมสวนเตี้ยประมาณ 3–4 เดือน พืชที่ปลูกสวนใหญไดแกพืชประเภท ลมลุกประเภทผัก ซึ่งมีทั้งผักไทยแลผักจีน ที่นิยมมาก เชน พริก หอม กระเทียม แตงโม ผักกาดขาว คะนา ถั่วลิสง ถั่วแดง ถัวเหลือง ถั่วฝกยาว กะหล่ําปลี กะหล่ําดอก ใชเทา ผักชี บวบ ขึ้นฉาย มะเขือตางๆ แฟง แตงกวา แตงราน แตงไทย ฟกทอง ขาวโพด เปนตน การปลูกพืชตางๆ ในสมัย แรกๆ ที่ยังมีน้ําหลากนั้นสามารถเพาะปลูกไดงายเพราะดินเหมาะแกการเพาะปลูก การดูแลลงทุน มีนอย เนื่องจากไมคอยมีวัชพืชและแมลงรบกวน และพื้นดินก็ดีไมตองเสียเงินซื้อปุยเพราะดินนั้นมี แรธาตุที่ชวงน้ําหลากนํามาสั่งสมไวและกําจัดศัตรูพืชไปในตัว ผลผลิตที่ไดจากสวนก็มีคุณภาพ และปริมาณที่มากตามไปดวย ดังสะทอนจากคําบอกเลาของพระครูสิริวรรณวิวัฒน (2544: 82) ที่ เลาถึงการเพาะปลูกและคาขายแตงโมในอดีตวา “สําหรับแตงโมสมัยนั้น พ.ศ.2480 ขาพเจาจําความไดเปลือกแตงโม จะมีสีน วล คือสีเ ขีย วนวล หรือเรีย กอีก นัย หนึ่งวา แตงโมบางเบิ ก แตงโมที่นิยมกินกันใหรสหวานในสมัยนั้นตองแตงโมเขตดอนฟกทอง เขตขุนพิทักษ ซึ่งเปนแดนแตงโมที่หวาน เรียกกันวาแตงโมเนื้อทราย ตลาดนัดแตงโมที่ใหญที่สุดในอําเภอดําเนินสะดวก ก็คือที่บริเวณหนา วัดหลักหกรัตนาราม จะมีเรือคาขายแตงโมเต็มไปหมด...ในฤดูหนา แตงโม 3 เดือน คือ เดือน12-1-2 จะมีคนนําแตงโมมาขายเต็มไปหมด นํามาถวายพระ หรือเวลาพระพายเรือไปบิณฑบาต... แตงโมสมัยนั้น เก็บไวไดนาน เพราะปลูกโดยธรรมชาติ ใสปุยมูลคางคาว เมื่อเก็บ จากตนแลวเก็บเอาไวไดนานประมาณ 3 เดือน ไดอยางสบาย” วิธีการปลูกพืชในพื้นที่ของสวนเตี้ยในรอบปหนึ่ง ๆจะมีการเพาะปลูก ประมาณ 2 ครั้ง ไดแก ชวงแรก เรียกวา “ปลูกหนาป” คือ การปลูกพืชหลังฤดูน้ําหลาก และ“การปลูกหนาปรัง”ใน เดือน 5–8 คือในชวงฤดูฝน พืชที่ปลูกในการปลูกหนาปรังนี้จะเปนพืชลมลุกตาม แตจะมีอายุ ไมเกิน 3 เดือนโดยประมาณ สําหรับสวนเตี้ยในปจจุบันชาวสวนไมนิยมทํากันแลว โดยไปทําพื้นที่ ใหเปนสวนสูงแทน เพราะงายตอการดูแล และปลูกพืชไดตลอดทั้งป (ราตรี โตเพงพัฒน, 2543: 159-161)


61

สําหรับสวนประเภทที่สอง คือ สวนสูง ลักษณะของสวนจะมีคันดินรอบสวนสูงกวารอง หรือขนัดในสวน อันเปนที่ปรากฏมากในพื้นที่อําเภอดําเนินสะดวกในปจจุบัน การทําสวนประเภท นี้ตองใชเงินทุนมากพอสมควร เพราะการถมคันดินจะตองจางแรงงานหรือรถแม็คโคสําหรับสราง ฐานดิ น ใหคั น สวนใหญแ ละมั่ น คง ซึ่ง กว าคั น ดิ น นี้ จ ะอยูตั วต องใช เ วลานานประมาณ 4 ป นอกจากนี้ยังมีการปลูก ตนไมที่มีรากยึดคันไดดีลอมรอบสวนเพื่อเปนการยึดพื้นดินใหติดกันไม พัง ทลายงายและคัน ดิน ไมพังในเวลาหนาน้ํา ตน ไมที่ป ลูก กัน สวนใหญ เชน มะมวง มะพราว มะกอก มะรุม เปนตน สําหรับพืชผลที่ปลูกในรองสวน มีทั้งพืชลมลุกและยืนตน สามารถทําการ เพาะปลูกไดตลอดทั้งป แตอยางไรก็ดีผลเสียของการทําสวนสูงก็ประสบปญหาอยูเชนกัน เพราะ สวนสูงเปนที่สั่งสมศัตรูพืชตางๆ เนื่องจากไมไดถูกน้ําทวม ทําใหเกษตรกรตองหันมาใชยาฆาแมลง กันเปน จํานวนมาก เมื่อมีการใชมากขึ้น ศัต รูพืชทั้ง หลายเริ่มดื้อยา ตองหายาฆาแมลงชนิดที่มี ความรุนแรงยิ่งขึ้น มาใชปราบอีก เปนเหตุใหคาใชจายของเกษตรกรเพิ่มสูงขึ้นอีกนัยหนึ่ง และหาก เกษตรกรใชสารเคมีไมถูกตองตามวิธีก็จะเปนอันตรายแกตนเองดวย ในทางตรงกันขามสวนเตี้ย กลับ ไดรับปุย ธรรมชาติที่มาในชวงฤดูหนาน้ําอยางอุดมสมบูรณ ดังนั้นการทําสวนสูง ทั้งหลาย เกษตรกรจึงหันไปซื้อปุย สารเคมีตางๆ มาบํารุงดิน ทําใหเกิดการสะสมของสารพิษในดินอันจะ สงผลตอระบบนิเ วศทั้งผูผลิตหรือเกษตรกร ผูบ ริโภค และเกิดมลภาวะกับ ดิน และน้ําในที่สุด ซึ่งนับวันเกษตรกรชาวสวนดําเนินสะดวกนิยมใชกันเพิ่มมากขึ้น ซึ่งสอดคลองกับกับบอกเลาของ พระครูสิริวรรณวิวัตน (2544: 70) ที่กลาวถึงสถานการณการเพาะปลูกของชาวสวนดําเนินสะดวก ไววา “สิ่ง ที่เปน ภาระและหนัก ใจของชาวสวนดําเนินสะดวก ก็คือ ยาฆา แมลง ซึ่งชาวสวนจะตองซื้อมาใชปหนึ่งๆเปนเงินที่มากอยูไมใชนอย พืช ผัก ผลไมของดําเนินสะดวก ปจจุบันนี้ตองเอาจากทองที่อําเภออื่น มาขาย ซึ่งของดําเนินสะดวกทนจากการลงทุนดานน้ํายาฆาแมลงไม ไหว สําหรับปุยใสแลวยังรูจักพอ แตน้ํายานี้ไมรูจักพอ ชาวสวนเลยไม กล า ปลู ก ผั ก หั ว หอม หั ว กระเที ย ม แตงโม แตงร า น แตงกวา แปะฉาย คะนา ใชเ ทา กะหล่ําปลี กะหล่ําดอก ตั๊วฉายที่มีขายอยู มากมายในขณะนี้ ไมใ ชของพื้น เมื องดําเนิน สะดวก แตไปเอาจาก จังหวัดอื่นๆมาขายเพราะของพื้นเมืองบานเราหายไป ไมกลาปลูก” ชวงประมาณป พ.ศ. 2510 การปลูกพืช ผักเริ่มลดจํานวนลงเพราะแมลงตางๆเริ่มเพิ่ม จํานวนมากขึ้น เกษตรกรชาวสวนดําเนินไดใชยาฆาแมลงใสปุยบํารุงกันมากจนไมคุมกับเงิน ที่


62

ลงทุน ไป พืช ผลตางๆที่เ คยเพาะปลูก กัน มาในอดีตอยาง หอม กระเทีย ม พริก รวมทั้งแตงโม บางชนิด ตลอดจนผัก อื่นๆ เริ่มหายและสูญพัน ธุไปในที่สุด เกษตรกรชาวสวนในพื้น ที่ดําเนิน สะดวก จึงหันมาปลูกพืชจําพวกไมยืนตนที่เปนผลไมแทน เชน องุน มะละกอ พุทรา สม ฝรั่ง กลวย นอยหนา มะเฟอง มะขามหวาน มะขามเทศ มะละกอ มะมวง มะพราวน้ําหอม เปนตน พืชผล เหลานี้จ ะปลูกหมุนเวีย นกัน ไปตามความตองการของตลาด เปนทั้งสินคาที่สง ขายภายในและ ตางประเทศ ซึ่งสรางรายไดใหกับเกษตรกรชาวสวนดําเนินสะดวกอยางตอเนื่อง (ราตรี โตเพงพัฒน ,2543: 161–162) 2. สังคมดําเนินสะดวกเปนสังคมหลากหลายชาติพันธุ โดยมีชุมชนชาวไทยเชื้อ สายจีนเปนคนกลุมใหญ ชาวไทยเชื้อสายจีนนับเปนคนกลุมใหญที่ตั้งบานเรือนอยูในพื้นที่อําเภอดําเนินสะดวกซึ่ง การเขามาของชาวจีนนั้นเริ่มจากภายหลังการขุดคลองดําเนิน สะดวกเสร็จ แลว ประมาณ พ.ศ. 2411 โดยสันนิษฐานไดวาชาวจีนกลุมแรกๆนาจะเปนกลุมชาวจีนที่เปนแรงงานขุดคลองดําเนิน สะดวกที่เขามาจับจองพื้นที่ริมคลองดําเนินสะดวกตั้งถิ่นฐานบานเรือน โดยในชวงระยะนั้นยังไมมี กรรมสิทธิ์ในที่ดิน จึงตองเชาพื้นที่เพื่ออยูอาศัย และทําการเกษตร หรือบางกลุมเลือกเชาพื้นที่เพื่อ การคาขายและรับจางตอเรือ (วาริกา มังกะลัง, 2556: 87) ในชวงเวลาตอมา พ.ศ.2450 ซึ่งถือไดวาเปนชวงที่ชาวจีนอพยพเขามาในดินแดนประเทศ ไทยมากทีส่ ุด ชาวจีนที่เขามาสามารถแบงออกเปน 5 กลุมโดยจําแนกตามภาษาพูด ไดแก ชาวจีน กลุมแตจิ๋ว แคะ ไหหลํา กวางตุง และฮกเกี้ยน ชาวจีนเหลานี้กระจายตัวกันอยูในเขตอําเภอเมือง ราชบุรี อําเภอดําเนินสะดวก และอําเภอบานโปง (William G. Skinner 1957: 112-113) โดยกลุม ชาวจีนแตจิ๋วอาศัยกันอยูมากในพื้นที่อําเภอดําเนินสะดวก สําหรับสาเหตุที่ชาวจีนไดเลือกพื้นที่ อําเภอดําเนินสะดวกเปนแหลงทํากิน และตั้งถิ่นฐาน ปจจัยหลักเปนเพราะพื้นที่ดังกลาวมีชาวจีนที่ ไดเขามาอาศัยกอนหนานี้อยูแลวพอสมควรภายหลังการขุดคลองดําเนินสะดวกและไดชักชวนกลุม เพื่อนชาวจีนเขามาอาศัยอยูดวยกันซึ่งพอจะนําไปสูลูทางในการทํามาหากินจากการชวยเหลือ เกื้ อ กู ล กั น ได เหตุ ผ ลประการต อ มาคื อ การที่ พื้ น ที่ อํ า เภอดํ า เนิ น สะดวกอยู ไ ม ไ กลจาก กรุงเทพมหานครมากนักสามารถที่จะเดินทางไปมาโดยการสัญจรทางน้ําผานคลองดําเนินสะดวก ไดอยางสะดวกในการติดตอทํามาคาขาย ประกอบธุรกิจตางๆ พื้นที่ริมคลองดําเนินสะดวกจึงเปน แหลงดึงดูดใหกลุมชาวจีนเขามาตั้งถิ่นฐานบานเรือนกันอยางตอเนื่องเกิดเปนชุมชนชาวไทยเชื้อ สายจีน ตามยานตางๆ โดยหลัก ฐานที่สะทอนถึงการดํารงอยูของชุมชนชาวจีนในพื้น ที่อําเภอ ดําเนินสะดวกก็คือ “ศาลเจาจีน ” หรือภาษาแตจิ๋วที่เ รียกวา “ตั๊ว” ที่มีอยูจํานวนมากในอําเภอ


63

ดําเนิน สะดวกโดยปจ จุบัน ที่จ ดทะเบีย น จํานวน 12 แหง และยัง ไมไดขึ้น ทะเบีย นอีก 20 แหง (สํานักประชาสัมพันธจังหวัดราชบุรี : ออนไลน) ศาลเจาจีนเหลานี้ตั้งเรียงรายอยูริมสองฝงคลอง ดําเนินสะดวก และตามคลองซอยสายสําคัญๆ อาทิ ทงจี้ตึ้ง ฮะยี่ตั๊ว ฮีฮกตั๊ว เฮียงหลีตั๊ว ซือฮกตั๊ว ทงเฮงตั๊ว ฮะซุนตั๊ว จินเซงตั๊ว ไหลเก็กตั๊ว ไทเอ็กตั๊ว ศาลเจา สําปอกง ศาลเจากิมเซี่ยงกง ฮี้ฮกตั๊ว เปนตน ศาลเจาจีนดังกลาวถูกสรางขึ้นดวยความสัมพัน ธทางสังคมของทองถิ่น ซึ่งใชเปนพื้น ที่ ประกอบพิธีก รรม ความเชื่อตามขนบธรรมเนีย มประเพณีจีน เปนพื้น ที่ปฎิสังสรรคพูดคุย ของ สมาชิกในชุมชนชาวไทยเชื้อสายจีน คนในตระกูลแซเดียวกันหรือศาลเจาบางแหงใชเปนสถานที่ สมาคมของทองถิ่นเดียวกัน โดยคนจีนถือวาจะเปนญาติหรือไมเปนญาติกันนั้นแตถาเปนคนที่มา จากทองถิ่นเดียวกันมักจะสนิทสนมกัน ดังนั้นคนจีนจึงนิยมใชศาลเจาเปนที่ผูกสานความสัมพันธ ทางสังคม เชน สรางความรูจักกับเพื่อนสมาชิกใหม เจรจาธุรกิจ หรือแนะนําอาชีพ เปนตน (ตวน ลี่ เซิง 2543: 13) ศาลเจาจีนในอําเภอดําเนินสะดวกยังเปนที่พึงพิงทางจิตใจ และจิตวิญญาณของ คนในชุมชน ศาลเจาบางแหงมีการประทับรางทรงเทพเจาตางๆ เชน คุณแมยี่เนี่ย เจาแมทับทิม เทพอาเนี้ย เทพโปยเซียน เพื่อเปนที่ใหคําปรึกษาแกคนในชุมชนเกี่ยวกับสิ่งเหนือธรรมชาติ การ บําบัดรักษาโรคภัยไขเจ็บดวยการแนะนําตัวยาสมุนไพรที่ใชรักษาอาการเจ็บปวย และการทําพิธี สะเดาะเคราะหในรูปแบบตางๆ เปนตน

รูปที่ 7 ศาลเจาจีนในอําเภอดําเนินสะดวก ชาวจีนที่อพยพเขามาตั้งถิ่นฐานในพื้นที่อําเภอดําเนินสะดวกไดผสมกลมกลืนใหเปนสวน หนึ่งคนไทยเชื้อสายจีนดวยการแตงงานกับคนไทยในทองถิ่น คนไทยเชื้อสายจีนดวยกันสืบเชื้อสาย มีบุตรหลานรุนตอรุนจํานวนมาก William G. Skinner (1957: 127-144) ไดวิเคราะหถึงสาเหตุที่ คนจีนยังคงอัตลักษณดั้งเดิมและผสมผสานกับคนไทยไดเปนอยางดี เนื่องจากการที่สังคมจีนและ สัง คมไทยมีความเชื่อใกลเ คีย งกัน คือการนับ ถือพระพุท ธศาสนา ความเชื่อเรื่องสิ่งศัก ดิ์สิท ธิ์ มีภาษาคําโดดเหมือนกัน ซึ่งความยึดมั่นในความคิดแบบจีนยังฝงลึกทําใหชาวจีนถูกกลืนเปนไทย


64

ไดย ากเพราะชาวจีนยัง คงยึด ถือประเพณีจีน ที่มีมาแตโบราณ และมีอุป นิสัย ขยันขันแข็งทํามา หากิน ซื่อสัตย สุจริต และจริงใจโดยเฉพาะความเชื่อเกี่ยวกับความกตัญูตอบรรพบุรุษซึ่งเปนตัว เสริมใหจีนเกิดการผสมผสานกับความเชื่อแบบไทย เอกลักษณของชาวไทยจีนสายจีนนอกจากจะสะทอนออกมาจากอุปนิสัยใจคอที่มีความ มุ ง มั่ น ขยั น อดทนในการประกอบอาชี พ การรู จั ก ออมแล ว ยั ง ปรากฏในด า นความเชื่ อ ขนบธรรมเนียมประเพณีอีกดวย เชน ประเพณีเกี่ยวกับชีวิตตั้งแตเกิดไปจนตาย ประเพณีประจําแต ละเดือนในแตละปที่ชาวไทยเชื้อสายจีนในอําเภอดําเนินสะดวกปฏิบัติสืบทอดกันมาหลายชั่วอายุ คนซึ่งแฝงคติความเชื่อในเรื่องความสัมพันธระหวางมนุษยกับมนุษย สิ่งเหนือธรรมชาติ ความเชื่อ เกี่ยวกับบรรพบุรุษที่ลวงลับ การทําบุญและการใหทาน อาทิ เทศกาลชุงเจหรือวันตรุษจีน ตรงกับ วันที่ 1 เดือน 1 ตามปฎิทินจีน ซึ่งเปนวันขึ้นปใหมของชาวจีน เทศกาลซางวยซิวซาหรือเช็งเม็ง ในชวงเดือน 3 ขึ้น 3 ค่ํา เปนการไหวบรรบุรุษที่ลวงลับ ณ สุสานหรือฮวงซุย เทศกาลโหงยเหวยโจย ตรงกับเดือน 5 ขึ้น 5ค่ํา หรือการไหวขนมบะจางหรือปกจั่ง เทศกาลกุยโจย (ซิโกว) หรือการทําบุญ ทิ้งกระจาด ในเดือน 7 ขึ้น 7 ค่ํา เทศกาลตงงวงโจยหรือวันสารทจีน เดือน 7 ขึ้น 15 ค่ํา เทศกาล โปยเซีย นหรือการไหวเทพเซีย นทั้ง 8 องค ในเดือน 8 ขึ้น 8 ค่ํา เทศกาลตงชิวโจย หรือการไหว พระจันทรในเดือน 8 ขึ้น 15 ค่ํา เทศกาลเกาโหวยเจหรือกินเจ เริ่มในเดือน 9 ขึ้น 1 ค่ํา เทศกาล ขนมบัวลอย เทศกาลเซียเซง พิธีไหวสงเจาขึ้นสวรรคในเดือน 12 ของปฎิทินจีน รวมทั้งการไหวเจา ประจําทุกวันพระจีน หรือชิวอิด จับโหงวที่ชาวไทยเชื้อสายจีนไดปฏิบัติตลอดทั้งป นอกจากชาวไทยเชื้อสายจีนซึ่งเปนคนกลุมใหญในพื้นที่ดําเนินสะดวกแลวในพื้นที่อําเภอ ดําเนินสะดวกยังมีกลุมชาวไทยเชื้อสายลาวโซงหรือ “ไทยทรงดํา” หรือ “ผูไทดํา”ซึ่งเปนชื่อที่คนไทย ภาคกลางใชเรียกชาติพันธุกลุมนอยกลุมหนึ่งที่อพยพจากเขตสิบสองจุไทในประเทศเวียดนามตอน เหนือที่เขามาตั้งหลักอาศัยในลุมแมน้ําเจาพระยาเมื่อประมาณสองศตวรรษเศษที่ผานมา สาเหตุที่ ใชชื่อดังกลาวสัน นิษ ฐานกัน วาเปน การเรีย กตามสีเ ครื่องแตงกายที่นิย มแตงดวยเสื้อผาสีดํ า เปนหลัก กลุมผูไทอพยพเขามาในประเทศไทยหลายครั้งในฐานะเชลยศึกสงครามในสมัยธนบุรี และรัตนโกสินทรตอนตน ซึ่ง ถูกสงใหไปอยูที่จังหวัดเพชรบุรี เนื่องจากพื้นที่ดังกลาวมีลัก ษณะ ภูมิประเทศที่คลายคลึงกับ บริเวณสิบ สองจุไท ทั้งยัง อยูใกลกับ ตัวพระนครทําใหสะดวกแกการ ควบคุม อยางไรก็ตามภายหลังการออกพระราชบัญญัติการเกณฑทหารและยกเลิกระบบไพรใน สมัยรัชกาลที่ 5 ทําใหควบคุมผานระบบมูลนายยุติลง จึงทําใหชาวลาวบางสวนตัดสินใจอพยพ ยายถิ่นฐานเพื่อไปแสวงหาพื้นที่ทํากินแหลงใหม การกลับภูมิลําเนาเดิม หรืออีกสาเหตุหนึ่งที่มีการ


65

พยายามอธิบ ายถึงการอพยพออกจากพื้ น ที่ ตามที่สุ มิตร ปติพัฒน และเสมอชั ย พลูสุวรรณ (2540) ไดวิเคราะหวา การยกเลิกระบบการปกครองไพรโดยมูลนายเปนชองทางหนึ่ง ที่ทําให โครงสรางสังคมตามวัฒนธรรมดั้งเดิมของลาวโซงโดยเฉพาะองคกรระดับบานไดมีทางที่จะกลับมา แสดงออกไดอีกครั้ง โดยปรากฏไดชัดเจนในชุมชนใหมๆซึ่งแตกตัวออกไปมากกวาในชุมชนเกา ซึ่งถูกครอบดวยการจัดระเบียบทางสังคมตามระบบมูลนายมาเปนเวลาชานาน ชาวลาวจึงอาศัย การเดินเทาจากจังหวัดเพชรบุรีขึ้นไปเรื่อยๆ เมื่อถึงฤดูฝนจะหยุดพักเพื่อทํานาหาเสบียงจนสิ้นสุด ฤดูฝนจึงเดินทางตอ บางกลุมไมสามารถเดินทางตอไปไดจึงตั้งหลักปกฐานไปตามรายทางเปน แหงๆตามจังหวัดตางๆในเขตภาคกลางตอนลางไปจนถึงตอนบน เชน ราชบุรี นครปฐม สุพรรณบุรี กาญจนบุรี พิษณุโลก และพิจิตร เปนตน (มูลนิธิไทยทรงดําแหงประเทศไทย, 2548) สําหรับ การอพยพของชาวลาวโซงในพื้น ที่อําเภอดําเนิน สะดวก ไดเ ขามาตั้งถิ่น ฐาน กระจายตัวในตําบลดอนคลัง บัวงาม และประสาทสิทธิ์ ที่บานดอนขอย บานตาลเรียง บานบัวงาม บานโคกหลวง บานโคกกลาง บานดอนคลัง ซึ่งในอดีตนั้นมีอาชีพทํานาเปนหลัก เอกลักษณทาง วัฒนธรรมของชาวลาวโซงในพื้น ที่ดําเนิน สะดวก แลเห็น ไดชัดเจนจากวัฒนธรรมการแตง กาย ทรงผม การใชภาษาพูด พิธีกรรมเกี่ยวกับชีวิตสวนตัว เชน พิธีซอนขวัญ เสนแมมด เสนเปาป และ การแตงงานแบบดั้งเดิม หรือการกินหลอง/การกินดอง พิธีเสนเรือน พิธีศพ ซึ่งยึดโยงเกี่ยวกับคติ ความเชื่อผีบรรพบุรุษ นอกจากนี้ยังมีการละเลนตางๆ อาทิ การเลนคอนของหนุมสาวชาวลาวโซง ซึ่งคลายคลึงกับ การโยนลูก ชวง และการรําตามจังหวะเพลง การตอกลอน การลงขวงหรือการ ทํางานที่บริเวณลานบานชวงกลางคืนของหนุมสาว ไดแก การปนฝาย การเย็บปกถักรอย การจัก สาน การตําขาว เปนตน ซึ่งการละเลนเหลานี้แทบจะไมปรากฏใหเห็นแลว ยังคงเหลือการรําแคน หรื อ รํา ลาว ที่เ ป น การฟอ นรํา ตามเสี ย งเพลงของหนุม สาวเพื่ อการเกี้ ย วพาราสี แต ปจ จุ บั น การละเลนดังกลาวไดถูกประยุกตไปละเลนในเทศกาลงานบุญตางๆสําหรับคนทุกเพศวัยในชุมชน

รูปที่ 8 การจําลองหมูบานไทยทรงดํา ที่บานดอนคลัง

รูปที่ 9 การละเลนรําลาวของชาวไทยทรงดํา


66

อําเภอดําเนินสะดวกยังมีชุมชนคริสตศาสนิกชน สังกัดนิกายโรมันคาทอลิก สังฆมณฑล ราชบุรี ที่ปรากฏอยูจํานวน 2 แหง ไดแก ชุมชนชาวมดตะนอย ในเขตตําบลแพงพวยเปนที่ตั้งของ วัดนักบุญอันตนนีโอ ที่มีประวัติกอการตั้งอยางยาวนานตั้งแตป พ.ศ.2439 รวมทั้งยังเปนที่ตั้งของ โรงเรียนดําเนินวิทยา และชุมชนชาวหลักหา ในตําบลประสาทสิทธิ์ เปนที่ตั้งของวัดแมพระสาย ประคําศักดิ์สิทธิ์ ในเขตตําบลประสาทสิทธิ์ กอตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ.2497 และยังเปนที่ตั้งของโรงเรียน วันทามารีอา ชุมชนทั้งสองแหงมีโบสถเปนศูนยกลางของคริสตชนและสถานศึกษาที่เปดสอนใหแก บุตรหลานทุกศาสนิกชนของคนในชุมชนละแวกดังกลาวและพื้นที่ใกลเคียง

รูปที่ 10 วัดแมพระสายประคําศักดิ์สิทธิ์

รูปที่ 11 วัดนักบุญอันตนนีโอ

3. สังคมดําเนินสะดวกเปนชุมชนที่มีการตั้งถิ่นฐานริมน้ํา คูคลอง สะทอนวิถีชีวิต ริมน้ํา และการคาขายริมน้ําหรือ “ตลาดน้ํา” การตั้งถิ่นฐานของชุมชนในอําเภอดําเนินสะดวกกอนมีการขุด คลองดําเนินสะดวกนั้น สันนิษฐานกัน วานาจะอยูบ ริเ วณแนวคลองแพงพวยและคลองสี่ห มื่น เนื่องจากคลองดังกลาว สามารถเชื่อมตอไปยังแมน้ําแมกลองซึ่งเปนลําน้ําสายสําคัญในการคมนามคมลองเรือสินคาไปยัง ตอนในของพื้นที่คือตัวเมืองราชบุรี เพื่อตัดเขาสูแมน้ําทาจีน และผานเขาสูแมน้ําเจาพระยาเขาถึง กรุงศรีอยุธยาได (องคการคาคุรุสภา, 2542: 61) ชุมชนกอนการขุดคลองดําเนินสะดวก จึงตั้ง กระจายตัวอยูริมแนวคลองทั้งสอง โดยมีวัดโคกหลวงที่สัน นิษฐานวาสรางขึ้น ในสมัย อยุธยา สะทอนจากรูปแบบทางสถาปตยกรรมของพระอุโบสถที่รวมสมัยเดียวกับอยุธยาวัดแหงนี้บริเวณ กวางขวางมาก นับเปนวัดที่มีความสําคัญของชุมชนในที่ราบลุม และยังมีวัดใหมสี่หมื่นที่ตั้งขึ้นราว ป พ.ศ.2337สมัย รัตนโกสิน ทรตอนตน โดยประชาชนในพื้น ที่สวนใหญป ระกอบอาชีพทํานา


67

เปนหลัก วัดทั้งสองแหงจึงเปนศูนยกลางของชุมชนในชวงกอนการขุดคลองดําเนินสะดวก ในชวง เวลาตอมาเมื่อมีการขุดคลองดําเนินสะดวกจึงเกิดการระดมทรัพยากรตางๆ โดยเฉพาะผูคนที่เปน ทั้งชาวจีน ชาวเขมร ชาวมอญ และชาวไทยจํานวนมากเพื่อเขามาเปนแรงงงานในการขุดคลอง ดําเนินสะดวก แรงงานเหลานี้จึงเขามาพํานักอาศัยตามแนวการขุดคลอง และเมื่อการขุดคลอง แลวเสร็จ เกิดการเขามาจับจองพื้น ที่ริมน้ําของผูค นมากมายเปนที่ตั้งถิ่นฐานพัฒนากลายเปน ชุมชนริมคลองตามยานตางๆ

รูปที่ 12 วัดโคกหลวง

รูปที่ 14 วัดใหมสี่หมื่น

รูปที่ 13 วัดหลักหกรัตนานาม

รูปที่ 15 วัดปราสาทสิทธิ์

จากบันทึกพระราชหัตถเลขาของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัวเมื่อคราวเสด็จ ประพาสมณฑลราชบุรี พ.ศ.2452 ที่บรรยายวา “สภาพริมคลองดําเนินสะดวกมีการขยายตัวของ ชุมชนที่ชัดเจนตั้งแตหลักที่ 1 เปน ตน ไป มีการเปลี่ย นพื้นที่เ ดิมที่เปนปาจาก ปาปรง เปน พื้น ที่ ทางการเกษตรกรรม พาณิชยกรรม มีวัดและชุมชนอยูอาศัย” สอดคลองกับการศึกษาวิจัยของ


68

Robert Larimore Pendleton (1936 อางถึงในวาริกา มังกะลัง 2556) ไดอธิบายลักษณะการตั้ง ถิ่นฐานของชุมชนชวงกอนสงครามโลกครั้งที่ 2 ไววา พื้นที่สองฝงคลองมีการวางลักษณะอาคาร บานเรือนที่ใ กลชิด กัน คลายเรือนแถวซึ่ง กอขึ้น ดวยไม สัน นิษ ฐานวาอาจเปนเรือนแถวคาขาย เนื่องจากดานหนาเรือนแถวนั้นมีเรือจอดหลายลํา อีกทั้งยังปรากฏการตั้งบานเดี่ยวริมคลอง ซึ่ง ดานหลังของบานปลูกเปนสวนพริกไทย ชาวสวนจะทําการขุดคลองยอยเพื่อชักน้ําเขาสูสวน และ สรางสะพานเล็กขามคลองยอย การขยายตัวองชุมชนริมคลองดําเนินสะดวกในพื้นที่อําเภอดําเนิน สะดวกจึงเริ่มที่วัดเปนศูนยกลาง โดยวัดที่สําคัญซึ่งมีการสรางขึ้น คือ วัดปราสาทสิทธิ์ และวัดหลัก หกรัตนาราม

รูปที่ 16 เรือนแถวริมคลองดําเนินสะดวกและลําคลองยอยและสวนพริกไทย พ.ศ.2479 ที่มา : Larimore Pendleton 1936 อางถึงในวาริกา มังกะลัง 2556 ในชวง พ.ศ.2479 เปนตนมา คลองดําเนินสะดวกไดทวีความสําคัญมากยิ่งขึ้นเนื่องจาก เปนเสนทางที่ชวยยนระยะทางจากพระนครไปยังหัวเมืองฝงตะวันตก และใชเปนเสนทางในการ ลําเลียงสินคานานาชนิดโดยเฉพาะน้ําตาลที่เปนสินคาสงออกสําคัญ ชุมชนริมคลองจึงริมขยายตัว มากขึ้น มีก ารสรางเรือนแถว เรือนไมริมน้ํากระจายตามสองฝงคลอง จากการศึก ษาวิจัย ของ พรรณทิพย เปยมพุทธากุล (2537) วิเคราะหวา 40 ปใหหลังการขุดคลองดําเนินสะดวก การตั้งถิ่น ฐานเริ่มหนาแนนขึ้น ทําใหเกิดศูนยกลางของชุมชนในคลองดําเนินสะดวกที่สําคัญ 2 แหง ไดแก


69

รูปที่ 17 เรือบรรทุกหอมแดงของชาวสวนจีน ที่มา : Larimore Pendleton 1936 อางถึงในวาริกา มังกะลัง 2556 ชุมชนหนาวัดปราสาทสิทธิ์ หรือ ชุมชนคลองโพหัก อยูในบริเวณหลัก 5 โดยมีวัด ปราสาทสิทธิ์เปนแกนกลางของชุมชน วัดนี้สมเด็จเจาพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ (ชวง บุนนาค) ไดสรางขึ้นในป พ.ศ.2398 กอนการขุดคลองอยูหางจากริมคลองประมาณ 500 เมตร เมื่อคลองตัด ผานวัดปราสาทสิทธิ์จึงเปนแกนกลางที่สําคัญของชุมชนในขณะนั้น ตอมาชุมชนไดขยายใหญขึ้น เมื่อวัดปราสาทสิทธิ์ไดถูกสรางขึ้นใหมตรงบริเวณริมคลองดําเนินสะดวก และมีการขุดคลองซอยที่ สําคัญ คือ คลองบัวงามมีเสนทางขึ้นไปทางตอนเหนือเชื่อมกับคลองโพหัก ซึ่งแตเดิมมีชมุ ชนตั้งอยู แลว ความหนาแนนของประชากรตลอดบริเวณชวงนี้จึงเพิ่มขึ้น เกิดตลาดนัดทางน้ําที่ชาวบาน เรียกกันวา “ตลาดนัดคลองโพหัก” และกลายเปนยานการคาที่สําคัญแหงหนึ่งของคลองดําเนิน สะดวก

รูปที่ 18 บริเวณชุมชนริมคลองดําเนินสะดวก รูปที่ 19 คลองโพหักเปนที่ตั้งของตลาดน้ํา หนาวัดปราสาทสิทธิ์ คลองโพหัก


70

ชุมชนแหงที่สองที่จะกลาวถึง คือ ชุมชนดําเนินสะดวก อยูบริเวณตั้งแตปากคลองลัดพลี เรื่อยไปจนถึงปากคลองทองหลาง ซึ่งเปนชุมชนแหงใหมหลังการขุดคลอง โดยจุดสําคัญ คือ การที่ คลองลัด พลีเปน คลองที่เชื่อมตอไปยัง เมืองราชบุรี จึง มีผูคนสัญ จรไปมาอยางคับ คั่ง และตรง บริเวณปากคลองนี้ยังเปนที่ตั้งของศาลาหาหองหรือศาลาแดง (เนื่องจากหลังคามุงกระเบื้องสีแดง) ที่สรางโดยสมเด็จเจาพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ (ชวง บุนนาค) ไวสําหรับเปนที่พักของคนงาน ตอนกอนขุดคลองดําเนินสะดวก ตอมาก็กลายเปนที่พักของผูคนที่เดินทางไปมา และในภายหลัง ยังไดใชเปนที่วาการอําเภอดําเนินสะดวกดวย ในสวนของคลองทองหลางที่อยูไมไกลมากนักก็เปน เสนทางที่สามารถเชื่อมตอกับคลองบางนอยซึ่งเปนเสนทางไปยังบางคนที อัมพวาและเมืองแม กลองได บริเวณใกลเคียงนี้ยังมีวัดโชติทายการาม เปนวัดเกาแกที่เปนศูนยกลางของชุมชนอีกนัย หนึ่งดวย ดวยปจจัยทางพื้นที่ของบริเวณนี้จึงนับเปนจุดที่สําคัญที่บรรดาเกษตรกรจะนําพืชพัก ผลไมบรรทุกลงเรือมาคาขายแลกเปลี่ยนกัน เกิดศูนยกลางคือตลาดน้ํา ซึ่งชาวบานเรียกวาตลาดนี้ วา“ตลาดนัดศาลาแดงหรือตลาดนัด 5 หอง” นอกจากนี้บริเวณใกลเคียงหางจากชุมชนดําเนิน สะดวกออกไปประมาณ 1 กิโลเมตร ยังมีตลาดนัดศรีสุราษฎรบ ริเ วณปากคลองศรีสุราษฎร ซึ่งคลองนี้สามารถลัดไปถึงวัดธรรมาวุธาราม (วัดปงปน) ในเขตจังหวัดสมุทรสงครามไดดวย

รูปที่ 20 ตลาดน้ําคลองลัดพลีในอดีต ที่มา สมศักดิ์ อภิวันทนกุล กลุมวิสาหกิจชุมชนตลาดน้ําปากคลองลัดพลี, 2555 อางถึงในวาริกา มังกะลัง 2556


71

สําหรับการสัญจรทางน้ํานับเปนเอกลักษณหนึ่งของชุมชนริมคลองดําเนินสะดวกซึ่งมีการ อาศั ย เทคโนโลยี ที่ เ ข า มาเอื้ ออํ า นวยความสะดวกในการสัญ จรทางน้ํ า คื อ “เรื อยนต ”ที่ มี อ ยู หลากหลายรูปแบบ อาทิ เรือแดงซึ่งมีเสนทางเดินเรือตั้งแตประตูน้ําบางยาง จังหวัดสมุทรสาคร จนถึงประตูน้ําบางนกแขวก จังหวัดสมุทรสงคราม จุผูโดยสารไดประมาณ 60 คน และเรือแท็กซี่ จุผูโดยสารประมาณ 30-40 คน ที่ใหบริการจนถึงป พ.ศ. 2510 เรือหางยาว 7 ที่นั่ง จุผูโดยสาร 14 คน ใชกันมาตั้งแต พ.ศ.2502 ใชรับสงผูโดยสารในคลองดําเนินสะดวก นอกจากนี้ยังมีเรืออีซุซุ มีหลังคากันแดดอันเปนที่นิยมของผูโดยสาร เรือ 5 ที่นั่ง เรือ 2 ตอน เปนเรือรับจางเหมาไปยัง จุดหมายที่ตองการ สวนผูที่จะเดิน ทางไปยังตัวเมืองราชบุรี อัมพวา และแมกลองจะมีเรือยนต ประจําทางบริการดวยเชนกัน พาหนะที่ใชในการสัญจรทางน้ําในคลองดําเนินสะดวก ในสมัยนี้จึง สามารถแบงประเภทของเรือตามหนาที่ไดคือ เรือสวนตัว ใชเรือพายหรือเรือแจวสวนใหญเปนเรือ สําปนซึ่งเหมาะกับการบรรทุกพืชผักผลไม จากสวนที่กระจายอยูตามคลองเล็กคลองนอยตางๆมา คาขายยังตลาดน้ําหรือเดินทางไปมาติดตอกัน เรือโดยสาร ใชเรือหางยาววิ่งรับสงผูโดยสารใน คลองดําเนินสะดวก โดยในระยะหลังนิยมใชเรืออีซุซุกันมาก และเรือโยง ใชบรรทุกขนสงสินคา เชน เรือบรรทุกอิฐ หิน ปูน ทราย จากราชบุรี และเรือบรรทุกพืชผักผลไมจากสวนในดําเนินสะดวก และพื้ น ที่ ใ กล เ คี ย ง โดยผ า นคลองดํ า เนิ น สะดวกไปยั ง ตลาดในกรุ ง เทพฯและจั ง หวั ด อื่ น ๆ แตปจจุบันการสัญ จรทางน้ําในเขตพื้น ที่อําเภอดําเนิน สะดวกลดลงไปมาก เรือประเภทตางๆ ที่ก ล าวไมมี ใ ห บ ริ ก ารแล ว ยังคงปรากฏใหเ ห็น เฉพาะเรือ หางยาวที่ ใ ช รับ ส ง นั ก ท องเที่ย วใน บางชวงเวลา และเรือสวนตัวซึ่งมีทั้งเรือพาย และเรือยนตที่ใชกันอยูบางประปราย

รูปที่ 21 บรรยากาศการสัญจรและชุมชนริมคลองดําเนินสะดวกในปจจุบัน


72

เมื่อหันกลับมาพิจารณาการเกิดขึ้นของยานการคาทางน้ําที่เรียกวา“ตลาดน้ํา”ในแตละ ชุมชนนั้นเปนปจจัยที่ดึงดูดผูคนใหเขามาทําการคาขายจึงทําใหเกิดความหนาแนนของการใชพื้นที่ มากตามไปดวย ซึ่งปฏิสัมพันธทางสังคมของตลาดน้ําในอดีตนั้นเกิดจากความตั้งใจในการจัดหา สินคาและผลผลิตที่ผลิตไดจากครัวเรือนมาแลกเปลี่ยนซื้อขายกัน ตลาดน้ําจึงเกิดจากเงื่อนไขของ การมาคาขายตามเวลาและสถานที่นัด โดยตั้งอยูบนพื้นฐานของการสัญจรทางน้ํา การหมุนเวียน ขึ้นลงของน้ํา และเครือขายเชิงพื้นที่ของวัตถุดิบ หรือผลผลิต เกิดเปนเครือขายทางสังคมในการ คาขายของตลาดน้ําที่แมคาพอคาและชาวสวนในพื้นที่สามารถหมุนเวียนเดินทางไปคาขายในทุก วันในตลาดน้ําที่หมุนเวียนติดตลาดในวัน จันทรคติ (ลักษณา สัมมานิธิ 2554: 196) ซึ่งมีความ แตกตางจากตลาดน้ําในปจจุบันที่เปลี่ยนแปลงบทบาทไปเพื่อการทองเที่ยวเปนหลัก สาเหตุสําคัญ ที่ทําใหเ กิดการเปลี่ยนแปลงดังกลาวเปน เพราะมีก ารตัดถนนสาย 325 ใน ป พ.ศ.2516 และ ตามมาดวยการตัดถนนยอยสายตางๆ ทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงรูปแบบการตั้งถิ่นฐานของชุมชน มาอยูริมถนนมากขึ้น เกิดศูนยกลางทางการคาชุมชนการคาแหลงใหมบริเวณตลาดเสรีและตลาด เสริมสุข มีตึกแถวอาคารพาณิชยเกิดขึ้นจํานวนมากบริเวณสองฝงถนน ตั้งแตบริเวณสะพานขาม คลองดําเนินสะดวกถนนสาย 325 ไปทางทิศเหนือ ซึ่งมีผูประกอบการคาที่อาศัยอยูริมน้ําแตเดิม และผูประกอบการรายใหมเขามาประกอบธุรกิจ เกิดหางราน ธุรกิจรายยอยตางๆ และตลาดนัดบก ในแตละพื้น ที่ขึ้นมากมายตามที่ปรากฏใหเห็นในปจจุบัน ทําใหต ลาดน้ําบางแหงตองปด ตัวลง ไดแก ตลาดน้ําคลองโพหัก ตลาดน้ําปากคลองศรีสุราษฎร ขณะที่ตลาดน้ําปากคลองลัดพลีไดรับ ผลกระทบจากการถูกคลื่นจากเรือยนตที่สัญจรไปมารบกวนการสัญจรของพอคาแมคา จึงไดยาย มาทําการซื้อขายแลกเปลี่ยนที่ตลาดน้ําคลองตนเข็มแทน ซึ่งมีความสะดวกทั้งทางน้ําและทางรถ ในการขนสงสินคาเนื่องจากมีถ นนสุขาภิบ าลตัดผาน อีกทั้ง ตลาดน้ําคลองตน เข็มยังไดรับ การ สงเสริมใหเปนที่ทองเที่ยวสําคัญจึงกอใหเกิดการพัฒนาดานตางๆที่จะอํานวยความสะดวกเพื่อ รองรับกับนักทองเที่ยวมากขึ้น ตลาดน้ําคลองตนเข็มจึงไดเปลี่ยนรูปแบบไปเปนสถานที่ทองเที่ยวที่ สรางรายไดใ หกับ คนในชุมชนแทน สินคาและกิจกรรมตางๆจึงมีความหลากหลายตามไปดวย (วรวุฒิ เพ็งพันธ 2548: 273-274) โดยสรุปกลาวไดวาพัฒนาการของการตั้งถิ่นฐานของชุมชนริม คลองดํา เนิน สะดวกจึง สัม พั น ธ กับ การใช สอยพื้น ที่ และนโยบายการพั ฒนาพื้ น ที่ โ ดยมีก าร เปลี่ย นแปลงเปน มาลําดับ สอดคลองกับ การศึกษาวิจัยของวาริกา มังกะลัง (2556: 130-133) ที่ไดวิเคราะหการตั้งถิ่นฐานของชุมชนริมคลองดําเนินสะดวกออกเปน 3 รูปแบบ ไดแก 1)การตั้ง ถิ่นฐานแบบริมคลองผสมพื้นที่เกษตร คือ ลักษณะของชุมชนจะเปนบานเดี่ยวกระจายหางๆกัน หนาบานติดลําคลองสายหลัก พื้นที่หลังบานเปนพื้นที่เกษตรกรรม เมื่อมีผูคนเขามาตั้งถิ่นฐานมาก


73

ขึ้นการวางตัวตามแนวคลองสายหลัก จึงมีการขยายเขาสูคลองสายรอง โดยการตั้งถิ่นฐานนี้จะมี รัศมีอยูใกลกับวัดที่สรางขึ้น 2) การตั้งถิ่นฐานแบบริมคลองที่วัดเปนศูนยกลางและแหลงตลาด จะ อยูในบริเวณที่มีวัดเปนศูนยกลางและมีจุดตัดที่เปนคลองสายหลักกับสายรอง โดยเมื่อมีการขุด คลองสายรองหรือคลองยอยยอมทําใหเกิดความหนาแนนในการสัญจรของเรือมากขึ้น ทําใหเกิด แหลงตลาดที่มีการแลกเปลี่ยนสินคาหรือตลาดน้ําเกิดเรือนแถวไมริมน้ําเปนรานคา ดานหลังอาจ เปนพื้นที่เกษตร ซึ่งมีลักษณะแบบกลุม (Cluster Pattern) เชน ชุมชนหนาวัดปราสาทสิทธิ์หรือ บริเวณปากคลองโพหัก ชุมชนปากคลองลัดพลีใกลวัดโชติทายการาม เปนตน และ 3)การตั้งถิ่น ฐานแบบริมถนน เปนผลมาจากการพัฒนาระบบโครงขายการคมนาคม โดยครัวเรือนนั้นแมวาจะ ทําการเกษตรแตบานวางหัน หลังใหกับ คลอง หรือครัวเรือนที่ทําการคาจะเปลี่ย นเปน อาคาร พาณิชยติดถนน จากเดิมที่เปนเรือนแถวไมริมน้ํา ตลาดน้ําและคลอง

ภาพที่ 22 ตลาดน้ําคลองตนเข็มในปจจุบัน ภาพที่ 23 บริเวณปากคลองลัดพลีปจจุบัน บทสรุป อําเภอดําเนินสะดวกตั้งอยูในพื้นที่บริเวณดินดอนสามเหลี่ยมปากแมน้ําซึ่งเปนบริเวณที่มี ทรัพยากรดินที่มีความอุดมสมบูรณ ประกอบการมีโครงขายระบบระบายน้ําโดยมีคลองดําเนิน สะดวกเปนคลองสายหลักและคลองซอยอีกจํานวนมากที่เชื่อมตอถึงกันทําใหเหมาะสมอยางยิ่ง สําหรับ การเพาะปลูกพืชผัก ผลไมนานาชนิด กลุมคนที่อาศัยอยูใ นอําเภอดําเนิน สะดวก ไดแก กลุม ชาวไทยเชื้อ สายจีน กลุม ชาวไทยพื้น ถิ่ น กลุมชาติพั น ธุ ซึ่งมี ค วามเชื่ อ ขนบธรรมเนีย ม ประเพณี รวมทั้งการประกอบอาชีพไดหลอมรวมเปนเอกลักษณที่สําคัญของอําเภอดําเนินสะดวก กลาวคือ ประการแรก การเปนสังคมเกษตรกรรมหรือสังคมชาวสวนที่มีการปรับสภาพแวดลอม ของพื้น ที่ใ หเ ปน ประโยชนตอการดํารงชีวิตดวยการทําใหพื้น ที่ดังกลาวเปน พื้น ที่เกษตรกรรม


74

เรือกสวน ไรนา กลายเปนแหลงผลิตธัญญาหารที่สําคัญของประเทศ ประการตอมา สังคมดําเนิน สะดวกยังเปนสังคมที่มีกลุมชาวไทยเชื้อสายจีนเปนจํานวนมาก ซึ่งบรรพบุรุษชาวไทยเชื้อสายจีน เหลานี้ตางอพยพเขามาตั้งหลักแหลงทํากินภายหลังการขุดคลองดําเนินสะดวกไดใชชีวิตสืบทอด เชื้ อ สายกั น มารุ น ตอ รุ น และยั ง คงรั ก ษาขนบธรรมเนี ย มประเพณี ดั้ง เดิ มของตนโดยปรั บ ให สอดคลองกับบริบทของยุคสมัย สะทอนจากความเชื่อและงานเทศกาลประเพณีของทองถิ่น ที่ ปฏิบัติในแตละเดือน และประการสุดทาย จากขุดคลองดําเนินสะดวกซึ่งเปนสายน้ําสําคัญ ทําให ผูคนเขามาตั้งถิ่นฐานบานเรือนอยูริมสองฝงคลองดังกลาวซึ่งมีความสัมพันธกับการประกอบอาชีพ เปนหลัก จึงทําใหสังคมดําเนินสะดวกเปนสังคมที่มีวิถีชีวิตชุมชนแบบริมน้ํา อาศัยน้ําหลอเลี้ยง ชีวิตทั้งจากการประกอบอาชีพ การอุปโภคบริโภค การสัญจรไปมา รวมทั้งการเกิดศูนยกลางทาง เศรษฐกิจริมน้ําหรือตลาดน้ําตามยานตางๆ ซึ่ง มีการโรยราและแปรเปลี่ยนบทบาทไปตามการ พัฒนาของอําเภอดําเนินสะดวก.


บทที่ 4 ประวัติความเปนมาของรานเอี้ยะเลงฮึ้ง : พัฒนาการจากอดีตสูปจจุบัน รานเอี้ยะเลงฮึ้ง เปนสถานที่ใหบริการตรวจรักษาวินิจฉัยโรค การดูแลสุขภาพและจําหนาย สมุน ไพรจีน เปน รานเล็ ก ๆแหง หนึ่ ง ตั้ง อยู ใ นอําเภอดํา เนิน สะดวก จั ง หวัดราชบุรี กอ ตั้ง โดย นายคี้ แซตั้ง ชาวไทยเชื้อสายจีน ที่อพยพเขามาสูป ระเทศไทยตั้งแตชวงปลายสมัยรัช กาลที่ 7 รา นฯแห ง นี้ เ ริ่ม เป ด ดํ า เนิ น การเมื่ อ ป พ.ศ.24801 จนถึ ง ป จ จุ บั น รวมเปน ระยะเวลา 78 ป มีพัฒนาการมาเปนลําดับ โดยมีค วามเกี่ยวเนื่องกับ การตั้งถิ่น ฐานของชุมชนชาวจีน ในสองฝง คลองดําเนินสะดวก และความเปลี่ยนแปลงของชุมชน รวมทั้งนโยบายการพัฒนาภูมิภาคของรัฐ ในบทนี้ผูวิจัยจะนําเสนอประวัติความเปนมาเกี่ยวกับผูกอตั้ง และพัฒนาการของรานเอี้ยะเลงฮึง้ ใน แตละชวงเวลา รวมทั้งการสืบทอดกิจการของรานฯ ดังนี้ ที่มาของคําวา “เอี้ยะเลงฮึ้ง” เอี้ย ะเลงฮึ้ง เปนภาษาจีน แตจิ๋ว หากจะแยกความหมายดังกลาวออกเปน 3 คํา แปล ความหมายไดดังนี้ เอี้ยะ แปลวา ยา เลง แปลวา ความไมหยุดนิ่งอยูกับที่ หรือมีความเปนพลวัต ฮึ้ง แปลวา สวน ดังนั้น ถารวมความหมายจากคําทั้งหมดจะแปลความไดวา รานยาที่ตั้งอยูใ นชุมชน ทองถิ่นที่มีผูคนประกอบอาชีพเกษตรกรรม หรือชาวสวน ซึ่งใหบริการรักษาโรคดูแลสุขภาพ ความ เจ็บปวยของผูคนในพื้นที่อยางตอเนื่อง หรือถาจะวิเคราะหใหมีความหมายเชิงนัยยะที่เกี่ยวกับการ รักษาโรค ดูแลสุขภาพ อาจจะหมายถึง การประยุกตองคความรูทางการแพทยแผนจีนในการรักษา โรค ดูแลสุขภาพของเกษตรกรชาวสวนใหสอดคลองกับอุบัติการณของโรคมีความเปลี่ยนแปลงใน แตละชวงเวลาไดอยางเหมาะสม 1

เปนที่นาเสียดายวาเอกสารหลักฐานเกี่ยวกับการเปดดําเนินการของรานฯจากหนวยของของรัฐไดสูญหายไป และจากการสัม ภาษณ สมาชิก ในครอบครัว โดยเฉพาะลู ก สาวคนโตที่ ก ลา ววา ตั้ งแต เกิ ด มาครอบครั ว ได เ ป ด ดําเนินกิจการรานฯแลว ผูวิจัยจึงไดยึดเอาปเกิดของบุตรสาวคนโตของนายคี้ พ.ศ.2482 เปนเกณฑแลวยอนหลัง ไปอีก 2 ป คือ ป พ.ศ.2480 เปนปเปดดําเนินการ ซึ่งขณะนั้นครอบครัวไดมาอาศัยอยูที่อําเภอดําเนินสะดวกและ คาดวาไดดําเนินกิจการรานเอี้ยะเลงฮึ้งอยูกอนแลว


76

ชื่อรานเอี้ยงเลงฮึ้ง จึงเปนชื่อที่มีความหมายสัมพันธกับที่ตั้งและการประกอบอาชีพของ ผูคนในอําเภอดําเนินสะดวก และเปนชื่อที่ใชจดทะเบียนทางการคาอยางเปนทางการกับหนวยงาน ของรัฐ แตทวาลูกคาที่มาใชบริการซึ่งเปนกลุมคนไทยเชื้อสายจีนในระแวกยานริมคลองดําเนิน สะดวกมักจะเรียกชื่อของรานฯวา “รานเหลาตั้ง” ซึ่งมีที่มาจากชื่อของนายคี้ แซตั้ง ในฐานะที่เปนผู กอตั้งรานฯ คําวา “เหลาตั้ง” นั้น คําวา “เหลา” ในภาษาจีนแตจิ๋ว หมายถึง คนเกาคนแกที่อยูมา นานเปนที่เคารพนับถือ สวนคําวา “ตั้ง” เปนชื่อของนามสกุล คือ “แซตั้ง” เมื่อนําคําทั้งสองมาเรียก รวมกัน หมายถึง คนเกาคนแกในตระกูลตั้งที่เคารพนับถือ ชื่อรานเหลาตั้ง จึงถูกเรียกกันตอๆมา และเปน ที่คุน เคยของผูค นในชุมชนทองถิ่น โดยเฉพาะที่กลุมชาวไทยเชื้อสายจีน เครือขายราน สมุนไพรจีนดวยกันในพื้นที่อําเภอดําเนินสะดวก ผูกอตั้งรานเอี้ยะเลงฮึ้ง

รูปที่ 24 นายคี้ แซตั้ง ผูกอตั้งรานเอี้ยะเลงฮึง้ รานเอี้ยะเลงฮึ้ง กอตั้งโดยนายคี้ แซตั้ง เปนชาวไทยเชื้อสายจีน เกิดเมื่อวันที่ 14 เดือน พฤษภาคม พ.ศ.2445 อพยพมาจากอําเภอกิกไซ มณฑลกวางตุงของสาธารณรัฐประชาชนจีน ในชวงปลายสมัยรัชกาลที่ 7 ในชวงที่อพยพเขามาในประเทศไทยระยะแรกไดเขามาทํางานเปน ลูกจางในยานทาเรือคลองเตย กรุงเทพมหานคร หลังจากนั้นไดสักระยะไดไปเขารวมกับกลุมชาว จีน ที่อพยพเขามาในรุน ราวคราวเดีย วกัน ๆ ไปทําการคาขายสิน คาทางการเกษตร อาทิ พริก หอม กระเทียม ซึ่งมีการเพาะปลูกอยูมากตามจังหวัดตางๆในภูมิภาคตะวันตก เชน สุพรรณบุรี ราชบุรี นครปฐม และกรุงเทพฯ โดยอาศัยการคมนาคมทางน้ําเปนเสนทางในการลําเลียงขนสง สินคาไปตามหัวเมืองตางๆ จนกระทั่งไดมาพบกับนางเอี่ยมเจ็ง แซเฮง ซึ่งครอบครัวเปนคนไทยเชื้อ


77

สายจีนเชนกันประกอบอาชีพจําหนายไมประเภทตางๆ หรือที่คนในอดีตมักเรียกวา โรงกระดาน อาศัยอยูในยานหนองแขม กรุงเทพมหานครและไดสมรสกัน โดยมีธิดา 4 คน ไดแก 1. นางบุนเกียง พัฒนตรีกูณฐ2 2. นางสาวภัทรภร จงกลทิพย (ลี่เกียง แซตั้ง) 3. นางอรุณี ขําประเสริฐ3 4. นางสาวชญานุช (ทัศนีย) ตันวิจิตร หลัง จากแตง งานแลว จึง ไดตัดสิน ใจยายครอบครัวมาตั้งหลักแหลงทํากิน อยางถาวรที่ อําเภอดําเนินสะดวก จังหวัดราชบุรี ซึ่งสาเหตุดังกลาวอาจสันนิษฐานไดวานายคี้ ตองการที่จ ะ ประกอบอาชีพใหม ซึ่งอันที่จริงแลวเปนอาชีพดั้งเดิมของบรรพบุรุษและตนเองก็ไดเรียนรูสืบทอด กัน มาเมื่ อครั้ ง ยั ง อาศั ย อยู ที่ สาธารณรัฐ ประชาชนจี น ประกอบกั บ การมีเ งิ น ทุ น อยู บ างแล ว พอสมควรจากการไปรวมคาขายสินคาทางการเกษตร จึงไดเลือกพื้นที่ยานหลักเจ็ดริมคลองดําเนิน สะดวก จังหวัดราชบุรี ซึ่งพื้นที่ดังกลาวมีชุมชนชาวไทยเชื้อสายจีนไดอพยพเขามาตั้งหลักแหลงอยู กอนหนานี้บางสวนแลวหลังจากการขุดคลองดําเนินสะดวกแลวเสร็จ อีกทั้งพื้นที่ดังกลาวยังอยูไม ไกลจากกรุงเทพฯสามารถเดินทางไปกลับไดโดยทางเรือไดภายในระยะเวลา 1 วัน

รูปที่ 25 ครอบครัวของนายคี้ แซตั้ง

2

3

นางบุนเกียง สมรสกับนายจํารัส พัฒนตรีกูณฐ มีบุตรและธิดา จํานวน 5 คน ไดแก นายนพพร พัฒนตรีกูณฐ นางสาวกรรณิการ พัฒนตรีกูณฐ นายชัยวัฒน พัฒนตรีกูณฐ นางเบ็ญจวรรณ พัฒนตรีกูณฐ และนางสาว อักษร พัฒนตรีกูณฐ นางอรุณี สมรสกับนายจรูญ ขําประเสริฐ มีบุตร จํานวน 2 คน ไดแก นายอิทธิพร ขําประเสริฐ และนายอิทธิเดช ขําประเสริฐ


78

อุปนิสัย ของนายคี้ แซตั้ง เปน บุค คลที่มีความขยัน อดทน มีค วามวิริย ะอุตสาหะและมี ความรูเ ปนอยางดีเกี่ยวกับการตรวจวินิจฉัย รักษาโรคตามความรูทางการแพทยแผนจีนโบราณ อีกทั้งยังเปนบุคคลที่มีเครือขายความสัมพันธกับกลุมชาวไทยเชื้อสายจีนที่ตั้งหลักแหลงประกอบ อาชีพอยูตามยานชุมชนชาวจีนที่สําคัญ เชน กรุงเทพฯ สุพรรณบุรี ราชบุรี นครปฐม ซึ่งสวนหนึ่ง อาจเปนเพราะการเดินทางคาสินคาทางการเกษตรในชวงกอนหนานี้ และการเขารวมทํากิจกรรม กับสมาคมชาวจีนในกรุงเทพฯซึ่งตนเองไดเคยอยูอาศัยมากอนหนานี้ นายคี้ยังเปนผูมีจิตใจเอื้อเฟอเผื่อแผชวยสงเสริมสนับสนุนชาวจีนที่อพยพเขามาตั้งถิ่นฐาน ในระยะแรกดวยการอุปถัมภใหมาพักอาศัยอยูกินที่บานพักของตนชั่วคราวกอนที่จะไปประกอบ อาชีพตามพื้นที่ตางๆ และมีบทบาททางสังคมในการเปนผูมีสวนรวมกอตั้งสมาคมชาวไทยเชื้อ สายจีน เชน สมาคมมิตรสันติสุข (ตระกูลแซตั้ง) ยานสําเหร กรุงเทพฯ สมาคมแซตั้ง อําเภอดําเนิน สะดวก การเป น กรรมการศาลเจา จีน ของชุ มชน รวมทั้ ง การเข ารว มกิ จ กรรมทางสั ง คมของ เพื่อนบาน ชุมชน อยางสม่ําเสมอ จึงเปนที่เคารพในหมูเ ครือญาติ และชาวไทยเชื้อสายจีนใน ชุมชนเสมอมา ดังที่น างบุน เกียง ไดเ ลาถึงประวัติของผูเ ปนบิดาและไดถายทอดอุป นิสัย ของ นายคี้ใหฟงวา “สมัย กอนอากงมีเพื่อนคนจีน เยอะ เพราะเคยอยูที่ก รุง เทพฯรับ จาง แถวคลองเตย แลวก็รูจักกับพรรคพวกคนจีนดวยกันไปคาขาย พวก พริก หอม กระเทียมตามนครปฐม สุพรรณ ราชบุรี …เตี่ยตื่นแตเชา ทุกวัน ตื่นมาก็เปด ประตู ไหวเจา ทํากับขาวกับ ปลากับอาแหมะกัน สองคน สวนใหญงานในบานทั้งเตี่ยกับอาแหมะก็จะชวยกันทํา อยาง เรื่องจัดยาไวขายจะทําเองทั้งหมด…กอนไปเรียนก็จะหาขาวหาปลาให กิน ยังจําไดวาเตี่ยถักผมเปยใหกอนขึ้นเรือไปเรียนทุกเชา” เชนเดี่ยวกับเพื่อนบานรายหนึ่งที่เลาใหฟงวา “ซินแสแกแข็งแรง เรียบงาย ขยัน เปนคนเกาคนแกสมัยกอนคนจีนใน แถบหลักหา หลักหก หลักเจ็ด ศาลเจาตางๆก็จะรูจักแกทั้งนั้น เพราะ ไปมาหาสูกัน มาที่รานยาบาง ไปมาหาสูกับคนจีนดวยกัน ไปงานของ สมาคมแซตั้ง งานทําบุญ งานตามศาลเจาตางๆกับพวกชาวจีนที่เปน เพื่อนๆกัน”


79

รูปที่ 26 การมีสวนรวมในกิจกรรมทางสังคมกับเพื่อนบาน และสมาคมชาวจีนของนายคี้ แซตั้ง ที่ตั้งและการคมนาคม รานเอี้ย ะเลงฮึ้งในอดีตตั้งแตเปดดําเนินการ พ.ศ.2480 จนถึงป พ.ศ.2550 ไดเชาพื้น ที่ ตลาดหองแถวบริเวณปากคลองสะเดา ตั้งอยูในตําบลศรีสุราษฎร หรือเปนบริเวณที่เรียกวาชุมชน ยานหลักเจ็ดริมคลองดําเนินสะดวก ที่ตั้งของรานฯเปนหองแถวไมจํานวน 2 คูหา พื้นที่ดานหนา ของรา นฯหั น ไปทางทิ ศ เหนือ ติด กับ คลองดํา เนิ น สะดวก ส วนดา นหลั ง ร านฯทิศ ใตติ ด ต อกั บ ถนนสายดําเนินสะดวก-หลักหา หากเดินลัดเลาะไปตามเสนทางทางริมคลองดําเนินสะดวกหรือใช เรือเปนยานพาหนะ รานฯจะอยูหางจากตลาดสดดําเนินสะดวกประมาณ 1.5 กิโลเมตร


80

ภาพที่ 27 บริเวณตลาดปากคลองสะเดา เปนที่ตั้งของรานเอี้ยะเลงฮึ้งกอนยายมาอยู ณ ที่ปจจุบัน ถายเมื่อ พ.ศ.2546 ในชวงกลางป พ.ศ.2550 เจาของพื้นที่ดินซึ่งทางรานฯเชาอยู มีนโยบายที่จะพัฒนาที่ดิน ผืนดังกลาวขึ้นใหม ดังนั้น ในป พ.ศ.2551 ทางรานฯจึงไดยายมาอยู ณ พื้นที่แหงใหมบริเวณเชิง สะพานขามคลองดําเนินสะดวก ซึ่งพื้นที่ดังกลาวอยูใ นการถือครองของนายจรูญ ขําประเสริฐ ลูกเขยของนายคี้ โดยรานฯที่ปลูกสรางขึ้นใหมนี้เปนอาคาร 2 ชั้น ครึ่งตึกครึ่งไมสําหรับอยูอาศัย และมีสวนที่เปนเรือนเชื่อมตอดานหนากับตัวบานใชเปนพื้นที่สําหรับใหบริการ ดานหนาของรานฯ หัน ไปทางทิศตะวันออกติดถนนสายบางแพ-ดําเนิน สะดวก-สมุท รสงคราม พื้น ที่ของรานฯใน ปจจุบันจึงอยูใกลกับยานชุมชนหนาแนนในตลาดสดดําเนินสะดวกมากขึ้น โดยสามารถเดินจาก รานฯขามสะพานคลองดําเนินสะดวกไปถึงไดในระยะทาง 500 เมตร

รูปที่ 28 รานเอี้ยะเลงฮึ้ง ที่ตั้งปจจุบัน ริมถนนสาย 325 แมกลอง ดําเนินสะดวก บางแพ


81

ภาพที่ 29 ภาพถายทางอากาศแสดงบริเวณพื้นที่ตั้งของรานเอี้ยะเลงฮึ้ง จากริมคลองดําเนินสะดวกสูริมถนน พัฒนาการของรานเอี้ยะเลงฮึ้ง : จากอดีตสูปจจุบัน จาการสัมภาษณสมาชิกภายในครอบครัวของรานเอี้ยะเลงฮึ้ง การศึกษาเอกสารงานวิจัยที่ เกี่ยวของ และการใชชีวิตอยูรวมกับ รานฯแหงนี้สามารถที่จะสรุปพัฒนาการของรานฯจากอดีต จนถึงปจจุบัน โดยแบงออกเปน 3 ชวงระยะเวลาที่สําคัญ ดังนี้ ชวงที่ 1 ยุคบุกเบิกการคาและการลงทุน (พ.ศ.2480-2500) หลังจากที่นายคี้ แซตั้ง ผูกอตั้งรานเอี้ย ะเลงฮึ้ง ไดตัดสินใจเชาพื้นที่ดินทํากิน โดยเลือก พื้นที่บริเวณปากคลองสะเดาเปนที่อยูของครอบครัวและประกอบอาชีพการใหบริการรักษาโรคและ ดูแลสุขภาพดวยความรูทางการแพทยแผนจีน ซึ่งสันนิษฐานไดวาสาเหตุเกี่ยวกับการเลือกพื้นที่ ดังกลา วอาจเปน เพราะพื้น ที่ บ ริเ วณนี้อยูใ กลเ คีย งกัน ชุม ชนชาวจีน ที่ไ ดตั้งบา นเรือนอยูกอ น


82

หนานี้แลว เชน ในทางทิศตะวันออกหางจากที่ตั้งของรานฯ มีศาลเจาจีนซําปอกง4 ซึ่งเปนศาลเจาที่ มีอายุเ กาแกซึ่งสรางโดยกลุมชาวไทยเชื้อสายจีนที่ตั้ง ชุมชนอยูในบริเวณใกลเ คียง และโรงเจฮี้ ฮกตั๊วบริเวณปากคลองศรีสุราษฎร หรือในทางทิศตะวันตกหางออกไปจากรานฯไมมากนักมีชุมชน ชาวจีนเชื้อสายฮกเกี้ยนตั้งอยู ดังปรากฏจากการตั้งชื่อคลองฮกเกี้ยน (คลองตนไทร)จนถึงปจจุบัน นอกจากนี้แลวยังมีตลาดหองแถวชุมชนชาวจีนตั้งกระจายอยูเรียงรายริมคลองดําเนินสะดวกใน ชวงเวลาดังกลาว พื้นที่ตลาดคลองสะเดาก็เปนอีกพื้นที่หนึ่งที่เจาของที่ดินสรางตลาดหองแถวไม ใหสําหรับเชา จึงเปนที่ตองการของชาวจีนที่จะเขามาประกอบอาชีพในพื้นที่ดําเนินสะดวก การเริ่มดําเนิน กิจ การของรานฯในระยะแรกนั้น มีก ารดําเนิ น การเพื่อขออนุญ าตจาก หนวยงานดานสาธารณสุข ซึ่ง สังกัด ที่วาการอําเภอดําเนินสะดวกเพื่อเปดดําเนินกิจการ มีการ ลงทุนจัด ทําอุปกรณที่เ กี่ยวกับการใหบ ริการ วัสดุสําหรับการจัด เก็บสมุนไพร ไดแก เคานเ ตอร สําหรับจัดยา ตูลิ้นชัก ใสสมุนไพรทั้งที่เปน ตูไม และกระจก โดยวาจางชางไมชาวจีนในทองถิ่น ดําเนินการ และมีการจัดเตรียมขวด โหลแกว ปบ กระปองสังกะสีสําหรับจัดเก็บสมุนไพรไวใชใน ระยะยาว การจัดซื้ออุปกรณ เชน ตราชั่ง ครก มีดหั่นยา รางบดยา เพื่อใชประกอบการจัดเตรียม และปรุงยาสมุนไพร เปนตน โดยวัสดุเหลานี้ค าดวานาจะหาซื้อมาจากทั้งในพื้นที่อําเภอดําเนิน สะดวกเองและหาซื้อจากยานการคาชาวจีนอยางยานเยาวราช ตลาดสําเพ็งในกรุงเทพมหานคร สําหรับการจัดหาสมุนไพรของรานฯเพื่อนํามาจําหนายนั้นมีการติดตอกับผูคาสงสมุนไพร จีนในกรุงเทพฯ โดยพอคาสงจะลองเรือเอี้ยมจุนมาจําหนายสมุนไพรถึงหนารานฯ โดยลองออก จากกรุงเทพฯ ผานคลองภาษีเจริญ มาออกที่แมน้ําทาจีน และเขาสูคลองดําเนินสะดวกโดยผาน ประตูน้ําบางยางที่อําเภอบานแพว จังหวัดสมุทรสาคร ลองผานมายังรานฯซึ่งตั้งอยูริมคลองดําเนิน สะดวก ที่ตลาดปากคลองสะเดา ซึ่งเมื่อทําการซื้อขายสมุนไพรเปนที่เรียบรอย ผูคาสงก็จะลองเรือ จําหนายตอไปเรื่อยๆ ไปยังประตูน้ําบางนกแขวก จังหวัดสมุทรสงคราม และเขาสูแมน้ําแมกลอง เพื่อไปจําหนายสมุนไพรใหแกรานจําหนายสมุนไพรจีนในตัวเมืองราชบุรี แมกลอง หลังจากนั้นก็จะ ลองเรือกลับตามเสนทางเดิม ซึ่งในขาลองกลับกรุงเทพฯนี้ ผูคาสงใชเวลาเดินทางกลับมายังราน ประมาณเกือบเดือน ทางรานฯก็จะเตรียมเงินสําหรับจายใหแกผคู าสงหลังจากที่ไดนําสมุนไพรไป จําหนาย ดังที่นางสาวชญานุช เลาถึงลักษณะของเรือคาสงสมุนไพรใหฟงวา 4

ภายในมีพระพุทธรูปขนาดใหญกออิฐถือปูที่กอสรางจากแรงศรัทธาของชาวไทยเชื้อสายจีนในพื้นที่ และยังมี โบราณวัตถุรูปปนพระอรหันตซึ่งทําจากกระดาษจีน คาดวานาจะมีการนําเขามาจากสาธารณรัฐประชาชนจีนใน อดี ต เป นศิ ลปที่ ทรงคุ ณคา ปรากฏให เห็ นอยู รวมทั้ง ศาลเจ าดั งกล าวยัง เป น ที่เ ก็บ อัฐิ ข องบรรพชนชาวจีน ใน หลายสมัย


83

“สมัยกอนจะมีเรือขนาดใหญมีหลังคาคลุม คนอยูอาศัยได พอเรือมา เตี่ยก็จะลงไปเลือกซื้อยาที่ขายหมดไปมาแทน เราก็จะวิ่งลงไปดูในเรือ วามีอะไรบาง เขาเอายาไวที่ไหน มองไปที่ใตทองเรือเปดไมกระดาน เรือออกมาก็เห็นยามัดใสกระสอบเต็มไปหมด ขางๆเรือสองฝงก็จะมี ชั้น วางยาเต็มไปหมด แมแตใ ตเ พดานหลังคาเรือก็ยังมีย าใสถุงใส กระสอบมัดอยูดวย” เมื่อมีการจัดซื้อสมุนไพรจากผูคาสงแลว กอนที่จะนําสมุนไพรไปจําหนายใหแกลูกคาได นั้นจะตองมีการจัดการกับสมุนไพรที่สั่งซื้อมากอนที่จะนํามาจัดใหแกลูกคา เนื่องจากสมุนไพร ดังกลาวอยูในสภาพที่ไมสามารถนํามาใชไดเลย เชน มีขนาดใหญ มีเศษหิน ดินทรายปะปนมา หรือสมุนไพรบางชนิดตองนํามาเปลี่ยนสภาพกอนนําไปใชปรุงยา ดังนั้น สมุนไพรเหลานี้จะถูก นํามาลาง ตากแดด ขุด สับ ไส หรือหันกอนนําไปใชจําหนาย ซึ่งสมาชิกในครอบครัวแตละคนจะมี สวนรวมในการดําเนินการดังกลาว ดังที่ นางบุนเกียง ลูกสาวคนโต เลาใหฟงวา “ยาแตละตัวมันมาเปนตน เปนหัว เปนกิ่งไม มัดใสกระสอบมา มีเศษ หิน ดิ น ทราย ติด มาดว ย พอยามาถึ ง เตี่ ย กับ แมก็จ ะรีบ เอายาไป ลางบาง ตากแดดบาง ยาบางอยางที่เปนหัวๆมาอยางชัวเกียง ตังกุย แปะจี้ ตังกุย ก็จะตองเอามาแชน้ํากอนไปไส พอไสกับเครื่องเสร็จแลว คอยเอาไปตากแดดใหแหง จึงเอามาใชได หรือ ชุงเก็งเต็ง ตองเอามา ชวยกันสับใหชิ้นมันเล็กลง” สําหรับลูกคาที่มาใชบริการจากที่รานฯในชวงนี้สวนใหญจะเปนกลุมชาวไทยเชื้อสายจีนที่ อาศัยอยูในระแวกบานเดีย วกัน และชุมชนใกลเคียง ซึ่งทั้งหมดจะเดินทางมาดวยเรือพายหรือ เรือยนต มาจอดเทียบที่หนารานฯ โดยเมื่อลูกคาแตละรายที่เดินทางมาถึงก็จะไดรับการตรวจชีพจร การสังเกตสภาพรางกาย อวัยวะตามจุดตางๆ โดยนายคี้ ซึ่งเปนผูใหบริการหลักของรานฯ หลังจาก นั้นก็จะทําการออกตั๋วยาเพื่อจัดสมุนไพรไปใหรับประทาน ซึ่งในการจัดยานั้นก็จะมีนางเอี่ยมเจ็ง ผูซึ่งเปนภรรยาคอยชวยจัดยาตามตั๋วยาที่ออกไวดวย ดังที่นางอรุณี ลูกสาวคนที่สาม เลาใหฟงวา


84

“อาแหมะแทบจะชวยทําทุกอยางในรานฯ ทั้งเตรียมยาเพราะสมัยกอน ยาแตละตัวที่สั่ง มา มันตองเอามาหัน มาไส มาสับ ลางกอนเอาไป เตรียมใสเกะ พอเตี่ยแมะ ออกตั๋วยาเสร็จอาแหมะ ก็จะมาชวยจัดยา อาแหมะรูหนังสือจีนอานออก ก็ชวยเตี่ยไดทุกเรื่อง และพวกลูกๆก็จะ ชวยอีกแรงหนึ่งดวย”

ภาพที่ 30 นายคี้และบุตรสาวกําลังจัดเตรียมยากอนจัดจําหนาย นอกจากพื้นที่ของรานฯจะเปนพื้นทีใ่ หบริการตรวจรักษาโรคและจัดจําหนายสมุนไพรแลว พื้นที่ของรานฯในชวงเวลานีย้ ังเปนพื้นที่ของการแลกเปลี่ยน สนทนา พูดคุยระหวางกลุมผูคนเชื้อ สายจีนดวนกัน มีการตั้งวงจิบน้ําชาพูดคุยถึงการทํามาคาขาย การประกอบอาชีพ การไถถามถึง กิจ การคา และสารทุก ขสุก ดิบ ของกลุมชาวจีน คนจีน ที่อพยพเขามาใหม ความเคลื่อนไหวใน กิจกรรมตางๆของกลุมคนจีน เหตุก ารณบานเมือง ดัง ที่นางสาวชญานุช ลูกสาวคนเล็ก เลาให ฟงวา “สมัยกอนเพื่อนๆเตี่ย คนจีนแถวเนี่ยก็มานั่งคุยกันที่รานฯเปนประจํา เกือบจะทุกวัน คุยกันอยางสนุก มีการแนะนํา ขอความชวยเหลือคน จีน บางคนที่ เ ข ามาที่ ดํา เนิ น ฯใหมๆ ยั ง ไมไ ดทํ าอาชี พอะไร ไม มี ที่ อยูเตี่ยก็จะใหมาพักที่รานฯกอนจะไปไดงานทําที่อื่น”


85

จะเห็นไดวาในชวงแรกเริ่มการกอตั้งรานเอี้ยะเลงอึ้งนี้มีการลงทุนในการดําเนินกิจการ หลายดานทั้งอุปกรณ เครื่องใชตางๆเพื่อใหบริการ โดยปจจัยที่มีสวนสนับสนุนสําคัญ ไดแก การมี แหลงคาสงวัตถุดิบหรือสมุนไพรที่ใชในการจัดจําหนายสงตรงถึงรานฯผานเสนทางการคาทางน้ํา ซึ่งชวยลดตนทุนการเดินทางของรานฯที่ไมตองไปจัดซื้อยังกรุงเทพมหานครที่ตองใชระยะเวลาใน การเดิน ทางและที่สําคัญคือการมีสมาชิกในครอบครัวซึ่งทุก คนมีสวนชวยสนับสนุนกิจ การของ รานฯในทุกดาน

2538)

ชวงที่ 2 ยุคการคาเฟองฟู และผลจากการพัฒนาอําเภอดําเนินสะดวก (พ.ศ.2501-

ในชวงตน ของยุคนี้บ รรยากาศทางการคาของรานเอี้ยะเลงฮึ้ง เต็มไปดวยความคึก คัก มีผูคนทั้งที่เปนคนไทยเชื้อสายจีนและคนไทย มาใชบริการจากทางรานฯอยางตอเนื่อง โดยยังคงใช เสนทางสัญจรทางน้ําเปนหลัก ซึ่งสะทอนจากกิจกรรมทางการคาที่ดําเนินการอยูรวมกันในตลาด หองแถวของตลาดปากคลองสะเดา ที่เกือบทั้งหมดเปนชาวไทยเชื้อสายจีน โดยแตละครอบครัวที่ ไดอาศัยอยู ณ ตลาดแหงนี้มีการจําหนายสินคาและใหบริการนานาชนิด ไดแก รานตัดเย็บเสื้อผา รานชางไม รานขายทองคํา รานขายขาวสาร พริก หอม กระเทียม รานขายขาวตม กวยเตี๋ยว กาแฟ โบราณ รานจําหนายถวย ชาม จาน อุปกรณ เครื่องมือทางการเกษตร โรงกลึง และโรงเหลา จึงถือ ไดวาเปนชวงที่เศรษฐกิจของชุมชนชาวจีนริมคลองดําเนินสะดวกมีความเติบโตจากการจับจายซื้อ สินคาและบริการจากตลาดปากคลองสะเดา เชนเดียวกับพื้นที่ใกลเคียงตลาดแหงนี้ ยังมีแหลง ธุรกิจชุมชนขนาดยอมของชาวไทยเชื้อสายจีนตอเนื่องออกไป เชน เยื้องฝงตรงขาม มีโรงคาพริก กระเทียม แตงโม โรงทําซีอิ๊ว บริเวณปากคลองซีอิ๊ว ถัดออกไปก็มีโรงกวยเตี๋ยว ขณะที่บรรยากาศ ภายในลําคลองเองก็เต็มไปดวยเรือสิน คาหลากหลาย เชน เรือขายกวยเตี๋ยว กวยจั๊บ ขนมจีน ขนมหวาน หอยทอด ขาวเกรียบปากหมอ เรือขายสินคาประเภทผัก ปลา หมู เปดพะโล เปนตน และดวยความเติบโตทางเศรษฐกิจในยานตลาดปากคลองสะเดาและพื้นที่ตอเนื่องนี้ ไดนําไปสู การสรางความสนใจในการลงทุนของผูประกอบการรายใหมๆที่จะเขามายังในพื้นที่ เชน กอสราง หองแถวบริเวณฝง ตรงขามกับ ตลาดปากคลองสะเดาเพื่อเปด ทําการคา ดังที่น างสาวชญานุช เลาวา


86

“ในชวงนั้นมีคนจีน ลูกหลานชาวจีนเต็มไปหมด ตลาดคลองสะเดาก็มี รา นค าหลายอย าง คนมาจั บ จ า ยซื้ อของกัน มาก อยา ฝง ตรงข า ม แตกอนก็เ ปน ที่ โลงพอสัก พัก ก็ มีน ายทุน รายใหญมาสรางห องแถว มาเปดขายยาจีน รานขายผา และรานทําผม พรอมๆกัน แตพอเปดได สักพักก็ยายไป มีคนมาเชาใหมขายอุปกรณทําการเกษตรแทน”

ภาพที่ 31 บรรยากาศบริเวณฝงตรงกันขามกับรานเอี้ยะเลงฮึ้ง และตลาดปากคลองสะเดาในอดีต รานเอี้ย ะเลง ฮึ้งในชวงนี้ยังมีก ารขยายตอเติมบานใหก วางขวางมากขึ้น เพื่อรับรองกับ จํานวนสมาชิกในครอบครัวที่เพิ่มขึ้น และกิจกรรมการคาที่เติบโตขึ้นตามไปดวย โดยมีการตอเติม เรือนไมหลังบานขยายออกไปเพื่อประโยชนใชสอยในการอยูอาศัย การจัดเตรียมสมุนไพร รวมทั้ง การสงบรรดาลูกๆหลานๆที่เปนเครือญาติมาอยูรวมกันภายในรานฯ เพื่อใหมาชวยงาน โดยมีนาง เอี่ยมเจ็ง ภรรยาของนายคี้เปนผูดูแล ซึ่งในขณะนั้นเองลูกสาวทั้งสองคน ไดแก นางสาวภัทรภร (ลี่เกียง)5 และนางสาวชญานุช (ทัศนีย) ไดเริ่มเรียนรูเกี่ยวกับการรักษาโรคทางการแพทยแผนจีน และจัดยาสมุนไพรจากนายคี้ผูเปนบิดาควบคูกันไปดวย

5

กลับมาจากสาธารณรัฐประชาชนจีนเมื่อป พ.ศ.2516 หลังจากไดรับการสนับสนุนใหเดินทางไปศึกษาที่ สาธารณรัฐประชาชนจีนเมื่ออายุ 12 ป ในป พ.ศ.2500 โดยเดินทางไปกับเรือสินคา


87

รูปที่ 32 สมาชิกในครอบครัวและเครือญาติของนายคี้ แซตั้ง สําหรับในชวงนี้การประกอบกิจการของรานฯ จําเปนตองมีใบอนุญาตประกอบโรคศิลป ซึ่งเปนใบอนุญาตในการประกอบวิชาชีพที่กระทําหรือมุงหมายจะกระทําตอมนุษยเกี่ยวกับการ ตรวจโรค การวินิจฉัยโรค การบําบัดโรค การปองกันโรค การสงเสริมและการฟนฟูสุขภาพ ตาม พระราชบัญญัตคิ วบคุมการประกอบโรคศิลปะ พ.ศ. 24796 กระทรวงสาธารณสุข ซึ่งชวงแรกนั้น ทางรานฯ ไดอาศัยใบอนุญาตประกอบโรคศิลปจากญาติจากหลานชายซึ่งเปนลูกของพี่ชายนาง เอี่ยมเจ็ง ใชประกอบการดําเนินกิจการ และตอมาจึงไดรับความอนุเคราะหจากผูสอบใบอนุญาต ประกอบโรคศิลปซึ่งเปนแพทยแผนไทยอาศัยอยูในยานหลักหาและคลองลัดพลีใหใชใบอนุญาต ประกอบโรคศิ ล ป เ พื่ อ ประกอบการดํ า เนิ น กิ จ การตามลํ า ดั บ จนกระทั่ ง ในป พ.ศ.2523 6

พระราชบัญญัติควบคุมการประกอบโรคศิลปะ พ.ศ. 2479 ไดมีการประกาศใชกอนที่รานฯจะเปดดําเนินการ จึงสันนิษฐานวาในการเปดดําเนินการของรานฯ ซึ่งไดขออนุญาตกับหนวยงานดานสาธารณสุขในสังกัดอําเภอ ดําเนิน สะดวกเพื่ อพิ จารณาอนุ ญาตดํา เนิ นการ นา จะไดรับการอนุโ ลมหรื อผอ นปรนจากทางอํ าเภอฯให เป ด ดํ า เนิ น การได สัก ระยะ แต ก็ ต อ งรี บ ดํ า เนิ น การให มี ใ บอนุ ญาตประกอบโรคศิ ลป ตามพระราชบั ญญั ติ ฉบั บ ดังกลาว


88

นางสาวชญานุช ไดรับการสนับสนุนสงเสริมจากครอบครัวใหศึกษาเรียนรูวิชาการแพทยแผนไทย ไปศึกษาที่สมาคมแพทยเภสัชกรไทยโบราณ โดยหมอนคร บางยี่ขัน ยานทาพระจันทร กรุงเทพฯ เพื่อใหไปสอบใบอนุญาตประกอบโรคศิลป สาขาเภสัชกรรมไดสําเร็จ ใน ป พ.ศ.2524 การไดมาซึ่งใบอนุญาตประกอบโรคศิลปนี้ทําใหทางรานฯสามารถดําเนินกิจการจําหนาย ยาแผนโบราณ 7ทั้ง ที่เ ปน สมุน ไพรไทยและสมุน ไพรจี น ได แตท างรานฯยังคงจําหนายเฉพาะ สมุนไพรจีนเทานั้น เนื่องจากเปนความรูดั้งเดิมที่มีการสืบทอดกันมา และสามารถจําหนายไดอยาง ตอเนื่อง ประกอบกับการที่ในอําเภอดําเนินสะดวกมีรานจําหนายสมุนไพรไทยอยูหลายรานแลว รวมทั้งพื้นที่ในการจัดเก็บสมุนไพรของรานฯทีม่ ไี มเพียงพอหากนําสมุนไพรไทยมาเพิ่มเติมอีก ในชวงหลังป พ.ศ.2500 เปน ตนมา ประเทศไทยมีนโยบายการพัฒนาประเทศเพื่อไปสู ความทันสมัยโดยมีการกําหนดแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติขึ้น แผนพัฒนาประเทศ ในชวงดังกลาวมุงเนนการพัฒนาโครงสรางพื้นฐานเพื่อรองรับการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศซึ่ง ปรากฏในรูปของระบบการคมนาคมขนสงและสาธารณูปโภคสาธารณูปการตางๆ โดยเฉพาะการ คมนาคมทางถนน รัฐ ได เ ร ง กอ สร างถนนหลายสายทั่ วประเทศ พื้ น ที่ อํา เภอดํ า เนิ น สะดวก มีโครงขายถนนที่ตัดผาน คือ ทางหลวงแผน ดิ น หมายเลข 325 หรือถนนสายบางแพ-ดําเนิ น สะดวก-สมุทรสงคราม ซึ่งไดเริ่มดําเนินการชวงแรก ป พ.ศ.2502 สายบางแพ-ดําเนินสะดวก และ ชวงที่สอง ในป พ.ศ.2516 เชื่อมตอจากสายดําเนินสะดวกไปยังสายธนบุรี-ปากทอ ถนนเสน ดังกลาวเปนถนนสายหลักที่ตัดผานอําเภอดําเนินสะดวก ทําใหอําเภอดําเนินสะดวกกลายเปน เมืองเปด สามารถเดินทางติดตอกับกรุงเทพฯและจังหวัดใกลเคียงไดสะดวกยิ่งขึ้น (พรรณทิพย เปยมพุทธากุล 2537: 27) และตอมาในป พ.ศ.2526 มีการตัดถนนสายดําเนินสะดวก-หลักหา ซึ่งเปนถนนที่ตัดคูขนานไปกับคลองดําเนินสะดวก ผลจากการพัฒนาคมนาคมถนนในพื้น ที่ดํา เนิน สะดวกนี้ทําใหเ กิดการเปลี่ย นแปลง รูปแบบการตั้งถิ่นฐานของชุมชนริมสองฝงคลองดําเนินสะดวก บรรดารานรวงที่เคยตั้งเรียงราย จําหนายสินคาและใหบริการตางๆริมสองฝงคลองตามตลาดหองแถวยานชุมชนหนาแนนตางได พากันไปจับจองอาคารพาณิชยที่ป ลูก สรางขึ้น ใหม บริเ วณชุมชนยานตนไทร (คลองฮกเกี้ยน) ซึ่งบริเวณดังกลาวเปนทารถโดยสารและขนสงถายสินคา มีอาคารพาณิชยเกิดขึ้น และโดยเฉพาะ 7

พระราชบัญญัติควบคุมการประกอบโรคศิลปะ พ.ศ. 2479 มาตรา 4 (2) กลาววา การประกอบโรคศิลปะแผน โบราณทั่วไป หมายความวาการประกอบโรคศิลปะแผนโบราณซึ่งศึกษาโดยอาศัยความรูจากตําราหรือการเรียน สืบตอกันมา อันมิใชการศึกษาตามหลักวิทยาศาสตร


89

อยางยิ่งในเวลาตอมาที่บ ริเ วณสองฝงถนนยานตลาดสดเสรี และตลาดเสริมสุขไดก ลายเปน ศูนยกลางเศรษฐกิจที่สําคัญของชุมชนแทนที่ศูนยกลางเดิมที่กระจายตัวอยูตามชุมชนตางๆริม คลองดําเนินสะดวกตามลําดับ การเปลี่ยนแปลงรูป แบบชุมชนนี้ทําใหบรรยากาศทางการคาริมคลองเริ่มเงียบเหงาลง ตลาดหองแถวที่มีอยูก ลายสภาพเปนหองเชาใหแกผูเ ชารายใหมที่ใชพักเพื่ออาศัย ในชวงเวลา เดีย วกัน นี้เ องบรรดาลูกหลานชาวไทยเชื้อสายจีนที่อยูกันแบบครอบครัวใหญมีจํานวนสมาชิก ภายในครอบครัวมากไดเติบโตขึ้นซึ่งตางก็พากันแสวงหาอาชีพใหมโดยยายถิ่นเขาไปทํางานใน เมืองอยางกรุงเทพฯ แตก็มีบางสวนที่ยังคงสืบทอดสานตอกิจการดั้งเดิมจากบรรพบุรุษ รานเอี้ยะเลงฮึ้ง ยังคงตั้งอยู ณ ที่เดิมในตลาดปากคลองสะเดา ก็ไดรับผลที่เกิดขึ้นจากการ เปลี่ยนแปลงดังกลาวตามไปดวย สะทอนจากการเดินทางมาของลูกคายังรานฯ ที่เดินทางมาดวย รถยนตโดยเขามาทางดานหลังของรานฯ ซึ่งติดตอกับถนนสายดําเนินสะดวก-หลักหา ยิ่งไปกวา นั้นจากการสงเสริมและพัฒนาความรูทางการแพทยสมัยใหมโดยรัฐในหมูประชาชนทั่วไป จึงมี สวนทําใหผูมาใชบริการรานฯ เริ่มที่จะลดจํานวนลงไปบาง แตก็ยังมีผูคนบางสวนโดยเปนกลุมชาว ไทยเชื้อสายจีนที่เปนเครือญาติและอยูในระแวกยานชุมชนเดียวกันที่ยังคงมาใชบริการอยู อยางไรก็ตามในชวงเวลาดังกลาว ประมาณป พ.ศ.2524 ทางรานฯ ไดมีแนวคิดที่จะขยาย ธุรกิจเพิ่มเติม ในพืน้ ที่กรุงเทพฯซึ่งเปนพื้นที่ที่รัฐไดมุงพัฒนาใหเปนศูนยรวมความเจริญในขณะนั้น จึงไดมีการจัดตั้งบริษัทผลิตยาผงสําหรับใชรักษาอาการไอ และสมานแผลภายในชองปากซึ่งทาง รานฯพัฒนาสูตร ขึ้นเอง ผลิตภัณฑยาดังกลาวหรือที่ทางรานเรียกวา “ชือเอี้ยะหรือยาดํา” รวมทั้ง วางแผนที่จะผลิตยาสําเร็จรูปประเภทอื่นๆ โดยดําเนินการภายใตสัญลักษณทางการคา “ผึ้ง 9 ตัว” ณ ตึกแถวซึ่งทางรานฯไดซื้อไวสําหรับเปนที่พักกอนหนานี้แลว ประมาณ พ.ศ.2519 ตั้งอยูที่ถนน อิสรภาพ แขวงหิรัญรูจี เขตธนบุรี หรือบริเวณที่เรียกวายานสี่แยกบานแขก แตเมื่อไดดําเนินกิจการ ดังกลาวไดสักระยะ พบวาทางรานฯยังขาดความเขาใจในกลไกและชองทางดานการตลาด รวมทั้ง การสงเสริมการขาย จึงไดตัดสินใจยกเลิกการดําเนินกิจการไป จะเห็นไดวาในชวงตนของยุคนี้กิจการของรานเอี้ยะเลงฮึ้งดําเนินการไปดวยดี เนื่องจาก ปจ จัยสนับสนุนจากการขยายตัวชุมชนการคาริมคลองดําเนิน สะดวกที่มีอยางตอเนื่อง โดยมี สมาชิก ในครอบครัวและเครือญาติที่มีสวนรวมสนับ สนุนกิจ การของรานฯ ซึ่งผูนําครอบครัวได สงเสริมใหลูกๆ ไดเรียนรูทางการแพทยแผนจีน และเตรียมการสืบทอดเพื่อเขาสูอาชีพในอนาคต ขณะเดียวกันในชวงปลายของยุคนี้อําเภอดําเนินสะดวกไดพบกับความเปลี่ยนแปลงในดานตางๆ โดยเฉพาะการพัฒนาการคมนาคมทางบกอันเกิดจากนโยบายการพัฒนาของรัฐที่มีผลตอรูปแบบ


90

การตั้งถิ่ น ฐานและการเคลื่อนย ายศูน ย ก ลางเศรษฐกิจ ของชุม ชน ซึ่ง รานเอี้ย ะเลงฮึ้ ง ก็ไดรั บ ผลกระทบตามไปดวย ชวงที่ 3 ยุคการพลัดเปลี่ยนสูทายาท และการปรับตัว (พ.ศ.2539-ปจจุบัน) ในชวงตนของระยะนี้บรรยากาศทางการคาของรานเอี้ยะเลงฮึ้งไมคึกคักเหมือนในชวงที่ ผานมา ลูกคาที่มาใชบริการลดจํานวนลง ซึ่งสวนหนึ่งอาจเปนผลมาจากการเปลี่ยนแปลงการตั้ง ถิ่น ฐานของชุมชนริมน้ําไปสูชุมชนริมถนน รานรวงที่เ คยตั้ง เรีย งรายอยูริมสองฝงคลองดําเนิน สะดวก รวมทั้งผูคนที่อาศัย อยูริมสองฝงคลอง ตางเคลื่อนยายไปซื้ออาคารพาณิช ยปลูก ใหม ริมถนน รวมทั้งความนิยมในการรักษาดวยการแพทยสมัยใหมทมี่ ีบทบาทตอวิถีชีวิตผูคนในทองถิ่น มากขึ้น ประกอบกับ กระแสในสังคมเกี่ยวกับการรักษาดวยการแพทยแผนโบราณที่ขัดกับหลัก วิธีก ารทางวิทยาศาสตร ความสุขลัก ษณะอนามัย การใชสารเคมีป ลอมปนผสมลงในสมุน ไพร จึงทําใหผูคนเกิดความเชื่อตอความคิดดังกลาว ยิ่งทําใหการรักษาดวยการแพทยแผนโบราณถูก ลดความสําคัญลง และในป พ.ศ.25398 ทางรานฯ ยังสูญเสียบุคคลซึ่งมีนัยยะสําคัญตอการดําเนิน กิจการของรานเอี้ยะเลงฮึ้ง คือ นายคี้ ที่เสียชีวิตลงดวยโรคชรา จึงทําใหลูกคาที่เคยมาใชบริการ เขาใจวารานฯไมไดเปด ดําเนินการแลว หรือเขาใจวาไมมีผูสามารถตรวจรักษาโรคได จึง ทําให ลูกคาที่มาใชบริการลดจํานวนลงไปมาก ดังที่นางสาวภัทรภร (ลี้เกียง) เลาวา “พอเตี่ ย ไม อ ยู คนคิ ด ว า เราป ด ร า นไปแล ว ลู ก ค า บางรายมาถึ ง ก็กลับไป บางคนก็ไมแนใจวาเราจะรักษาแบบเตี่ยทําไดหรือเปลา... บางรายก็อางวาขอมาขอตํารายาตัวนั้น ตัวนี้วาเคยมาเก็บ ไวที่นี่ ... บางวัน ก็เ งีย บมาก คนมาเพีย งคนสองคน บางวันก็ไมมีเ ลยในชวง หลังจากที่เตี่ยเสียไป”

8

ป พ.ศ.2539 ยังเปนปที่อําเภอดําเนินสะดวกไดรับผลกระทบจากภาวะฝนตกหนัก ทําใหเกิดน้ําทวมหนักใน เดือนพฤศจิกายน สงผลใหน้ําเขาทวมเรือกสวนแหลงเกษตรกรรมของอําเภอดําเนินสะดวกไดรับความเสียหาย จํานวนมาก รวมทั้ง รา นเอี้ ยะเลง ฮึ้งที่ ตั้ง อยูริมคลองดําเนิน สะดวกที่ น้ํา เออ เขา ทว มดว ยทํ าให ไมสามารถเป ด ใหบริการไดนานเกือบเดือน


91

รูปที่ 33 บริเวณตลาดปกคลองสะเดา ในสถานการณน้ําทวมใหญในอําเภอดําเนินสะดวก เมื่อป พ.ศ.2539 การดําเนินกิจการของรานฯหลังจากนั้น สถานการณการคายังไมดีขึ้นเทาที่ควรลูกคาใน แตละวันมีจํานวนไมมาก ลูกสาวของนายคี้ทั้งสองคนที่เปนผูสืบทอดกิจการตอ คือ นางสาวภัทรภร (ลี่เกียง) และนางสาวชญานุช ซึ่งไดเรียนรูประสบการณเกี่ยวกับการรักษา การตรวจวินิจฉัยโรค และการจัดสมุนไพรจากนายคี้ผูเปนบิดาไดมาสวนหนึ่งแลว จึงไดตัดสินใจที่จะศึกษาหาความรู เพิ่มเติมเกี่ย วกับการรัก ษาทางการแพทยแผนจีน และการแพทยแผนไทย โดยคาดหวังวาจะได ความรูที่ลึกซึง้ ชัดเจน และเพิ่มความเขาใจมากยิ่งขึ้นในการศึกษาศาสตรดังกลาวและนํามาใชใน การใหบริการรักษาลูกคาไดอยางเหมาะสม สําหรับการศึกษาเพิ่มเติมนั้นลูกสาวคนที่สองของนายคี้ คือ น.ส.ภัทรภร(ลี่เกียง) ไดไป ศึกษาตอทางการแพทยแผนจีนกับอาจารยที่มีค วามเชี่ยวชาญในศาสตรการแพทยแผนจีน กับ อาจารยสองทาน ในชวงป พ.ศ.2540 ณ โรงพยาบาลแหงหนึ่ง ของเมืองซัวเถา มณฑลกวางตุง สาธารณรัฐประชาชนจีน เปนระยะเวลา3เดือน9 โดยศึกษาเกี่ยวกับการตรวจวินิจฉัยโรคดวยการ จับชีพจร การรักษาโรคดวยสมุนไพรจีน สวนนางสาวชญานุช ไดเขาศึกษาที่สํานักเรียนวิชาการ แพทยแผนไทย ณ วัดทาราบ อําเภอบางแพ จังหวัดราชบุรี เพื่อเรียนรูเกี่ยวกับศาสตรการแพทย แผนไทยดานเวชกรรมซึ่งเนนเกี่ยวกับการตรวจวินิจฉัยโรค และการรัก ษาโรคดวยสมุน ไพรไทย ระหวางป พ.ศ.2541-2544 รวมเปนระยะเวลา4 ป และสามารถสอบใบอนุญาตประกอบโรคศิลป สาขาเวชกรรม ไดตามที่ปรารถนาไวในป พ.ศ.2545 9

หลังจากการศึกษาหาความรูเพิ่มเติมจากอาจารยผูเ ชี่ยวชาญศาสตรการแพทย แผนจีนตามระยะเวลาดัง ที่ กลา วมาแล ว หลัง จากนั้น ในเกือ บทุ กป น.ส.ภั ทรภร จะหาโอกาสเดิน ทางไปเยี่ย มคาราวะเหล าอาจารย ที่ใ ห ความรู และแลกเปลี่ยนเรียนรูเกี่ยวกับการรักษาโรค อุบัติการณของโรคที่เกิดขึ้นใหมๆกับวิธีการรักษาที่ตองมีการ ปรับตัวตามไปดวยกับอาจารยเหลานั้น


92

หลังจากการศึกษาหาความรูเพิ่มเติมซึ่งไดดําเนินการควบคูไปกับการดําเนินกิจการของ รานฯ จึงทําใหสามารถนําความรูที่ไดศึกษามาประยุกตในการรักษาแกผูมาใชบริการ ทายาททั้ง สองคนที่สืบทอดกิจการของรานฯจึงไดเรียนรูจากอาการ ภาวะความเจ็บปวยจากลูกคาที่มาใช บริการมากขึ้น และทําการรักษาจนสามารถเกิดผลในทางดีแกลูกคาที่มาใชบริการอยางตรงจุด และหายขาดจากอาการเจ็บปวย สงผลทําใหลูกคาที่มาใชบริการมีการบอกตอระหวางปากตอปาก (Word of Mouth) และเพิ่มจํานวนขึ้นเรื่อยมาทั้งลูกคาในกลุมเดิมซึ่งเปนกลุมชาวสวน กลุมคนไทย เชื้อสายจีนที่หายหนาไปจากการเคยมาใชบริการชวงกอนหนานี้ และโดยเฉพาะกลุมลูกคากลุม ใหม ๆที่ อยู ใ นพื้ น ที่ ตา งอํา เภอ และจัง หวั ด อื่น ๆที่ อยู โดยรอบจั ง หวั ด ราชบุรี เช น สมุท รสาคร สมุทรสงคราม นครปฐม กาญจนบุรี เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ กรุงเทพมหานคร เปนตน

รูปที่ 34 บริเวณตลาดปากคลองสะเดาและการจัดจําหนายสมุนไพรในรานเอี้ยะเลงฮึ้ง ผลจากการศึกษาหาความรูเพิ่มเติมของทายาททั้งสองของรานฯนอกจากจะทําใหจํานวน ลูกคาเพิ่มขึ้นแลว ยังไดนําไปสูการเกิดความมั่นใจในการใหบริการแกลูกคาของผูใหบริการดวย ขณะเดียวกันการเรียนรูวิชาการแพทยแผนไทยของ น.ส.ชญานุช นั้นยังชวยใหเกิดการนําความรู ทางการแพทยแผนไทยมาประยุกตรวมในการรักษาอาการใหแกลูกคาที่มาใชบริการควบคูไปกับ การรักษาดวยการแพทยแผนจีน ดวย เชน การแนะนําการดูแลสุขภาพดวยการใชสมุน ไพรใน ทองถิ่นมาชวยปองกันอาการเจ็บปวย หรือการบําบัดอาการเจ็บปวยของตัวลูกคาที่มาใชบริการ ดวยตนเอง การรับประทานอาหารที่เหมาะสมถูกกับภาวะอาการเจ็บปวย การดูแลสุขภาพดวยการ ออกกําลังกาย10 ซึ่งสอดคลองกับนโยบายของรัฐในการสงเสริมการนําภูมิปญญาทองถิ่นมาใชใน 10

โปรดดูรายละเอียดเพิ่มเติมเกี่ยวกับการใหบริการของรานฯซึ่งเนนการดูแลสุขภาพดวยตนเองของลูกคาที่มาใช บริการในบทที่ 6


93

การดูแลสุขภาพ และการหัน กลับมาใหความสําคัญ กับ การดูแลสุขภาพแบบตะวัน ออกที่เ ปน กระแสอยูในขณะนี11้ และในชวงกลางป พ.ศ.2550 รานเอี้ยะเลงฮึ้ง ตองพบกับการเปลี่ยนแปลงครั้งใหญอีกครั้ง ซึ่งเปนผลมาจากการที่เจาของที่ดินซึ่งรานฯเชาอยู ณ บริเวณตลาดปากคลองสะเดา มีแนวคิดใน การพัฒนาที่ดินขึ้นจึงทําใหทางรานฯไดตัดสินใจยายที่ดําเนินกิจการแหงใหม โดยยายมาอยูริม ถนนสายบางแพ-ดํา เนิน สะดวก-สมุท รสงคราม บริเ วณเชิงสะพานขามคลองดํ าเนิน สะดวก ฝงทางเขาตลาดน้ําดําเนินสะดวก การยายมาอยูในสถานที่ตั้งใหมนี้ มีการประชาสัมพันธใหแก ลูก คาลวงหนา โดยมอบแผนที่บ อกตําแหนงที่ตั้ง ของรานฯแหงใหมและติดประกาศใหลูก คา รับทราบ รานฯแหงใหมสามารถเปดดําเนินการไดในเดือนกุมภาพันธ ป พ.ศ.2551 โดยมีลูกคา กลุมเดิมไดติดตามมาใชบริการตามสถานที่ตั้งใหม รวมทั้งยังมีลูก คากลุมใหมๆที่ไมเคยมาใช บริการดวย เนื่องจากสถานที่ตั้งแหงใหมอยูในเสนทางการคมนาคมที่สะดวกมากขึ้น

รูปที่ 35 ภายในรานเอี้ยะเลงฮึ้งปจจุบัน 11

สะทอนจากการจัดตั้ง หนวยงานของรัฐระดับกรม ไดแก กรมการพัฒนาการแพทยแผนไทยและการแพทย ทางเลือก ในป พ.ศ.2545 และสถาบันการแพทยไทย จีน และเอเชียตะวันออกเฉียงใต ในป พ.ศ.2547 ซึ่งเปน หน วยงานในสั ง กัด กระทรวงสาธารณสุข สามารถดูข อ มูลเพิ่ มเติม ไดใ นหั วข อ แนวโน มการแพทยแ ผนจีน ใน อนาคต บทที่ 2


94

รูปที่ 36 ตราประทับชื่อของรานเอี้ยะเลงฮึ้งในแตละยุค การสืบทอดกิจการรานเอี้ยะเลงฮึ้ง การสืบทอดกิจการของรานเอี้ยะเลงฮึ้ง แบงออกเปนสองสวนคือ การสืบทอดทางการคา และการสืบทอดทางความรูซึ่งทั้งสองสวนมีความเกี่ยวของสัมพันธกัน ดังนี้ การสืบทอดทางการคา การดําเนินกิจ การของรานเอี้ยะเลงฮึ้ง ตั้งแตเ ริ่มดําเนินการมีนายคี้ แซตั้ง เปนเจาของ กิจการโดยเปนทั้ง ผูจัด หาวัตถุดิบ ผูใหบ ริการ ผูผลิตและจัดจําหนาย ซึ่งมีสมาชิกในครอบครัว ไดแก ภรรยา และลูกๆที่ชวยสนับสนุนการดําเนินกิจการของรานฯ โดยเฉพาะในดานการจัดเตรียม วัต ถุดิบ คือ สมุน ไพรจีน ที่ทุก คนมีสวนรวมในการจัดเตรีย ม เมื่อลูก สาวของนายคี้ทั้ง 4 คน เติบโตขึ้น โดยคนโตนางบุนเกียง และคนที่สาม นางอรุณีแตงงานไปมีครอบครัว จึงเหลือลูกสาวอีก 2 คน คือ ลูกสาวคนรองนางสาวภัทรภร (ลี่เกียง) และลูกสาวคนเล็กนางชญานุช ซึ่งนายคี้คาดหวัง วาจะใหสานตอกิจการของรานฯ ครอบครัวจึง ไดตัดสินใจสงนางสาวภัทรภร(ลี่เกีย ง) ไปศึกษา ภาษาและวัฒนธรรมจีนที่สาธารณรัฐประชาชนจีน ตั้งแตตอนอายุ 12 ขวบ เมื่อ พ.ศ.2500 และ กลับมายังประเทศไทยในป พ.ศ. 2516 รวมเปนเวลา 16 ป ขณะที่นางสาวชญานุช ไดศึกษาจน สําเร็จชั้นมัธยมศึกษาตอนตนที่โรงเรียนนารีวุฒิ อาสนวิหารวัดพระแมบังเกิด ตําบลบางนกแขวก อําเภอบางคนที จังหวัดสมุทรสงคราม จึงไดตัดสินใจมารวมสานตอกิจการของครอบครัวรวมกับ พี่สาวคือ น.ส.ภัทรภร(ลี่เกีย ง) ในฐานะผูชวยของนายคี้ในดานตางๆอยางเต็มตัว นายคี้จึงเปน กําลังหลักสําคัญของรานฯ ตั้งแตเริ่มดําเนินการจนกระทั่งถึงป พ.ศ.2539 ที่ถึงแกกรรม หลังจาก


95

นั้น รานเอี้ยะเลงฮึ้งก็ไดรับ การสืบ สานกิจการตอโดยลูก สาวทั้ง สองคนของนายคี้ที่รับ บทบาท รวมกันในฐานะเจาของกิจการจนกระทั่งถึงปจจุบัน การสืบทอดทางความรู แรกเริ่มทีเดียวนั้นนายคี้ แซตั้ง ชวงที่อาศัยอยูที่อําเภอกิกไซ มณฑลกวางตุง สาธารณรัฐ ประชาชนจีน มีบรรพบุรุษที่ประกอบอาชีพการใหบริการรักษาดวยการแพทยแผนจีนโบราณมา กอนแลว นายคี้จึงไดรับการปลูกฝงและถายทอดความรูจากบรรพบุรุษเกี่ยวกับการวินิจฉัยรักษา โรค และความรูเกี่ยวกับสมุนไพรชนิดตางๆที่นํามาใชในการรักษาโรค เมื่ออพยพเขามาตั้งถิ่นฐาน ถาวรในประเทศไทยจึงมีความรูที่ฝงอยูในตัวตนติตามมาดวย และเมื่อไดมาประกอบกิจการราน เอี้ยะเลงฮึ้งจึงไดนําความรูดังกลาวมาใชเพื่อการประกอบอาชีพไดอยางเต็มที่ รวมทั้งไดมีการนํา ตําราทางการแพทยแผนจีนมาศึกษาอยางสม่ําเสมอ นอกจากนี้ยังไดเรียนรูจากการรักษาอาการ เจ็บปวยกับลูกคาที่มาใชบริการ จึงทําใหเพิ่มพูนประสบการณมากขึ้นตามไปดวย สําหรับลูกสาว ทั้งสองคนของนายคี้ที่สืบทอดกิจการของรานฯนั้น ไดรับการปลูกฝงและถายทอดความรูทางการ แพทยแผนจีนจากนายคี้ จากการเขามามีสวนรวมในการเปนผูชวยนายคี้ในการใหบริการแกลูกคา ในทุกกระบวนการเริ่มตั้งแตการจัดหาสมุนไพรกับผูคาสงในกรุงเทพฯ การจัดเตรียมสมุนไพรกอน จัดจําหนาย การจับชีพจร ตรวจวินิจฉัยอาการเจ็บปวย และการทําความเขาใจเกี่ยวกับสรรพคุณ ของสมุนไพรประเภทตางๆ ทั้งจากการอธิบายใหเขาใจ การใหศึกษาจากหนังสือตําราการแพทย แผนจีน การสังเกตเรีย นรูจ ากอาการเจ็บปวยของลูกคาและลักษณะของการจัด สมุนไพรใหไป รับประทาน จนกระทั่งเมื่อไดเขามาสานตอกิจการของรานฯ หลังจากที่นายคี้ถึงแกกรรม ลูกสาวทั้ง สองคนยังไดแสวงหาความรูใ ห แกตนเองดวยการไปศึก ษาเพิ่ มเติมโดย น.ส.ภัท รภร(ลี่เ กีย ง) ไปศึก ษาการจั บ ชีพ จร การตรวจวินิจ ฉัย โรคและการจั ด สมุ น ไพรเพื่อ รัก ษาโรคที่ส าธารณรั ฐ ประชาชนจี น และน.ส.ชญานุช ไปศึก ษาเกี่ย วกับ การแพทยแผนไทย จนสามารถสอบไดใ บ ประกอบโรคศิลปสาขาเวชกรรม และทั้งสองคนไดนําความรูที่สั่งสมมาดังกลาวมาใชในการรักษา และดูแลสุขภาพแกลูก คาที่มาใชบ ริก ารจากทางรานฯ รวมทั้งไดเพิ่มพูน ประสบการณจ ากการ แลกเปลี่ยนเรียนรูในการรักษาลูกคาแตละรายระหวางกัน การศึกษาตําราวิชาการแพทยแผนจีน และแผนไทยอยางสม่ําเสมอดวยตนเอง ตลอดจนไดประยุกตผสมผสานการรักษาดวยการแพทย แผนจีนและการแพทยแผนไทยใหแกลูกคาที่มาใชบริการกับทางรานฯ


96

บทสรุป รานเอี้ยะเลงฮึ้งเปนรานที่กอตั้งขึ้นเพื่อใหบริการตรวจวินิจฉัย และรักษาโรคดวยความรู ทางการแพทยแผนจีน เปน หลัก เริ่มดําเนิน การตั้งแตป พ.ศ.2480 ชื่อของรานฯมีความหมาย สัมพัน ธกับ ลัก ษณะของสังคมเกษตรกรรมชาวสวนที่เ ปนเอกลักษณของอําเภอดําเนินสะดวก ถือเปน ธุรกิจ ในครอบครั วชาวไทยเชื้อสายจีน โดยมีน ายคี้ แซงตั้ง เปน ผูกอตั้ง รานฯแหงนี้ มี พัฒนาการมาเปนลําดับ โดยแบงออกเปน 3 ชวงเวลาที่สําคัญ กลาว คือ ชวงที่หนึ่ง ยุคบุกเบิก การคาและการลงทุน (พ.ศ.2480-2500) เปนชวงเวลาของการบุกเบิก กิจ การ การลงทุนระดม ทรัพยากรตางๆเพื่อเปดดําเนินการ มีแหลงวัตถุดิบที่สะดวกตอการสั่งซื้อเนื่องจากการคมนาคม ผานลําคลองดําเนินสะดวก และมีลูกคาที่เปนกลุมชาวไทยเชื้อสายจีนในอยูในระแวกเดียวกันเปน ลูก คากลุมหลัก โดยการดําเนิน การกิจ การเปน ไปดวยดีสมาชิก ทุก คนในครอบครัวมีสวนรวม สนับสนุน ชวงที่สอง ยุค การคาเฟองฟูและผลจากการพัฒนาอําเภอดําเนินสะดวก (พ.ศ.25012538) ในชวงตนของยุคเปนชวงที่ธุรกิจการคากาวหนาไปพรอมๆกับการขยายตัวของชุมชนริมสอง ฝงคลองดําเนินสะดวก ผูนําครอบครัวไดสงเสริมใหลูกๆเรียนรูทางการแพทยแผนจีนเพื่อเตรียม สานตอกิจ การ และในชวงปลายของยุค เกิดการเปลี่ยนแปลงในดานตางที่เปน ผลมาจากการ พัฒนาคมนาคมทางบกซึ่งทําใหศูนยกลางทางเศรษฐกิจเคลื่อนยายจากริมน้ําสูถนน และชวงที่ สาม การพลัดเปลี่ยนสูทายาทและการปรับตัว (พ.ศ.2539-ปจจุบัน) เปนชวงที่ทายาททั้งสองคน ของผูกอตั้งรานฯเขามาสืบสานกิจการตอซึ่งในระยะแรกเริ่มนั้นตองเจอกับอุปสรรคเนื่องจากการ สูญเสียผูนําหลักที่กอตั้งกิจการ รวมทั้งกระแสการแพทยสมัยใหม แตอยางไรก็ตามทายาททั้งสอง ไดพยายามปรับตัวโดยการแสวงหาความรูเพิ่มเติมใหเกิดความเชี่ยวชาญในศาสตรการรักษาทั้ง การแพทยแผนจีนและแผนไทย สามารถนําความรูที่ศึกษามาประยุกตผสมผสานในการใหบริการ แกลูกคาอยางเห็นผลทําใหกิจการของรานเอี้ยะเลงฮึ้งดําเนินตอไปไดอยางมั่นคง.


บทที่ 5 ยาสมุนไพรจีนของรานเอี้ยะเลงฮึ้ง การใชยาสมุนไพรจีนนับเปนทางเลือกหนึ่งของผูคนที่มีความเชื่อเกี่ยวกับการรักษาบําบัด อาการเจ็บปวยโรคหรือการดูแลสุขภาพตามองคความรูของการแพทยแผนจีน รานที่ใ หบริการ ตรวจรักษาแตละแหงไดนําสมุนไพรจีนดังกลาวไปใชในการปรุงยานานาชนิดตามสูตรตํารับยาซึ่ง เปนความรูเฉพาะที่มีการสืบทอดกันมาและประยุกตคิดคนขึ้นใหมทําใหเกิดเปนเอกลักษณเฉพาะ ของแต ละรานที่ใ หบ ริ ก าร ในบทนี้ผู วิจัย จะนําเสนอถึงเรื่ องราวเกี่ย วกั บ สมุน ไพรจีน ของรา น เอี้ยะเลงฮึ้งซึ่งจะกลาวถึงแหลงที่มา การจัดหาสมุนไพร การดูแลรักษา สถานการณสมุนไพรจีน รวมทั้งประเภทของสมุนไพรที่ปรุงจําหนายของรานฯ กรรมวิธีการปรุงยา เทคโนโลยีที่ใชในการปรุง ยาตลอดจนการควบคุมคุณภาพของสมุนไพรจีนของรานเอี้ยะเลงฮึ้ง เครื่องยาสมุนไพรของรานเอี้ยะเลงฮึ้ง สมุนไพรที่นํามาใชปรุงเพื่อรักษาอาการเจ็บปวยและการดูแลสุขภาพใหแกลูกคาของราน เอี้ยะเลงฮึ้งหรือเครื่องยานั้นเปนผลิตผลจากธรรมชาติหรือเปนวัตถุที่ไดมาจากพืช สัตว และแรธาตุ แตทวาในการปรุงยาของรานฯสวนใหญจะใชเครื่องยาจากวัต ถุที่เปนพืชสมุน ไพรในสัดสวนที่ มากกวาเครื่องยาที่มาจากสัตวและแรธาตุ แหลงที่มาของสมุนไพร สมุนไพรที่รานฯนํามาใชในการปรุงยานั้นเกือบทั้งหมดถูกนําเขาจากสาธารณรัฐประชาชน จีนซึ่งทางรานฯจะสั่งซื้อจากผูคาสงในยานเยาวราช กรุงเทพมหานคร ที่เปนผูนําเขาสมุนไพรจาก สาธารณรัฐ ประชาชนจี น ในฐานะพ อคา คนกลางอีก ทีห นึ่ ง เหตุ ที่ตอ งใชสมุ น ไพรจากจี น นั้ น เนื่องจากในประเทศไทยไมมีพืช สมุน ไพรดังกลาว ถึง แมวาในประเทศไทยจะมีก ารศึกษาวิจัย ทดลองปลูกอยูบาง แตเมื่อนํามาใชแลว การใหสรรพคุณในการรักษาอาจไมไดผลดีเทาทีควรนัก ทั้ง นี้อาจเปน เพราะปจ จัย ในดานสภาพภูมิศาสตร คุณ ภาพของดิน และภูมิอากาศของแตละ ประเทศ จึงสงผลทําใหการเจริญเติบโตของสมุนไพร คุณสมบัติ รูปราง การใหสรรพคุณในการ รักษามีความแตกตางกันตามไปดวย แตอยางไรก็ตามก็มีความพยายามในการศึกษาวิจัยเพื่อการ พัฒนาพืชสมุนไพรจีน ในประเทศไทยอยูบาง เชน สถาบันการแพทยไทย-จีน เอเชีย ตะวัน ออก เฉียงใตดังที่ไดกลาวมาแลวในบทที่ 2


98

สําหรับประเภทของสมุนไพรจีนที่มีการนําเขาจากสาธารณรัฐประชาชนจีนมาใชในการ ปรุงยาของรานฯ อาจแบงออกไดเปน 3 กลุมหลักๆ ซึ่งในที่นี้จะพิจารณาตามลักษณะอวัยวะของ พืช สัตว และแรธาตุ ดังนี้ 1. ผลิตผลที่ไดจากพืช มีทั้งเกสร ดอก ใบ กิ่ง ผล เมล็ด ลําตน ราก ไดแก 1.1 ผลิตผลที่ไดจากดอก เชน กิมหงึ่งฮวย แฮโกวเฉา เก็ก ฮวย ซิงอี้ เก็งกาย เปนตน 1.2 ผลิตผลที่ไดจากใบ เชน ซึงเฮี๊ยะ ตาเต็กเฮียะ ฮื่อแชเฉา เอี้ยะบอเฉา ปแปะเฮียะ เฮียเฮี๊ยะ งิ่มเอี่ยคัก จี๋โซวเฮียง เปนตน 1.3 ผลิตผลที่ไดจากผล เชน กุยอี้ จี้คัก กีจื้อ จี้ซิก เปนตน 1.4 ผลิตผลที่ไดจ ากเมล็ด เชน เชีย โจย จี้ เจี๊ย กปวยบอ ชวนปวยบอ หนึ่งเจงจี้ เหลี่ยงเคี้ยว เคียมซิก เกากี้ ถอยิ้ง โถวซีจี้ ซึ้งจอยิ้ง หนอยจี้ ตั่วจอ เหงยิ้ง ซัวยิ้ง ชังยื๋อจี้ เปนตน 1.5 ผลิตผลที่ไดจากลําตน เชน แปะฮวย พูกงเอ็ง เปาะหอ กําเชา ตังถัง แฮเชา ซิงกี ซิงเกี้ยแซ เหลงจือ เปนตน 1.6 ผลิตผลที่ไดจากเปลือก เชน แปะเสี่ยวพวย ซึ่งแปะพวย อึ่งแปะโตว ตงถิ่งพวย เน็กกุย เปนตน 1.7 ผลิต ผลที่ไ ดจ ากหั วพื ช เช น แชตี่ อึ้ง อิ ก กิ ม เทีย งฮวย ฮ ง เฮี่ย ง เซียมแปะเจี๊ยก ไซเอี่ยเซียม จี๋ขัก แบะหมิ่งตง ซัวเอี้ยะ เฮียงหู กิกแก หกเหล็ง กัวะกิง ชาชิก ชวงเกีย ง แปะตุก แปะจี้ หอซิวโอว เอียงโอวชก เกาหรินเซี้ยม ตังกุย ชังตุก เส็กตี่ฮึ้ง เกียฮึ้ง เกียปวแห เพาฮูจื้อ เปนตน 1.8 ผลิตผลที่ไดจ ากราก เชน ตั่วอึ้ง ปนหลังกิว ฮึ้ง งิ้มอึ่ง นอยตังเซีย ม เจี่ยฮก โหมวตัวพวย ฉาโอว หวยหงูฉิก ตั่งเซียม เจียะเชียงพู หวงฮวง เกียงอั๊วะกุยกี กุกชุย โปวอึ่งคี้ เอี๋ยงจี่ โกยฮวยติ้ง ซกตวง ชุกเก็งเต็ง เปนตน 2. ผลิตผลที่ไดจากสัตว มีตั้งแตเปลือก อวัยวะบางสวน เชน เขา หนัง ดี คราบ กระดูก อาทิ โกยไหลกิม (เนื้อเยื้อในตับไก ) ไหเพีย วเซียว (กระดองปลาหมึก ) ตี่เ ลง(ไสเ ดือน) เสี่ ย มถุ ก (คราบจั ก จั่ น ) โหมวหลี (เปลื อ กหอยนางรม) กู ป ง (กระดองเตา) ป ก ะ (กระดอง ตะพาบน้ํา) แปะจก(ตะขาบ) อิวทั้งไส (แมลงสาบจีนที่เลี้ยงดวยขาวเปลือก) กับไก (ตุกแก) ไฮเบ (มาน้ํา) ชวงเอียก (แมลงปอง) เต็กยง (เขากวางออน) ไหเทียวเจียว (ลิ้นทะเล) โฮวกุด (กระดูกเสือ) เตียงจูบอ (เปลือกหอยมุก) แหมเม็งซัว (มูลคางคาว) เปนตน


99

3. ผลิตผลที่ไดจากแรธาตุ เชน เจียะกอ ยี่เต แชฮวง เอียงอึ้ง เอียงตั้ง ดีเกลือ

สารสม เปนตน นอกจากสมุนไพรที่นําเขาจากสาธารณรัฐประชาชนจีนแลว ทางรานฯไดใชสมุนไพรบาง ชนิดที่สามารถหาซื้อในประเทศไทย ซึ่งเปนพืชสมุนไพรจีนที่อาจปลูกไดในประเทศไทยหรือเปน สมุน ไพรไทยที่เ พาะปลูก ในประเทศไทยโดยสามารถนํามาประยุก ตใ นการปรุงยารวมกัน กั บ สมุนไพรจีนได เชน เตี้ย วฮวง(ไทรยอย) อิ้วบี้ (ลูกเดือย) แชเกีย (ขิงสด) เชียงผู (วานน้ํา) ไนชิว (เกสรบัว) บักหลีฮวย (ดอกมะลิ) ไนเฮียะ (ใบบัว) เหมากึง (หญาคา) ปุกลิวเลี้ย (ครอบจักรวาล) อั้งฮวย (ดอกคําฝอย) เปนตน การจัดหาสมุนไพร ดังที่ไดกลาวมาแลววาสมุนไพรที่นํามาใชในการปรุงยาของรานฯนั้นไดสั่งซื้อจากผูคาสง สมุนไพรจีนในกรุงเทพมหานคร ซึ่งทางรานฯไดมีการติดตอซื้อขายกับผูคาสง ไมมากรายนักที่มีอยู หลักๆเพียง 2 ราน คือ หางขายยาจิ้นเต็กเชียง ซึ่งตั้งอยูบริเวณถนนเจริญกรุง ยานคลองถม และ รานขายยาตงฮั่วจั่น ตั้งอยูบริเวณถนนจักรวรรดิ ตรงขามกับวัดจักรวรรดิราชาวาสสาเหตุที่ทางราน ไดเลือกใชบริการกับผูคาสง 2 รานดังกลาวเนื่องจากผูกอตั้งรานเอี้ยะเลงฮึ้งไดมีการติดตอซื้อขาย กับรานทั้ง 2 มาตั้งแตเ ปดดําเนินการ ในฐานะที่เปน คนไทยเชื้อสานจีนซึ่งอพยพเขามาตั้งหลัก แหลงทํากินในประเทศไทยรุนราวคราวเดีย วกัน ซึ่งทําใหเกิด ความสนิทสนมกับเจาของกิจการ ดังกลาว จึงเปนคูคาที่สําคัญ ระหวางกันเปนระยะเวลายาวนาน โดยเมื่อคนรุน พอแมในฐานะ ผูบุกเบิกกิจการเสียชีวิตไปแลว รุนลูกสืบทอดกิจการก็ยังคงเปนคูคากันอยางอยางตอเนื่อง ทําให การจัด หายาสมุนไพรของรานฯดําเนินไปอยางราบรื่น มาโดยตลอด ซึ่ง ขอดีของการมีรานคาสง สมุนไพรที่เปนคูคาประจํามีอยูหลายประการ ไดแก การทําใหทางรานฯไมตองเสียเวลาในการ เดินทางไปเลือกหาสมุนไพรจีนที่มีอยูหลายแหลงในยานเยาวราช ซึ่งจะตองแสวงหาแหลงที่ดีที่สุด เปรียบเทียบราคา คุณภาพของสมุนไพร สามารถสั่งซื้อสมุนไพรไดตามความตองการ และยังไดรับ รูขอมูลขาวสารความเคลื่อนไหวเกี่ย วกับ สถานการณตลาดสมุน ไพร ราคาสมุน ไพร ปริมาณ สมุนไพรที่มีจํานวนมากหรือขาดแคลนในตลาดสมุนไพรจากการพบปะพูดคุยกับผูคาสง สงผลให สามารถวางแผนการจําหนายสมุนไพรของรานฯทั้ง ในระยะสั้นและระยะยาวได นอกจากนี้ยัง สามารถที่จ ะขอเปลี่ย นสมุน ไพรที่มีก ารสั่งซื้อมาแลว แตพบวาเมื่อจัดสงมายังรานฯสมุน ไพร ดัง กลาวอยูใ นสภาพที่ไมสมบูรณ เชน แตกหัก มีก ลิ่นเหม็น ใกลเสื่อมสภาพ หรือไมตรงตาม รายการที่สั่ง ตลอดจนสามารถที่จะสั่งซื้อสมุนไพรไดลวงหนาโดยยังมิตองชําระเงิน ทั้งนี้ในการ


100

ชําระเงินใหแกผูคาสงซึ่งมีอยู 2 รานนั้น รานแรก คือ หางขายยาจิ้นเต็กเชียง ทางรานฯจะเดินทาง ไปชําระเงินดวยตัวเองเปนประจําทุกเดือนกับที่หางขายยาฯ สําหรับรานที่สอง คือ รานตงอั๋วจั่น ผูคาสงของรานฯจะเดินทางมาจัดเก็บเงินดวยตนเอง พรอมกับการนํายาที่สั่งมาสงให ยิ่งไปกวานั้น กรณีที่มีค วามจําเปนเรงดวนซึ่งทางรานฯมีความตองการที่จ ะตองใชสมุน ไพรเรง ดวนบางชนิด รานคาสงดังกลาวก็จะจัดสงสมุนไพรที่ตองการนั้นผานทางไปรษณียใหกับทางรานฯเปนกรณีไป แตเมื่อยอนไปในอดีตนั้นวิธีการจัดสงสมุนไพร รานคาสงสมุนไพรจะนําสินคามาจําหนาย ยังรานฯทางน้ําโดยเรือเอี้ยมจุนดังที่ไดกลาวมาแลวในชวงพัฒนาการของรานฯ และในระยะเวลา ตอมารานคาสงสมุนไพรดังกลาว ไดเปลี่ยนมาจัดสงสมุนไพรผานทางบริษัทรับขนสงสินคา ซึ่งก็ยัง สงสินคาผานทางลําคลองดําเนินสะดวก โดยบริษัทรับขนสงสินคานั้น รับขนสงสินคาที่หลากหลาย มาจัดสงตามรานรวงชุมชนตางๆที่ตั้งอยูริมคลองดําเนินสะดวก แตอยางไรก็ตามในปจจุบันเมื่อมี การพัฒนาการคมนาคมทางบกที่สามารถทําใหการขนสงสินคาเปนไปอยางสะดวก ประกอบการ รานรวงที่ตั้งอยูริมคลองดําเนินสะดวกไดเคลื่อนยายไปตั้งแหลงทํากินบริเวณริมถนนสายหลักแทน จึงทําใหการขนสงสินคาทางน้ําคอยๆลดจํานวนลงในที่สุด ปจจุบันรานคาสงจะใชบริษัทขนสงดวยรถยนตมาจัดสงสมุนไพรใหแกทางรานฯ และใน การสั่งซื้อสมุนไพรนั้นทางรานฯจะติดตอกับรานคาสงสมุนไพรผานทางโทรศัพทเพื่อสั่งซื้อสมุนไพร ตามที่ตองการ ซึ่งทางรานคาสง จะแจง วันโดยประมาณที่สมุนไพรที่สั่ง ซื้อจะจัดสง มาถึงรานฯ ดังนั้น จะเห็นไดวาผูคาสงยาสมุนไพรจีนที่ติดตอกับทางรานฯมาอยางยาวนานในฐานะผูสนับสนุน วัตถุดิบที่นํามาใชในการใหบริการแกลูกคา สะทอนถึงมิติความสัมพันธระหวางหางขายยาจิ้นเต็ก เชียง และรานตงฮั่วจั่น ผูคาสงทั้ง 2 ราน ทําใหเกิดเปนเครือขายความสัมพันธที่แนบแนน ถึงแมวา จะมีคูความสัมพัน ธที่ไมมาก แตกิจกรรมที่เกิดขึ้นในเครือขายนั้นมีมิติที่สลับ ซับ ซอนทั้งในเชิง ประวัติความเปน มา เศรษฐกิจ และความสัมพัน ธทางสังคม ยังผลตอการวางแผนการดําเนิน กิจการของรานเอี้ยะเลงฮึ้งจนถึงปจจุบัน ดังที่ทางรานฯได กลาววา “สั่งกับรานจิ้นเต็กเชียงมานานแลวตั้งแตสมัยเตี่ย เปนเพื่อนคนจีนที่ เขามาอยูในเมืองไทยดวยกัน ตอนเด็กๆ เราก็ไปสั่งยาที่รานกับเตี่ย ชวยเตี่ยถือยากลับ มาขายที่ราน พอเตี่ย อายุมากเราก็มาดูแลสั่งยา ตอนหลั ง มี โทรศัพ ทก็ โ ทรไปสั่ ง ได ตั ง ค ก็ยั ง ไม ตอ งจา ย เก็บ บิล ไว หลายๆใบแลวคอยไปจายได เขาก็เ ชื่อใจรานฯเราเพราะสั่ง ของกัน มานาน พอมียาตัวไหนแพง ถูก ราคาขึ้นลง เขาก็จะบอกใหสั่งซื้อมา เก็บไวลวงหนา หรือยาตัวไหนที่หาซื้อยากๆ เราก็ไหววานใหเขาชวย


101

หาใหก็มี สินคาตัวไหนไมมีหรือดีไมดีอยางไร ของปลอมของจริงก็จะ ใหเขาชวยดูให” นอกจากการจัดหาสมุนไพรจากผูคาสง ในพื้นที่ก รุงเทพมหานครแลว ทางรานยังจัดหา สมุนไพรบางชนิดดวยการหาซื้อเองจากรานจําหนายตามทองตลาดในพื้นที่ดําเนินสะดวก เชน การหาซื้อตามรานจําหนายธัญพืช อาทิ ลูกเดือย (อิวบี้) การหาซื้อตามรานจําหนายสมุนไพรไทย รวมทั้งการหาซื้อหรือขอปนสมุนไพรกับรานจําหนายสมุนไพรจีนดวยกันในพื้นที่ดําเนินสะดวก ซึ่งผู จําหนายยาสมุนไพรจีนแตละรานที่รูจักมีความสนิทสนมกันมักจะมีการชวยเหลือแบงปนสมุนไพร ในกรณีที่บางรานฯมีจํานวนสมุนไพรบางตัวที่ไมเพียงพอตอการจําหนายในการใหบริการแกลูกคา ก็จะมาขอยืมสมุนไพรตัวนั้นไปใชและหลังจากนั้นก็จะนําสมุนไพรตามปริมาณที่มีการขอยืมหรือ ปนไปมาคืนยังรานจําหนายแตละแหง อยางไรก็ตาม ในชวงป 2557 รานจิ้นเต็กเชีย ง ซึ่งเปน รานคาสง สมุน ไพรที่ติดตอคากับ กับ ทางรานฯมายาวนานไดปด กิจการลง เนื่องจากการสั่ง ซื้อ สมุนไพรจากลูกคารายยอยของรานจิ้นเต็กเชียงมีแนวโนมลดลง รวมทั้งระดับราคาสมุนไพรจีนมี ราคาที่สูง มากขึ้นหลายเทาตัว ทําใหตองใชเงินทุนจํานวนมากในการสั่ง ซื้อสมุนไพรจีน จึงปด กิจการ แตทางรานจิ้นเต็กเชียงก็ไดแนะนํารานคาสงสมุนไพรจีนที่รูจัก คือ รานจิ้นแซเชียง ซึ่งอยูใน ยานเยาวราชเชนกัน ใหกับรานเอี้ยะเลงฮึ้งเพื่อใชเปนชองทางในการสั่งซื้อสมุนไพรจีน ไดอยาง ตอเนื่อง การดูแลรักษาสมุนไพร หลังจากผูคาสงจัดสงสมุนไพรใหกับทางรานฯ หรือกรณีที่ทางรานฯไดจัดหาซื้อยาสมุนไพร ดวยตนเองแลว สมุนไพรที่ไดมานั้นทางรานฯจะนํามาตรวจสอบสภาพกอนนําไปใชในการปรุงยา ใหแกลูกคา โดยจะสังเกตคุณลักษณะเกี่ยวกับรูปราง สี กลิ่น ความสะอาด และความชื้นเพื่อให แนใจวาปลอดภัยและสามารถนําไปใชได การดูแลรักษาสมุนไพรของรานฯ มีดังนี้ 1. การคัดเลือกสิ่งแปลกปลอมที่ติดหรือผสมมาดวยในสมุนไพร เนื่องจาก อาจมีเศษหิน ดิน ทราย หรือสวนของพืชอื่นที่ไมตองการปะปนมาดวย โดยพิจารณาดวยสายตา และคัดเลือกสิ่งปลอมปนออก หรือนําสมุนไพรมาใสกระจาดเพื่อรอนเอาสิ่งแปลกปลอมออกหรือ เศษผงของสมุนไพรนั้นๆที่ไมสามารถนํามาใชไดออก 2. การทําความสะอาดสมุนไพร มีอยูหลายวิธีแตโดยสวนใหญทางรานฯ จะนํา สมุน ไพรมาลางดวยน้ําสะอาด 1-3 รอบ เชน โบวหลีห รือเปลือกหอยนางรมทุบ ที่มักมีเศษหิน ปะปนมาดวย อิวบี้หรือลูกเดือยที่อาจมีเศษเมล็ดพืชชนิดอื่นๆผสมมา ไทรยอยที่อาจมีเศษใบไม


102

ชนิดอื่นปะปน เปนตน หลังจากนั้นตองรีบทําใหแหงเพื่อปองกันไมใหเกิดเชื้อราที่อาจจะเกิดขึ้นได นอกจากวิธีการใชน้ําลางสมุนไพรแลว ยังมีวิธีการทําความสะอาดดวยวิธีอื่นอีก ไดแก การนํามา เช็ดดวยผาสะอาด การขุดผิวหรือขนที่เปลือกสมุน ไพรออก ซึ่งสมุน ไพรที่ทําความสะอาดดวย วิธีการดังกลาวจะอยูในสภาพที่ไมตองทําความสะอาดมากนัก เนื่องจากทางรานคาสงหรือแหลง วัตถุดิบไดมีการทําความสะอาดมาแลวในเบื้องตนแตเพื่อใหเกิดความปลอดภัยและสะอาดมาก ยิ่งขึ้นทางรานฯจะทําความสะอาดอีกครั้ง เชน การใชผาสะอาดเช็ดโตวตง การขุดเปลือกกุยทง การขุดขนที่ติดมากับวานน้ํา เปนตน 3. การลดหรือเปลี่ยนรูปของสมุนไพรใหมีขนาดที่เหมาะสม สมุนไพรบาง ชนิดที่จัดซื้อมานั้นอาจมีขนาดใหญ หรือเปนเสนยาว หรือเปนเปลือกไมเนื้อแข็ง จะตองไดรับการ ทําใหอยูในสภาพที่เหมาะสมเพื่อสะดวกในการดูแลรักษา การนําไปใชในการจัดเก็บลงลิ้นชักยา หรือกลองบรรจุสมุนไพร และโดยเฉพาะการจัดลงในหอยา หากมีขนาดที่ใหญเกินไปจะทําใหไม สามารถหอยาตามที่ขนาดกระดาษที่มีอยูได เชน ตังซิม ปกคี้ ซึ่งมีลกั ษณะเปนเสนยาวจะถูกนํามา หั่นเปนทอนๆ ติ่มเฮีย(จันชะมด) โซวปก (ฝาง) จะถูกนํามาสับใหมีชิ้นเล็กลง ไนเฮียะ (ใบบัว) จะ ไดรับการตัดใหมีขนาดที่เหมาะสม เพื่อความสะดวกในการหยิบใชและบรรจุลงหอยา เปนตน 4. การนํา สมุนไพรมาแตกแดด เหตุที่ตองนําสมุน ไพรไปตากแดดนั้น เปน เพราะสมุนไพรบางชนิดอาจถูกผูคาสงจัดเก็บไวในหองเย็นที่มีอุณหภูมิต่ํา เมื่อจัดลําเลียงสงมา ผานระบบขนสงจนกระทั่งถึงรานฯ อาจนําไปสูการเกิดความชื้นหรือเกิดเชื้อราไดงาย นอกจากนี้ การนําสมุนไพรมาตากแดดยังเปนการปองกันมอดหรือแมลงชนิดอื่นๆที่มากัดกินสมุนไพรได โดย ทางรานฯจะนําสมุนไพรที่จัดหามานั้นเทใสลงในกระบุง ถาด หรือตะกรา แลวนําไปตากกลางแดด ซึ่งในการนําสมุนไพรมาตากแดดนั้นตองพิจารณาถึงสภาพภูมิอากาศที่จะเอื้ออํานวยใหสามารถ ดําเนินการไดดวย เชน หากสภาพอากาศที่บนทองฟามีเมฆครึ้มหรือมีความชื้น หรือหลังฝนตกแต มีแดดก็ไมสามารถนํามาตากได โดยทั่วไปจะตองเปนสภาพอากาศที่บ นทองฟาโปรงมีแดดแรง ซึ่งจะทําใหสมุนไพรที่นําไปตากแดดนั้นแหงเร็ว


103

รูปที่ 37 การนําสมุนไพรออกมาแตกแดดและตูลิ้นชัก กระปอง ขวดสําหรับจัดเก็บสมุนไพร กอนจัดจําหนาย สมุนไพรที่ไดรับการคัดเลือกสิ่งแปลกปลอมที่ปนมา การทําความสะอาดดวยการลางน้ํา การรอน การเช็ด การขุด การลดรูปใหมีขนาดเล็กลง และการนําไปตากแดดแลวนั้น สวนหนึ่งจะถูก นํามาจัดใสลิ้นชักไมที่ทางรานฯจัดเตรียมไวสําหรับหยิบสมุนไพรเพื่อจัดใหแกลูกคาที่มาใชบริการ และในแตละลิ้นชักจะประกอบดวยกลองสี่เหลี่ยมจัตุรัส หรือกลองสี่เหลือมผืนผาแบบไมมีฝาปด อยูในแตละลิ้นชัก ทําดวยสังกะสีเพื่อปองกันความชื้น ลิ้นชักที่บรรจุกลองสี่เหลี่ยมจัตุรัสสามารถ บรรจุกลองได 6 ใบ สิ้นชักที่บรรจุกลองสี่เหลี่ยมผืนผาสามารถบรรจุกลองได 4 ใบ นอกจากการ จัดเก็บไวในลิ้นชักแลว สมุนไพรอีกสวนหนึ่งจะถูกนําไปจัดเก็บในภาชนะที่มีหลากหลายรูปแบบ เชน ขวดแกว กลองสังกะสีที่มีขนาดแตกตางกันออกไป โดยจะระบุขอความชื่อสมุนไพรนั้นๆไวที่ ขางกลอง สมุนไพรบางชนิดถูกบรรจุอยูในถุงกระดาษ ถุงพลาสติก ซึ่งทั้งหมดถูกจัดเก็บไวในรานฯ อยางไรก็ตามยังมีสมุนไพรบางชนิดที่ตองจัดเก็บไวในอุณหภูมิต่ํา ซึ่งทางรานฯจะนําไปจัดเก็บไวใน ตูเย็น เพื่อเปนการรักษาคุณภาพ รูปลักษณของสมุนไพรใหสามารถใชยาวขึ้นและดูนารับประทาน นอกจากนี้ยังมีสมุนไพรบางชนิดที่มีลกั ษณะพิเศษในการจัดเก็บโดยจัดเก็บในที่ทึบแสง เชน เกาลี้ (โสมแดง) เอี่ยซิม (โสมขาว) เต็กยง (เขากวางออน) ที่จัดเก็บไวดวยการหอกระดาษและใสกลองไม หรือกลองทึบแสง เพื่อรักษาคุณภาพของสรรพคุณทางยา เปนตน


104

รูปที่ 38 ภายในลิ้นชักที่ใสสมุนไพรของรานเอี้ยะเลงฮึ้ง สถานการณสมุนไพรจีน สมุนไพรจีนที่ใชในการปรุงยาของรานฯจากอดีตจนถึงปจจุบันนับวามีการเปลี่ยนแปลงไป ตามเงื่อนไขจากหลายปจ จัย เชน สถานการณของโรค สภาพภูมิอากาศ กําลังในการผลิตจาก แหลงวัตถุดิบ เทคโนโลยี เปนตน ซึ่งมีสวนทําใหสมุนไพรมีความเปลี่ยนแปลงไปทั้งในดานปริมาณ ความตองการใชสมุนไพรแตละชนิดในแตละชวงเวลา ระดับราคาสมุนไพร การแปรรูปสมุนไพรของ ผูผลิตกอนการจัดจําหนาย ซึ่งลวนสัมพันธกัน ดังนี้ 1. ปริมาณความตองการใชสมุนไพรในตลาด สมุนไพรบางชนิดในชวงเวลาใดเวลาหนึ่ง อาจมีความจําเปนตองการใชจากผูจัด จํา หน ายรายยอ ยเป น จํ า นวนมาก หรื อ ความต องการของตลาดหลั ก ที่ ส ง ออกสมุ น ไพร คื อ สาธารณรัฐประชาชนจีนที่ตองการใชสมุนไพรชนิดนั้นๆภายในประเทศเอง ซึ่งจะทําใหไมสามารถ สงสมุนไพรออกจําหนายในปริมาณที่ไมเพียงพอได เหตุผลดังกลาวอาจเปนเพราะสถานการณ อุบัติของโรคที่เกิดขึ้นในชวงเวลาใดเวลาหนึ่ง ที่วงการแพทยมีความจําเปนตองการใชสมุนไพรชนิด นั้นๆ มาใชในการรักษาโรคนั้นๆหรือการที่สมุนไพรชนิดนั้นๆเปนสวนประกอบที่สําคัญในการปรุง ยารวมกันสมุนไพรชนิดอื่นๆเพื่อใชในการรักษาโรคไดดี ตัวอยางเชน กรณีการอุบัติของโรคทางเดิน หายใจเฉิบพลันรุนแรงหรือซารส ที่แพรระบาดในชวงป พ.ศ.2545-2546 ในสาธารณรัฐประชาชน จีน ซึ่งวงการแพทยจีนมีความจําเปนตองการใชสมุนไพรโซวฮวยเปนจํานวนมากเพื่อนําไปสกัดปรุง ยารักษาโรคดังกลาว ทําใหสมุน ไพรโซวฮวยในประเทศไทยขาดตลาด มีก ระทั่งการกวานซื้อ สมุนไพรชนิดดังกลาวที่สงออกจากสาธารณรัฐประชาชนจีนมาแลว กลับเขาสูประเทศในชวงที่เกิด โรคขึ้น ทําใหสมุนไพรชนิดนี้มีราคาสูงขึ้นอยางเห็นไดชัด โดยกอนหนาที่จะเกิดโรคดังกลาว มีราคา อยูที่ชั่งละ 250-300 บาท และหลังจากนั้นมีราคาอยูที่ชั่งละประมาณ 1,500 บาท และลดราคาลง


105

เหลือชั่งละประมาณ 300-400 บาทหลังจากการหยุดแพรระบาด ยังมีตัวอยางของกรณีที่สมุนไพร บางชนิดขาดแคลนภายในตลาดของไทย เชน สมุนไพรโตวตงที่ชวงหนึ่งมีราคาสูงถึงชั่งละ 3,500 บาท จากเดิมที่ชั่งละ 200-300 บาท เปนตน นอกจากความตองการปริมาณสมุนไพรของตลาดที่เกิดขึ้นจากการนําไปใชรักษา โรคที่อุบัติขึ้นใหมๆแลว อีกปจจัยหนึ่งคือตัวสมุนไพรบางชนิดเองที่เปนสมุนไพรประเภทหายาก มีการลดจํานวนลง เชน สมุนไพรที่ไดมาจากอวัยวะของสัตว อาทิ เต็กยง (เขากวางออน) โฮวกุด (กระดูกเสือ) โฮวหนี (นมเสือ) ไซงูฮวย (เลือดแรด) ฮิ่มตา (ดีหมี) เปนตน สมุนไพรที่ยกตัวอยางมา นี้ปจจุบันมีจํานวนไมมีมากและมีราคาสูง หากมีความตองการใชจะตองไดรับ การอนุญาตตาม กฎหมายทั้งภายในสาธารณรัฐประชาชนจีน และระหวางประเทศจึงสามารถนํามาจําหนายได จึงเปนเหตุใหมีการลักลอบดําเนินการสงออกและนําเขาสมุนไพรดังกลาวอยางผิดกฎหมาย สมุนไพรสวนใหญที่ใชในการใหบริการของรานจําหนายสมุนไพรจีนในประเทศ ไทยนั้นถูกนําเขามาจากสาธารณรัฐประชาชนจีนเปนหลัก โดยในสาธารณรัฐประชาชนจีนก็มีการ สง เสริมอุตสาหกรรมการปลูกพืช สมุน ไพรสําหรับ การสง ออก ซึ่ง มีการเพาะปลูกมากในหลาย มณฑล เชน มณฑลกันซูเปนแหลงผลผลิตทางการเกษตรที่สําคัญ โดยเฉพาะวัตถุดิบสมุนไพรจีน เชน ตังกุย มณฑลจี๋หลินเปนแหลงสมุนไพรยาจีน โดยมีพืชที่สามารถใชทํายากวา 1,850 ชนิด มี ผลิตภัณฑโสม เขากวาง “The Northeastern Treasure” มีชื่อเสียงทั้งในจีนและตางประเทศ นอกจากนี้ มณฑลจี๋หลินยังมีทรัพยากรมากมายที่เปนวัตถุดิบในการผลิตยา โดยเปนพันธุพืช ประมาณ 27,000 ชนิด และมีพืชสมุนไพรประมาณ 9,000 ชนิด (www.thaibizchina.com : ออนไลน) เนื่องจากมีภูมิอากาศที่เหมาะสมเอื้ออํานวยตอการเจริญเติบโตของสมุนไพร ทําใหผล ผลิตที่มีคุณ ภาพ สาธารณรัฐ ประชาชนจีน จึงเปน ประเทศที่สงออกสมุน ไพรมากที่สุดของโลก จากการวิเคราะหขอมูลของศูนยขอมูลเพื่อธุรกิจไทยในจีน (ออนไลน : 2557) ไดสรุปตัวเลขการ นําเขาผลิตภัณฑสมุนไพรจีนที่สงออกไปทั่วโลก และการสงออกสมุนไพรจีนมายังประเทศไทย ซึ่ง แสดงใหเ ห็น วาสมุน ไพรจากสาธารณรัฐ ประชาชนจีน ไดรับ การยอมรับ และถูก นําไปใชอยา ง แพรหลาย ตารางที่ 13 แสดงตัวเลขการนําเขาผลิตภัณฑสมุนไพรจีนสูประเทศไทย (ลานดอลลาร) 2010 2011 2012 41.2752 52.324532 51.365888 ที่มา : www.thaibizchina.com


106

ตารางที่ 14 แสดงตัวเลขการสงออกผลิตภัณฑสมุนไพรจีนไปทั่วโลก (ลานดอลลาร) 2010 2011 2012 4491.896591 5421.432012 5898.71608 ที่มา : www.thaibizchina.com 2. ระดับราคาของสมุนไพร ราคาสมุนไพรมีการขึ้นลงตามสถานการณของกลไกตลาดซึ่งปจจัยที่มีผลตอการ ขึ้น ลงของระดับ ราคานั้น อาจเปน ผลมาจากสถานการณของโรคที่เ กิดขึ้น ทําใหมีความจําเปน ตองการใชสมุนไพรชนิดใดชนิดหนึ่งเปนจํานวนมาก ทําใหมีผลตอราคาสมุนไพรชนิดนั้นๆ ดังที่ได กล าวมาแล วข างตน นอกจากนี้ยั ง มี ค วามเกี่ ย วข องกับ การดํ าเนิน นโยบายของสาธารณรั ฐ ประชาชนจีนที่มีแผนจะพัฒนาการนําพืชสมุรไพรจีนมาประยุกตกับการรักษาแบบผสมผสานกับ การแพทยแผนปจจุบัน จึงทําใหเกิดการศึกษาคนควาวิจัยเกี่ยวกับสมุนไพรจีนอยางกวางขวางและ นําไปสูการสรางผลิตภัณฑที่ไดมาจากสมุนไพรจีนเพื่อใชในประเทศและการสงออกไปยังทั่วโลก ซึ่ง ปจ จุบัน สาธารณรัฐ ประชาชนจีน มีสมุน ไพรจากธรรมชาติจํานวน 12,807 ชนิด มีตํารับ ยา สมุน ไพรจีนกวา 100,000 ตํารับ ดัง นั้น การพัฒนาองคค วามรูที่ผานการวิจัย ทดลองตามหลัก วิทยาศาสตรสมัยใหมไดนําไปสูการคิด คนผลิตภัณ ฑจากสมุนไพรประเภทตางๆ ซึ่ง ปจจุบันใน สาธารณรัฐ ประชาชนจีนมีย าสําเร็จรูป กวา 5,000 ชนิด ผลดังกลาวยอมมีตอการสงเสริมการ เพาะปลูก สมุน ไพร (หมอชาวบาน, 2557 : ออนไลน) การสง ออกสมุน ไพรจากสาธารณรั ฐ ประชาชนจีน ไปยังประเทศตางๆ จึงไดรับ ผลกระทบ ทําใหไ มสามารถสงออกไดเ หมือนอดี ต นอกจากนี้ยังรวมไปถึงการลงทุนในอุตสาหกรรมการเพาะปลูกพืชสมุนไพรที่จะตองใชนวัตกรรม เทคโนโลยี รวมทั้งแรงงานเปนจํานวนมาก จึงสงผลใหผลิตภัณฑสมุนไพรจีนที่สงออกนั้นมีราคา สูงขึ้นตามไปดวย จากการเปรีย บเทีย บราคาสมุน ไพรจีน ของรานฯซึ่งอยูใ นระดับ คุณ ภาพดี คือ มีค วามสะอาด สดใหม และมีรูปรางที่อยูใ นสภาพไมแตกหัก จัดซื้อมาจากผูคาสง สมุนไพรใน กรุงเทพมหานครนับวามีการเปลี่ยนแปลงของระดับราคาคอนขางมากในชวงสิบปที่ผานมา จะเห็น ไดวาสมุนไพรที่สําคัญซึ่งเปนพื้นฐานในการรักษามีแนวโนมสูงขึ้น ซึ่งมีผลตอการจัดจําหนาย และ ภาระคาใชจายที่ทางรานฯและลูกคาที่มาใชบริการตองรับเพิ่มมากขึ้นดวย


107

ตารางที่ 15 เปรียบเทียบราคาสมุนไพรที่สําคัญกอนและหลังป พ.ศ.2555 ป พ.ศ. (ราคาตอ 1 ชั่ง /บาท) สมุนไพร กอน พ.ศ.2555 หลัง พ.ศ.2555 1. เกียงอัวะ 300 600 2. โซวฮวย 150 450 3. เกากี้ 200 350 4. ตังกุย 350 850 5. ชาวโอว 150 450 6. ตังซิม 250 600 7. ปกคี้ 200 580 8. เทียงมั้ว 200 500 9. เลงเอี้ยง (ตอเขา) 4,000 8,000-12,000 10. ชั้งชิก 200 3,000 11. แปะตุก 180 250 12. ชังตุก 180 300 * หมายเหตุ 1 ชั่งเทากับ 6 ขีด 3. การแปรรูปสมุนไพรเพื่อใหสะดวกตอการใช ในอดีต นั้น สมุ น ไพรที่ถูก จั ด ซื้อมาจากผู คาสง ในกรุ ง เทพมหานคร หลั ง ไดรั บ มาแลวนั้นทางรานฯจะตองนํามาทําความสะอาด คัดเลือกสิ่งแปลกปลอมที่อาจปนอยูในสมุนไพร หรือการนําไปตากแดดกอนที่จะนําสมุนไพรเหลานั้นไปจัดจําหนายใหแกลูกคา จําเปนตองมีการ จัดการกับสมุนไพร เนือ่ งจากมีสมุนไพรบางชนิดที่จัดหามานั้นไมสามารถนําไปจัดยาไดเพราะมี ขนาดที่ใหญ จึงตองนํามาลดทอนใหเล็กลงหรือทําใหมีขนาดที่เหมาะสม สามารถที่จะกําหนด น้ําหนั ก และนําไปใชกั บ ตราชั่งยากอนจัดลงหอยาได โดยมี ก ารดํ าเนิน การอยูห ลายวิธี อาทิ การนํามาหัน ดวยมีด เชน ชะเอมเทศ (กําเชา) ตังซิม ฮั่วอูจิก ที่มีรูปรางเปนเสนที่ยาว การนําไปสับ เชน จันชะมด ที่มีลักษณะเปนกอนไมขนาดเล็ก ชุงเก็งเต็ง ที่มีลักษณะเปนเถาวัลย การนําไปไส ดวยเครื่อง เชน ปกคี้ ตังกุย แปะจี้ ที่มีลักษณะเปนหัวพืช เขากวางออน ที่นําตองมาแชกับเหลา และนําไปตากแดดแลวจึงคอยเอากระจกมาขุดออกเปนเสนฝอยเล็กๆ เปนตน


108

รูปที่ 39 สมุนไพรที่ไดรับการแปรรูปใหอยูในหีบหอที่สะดวกตอการใช แตในปจจุบันผูผลิตสมุนไพรจีนในสาธารณรัฐประชาชนจีนไดมีการแปรรูปหรือ ลดสัดสวนของสมุนไพรใหมีขนาดที่เหมาะสมโดยการใชเครื่องจักรเขามาชวยในการหั่น หรือตัด สมุน ไพร แลวนําไปบรรจุในหีบ หอทั้งที่เปนถุง พลาสติก กลองพลาสติก โดยมีเครื่องหมายทาง การคา และกําหนดระยะเวลาการใชสมุนไพรซึ่งแสดงใหเห็นถึงมาตรฐานของสมุนไพรจีน จึงชวย ในการอํานวยความสะดวกใหแกทางรานฯ ในการประหยัดแรงงาน เวลาในการจัดการกับสมุนไพร แตละชนิด และยังทําใหเกิดความสวยงามของตัวยาสมุนไพรซึ่งมีขนาดที่ใกลเคียงกัน เนื่องจากถูก จั ด การด ว ยเครื่ อ งจั ก ร ชวนให น า รั บ ประทาน รวมทั้ ง เกิ ด ความน า เชื่ อ ถื อ ได ม ากยิ่ ง ขึ้ น แตขณะเดียวกันทางรานที่จําหนายสมุนไพรแตละแหงก็ตองยอมรับกับคาใชจายในการดําเนินการ ของผูผลิตตนทางที่ผนวกอยูกับสมุนไพรที่สั่งซื้อมาดวย การปรุงยาสมุนไพรของรานเอี้ยะเลงฮึ้ง การปรุงยาสมุนไพรของรานเอี้ยะเลงฮึ้งเปนการนําเครื่องยาตั้งแต 2 ชนิดขึ้นไปผสมเขา ดวยกัน ซึ่งอาจนํามาตม ตํา บด ดองหรือหมักรวมกัน โดยผลที่ไดหลังจากการปรุงดังกลาวจะเปน ยาที่ใชรับประทานเขาสูรางกายหรือใชภายนอกรางกาย ทั้งนี้ในการปรุงยาแตละประเภทนั้นจะใช สมุนไพรจํานวนมากหรือนอยเพียงใดขึ้นอยูกับสูตร หรือตํารับยาแตละขนานที่ทางรานฯ จัดใหไป รับประทาน ประเภทของยาสมุนไพร ยาของรานเอี๊ยเลงฮึ้งที่ปรุงจําหนายใหแกลูกคาที่มาใชบริการมีอยูดวยกัน 5 ประเภท คือ ยาตม ยาดอง ยาเม็ด ยาผง และยาหมัก ดังนี้


109

1. ยาตม หรือบางครั้งเรียกวา ยาหมอ เปนยาที่ทางรานฯออกใบสั่งยาหลังจาก การวินิจฉัยอาการใหแกลูกคาที่มาใชบริการ ยาตมแตละหอจะมีสมุนไพรซึ่งจะใชมากหรือนอยนั้น ขึ้นอยูกับอาการของโรคและการคํานวณน้ําหนักของสมุนไพรแตละชนิดที่ทางรานฯกําหนดใหในยา แตละหอ ยาตมที่ทางรานฯจัดใหนั้นลูกคาที่มาใชบริการจะตองนําไปตมรับประทานดวยตนเอง ตามกรรมวิธีที่กําหนดไวโดยจะมีเอกสารกํากับเพื่ออธิบายวิธีการตมยาใหแกลูกคา 2. ยาดอง เปนยาที่มีลัก ษณะคลายคลึงกับการจัด ยาตม แตอาจจะมีจํานวน สมุนไพรที่มากกวาหรือนอยกวายาตม และสมุนไพรบางชนิดที่ใชในการดองมีสรรพคุณทางยาที่ ใหผลในการรักษาสูง เชน โสมขาว โสมแดง เขากวางออน ตังกุย โตวตง เปนตน ผสมรวมอยูในตัว ยาแตละหอ การดองยาลูกคาจะตองนําไปดองเอง โดยใชภาชนะเปนโหลแกวพรอมฝาปดที่สะอาด ในการใสสมุน ไพร และมีเ หลาขาวเปน สวนประกอบที่สําคัญ ในการดองยา ซึ่งมีก ารกําหนด ระยะเวลาดองยา และวิธีในการรับประทานยาตามที่ทางรานฯกําหนด 3. ยาเม็ด การจําหนายยาเม็ดของทางรานฯนั้นมีอยูดวยกัน 2 ลักษณะ คือ ยา เม็ดปนลูกกลอน และยาเม็ดบรรจุแคบซูล ยาทั้ง 2 แบบมีกรรมวิธีในการปรุงที่คลายคลึงกันโดยใน ขั้นแรกจะเปนการจัด ยาสมุนไพรตามสูตรตํารับ ยาของทางรานฯ หลังจากจัดยาสมุนไพรเปน ที่ เรียบรอยแลว จะนําสมุนไพรทั้งหมดมาทําการคั่วใหแหงสุกทุกตัว เหตุที่ตองนําสมุนไพรมาทําการ คั่วใหแหงก็เพื่อเปนการปองกันการเกิดความชื้นที่อาจเกิดขึ้นและนําไปสูการเกิดเชื้อราไดและยังมี สวนชวยในการบดยาใหงายและเร็วขึ้น อยางไรก็ตามมีสมุนไพรบางชนิดที่จัดไวตองนํามาจัดการ ใหมีขนาดที่เล็กลง โดยอาจจะนํามาหั่น ทุบ สมุน ไพรบางชนิดที่มาจากสัตว เชน เปลือกหอย ลิ้นทะเล จะนําไปลางแลวนําไปสะตุใหเปนผง ซึ่งการทําใหมีขนาดเล็กลงหรือเปนผงก็เพื่อชวยให การบดยาเปนไปดวยความรวดเร็วขึ้นดวยเชนกัน และเมื่อเตรียมสมุนไพรโดยการนําไปคั่วใหสุก เปนที่เรียบรอยแลวสมุนไพรทุกตัวจะไดรับการคลุกเคลาผสมรวมกันกอนนําไปบดใหละเอียดดวย เครื่องบดยา และรอนดวยตะแกรงจนกวาจะเปนผงละเอียดตามที่ รานฯตองการ สําหรับการทํายาเม็ดลูกกลอนนั้น จะตองนําสมุนไพรที่บดเปนผงละเอียดมาผสม กับน้ําผึ้งที่ไดรับการเคี้ยวใหรอนแลวทําการคลุกเคลาผสมกันในครกหินใหไดเนื้อยาที่เนียน จน สามารถที่จะนําไปปนดวยมือ ซึ่งในการปนยานั้นขั้นตอนแรกจะตองปนเนื้อยาออกเปนเสนยาว ประมาณ 1 คืบ โดยจะมีขนาดเสนผานศูนยกลางเล็กหรือใหญนั้นขึ้นอยูกับประเภทของยาเม็ดที่ ทางรานฯจัดจําหนายซึ่งมีอยูดวยกัน 2 ประเภท คือ ยาเม็ดขนาดเล็ก และยาเม็ดขนาดใหญ ทั้งนี้ ในระหวางปนยาผูปนจะตองทาน้ํามันงาที่มือดวยเพื่อทําใหยาเม็ดไมติดมือและขึ้นรูปปนไดงาย หลังจากปนยาใหเปนเสนยาวตามขนาดที่กําหนดแลว จะนําไปใสที่เครื่องปนรูปเม็ดยาออกมา


110

เปนเม็ด หลังจากนั้นจึงนํามาปนดวยมือใหกลมอีกครั้ง กอนที่จะนํายาที่ปนแลวไปตากแดดใหแหง และจัดจําหนายตอไป อยางไรก็ตามในปจจุบันการปนยาของทางรานฯดวยตนเองนั้น จะปน เฉพาะยาที่มีขนาดเม็ดใหญเทานั้นเนื่องจากการผลิตแตละครั้งมีจํานวนไมมาก สวนยาเม็ดเล็กที่มี การผลิตเปนจํานวนมากในแตละครั้งนั้น ทางรานฯจะจัดสงสมุนไพรที่ไดรับการบดเปนผงเรียบรอย แลวไปใหกับรานคาสงที่จัดซื้อสมุนไพรไปวาจางผลิตดวยเครื่องจักรและอบใหแหง หลังจากนั้นจึง จัดสงกลับมาใหแกทางรานฯจําหนายอีกครั้ง ยาอีก รูป แบบหนึ่งคือยาบรรจุแคบซูล โดยกรรมวิธีใ นการทํายาดังกลาวจะมี ขั้น ตอนที่งายกวาการทํายาเม็ดลูก กลอน กลาวคือหลังจากที่จัดยาสมุน ไพรแลวนํามาบดให ละเอียดดวยเครื่องจนเปนผงแลว ก็จะนํายาผงดังกลาวมาบรรจุลงในแคบซูล ซึ่งแคบซูลที่นํามาใช นั้นทางรานฯจะจัดซื้อแคบซูล ที่มคี ุณภาพจากรานคาสงสมุนไพร โดยขอสังเกตสําคัญในการเลือก ซื้อแคบซูล คือ ตองเลือกซื้อแคบซูลที่ผลิตจากขาวเหนียว ซึ่งสามารถนํามาทดสอบดวยการละลาย น้ําจะละลายไดงาย หากละลายยากชาและน้ําที่ละลายนั้นมีความเหนียวอาจสันนิษฐานไดวาจะมี สารเคมีอื่นๆปะปนอยู ซึ่งเมื่อใชแคบซูลที่ละลายน้ําไดงาย รับประทานเขาไปแลวจะสามารถทําให ยาที่รับประทานเขาไปในรางกายดูดซึมไดเร็วขึ้น ยอมใหผลตอการรักษาโรคที่รวดเร็วขึ้น 4. ยาผง มีวิธีก ารปรุงที่คลายคลึง กับ การทํายาเม็ด โดยเมื่อบดสมุน ไพรดวย เครื่องบดยา หรือตําดวยครกจนเปนผงละเอียดแลวก็สามารถนํามาใชไดเ ลย ซึ่งยาผงของทาง รานฯแบงออกเปน 2 ลักษณะ คือ ยาผงที่ใชรับประทานและยาผงที่ใชกับอวัยวะภายนอกรางกาย ยาผงที่ใชรับประทานสามารถที่จะรับประทานไดเลยเมื่อปรุงเสร็จ ซึ่งทางรานฯจะนํามาบรรจุใน ขวดเพื่อจัด จําหนาย โดยยาผงที่มีก ารจัด หนายไดแก ยาดําหรือชื้อเอี้ย ะ และยาผงสีแดงหรือ เอาเอี้ยะ ประเภทรักษาโรคในลําคอ โดยใชวิธีการเปาลงในไปลําคอเพื่อชวยบรรเทาอาการไปหรือ เจ็บคอ หรือใชทาสําหรับสมานแผลภายในชองปาก อยางไรก็ตาม ก็มียาผงอีกประเภทที่ทางรานฯ ไดจัด ทําขึ้น ตามความตองการของลูก คาบางราย คือ ยาผงที่ชวยลดอาการไขมันในเสน เลือด ซึ่งเมื่อรับประทานจะตองนํายาผงดังกลาวไปผสมกับน้ํารับประทาน เปนตน แตปจจุบันก็ไมไดปรุง ยาประเภทหลังนี้มากนักเนื่องจากตองใชเวลาในการผลิตนาน สําหรับยาผงอีกประเภทหนึ่งคือยา ผงที่ใชในการรักษาอาการเจ็บปวยของอวัยวะภายนอกรางกาย ซึ่งลักษณะอาการที่เปนจะอยูที่ ผิวหนัง เชน มีการอาการคัน ผืน ลมพิษ งูสวัด เปนตน ลูกคาจะนํายาผงที่ทางรานฯจัดใหไปผสม กับสวนประกอบอื่นๆ เชน เหลา น้ําชา น้ําสะอาด ดินสอพอง เพื่อนําไปทาหรือผอกบริเวณที่มี อาการเจ็บปวย


111

5. ยาหมัก เปน ยาที่ใชสําหรับ รัก ษาอาการภายนอกรางกายบริเ วณผิวหนัง มีวิธีการปรุงโดยการนําสมุนไพรที่จัดเตรียมไวตามสูตรมาทุบหรือสับพอละเอียด แลวนํามาเทใสใน ขวดโหลหรือไห หลังจากนั้นจึง เทน้ํามัน งาลงไปผสมคลุกเคลากัน ทําการหมัก ยาใหเขากันเปน ระยะเวลาหลายเดือนหรือนานนับป โดยสวนผสมทั้งหมดจะเขาผสมเปนเนื้อเดียวกัน จนสามารถ นํามาใชผอกหรือทาบริเวณที่เปนฝหรือหนองได ซึ่งทางรานจะเรียกยาชนิดดังกลาววา “เต็งเอี้ยะ” หรือยาหมักบางสูตรตํารับยาอาจตองนําไปผสมกับเหลา น้ําชา ยาประเภทนี้ทางรานฯไมคอยไดจัด จําหนายแลวเนื่องจากผูคนไมคอยนิยมใชเพราะมีวิธีใชที่คอนขางยุงยาก อีกทั้งยัง ตองใชระยะ เวลานานในการผลิต สวนใหญทางรานฯจะนํามาใชกันเองภายในครอบครัวเมื่อเจ็บปวยเปนครั้ง คราวที่ตองใชยาหมักในการรักษา เทคโนโลยีที่ใชในการปรุงยา ในการปรุงยาของทางรานฯนั้น จําเปนตองอาศัย แรงงานมนุษ ย และอุป กรณเครื่องไม เครื่องมือ เทคโนโลยีเ ขามามีสวนชวยในการปรุง ยาซึ่ง ใชในทุก กระบวนการตั้งแตก ารจัด เก็บ สมุน ไพรแตละชนิด การจัดเตรีย มสวนประกอบของสมุน ไพรที่ป รุง การผสมยา การผลิตยา เปนตน โดยมีอุปกรณเครื่องมือดั้งเดิมและเทคโนโลยีสมัยใหมที่ใช ดังนี้ 1. เครื่องชั่งยา เปนอุปกรณที่ใชในการกําหนดน้ําหนักของสมุน ไพรแตละชนิดที่ตองการใช ซึ่ง ขึ้นอยูกับสูตรยาแตละตํารับ เครื่องชั่งยาของรานฯมีอยูดวยกัน 2 แบบ คือ เครื่องชั่งยาที่เปนจาน ดานเดียวโดยจานดังกลาวผูกโยงกับ คานไมยาว จานดานนี้มีไวสําหรับใสสมุนไพรที่จะกําหนด น้ําหนัก สวนอีกดานหนึ่ง จะเปนลูกตุมถวงน้ําหนัก กึ่งกลางของคานไมจะเชือกผูก ไวสําหรับถือ เวลาชั่งน้ําหนัก เวลาชั่งผูจะจะขยับลูกตุมถวงน้ําหนักไปตามน้ําหนักที่กําหนด สมุนไพรที่ใชในการ ชั่งสมุนใหญจะมีขนาดเล็ก เชน เตียงจู(ไขมุก) ไซอั่งฮวย (หญาฝรั่น) สวนแบบที่สองเปนเครื่องชั่ง น้ําหนักแบบจาน 2 ดาน โดยดานหนึ่งไวสําหรับใสลูกตุมน้ําหนักซึ่งมีอยูหลายขนาด เชน ครึ่งสลึง หนึ่งสลึง สามสลึง หาสลึง หนึ่งตําลึง เปนตน และอีกดานหนึ่งไวสําหรับชั่งสมุนไพร


112

รูปที่ 40 เครื่องชั่งยาประเภทตางๆสําหรับคํานวณน้ําหนักสมุนไพร 2. เครื่องใสยา ใชสําหรับไสสมุนไพรที่มีลักษณะเปนหัว โดยจะไสสมุนไพรออกมาเปนแผนบางๆ เครื่องดังกลาวทําดวยไมมีลักษณะสี่เหลี่ยมผืนผา ตรงกลางจะมีใบมีดวางแนวขวางสําหรับนํา สมุน ไพรมาไส ซึ่งในการไสยาสมุน ไพรจะตองนําเครื่องไสดังกลาวไปติด ตั้งอยูใ นที่สูงจากพื้น เพื่อใหตัวสมุนไพรที่ไสออกมารองรับในภาชนะที่เตรียมไว แตปจจุบันไมไดใชงานแลว เนื่องจากผู จัดหนายสมุนไพรตนทางไดมีการแปรรูปสมุนไพรใหอยูในสภาพที่สามารถนํามาจัดลงหอยาได สะดวก

รูปที่ 41 เครื่องใสยา 3. เครื่องหันยา/มีดหันยา ใชสําหรับหันยาสมุนไพรใหมีขนาดตามที่ตองการ โดยเฉพาะกอนนํายาไปบดหรือ จัดลงในหอยา ซึ่งจะชวยทําใหสมุนไพรมีขนาดที่เล็กลง มีดหั่นยาของทางรานฯ มีลักษณะเปนรูปสี่ เหลียมจัตุรัส มีดามจับที่ทําดวยไม โดยยึดมุมคันโยกกับแทนเหล็กที่ตั้งอยูบนแทนไม และมีแทน หินไวสําหรับรับใบมีด


113

รูปที่ 42 มีดสําหรับหั่นยา และหินลับมีด 4. ครกตํายาหรือปรุงยา ภายในรานฯมีครกที่ใชในการตํายาและใชเปนภาชนะในการคลุกเคลาผสมปรุง ยา ซึ่งทําดวยทองเหลือง เหล็ก และหิน โดยจะมีการแบงแยกครกอยางชัดเจนที่ใชสําหรับตําหรือ ปรุงยาเพื่อรับประทานและยาสําหรับใชภายนอก

รูปที่ 43 ครกประเภทตางๆสําหรับตําสมุนไพร 5. แทนไมสําหรับปนยาและเครื่องปนยา เป น อุ ป กรณ ที่ ทํ า ด ว ยไม แท น ไม ที่ ใ ช ใ นการป น ยามี ลั ก ษณะเป น แผ น ไม สี่เหลี่ยมผืนผา ตอเปนแทนไมสูงจากพื้น 1 นิ้ว คลายโตะ ใชสําหรับการปนยา การกําหนดขนาด ของเสนยาที่จะปน สวนเครื่องปนยา มีสวนประกอบ 2 สวน คือ สวนแรก ตัวฐานไมรูปทรงสี่เยี่ยม จัตุรัสกอขึ้นสูงจากพื้นประมาณ 1 นิ้ว โดยมีลักษณะการทําเปนรองไมหลายรองลาดเท ซึ่งจะใช สําหรับวางยาที่ปนเปน เสนแลว และสวนที่สอง คือแทนกดยามีลัก ษณะรูปทรงสี่เ หลี่ยมผืน ผา ดานลางทําเปนรองไมที่ประกบตรงกับฐานไม โดยมีดามจับอยูดานบน ซึ่งเมื่อวางเสนยาและกด แทนเคลื่อนไหวไปมาแลวก็จะไดเม็ดยาไหลออกมา


114

รูปที่ 44 แทนไมสําหรับปนยาและเครื่องปนยา 5. รางบดยา ใช สํ า หรั บ บดยาให ล ะเอี ย ดตามความต อ งการโดยรางบดยาของร า นฯ มีองคประกอบ 3 สวน คือ สวนแรกตัวรางยาที่ทําดวยเหล็ก มีความยาวประมาณหนึ่งเมตร และ กวางประมาณสิบนิ้ว สวนที่สองคือเสาไมขนาดสูงเกือบสองเมตร เสนผานศูนยกลางประมาณยี่สิบ เซนติเมตร ปลายเสาดานบนที่มีเหล็กเสียบอยูตรงกึ่งกลางโดยสอดอยูในชองไมกลวงไวสําหรับ ควบคุมการเคลื่อนที่ของเสา ปลายเสาดานลางติดลอเหล็กหมุนไดสําหรับบดยา และสวนที่สาม เปนดามจับยาวยึดติดกับลอเหล็กดานลางของเสายาวประมาณหนึ่งเมตรกวา ใชสําหรับจับโยก เสาใหเคลื่อนที่ไปมาขณะที่บดยา

รูปที่ 45 รางบดยา


115

7. เครื่องอัดเม็ดยา เปนอุปกรณที่มีขนาดเล็กใชในการอัดเม็ดยาซึ่งทําดวยทองเหลืองมีลักษณะเปน รองวงกลมหลายรองทําเปนแผงกวาง และมีที่จับดานบนไวสําหรับกดยาใหเปนเม็ดแลวจึงนําที่กด ออกไปตากแดดใหแหงกอนรับประทาน แตปจจุบันไมไดใชแลว เนื่องจากใชแทนยาที่เปนไมในการ ปนแทน

รูปที่ 46 เครื่องอัดเม็ดยาทองเหลือง 8. เครื่องบดยาไฟฟา เปนอุปกรณที่ทําดวยเหล็กทรงกลมมีความสูงจากพื้นเมตรกวา ประกอบดวย 2 สวนที่สําคัญ คือ ตัวฐานดานลางสี่เหลี่ยมกอเหล็กและติดตั้งมอเตอรสําหรับใชในการปนสายพาน หมุนบดยา สวนดานบนกอเปนรูปวงกลมคลายแองกะทะโดยมีลอสําหรับบดยา 2 ลอที่เชื่อมโยง กัน และสวนประกอบที่สองคือฝาครอบที่ทําดวยอะลูมีเ นีย มวงกลมสําหรับ ปด ครอบฐานแอง กระทะ เพื่อปองกันสมุนไพร กะเดนออกจากเครื่อง ดานบนของฝาครอบมีชองสําหรับเปดปดเพื่อ ใชดูความละเอียดของเนื้อยา เครื่องบดยาไฟฟานี้ทางรานฯจัดซื้อมาในราวป พ.ศ.2546 เพื่อชวย ละระยะเวลาและอํานวยความสะดวกในการบดยาจาการใชรางบดยาดวยแรงงานมนุษยแทน

รูปที่ 47 เครื่องบดยาไฟฟา


116

9. ตะแกรงรอนยา เป น ตะแกรงที่ ใ ช สํ า หรั บ ร อ นยาซึ่ ง ในอดี ต ขอบทํ า ด ว ยไม แ ละตะแกร ง ร อ นทํ า ด ว ย ทองเหลือง แตตอมาจัดซื้อขึ้น ใหมทําดวยอะลูมิเนียม ซึ่งมีอยูหลายขนาด โดยชองความถี่ของ ตะแกรงจะมีความแตกตางกันขึ้นอยูกับความตองการความละเอียดของเนื้อยาแตละชนิด ผงที่ได จากการรอนยาจะนําไปใชในการทํายาผงและยาเม็ด

รูปที่ 48 ตะแกรงรอนยาขนาดตางๆ 10. อุปกรณอื่นๆ

รูปที่ 49 หมึกจีน และพูกันจีนสําหรับออกตั๋วยา รูปที่ 50 เครื่องคิดเลขจีนโบราณและไมสําหรับ และเขียนเสือที่ใบหนาสําหรับผูที่เปน ทับกระดาษหอยาเวลาจัดยา โรคคางทูม


117

การควบคุมคุณภาพของยา การควบคุมคุณภาพของยาเปนการดําเนินงานที่มีเปาหมายเพื่อทําใหยาของรานฯที่จัด จําหนายไปใหแกลูกคารับประทานนั้นมีคุณภาพ ซึ่งจะสงผลตอการรักษาและการหายขาดจากโรค หรืออาการเจ็บปวย นอกจากนี้ยังมีสวนชวยในการยืดอายุการจัดเก็บยาที่ปรุงแลวไดอีกทางหนึ่ง ดวย โดยการควบคุมคุณภาพยาของทางรานฯนั้นจะใหความสําคัญในทุกกระบวนการตั้งแตการ คัดเลือก จัดเก็บ สมุนไพร ขั้นตอนการปรุงยาที่จะตองใชความพิถีพิถันในการดําเนินการ 1. การจัดเก็บสมุนไพร เปนการดูแลรักษาสมุนไพรหลังจากที่ไดมีการคัดเลือก สิ่งเจือปน การทําความสะอาด การนําไปลางน้ํา เช็ด ขุด หรือการนําไปตากแดด ซึ่งหลังจากนั้นได นําไปจัดเก็บไวในกลอง หีบหอที่ทําจากเนื้อสังกะสีเพื่อปองกันความชื้น และมีการตรวจสอบสภาพ สมุนไพรที่จัดเก็บนั้นเปนระยะวาสามารถนํามาใชในการปรุงยาและจัดจําหนายไดหรือไม 2. ขั้นตอนการปรุงยา การปรุงยาแตละประเภทตามตํารับยาของทางรานฯนั้น จะใหความสําคัญกับทุกขั้นตอนตั้งแตการคัดเลือกสมุนไพรที่อยูในสภาพสมบูรณมาใชในการปรุง ยา การทําสมุนไพรใหสุกโดยการคั่วใหแหงกอนนํามาบดรวมกัน การใชภาชนะที่สะอาดในการปรุง ยา การพิจารณาสภาพแวดลอมภูมิอากาศที่จะมีผลตอการปรุงยา โดยเฉพาะการไมปรุงยาในชวง ที่มีฝนตก สภาพอากาศที่มีความชื้นสูงซึ่งจะมีผลกระทบตอการจัดเตรียมสมุนไพร การผสมยาตาม ไปดวย การปรุงยาโดยไมใชสารหรือวัตถุกันเสียใดๆลงผสมลงในตัวยาเนื่องจากสมุนไพรทุกตัวที่ใช ในการปรุงยานั้นผานความรอนโดยการคั่วใหสุกทุกชนิดและเมื่อนํามาผสมปรุงรวมกันและทําการ ปน หรืออัดเปน เม็ดแลวจะถูก นําไปอบหรือตากแดดจนแหง ทั้งนี้ใ นการปรุงยาแตละประเภท โดยเฉพาะยาลูกกลอนจะผลิตแตละครั้งในจํานวนที่ไมมากเพื่อใหยาที่จัดจําหนายแกลูกคาเปนยา ที่ใหมอยูเสมอ 3. การบรรจุยาที่ปรุงแลว ในการบรรจุยาที่ปรุงแลวของทางรานฯแบงออกเปน 2 รูปแบบ คือ ยาประเภทยาตมและยาดอง ทางรานฯจะใชกระดาษบรูฟสีขาว1ตัดเปนรูปสี่เหลี่ยม จัตุรัสซึ่งมีขนาดแตกตางกันไปตามปริมาณของสมุนไพรที่จะจัดในแตละหอ เหตุที่ตองใชกระดาษ ในการบรรจุหอยานั้น เนื่องจากมีความสะอาด ปองกันความชื้น และสามารถที่จะบรรจุยาและหอ

1

อย า งไรก็ ดี ใ นช ว งเทศกาลตรุษ จี น ทางร า นฯจะใชก ระดาษสี แ ดงสํา หรั บ หอ ยาใหแ ก ลูก คา ที่ ม าใช บ ริ ก าร โดยชาวจีนเชื่อวาสีแดง เปนสีที่มงคล เปนเสมือนแสงสวาง ความอบอุน พละกําลังและความรุงโรจนในการกาว เขาสูปใหมของชาวจีน ซึ่งรานจําหนายสมุนไพรจีนเกาแกในอําเภอดําเนินสะดวกก็นิยมใชกระดาษสีแดงสําหรับ หอยาใหแกลูกคาที่มาใชบริการเชนกัน


118

ไดงาย และรัดดวยยาง และอีกประเภทหนึ่ง คือ ยาเม็ดลูกกลอนจะใชถุงพลาสติกใสในการบรรจุ ซึ่งจะชวยใหลูกคาสามารถสังเกตเห็นสภาพของตัวยาที่ชัดเจน และสะดวกตอการหยิบใช นอกจากการควบคุมคุณภาพของรานฯที่ดําเนินการดวยตนเองแลว ทางรานฯยังไดรับการ ควบคุมคุณภาพการดําเนินงานจากสํานักงานสาธารณสุขอําเภอดําเนินสะดวก จะมีก ารจัดสง เจ า หนา ที่ ม าตรวจติด ตามการดํ าเนิ น งานของทางร านฯ ปล ะหนึ่ ง ครั้ ง โดยมี ก ารตรวจการ ดําเนินงานเกี่ยวกับการตออายุการขึ้นทะเบียนใบอนุญ าตประกอบการคา การสนทนาซักถาม เกี่ยวกับการดําเนิน งานของรานฯ เชน จํานวนสมุน ไพรที่สั่งซื้อ การใชบริการของลูกคา มีการ แลกเปลี่ยนความคิดเห็นเกี่ยวกับการรักษาโรค ความเคลื่อนไหวในแวดวงสาธารณสุขในประเด็น ตางๆ ยาประเภทอื่นๆที่ใหบริการ นอกจากทางร า นฯจะให บ ริ ก ารจํา หน ายยาที่ป รุ ง ขึ้น เองแล ว ภายในร านฯยั ง มี ก าร ใหบริการจําหนายยาประเภทอื่นๆซึ่งกระทรวงสาธารณสุขอนุญาตใหจําหนายได เนื่องจากทาง รานฯไดรับใบอนุญาตประกอบโรคศิลป ยาประเภทดังกลาวทางรานฯไมไดผลิตขึ้นเอง แตสั่งซื้อมา จากผู ค า ส ง ในกรุ ง เทพมหานคร หรื อ สั่ ง ซื้ อ โดยตรงจากบริ ษั ท ที่ จั ด จํ า หน า ยยาชนิ ด นั้ น ๆ โดยผลิตภัณฑยาที่สั่งซื้อมาจําหนายมีทั้งยาที่ผลิตขึ้นในประเทศและจากตางประเทศ ซึ่งสามารถ จัดประเภทไดดังนี้ 1. ยาที่ใชสําหรับประทาน อาทิ ยาบรรเทาอาการไอ เชน ยาน้ําดําตราเสือดาว ยาซอมปอยใหม ยาน้ําโยคี ยาบรรเทาอาการเจ็บคอใชชง อม หรือกวาดคอรับประทาน เชน ยา เทียนกิ้ดเซี้ยง (เก็กเสี่ยงเต) ยาตราไกบิน ยาอมตราตะขาบ ยาบรรเทาอาการเปนลมวิงเวียน บํารุง หัวใจ เชน ยาหอมตราหาเจดีย ยาหอมนกกระเรียน ยาหอมฤาษีทรงมา ฮูอึ้งเช็งซิมอี้ ยาบรรเทา อาการทองขึ้นแกไขตัวรอนสําหรับเด็ก เชน ยาชิกลี้ซัว ยาปอเอ็งตัง ยาเอี่ยมจั่วซั่ว ยาแกทองอื่น เชน ขมิ้นชันอัดเม็ด เปนตน 2. ยาสําหรับใชภายนอก ซึ่งแบงได 2 ลักษณะ ไดแก 2.1 ยาที่ใชสูดดมบรรเทาอาการวิงเวียนศีรษะ มึนงง เชน ยาดมโปยเซียน ยาหมองน้ําเซียงเพียวอิ้ว ยาหมองน้ําแปะฮั่วอิว ยาหมองตราเสือ ยาหมองตราลิง ยาหมองตรา ถวยทอง เปนตน


119

2.2 ยาที่ใชบรรเทาอาการเจ็บและรักษาบาดแผลตามผิวหนัง เชน ยาแดง ยาเหลือง แอลกอฮอล ทิงเจอรไอโอดีน พลาสเตอร ผาพันแผล กอเอี้ยะสําหรับบรรเทาอาการปวด ที่กลามเนื้อ กอเอี้ยะสําหรับกัดฝหนอง มหาหิงคุ เปนตน

รูปที่ 51 ยาประเภทอื่นๆที่นํามาใหบริการแกลูกคา ยาที่นํามาใหบริการดังกลาวสังเกตไดวามีจํานวนไมมากนัก และไมหลากหลายสวนใหญ เปนยาสามัญประจําบานทั่วไป เนื่องจากลูกคามาใชบริการสวนใหญตองการมารับประทานยา จากสมุน ไพรที่รานฯปรุงหรือจัดใหซึ่งตรงกับ อาการเจ็บ ปวยมากกวา ยาที่นํามาจัดจําหนา ย ดังกลาวจึงเกิดจากความตองการซื้อของลูกคาที่จะเขามาตั้งใจซื้อยาเหลานี้โดยเฉพาะ นอกจากนี้ เหตุที่ทางรานฯนํายาดังกลาวมาจําหนายในปริมาณที่เหมาะสมกับทางรานฯ เนื่องจากในตลาดสด ดําเนินสะดวกมีรานจําหนายยาแผนปจจุบันจํานวนหลายรานที่คลายคลึงกับทางรานฯและมีตัวยา ประเภทยาใหเลือกหลากหลาย ซึ่งผูคนในทองถิ่นนิยมไปใชบริการรานจําหนายยาในตลาดสด มากกวา บทสรุป ยาสมุ น ไพรจี น ของร า นเอี้ ย ะเล ง ฮึ้ ง จํ า นวนเกื อ บทั้ ง หมดเป น สมุ น ไพรที่ นํ า เข า จาก สาธารณรัฐ ประชาชนจีน มีทั้งผลิต ผลที่ไดจ ากพืช สัตว และแรธาตุ การจัดหาสมุน ไพรเหลานี้ ดําเนินการผานผูคาสงในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ซึ่งทางรานฯไดมีการติดตอเปนคูคาระหวางกันกับ ผูคาสงเหลานี้มาตั้งแตอดีตจนถึงปจจุบันทําใหเกิดความสนิทสนม ความไวเนื้อเชื้อใจกันในการ สั่งซื้อสมุน ไพร การแลกเปลี่ย นขอมูลขาวสารในตลาดสมุนไพรจีนในประเทศและตางประเทศ ซึ่งปจจุบันสถานการณของสมุนไพรจีนนั้นพบวา มีความเปลี่ยนแปลงไปอยางมากทั้งดานความ


120

ตองการใช ระดับราคาที่มีแนวโนมสูงขึ้น และการแปรรูปลักษณของสมุนไพรใหสามารถสะดวกตอ การใช ซึ่งมีผลกระทบตอทางรานฯ และลูกคาที่มาใชบริการ ซึ่งจะตองแบกภาระคาใชจายที่สูงขึ้น ตามไปดวย สมุนไพรที่ทางรานฯไดสั่งซือ้ มาเพื่อใชในการปรุงยาและจัดจําหนายนั้นจะไดรับการดูแล คัดเลือกสิ่งแปลกปลอม การทําความสะอาดในรูปแบบตางๆ เชน การลางน้ํา การขุด การนําไป ตากแดด ฯ เพื่อใหสมุนไพรมีความสะอาดและปองกันการเกิดเชื้อราที่อาจเกิดขึ้นไดในภายหลัง แลวจึงนํามาบรรจุในภาชนะที่ปองกันความชื้น สําหรับการปรุงยาสมุนไพรของรานฯที่ดําเนินการ อยูประกอบดวยยาตม ยาดอง ยาผง ยาเม็ด และยาหมัก ซึ่งมีวิธีการปรุงที่แตกตางกันออกไปตาม ยาแตละประเภท โดยเฉพาะยาเม็ดที่จะตองใชความพิถีพิถันในการจัดเตรียมสวนประกอบของ สมุน ไพรแตละชนิด การผสมปรุงยาตามสูตรตํารับ ยา นอกจากนี้ยังมีการใชเทคโนโลยีทั้ง จาก แรงงานมนุษยและเครื่องจักรเขามาชวย ซึ่งในการผลิตยาใหมีคุณภาพและไดมาตรฐานของทาง รานฯไดมุงใหความสําคัญในทุก ขั้น ตอนตั้ง แตก ารจัดเตรีย มสมุน ไพรไปจนถึงการบรรจุหีบ หอ ภายใตการควบคุมคุณภาพของทางรานฯเองและหนวยงานราชการที่เกี่ยวของ.


บทที่ 6 การใหบริการและความสัมพันธกับผูมาใชบริการของรานเอีย้ ะเลงฮึ้ง การหนาที่หรือบทบาทหลักของรานเอี้ยะเลงฮึ้งคือการใหบริการตรวจวินิจฉัยโรค การให คําปรึกษาและแนะนําแนวทางในการดูแลสุขภาพ รวมทั้งการบําบัดความเจ็บ ปวยทางรางกาย ใหแกลูก คาที่มาใชบ ริก ารดวยองคความรูท างการแพทยแผนจีนเปนหลัก โดยปจ จุบัน ไดมีการ ผสมผสานกับความรูท างการแพทยแผนอื่นๆเขาไวดวย ลูกคาที่เขามาใชบริการที่มีอยูหลากหลาย กลุมหลายประเภทซึ่งมีความเชื่อและศรัทธาดวยการรักษาตามวิถีทางการแพทยแผนจีนไดเขามา ใชบ ริก ารอยางตอเนื่องจากอดีตถึงปจ จุบัน แสดงใหเ ห็น วาบทบาทของการแพทยแผนจีน ใน สังคมไทยยังมีความสําคัญตอการตอบสนองของผูคนไมนอย และอีกนัยหนึ่งสิ่งดังกลาวก็นับเปน ปจจัยสนับสนุนการดํารงอยูของรานขายยาสมุนไพรจีนในสังคมไทยดวย ในบทนี้ผูวิจัยจะกลาวถึง ขอมูลเบื้องตนเกี่ยวกับการใหบริการ รูปแบบการตรวจวินิจฉัยรักษาโรค วิธีการบําบัดรักษาโรคและ การดูแลสุขภาพ จุดยืนหรือจรรยาบรรณในการใหบริการ และลักษณะความสัมพันธกับกลุมผูเขา มาใชบริการในฐานะที่เปนปจจัยสนับสนุนการดํารงอยูของกิจการ ขอมูลเบื้องตนเกี่ยวกับการใหบริการ รานเอี้ยะเลงฮึ้งเปนรานที่ใหบริการตรวจวินิจฉัยและทําการบําบัด รักษาโรคดวยสมุนไพร จีน ที่เปดใหบ ริก ารทุก วัน ไมมีวัน หยุด แตถาหากทางรานฯมีความจําเปน ที่จะตองหยุดทําการ เนื่องจากผูใหบริการติดภารกิจภายนอก ทางรานฯจะแจงใหกับลูกคาที่มาใชบริการทราบลวงหนา โดยการปดปายประกาศหรือการแจงทางวาจาใหแกลูกคารับทราบ ลูกคาที่มาใชบริการซึ่งไมทราบ ลวงหนาบางรายที่ตองการมาใชบริการทางรานฯจะแจงวากอนมาใหโทรศัพทมาสอบถามกอนวา รานฯเปดดําเนินการหรือไม การปดรานนั้นมีทั้งเต็มวันและครึ่งวันในชวงเชาหรือบายซึ่งขึ้นอยูกับ ภารกิจภายนอกที่ตองไปดําเนินการ สําหรับเวลาการเปดดําเนินการของรานฯนั้นทางรานไดระบุไวที่ปายประชาสัมพันธซึ่งติด ประกาศอยูในรานฯ คือ ตั้งแตเวลา 08.00–17.00 น. แตทวาในความเปนจริงแลวมิไดเปนไปตาม เวลาที่กําหนดดังกลาว โดยเฉพาะในอดีตที่ตั้งรานฯแหงแรก คือ บริเวณตลาดปากคลองสะเดา ริมคลองดําเนินสะดวกจะมีลูกคาที่มาใชบริการตั้งแตเชาตรูไปจนถึงพบคล่ํา ผูวิจัยยังจําไดวาเมื่อ สมั ย ครั้ ง ยั ง เป น เด็ ก จะมี ลู ก ค า มาตะโกนเรี ย กซื้ อ ยาทั้ ง ๆที่ ร า นฯยั ง ไม เ ป ด ประตู ตั้ ง แต เ ช า เช น เดีย วกั บ ในตอนเย็ น ที่ป ด ประตู ร า นฯแล ว ก็ยั ง มี ลูก ค า มาร อ งเรี ย กซึ่ง ทางรา นฯก็เ ป ด ให


122

บริการเสมอ เมื่อยายมาอยูในที่ปจจุบัน ซึ่งตั้งอยูริมถนนและรานมีรั้วรอบขอบชิด ซึ่งดูคอนขางเปน ทางการลูกคาที่มาใชบริการสวนใหญมีแนวโนมที่จะมาตามเวลาที่รานกําหนดขึ้นใหม คือ ตั้งแต เวลา 08.00-16.00 น. แตก็จะมีลูกคาบางรายที่มาชวงเชาๆซึ่งทางรานฯมักจะเปดประตูตั้งแตเชา กอนเวลาที่กําหนดเปดใหบริการและชวงเย็นหลังเวลา 17.00 น. โดยมีลูกคามาใชบริการอยูบาง แตไมมากนัก การให บ ริ ก ารตรวจวิ นิ จ ฉั ย รั ก ษาโรคหรื อ จํ า หน ายยาสมุ น ไพรของทางร า นฯนั้ น จะ ดําเนินการเปนไปตามลําดับกอนหลังเวลาการเขามายังรานฯของลูกคาที่มาใชบริการแตละรายที่ เดินทางเขามาใชบริการ ลูกคาที่เขามาใชบริการแตละรายจะไดรับการตรวจวินิจฉัยอาการเจ็บปวย และคําแนะนําในการรักษาอาการเจ็บปวย โดยจะมีการบันทึกชื่อ นามสกุล อายุ ที่อยู ลักษณะ อาการเจ็บปวยลงในสมุดบันทึกประวัติ และไดรับการจัดยาประเภทตางๆซึ่งขึ้นอยูกับอาการของ โรคและความตองการของลูกคาเพื่อนํากลับไปรับประทาน อยางไรก็ตามระหวางการใหบริการที่ เปนไปตามลําดับขั้นอยูนั้น อาจมีลูกคาทีม่ าใชบริการบางรายเดินเขามาใชบริการและไดรับบริการ กอน เนื่องจากหลายสาเหตุ เชน การเขามาซื้อยาสมุน ไพรหรือยาประเภทอื่นๆที่สามารถหยิบ จําหนายไดโดยสะดวก เชน ยาเม็ด ยาผง ผลิตภัณฑยาที่วางจําหนายอยูในตูจําหนายของทางราน ฯ หรือลูกคาที่ตองการมาซื้อสมุนไพรเพียงไมกชี่ นิดทางรานฯก็จะหยิบจําหนายใหกอน นอกจากนี้ ยังมีลูกคาที่มาใชบริการบางรายที่อาจมีภูมิลําเนาอยูห างไกล และจะตองรีบเดินทางกลับหรือตอง รีบไปทําธุระในสถานที่อื่น ซึ่งรองขอใหทางรานฯตรวจวินิจฉัยอาการใหเร็วขึ้น ทางรานฯก็จะขอ อนุญาต โดยขอโทษลูกคาที่มาใชบริการตามลําดับนั้น อนุญาตใหลูกคาที่มีความจําเปนเรงดวน ไดรับบริการกอน ยังมีลูกคาที่มาใชบริการบางรายอาจโทรศัพทมานัดหมายกับทางรานฯลวงหนา ในการมาใชบริการ หรือบางรายสั่งใหจัดยาตามตั๋วยาที่ทางรานฯออกใหตามประวัติที่เคยมารักษา แลว ซึ่งมีอาการบรรเทาหรือดีขึ้น และตองการที่จะรับประทานยาโดยนัดหมายวาจะมารับยาตาม เวลาที่นัดทั้งในเวลาทําการปกติหรือหากเกินเวลา 17.00 น.ไปแลวทางรานฯจะปดประตูหนารานฯ แตลูกคาก็ยังสามารถมารับยาไดที่บริเวณประตูดานหลังของรานฯ รูปแบบการตรวจวินิจฉัยรักษาโรค ลูกคาที่เขามาใชบริการจากทางรานฯ สามารถแบงตามความตองการออกเปน 2 ลักษณะ ดวยกัน คือ ลักษณะแรกเปนลูกคาที่ตองการใหทางรานฯตรวจวินิจฉัยอาการเจ็บปวยในรางกาย หรือโรคที่เกิดขึ้นกับรางกายและจัดยาบํารุงรัก ษา ลักษณะที่สอง คือ ลูกคาที่ตองการบํารุงดูแล


123

รัก ษาร า งกายสุ ข ภาพของตนเองซึ่ ง มี อ าการเจ็ บ ป ว ยเล็ ก น อ ยหรื อ ไม มี อาการเจ็บ ป ว ยใดๆ โดยตองการใหทางรานฯวินิจฉัยและจัดยาบํารุง รักษารางกายเพื่อรับประทาน สําหรับการตรวจ วินิจฉัยอาการใหแกลูกคาของทางรานฯนั้น ประกอบดวย 2 วิธีการหลักคือ การจับชีพจรหรือที่เรียก ในภาษาจีนแตจิ๋ววา“การแมะ”ที่ขอมือทั้งสองขางของลูกคาที่มาใชบริการและการสังเกตลักษณะ ทางกายภาพพรอมกับซักถามประวัติ อาการของลูกคาที่มาใชบริการแตละรายควบคูกันไป การจับชีพจรของลูกคาที่มาใชบริการเปนวิธีการตรวจวินิจฉัยของทางรานฯซึ่งมีมาตั้งแต เปดใหบ ริก าร โดยรูป แบบการตรวจจับ ชีพจรนั้น ทางรานฯจะใหลูก คาที่มาใชบ ริก ารนั่งพั ก ประมาณ 5-10 นาที กอนการจับชีพจร เนื่องจากลูกคาที่มาใชบริการไดทํากิจกรรมบางอยากอน หนาการจับชีพจรซึ่งอาจมีผลทําใหการตรวจจับชีพจรไมแมนยํา เชน การเดิน การขับรถ การอยูใน สภาพที่รางกายเหน็ดเหนื่อยหรืออารมณที่ไมคงที่ และลูกคาที่มาใชบริการในชวงเที่ยงวัน คือ เวลา ตั้งแต 12.00-12.30 น.ซึ่งเปนชวงที่พระอาทิต ยขนานตรงกับศีรษะอันจะทําใหเกิดความรอนใน รางกายมนุษยมีผลทําใหการไหลเวียนของระบบเลือดภายในรางกายไมคงที่ ทางรานฯก็จะไม ตรวจจับชีพจรให หากมีลูกคามาใชบริการในชวงเวลาดังกลาวทางฯก็จะใหนั่งรอจนกวาจะไดเวลา ที่เหมาะสม รวมทั้งในชวงเวลาเย็นหรือใกลพบค่ํา คือ ตั้งแตเวลา17.00น. เปนตนไป ซึ่งเปนชวงที่ รางกายของทุกคนเหน็ดเหนื่อยจากการทํางานหรือทํากิจกรรมบางอยางตลอดทั้งวันมีผลตอการ ไหลเวียนของเลือดในรางกายและสภาพรางกาย ทางรานฯจะไมแนะนําใหลูกคาจับชีพจรเพื่อตรวจ วินิจฉัย โดยจะนัดใหมาในวันถัดไปในชวงเชา ยกเวนลูกคาที่มาใชบริการบางรายที่ไมไดทํางาน หนักหรือทํากิจกรรมมาตลอดทั้งวัน เชน ลูกคาที่เจ็บปวยไขอยูแลว คนชรา เด็ก ทางรานฯจะตรวจ วินิจฉัยให สําหรับการตรวจจับชีพจรใหแกลูกคานั้นทางรานฯจะจับชีพจรจากขอมือดานขวาและ ดานซาย และใชนิ้วสัมผัสตามจุดเสนชีพจรของขอมือแตละขางพรอมกับวิเคราะหอาการของลูกคา เกี่ ย วกั บ อาการเจ็ บ ป ว ยตามอวั ย วะต า งๆทั้ ง ภายในและภายนอกร า งกายที่ ไ ด วิ นิ จ ฉั ย นั้ น วาสอดคลองกับอาการเจ็บปวยของลูกคาหรือไมอยางไร และอธิบายวาสาเหตุจากการเจ็บปวย ตามเกิดจากความบกพรอง หรือการทํางานที่ไมเปนปกติขออวัยวะสวนใดภายในรางกาย และ สันนิษฐานถึงสาเหตุซึ่งทําใหเกิดความไมเปนปกติดังกลาวจากลูกคา เชน การใชชีวิตประจําวัน การรับประทานอาหาร สภาพแวดลอมในการทํางาน เปนตน นอกจากการจับชีพจรเพื่อตรวจวินิจฉัยอาการแลว ทางรานฯจะใชการสังเกตลักษณะทาง กายภาพของลูกคาตามอวัยวะภายนอกที่สําคัญซึ่งตามความรูในทางการแพทยแผนจีนสามารถ บงบอกถึงสุขภาพรางกายของลูกคาได เชน นัยนตา ขอบตา ผัวหนัง ลิ้น สีเล็บมือ สีหนา กลิ่นปาก การหายใจ การรับรสของลิ้น ระบบขับถาย การขับเหงื่อ การผายลม เปนตน ประกอบการวินิจฉัย


124

อาการของลูกคา นอกจากนี้ทางรานฯ ยังมีการซักถามประวัติของลูกคาที่มาใชบริการเกี่ยวกับโรค ประจํ าตั วที่ เ ป น อยู และสภาพแวดลอ ม บริ บ ทที่ แวดล อมของลู ก ค าจากการใชชี วิต กิ จ วั ต ร ประจําวัน การประกอบอาชีพ การทํางาน ที่พักอาศัย ซึ่งอาจมีสวนสําคัญที่เปนผลใหเกิดโรคหรือ อาการที่เจ็บปวยนั้นๆ เชน กลุมลูกคาที่เปนชาวสวนตองใชสารเคมีในการบํารุงดูแลพืชพันธุทาง การเกษตร ทําใหมีผลตอระบบหายใจและผิวหนัง กลุมพอคาแมคาที่ตองจํากัดตัวเองอยูในทาใด ทาหนึ่งนานๆ เชน การยืน การนั่งจําหนายสิน คาตลอดเวลา ทําใหเ กิดอาการปวด ลาที่แขน ขา การรับประทานอาหารไมตรงเวลา การนิย มบริโภคอาหารที่ซ้ําๆเปนประจําซึ่ง สงผลเสียตอ รางกาย เชน น้ําอัด ลม อาหารที่มีรสจัด ทุกประเภท กลุมพนักงานขับรถที่นิยมบริโภคเครื่องดื่ม บํารุงกําลังเปนประจํา ลวนแลวแตมีผลตอการทํางานของอวัยวะตางๆภายในรางกายทั้งสิ้น การใหบริการของทางรานฯ ดังที่ไดกลาวมานั้นเปนการใหบริการโดยตรงกับลูกคาที่มาใช บริการดวยตัวเอง แตยังมีลูกคาบางรายที่ไมสามารถเดินทางมารักษาไดดวยตนเองที่รานฯ ไดแก คนชรา ผูที่อาศัยอยูหางไกล หรือเจ็บปวยจนไมสะดวกที่จะเดินทางมารักษา แตมีญาติหรือเพื่อน มาที่ รานฯเพื่ออธิ บ ายอาการภาวะความเจ็บ ปวยหรือ บางครั้งญาติผูปวยจะใชโทรศัพทเ ป น เครื่องมือในการติดตอสื่อสารระหวางผูปวยที่ไมสามารถเดินทางมาไดเพื่อเลาอาการความเจ็บปวย ที่เปน ใหกับ ทางรานฯรับทราบหลัง จากนั้นทางรานฯจะทําการจดบันทึกขอมูลลงในสมุด บันทึก ประวัติการรักษาและทําการจัดยาเพื่อจัดยาไปใหรับประทาน วิธีการบําบัดรักษาโรคและการดูแลสุขภาพ หลังจากที่ลูกคาไดรับการตรวจวินิจฉัยอาการเจ็บปวยหรือโรคที่เปนอยูจากทางรานฯแลว รานฯจะใหคําแนะนําเกี่ยวกับวิธีการบําบัดรักษาอาการความเจ็บปวยหรือการดูแลสุขภาพใหแก ลูกคาที่มาใชบริการ ซึ่งมีอยูดวยกัน 3 ลักษณะดังนี้ 1. การบํ า บั ด รั ก ษาอาการเจ็ บ ป ว ยหรื อ การดู แ ลสุ ข ภาพด ว ยการจั ด ยาให รับประทาน การบําบัด รัก ษาอาการเจ็บปวยหรือการดูแลสุขภาพดวยการจัดยาใหแกลูก คาที่มาใช บริการไปรับประทานของทางรานฯนั้น มีอยูดวยกัน 3 ลักษณะโดยพิจารณาจากวิธีการปรุงยาและ ระยะเวลาในการรับประทานยา ไดแก 1.1 การจัดยาตมหรือยาหอเพื่อชวยบําบัดอาการเจ็บปวย รักษาโรคหรือการ ดูแลสุขภาพ ทางรานฯจะออกตั๋วยาหลังจากที่ไดมีการวินิจฉัยอาการใหแกลูกคาแลวซึ่งจะกําหนด สมุน ไพรจีนที่จะใชพรอมกับระบุน้ําหนักของสมุนไพรจีน ประกอบเขาดวยกัน ในยาที่ออกใหแก


125

ลูกคาลงในสมุดบันทึกประวัติการรักษาของลูกคาแตละราย ทั้งนี้ทางฯรานจะสอบถามลูกคาที่มา ใชบริการกอนวาสามารถที่จะรับประทานยาตมไดหรือไม เนื่องจากมีลูกคาบางรายที่อาจไมสะดวก ในการรับประทานยาตมไดหรือบางรายอาจไมสะดวกในการตมยา เนื่องจากสภาพแวดลอมการ ประกอบอาชีพสวนตัวที่ไมเอื้ออํานวย สามารถที่จะรับประทานยาตมตามที่รานฯกําหนดให จึงตอง ไปใชยาประเภทอื่นๆในการรักษาหรือดูแลสุขภาพแทน อยางไรก็ตาม ลูกคาบางรายที่มาใชบริการ ซึ่งมีอาการเจ็บปวยมากทางรานฯจําเปนตองเสนอใหลูกคารับประทานยาตมเทานั้นจึงชวยรักษา อาการที่เปนอยูไดเห็นผล เนื่องจากขอดีของยาตมนั้นสามารถที่จะดูดซึมเขาไปในรางกายไดเร็ว ชวยบรรเทาอาการเจ็บปวยที่เปนไดดีกวายาประเภทอื่นๆยิ่งถาระบบภายในรางกายตอบสนองเร็ว ก็จะเห็นผลจากการรักษาไดเร็วขึ้น ยาตมที่ทางรานฯจัดใหลูกคาแตละรายจะมีสมุนไพรที่มีน้ําหนัก มากนอยแตกตางกันออกไปขึ้นอยูกับอาการที่เปน รวมทั้งปจจัยที่สําคัญในการกําหนดปริมาณยา และน้ําหนัก คือ สภาพรางกาย อายุและวัยของลูก คาที่จ ะรับ ประทานยาดวย เนื่องจากถาไม คํานึงถึงสิ่งดังกลาวแลวยอมจะสงผลตอการรักษาและอาการขางเคียงที่อาจเกิดขึ้นได ดังที่ทาง รานฯกลาววา “การออกตั๋วยาใหลูก คาแตละรายตองดูวาถาคนไขมีไขสูงหรือโรค ประจําตัวอะไรก็จะใสยาบํารุงมากเกินไปไมได เหมือนกับการออกตั๋ว ยาให ค นแก กั บ เด็ ก ซึ่ ง อวั ย วะภายในร า งกายมี ก ารตอบสนองที่ คลายกันตางกัน จึงตองออกยาใหมีน้ําหนักไมมากจนเกินไป” หรือบางกรณีที่ลูกคาบางรายตองการใหทางรานฯจัดยาใหครอบคลุมการรักษา อาการเจ็บปวยจากโรคหลายๆโรค ไปพรอมๆกันภายในยาตมที่จัดใหซึ่งความจริงในการรักษา เปนไปไดยาก ดังที่ทางรานฯกลาววา “ลูกคาบางคนที่เ ปน หลายโรค เราก็ตองรัก ษาโรคที่เจ็บมากใหหาย กอน เมื่อหายแลวคอยไปแกไขโรคอื่นๆตอที่ละโรค ลูกคาบางคนอยาก ใหใสยาบํารุงเยอะๆ ซึ่งบางครั้งบางโรคก็ใสไมได เพราะแมะดูบางใน รางกายยังมีความรอน จะใสยาบํารุงเยอะก็ไมไดเพราะยาบํารุงบางตัว เปนยารอน” การจัดยาตมใหแกลูก คาที่มาใชบ ริก ารนําไปตมรับประทานนั้น ทางรานฯจะ อธิบายวา ยาที่จัดใหจะชวยแกไขบรรเทาอาการใดบางตามที่ไดมีการวินิจฉัย และจะสอบถาม ลูกคาที่มาใชบริการวาตองการนํายาไปรับประทานจํานวนเทาไร กี่ชุด ซึ่งขึ้นอยูกับความสมัครใจ


126

ของลูกคา เนื่องจากทางรานฯไมตองการใหลูกคาเขาใจผิดวาตองการเนนการขายยาสมุนไพรให แตลูกคาบางรายก็สอบถามกับทางรานฯวาควรจะรับประทานกี่ชุดดีอาการจะดีขึ้น ซึ่งทางรานฯก็ ให คํา ตอบและจั ด ยาตามที่ ลูก คา ตอ งการ หลั ง จากที่ จัด ยาเสร็ จ แลว หรือ ระหว า งการจัด ยา ทางรานฯจะสอบถามกับลูกคาวาเขาใจวิธีการตมยาสมุนไพรจีนรับประทานหรือไมอยางไร สําหรับ ลูกคาที่ยังไมเคยรับประทานยาสมุนไพรจีนตมมากอน ทางรานฯจะอธิบายวิธีการตมยาสมุนไพร จีนใหแกลูกคา สําหรับวิธีการตมยาสมุนไพรจีนรับประทานนั้น ขั้นแรกตองนํายาที่จัดใหไปใสใน ภาชนะที่จะใชตม โดยใหแชยาน้ําใหสมุนไพรอิ่มน้ําประมาณ 5-10 นาที ซึ่งจะชวยใหสรรพคุณที่ อยูในตัวสมุนไพรถูกน้ําซึมซับออกมาใหไดมาก หลังจากนั้นจึงนําไปตม โดยการรับประทานยามี หลักการกําหนดอยูที่วาการตมยาทุกครั้งตองรับประทานใหหมด และรับประทานอยางตอเนื่อง โดยจะมีการกําหนดอัตราสวนของน้ําที่ใชในการตมยาซึ่งมีสัดสวนลดหลั่นกันไปในแตละครั้งขึ้นอยู กับ ปริมาณยาที่จัด ใหใ นแตละหอวามีมากหรือนอย สวนภาชนะที่จ ะสามารถใชตมยาได คือ หมอดิน หรือหมอเคลือบ เหตุที่ตองใชหมอประเภทดังกลาว เนื่องจากเมื่อตมยาแลวสารที่ออกมา จากตัวยาจะไมทําปฏิกิริยาตอเนื้อภาชนะดังกลาวหากไปตมดวยเนื้อภาชนะอื่น เชน อะลูมิเนียม สแตนเลส อาจกอใหเ กิด อันตรายได ในการรับ ประทานยาตมปกติย าจํานวนหนึ่งหอสามารถ รับประทานไดจํานวนสามครั้ง รับประทานเชา เย็นกอนอาหาร ใชเวลาตมประมาณ 10 นาที เหตุที่ รับประทานไดเพียง 3 ครั้งนั้นเพราะตามหลักการแพทยแผนจีนแลวการรับประทานยาตมในแตละ ครั้งปริมาณสรรพคุณหรือที่ทางรานฯนิยมเรียกวา “หัวยา”ที่จะชวยในการบําบัดอาการรักษาความ เจ็บปวยจะดีที่สุดในการตมเพียง 3 ครั้ง หากลูกคาที่นํายาไปตมรับประทานไมถูกตองเกินจํานวน ครั้งเทากับวายาที่รับประทานเขาไปจะสูญเปลาเนื่องจากยาที่รับประทานหลังจากครั้งที่กําหนดจะ เขาไปลางหัวยาที่ไดรับประทานเขาไป และกอใหเกิดลมในรางกาย ซึ่งก็มีลูกคาบางรายที่ไมเขาใจ หรือเสียดายยาที่ซื้อไปตมยารับประทานเกินครั้งที่ทางรานฯ กําหนดไว จึงทําใหการรักษาจึงไมเห็น ผลเทาที่ควร อยางไรก็ตามยาตมบางประเภทที่ทางรานฯจัดใหแกลูกคาอาจตมรับประทานไดเพียง 2 ครั้ง เนื่องจากขึ้นอยูกับอาการของโรคที่เปน และแนวทางในการรักษาที่ใชเฉพาะกับลูกคาบาง ราย ซึ่งเทากับยา 1 หอจะรับประทานไดจํานวน 2 ครั้ง ทั้งนี้วิธีการตมยานั้นทางรานฯไดจัดทําเปน เอกสารแจกใหแกลูกคาที่มาใชบริการ จํานวน 3 รูปแบบ ไดแก


127

1) แบบที่หนึ่ง ยา 1 หอ ตมได 3 ครั้ง โดยปฏิบัติ ดังนี้ ครั้งที่หนึ่ง ใสน้ํา 2 ถวยครึ่ง ตมเหลือครึ่งถวยกวา ครั้งที่สอง ใสน้ํา 2 ถวย ตมเหลือ ครึ่งถวย ครั้งที่สาม ใสน้ําถวยครึ่ง ตมเหลือไมถึงครึ่งถวย 2) แบบที่สอง ยา 1 หอ ตมได 3 ครั้ง โดยปฏิบัติ ดังนี้ ครั้งที่หนึ่ง ใสน้ํา 3 ถวย ตมเหลือคอนถวย ครั้งที่สอง ใสน้ํา 2 ถวยครึ่ง ตมเหลือถวยครึ่งกวา ครั้งที่สาม 2 ถวย ตมเหลือครึ่งถวย 3) แบบที่สาม ยา 1 หอ ตมได 2 ครั้ง โดยปฏิบัติ ดังนี้ ครั้งที่หนึ่ง ใสน้ํา 2 ถวย ตมเหลือ ครึ่งถวย ครั้งที่สอง ใสน้ําถวยครึ่ง ตมเหลือไมถึงครึ่งถวย Herbal Medicine Decoction 1 pack of this herbal medicine can be decocted 3 times by following the procedures below; 1st dose: put 2 measuring cups of water and decoct it until the water is evaporated and remains only 2/3 of measuring cup. 2nd dose: put 2 measuring cups of water and decoct it until the water is evaporated and remains only a half of measuring cup. 3rd dose: put 2 measuring cups of water and decoct it until the water is evaporated and remains only 1/3 of measuring cup. Use clay pot for the decoction. Each dose has to be taken 30 minutes before breakfast and dinner. Foods prohibited during taking this medicine; Bamboo shoot, asparagus, water mimosa, coconut shoot, coconut water, coconut milk, water convolvulus, water melon, soft drink, taro and radish.

วิธีตมยาซึ่งจัดทําเปนภาษาอังกฤษสําหรับลูกคาชาวตางชาติที่มาใชบริการซึ่งมีอยูไมมาก


128

นอกจากการรับประทานยาตมตามที่ทางรานฯ จัดใหแลว ลูกคาที่รับประทานยา จะตองปฏิบัติตนเองตามขอแนะนําของทางรานฯดวย ซึ่งไดแก การดูแลสุขภาพในชีวิตประจําวัน และการงดรับประทานอาหารบางชนิด ขอแนะแนะในการปฏิบัติตัว หมายถึง การปฏิบัติกิจวัตรใน การใชชีวิตประจําวันหรือการประกอบอาชีพของลูกคาที่อาจเปนบอเกิดของอาการเจ็บปวย เชน การนั่งหรือยืนอยูในทาใดทาหนึ่งนานๆ การรับประทานอาหารที่ไมตรงตอเวลา การนอกดึก การ ดื่มน้ํานอย การอาบน้ําดึก การรับประทานเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล การสูบบุหรี่ การรับประทาน ขาวหรืออาหารคางมื้อ เปนตน ซึ่งลูกคาที่มาใชบริการจะตองงดเวนหรือลดปริมาณการกระทํา ดังกลาวดวย เพื่อทําใหอาการที่เปนอยูดีขึ้นหรือไมทรุดลงไปกวาเดิมควบคูกับการรับประทานยา สวนการงดอาหารระหวางรับประทานยาตมก็เนื่องจากหากรับประทานอาหารที่ทางรานฯไดหาม รับประทานเขาไปแลวจะทําใหมีผลตอการชะลางตัวยาภายในรางกายที่ไดรับประทานยาเขาไป ซึ่งจะทําใหการรักษาไมไดผล อาหารตองหามระหวางรับประทานยาที่เปนพื้นฐาน ไดแก หนอไม ผักกะเฉด ยอดมะพราว ผักบุง เตาหูหลอด น้ํามะพราวออน แตงโม น้ําอัดลม กะทิ เผือก และ ไชเทา แตอยางไรก็ตาม ลูกคาที่มาใชบริการกับทางรานฯบางรายซึ่งมีอาการเจ็บปวยในรูปแบบ อื่นๆ เชน การเปนผื่นคัน โรคผิวหนัง โรคงูสวัด โรคปวดตามขอ ทางรานฯจะใหง ดรับประทาน อาหารที่เปนของแสลงเพิ่มขึ้นจากที่ระบุไวกอนหนา เชน อาหารทะเลทุกประเภท กะป น้ําพริกชนิด ตางๆ เปด ไก ขาวเหนียว เปนตน 1.2 ยาดอง เปนยาอีกประเภทหนึ่งที่ลูกคาผูมาใชบริการบางรายนิยมรับประทาน เนื่องจากสามารถเก็บไวรับประทานไดนานและเห็นผลในระยะยาวตามอาการเจ็บปวยหรือการ ดูแลสุขภาพของลูกคาที่มาใชบริการแตกตางกับการรับประทานยาตมที่ลูกคาจะตองนํายาที่ทาง รานฯจัดใหไปรับประทานใหครบอยางตอเนื่องตามจํานวนที่จัดไป การจัดยาดองไปรับประทานนั้น ทางรานฯจะทําการตรวจวินิจฉัยอาการ ซักถามประวัติ โรคประจําตัวที่ลูกคาเปนอยู เนื่องจากยา ดองไมเหมาะสมกับผูที่เปนโรคบางโรค เชน โรคความดัดโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคตับ เปนตน รูปแบบการจัดยาดองใหแกลูกคาไปรับประทานมีอยูดวยกัน 2 ลักษณะ คือ ลักษณะแรกเปนการ ใชตํารับ ยาที่เ ปน สูตรของรานฯซึ่งไดคิดคน คิดมาตั้งแตอดีต โดยมีลูก คาหลายรายนําไปดอง รับประทานแลวไดผลดี ลูกคาประจําที่นิยมรับประทานยาดองนั้นจะมาดองยาดวยสูตรของรานฯ เปนประจําทุกป ลักษณะที่สองเปนการออกสูตรยาดองใหใหมกับลูกคาเฉพาะรายไป โดยวินิจฉัย จากการเจ็บปวยที่เปน ลูกคาบางรายอาจตองการเนนหนักโดยการเพิ่มตัวยาสมุนไพรในการบํารุง รางกายเฉพาะอยาง เชน บํารุงสมอง บํารุงไต บํารุงเสน เปนตน การรับประทานยาดองนั้นลูกคา จะไดรับคําแนะนําจากทางรานฯในกรรมวิธีการดองยา ทั้งในเรื่องปริมาณเหลาที่จะใชดอง ภาชนะ


129

ที่ใช ระยะเวลาที่ดอง วิธีการรับประทาน ลูก คาสวนใหญที่นิย มการรับ ประทานยาดองจะมาใช บริการกับทางรานฯกอนเขาชวงฤดูฝนเพื่อที่จะนํายาไปดองรับ ประทานในชวงฤดูฝนและหนาว โดยเชื่อวาสรรพคุณจะชวยสรางความอบอุนใหแกรางกายได 1.3 ยาเม็ด ยาเม็ดเปนยาที่ใชรับประทานกับน้ํา ซึ่งทางรานฯไดปรุงขึ้นจากตํารับ ยาของรานฯที่มีการสืบทอดตอกันมา การจัดยาเม็ดใหแกลูกคาที่มาใชบริการจากทางรานฯมีอยู ดวย 3 ลักษณะ 1.3.1 การจัดยาเม็ดใหรับประทานหลังจากรับประทานยาตม เปน รูป แบบการรัก ษาอาการเจ็บ ปวยหรือการดูแลสุขภาพใหแกลูกคา ที่มาใชบริการหลังจากที่ไดรับประทานยาตม และไดรับการตรวจวินิจฉัยจากทางรานฯแลวมีอาการ ดีขึ้นหรือหายขาด ทั้งนี้ลูกคาที่มาใชบริการจะรูสึกตัวเองวาดีขึ้นหรือไมอยางไร ทางรานฯจะแนะนํา ใหรับประทานยาเม็ดที่รานฯไดปรุงขึ้นเพื่อการบํารุงรักษารักษาใหแข็งแรงมากยิ่งขึ้น ซึ่งขึ้นอยูกับ ลูก คาที่ม าใชบ ริ ก ารตอ งการที่ จ ะรับ ประทานหรือไม การรับ ประทานยาเม็ด ดังกลา วลูก คา ที่ รับประทานอยางตอเนื่องแลวจะรูสึกวารางกายดีขึ้น ก็จะนิยมรับประทานเม็ดนี้เปนประจํา 1.3.2 การจัดยาเม็ดใหรับประทานเนื่องจากมีเหตุจําเปนที่ไมสามารถตม ยารับประทานได เปน รูป แบบการรัก ษาอาการเจ็บ ปวยหรือการดูแลสุขภาพใหแกลูกคา ที่มาใชบริการเนื่องจากลูกคามีเหตุผลหลายประการที่ไมสามารถจะทําการตมยารับประทานได โดยเฉพาะสภาพแวดลอมในชีวิตประจําวันที่ไมเอื้ออํานวยที่จะทําการตมยาได เชน ผูที่ประกอบ อาชีพ ในสํ านัก งาน ผูที่ทํ างานในเมือง ทํางานในโรงงาน เปน ตน ซึ่งไม มีเ วลาในการตมยา รับ ประทานอยางตอเนื่องได ทางรานฯจึงจําเปน ตองจัดยาเม็ดใหรับ ประทานแทนการตมยา การรับประทานยาเม็ดดังกลาวทางรานฯจะอธิบายกับลูกคาวาตองรับประทานอยางตอเนื่องเปน ประจําและอาศัยระยะเวลาประมาณ 2-4 สัปดาหจึงจะเห็น ผล โดยใหลูกคาที่มาใชบริการตอง สังเกตอาการตัวเองวาดีขึ้นหรือไมอยางไร 1.3.3 การจัดยาเม็ดใหรับประทานเนื่องจากไมสามารถรับประทานยา ตมได เปนการจัดยาเม็ดใหลูกคาที่มาใชบริการรับประทานเนื่องจากลูกคาไม สามารถรับประทานยาตมไดโดยมีสาเหตุมาจากปจจัยสวนบุคคล เชน การเปนคนรับประทานยา ยาก ไดกลิ่นยาแลวคลื่นไส ไมเคยรับประทานยาตมมากอนจึงไมกลารับประทาน ทางรานฯจึงตอง


130

แนะนําใหรับประทานยาเม็ด ซึ่งเปนวิธีการที่สะดวกที่สุดในการรักษาใหแกลูกคาที่มาใชบริการ ซึ่งประเด็นดังกลาวนั้นตามมุมองความเชื่อของรานฯมีความเห็นวาในการรับประทานยาของลูกคา นั้นควรที่จ ะเปดใจยอมรับและปรับ ทัศ นคติ พฤติกรรมการรัก ษาดวยวิถีทางการแพทยแผนจีน มากกวาที่จะปฏิเสธ และตอรองซึ่งเทากับวายังไมเชื่อดวยวิธีการรักษาของทางรานฯ ดังที่ทางรานฯ กลาววา “ตามความเชื่อของอาจารยที่ไปเรียนมาจากจีน เขาบอกวา ถาคนที่มารักษา ไมเปดใจยอมรับตั้งแตตนแลว เมื่อใจที่ไม ยอมรับ กับตรงนี้ เมื่อใจตาน รางกายก็จ ะตานตามไปดวย การรักษาจึงอาจจะไมไดผลดีถึงแมจะกินยาลงไปก็ตาม” สภาวะจิตใจของลูกคาที่มาใชบริการจึงนับเปนสวนสําคัญที่จะมีอิทธิพล ตอการรักษาโรคและการดูแลสุขภาพดวยซึ่งเปนความเชื่อที่รานฯมี แตลูกคาประเภทนี้จะมีอยูไม มากนัก ซึ่งโดยทั่วไปแลวลูกคาสวนใหญมีความพรอมและยินดีในการรักษาตามแนวทางของรานฯ สําหรับการรับประทานยาเม็ดนี้ทางรานฯจะใหคําแนะนําที่ลูกคาตองปฏิบัติตัว ควบคูกันเปนไปดวย เชนเดียวกับการรับประทานยาตม คือ การปรับพฤติกรรมในชีวิตประจําวันที่ อาจสงผลตอการเจ็บปวยและเกิดโรค การรับประทานยาที่ตอเนื่อง และขอหามเกี่ยวกับอาหาร พื้นฐานที่ควรงดเวนระหวางการรับประทานยาดังที่ไดกลาวมาแลว 2. การแนะนําใหดูแลสุขภาพดวยตนเอง หลังจากการตรวจวิ นิจ ฉัย และสังเกตลัก ษณะทางกายภาพพร อมการซัก ถามอาการ เจ็บปวยใหกับลูกคาที่มาใชบริการบางราย ทางรานฯวิเคราะหแลววาลูกคาที่มาใชบริการดังกลาว ไมจําเปนตองรับประทานยาใดๆโดยใหไปปรับพฤติกรรมการดูแลสุขภาพดวยตัวเองซึ่งมีอยู 2 กรณี คือ กรณีแรกเปนอาการที่เจ็บปวยนั้นยังอยูในภาวะแรกเริ่ม เปนไมมากก็สามารถที่จะบําบัดอาการ ไดดวยตวเองใหหายขาดได หรือถาหากตองการบํารุงสุขภาพใหแข็งแรงสําหรับผูที่ไมไดเจ็บปวยก็ ควรที่จะดูแลสุขภาพไดดวยตัวเองมากกวาที่จะมารับประทานยา เชน การรับประทานอาหารที่เปน ประโยชน การออกกําลังกาย เปนตน กรณีที่สองเปนกรณีที่ทางรานฯไดวินิจฉัยพรอมกับซักถาม พฤติกรรมการใชชีวิตประจําวันของลูกคาแลวพบวา พฤติกรรมเหลานั้นที่กระทําอยูบอยครั้งเปน ประจํา เชน การดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล การสูบบุหรี่ การรับประทานน้ําอัดลม การรับประทาน อาหารที่มี รสจัด เปนตน ทางรานฯจะแนะนําใหลูกคาไมตองรับประทานยาใดๆ โดยใหไปปรับ พฤติ ก รรมดั ง กล า วให ล ดน อ ยลงหรื อ ไม ป ฏิบั ติ เ ลยก อนที่ จ ะมารั บ ประทานยา เนื่อ งจากถ า


131

รับประทานยาไปแลว แตยังปฏิบัติตนโดยมีพฤติกรรมเสี่ยงที่นําไปสูการเกิดภาวะความเจ็บปวย เทากับการรับประทานยาโดยเปลาประโยชน ดังที่ทางรานฯไดกลาววา “ลูกคาบางคนชอบกินแตน้ําอดลม กินอาหารรสจัด กินเหลา ถาจะมากินยาของเรา เราก็บอกวาตองเลิกกินของพวกนี้ใหได กอน ถาซื้อยาไปกิน แลวยังทําตัวเหมือนเดิม เทากับกิน ยา ฟรี ยาที่กินเขาไปก็ไมมีประโยชนอะไร เสียตังคเปลา” สําหรับ วิธีก ารที่รานฯจะแนะนําใหลูก คาที่มาใชบ ริก ารไปปรับ พฤติก รรมเพื่อ สงเสริมการดูแลสุขภาพดวยตนเองในการปองกันโรค บําบัดอาการความเจ็บปวยที่อาจจะเกิดขึ้น นั้น มีอยูดวยกัน 3 แนวทางหลัก คือ 2.1 การใหความสําคัญกับอาหารที่รับประทาน เป น การให คํ า แนะนํ า จากทางร า นเกี่ ย วกั บ วิ ธี ก ารจั ด การกั บ วั ต ถุ ดิ บ หรื อ สวนประกอบที่จะใชในการปรุงอาหารรับประทานอยางถูกตองและเปนประโยชนตอรางกายกอน รับ ประทาน เชน การแชพืชผักในน้ําดางเพื่อกําจัด สารเคมีที่ต กคางกอนนําไปปรุงอาหาร การ เลือกใชน้ํามันพืชในการปรุงอาหาร การแนะนําอาหารที่ควรรับประทาน เชน การหลีกเลี่ยงการ รับประทานอาหารที่ใสผงชูรส ปรุงดวยรสจัด การไมรับประทานปลาทีไ่ มมีเกล็ด(เนื่องจากมีไขมัน) การรับ ประทานอาหารประเภทลวก ตม มากกวาอาหารประเภททอด เหตุที่ท างรานฯเนน ใน ประเด็นดังกลาวเพราะเชื่อวาบอเกิดของโรคซึ่งทําใหลูกคาที่มาใชบริการเจ็บปวยสวนหนึ่งมาจาก การรับประทานอาหารที่มีสารเคมีที่ตกคางอยูในวัตถุดิบการทําอาหารและการรับประทานอาหารที่ ใชวัตถุดิบที่มีความเสี่ยงตอการเกิดอันตรายกับอวัยวะภายในอันจะนําไปสูการสะสม กอตัวของ ความเจ็บปวยและเกิดโรคภัยตางๆที่จะตามมา การปองกันแกไขปญหาที่อาจเกิดขึ้นในอนาคต ดวยตัวลูกคาเองจึงเปนวิธีการที่ดีที่สุด 2.2 การใชพืช สมุนไพรหรือศาสตรทองถิ่นเพื่อบําบัด รักษาอาการเจ็บปวยหรือ ดูแลสุขภาพ เป น การให ข อ มู ลและแนะนํ า วิ ธี เ กี่ ย วกั บ การดู แ ลสุ ข ภาพหรื อ บํ า บัด อาการ เจ็บปวย โดยใหลูกคาที่มาใชบริการนําพืชสมุนไพรมาใชปรุงเพื่อรับประทานเอง สวนใหญเปนพืช สมุนไพรที่หาไดตามทองถิ่นหรือรานขายยาสมุนไพรไทยซึ่งความรูดังกลาวอาจเปนของปราชญ ทองถิ่นชุมชนกลุมตางๆซึ่งปจจุบันมีการใชกนั อยางแพรหลาย เชน การใชใบรางจืดตมรับประทาน เพื่อลางสารพิษที่อาจตกคางอยูในรางกายใหแกลูกคากลุมชาวสวนที่ใชสารเคมีในการบํารุงพืช


132

และกําจัดศัตรูพืช การนําใบหญานางมาตมรับประทานเพื่อลดอาการความดัดโลหิตสูง การนํา กระชายปนผสมกับน้ําผึ้งและน้ํามะนาวมารับประทานเพื่อรักษาอาการไขมันในเลือด การตมน้ํา ใบเตยรับประทานเพื่อบํารุง หัวใจ การตมน้ําลูกเดือยรับประทานเพื่อบํารุงไขขอกระดูก เปนตน หรืออาจเปนกรณีที่เจ็บปวดตามรางกาย ก็จะแนะนําดวยวิธีการตางๆ เชน การแชมือหรือเทาดวย การใชน้ํารอนผสมเหลาเพื่อบรรเทาอาการชาหรือเปนพังพืด การใชน้ํารอนประคบตามจุดที่เจ็บ เพื่อใหเกิดการกระจายของเลือดที่มีการฟกชํา การใชดินสอพอผสมขมิ้นเพื่อบรรเทาอาการคัน เปน ผื่นที่ผิวหนัง เปนตน 2.3 การออกกําลังกายเพื่อสุขภาพ นอกเหนือจากการใหคําแนะนําในการดูแลสุขภาพดวยตัวลูกคาเองโดยการให ความสําคัญกับวัตถุดิบและกรรมวิธีในการปรุงอาหาร รวมทั้งการใชยาสมุนไพรหรือศาสตรทองถิ่น ในการบําบัดความเจ็บปวยหรือการดูแลสุขภาพแลว การออกกําลังกายเพื่อสุขภาพก็เปนอีกวิธีการ หนึ่งที่ทางรานแนะนําใหแกลูกคาที่มาใชบริการไปปฏิบัติซึ่งอาการที่เกิดขึ้นสวนใหญจะเกี่ยวกับ ความเจ็บ ปวด เมื่อย ตามอวัยวะตางๆ เชน แขน ขา หัวเขา มือ ตนคอ ฯ วิธีการออกกําลังกายที่ ทางรานฯไดแนะนําใหนั้นไมตองใชกําลังมากเปนการออกกําลังกายที่สามารถกระทําไดอยางงาย ในแตละวัน เชน การแกวงแขนไปมา การเดินยอยหลังรับประทานอาหาร การปนจักรยาน การยืด ขา แขวงขา การหมุนคอ การชักรอกแขน เปนตน เมื่อลูกคาที่มาใชบริการไดทดลองปฏิบัติตนดวย การออกกําลังกายดวยวิธีการที่ไดแนะนําไปสักระยะแลว หากอาการยังไมบรรเทาขึ้น ทางรานฯจะ ใหลูกคามาตรวจวินิจฉัยอาการและใชยาตมหรือยาประเภทอื่นๆรักษาอาการเจ็บปวดนั้นๆตอไป 3. การรักษาโรคหรือดูแลการสุขภาพดวยการผสมผสานการแพทยแผนจีนกับ การแพทยแผนอื่น การใหบ ริก ารรัก ษาอาการ บํ าบั ด ความเจ็บ ปว ยหรือ การดูแ ลสุ ขภาพของทางรา นฯ นอกจากลูก คาที่มาใชบ ริก ารดวยการแพทยแผนจีน รวมทั้งการแนะนําใหไปดูแลสุขภาพดวย ตนเองตามแนวทางของ รานฯแลว ยังมีการมีใหบริการรักษาและดูแลสุขภาพดวยการใชการแพทย แผนอื่นๆควบคูไปดวย เชน การแพทยแผนปจจุบัน การแพทยแผนไทย เปนตน ซึ่งขึ้นอยูกับอาการ ความเจ็บปวยที่ลูกคาเปน หรือการดูแลสุขภาพตามที่ลูกคาตองการ โดยมีอยูดวยกัน 3 รูปแบบ คือ 3.1 การรักษาดวยการแพทยแผนอื่นกอนมารักษาดวยการแพทยแผนจีน เปนวิธีการใหคําแนะนําลูกคาที่มาใชบริการเกี่ยวกับการบําบัด รักษาโรคที่ทาง รานฯไดวินิจ ฉัยแลววาอาการที่เ กิดขึ้นกับ ลูก คาที่มาใชบ ริก ารแลววาตองไดรับ การรัก ษาดวย


133

การแพทยแผนอื่นกอน เนื่องจากมีระดับอาการเจ็บปวยที่รุนแรงหรือวิกฤต หรือตองไดรับการระงับ เชื้อกอนที่จ ะแพรขยาย เชน มีอาการเจ็บ ปวดที่รุน แรงอวัย วะภายในรางกาย มีเ ลือดออก การ แพรกระจายตัวของเชื้อที่ผิวหนัง เปนตนซึ่งตองไดรับการตรวจวินิจฉัยดวยอุปกรณการแพทยที่ ทันสมัยของแพทยแผนปจจุบันกอน เชน การอุลตาซาวดหรือการเอ็กซเรย โดยอาจจะตองไดรับ การผาตัด หรือการฉีดยาเพื่อระงับเชื้อ เปนตน และหลังจากนั้นทางรานฯจะแนะนําวาหากตองการ ดูแลบํารุงรัก ษารางกายของลูกคาเองใหดีขึ้น จึงมารับ ประทานยาของทางรานฯ เพื่อชวยฟน ฟู บํารุงสภาพรางกายใหแข็งหรือดีขึ้น ตัวอยางเชนลูกคาที่เจ็บปวยเปน โรคงูสวัด ซึ่ง เปนเชื้อไวรัส ประเภทหนึ่งซึ่งสามารถแพรกระจายไปทั่วรางกายอยางรวดเร็วได ทางรานฯจะแนะนําใหลูกคาได ระงับเชื้อดวยการไปรักษาแพทยแผนปจจุบันกอน เมื่ออาการดีขึ้นแลวจึงมารับประทานยาตมของ ทางรานฯเพื่อชวยในการลางพิษดังกลาวใหหมดออกไปจากรางกายอีกครั้ง 3.2 การรักษาดวยการแพทยแผนจีนกอนไปรักษาดวยการแพทยแผนอื่น เปน การใหคําแนะนําเกี่ย วกับ การบําบัด รัก ษาโรคและการดูแลสุขภาพใหแก ลูกคาที่มาใชบริการซึ่งหลังจากทางรานฯวินิจฉัยแลววาสามารถใชการรักษาของทางรานฯไดกอนที่ จะไปรักษาดวยการแพทยแผนอื่นๆ โดยทางรานฯจะสอบถามความตองการของลูกคาวาจะตอง การรั ก ษาตามแนวทางดั ง กล า วของร า นฯหรื อ ไม ต ามความต อ งการของลู ก ค า เป น สํ า คั ญ ซึ่งลักษณะของภาวะความเจ็บปวยที่เปนนั้นจะมีระดับอาการที่เปนไมมากนักหรือไมถึงขั้นรุนแรง เชน ภาวะไขมันในเสนเลือด เบาหวาน โรคกระดูกทับเสน อาการเจ็บปวดบริเวณอวัยะภายนอก ทางรานฯจะแนะนําใหรับประทานยาของรานฯ หลังจากนั้นหากลูกคาตองการไปตรวจสอบภาวะ ความเจ็บปวยดังกลาวกับการแพทยแผนอื่นๆ อีกครั้งได เพื่อดูใหแนใจวาอาการดีขึ้น ตัวอยางเชน ผูที่มีภาวะเบาหวานหลังจากที่ไดรับประทานยาตมหรือยาเม็ดของทางรานฯไปแลวระยะหนึ่งก็จะ ไปพบแพทยแผนปจจุบันเพื่อใหตรวจสอบน้ําตาลในเลือดวามีคาระดับที่เปลี่ยนแปลงไปหรือไม เพื่อตรวจสอบดูใหแนใจวายาที่รับประทานจากทางรานฯนั้นใหผลอยางไร นอกจากนี้ยังมีกรณีที่ ลูกคาบางรายที่จะตองเขารับการผาตัดรางกายจากแพทยแผนปจจุบัน ก็จะนิยมมาประทานยา เพือ่ บํารุงกําลังสภาพรางกายโดยเชื่อวาการทําใหรางกายมีความสมบูรณกอนการผาตัดนั้นจะทํา ใหการฟนฟูสภาพรางกายหลังการผาตัดดีขึ้น หรือไมมีภาวะอาการแทรกซอนใดเกิดขึ้น 3.3 การรักษาดวยการแพทยแผนจีนควบคูกับการแพทยแผนอื่น เปน การรัก ษา บําบัดอาการเจ็บ ปวยหรือการดูแลสุขภาพที่เ กิดขึ้น จากความ ตองการของลูกคาที่มาใชบริการที่ตองการรักษาดวยการแพทยแผนจีนควบคูไปกับการแพทยแผน อื่น ๆ ซึ่ง มีอยูดวยกัน หลายลัก ษณะทั้ง นี้จ ะตองไดรับ คําวินิจฉัย จากทางรานฯแลววาเมื่อรัก ษา


134

ควบคูกันไปจะไมกอใหเกิดอันตรายจากการรักษา และการไดยอมรับจากตัวลูกคาเองในการรักษา ดวยแนวทางดังกลาว ตัวอยางเชน หญิง ตั้งครรภซึ่งมารับประทานยาบํารุงครรภของรานฯกอน คลอด และหลังจากคลอดและรักษาดวยการแพทยแผนปจจุบันแลว จึงมากินยาบํารุงน้ํานมหลัง คลอด บํ า รุง มดลู ก และร า งกาย หรื อลู ก ค าที่ ม าใช บ ริก ารที่มี ภ าวะความดั ด โลหิต สู ง โดยได รับประทานยาแผนปจจุบัน และมารับประทานยาตมที่รานฯ ก็จะตองรับประทานยาในชวงเวลาที่ เหลือมกันเพื่อปองกันมิใหยาที่รับประทานเขาไปมีปฏิกิริยาระหวางกัน หรือผูที่มีอาการเจ็บปวด เมื่อยตามรางกาย หรือบางรายที่อยูในภาวะแรกเริ่มของการเสี่ยงตอการเปนโรคกระดูกทับเสน เมื่อมารับประทานยาตมกับทางรานฯ จะไปทํากายภาพบําบัดหรือบําบัดอาการเจ็บปวยเพิ่มเติม ดวยการไปนวดประคบรอนหรือประคบเย็น ตามหลัก การแพทยแผนปจ จุบัน หรือแผนไทยเพื่อ บรรเทาอาการเจ็บปวดควบคูกันไป เปนตน จุดยืนของรานขายยา : จรรยาบรรณในการใหบริการ จรรยาบรรณในการใหบริการของรานฯเปนสิ่งที่บงบอกถึงจุดยืนของรานในการใหบริการ บําบัด รักษาความเจ็บปวยหรือโรค และการดูแลสุขภาพซึ่งมีผูมีสวนเกี่ยวของสองสวนที่สําคัญ คือ ลูกคาที่มาใชบริการ และผูประกอบกิจการรานจําหนายยาสมุน ไพรดวยกัน จรรยาบรรณที่ทาง รานฯยึดถือปฏิบัติมาตั้งแตเริ่มดําเนินกิจการจวบจนถึงปจจุบัน มีดังนี้ 1. การไมนํา ตํา รายาหรือสูต รยาของรา นจํา หนา ยยาสมุนไพรแหงอื่นมาปรุง จําหนาย การกระทําดัง กลาวถือเปน การคัดลอกความคิด ทรัพยสินทางปญ ญาของผูอื่นๆมาใช ประโยชนแกตัวเอง ซึ่งทางรานฯถือวาเปนการกระทําที่ไมถูกตอง รานจําหนายยาสมุนไพรแตละ แหงยอมมีองคความรูที่สั่งสม คิด คนสืบทอดกัน มาไมเ หมือนกัน จึง มีแนวทางการรักษา บําบัด อาการเจ็บปวยที่มีความแตกตางกัน ดังนั้นจึงเปนการผิดธรรมเนียมและไมใหเกียรติแกผูประกอบ วิชาชีพเดียวกัน ดังที่ทางรานฯกลาววา “มีลูกคาบางคนชอบนําหอยาที่จัดมาจากรานอื่นมาใหดู แยกออกให หน อ ยว า มี อะไรบ า ง และเขี ย นตั๋ ว ยาให เราก็ บ อกว า เราไมทํ า ให ตั้งแตเตี่ยแลวก็ไมเคยทํา แมแตญาติกันเองเอามาใหดูยังไมทําใหเลย แตถาหากจะใหดูวายานั้นยังสามารถกินไดอยูหรือไมก็ดูใหได อัน นี้ ลองคิดดูวาถารานอื่นมาทํากับรานเราบางหละจะเสียความรูสึกไหม”


135

2. การไมปดบังวาทางรานฯมีตัวยาสมุนไพรตามที่ลูกคาตองการ การใหบริการลูกคาบางกรณีที่ปริมาณสมุนไพรของทางรานฯที่จะจัดจําหนายใหแกลูกคา หมดและไมเ พียงพอในการจัด ยาโดยเฉพาะยาตมหรือยาดองนั้น ทางรานฯจะแจงใหแกลูกคา ทราบกอนวาสมุนไพรชนิดนี้หมด และใหลูกคาตัดสินใจวาจะจัดยาไปรับประทานหรือไม หรือจะรอ มารับยาภายหลัง เนื่องจากตองรอการจัดสงยาสมุนไพรที่ขาดนั้นมาจากผูคาสงในวันถัดไปหรือ ระบุวันที่ใหมารับ ซึ่งทางรานฯจะโทรศัพทไปแจงใหแกลูกคาทราบและนัดใหมารับยา นอกจากนี้ ลูกคาบางรายที่มีการนําตํารายาซึ่งเปนตํารายาของลูกคาเองหรือบางรายไดไปรับการรักษาจาก รางทรงตามศาลเจาหรือตําหนักรางทรงตางๆ และรางทรงไดเขียนใบสั่งยาสมุนไพรจีนใหมาปรุง รับประทาน โดยไดมาใชบริการหาซื้อสมุน ไพรกับทาง รานฯ ทางรานฯจะพิจารณาดูวาตั๋วยาที่ นํามานั้นมียาครบหรือไม ถามีก็จะจัดให ถามีบางตัวที่ขาดหรือไมมีก็จะแนะนําลูกคาใหไปจัดที่ รานจําหนายยาสมุนไพรแหงอื่นๆแทน ดังที่รานกลาววา “ลูก คาที่เ อาตั๋ วยามาใหรา นจัด เขีย นเปน ภาษาจีน บ าง เขีย นเป น ภาษาไทยบาง เขาก็ไมรูหรอกวาตัวยานี้เปนยังไงอะไร ถาเราจัดตัวยา อื่นไปให เขาก็ไมรู แตมันไมถูกตองเพราะยาที่จัดไปแบบผิดๆ กินไป อาจไมไดผล เพราะไมถูกตองตามสูตรของเขา ถายามีค รบก็จัด ให หรือไมค รบก็จ ะใหไปดูที่ รานอื่น หรือวาจะรอของใหมาก อน อัน นี้ ก็แลวแตลูกคา” 3. การไมนํายาสมุนไพรที่มีอยูในสภาพที่ไมเหมาะสมมาจําหนาย ตัวยาสมุนไพรที่ทางรานฯนํามาจําหนายนั้นจะไดรับการดูแลใหอยูในสภาพที่ใชไดเสมอ หากมีการปลอมปนดวยสิ่งผิดปกติ เชน ยาขึ้นรา มีเศษวัสดุอื่นๆเจือปน หรืออยูในสภาพที่สกปรก มากทางรานฯจะทิ้งยาสมุนไพรนั้นไป ซึ่งทางรานฯจะมีการตรวจสอบสมุนไพรที่อยูในลิ้นชักหรือ กลอง ขวด ซึ่งจัดเตรียมไวหยิบจําหนายตลอดเปนระยะเพื่อใหลูกคาที่มาใชบริการไดยาสมุนไพรที่ มีคุณภาพไปใช ดังที่ทางรานฯ กลาววา “ยาบางตัวขึ้นรา ก็ทิ้ง ไปทั้งหอ ไมเก็บไวใชเพราะจะมีเชื้อโรคติดอยู ถาจัดใหลูกคาไปกิน เราก็เสี่ยงไมรูวาจะเกิดอะไรขึ้น ยาที่กินก็ไมไดผล เกิดผลเสียแกคนมากิน ทําใหรานเสียงชื่อเสียงดวย”


136

อีก

4. การไมยัดเหยียดจําหนายสมุนไพรบางชนิดที่ลูกคามีอยูแลวจําหนายใหลูกคา

ลูกคาบางรายนําตั๋วยาที่เปนสูต รของตัวเองมาหรือบางกรณีเ ปน สูตรตํารับ ยาของทาง รานฯโดยใหทางรานฯจัดยาตามสูตรนั้นๆใหซึ่งในตํารายานั้น มียาสมุนไพรบางชนิดซึ่งลูกคาแจง วามีตัวยาสมุนไพรชนิดนั้นอยูแลว โดยอาจซื้อมากอนลวงหนาหรือมีผูนําใหมา ทางรานฯจะไมชัก จูงลูกคาเพื่อจําหนายยาสมุนไพรชนิดที่ลูกคามีอยูแลวใหอีก ในทางตรงกันขามจะใหคําแนะนําวา ถาจะนํายาสมุนไพรตัวนั้นมาใสในตํารับยาที่มีจะตองมีกรรมวิธีอยางไร เชน ลูกคาที่มีโสมแดง โสม ขาว จะแนะนําเกี่ยวกับการคํานวณปริมาณน้ําหนัก การนําไปคั่วกับขาวเหนียวกอนเพื่อใหงายตอ การหัน เขากวางออนที่ตองนําไปแชเหลากอนใชกระจกขุดออกมาเปนเสน หรือกระเพาะปลาให นําไปอังไฟออนๆ แลวจึงนําไปหั่นเพื่อใหสะดวกตอการรับประทาน เปนตน 5. การใหลูกคาเปนผูกําหนดความตองการในการรับประทานยาโดยสมัครใจ การใหบริการแตละครั้งทางรานฯจะสอบถามถึงความตองการหรือความสมัครใจในการ รับประทานยาของลูกคาวาตองการรับประทานยาประเภทใด และในปริมาณเทาใด ตัวอยางเชน หากยาที่จัดใหลูกคารับประทานเปนยาตม ทางรานฯก็จะสอบถามวาตองการรับประทานจํานวน กี่หอ ลูกคาบางรายอาจกําหนดความตองการเลย 2-3 หอ หรือ 5-10 หอ เปนตน แตบางรายก็จะ ใหทางรานฯแนะนําวาควรรับประทานกี่หอ จึงนาจะเห็นผล ซึ่งทางรานฯจะคํานวณคาใชจายของ ยาที่จัดใหจํานวนตอหอใหแกลูกคารับทราบ และใหลกู คาเปนผูตัดสินใจเลือกเองวาตองการใหจัด ยาไปรับประทานจํานวนเทาใด 6. การยิ นดี รั บ คืน ยาสมุ น ไพรหรื อการปรั บ เปลี่ ย นตัว ยาสมุ น ไพรที่ จั ด ให ไ ป รับประทานแลวยังไมเห็นผล การจัดยาใหไปรักษา บําบัดอาการเจ็บปวยใหแกลูกคาบางราย เชน ยาตม ยาเม็ด ซึ่งเมื่อ ลูกคาไดรับประทานยาเขาไปแลว อาจยังไมเห็นผลเทาที่ควรหรือไมมีอาการดีขึ้น โดยลูกคาไดมา เลาอาการหลังจากที่รับประทานยาทางรานฯยินดีที่จะรับคืนยาพรอมกับคืนเงินให หรือในกรณีที่ ลูกคาบางรายตองการจะใหเพิ่มการรักษาหรือลดอาการขางเคียงที่เกิดขึ้นจากการรับประทานยา เนื่องจากการรักษาโรคบางชนิด เชน การฟกช้ํา เมื่อรับประทานยาสมุนไพรเขาไปแลวลูกคาบาง รายอาจเกิดอาการเจ็บ ปวดบริเวณที่ฟกช้ําเพราะฤทธิ์ของยาที่จะเขาไปชวยกระจายเลือดที่คั่งอยู หรือลูกคาที่มีอาการธาตุหนัก ทองผูก ทางรานฯก็จะปรับเปลี่ยนตัวยาสมุนไพรบางอยางออกหรือ


137

การเพิ่มตัวยาสมุนไพรชนิดใหมในยาแตละหอที่ลูก คายังรับ ประทานไมหมดนํามาใหท างรานฯ แกไขใหมใหเหมาะสมกับอาการ 7. การปฏิเสธลูกคาที่มีอาการเจ็บปวยซึ่งไมเหมาะที่จะรักษาดวยวิธีการของราน ลูก คาบางรายที่มีภาวะอาการความเจ็บ ปวย หรือมีอาการที่กําเริบ รุน แรงซึ่ง เขามาใช บริการจากรานฯ ทางรานฯจะดําเนินการวินิจฉัยโดยดูลักษณะทางกายภาพและสอบถามอาการ และจะแนะนําใหไปรักษาดวยวิธีของการแพทยแผนอื่นๆ ที่สามารถจะชวยแกไขอาการที่เปนอยูได ทุเลาลงกวาและรวดเร็ว หากมารักษาดวยวิธีการของรานฯอาจเห็นผลชา เชน การมีภาวะอาการ เจ็บปวดอวัยวะภายในรางกายอยางรุนแรง การแพรกระจายของเชื้อโรคบริเวณผิวหนัง เปนตน ซึ่ง อาการดังกลาวจะตองไดรับการตรวจวินิจฉัยจากแพทยแผนปจจุบัน หากลูกคามีอาการดีขึ้นแลว ถาลูก คาตองการที่จ ะมาบํารุงรัก ษาสุขภาพใหดีขึ้น อาจมารับ ประทานยาบํารุง ของรานฯไดใ น ภายหลัง ดังที่รานฯไดกลาววา “โรคบางโรคเราตองดูอาการวา ลูกคามีอาการหนักมากนอย แคไหน เชน โรคงูสวัด ซึ่งถาเพิ่งเริ่มเปนหรือเปนมาก จะมา กินยาขอ รานฯมัน อาจจะชาไป ควรไปหาหมอฝรั่งกอนเพื่อ กินยา ฉีดยาระงับอาการ หลังจากหลายดีแลวถายังเจ็บปวด ขางในอยูแลวคอยมากินยาตมลางพิษ” จากจรรยาบรรณในการใหบริการของทางรานฯจะเห็นไดวาทางรานฯไดยึดถือลูกคาที่มา ใช บ ริ ก ารเป น ศูน ย ก ลางในการใหบ ริ ก ารและการใหเ กี ย รติ ผูป ระกอบวิช าชีพ เดีย วกั น และ โดยเฉพาะกั บ ลู ก ค า ด ว ยการนํ า เสนอข อ เท็ จ จริ ง ข อ มู ล เกี่ ย วกั บ การรั ก ษา วิ ธี ก ารรั ก ษา การจําหนายยาสมุนไพร การใหลูกคาที่มาใชบริก ารเปนผูกําหนดความตองการรับประทานยา อันจะนําไปสูก ารสรางความไวเนื้อเชื่อใจและความสัมพันธกับลูกคาที่มาใชบริการในระยะยาว ความสัมพันธกับกลุมผูเขามาใชบริการ : ปจจัยสนับสนุนการดํารงอยูของรานฯ รานเอี้ยะเลงฮึ้งมีกลุมผูมาใชบริการหลากหลายกลุม หลายอายุตั้งแตเด็กไปจนถึงผูชรา ผูใชบริก ารกลุมอาชีพตางๆ เชน ชาวสวน พอคา แมคา ขาราชการ และพนัก งานบริษัทเอกชน เปนตน เมื่อไดพิจารณาจากภูมิหลัง ความถีแ่ ละรูปแบบการเขามาใชบริการกับทางรานฯสามารถที่ จะกําหนดลักษณะความสัมพันธของลูกคากลุมตางๆที่เปนเสมือนปจ จัยการดํารงอยูของรานฯ ดังนี้


138

1. ความสัมพันธกับกลุมลูกคาที่เปนเครือญาติหรือเพื่อนบานชาวไทยเชื้อสายจีน ลูกคากลุมนี้เปนกลุมลูกคาที่มีการติดตอสัมพันธกับทางรานฯเปรียบเสมือนเครือญาติหรือ เปนเพื่อนบานที่อยูระแวกเดีย วกันมาตั้ง แตอดีต หรือแมปจ จุบัน จะแยกยายไปอยูหางไกลกัน ก็ยังคงเปนลูกคาประจําของทางรานฯ ดวยเหตุที่วาไดมีการติดตอกันมาตั้งแตสมัยอดีตกับผูกอตั้ง รานฯ โดยเปนกลุมคนจีนที่อพยพเขามาตั้งถิ่นฐานในพื้นที่อําเภอดําเนินสะดวก ริมสองฝงคลอง ดําเนินสะดวก ประกอบอาชีพคาขาย ทําสวน ปลูกพืช ผัก ผลไม ซึ่งกลุมชาวจีนเหลานี้ไดกลายมา เปนลูก คาของทางรานฯ มีความสนิท สนมกับ ผูกอตั้งรานฯ ตอมาเมื่อมีครอบครัว มีลูก มีหลาน คนในรุน ลูก รุน หลานมีความรูจัก ความคุน เคยสนิท สนมกันก็มาใชบ ริก ารจากทางรานฯอยาง ตอเนื่อง ถือเปนกลุมลูกคาประจําของทางรานฯ โดยเมื่อเวลาเกิดอาการเจ็บไขไดปวยหรือตองการ บํารุง ดูแลสุขภาพกลุมลูกคาที่เปน เครือญาติและเพื่อนบานชาวไทยเชื้อสายจีนเหลานี้จะมาใช บริการกับทางรานฯเปนประจํา ดังที่โกหมวย ซึ่งเปนลูกคาทานหนึ่งของทางรานฯ กลาวใหฟงวา “รูจัก กัน มาตั้ง แตรุ น เตี่ ย แล ว เตี่ย เขาเปน เพื่อนกับ อาแปะ เจาของราน สมัยกอนเขามาจากเมืองจีนพรอมๆ เขามาทํากิน กันที่นี่พรอมๆกัน บานอยูใกลกันแตกอน ก็ไปมาหาสูมากินยา ที่นี่ตั้งแตรุนเตี่ย ฉันก็มากันตอๆจนถึงลูก หลาน” หรืออาแปะตี๋ ลูกคาอีกทานหนึ่ง กลาวใหฟงวา “กินยารานนี่มาตั้งนานแลว ตั้งแตสมัยเตี่ย สมัยกอนเตี่ยกับ เพื่อนๆเขามานั่งคุยกันหรือเจี่ยเตที่รานฯ อาแปะเจาของรานฯ เราก็มากับเตี่ย พอไมสบายเตีย่ ก็พามาหาอาแปะ กินยาแลว ก็หาย ที่บานไมวา แม นอง นุงใครเปนอะไร ก็จะมาขึ้นยากับ ที่รานนี”้ หรืออยางกรณีอาซิ่มกิม กลาวใหฟงวา “เตี่ยเขารูจักอาแปะเลาตั้ง เปนเพื่อนกันมานานแลว สมัยกอน พายเรือมาที่รานก็มาหาอาแปะใหแมะประจํา ทุกวันนี้ที่บานก็ ยังมาอยู รุนลูกอาแปะที่ยังทํา ยังขายอยูก็มาหา”


139

จะเห็นไดวากลุมลูกคาที่เปนคนไทยเชื้อสายจีนนี้เปนลูกคาที่มาใชบริการทางรานฯจากรุน สูรุนจากรุนพอ สูรุนลูก และรุนหลานที่มีความเชื่อเกี่ยวกับการรักษาดวยการแพทยแผนจีน ซึ่งการ ติดตอสัมพันธกันนี้นอกจากจะมีลักษณะของความสัมพันธที่ตั้งอยูบนเงื่อนไขทางเศรษฐกิจคือการ เปนผูใหบริการและเปนลูกคาที่มาใชบริการระหวางกันแลว ปจจัยที่เปนตัวสนับสนุนอีกประการ หนึ่งคือความสัมพันธทางสังคมระหวางรานฯกับลูกคาแตละรายที่มาใชบริการที่เปรียบเสมือนคน พวกเดียวกันเปนญาติ เพื่อนบาน มีการใหคําปรึกษา การชวยแกไขปญหา การสอบถามสารทุกข สุขดิบระหวางกัน รวมไปถึงการรวมกิจกรรมในโอกาสสําคัญหรือไดทํากิจกรรมรวมกันในเทศกาล ตางๆ นอกจากนี้ยังกลาวไดวา การมาใชบริการของลูกคาแตละรายซึ่งมาอยูรวมกันภายในรานฯได กลายเปนพื้นที่ทางสังคมใหแกผูคนตั้งแตอดีตจนถึงปจจุบันไดมาแลกเปลี่ยนพูดคุย ถกเถียงแสดง ความคิดเห็นในประเด็นตางๆ ซึ่งถือเปนกิจกรรมที่ชวยกระชับความสัมพันธของคนในกลุมหรือ เครือขายดวย 2. ความสัมพันธกับ“ชาวสวน”ในฐานะลูกคากลุมหลัก ผูคนสวนใหญในพื้นที่อําเภอดําเนินสะดวกประกอบอาชีพเกษตรกรรมโดยเฉพาะการทํา สวนปลูกพืช ผัก ผลไมนานาชนิดซึ่งมีการขยายตัวมากขึ้นภายหลังการขุดคลองดําเนินสะดวก ผูที่ ประกอบอาชีพทําสวนดังกลาวมีทั้งที่เปนคนไทยเชื้อสายจีน คนไทยพื้นถิ่น ลูกคาที่ประกอบอาชีพ ทําสวนนี้เปนลูกคากลุมสําคัญของรานฯเนื่องจากเปนกลุมลูกคาที่มีสัดสวนการมาใชบริการกับ รานฯ เมื่อเปรียบเทียบกับลูกคาที่ประกอบอาชีพประเภทอื่นๆ มีทั้งที่เปนลูกคาประจํา ลูกคาขาจร สําหรับลูกคาประจําสวนใหญจะนิย มกัน มาใชบริการที่รานฯเปน ครอบครัวซึ่ง เหตุผลหนึ่งอาจ อธิบายไดจากการเปนคนไทยเชื้อสายจีนดวยกันและมีความเชื่อในการรักษาดวยการแพทยแผน จีนซึ่งความเชื่อเหลานี้ไดรับมาจากการที่บรรพบุรุษไดรักษาดวยการแพทยแผนจีนมากอน หรือ ลูกคาชาวสวนบางรายซึ่งไมเคยมาใชบริการกับทางรานฯแตไดรับคําแนะนําจากลูกคาประจําที่เปน ชาวสวนดวยกัน หรือรูจัก กัน และมาทําการรัก ษาที่รานฯจนหายจึง พาครอบครัวและแนะนําผู ใกลชิดใหมารักษาจนกลายเปนลูกคาประจํา ดังที่เจลั้งซึ่งประกอบอาชีพทําสวนแหงหนึ่งในอําเภอ ดําเนินสะดวก กลาววา “พอเป น อะไรก็ ม าที่ นี่ กิ น ยาที่ นี่ ม านาน อย า งเราเป น ไข ปวดหั ว ตั ว ร อ น เจ็ บ ตรงโน น ตรงนี้ ก็ ม าหากิ น ยาแล ว ก็ คอยยังชั่วขึ้น อยางฉันหรือพี่ๆนองๆปๆหนึ่งก็จะมาจัดยาดอง บํารุงเสน กินทุกปหละ”


140

กรณีของลุงเมง กลาววา “แตกอนไมรูจักหรอก มีพรรคพวกที่ทําสวนดวยกันเขาบอกให มา พอมากิน ยาแลวถูก กับ โรคที่นี่ก็มาตลอด ตั้งแตรุน เตี่ย ของเจเจาของรานฯเขาแลว กิน ยาที่รานเนี่ย มาเกือบจะสิบ กวาปแลว” ลูกคาชาวสวนที่เขามาใชบริการจากรานฯโดยมากมักจะเปน เจาของกิจการสวนพืชผัก ผลไมตางๆ ลักษณะการแตงกายจะสังเกตเห็นไดชัดโดยลูกคาทั้งหญิงและชายสวนใหญจะนิยม เสื้อแขนยาวและกางเกงจีนสีดําหรือสีน้ําเงิน บรรยากาศระหวางหลังการตรวจวินิจฉัย รักษากับ ลูก คาบางรายฯแลวทางร านฯอาจจะมี ก ารสอบถามเกี่ย วกับ กิจ การของลูก คา ที่มาใชบ ริก าร อยางเชน วา ที่สวนปลูกอะไรไว พืช ผัก ที่ปลูก ราคาเปน อยางไร ทําเองหรือตองไปจางแขก(คน รับจางทําสวน)อื่นๆมาชวย การบํารุง พืชพันธุ คาปุยคาน้ํายา ฉีดยาดวยตนเองหรือไม ซึ่งสวนหนึ่ง จากคําตอบของลูกคาดังกลาวนําไปสูการใหคําแนะนําในการดูแลตัวเองจากทางรานฯ เชน วิธี ปฏิบัติตนหลังการฉีดยากําจัดหรือบํารุงพืช การทํากิจกรรมในสวน อาทิ ควรหาเกาอี้มานั่งในการ ดายหญาหรือถอนหญาโดยไมควรนั่งยองๆเพราะจะทําใหหัวเขามีอาการเจ็บปวดได หรือหากมี อาการปวดหรือชาที่มือเนื่องจากใชมือในการทํากิจกรรมมากในแตละวันควรประคบหรือวางดวย น้ํารอน เปนตน ลูกคาชาวสวนบางรายที่เปนลูกคาประจําของรานฯนั้นในการมาใชบริการแตละ ครั้งมักจะมีของติดไมติดมือมาฝากกับทางรานฯเสมอ โดยเฉพาะพืช ผัก ผลไมที่เปนผลผลิตจาก สวนของลูกคาแตละรายดวย ซึ่งประเด็นดังกลาวในมุมมองของทางรานฯเขาใจไดวาอาจจะเปน สวนหนึ่งจากความสนิทสนมที่ไดติดตอกันมานาน และอีกดานหนึ่งถือเปนน้ําใจของลูกคาที่แสดง ถึงความขอบคุณในการชวยรักษาอาการเจ็บ ปวยใหหายได ซึ่ง เปนการสรางความสัมพันธและ ความรูสึกที่ดีระหวางกัน นอกจากนี้ยังมีลูกคาชาวสวนบางรายที่เพาะปลูกพืชสมุนไพรบางชนิดไว ใชในครัวเรือนเอง ยังไดนําสมุนไพรที่ปลูกไวมาใหกับทางรานฯโดยไมคิดมูลคาใดๆตอทางรานฯ เชน ดอกมะลิซอน ดอกมะลิลา วานน้ํา ดอกพิกุล ซึ่งผานการตากแหงแลว เปนตน ซึ่งเมื่อนํามาจัด จําหนายใหแกลูกคารายอื่นๆทางรานฯก็ไมไดคิดคาใชจายในสวนของสมุนไพรที่ไดนํามาจากการ ใหของลูกคา ความสัมพันธกับลูกคาประเภทที่หนึ่งคือกลุมลูกคาที่เปนเครือญาติหรือเพื่อนบานชาวไทย เชื้อสายจีน และประเภทกลุมลูก คาชาวสวน ที่มาใชบ ริก ารจากทางรานฯอยูห ลายครั้งอยาง ตอเนื่องนี้ ยังสะทอนจากสมุดจดบันทึกของทางรานฯ ที่นอกจากจะมีการบันทึกขอมูลลูกคาใน


141

สมุดบันทึกการใชบริการรายเดือนแลว ทางรานฯยังดึงขอมูลประวัติการออกตั๋วยาของลูกคาที่มา ใชบริการประจํามาจัดเก็บไวในสมุดบันทึกฉบับพิเศษ ตามรายชื่อของลูกคา โดยเมื่อลูกคามาใช บริก ารกับ ทางรานฯ มีภาวะอาการเจ็บ ปวยในลัก ษณะอาการเดิม ก็จ ะใหท างรานฯจ ัด ยาชุด ดังกลาวไปรับประทาน หรือปรับยาเพียงเล็กนอยหากมีอาการอื่นเพิ่ม หรือโทรศัพทมาสั่งใหจัดยา ซึ่งทําใหสะดวกตอการเรีย กดูป ระวั ติและการรัก ษาโรคไดตามภาวการณเ จ็บ ปวยของลูก ค า นอกจากนี้ยังมีกรณีที่ลูกคาบางรายซึ่งมีตั๋วยาสวนตัวที่ไดรับมาจากแหลงตางๆ เชน ไดรับสืบทอด ตอๆกันมาภายในครอบครัว ญาติมิตรใหกันเอง หรือตั๋วยาที่ออกโดยรางทรง จะนําตั๋วยาดังกลาว มาฝากไวกับทางรานฯ เก็บไว เมื่อตองการใชก็จะใหทางรานฯจัดยาตามตั๋วยาที่ฝากกับทางรานฯ เอาไว 3. ความสัมพันธแบบถูกสงตอจาก “กลุมลูกคาประจํา” ลักษณะของความสัมพันธนี้เกิดขึ้นจากการทีล่ ูกคาประจําของรานฯ ซึ่งอาจเปนกลุมชาว ไทยเชื้อสายจีนที่เปนเครือญาติหรือเพื่อนบานระแวกเดียวกัน กลุมชาวสวน ไปใหคําแนะนําชักชวน ใหมาใชบริการกับทางรานฯ ซึ่งลูกคาประจําที่เปนผูแนะนํานั้นอาจเปนโรคที่คลายคลึงกับผูที่ถูก ชักชวนใหมาใชบริการจากทางรานฯแลวมีอาการดีขึ้น หายขาดได หรืออาจจะมีอาการเจ็บปวยที่มี ความแตกตางกันไปแลวลองชักชวนมาใชบริการที่รานฯ ลักษณะของลูกคาประเภทนี้จะประกอบ อาชี พที่ห ลากหลายเป น ทั้ ง ชาวสวน เจา ของกิจ การ บริ ษัท โรงงาน พ อคา แม คา พนัก งาน ขาราชการ รับจางทั่วไป แมบาน และอื่นๆ ซึ่งสวนใหญจะอยูนอกเขตพื้นที่อําเภอดําเนินสะดวก เชน อําเภอตางๆในจังหวัดราชบุรี จังหวัดที่อยูขางเคียง เชน กาญจนบุรี เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ นครปฐม สมุทรสาคร สมุทรสงคราม กรุงเทพมหานคร เปนตน ลูกคาประเภทนี้เมื่อมาทําการรักษา ที่รานฯในครั้งแรก มักจะกลาวใหกับทางรานฯฟงวา ไดรับคําแนะนํามาจากใคร อาศัยอยูที่ไหน ซึ่งหากจะวิเคราะหใหเห็นถึงเครือขายความสัมพันธของลูกคาที่ไดรับคําแนะนําตอๆกันมาในการ มาใชบริก ารจะพบวามีรูป แบบที่ห ลากหลายมีทั้ง การเปนเครือญาติกัน การเปน เพื่อนบานกัน การประกอบอาชีพในยานชุมชนเดียวกัน ตัวอยางเชน กลุมลูกคาในพื้นที่ตลาดสดมหาชัย จังหวัด สมุทรสาคร กรณีของเจกีซึ่งเปนเจาของกิจการขายอาหารทะเลสดซึ่งเปนลูกคาที่ไดรับคําแนะนํา จากคนในพื้น ที่ซึ่ง เคยมาใชบ ริก ารจากทางรานฯ หลังจากนั้น ไดชักชวนญาติ รวมทั้งเพื่อนๆที่ ประกอบธุรกิจคาขายในยานมหาชัยมาใชบริการที่รานฯจนคนในพื้นที่ดังกลาวกลายเปนลูกคา ประจําของรานหลายคน ดังที่เจากีไดเลาวา


142

“พอดีมีคนแถวเนี่ยเคยไปที่รานฯ เปนโรคเดียวกัน เขาก็บอก วากินแลวหาย เราก็ลองมาบาง พอมารักษาอาการเบาหวาน ความดัด อาหารปวดหัว อาการมันก็ดีขึ้น ก็เลยชวนพี่ๆนองๆ ของตัวเองมาบาง เขาก็อาการดีขึ้น คนที่คาขายในมหาชัย หลายเจาก็ไปที่รานหลายคน ฉันก็มาตั้งแตรานฯอยูริมน้ําจน ยายมาอยูริมถนน” นอกจากนี้ยังมีกรณีผูที่ประกอบอาชีพคาขาย และทําสวนในเขตอําเภอบานแพว หลักสี่ จังหวัดสมุทรสาคร และในเขตอําเภอสามพราน จังหวัดนครปฐมซึ่งเปนพื้นที่ตอเนื่องใกลเคียงกัน ไดรับ คําแนะนําจากแมคาขาวแกงในตลาดสดบานแพว ซึ่งมาใชบ ริก ารจากทางรานฯและได แนะนําใหลูกคาซึ่งมารับประทานอาหาร ไดทดลองมารัก ษาอาการเจ็บปวยจากทางรานฯ ดัง ที่ เจตุก กลาววา “กินยาที่รานมาเปนสิบๆปแลว กินแลวก็หาย เปน อะไรก็มา ที่นี่ก็บอกญาติๆพี่นองที่ทําสวน ลูกคาที่มาที่ราน คนแถวบาน ให ล องมาดู เขาก็ ม ากั น ก็ ดี ขึ้ น คนแถวหนองสองห อ ง สามพราน ก็มาที่นี่กันเยอะนะ” หรือกรณีก ลุมลูก คาซึ่งเปน พยาบาลวิช าชีพ โรงพยาบาลแหงหนึ่งในจังหวัดราชบุรีที่ ตองการจะมีบุตรไดรับคําแนะนําจากลูกคารายหนึ่งของรานฯใหมารับประทานยาบํารุงรางกาย ตามสูตรของรานฯ รวมทั้งคําแนะนําในการดูแลสุขภาพ หลังจากนั้นก็สามารถที่จะมีบุตรไดตามที่ ตองการ ก็ไดใ หคําแนะนํากับผูที่มาปรึกษาปญ หาการมีบุต รยาก ใหมารับประทานยาจากทาง รานฯจําหนวนหลายคน ดังที่ลูกคามาใชบริการรายหนึ่งกลาวใหฟงวา “มี พี่ ที่ เ ป น พยาบาลในโรงพยาบาลแห ง หนึ่ ง ในราชบุ รี เขาแนะนํามา เขาบอกวาใหมากินยาที่นี่ดู เพราะวาเคยกิน แลวไดผล ก็แนะนําคนไปหลายคนแลวใหลองไปกิน มีหลาย คนที่กินแลวไดผล เราอายุเ ยอะแลวก็อยากจะมีลูก เลยให ชวยบอกเบอรโทรติดตอ ที่อยูวาอยูตรงไหน ก็เลยมากินที่น”ี่ การมารักษาในครั้งแรกของผูที่ถูกแนะนํามา ลูกคาที่ใหคําแนะนําอาจจะพาผูที่ถูกแนะนํา มากับตัวเองเนื่องจากผูที่ถูกใหคําแนะนําไมรูจัก สถานที่ตั้ง ของราน จึง อาสาพามาให หรือใน


143

บางครั้งก็พาผูถูกใหคําแนะนํามาพรอมกับตนเองโดยที่ตัวเองนัดหมายกับทางรานฯไววาจะมา ตรวจสอบอาการซ้ําจากการรับประทานยาไปแลว หรือทางรานฯนัดใหมาดูอาการ การพากันมาทั้ง ครอบครัว การนัดหมายเพื่อนๆในระแวกบานเดียวกันมา ลูกคาที่ไดรับคําแนะนําจากลูกคาประจํา ของรานฯนี้ก็จะไปแนะนําผูอื่นตอไปเรื่อยๆ จนทําใหเห็นภาพของกลุมลูกคาที่อาศัยอยูตามทองถิ่น แตละแหงไดอยางชัดเจน ซึ่งก็จะมารักษาอาการเจ็บปวยดูแลสุขภาพกับทางรานฯกลายเปนลูกคา ประจําหรือลูกคาบางรายที่มีอาการดีขึ้นมากหรือหายขาดนานๆครั้งที่เจ็บปวยก็จะมาใหทางรานฯ ตรวจวินิจฉัยให จึงกลาวไดวาลูกคาประเภทนี้ไดรับการถายทอดประสบการณในการรักษาระหวาง ลูกคาที่ไดมาใชบริการของรานฯ ในลักษณะ“ปากตอปาก”และไดทดลองมารักษากับที่รานฯดวย ตัวเองจนเมื่อมีสุขภาพดีขึ้น จึงมีการแนะนํากันตอไป ลูกคาประเภทนี้จึงมีความสําคัญกับการดํารง อยูของกิจการของรานฯไมนอยไปกวาลูกคาประเภทอื่นๆ 4. ความสัมพันธแบบผิวเผิน ความสัมพันธในลักษณะผิวเผินนีอ้ ยูในกลุมลูกคาประเภท“ขาจร”ซึ่งเปนกลุมลูกคาทั่วไป โดยอาจเคยใชบริการจากทางรานฯมากอน หรือไมเคยใชบริการ เชน การมาใหตรวจวินิจฉัยอาการ เจ็บปวยแลวไมพรอมที่จะรับประทานยาหรือทานยาลําบาก โดยทางรานฯแนะนําใหไปปรับปรุง พฤติกรรมการดูแลสุขภาพ หรือลูกคาที่จัดยาไปรับประทานแลว อาจจะมีอาการดีขึ้นหรือไมดีขึ้น แลวไมไดก ลับมารักษากับทางรานฯอีก หรือนานๆครั้งมารัก ษา รวมทั้ง ยัง มีลูก คาบางรายที่มา สํารวจราคาตัวยาสมุน ไพรบางชนิดที่ตองการซื้อซึ่งมีราคาคอนขางสูงในตลาด โดยตองการ เปรียบเทียบราคาจากหลายๆราน หรือบางรายที่ตองการซื้อตัวยาสมุนไพรบางชนิดไปจัดเขาสูตร ตํารับยาที่มอี ยูเอง หรือการนําสูตรตํารับยาที่ตัวลูกคามีมาใหทางรานฯจัด เปนตน ปจจัยที่เปนแรงจูงใจใหมาใชบริการ จากการสังเกตบรรยากาศภายในรานฯ การสนทนาพูดคุยระหวางลูกคาที่มาใชบริการกับ ทางรานฯ และระหวางลูกคาที่มาใชบริการดวยกันเอง สามารถที่จะสรุปประเด็นสําคัญซึ่งสะทอน ถึงแรงจูงใจในการมาใชบริการกับทางรานฯของลูกคาที่มีอยูหลายปจจัย ดังนี้ 1. รักษาแลวอาการบรรเทาขึ้นหรือหายขาด การที่ลูกคาเขามาใชบ ริการจากทางรานฯ ซึ่งไดรับการตรวจวินิจ ฉัยโรค ความเจ็บปวย และไดรับคําแนะนําวิธีการรักษาโดยการรับประทานยาตม ยาเม็ด ยาดอง ยาอื่นๆ พรอมกับวิธี วิธีการปฏิบัติตนเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพระหวางเจ็บปวยตามคําแนะนําของรานฯแลว สงผลให


144

อาการหรือโรคที่เจ็บปวยบรรเทาขึ้นหรือหายขาดนับเปนปจจัยที่สําคัญที่ทําใหลูกคามาใชบริการ จากทางรานฯ สังเกตไดจากการที่ลูกคาแตละรายมาใชบริการซ้ําเมื่อรับประทานยาที่กําหนดใหใน การมารัก ษาครั้ง แรก หลั ง จากนั้ น ทางร านฯตรวจวิ นิจ ฉั ย อาการอี ก ครั้ ง หรือ หลายครั้ ง และ รับประทานยาที่จัดใหตอไปจนอาการหายในที่สุด ดังที่เจอั๋ง ลูกคารายหนึ่งของรานฯเลาวา “กินยาหมอแรกๆ ยังไมรูสึกเทาไร พอกินหมอสอง หมอสาม เราจะรูวาอาการมันเบาขึ้น ก็มาซ้ํายา กิน ไปเกือบสิบหมอ ก็ดีขึ้นมาก หายดีเลย” หรือกรณีของลุงเมง ลูกคาอีกรายเลาวา “แตกอนเดินตองใชไมเทาพอมากินยาที่นี่เขาไปแลว เรารูสึก วามันเบาขึ้น อาการเจ็บ นอยลง นอนหลับ ได พอกินขาวได ก็มาใหที่รานฯดูซ้ํา กินยา ปรับยาตอเพื่อใหมันหายขาดตอง กินติดตอกัน หลายหมอ ตอนนี้เดินไดไมตองใชไมเทาแลว” จากการที่ลูกคามารักษาแลวมีอาการดีขึ้น กลาวไดวาเปนผลที่เกิดจากการตรวจ วินิจ ฉัย และใหย าไปรับ ประทานที่ต รงกับโรค แตอยางไรก็ต ามยัง มีลูกคาบางรายที่มาใหต รวจ วินิจฉัยหลายครั้งเพื่อปรับตัวยา ใหตรงกับอาการที่ยังเจ็บปวยอยูในบางจุด จนหายในที่สุด ซึ่งทาง รานฯอธิบายใหแกลูกคารับทราบวาการรักษาดวยการแพทยแผนจีนนั้น ตองอาศัยระยะเวลาและที่ สําคัญคือการดูแลสุขภาพของตัวลูกคา การรับประทานยาอยางตอเนื่องตามคําแนะนําจากทาง รานฯ เนื่องจากรางกายแตละคนจะดูดซึมตัวยาที่ไดรับประทานเขาสูรางกายไมเหมือนกันขึ้นอยูกับ สภาพรางกาย บางคนรับประทานยาแลวเห็นผลเร็ว แตบางคนเห็นผล ดังที่ทางรานฯ ไดกลาววา “กินยาจีนตองใจเย็นๆ รักษาอาการเจ็บปวยที่เปนหนักกอน แกไขที่ละจุด กินยาที่จัดใหแลวมาดูอาการซ้ําวาดีขึ้นหรือไม อยางไร ตองปรับยา เพิ่มยา ใหตรงกับอาการ ที่ยังเจ็บอยูหรือ เพิ่ม บางคนเปนโรคมานานจะใหหายปุบปบ ไมได รางกายแต ละคนจะฟนตัวไมเหมือนกัน แตก็บอกกับลูกคาไปวาถาลอง เอาไปกินแลว 3 หมอไมดีขึ้น ยังเฉยๆ ก็ไมตองมา ที่พูดแบบ นี้เพราะไมอยากใหเสียเวลา เสียเงิน ลูกคาเขาอาจจะไมถูก กับการรักษาแบบนี้ จึงนาจะมีทางเลือกอื่นๆอีก”


145

2. ความเชื่อในการรักษาดวยการแพทยแผนจีน ความเชื่อเกี่ย วกับสิ่ง ใดสิ่ง หนึ่ง ยอมเปนบอเกิดของการกระทําที่นําไปสูการตอบสนอง ความเชื่อนั้นๆ เชนเดียวกับการมารักษา บําบัดอาการความเจ็บปวยหรือดูแลสุขภาพของลูกคา ที่มาใชบ ริก ารซึ่งมีความเชื่อในการรักษาดวยวิถีทางการแพทยแผนจีน โดยลูก คาแตละรายให คําอธิบายหรือที่มาเกี่ยวกับเหตุที่จูงใจใหเกิดความเชื่อในการรักษาจากหลายเหตุผล เชน การที่คน ในครอบครัว คนรุนพอ รุนแมไดมาใชการรักษาดวยการแพทยแผนจีนสืบทอดตอๆกันมาและได พิสูจนวารักษาแลวมีอาการดีขึ้นหรือหาย การเชื่อวาการบริโภคสมุนไพรจีนจะถูกกับอาการของโรค ที่เปนอยูมากกวา การเชื่อวารักษาดวยการแพทยแผนจีนจะเปนไปในลักษณะการกําจัดโรคที่มีอยู ในร า งกาย เชน การขับ ของเสี ย ออกทางเหงื่อ ป ส สาวะ อุ จ จาระจะบรรเทาอาการให ดี ขึ้ น การกระตุนใหเกิดอาการหรือเชื้อที่คงคางภายในรางกาย เชน การเปนฝ หนอง อาการทางผิวหนา ออกจากร างกาย การกระทุง กระจายจุด ที่ มีอ าการอั ก เสบ เช น เลือ ดคั่ ง การบวมดว ยการ รับประทานยาตมเพื่อใหสรรพคุณทางยาไปบําบัดอาการดังกลาว ซึ่งจะทําใหอาการหายขาดมา กวาการรักษาดวยวิธีก ารอื่นๆ ความเชื่อเกี่ย วกับตํารายา หรือสูต รยาของรานฯ หรือตํารายาที่ ลูกคามีอยูซึ่งไดเคยรับประทานจากรุนสูรุนหรือบอกตอๆกันมา เมื่อรับประทานเขาไปแลวทําใหมี สุขภาพแข็งแรง ความเชื่อเกี่ยวกับการรักษาดวยรางทรงที่ออกใบสั่งยาสมุนไพรจีนใหรับประทาน เปนตน ซึ่งความเชื่อเหลานี้มักจะปรากฏใหเห็นจากบทสนทนาระหวางลูกคาและทางรานฯ ดังที่ เฮียฮอ ลูกคาทานหนึ่งเลาวา “สมัยกอนผมเปนเด็ก อาการแยมาก เตี่ยพามา ผมมีอาการ น้ําลายไหลไมหยุด จนอาแปะที่รานนี้เขาแมะให จัดยาใหกิน ก็หาย ตอนนั้นนึกวาจะไมรอดแลว ถาไมไดมาที่นี้ เดี่ยวนี้ลูก เมี ย ผมเป น อะไรก็ ม าที่ ร า นกั น ทั้ ง บ า น แม แ ต เ พื่ อ นฝู ง ก็ ชักชวนใหมานะ” หรือกรณีของเจจู เลาวา “กิน ยาจี น มั น จะชว ยขั บ ของไม ดี ของเสี ย ล า งเชื้ อ โรคใน รา งกายที่เ ปน ที่ เ จ็บ อยู ใ ห เ ชื้ อที่ มีอ ยู มัน หายออกไป และ หายขาดไปเลย แต ถ า ไปฉี ด ยา กิ น ยาฝรั่ ง มั น เพี ย งระงั บ อาการเจ็บ กดทับเชื้อนั้น แตก็ไมแนวาจะหายขาดหรือเกิด ขึ้นมาอีก”


146

3. สมุนไพรสดใหม สมุนไพรที่ทางรานฯนํามาจัดจําหนายมีการสั่งซื้อจากผูคาสงยาสมุนไพรจีนเปนประจําทุก สัปดาหเพื่อทดแทนสมุนไพรที่ถูกจําหนายไป หรือกรณีที่ทางรานฯไดตรวจในลิ้นชักใสยาหรือกลอง เก็บยาสมุนไพรแลวพบวาบางชนิดที่อยูในสภาพที่ไมสมบูรณ เชน แหลก แตกหัก สวนหนึ่งจะถูก นําไปทํายาเม็ด ลูก ค าที่มาใชบ ริ ก ารจากทางรา นฯจึง ไดรั บ สมุน ไพรที่ อยูใ นสภาพดี สดใหม สมบูรณไปรับประทาน ซึ่งสาเหตุเปนเพราะทางรานฯไมไดเก็บตุนยาสมุนไพรไวจําหนายในระยะ ยาวเนื่ อ งจากต อ งคํ า นึ ง ถึ ง องค ป ระกอบหลายอย า ง โดยเฉพาะสภาพภู มิ อ ากาศที่ มี ก าร เปลี่ยนแปลงซึ่งจะมีผลตอตัวยาสมุนไพร หรือยาสมุนไพรบางชนิดถาสั่งซื้อมาจํานวนมากแตไมได ถูกหยิบนํามาใชจัดในตํารายาหรือใชบอยๆ หากเก็บเปนระยะเวลานานก็จะทําใหยาเสื่อมคุณภาพ ได ดังนั้นการสั่งสมุนไพรจากผูคาสงในแตละครั้งจึงถูกสั่งในปริมาณที่เหมาะสมกับการจัดจําหนาย ในแตละชวง1-2 สัปดาห หรือแตละเดือน ดังที่ทางรานฯ กลาววา “เราไม อ ยากสั่ ง ยามาเก็ บ ไว เ ยอะๆ เพราะดู แ ลลํ า บาก อยางบางตัวที่ลูกคาบางคนเอาสูตรยามาใหเราจัดเราก็ตอง ตรวจดูรายชื่อสมุนไพรกอนเลยวามีครบหรือไม เพราะบางตัว ไมไดใชบอย ก็ไมไดสั่งมา เพราะเก็บ ไวน านๆ ใชไมกี่คนก็ เสื่อมสภาพเปลา ยาที่สั่งมาทุกอาทิตยสวนใหญจะเปนยาที่ ใชประจําหลักๆ เอามาเฉพาะของที่กําลังจะหมด” ตัวยาสมุนไพรที่ถูกสั่งมาแตละสัปดาหจึงเปนยาที่ถูกหยิบใชประจํา ใชบอยในการออกตั๋ว ยาใหแกลูกคาที่มาใชบริการ ซึ่งมีผลทําใหยาที่จัดอยูในแตละหอแตมีความนารับประทาน ลูกคา ที่มาใชบริการจากทางรานฯจึงไดยาสมุนไพรที่มีคุณภาพไปรับประทาน และนําไปสูการสรางความ มั่นใจเกี่ยวกับการรักษาอาการเจ็บปวยดวย ดังที่โกกิม ลูกคารายหนึ่งกลาววา “ยาที่นี่เขาใหม ฉัน ไปซื้อมาหลายตอหลายที่แลว บางที่จัด แลวกอนตมตองเอาไปลางกอน แตที่รานฯนี่ฉันสังเกตจากสี ของยา กลิ่นยา เอาไปตมไดเ ลย ซึ่งเวลาตมนะมันจะหอม ทําใหกินยาไมยาก เวลาจะเอาตั๋วยามาใหเจียดก็มาที่นี่หละ”


147

4. ความไวเนื้อเชื่อใจ การให บ ริก ารภายในรานฯนอกจากจะถือ เปน ความสัม พัน ธเ ชิ ง เศรษฐกิจ ในมุมมอง ระหว า งผู ใ ห บ ริ ก ารคื อ ทางร า นฯและผู ใ ช บ ริ ก ารคื อ ลู ก ค า ที่ ม าใช บ ริ ก ารแล ว ยั ง มี มิ ติ ข อง ความสั มพัน ธท างสังคมเขามาเกี่ย วของดว ย ซึ่ง อาจกล าวไดว าเปน สิ่ ง ที่สนับ สนุน ทํา ใหเ กิ ด แรงจูงใจในการมาใชบริการดําเนินไปอยางตอเนื่อง โดยไดนําไปสูการพัฒนาความไวเนื้อเชื่อใจ ระหวางทางรานฯและลูกคาที่มาใชบริการ ที่อาจเปนผลมาจากระยะเวลาและความถี่ในการเขามา ใชบริการของลูกคาแตละราย เชน ลูกคาที่เขามาใชบริการตั้งแตรุนพอ รุนแม ตัวเอง จนกระทั่ง ลูกหลานในปจจุบัน การมาใชบริการของลูกคาจนกลายเปนลูกคาประจําของรานฯนี้ทําใหทั้งสอง ฝายไดเรียนรูนิสัยใจคอ บุคลิกภาพ ภาวะทางการเงิน ระหวางกันไปดวยทําใหปฏิสัมพันธระหวาง ทางรานฯและลูกคาที่มาใชบริการเปนไปอยางราบรื่น เพราะตางมีความเขาใจกัน ซึ่งสะทอนจาก หลายกรณี เชน 4.1 การสั่งจัดยาลวงหนา ลูกคาบางรายที่ตองการสั่งซื้อยากับทางรานฯ แตไมสามารถมาดวยตนเองไดจึงมี การโทรศัพทมาสั่งจัดยาที่ตนเองเคยมารัก ษากับ ทางรานฯ โดยใหท างรานฯจัดยาตามความ ตองการและจะนัด วันและเวลาที่จะมารับ หรือใหจัดยาจากสมุดบันทึกประวัติการรักษาที่ไดเคย มาใชบ ริการจากทางรานฯ ซึ่งแสดงใหเ ห็นถึงความตองการที่จะใชบริการจากทางรานฯโดยตัว ลูกคาเองไมตองมาปรากฏตัวใหเห็นที่รานฯ แตในดานหนึ่งอาจมองไดวาเปนความเสี่ยงของทาง รานฯที่จ ะจัดยาใหแกลูกคา แตหากลูกคาไมไดมารับตามที่ต กลงกันไว จะทําใหมีผลตอตัวยา สมุนไพรที่จัดใหโดยเฉพาะยาตม ยาดอง หากรอลูก คาเปน ระยะเวลานานอาจทําใหสมุนไพร เปลี่ยนสภาพไปได แตลูกคาเกือบทั้งหมดที่มาใชบริการที่รานฯจะมารับยาที่สั่งจัดไวตามกําหนด หรืออาจลาชาไปบางไมกี่วัน หรืออยางกรณีที่มีลูกคาบางรายตองการสั่งยาโดยไดเดินทางมาที่ราน ฯและมาจายเงินลวงหนาใหกับรานฯและนัดหมายวาจะมารับตามวันที่กําหนด ซึ่งจะเปนลูกคาขา ประจําที่มีการติดตอกันมานาน ดังเชนเฮียหมู ซึ่งเปนลูกคากับทางรานฯมาเปนเวลาเกือบ 20 ป ซึ่ง ในการซื้อยาแตละครั้งมีปริมาณที่คอนขางมาก เลาวา “เวลาจะมาที่รานจะโทรมากอนวาอยูห รือเปลา มีย าเม็ดที่ ตองการหรื อไม และจะบอกใหทํ ายานี้ ไว จะมาเอาเมื่อไร บางทีก็เอาเงินไวใหกอนเลย หรือโอนเงิน มาให แลวใหทาง รานฯโทรไปบอกวาเสร็จแลว แลวมารับ”


148

4.2 การสั่งซื้อยาบางชนิดที่มีราคาสูง ลูกคาบางรายที่ตองการตัวยาชนิดพิเศษ ซึ่งบางครั้งทางรานฯมีจําหนาย หรือ บางครั้งจําหนายหมดไปแลว โดยยาดังกลาวมีราคาคอนขางสูง ทางรานฯจึงไมนิยมมาจําหนาย มากนัก หากนํามาสวนใหญจะนิยมรับประทานเองภายในครอบครัวแตก็มลี ูกคาบางรายที่ตองการ ใหทางรานฯเปนผูส ั่งซื้อใหเทานั้นเนื่องจากมีความไวใจกับทางรานฯในการติดตอซื้อขายกันมาเปน ระยะเวลานาน ซึ่งทางรานฯตองทําการสั่งซื้อจากรานคาสงในกรุงเทพฯ ดังที่เจภา ลูกคารายหนึ่ง เลาวา “ซื้อยาตัวนี้กับที่นี่มานานแลว อยางยาที่สั่ง บางทีเราตองมา ถามกับเจที่รานกอนวาที่รานฯยังมีอยูหรือเปลา ถามีก็จะสั่ง ใหบดเปนเม็ดให แตถาไมมีก็จะใหที่รานฯซื้อให เพราะเรากิน มันแลวถูกกับโรค เจเขาก็บอกใหไปซื้อเองนะ เพราะมันแพง ไมกลาเอามาขาย แตไมเอา ไมแนใจวาจะไดของจริงหรือของ ปลอม ราคาอาจจะแพงกวา หรือขึ้น ๆลงๆเราก็ไมรู ก็ใ หที่ รานฯชวยหาใหดีกวา เพราะยาตัวเนี่ยสั่งกับที่เนี่ยมานานแลว ราคาไมเกี่ยง” 4.3 การบอกราคากอนจัดยา หลังจากที่ไดมีการตรวจวินิจฉัยโรคและออกตั๋วยาตม หรือยาดองที่จะจัดใหแก ลูกคาไปรับประทานนั้น ทางรานฯจะบอกถึงราคาของยาแตละหอที่จะจัดใหลูกคาที่มาใชบริการวา เปนจํานวนเงินเทาใด โดยสอบถามใหแนใจวาตองการรับไปรับประทานจําหนายกี่หอตามความ ตองการ ทั้งนี้เพื่อใหลูกคาไดตัดสินใจวางแผนเกี่ยวกับการรักษา รวมทั้งไปถึงคาใชจายเกี่ยวกับ รัก ษาดวย พรอมกับอธิบายเพิ่มเติมวายาที่มีราคาไมเ ทากันนั้นขึ้น อยูกับสมุนไพรที่จัด ใหมีวา ปริมาณน้ําหนักเทาใด ยาสมุนไพรบางชนิด มีราคาสูง ต่ําไมเ ทากันเพื่อสรางความเขาใจใหแก ลูกคากอนลงมือจัดยา ดังที่เจลุย ลูกคารายหนึ่งกลาววา “รานนี้กอนเจียดยา เราถามไดวาราคายาหอละเทาไร เขาจะ คิดราคายาแตละหอที่จะเจียดใหรูกอนวาหอเทาไร บอกวาตัว ยาไหนแพง ตัวยาไหนถูก ตองการกี่หอ ซึ่งก็ดีนะจะไดพอกับ เงินที่เราเตรียมมาวาพอหรือไม หรืออยางเปนยาดองเขาก็จะ ถามเลยว า ต อ งการระดั บ ราคาเท า ไร สามร อ ย ห า ร อ ย


149

พันกวาบาท แลวแตเรา ถาจะเพิ่มตัวยาอื่นๆ ก็บอกใหเพิ่มได และบวกราคาไปอีกเทาไร” 4.4 การอธิบายและใหเหตุผลเกี่ยวกับความไมเชื่อมั่นในการรับประทานยาบาง ชนิด

ยาบางชนิดที่ทางรานฯจัดจําหนาย คือ ยาประเภทลูกกลอนที่มีสวนผสมของยา ผงผสมเขากับน้ําผึ้งและปนเปนลูกกลอนใหรับประทานนั้น ทางรานฯจะตองใหคําอธิบายแกลูกคา ที่เลือกรับประทานยาดังกลาวเกี่ยวกับสวนผสมและวิธีการปรุงยาใหแกลูกคารับทราบกอน และมี การซักถามวาจะรับประทานยาเม็ดลูกกลอนที่รานฯจัดใหไปรับประทานหรือไม เหตุที่ตองอธิบาย ใหรับทราบนั้น เนื่องจากปจจุบันมีผูจัดจําหนายยาประเภทลูกกลอนบางรายที่มุงหวังผลประโยชน กําไรจากการรักษาโรคโดยใชสารเคมีชนิด ตางๆผสมเขาไปเปนสวนประกอบในตัวยาลูกกลอน โดยเฉพาะสารสเตรอยด ซึ่งเมื่อรับประทานเขาไปแลว จะทําใหอาการที่เจ็บปวยนั้น หายอยาง รวดเร็ว แตสารเคมีดังกลาวที่ต กคางในรางกายจะกอใหเ กิดอัน ตรายตอระบบอวัย วะภายใน โดยเฉพาะตับและไต ปรากฏใหเห็นเปนขาวอยูในสังคม ทําใหผูคนมีทัศนคติที่เปนไปในทิศทางลบ หวาดระแวงตอการรับประทานยาลูกกลอน ซึ่งทายที่สุดสงผลตอผูประกอบการที่จัดจําหนายยา ประเภทลูกกลอนซึ่งมิไดใชสารปลอมปนอยูในตัวยา ทําใหเกิดการเสียโอกาสจากการรักษาโรค ดวยการใชยาลูกกอนที่ใหสรรพคุณในการรักษาเปนประโยชนแกผูคนตามไปดวย ดังนั้น จึงตองมี การอธิบายที่มาของการผลิตยาลูกกลอน ซักถามลูกคากอนวาสามารถจะยอมรับการรักษาดวย วิธีการนี้หรือไม ดังที่รานฯกลาววา “เราก็ถามเลยวาหลังจากกินยาตมแลวอาการดีขึ้นจะใหกินยา เม็ด เปนยาลูกกลอนทีร่ านฯทําเอง จะกินไดหรือไม เพราะวา บางคนก็อาจไมเชื่อใจ... เราก็อธิบายไปวาที่บานกินกันทุกคน ตั้งแตสมัย รุนเตี่ย ตัวเราเอง ลูกๆหลานๆ มีคนที่มาซื้อกับ ที่ รานฯของเรา เขาเคยเอาไปเขา หองแลปตรวจก็ไม มีอ ะไร ปนอยู มี แต ส ารที่ เ ปน ประโยชน ...ลู ก ค า บางคนที่ กิน เป น ประจําก็มาสั่งซื้อลวงหนา” ลูก คาที่ไดรับ ฟงการใหขอมูลจากทางรานฯก็จ ะเลือกรับ ประทานยาลูกกลอน หรือไมเลือกซึ่งขึ้นอยูกับการตัดสินใจของลูกคาแตละราย


150

4.5 การมีสวนรวมในกิจกรรมทางสังคมระหวางกัน ปจจัยที่สําคัญอีกประการหนึ่งที่เกี่ยวของกับความไวเนื้อใจ คือ การรูสึกเปนคน กลุมเดีย วกัน เชน การเปน เพื่อนบานหรือญาติมิตรที่รูจัก กัน การคบหาสมาคมการเปน ระยะ เวลานาน การเปนคนเชื้อสายจีนดวยกันที่สนิทสนมกันมาตั้งแตรุนบรรพบุรุษ ซึ่งกลุมลูกคาเหลานี้ นอกจากจะมาใชบริการแลวทางรานฯในฐานะลูกคาประจําแลว ทางรานฯเองยัง มีสวนรวมใน กิจกรรมทางสังคมที่เสมือนเปนการเชื่อมความสัมพันธระหวางลูกคาที่มาใชบริการกับรานฯดวย เชน การไปรวมกิจ กรรมสําคัญ ที่ลูกคาจัดขึ้น อาทิ งานแตง งานบวช งานทําบุญ งานศพ งาน ครบรอบวันเกิดหรือแซยึด เปนตน หรือการเยี่ยมเยียนในคราวที่เจ็บไขไดปวย โอกาสวันสําคัญ เชน ขึ้นปใหม เทศกาลตรุษจีน เปนตน พฤติกรรมดังกลาวจึงแสดงใหเห็นถึงบรรทัดฐานของการตาง ตอบแทน (reciprocity) ในเชิงเศรษฐกิจและในเชิงความสัมพันธทางสังคมที่มีความคาบเกี่ยวกัน ระหวางทางรานฯและลูกคาที่มาใชบริการโดยเฉพาะลูกคาประจําที่เปนเพื่อนบานระแวกเดียวกัน อาจกลาวไดวาเปนแรงจูงใจในการมาใชบริการจากทางรานฯอีกปจจัยหนึ่ง บทสรุป รานเอี้ยะเลงฮึ้งไดใหบริการลูกคาดวยการวินิจฉัยภาวะอาการเจ็บปวยตามแนวความคิด และทฤษฎีทางการแพทยแผนจีนโดยการจับชีพจรเปนหลักควบคูไปกับการสังเกตลักษณะทาง กายภาพ การซัก ถามอาการของลูก คาที่มาใชบ ริก าร ซึ่งหลังจากการตรวจวินิจ ฉัย แลวจะให คําแนะนําในการบําบัด บรรเทาอาการความเจ็บปวยหรือการดูแลสุขภาพดวย 3 แนวทาง คือ การจัดยาใหรับประทาน การใหคําแนะนําในการดูแลสุขภาพดวยตนเองโดยไมตองรับประทานยา สําหรั บ ผูที่มี อาการเจ็ บ ปวยไมมากนัก และผู ที่ไมส ามารถรับ ประทานยาได รวมทั้ ง การใชวิ ธี ผสมผสานการบําบัด รักษาอาการเจ็บปวยหรือดูแลสุขภาพดวยวิธีผสมผสานระหวางการแพทย แผนจีนกับการแพทยแผนอื่นๆ ในการดําเนินกิจการของรานฯนั้นตั้งอยูบนจุดยืนหรือจรรยาบรรณที่ สะทอนถึงการใหเกีย รติแกลูกคาที่มาใชบ ริก ารและผูป ระกอบวิชาชีพเดียวกันซึ่งประกอบดวย การไมนําตํารายาหรือสูตรยาของรานจําหนายยาสมุนไพรแหงอื่นมาปรุงจําหนาย ไมปดบังวาทาง รานฯมีตัวยาสมุนไพรตามที่ลูกคาตองการ การไมนํายาสมุนไพรที่มีอยูในสภาพที่ไมเหมาะสมมา จําหนาย ไมยัดเหยียดจําหนายสมุนไพรบางชนิดที่ลูกคามีอยูแลวจําหนายใหลูกคาอีก การให ลูกคาเปนผูกําหนดความตองการในการรับประทานยาโดยสมัครใจ การยินดีรับคืนยาสมุนไพรหรือ การปรับเปลี่ยนตัวยาสมุนไพรที่จัดใหไปรับประทานแลวยังไมเห็นผล และการปฏิเสธลูกคาที่มี อาการเจ็บปวยซึ่งไมเหมาะที่จะรักษาดวยวิธีการของรานฯ


151

สํา หรั บ ป จ จั ย ที่ มีส วนสํา คัญ ตอ การดํ ารงอยูข องการใหบ ริก ารและกิ จ การของร านฯ ประกอบดวยความสัมพันธกับผูคาสงสมุนไพรจีนในยานเยาวราชที่เปนคูคากันมาอยางยาวนาน และที่สําคัญ คือ ความสัมพันธกับลูก คาของรานฯ ซึ่งมีลักษณะของความสัมพันธ 3 ลักษณะ ไดแก ความสัมพัน ธกับ กลุ มลูก คาชาวไทยเชื้อสายจี น ที่เ ครือญาติ และเปน เพื่อ นบานระแวก เดียวกัน ความสัมพันธกับกลุมลูกคาชาวสวนในฐานะที่เปนลูกคากลุมหลัก และความสัมพัน ธ แบบถูกสงตอจากลูกคาประจํา โดยแรงจูงใจที่มีสวนผลักดันใหลูกคาเหลานี้มาใชบริการจากทาง รานฯอยางตอเนื่อง ประกอบดวย การรักษาที่เห็นผล ความเชื่อเกี่ยวกับการรักษาดวยการแพทย แผนจีน การมีตัวยาสมุนไพรที่สดใหมใ นการใหบ ริการแกลูกคา และทายที่สุดคือความไวเ นื้อ เชื่อใจ.


บทที่ 7 บทสรุปและขอเสนอแนะ การศึก ษาวิจั ย เรื่อ งเล าจาก ร านเอี้ย ะเล ง ฮึ้ง : ความเป น มา และการใหบ ริ ก ารทาง การแพทยแผนจีนโบราณแหงหนึ่งในอําเภอดําเนินสะดวก จังหวัดราชบุรี มีวัตถุประสงคที่จะศึกษา ความเปน มา พัฒนาการและการสืบ ทอดกิจ การของรานเอี้ย ะเลงฮึ้ง และการศึก ษาลัก ษณะ ความสัมพันธและเครือขายทางสังคมระหวางผูใหบริการ ผูคาสงสมุนไพร และลูกคาที่มาใชบริการ ที่สงผลตอการดํารงอยูของรานเอี้ยะเลงฮึ้ง การศึกษาวิจัยในครั้งนี้เปนการศึกษาเชิงสังคมวิทยา โดยนําเอาแนวความคิดและทฤษฎีโครงสรางและการหนาที่ (Structural Functional Theory) และ แนวคิดเกี่ยวกับเครือขายทางสังคม (Social Network) มาใชในการทําความเขาใจปรากฏที่เกิดขึ้น ภายในรานเอี้ยะเลงฮึ้งวามีระเบียบแบบแผนอยางไรซึ่งสะทอนจากความเปนมา พัฒนาการและ การสืบทอดกิจการของรานฯ รวมทั้งการศึกษาลักษณะความสัมพันธในรูปแบบตางๆกับผูที่มีสวน เกี่ยวของกับรานฯ อันไดแก ผูคาสงสมุนไพร ลูกคาที่มาใชบริการ ผูวิจัยไดนําระเบียบวิธีวิจัยเชิง คุ ณ ภาพ(Qualitative approach) ด ว ยการศึ ก ษาวิ เ คราะห เ อกสาร งานวิ จั ย ที่ เ กี่ ย วข อ ง การสัมภาษณผูค าสง และกลุม ผูมาใชบ ริก าร และโดยเฉพาะอยางยิ่ ง จากการสังเกตแบบมี สวนรวม (Participant Observation) เนื่องจากการที่ผูวิจัยเปนสวนหนึ่งในสมาชิกครอบครัวของ รานเอี้ย ะเลงฮึ้ง จึงทําใหเ ห็นภาพของปรากฏการณที่เ กิดขึ้น ภายในรานฯในแงมุมตางๆ เชน รูปแบบการใหบริการ การผลิต การปรุงยา กลุมลูกคาที่มาใชบริการ ลักษณะความสัมพันธของราน ฯกับผูคาสงสมุนไพร กลุมลูกคาที่มาใชบริการ ตลอดจนบรรยากาศที่เกิดขึ้นภายในรานฯ ซึ่งการ ศึกษาวิจัยในครั้งนี้มีระยะเวลาดําเนินการตั้งแตเดือนกรกฎาคม 2556-ธันวาคม 2558 รานเอี้ยะเลงฮึ้ง กอตั้งเมื่อ ป พ.ศ.2480 โดยนายคี้ แซตั้ง ชาวไทยเชื้อสายจีนที่อพยพมา จากอําเภอกิกไซ มณฑลกวางตุง สาธารณรัฐประชาชนจีน เขาสูประเทศไทยในชวงปลายสมัย รัชกาลที่ 7 โดยไดเลือกพื้นที่อําเภอดําเนินสะดวกซึ่งเปนแหลงที่ตั้งชุมชนชาวจีนแหลงใหญบริเวณ ริมสองฝงคลองดําเนินสะดวก ซึ่งคลองดังกลาวเปนคลองสายเศรษฐกิจที่สําคัญชวยยนระยะเวลา ในการเดินทางจากหัวเมืองฝงตะวันตกไปยังกรุงเทพมหานคร และยังใชเปนเสนทางในการขนถาย สินคานานาชนิด รานเอีย้ ะเลงฮึ้งมีพัฒนาการมาเปนลําดับ โดยแบงออกเปน 3 ชวงเวลาที่สําคัญ ไดแก ชวงที่ 1 ยุคบุกเบิกการคาและการลงทุน (พ.ศ.2480-2500) เปนชวงที่มีการลงทุนระดม ทรัพยากรเพื่อการดําเนินกิจการของรานฯทั้งเครื่องมือเครื่องใชตางๆในการใหบริการ โดยเฉพาะ วัตถุดิบ คือ สมุนไพรจีน ที่ใชในการจําหนายไดถูกลําเลียงผานคลองดําเนินสะดวกสงตรงมาถึง


153

รานฯโดยผูคาสงสมุนไพรจากกรุงเทพฯ ซึ่งชวยลดตนทุนในการเดินทาง กลุมลูกคาที่มาใชบริการ สวนใหญเปนกลุมชาวไทยเชื้อสายจีนที่เปนเครือญาติและเพื่อนบานในระแวกเดียวกัน รวมทั้ง สมาชิกทุกคนในครอบครัวโดยเฉพาะภรรยาและลูกๆยังเปนกําลัง สําคัญที่ไดมีสวนรวมในการ สนับสนุนกิจการของรานฯดวยการจัดเตรียมสมุนไพรประเภทตางๆกอนจัดจําหนาย ชวงที่ 2 ยุคการคาเฟองฟูและผลจากการพัฒนาอําเภอดําเนินสะดวก (พ.ศ.2501-2538) ในชวงตน ของยุคกิจ การของรานเอี้ย ะเลงฮึ้งดําเนินการไปดวยดีมีลูกคาเพิ่มขึ้น เนื่องจากการ ขยายตัวของชุมชนริมสองฝงคลองดําเนินสะดวก มีผูคนมาทําการคาขายสินคา และบริการนานา ชนิดตามยานตลาดหองแถวบริเ วณจุด ตัดของคลองหลักกับ คลองซอยยอย ผูนําของรานฯได สงเสริมใหลูกๆไดเรีย นรูทางการแพทยแผนจีน เพื่อเตรีย มการสืบทอดอาชีพในอนาคตโดยการ สงเสริมใหไปเรียนรูดานภาษาและวัฒนธรรมจีนที่สาธารณรัฐประชาชนจีน และการสงเสริมใหไป สอบใบอนุ ญ าตประกอบโรคศิลป และมีโครงการที่จ ะขยายลูท างในการประกอบธุรกิจ ของ ครอบครัวไปยังพื้นที่กรุงเทพมหานครแตไมประสบผลเนื่องจากยังขาดความเขาใจในกลไกดาน การตลาด ในชวงปลายของยุค นี้ไดเ กิดความเปลี่ยนแปลงในการตั้ง ถิ่นฐานของชุมชนริมคลอง ดําเนินสะดวกซึ่งเกิดจากการพัฒนาการคมนาคมทางบกในพื้นที่ โดยมีผลตอการเคลื่อนยายชุมชน จากริมคลองสูริมถนนพรอมๆไปกับการเคลื่อนยายศูนยกลางทางเศรษฐกิจของชุมชนตามไปดวย ชวงที่ 3 ยุคการพลัดเปลี่ยนสูทายาทและการปรับตัว (พ.ศ.2539-ปจจุบัน) เปนชวงการ สืบสานกิจการของรานเอี้ยะเลงฮึ้งโดยทายาท ซึ่งไดสืบทอดทางการคาและการสืบทอดทางความรู ผานการเรียนรู การอบรมสั่งสอน และซึมซับประสบการณในฐานะผูชวยของผูกอตั้งรานฯ มากอน หนานี้แลว รวมทั้งไดมีก ารเพิ่มพูน ความรูจากการไปศึก ษาเพิ่มเติมของทายาทในความรูท าง การแพทยแผนจีนและการแพทยแผนไทย ที่ไดนํามาประยุกตผสมผสานในการใหบริการแกลูกคา ที่มาใชบริการ และในป พ.ศ.2550 ไดเกิดความเปลี่ยนแปลงในที่ตั้งของรานฯใหมซึ่งยายจากริม คลองดําเนินสะดวกมาสูริมถนนสายหลักทําใหลูกคาที่มาใชบริการสามารถเดินทางเขาถึงรานฯได อยางสะดวกและมีลูกคาที่มาใชบริการหลากหลายกลุมตามไปดวย รูปแบบการใหบริการของรานเอี้ยะเลงฮึ้ง มีการตรวจวินิจฉัยตามศาสตรทางการแพทย แผนจีนโดยการจับชีพจร และสังเกตจากสภาพรางกาย รวมทั้งซักถามบริบทแวดลอมของลูกคา ที่มาใช บ ริก าร ซึ่งวิธี ก ารบํา บัดรัก ษาโรคและการดูแลสุ ขภาพใหแกลูก คาที่มาใชบ ริก ารตาม แนวทางของรานฯ ไดแก การจัดยาใหไปรับประทาน เชน ยาตมหรือยาหมอ ยาเม็ด ยาดอง การให คําแนะนําในการดูแลสุขภาพดวยตนเองโดยไมตองรับประทานยา เชน การใหความสําคัญกับ อาหารที่รับประทาน การใชพืชสมุนไพรหรือศาสตรการแพทยแผนไทยทองถิ่นเพื่อบําบัดรักษา ดูแล


154

สุขภาพ และการออกกําลังกายเพื่อสุขภาพ รวมทั้งการผสมผสานการรักษาดวยการแพทยแผนจีน และการแพทยแผนอื่นๆ ซึ่งตั้งอยูบนพื้นฐานลักษณะอาการแสดงของโรคที่ตรวจวินิจฉัยพบและ ความตองการของลูกคาที่มาใชบริการแตละราย รานเอี้ยะเลงฮึ้งมีจุดยืนที่สําคัญ ไดแก การไมนํา ตํารายาหรือสูตรยาของรานจําหนายยาสมุนไพรแหงอื่นมาปรุงจําหนาย การไมปดบังวาทางรานฯ มีตัวยาสมุน ไพรตามที่ลูก คาตองการ การไมนํายาสมุน ไพรที่มีอยูใ นสภาพที่ไมเ หมาะสมมา จําหนาย การไมยัดเหยียดจําหนายสมุนไพรบางชนิดที่ลูกคามีอยูแลวจําหนายใหลูกคาอีก การให ลูกคาเปนผูกําหนดความตองการในการรับประทานยาโดยสมัครใจ การยินดีรับคืนยาสมุนไพรหรือ การปรับเปลี่ยนตัวยาสมุนไพรที่จัดใหไปรับประทานแลวยังไมเห็นผล และการปฏิเสธลูกคาที่มี อาการเจ็บ ปวยซึ่ง ไมเหมาะที่จ ะรัก ษาดวยวิธีการของรานฯ ซึ่งจุดยืน เหลานี้ไดยึด ถือปฏิบัติมา ตั้งแตกอตั้งรานฯจนปจจุบัน ความเปลี่ย นแปลงที่เ กิดขึ้ น กั บ รา นเอี้ย ะเล ง ฮึ้ง ในแตล ะยุ ค สมั ย รวมทั้ง รูป แบบการ ใหบริการของรานฯ ชี้เห็นใหถึงปจจัยสองประการที่สามารถอธิบายได คือ ปจจัยภายนอก ซึ่งเกิด จากนโยบายการพัฒนาบานเมืองของรัฐ ไดแก การพัฒนาการคมนาคมทางน้ํา และทางบกที่มีผล ตอรูปแบบการตั้งถิ่นฐาน การขยายตัวของชุมชนริมน้ําและการเคลื่อนยายศูนยกลางทางเศรษฐกิจ ชุมชนจากริมน้ําสูริมถนน สอดคลองกับขอคนพบในงานวิจัยหลายชิ้นที่ศึกษาการรูปแบบการตั้ง ถิ่นฐานของอําเภอดําเนินสะดวกในอดีตถึงปจจุบัน เชน งานศึกษาของพรรณทิพย เปยมพุทธากุล (2537) ที่ศึกษาวิวัฒนาการชุมชนและตลาดน้ําดําเนินสะดวก งานของวาริกา มังกะลัง (2556) ที่ศึกษา ภูมิทัศนวัฒนธรรมชุมชนริมคลองดําเนินสะดวก ชวงหลักที่ 5 ถึงหลักที่ 6 จังหวัดราชบุรี และจังหวัดสมุทรสาคร ใหขอสรุปที่ตรงกันวา การขุดคลองดําเนินสะดวกนับเปนจุดเริ่มตนทีส่ ําคัญ ของการตั้ง ถิ่นฐานของชุมชนเนื่องจากบทบาทของคลองมีสวนสัมพันธกับการประกอบอาชีพ เกษตรกรรมและยังไดเชื่อมรอยความสัมพันธทางสังคมตามยานชุมชนตางๆและบทบาทเศรษฐกิจ ไดแก การเปนเสนทางขนสงสินคาระหวางหัวเมืองและกรุงเทพมหานคร การเกิดยานการคาริมน้ํา หรือตลาดน้ํา ขณะเดียวกันเมื่อมีการพัฒนาการคมนาคมทางบกดวยการตัดระบบโครงขายถนน ทําใหบ ทบาทของคลองดําเนิน สะดวกลดความสําคัญ ลง ศูน ยก ลางทางเศรษฐกิจ ของชุมชน และการตั้งถิ่น ฐานก็เ ปลี่ย นแปลงไปสูริมถนน และปจจัย ภายใน คือ ธุรกิจ ครอบครัวของราน เอี้ยะเลง ฮึ้งที่มีการสั่งสมความรู และประสบการณของสมาชิกภายในครอบครัว มีก ารสืบทอด ความรูและการคาจากรุนสูรุนผานกระบวนการขัดเกลาทางสังคม (Socialization) ของสมาชิก จึง ทําใหเกิดเปนแบบแผนในการใหบริการตามองคความรูการแพทยแผนจีนที่เปนเอกลักษณเฉพาะ ของรานฯ รวมทั้งการแสวงหาความรูเพิ่มเติมใหเกิดความลึกซึ้งในศาสตรการแพทยแผนจีนรวมทั้ง


155

การแพทยแผนไทยของทายาทที่สืบทอดกิจการของรานฯ เพื่อนํามาประยุกตในการใหบริการแก ลูกคาที่มาใชบริการอยางเห็นผล จึงทําใหรานเอี้ยะเลงอึ้งสามารถดํารงอยูได สอดคลองกับงาน ศึกษาวิจัยของพรทิพย อุศุภรัตน (2537) ที่ศึกษาการรักษาโรคดวยยาแผนโบราณ : กรณีศึกษา รานขายยาเจากรมเปอ ไดเสนอวา การที่จะทําใหการรักษาโรคดวยยาแผนโบราณดํารงอยูไดนั้น ผู ใหบริการคือหมอยา ซึ่งหมายรวมถึงรานขายยาจะตองมีการพัฒนาปรับปรุงตัวเองอยูตลอดเวลา เพื่อสรางความศรัทธาเชื่อมั่นแกผูใชบริการ การดํารงอยูของรานเอี้ยะเลงฮึ้งนอกจากจะตั้งอยูบนความสัมพันธเชิงเศรษฐกิจระหวาง ผูคาสงสมุนไพร และระหวางลูกคาที่มาใชบริการกับทางรานฯแลว ยังมีความสัมพันธทางสังคมที่ เปนสวนหนึ่งซึ่งสนับสนุนการดํารงอยูของรานฯปรากฏควบคูกันไปดวย ไดแก ความสัมพันธระหวาง รานฯกับ ผูคาสงสมุน ไพรซึ่งเปน ชาวไทยเชื้อสายจีน ดวยกัน ที่มีก ารติดตอสัมพัน ธกัน มาอยาง ยาวนานตั้งแตรุนผูกอตั้งของทั้งสองฝายจนถึงรุนลูกในปจจุบัน จึงทําใหเกิดการแลกเปลี่ยนขอมูล ขาวสาร ความรูในการจัด หาสมุนไพรจีน การรับทราบสถานการณต ลาดสมุนไพร แนวโนมและ ทิศทางของระดับราคาสมุนไพร การสั่งซื้อสินคาลวงหนา ปจจัยเหลานี้ไดพัฒนาไปสูความไวเนื้อเชื้อ ใจระหวางกัน ทําใหรานเอี้ยะเลงอึ้งสามารถที่จะวางแผนการจําหนายสมุนไพรไดอยางราบรื่น ความสัมพันธระหวางกลุมลูกคาที่มาใชบริการกับทางรานฯ ซึ่งปรากฏในสามลักษณะ ไดแก ความสัมพัน ธกับ กลุมลูก คาที่เปนเครือญาติหรือเพื่อนบานชาวไทยเชื้อสายจีน ดวยกัน ที่ ติดตอกันมานานตั้งแตรุนบรรพบุรุษ สืบทอดมาถึงรุนลูกรุนหลาน ซึ่งกลุมเหลานี้ยังคงแวะเวียนมา ใชบริการกับทางรานฯอยูเสมอ โดยมีปจจัยที่สําคัญไดแก การเห็นคนรุนพอรุนแมมาใชบริการแลว เห็นผล ความเชื่อเกี่ยวกับการรักษาดวยการแพทยแผนจีน ซึ่งปฏิสัมพันธระหวางรานฯกับลูกคา กลุมนี้ในฐานะผูใชบริการและผูใหบริการแลว ยังมีความสัมพันธทางสังคมที่ดําเนินควบคูไปดวย ไดแก การเปนคนในตระกูลแซเดียวกัน มีการใหคําปรึกษา แกไขปญหาขอความชวยเหลือกัน และ การเขารวมกิจกรรมทางสังคมระหวางกันในโอกาสตางๆ ซึ่งเปนเสมือนเครื่องกระชับความสัมพันธ ของคนในกลุมดวย ความสัมพัน ธกับ กลุมลูก คา”ชาวสวน”ในฐานะลูก คากลุมหลัก เนื่องจากพื้น ที่อําเภอ ดําเนินสะดวกเปนทองถิ่นที่ประชากรสวนใหญประกอบอาชีพเกษตรกรรม ลูกคาประเภทนี้จึงมี สัดสวนในการมาใชบริการกับทางรานฯเมื่อเปรียบเทียบกับกลุมอาชีพอื่น ซึ่งนิยมมาใชบริการเปน ครอบครัว เนื่องจากชาวสวนสวนใหญเปนชาวไทยเชื้อสายจีนดวยกัน และมีความเชื่อดวยการ รักษาทางการแพทยแผนจีน รวมไปถึงกลุมลูกคาชาวสวนที่ไดรับคําแนะแนะใหมาใชบริการจาก เพื่อนชาวสวนที่เคยมาใชบริการกับทางรานฯ


156

ความสัมพันธแบบ“สงตอ”จากกลุม“ลูกคาประจํา” เปนกลุมลูกคาที่มาใชบริการกับทาง รานฯ ซึ่งไดรับคําแนะนําจากกลุมลูกคาประจําของราน คือ กลุมลูกคาที่เปนเครือญาติหรือเพื่อน บา นชาวไทยเชื้ อ สายจี น และกลุ มชาวสวน กลุม ลู ก คา กลุ ม นี้ป ระกอบอาชีพ ที่ ห ลากหลาย สวนใหญจะอาศัยอยูนอกเขตพื้นที่อําเภอดําเนินสะดวก กลุมลูกคาที่ไดรับขอมูลและมาใชบริการ กับทางรานฯจะสงตอขอมูลเกี่ยวกับการรักษาในลักษณะปากตอปาก (word of mouth) กับญาติ หรือเพื่อนฝูงที่รูจักหรือเพื่อนที่ประกอบอาชีพในระแวกยานเดียวกัน ใหมาใชบริการกับทางรานฯ จึง ทําใหเ ห็นกลุมกอนความสัมพัน ธของกลุมคาในแตละพื้น ที่ตางๆ ซึ่งลูก คากลุมนี้มีแนวโนม เพิ่มขึ้น ลักษณะของความสัมพันธทางสังคมระหวางผูมีสวนเกี่ยวของกับรานเอี้ยะเลงฮึ้ง อันไดแก ผูคาสงสมุนไพร และความสัมพันธกับลูกคากลุมตางๆ สะทอนถึงสิ่งที่ Granovetter & Swedberg (2001) เรียกวา กระบวนการพบปะกันทางสังคมซึ่งเกิดขึ้นระหวางผูกระทําระดับปจเจกบุคคลหรือ กลุม ซึ่งแตละคนถูกเชื่อมโยงความสัมพันธประเภทตางๆ ซึ่งในที่นี้ไดแก ความสัมพันธแบบเครือ ญาติ และเพื่อนบานชาวไทยเชื้อสายจีน ความสัมพันธในกลุมเพื่อนชาวสวน ความสัมพันธแบบ ครอบครัว กลุมอาชีพ เปนตน ซึ่ง มีความผูก พัน ในลักษณะของการแลกเปลี่ย นขอมูลขาวสาร การใหคําแนะนํา ปรึกษา รวมไปถึงลักษณะของความผูกพันที่นําไปสูความไวเนื้อเชื่อในกันโดยมี รานเอี้ยะเลงฮึ้งเปนศูนยกลาง (egocentric work) ซึ่งเสนสายของความสัมพันธที่รานฯมีอยูนั้น คือ เครือขายทางสังคมของรานฯ ที่โยงใยสลับซับซอนกับผูมีสวนเกี่ยวของกับรานฯ จากการศึกษาวิจัยในครั้งนี้ยังคนพบปจจัยที่เปนแรงจูงใจในการมาใชบริการกับทางรานฯ ซึ่งวิเคราะหจากการสนทนาพูดคุยระหวางลูกคาที่มาใชบริการกับทางรานฯ และระหวางลูกคาที่มา ใชบริการดวยกันเอง พบวามีอยูหลายปจจัย ไดแก การรักษาแลวอาการของโรคบรรเทาขึ้นหรือ หายขาด การมีความเชื่อในการรักษาดวยการแพทยแผนจีน การมีสมุนไพรจําหนายที่สดใหม และ ความไวเนื้อเชื่อใจ ผลการศึกษาดังกลาวสอดคลองกับขอคนพบในงานของชาวเยว ถังซู (2552)ที่ ศึกษา รานคาสมุนไพรจีนที่มีผลตอพฤติกรรมการซื้อสมุนไพรของคนไทย กรณีศึกษาความตองการ บริโภคสมุนไพรจีนของคนในเขตกรุงเทพมหานคร พบวา ความตองการซื้อสมุนไพรจีนขึ้นอยูกับ คุณภาพของสมุน ไพร ซึ่ง พฤติก รรมการซื้อสมุน ไพรจีนนั้นเกิด จากการที่ลูก คาสวนใหญเคยใช สมุนไพรจีนมากอนซึ่งลูก คารูจัก รานจําหนายสมุนไพรจากการบอกตอจากคนที่รูจักมากที่สุด งานของปยะวัฒน เหรียญเดชากุล (2555) ที่ศึกษาปจจัยที่มีผลตอพฤติกรรมการตัดสินใจรักษา โรคของผูปวยดวยแพทยแผนจีน กรณีศึกษายานถนนรามคําแหง ซึ่งพบวา ปจจัยที่กลุมผูปวยให ความสําคัญในการตัดสินใจมากที่สุด คือ ความชอบในวิธีการรักษาดวยยาสมุนไพรธรรมชาติ และ


157

งานของประดิษ ฐ จิระเดชประไพ (2540) ที่ศึก ษาการดํารงอยูและการปรับ เปลี่ย นของระบบ การแพทยพื้นบาน : กรณีศึกษาการใชสมุนไพรในจังหวัดพิษณุโลก พบวา การดํารงอยูของระบบ การแพทยพื้นบานขึ้นอยูกับประสิทธิภาพของการรักษา รวมทั้งความเชื่อความศรัทธาของผูปวย หรือญาติพี่นองที่มีตอการใชสมุนไพร ขอเสนอแนะในการวิจัย ในระหวางการศึกษาวิจัย เรื่องเลาจาก รานเอี้ยะเลงฮึ้ง : ความเปนมา และการใหบริการ ทางการแพทยแผนจีนโบราณแหงหนึ่งในอําเภอดําเนินสะดวก จังหวัดราชบุรี ผูวิจัยไดสืบคนขอมูล จากเอกสารและงานวิ จัย ที่เ กี่ย วข องเพื่อนํามาใชเ ปน แนวทางในการศึก ษาวิจัย ครั้งนี้ พบว า การศึกษาเชิง สัง คมศาสตรเ กี่ย วกับการแพทยแผนจีน ในสัง คมไทยยังมีอยูไมมากนัก จากการ สํารวจพบวางานศึกษาสวนใหญมุงเนนการศึกษาพฤติกรรมการใชบริการทางการแพทยแผนจีน ดวยการศึกษาเชิงปริมาณ งานจํานวนมากที่สํารวจพบจะเปนการศึกษาเชิงวิทยาศาสตรที่รวบรวม องคความรูท างการแพทยแผนจีนในรูป แบบของตําราศาสตรการแพทยแผนจีน ที่ประกอบดวย ทฤษฎีการแพทยแผนจีน การรวบรวมสมุนไพรจีนประเภทตางๆ ที่อธิบายถึงรูปราง สรรพคุณ และ วิธีการใช การวิจัยพืชสมุนไพรจีนที่เหมาะสําหรับการเพาะปลูกในประเทศไทย จึงควรมีการศึกษา เพิ่มเติมเพื่อใหไดมาซึ่งความรูเกี่ยวกับการแพทยแผนจีนเชิงสังคมในประเด็นตางๆ เชน รูปแบบ ความสัมพันธระหวางผูใหบริการกับผูใชบริการ เครือขายทางสังคมระหวางผูคาสงสมุนไพรจีนใน ไทย กระบวนการเขาสูอาชีพแพทยแผนจีน การสืบทอดอาชีพ การดํารงอยูของรานสมุนไพรจีน แผนโบราณ บทบาทการแพทยแผนจีนตอชุมชน เปนตน นอกจากนี้จากการสํารวจงานวิจัยเกี่ยวกับอําเภอดําเนินสะดวกทําใหผูวิจัยคน พบวา งานวิจัยจํานวนมากสนใจศึกษาความเปลี่ยนแปลงของอําเภอดําเนินสะดวกในประเด็นเกี่ยวกับ การปรากฏอยูของตลาดน้ําในแงมุมตางๆ เชน รูปแบบของตลาดน้ํา วิถีชีวิตของพอคาแมคาใน ตลาดน้ํา ตลาดน้ํากับการทองเที่ยวของชุมชน ตลาดน้ํากับแหลงเรียนรูมากที่สุด รองลงมา คือ การศึกษาเกี่ยวกับพัฒนาการของชุมชนริมคลองดําเนินสะดวกและการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับการใช สารเคมีทางการเกษตรของชาวสวน การลงทุนเพาะปลูกพืชพันธุตางๆของชาวสวน เปนตน แตใน พื้น ที่อําเภอดําเนิน สะดวกยังมีประเด็น ที่นาสนใจเพื่อทําการศึก ษาอีก หลายดาน โดยเฉพาะ การศึกษามรดกทางวัฒนธรรมของชุมชนที่เปนเอกลักษณของทองถิ่น เชน วิถีชีวิตและการสืบทอด การทําสวนของชาวสวนดําเนินสะดวก การศึกษาประเพณีและวัฒนธรรมของชาวไทยเชื้อสายจีน บทบาทของศาลเจาจีนหรือสมาคมตระกูลแซในฐานะที่เปนศูนยกลางของชุมชนชาวไทยเชื้อสาย


158

จีน การศึกษาพัฒนาการและความเปลี่ยนแปลงของชุมชนชาวคริสตที่บานโคกมดตะนอย และ ยานหลัก หา การศึกษาวิถีชีวิต วัฒนธรรมประเพณีของชุมชนชาวไทยทรงดําในตําบลดอนคลัง ตํา บลบัว งาม การศึก ษาบทบาทและความเป น มาของโรงเรีย นฮั่ วเคี้ ย วกงลิบ ไตฮึ น ตํา บล ศรีสุราษฎร ริมคลองดําเนินสะดวก ซึ่งเปนสถานศึกษาเอกชนที่ดําเนินการโดยชาวไทยเชื้อสายจีน การศึกษาการขยายตัวของชุมชนริมสองฝงถนนดําเนิน สะดวก ที่ป รากฏการปลู ก สรางอาคาร พาณิช ย ธุ รกิจ ทองเที่ย วและบริก ารสมัย ใหมซึ่งมีแ นวโนมเพิ่ มขึ้น อยางแพรห ลาย รวมไปถึ ง การศึกษาความเปนไปไดในการจัดตั้งศูนยศึกษาประวัติศาสตรและวัฒนธรรมของอําเภอดําเนิน สะดวกซึ่ ง จะเป น แหล ง รวบรวมสารสนเทศเกี่ ย วกั บ อํ า เภอดํ า เนิ น สะดวกในทุ ก มิ ติ ได แ ก ประวัติศาสตร ภูมิศาสตร สังคมวิทยา มานุษยวิทยา รัฐศาสตร ศาสนาและปรัชญา เกษตรศาสตร เศรษฐศาสตร อุตสาหกรรมการทองเที่ยว เปนตน ใหเปนหมวดหมูที่ชัดเจนในการเปนแหลงเรียนรู ใหแกประชาชนในอําเภอดําเนินสะดวกเกิดความภาคภูมิใจในทองถิ่นและประชาชนที่สนใจทั่วไป อันจะชวยเติมเต็มความเขาใจเกี่ยวกับอําเภอดําเนินสะดวกทั้งในอดีตและปจจุบันไดมากยิ่งขึ้น ขอเสนอแนะเกี่ยวกับการใชประโยชนจากงานวิจัย การศึกษาวิจัยในครั้งนี้เผยใหเห็นขอเท็จจริงวา การรักษาโรคและการดูแลสุขภาพดวย องคความรูทางการแพทยแผนจีนยังคงเปนที่ตองการของคนในสังคมไทยหลายอาชีพ แสดงวาการ รักษาโรคและการดูแลสุขภาพดวยการแพทยแผนจีนยังมีประโยชนต อการดํารงชีวิตของผูคนใน สังคมไทย รัฐบาลไทยไดมีความพยายามในการสงเสริมและสนับ สนุน การใชองคความรูท าง การแพทยแผนจีนในสังคมไทยเพิ่มมากขึ้น เชน การจัดใหมีการสอบใบอนุญาตประกอบโรคศิลปะ สาขาการแพทยแผนจีน การจัดตั้ง สถาบัน การแพทยไทย จีน เอเชีย ตะวันออกเฉียงใต ซึ่งเปน หน ว ยงานที่ร วบรวมองค ความรู ท างการแพทย แผนจีน ในสัง คมไทย การเป ด สอนหลัก สู ต ร การแพทย แผนจีน ในสถาบัน อุ ดมศึก ษาที่ ขยายตั วมากขึ้ น ตลอดจนการส ง เสริม การศึก ษา คนควาวิจัยพืชสมุนไพรจีน ซึ่งเปนแนวโนมที่ดีสําหรับการแพทยแผนจีนในประเทศไทย อยางไร ก็ตามในสังคมไทยยังมีองคความรูทางการแพทยแผนจีนที่แพรหลายอยูตามยานชุมชนชาวไทย เชื้อสายจีนอีกหลายแหงที่มีการสืบทอดความรูม าแตโบราณจากบรรพบุรุษที่นับวันจะสูญหายเปน จํานวนมาก ซึ่งรานสมุนไพรแตละแหงมีความรูความชํานาญที่สั่งสมอยูในตัวบุคคลและตกผลึก ความรูผานตํารับยาที่เปนประโยชนจํานวน ไมนอย หนวยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และทองถิ่น จึงควรมีแนวทางการสงเสริมและสนับสนุนที่เปนรูปธรรม โดยเฉพาะการศึกษาคนควาวิจัย เพื่อให เกิดสืบทอดและพัฒนาสมุนไพรจีนใหคงอยูรับใชดูแลสุขภาพของคนไทยตลอดไป.


159

บรรณานุกรม กรมการพัฒนาแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลือก. (2551). ศาสตรการแพทยจีนเบื้องตน. กรุงเทพฯ : องคการทหารผานศึก. --------. (2556). หนึ่งทศวรรษการแพทยแผนจีนในประเทศไทย. ในรายงานการสาธารณสุข ไทยดานการแพทยแผนไทย การแพทยพื้นบาน และการแพทยทางเลือก 2554-2556. นนทบุรี : กระทรวงสาธารณสุข. โกวิทย คัมภีรภาพ. (2554). ทฤษฎีพื้นฐานการแพทยจีน. กรุงเทพฯ : นิวไวเต็ก. คณะกรรมการฝายประมวลเอกสารและหอจดหมายเหตุ ในคณะกรรมการอํานวยการจัดงาน เฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว. (2542) วัฒนธรรม พัฒนาการทาง ประวัติศาสตร เอกลักษณและภูมิปญญา จังหวัดราชบุร.ี กรุงเทพฯ: องคการคาคุรุสภา. คณะการแพทยแผนจีน มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ. (2558). ทฤษฎีอิน-หยาง. (ออนไลน) เขาถึงไดจาก. http://cmed.hcu.ac.th/ (วันที่คนขอมูล 15 กรกฎาคม 2557). จรัส ตั้งอรามวงศและคณะ. (2547). ศาสตรแพทยจีนการตรวจชีพจร. ในวารสารการแพทย แผนไทยและการแพทยทางเลือก. ปที่ 2 ฉบับที่ 3 (มิถุนายน-กันยายน 2547). ชวลิต สันติกิจรุงเรือง. (2549). การแพทยแผนจีนในประเทศไทย : อดีต ปจจุบัน อนาคต ในวารสารการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลือก. ปที่ 4 ฉบับที่ 2 (กุมภาพันธพฤษภาคม 2549). ชาวเยว ถังซู. (2552). การศึกษารานคาสมุนไพรจีนที่มีผลตอพฤติกรรมการซื้อสมุนไพรจีน ของคนไทย : กรณีศึกษาความตองการบริโภคสมุนไพรจีนของคนไทยในเขต กรุงเทพฯ. วิทยานิพนธบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยนเรศวร. ชาย โพธิสิตา. (2547). ศาสตรและศิลปแหงการวิจัยเชิงคุณภาพ. นครปฐม : มหาวิทยาลัยมหิดล. ตวน ลี่ เซิง. (2543). ประวัติความเปนมาของวัดจีนและศาลเจาจีนในประเทศไทย. กรุงเทพฯ: เรือนแกว. ทัศนีย ศรีญาณลักษณ. (2554). การดูแลแบบผสมผสานของผูปวยโรคความดัดโลหิตสูง. ในวารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร. ปที่ 3 ฉบับที่ 1 (มกราคมเมษายน 2554).


160

นิลเนตร วีระสมบัติ และคณะ. (2557). การศึกษาผลการฝงเข็มรวมกับการบูรณาการ การดูแลผูปวยเบาหวานที่มีอาการชาปลายเทาในโรงพยาบาลสูงเนน จังหวัด นครราชสีมา ป 2555. ในวารสารการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลือก. ปที่ 12 ฉบับที่ 3 (กันยายน-ธันวาคม 2557). บัวตั๋น เธียรอารมณ. (2549). ความสัมพันธเกื้อกูลของการแพทยทางเลือก :ศึกษาในกลุม การแพทยทางเลือกของอําเภอเมืองเชียงใหม. วิทยานิพนธดุษฎีบณ ั ฑิต. สาขาวิชาสังคมศาสตรการแพทยและสาธารณสุข มหาวิทยาลัยมหิดล. ปยวัฒน เหรียญเดชาเวชกุล. (2555). ปจจัยที่มีผลตอพฤติกรรมการตัดสินใจรักษาโรคของ ผูปวยดวยแพทยแผนจีน : กรณีศึกษายานถนนรามคําแหง. วิทยานิพนธเศรฐศาสตร มหาบัณฑิต สาขาวิชาเศรษฐศาสตรธุรกิจ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร. พงษสวัสดิ์ สวัสดิพงษ. (2546). เอกสารหมายเลข 3 : ทรรศนะเชิงทฤษฎีทางสังคมวิทยา. ใน สายใจ คุมขนาบ เอกสารประกอบการบรรยายรายวิชาการจัดระเบียบทางสังคม. คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร. พรรณทิพย เปยมพุทธากุล. (2537). วิวัฒนาการชุมชนและตลาดน้ําดําเนินสะดวก. วิทยานิพนธการวางแผนภาคและเมืองมหาบัณฑิต จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. พรทิพย อุศุภรัตน. (2536). การรักษาโรคดวยยาแผนโบราณ : กรณีศึกษารานขายยา เจากรมเปอ. วิทยานิพนธศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชามานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยศิลปากร. พระครูสิริวรรณวิวัฒน. (2544). ประวัติคลองดําเนินสะดวก. ราชบุร:ี เลี่ยงเชียงจงเจริญและรุง เรืองสาสนการพิมพ. มูลนิธิไทยทรงดําแหงประเทศไทย. (2548). หนังสือมูลนิธิไทยทรงดําประเทศไทย. นครปฐม: มูลนิธิไทยทรงดําแหงประเทศไทย. ยุพาวดี บุญชิต และทัศนีย อาซาไนท. (2549). การศึกษาสถานภาพการใชบริการการแพทย แผนจีนของสถานพยาบาลในปจจุบัน. ในวารสารการแพทยแผนไทยและการแพทย ทางเลือก. ป 4 ฉบับที่ 2 (กุมภาพันธ-พฤษภาคม 2549). ราชบัณฑิตยสถาน. (2557). พจนานุกรมศัพทสังคมวิทยา อังกฤษ-ไทย. (พิมพครั้งที่ 4 ฉบับ ปรับปรุง) กรุงเทพฯ : อรุณการพิมพ. ราตรี โตเพงพัฒน. (2543). ตลาดน้ํา: วิถีชีวิตของเกษตรกรภาคกลาง. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร.


161

รัศมี เจริญทรัพย. (2542). วัฒนธรรมพื้นบานริมสายธารดําเนินสะดวก. กรุงเทพฯ: สํานักงาน วัฒนธรรมแหงชาติ. รุงรังษี วิบูลชัย. (2538). การดํารงอยูข องการแพทยพื้นบาน : กรณีศึกษาหมูบานนาสีดา ตําบลขาวปุน อําเภอกุดขาวปุน จังหวัดอุดรธานี. วิทยานิพนธศิลปะศาสตร มหาบัณฑิต สาขาวิชาวัฒนธรรมศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล. ลักษณา สัมมานิธ.ิ (2554). กระบวนการเกิดและการเปลี่ยนแปลงตลาดน้ําในบริบทสวน พื้นที่ดินดอนปากแมน้ําเจาพระยาฝงตะวันตก. วิทยานิพนธการวางแผนภาค และเมืองมหาบัณฑิต จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. ลือชัย ศรีเงินยวง.(2547).”การแพทยทางเลือกกับระบบสุขภาพ” ในสังคมวิทยาและมานุษวิทยา การแพทย หนวยที่ 6-10. นนทบุรี : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วรวุฒิ เพ็งพันธ. (2548). การวิเคราะหคุณคาและบทบาทของตลาดน้ําในฐานะแหลงการ เรียนรูของชุมชน กรณีศึกษาตลาดน้ํา อําเภอดําเนินสะดวก จังหวัดราชุบรี. วิทยานิพนธครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพัฒนศึกษา คณะครุศาสตร จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย. วาริกา มังกะลัง. (2556). ภูมิทัศนวัฒนธรรมชุมชนริมคลองดําเนินสะดวก ชวงหลักที่ 5 ถึงหลักที่ 6 จังหวัดราชบุรีและจังหวัดสมุทรสาคร. วิทยานิพนธการวางแผนภาค และเมืองมหาบัณฑิต จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. วิยะดา ทองมิตร. (2527). การใชแรงงานชาวจีนในสังคมไทย พ.ศ.2325-2453. วิทยานิพนธ อักษรศาสตรมหาบัณฑิต สาขวิชาประวัติศาสตรเอเชียตะวันออกเฉียงใต มหาวิทยาลัย ศิลปากร. วิชัย โชควิวัฒน. (2547). ประวัติแพทยจีนโดยสังเขป. ในวารสารการแพทยแผนไทยและ การแพทยทางเลือก. ปที่ 2 ฉบับที่ 1 (ตุลาคม 2546-มกราคม 2547). วิกิพีเดีย. (2557). พยาธิวิทยา. (ออนไลน).เขาถึงไดจาก http://www.wikipedia.org (วันที่คนขอทูล 4 กันยายน 2557). ศูนยขอมูลเพื่อธุรกิจไทยในจีน. (2557). ตัวเลขการนําเขาผลิตภัณฑสมุนไพรจีนสูประเทศ ไทย. (ออนไลน). เขาถึงไดจาก http://www.thaibizchina.com. (วันที่คนขอมูล 14 ตุลาคม 2557). --------. (2557). การสงออกผลิตภัณฑสมุนไพรจีนไปทั่วโลก.(ออนไลน). เขาถึงไดจาก http://www.thaibizchina.com. (วันที่คนขอมูล 14 ตุลาคม 2557).


162

ศูนยขอมูลเพื่อธุรกิจไทยในจีน.(2557). ขอมูลเศรษฐกิจจีนรายมณฑล.(ออนไลน). เขาถึงไดจาก http://www.thaibizchina.com. (วันที่คนขอมูล 14 ตุลาคม 2557). สถาบันการแพทยไทย จีน เอเชียตะวันออกเฉียงใต. (2552). การแพทยแผนจีนในประเทศไทย. กรุงเทพฯ : พุมทอง. สุดารา สุจฉายา. (2541). เพื่อความเขาใจในแผนดินราชบุร.ี กรุงเทพฯ: สารคดี. สุมิตร ปติพัฒน และเสมอชัย พลูสุวรรณ. (2540). ลาวโซง : พลวัตของระบบวัฒนธรรม ในรอบสองศตวรรษ. คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร. สํานักประชาสัมพันธ จังหวัดราชบุรี. (2554). อําเภอดําเนินสะดวกมีโรงเจมากที่สุด. (ออนไลน). เขาถึงไดจาก http://pr.prd.go.th/ratchaburi/ewt_news.php?nid=893. (วันที่คน ขอมูล 17 กันยายน 2558). สํานักสถานพยาบาลและการประกอบโรคศิลปะ. (2556). จํานวนผูประกอบโรคศิลปสาขา การแพทยแผนจีน ป พ.ศ.2552-2555. นนทบุรี : กระทรวงสาธารณสุข. สํานักการแพทยแผนจีน. (2556). การแพทยแผนจีน. ในวารสารการแพทยแผนไทยและ การแพทยทางเลือก. ปที่ 6 ฉบับที่ 1 (มกราคม-เมษายน 2556). สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา. (2557). การวางแผนเพื่อการศึกษาตอระดับ อุดมศึกษา. (ออนไลน). เขาถึงไดจาก http://www.gotouni.mua.go.th. (วันที่คนขอมูล 2 ธันวาคม 2557). หมอชาวบาน. (2557). การแพทยแผนจีนในศตวรรษที่ 21. (ออนไลน). เขาถึงไดจาก http://www.doctor.or.th/article/detail/2064. (วันที่คนขอมูล 27 ธันวาคม 2557). อรพรรณ จันทรวงศไพศาล. (2557). การฝงเข็มและตรวจธาตุเจาเรือน อีกการรักษาแบบ แพทยทางเลือก. (ออนไลน). เขาถึงไดจาก http://www.matichon.co.th. (วันที่คนขอมูล 18 พฤศจิกายน 2557). อรสา ดิสถาพร. (2551). การพัฒนาพืชสมุนไพรจีนในประเทศไทย. กรุงเทพฯ : สํานักงาน สงเสริมและจัดการสินคาเกษตร กรมสงเสริมการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ. อุทัย ดุลยเกษม. บรรณาธิการ (2553). คูมือการวิจัยเชิงคุณภาพเพือ่ งานพัฒนา. (พิมพครั้งที่ 5). ขอนแกน: สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยขอนแกน. Barnes J.A. (1972). Social Networks. Addison-Wesley Modular Publications, Number 26. Reading Mass : Addison-Wesley.


163

Granovetter,M and Swedberg R. (2001). The Sociology of Economic Life, Second Edition. Westwiew Press, A Member of the Perseus Books Group. National Center for Complementary and alternative Medicine. (2015) “What is Complementary and Alternative Medicine”. [online]. Available from : http://nccam.nih.gov/health/whatiscam. (วันที่คนขอมูล 25 กันยายน 2557). Ou Liyun. (2555). ความสัมพันธระหวางสวนประสมทางการตลาดกับพฤติกรรมการซื้อ สมุนไพรจีนของผูบริโภคในกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธหลักสูตรบริหารธุรกิจ มหาบัณฑิต สาขาวิชาธุรกิจอาเซียน มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย. Skinner, G. William. (1957). Chinese Society in Thailand : An analytical history. New York : Cornell University. Tan Xue Ping. (2551). ปจจัยที่มีอิทธิผลตอการตัดสินใจเลือกใชบริการแพทยจีนใน โรงพยาบาลหัวเฉียว. วิทยานิพนธบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการทั่วไป มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุร.ี Yeh Chi-Yuan. (2557). การดูแลผูปวยโรคมะเร็งดวยการแพทยผสมผสาน. (ออนไลน). เขาถึงไดจาก http://www.kiingz.wordpress.com. (วันที่คนขอมูล 18 พฤศจิกายน 2557).


164

ภาคผนวก ประวัติคลองดําเนินสะดวก มูลเหตุของการขุดคลองดําเนินสะดวก คลองดําเนิน สะดวก เปน คลองที่ขุดขึ้น จากแนวพระราชดําริของพระบาทสมเด็จ พระ จอมเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ 4 ปจจัยสําคัญที่กอใหเกิดการขุดคลองดําเนินสะดวก คือ ผลกระทบ จากการขยายตัวทางเศรษฐกิจและการพัฒนาประเทศ โดยเฉพาะอยางยิ่งในชวงสมัยรัตนโกสินทร ตอนตน จนถึงรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ 5 ซึ่งเกิดจากสาเหตุ หลายประการ ดังนี้ (พรรณทิพย เปยมพุทธากุล, 2537: 49–50) ประการแรก หลังจากการทําสนธิสัญญาเบาริ่ง (พ.ศ. 2395) การคาขายของไทยขยายตัว ขึ้นอยางรวดเร็วโดยเฉพาะการคาขาวและน้ําตาล ซึ่งในระยะแรกน้ําตาลถือเปนสิ้นคาสงออกที่ สําคัญ ที่เ ปนผลตอเนื่องมาจากการทําสนธิสัญญาเบอรนี่ใ นสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกลา เจาอยูหัว รัชกาลที่ 3 น้ําตาลเปนสินคาที่ชาวตะวันตกตองการมาก และยังนํากําไรมาสูประเทศ ไทยไดอยางมากดวย ในสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ 4 จึงทรงโปรดฯใหมี การขุดคลองขึ้นเพื่อเปนเสนทางลําเลียงออยและน้ําตาลจากแหลงผลิตมาสูตลาดใหสะดวกและ รวดเร็วมากยิ่งขึ้น ซึ่งแหลงปลูกออยและแหลงผลิตน้ําตาลที่สําคัญของประเทศสวนหนึ่งอยูทางหัว เมื อ งฝ า ยตะวั น ตก อั น ประกอบด ว ยเมื อ งนครไชยศรี เมื อ งราชบุ รี และเมื อ งเพชรบุ รี พระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว จึงทรงสงเสริมใหมีการขุดคลองเพื่อเปนเสนทางเชื่อมโยง แหลงผลิตน้ําตาลใหักับตลาดสามารถขนสงไดรวดเร็วมากยิ่งขึ้น คลองที่สําคัญ คือ คลองเจดีย บูช า คลองภาษีเจริญ และคลองดําเนิน สะดวก โดยเฉพาะคลองภาษีเจริญ และคลองดําเนิน สะดวกมีความสัมพัน ธกัน มาก โดยคลองภาษีเ จริญ เปน คลองที่เ ชื่อมระหวางแมน้ําทาจีน ฝง ตะวัน ออกกับแมน้ําเจาพระยาฝงตะวันตก แนวคลองทั้งสองเปน เสน ตอเนื่องกัน โดยที่มีแมน้ํา ทาจีนไหลผานกลาง ซึ่งจะทําการใหเดินทางติดตอกันของชุมชนระหวางหัวเมืองแมน้ําเจาพระยา แมน้ําทาจีน และแมน้ําแมกลอง ไดแก เมืองราชบุรี สมุทรสงคราม สมุทรสาคร นครชัยศรี และ กรุงเทพฯ เปนไปอยางสะดวกและทั่วถึงกันโดยตลอด เหตุผลประการที่สอง คือ การขุดคลองเชื่อมระหวางกรุงเทพมหานครกับหัวเมืองใกลเคียง สง ผลให ส ามารถปกครองหั ว เมื อ งฝง ตะวัน ตกไดอ ย า งทั่ ว ถึ ง หั ว เมื อ งที่สํ า คั ญ คื อ นนทบุ รี นครชัย ศรี สมุท รสาคร สมุท รสงคราม และราชบุรี การเสด็จ ประพาสตามหัวเมืองตางๆของ พระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ 4 และพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว


165

รัช กาลที่ 5 จึ ง ยั ง ผลต อ ความสั มพั น ธ ร ะหว า งสถาบั น พระมหากษั ต ริย กั บ ราษฎรได อ ย า ง ใกลชิดดวย นอกจากนี้ ในภาวการณท างเศรษฐกิจอันสืบเนื่องมาจากสนธิสัญญาเบาริ่ง ทําใหการ คาขายเปนไปอยางเสรี จึงเปนสิ่งจูงใจใหชาวตะวันตกที่เปนพอคาและหมอสอนศาสนา เขามา คาขายและตั้งถิ่นฐานในประเทศไทยเปนจํานวนมาก ซึ่งการที่ชาวตางประเทศจะเขามาอยูใ น เมื อ งไทยนั้ น ต อ งปฏิ บั ติ ต ามสนธิ สั ญ ญา ที่ เ กี่ ย วกั บ เขตของที่ อ ยู อ าศั ย คื อ การกํ า หนดให ชาวตะวัน ตกอยูอ าศั ย ได เ ฉพาะบริ เ วณที่อ ยู หา งจากกํ าแพงพระนครออกไปราว 200 เส น (8 กิโลเมตร) หรือภายในระยะเวลาเดินทาง 24 ชั่วโมง ซึ่งบริเวณเหลานั้นคือจากกรุงเทพไปถึง เมืองปากน้ํา บางพุทรา ลพบุรี สระบุรี บางขนาก ศรีราชา เพชรบุรี สมุทรสงคราม ราชบุรี และ สุพรรณบุรี พระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูห ัว จึงทรงจัดการคมนาคมสําหรับชาวตะวันตกที่ อยูตามหัวเมืองเหลานั้น ใหสามารถเดินทางมายังเมืองหลวงไดสะดวกรวดเร็ว เชน คลองมหา สวัสดิ์ตั้งแตนนทบุรีไปยังนครชัยศรี คลองภาษีเจริญจากคลองบางกอกใหญไปตกแมน้ําเมืองนคร ชัยศรี และคลองดําเนินสะดวกตั้งแตแมน้ําบางยางเมืองนครชัยศรีฝงตะวันตกออกไปตกคลองบาง นกแขวกเมืองราชบุรี (ปยนาถ บุนนาค, 2525: 53) การขุดคลองดําเนินสะดวก คลองดําเนินสะดวกเปนคลองที่ขุดเชื่อมระหวางแมน้ําแมกลองกับแมน้ําทาจีน ครอบคลุม พื้นที่ 3 จังหวัด คือ ในอําเภอบานแพว จังหวัดสมุทรสาคร อําเภอดําเนินสะดวก จังหวัดราชบุรี และอําเภอบางคนที จัง หวัด สมุทรสงคราม เปนคลองที่ชวยยน ระยะทางการเดินไปยัง หัวเมือง ตะวันตก โดยแตเดิมนั้นการเดินทางตองใชเสนทางกรุงเทพฯผานคลองดานเขาสูคลองสุนัขหอน ซึ่งใชเวลานาน การขุดคลองดําเนินสะดวกมีสมเด็จเจาพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ (ชวง บุนนาค) ผูสําเร็จราชการแผนดิน ในแผนดินพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ 5 ครั้งยัง ดํารงตําแหนงสมุหพระกลาโหมในบรรดาศักดิ์ เจาพระยาศรีสุริยวงศ เปนแมกองขุดคลองดําเนิน สะดวก คาจางขุด คาตอไม สมเด็จเจาพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ (ชวง บุนนาค) ออกเงินคาขุด คลอง 1,000 ชั่ง (80,000 บาท) และ พระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัวพระราชทานเงินหลวง สมทบในการขุดอีก 400 ชั่ง (32,000 บาท) รวม 1400 ชั่ง (112,000 บาท) จาก “พระราชหัตถเลขา พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว เสด็จประพาสมณฑลราชบุรี ร.ศ. 128 (พ.ศ. 2452)” ระบุวา


166

“การที่เ จาพระยาศรีสุริย วงศ ออกเงินคาขุดคลองนั้น ไมใ ชเ ปน ของ ท า นเอง แต เ ป น เงิ น ที่ พ ระบาทสมเด็ จ พระจอมเกล า เจ า อยู หั ว พระราชทานใหสรางวังที่เพชรบุรี โดยเอาเงินจากภาษีน้ําตาลที่เก็บ จากทองถิ่นไปใชจายในการสรางวัง ครั้นพอสรางวังเสร็จทานไมสงเงิน คืนคลังทานจึงนําเงินสวนนี้มาใชจายในการขุดคลอง โดยอางวาเปน เงินของทานเอง ทานจึงไดรับผลประโยชนอยางมากในการขุดคลอง สายนี้ โดยถือสิทธิ์เปนเจาของที่ดิน สองฝง คลองแลวน้ําไปแจกจาย ที่ดินแกภรรยา พี่นอง บุตรหลาน และคนซึ่งมากฝากตัว ถาผูอื่นที่จะ มาจับ จองที่ดินนี้ตองจายเงินใหแกทาน เปนคาที่ดินตามความมาก นอยของที่ดินที่จับจอง” สอดคลองกับ คํากลาวของปย นาถ บุน นาค (2525: 53) จากงานเขีย นเรื่อง “คลองใน กรุงเทพฯ : ความเปนมา การเปลี่ยนแปลง และผลกระทบตอกรุงเทพฯ ในรอบ 200 ป (พ.ศ.2394 – 2525)”วา “การที่สมเด็จ เจาพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศถือเอาที่ดิน ทั้งสองฝง คลองมาไวในครอบครอง แลวจําหนายจายแจกแกผูใกลชิดและบริวาร ถือวาทานมีความกลาและมีอํานาจมากเพราะในชวง 5 ปแรกของสมัย รัช กาลที่ 5 ท านเป น ผูกุ มอํ านาจทางการเมื องสูง สุด ในขณะนั้ น โดยปกติแลวพระมหากษัตริยเทานั้นที่จะเปนเจาชีวิตและเจาแผนดิน ซึ่งการยึดถือกรรมสิทธิ์ที่ดินของสามัญชนเพิ่งทํากันอยางเปนหลักฐาน ตามกฎหมายในสมัยรัชกาลที่ 5 ” จุดเริ่มตนของคลองดําเนินสะดวก เริ่มจากปากคลองบางยางซึ่งเชื่อมกับแมน้ําทาจีน ที่ อํา เภอบ า นแพ ว จั ง หวั ด สมุ ท รสาคร ไปจนถึ ง ตํ า บลบางนกแขวก อํ า เภอบางคนที จั ง หวั ด สมุทรสงคราม โดยเริ่มทําการขุดคลองในป พ.ศ. 2409 ใชแรงงานคนในการขุด ซึ่งสวนใหญคือ กรรมกรชาวจี น ที่ อ พยพเข า มาอยู ใ นเมื อ งไทยใหม ๆ คนไทยพื้ น ถิ่ น คนเขมร คนมอญเป น ผูรับ จางขุด วิธีก ารขุดคลองดําเนิน สะดวกนั้น นับเปน ภูมิปญญาของคนไทยในระดับ ทองถิ่น กลาวคือ การขุดดินนั้นจะขุดเปนระยะหนึ่ง เวนระยะหนึ่ง เมื่อถึงเวลาน้ําหลาก น้ําก็จะกัดเซาะดิน สวนที่ไมไดขุดใหพังไปเอง คลองดําเนินสะดวกขุดเสร็จในป พ.ศ. 2411 พระบาทสมเด็จพระจอม เกลาเจาอยูหัว ทรงพระราชทานนามวา “คลองดําเนินสะดวก” และไดทําพิธีเ ปด เมื่อวันที่ 25


167

พฤษภาคม พ.ศ.2411 โดยเจาพระยาศรีสุริยวงศ (ยศในขณะนั้น) ผูสําเร็จราชการแผนดินในสมัย รัชกาลที่ 5 คลองดําเนินสะดวกเปนลําคลองที่ตัดไดตรงไมคดเคี้ย ว ระยะยาว 895 เสน หรือ 35.5 กิโลเมตร (หากวัดความยาวจากประตูน้ําบางยางถึงประตูน้ําบางนกแขวกจะมีระยะทางยาว 840 เสน หรือ 32 กิโลเมตร ) ขนาดของคลองมีความกวาง 6 วา หรือ 12 เมตร ลึก 6 ศอก หรือ 3 เมตร ซึ่งในปจจุบันคลองบางชวงอาจมีความกวางกวางเดิม เพราะน้ํากัดเซาะตลิ่งจนพังทําใหพื้นที่ความ กวางของคลอง และบางชวงก็มีความแคบเนื่องจากการรุกล้ําพื้นที่จากตั้งบานเรือนของประชาชน นอกจากนี้ทุกๆระยะ 100 เสน หรือ 4 กิโลเมตร ไดมีการปกเขตเปนหลักเสาหินสี่เหลี่ยมขนาดใหญ ไวรวม 8 หลัก แตละหลักมีหมายเลขไทย โรมัน และจีน เขียนกํากับไว ซึ่งตอมาไดกลายเปนที่เรียก ขานชุมชนตามหลักตางๆ อาทิ หลักหา หลักหก หลังแปด พระครูสิริวรรณวิวัฒน (2544: 25–27) กลาวถึง การเรียกชื่อหลักเขตตางๆ ทั้ง 8 หลักไวดังนี้ หลักศูนย มีจุดเริ่มตนที่ปากคลองบางยางออกสูแมน้ําทาจีน อําเภอกระทุมแบน จังหวัด สมุทรสาคร หางจากประตูน้ําบางยางประมาณ 1 กิโลเมตร เศษ จนถึงประตูน้ําบางยางไปจนถึง หลักที่หนึ่ง การเรียกชื่อสถานที่นี้ไมเรียกวาหลักศูนย แตผูคนสวนใหญนิยมเรียกกันวาประตูน้ํา บางยาง หรือปากคลองบางยาง หลักหนึ่ง ถัดจากหลักศูนย หรือประตูน้ําบางยางเขามาในเขตคลองดําเนินสะดวก หลัก หนึ่งนี้อยูในเขตอําเภอบานแพว จังหวัดสมุทรสาคร หลักสอง จุดเริ่มตนจากเสาหินเลข 1 ถึงเสาหินเลข 2 ซึ่งอยูในเขตอําเภอบานแพว จังหวัดสมุทรสาคร หลักสาม จุดเริ่มตนจากเสาหินหลักเลข 2 ถึง เสาหินเลข 3 อยูในเขตอําเภอบานแพว จังหวัดสมุทรสาคร หลักสี่ จุดเริ่มตนจากระหวางเสาหินเลข 3 ถึงเสาหินเลข 4 อยูในเขตอําเภอบานแพว จังหวัดสมุทรสาคร หลักหา จุดเริ่มตนจากเสาหินเลข 4 ถึงเสาหินเลข 5 อยูในเขตอําเภอบานแพว จังหวัด สมุทรสาคร หลักหก จุดเริ่มตนจากเสาหินเลข 5 ถึงเสาหินเลข 6 อยูในเขตอําเภอดําเนินสะดวก จังหวัดราชบุรีโดยชาวบานสวนใหญนิยมเรียกกันวา“หลักหา” แทนที่จะเรียกวาหลักหกจนติดปาก มาถึงทุกวันนี้ อยางเชน สถานีตํารวจภูธร ตําบลหลักหาความจริงแลวอยูในเขตหลักหก (ซึ่งอําเภอ ดําเนินสะดวกไมมตี ําบลหลักหา) หลักหาจึงมี 2 ระยะ คืออยูในพื้นที่หลักหาจริง กับพื้นที่หลักหก


168

หลักเจ็ด จุดเริ่มตนจากเสาหินเลข 6 ถึง เสาหินเลข 7 อยูในเขตอําเภอดําเนินสะดวก จังหวัดราชบุรี ซึ่งการเรียกนั้นจะเปนทํานองเดียวกับหลักหา กลาวคือ เรียกเปนหลักหก โดยจะ เรียกในระยะสั้นประมาณ 50 เสน โดยมีวัดหลักหกรัตนารามเปนหลัก สวนการเรียกวาหลักเจ็ดนั้น สวนใหญไมคอยไดเรียกกัน หลักแปด จุดเริ่มตนจากเสาหินเลขที่ 7 ถึง เลขที่ 8 ซึ่งเปนเขตของอําเภอดําเนินสะดวก ติดตอกับเขตอําเภอบางคนที จังหวัดสมุทรสงคราม การเรียกชื่อหลักแปดนี้มักจะเรียกกันในชวง ตอนปลายของหลักแปด ตอนตนหลักไมคอยจะมีใครเรียกกัน เมื่อหมดเขตหลักเสาหินหลักที่แปด ไปแลว ก็จะมีทางน้ํายาวอีกประมาณ 40 เสน เขตอําเภอบางคนที จังหวัดสมุทรสงคราม ซึ่งบริเวณ นี้ก็มีการเรีย กชื่อวาหลักแปดอยูบาง จนไปสิ้นสุดที่ประตูน้ําบางนกแขวก ที่ตําบลบางนกแขวก อําเภอบางคนที จังหวัดสมุทรสงคราม คลองดําเนินสะดวกนี้โดยทั่วไปชาวบานมักเรียกวา “คลองใหญ” เพราะเปนลําคลองสาย หลักที่ยังมีคลองเล็กคลองนอยเชื่อมติดตอกันอีก 200 กวาคลอง สําหรับประตูน้ําทั้ง 2 แหง ที่ กลาวถึงนั้น คือ ประตูน้ําบางยางทางดานแมน้ําทาจีนอยูบริเวณปากคลองตนในเขตหลักหนึ่ง และ ประตูน้ําบางนกแขวกซึ่งอยูหางจากแมน้ําแมกลองเขามาประมาณ 1 กิโลเมตร บริเวณหนาวัด เจริญสุขารามวรวิหาร ประตูน้ําทั้ง 2 นี้เริ่มกอสรางเมื่อ พ.ศ.2450 (ร.ศ. 126) สรางเสร็จเมื่อป พ.ศ.2451 (ร.ศ. 127) ทั้งนี้ก็เนื่องมาจากพื้นที่ 3 จังหวัด ประสบปญหาในดานการเกษตรกรรมและ การคมนาคม ในชวงฤดูน้ําหลากเกษตรกรประสบกับปญหาน้ําทวมสวน พืชผลเสีย หาย พอถึง ในชวงฤดูแลงน้ําในคลองลดระดับลงจนเรือไมสามารถแลนผานได โดยเฉพาะเรือกบรรทุกสินคา ขนาดใหญทําใหเสียเวลาตองรอจนกวาน้ําจะขึ้น นอกจากนี้ยังเปนการระบายน้ําเค็มออกเปดน้ํา จืดเขามาเลี้ย งพืช ผลแกชวนสวน รวมทั้ง เปน การจัดระเบียบเรือเพื่อปองกัน ความแออัดในการ สัญจรไปมาดวย กรมชลประทาน กระทรวงเกษตราธิการ จึงไดจัดสรางประตูน้ําทั้ง 2 แหงนี้ขึ้น เอกสารอางอิง ปยนาถ บุนนาค และคณะ. (2525). คลองในกรุงเทพฯ : ความเปนมา การเปลี่ยนแปลงและ ผลกระทบตอกรุงเทพฯ ในรอบ 200 ป ( พ.ศ.2325–2525 ) .รายงานวิจัย ฝายวิจัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. ปยนาถ บุนนาค. (2537). “คลองประวัติศาสตรในอดีต” ในอาศรมความคิดเรื่องคลองใน กรุงเทพมหานครและปริมณฑล . กรุงเทพฯ: สถาบันวิจัยสภาวะแวดลอม จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.


169

พรรณทิพย เปยมพุทธากุล. (2537). วิวัฒนาการชุมชนและตลาดน้ําดําเนินสะดวก จังหวัดราชบุร.ี วิทยานิพนธการวางแผนภาคและผังเมืองมหาบัณฑิต จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. พระครูสิริวรรณวิวัฒน. (2544). ประวัติคลองดําเนินสะดวก. กรุงเทพฯ: เลี่ยงเชียงจงเจริญ และรุงเรืองสาสนการพิมพ.


170

ประวัติผูวิจัย ชื่อ การศึกษา

ปจจุบัน

นายอิทธิพร ขําประเสริฐ ประถมศึกษา โรงเรียนดําเนินวิทยา มัธยมศึกษาตอนตน โรงเรียนดรุณาราชบุรี มัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนเบญจมราชูทิศ ราชบุรี ปริญญาตรี ครุศาสตรบัณฑิต (วิชาเอกสังคมศึกษา) คณะครุศาสตร สถาบันราชภัฏบานสมเด็จเจาพระยา ศิลปศาสตรบัณฑิต (วิชาเอกสารสนเทศศาสตร) สํานักวิชาศิลปศาสตร มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ปริญญาโท สังคมวิทยาและมานุษยวิทยามหาบัณฑิต (สาขาสังคมวิทยา) คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร เจาหนาที่ประจําสังกัดงานวางแผนและพัฒนา ฝายบริหาร มหาวิทยาลัยคริสเตียน

ผลงานทางวิชาการ ดานประวัติศาสตร สังคม และวัฒนธรรมทองถิ่น - บทบาทของศูนยการคาตอการมีสวนรวมพัฒนาประชาคมกรุงเทพมหานคร พ.ศ.2546-2550 - คลองกับชีวิต : ชุมชนริมสองฝงคลองดําเนินสะดวกกับความเปลี่ยนแปลง,2546 - ประวัติศาสตรชุมชนในเขตเมืองเกา : ชุมชนเลื่อนฤทธิ์ เขตสัมพันธวงศ กรุงเทพมหานคร,2554 - แนวความคิดและทฤษฎีการศึกษาทางสังคมวิทยาเมืองเบื้องตน,2554 - โครงการสํารวจมรดกทางวัฒนธรรมยานฝงธนบุร,ี 2543 - บรรณนิทัศนงานเขียน งานวิจัยดานธนบุรีคดีศึกษา,2554 - บทความวิชาการ เรื่อง “How Middle Class Move to Defend Their Space : A Case Study of an Area in Chinatown”,2554 - กาวยางทางสังคม : รวมบทความทางมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร,2558


171

ดานการพัฒนางานประจํา - รายงานวิจัย เรื่อง ความพึงพอใจของนักศึกษาชั้นปที่ 1 มหาวิทยาลัยคริสเตียนที่มีตอ การใหบริการการศึกษา,2551 - รายงานวิจัย เรื่อง การศึกษาการมีสวนรวมในการจัดทําแผนปฏิบัติการเชิงกลยุทธประจํา ปการศึกษาของบุคลากรมหาวิทยาลัยคริสเตียน,2552 - รายงานวิจัย เรื่อง การพัฒนาคูมือวิธีปฏิบัติในการใหบริการที่เปนเลิศของสวนงานสนับสนุน วิชาการ มหาวิทยาลัยคริสเตียน,2553 - รายงานวิจัย เรื่อง ปจจัยการเพิ่มประสิทธิภาพในการนําแผนกลยุทธไปสูการปฏิบัตขิ อง มหาวิทยาลัยคริสเตียน,2554 - รายงานวิจัย เรื่อง การกําหนดทิศทางของมหาวิทยาลัยคริสเตียนในการจัดการอุดมศึกษาใน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน,2555 ดานการบริการสังคม - โครงการวิจัยปฏิบัติการเพื่อพัฒนารูปแบบและศักยภาพในการบริการที่เปนเลิศของอําเภอใน สังกัดกรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย,2552 - โครงการวิจัยชุดความมั่นคงในชีวิต เรื่อง ความคาดหวังตอความมั่นคงในชีวิตของนักศึกษา ระดับปริญญาตรีชั้นปสุดทายสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ,2552 - โครงการวิจัยการวิเคราะหองคประกอบการบริการตามรูปแบบและศักยภาพการใหบริการ ที่เปนเลิศของบุคลากรในสังกัดอําเภอ กรมการปกครอง,2555 - โครงการสํารวจความพึงพอใจของประชาชนตอประสิทธิภาพการใหบริการของเทศบาล ตําบลดอนยายหอม อําเภอเมืองนครปฐม จังหวัดนครปฐม,2555,2556 - โครงการสํารวจความพึงพอใจของประชาชนตอประสิทธิภาพการใหบริการขององคการบริหาร สวนตําบลดอนยายหอม อําเภอเมืองนครปฐม จังหวัดนครปฐม,2551 - โครงการสํารวจความพึงพอใจของประชาชนตอประสิทธิภาพการใหบริการขององคการบริหาร สวนตําบลถนนขาด อําเภอเมืองนครปฐม จังหวัดนครปฐม,2551 - โครงการสํารวจความพึงพอใจของประชาชนตอประสิทธิภาพการใหบริการขององคการบริหาร สวนตําบลคลองโยง อําเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม,2556 รางวัลที่ไดรับ บุคลากรดีเดนสายสนับสนุนวิชาการ มหาวิทยาลัยคริสเตียน ประจําปพุทธศักราช 2555


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.