กลยุทธ์การตลาดที่สนับสนุนการจัดบริการวิชาการแก่สังคมแบบมีรายได้ของหลักสูตรด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพ

Page 1

กลยุทธ์ทางการตลาด (7Ps) ที่สนับสนุนการจัดบริการวิชาการแก่สังคมแบบมีรายได้ ของหลักสูตรด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพ สังกัดมหาวิทยาลัยเอกชนแห่งหนึ่ง ในจังหวัดนครปฐม

อิทธิพร ขาประเสริฐ สุภัสสรา วิภากูล และนันทิดา แคน้อย Marketing Strategies (7Ps) Generating the Academic Services to Society Income of Health Science Program of a Private University in Nakhon Pathom Province

งานวิจัยนี้ได้รับทุนสนับสนุนจากมหาวิทยาลัยคริสเตียน ปีการศึกษา 2562


กลยุทธ์ทางการตลาด (7Ps) ที่สนับสนุนการจัดบริการวิชาการแก่สังคม แบบมีรายได้ของหลักสูตรด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพ สังกัดมหาวิทยาลัยเอกชนแห่งหนึ่ง ในจังหวัดนครปฐม Marketing Strategies (7Ps) Generating the Academic Services to Society Income of Health Science Program of a Private University in Nakhon Pathom Province

อิทธิพร ขาประเสริฐ สุภัสสรา วิภากูล นันทิดา แคน้อย

งานวิจัยนี้ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยจากมหาวิทยาลัยคริสเตียน ปีการศึกษา 2562


กลยุทธ์ทางการตลาด (7Ps) ที่สนับสนุนการจัดบริการวิชาการ แก่สังคมแบบมีรายได้ ของหลักสูตรด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพ สังกัดมหาวิทยาลัยเอกชนแห่งหนึ่ง ในจังหวัดนครปฐม Marketing Strategies (7Ps) Generating the Academic Services to Society Income of Health Science Program of a Private University in Nakhon Pathom Province

อิทธิพร ขาประเสริฐ สุภัสสรา วิภากูล นันทิดา แคน้อย

งานวิจัยนี้ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยจากมหาวิทยาลัยคริสเตียน ปีการศึกษา 2562


ชื่อเรื่อง ผู้วิจัย ส่วนงาน ปีการศึกษา

กลยุทธ์ทางการตลาด (7Ps) ที่สนับสนุนการจัดบริการวิชาการแก่สังคม แบบมีรายได้ของหลักสูตรด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพสังกัดมหาวิทยาลัย เอกชนแห่งหนึ่ง ในจังหวัดนครปฐม อิทธิพร ขาประเสริฐ สุภัสสรา วิภากูล นันทิดา แคน้อย กลุ่มงานแผน ฝ่ายบริหารทั่วไป สานักงานอธิการบดี 2562

การวิจัยแบบผสมผสาน (Mix-Method) นี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1.วิเคราะห์กลยุทธ์การตลาดที่ มีส่วนสนับสนุนการจัดโครงการบริการวิชาการแก่สังคมแบบมีรายได้ของหลักสูตรด้านวิทยาศาสตร์ สุขภาพ 2. ศึกษาสภาพปัญหา และแนวทางการส่งเสริมกลยุทธ์ก ารตลาดการจัดบริการวิชาการแก่ สังคมแบบมีรายได้ของหลักสูตรด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพ ประชากร คือ ผู้บริหาร และอาจารย์ใน สังกัดหลักสูตรด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพ ของมหาวิทยาลัยเอกชนแห่งหนึ่ง แบ่งกลุ่มตัวอย่างที่ใช้วิจัย ออกเป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มตัวอย่างที่ศึกษาในเชิงคุณภาพ จานวน 7 คน ซึ่งเป็นผู้ให้ข้อมูลสาคัญ (Key Person) และกลุ่ ม ตั ว อย่ า งที่ ศึ ก ษาในเชิ ง ปริ ม าณ จ านวน 76 คน เครื่ อ งมื อ ที่ ใ ช้ ใ นการวิ จั ย ประกอบด้วย แบบสัมภาษณ์ และแบบสอบถาม การตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือวิจัย พบว่า มีค่า ความสอดคล้ อ งและความตรงกับ สิ่ งที่ ต้อ งการวัด (Item Objective Congruence Index : IOC) เท่ากับ 0.92 มีค่าสัมประสิทธิแอลฟาของครอนบาค (Cronbach’s alpha coefficient) เท่ากับ .96 และ .94 วิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพใช้วิธีการวิเคราะห์สรุปเนื้อหา และวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณใช้ ค่าเฉลี่ย (Mean) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard deviation) ข้อค้นพบจากการวิจัยเชิงคุณภาพ พบว่า กลุ่มผู้ให้ข้อมูลหลักได้นาเสนอกลยุทธ์ การตลาดที่ สนับสนุนการจัดบริการวิชาการแก่สังคมแบบมีรายได้ไว้ 5 กลยุทธ์ คือ 1) กลยุทธ์การใช้เครือข่าย ศิษ ย์เก่า 2) กลยุ ทธ์การเพิ่มความร่วมมือกับองค์กรที่ มีก ารตกลงความร่วมมือ 3) กลยุท ธ์การจัด โครงการที่เน้น สหวิทยาการ 4) กลยุทธ์การให้ บริการที่เป็นเลิศ และ 5) กลยุทธ์การสร้างแบรนด์ สุ ขภาพ และพบว่าสภาพปั ญ หาที่ เป็ น อุป สรรคต่อ การจัด โครงการบริการวิช าการแก่ สั งคมของ หลักสูตร มี 2 ประการ คือ 1) ปัญหาจากการไม่วางแผนการสารวจความต้องการที่ตรงกลุ่มเป้าหมาย อย่ างเป็ น ระบบ 2) ปั ญ หาจากระยะเวลาการให้ การรับรองเป็น สถาบั นฝึ กอบรมของสภาวิชาชีพ รวมทั้งได้นาเสนอแนวทางการส่งเสริมกลยุทธ์ทางการตลาดการจัดบริการวิชาการแก่สังคมแบบมี รายได้ 5 ประการ ได้แก่ 1) หน่วยงานกลางทาหน้าที่ประสานงานจัดการให้ บริการวิชาการแก่สังคม 2) การสนั บ สนุ น ด้ า นอุ ป กรณ์ เทคโนโลยี ด้ า นสุ ข ภาพ 3) การพั ฒ นาศั ก ยภาพอาจารย์ ให้ เป็ น “นั กขาย”ที่ดี 4) การแบ่ งปัน รายได้จากการให้บริการสนับสนุนการดาเนินงานของหลักสูตร และ 5) การกาหนดภารกิจการให้บริการวิชาการแก่สังคมเป็น “ภาระงาน”ของอาจารย์อย่างชัดเจน ข้อค้นพบจากการวิจัยเชิงปริมาณ พบว่า ภาพรวมกลุ่มตัวอย่างเห็นด้วยในระดับมาก ( = 4.20, S D = .87) ที่ จ ะน ากลยุ ท ธ์ท างการตลาดทั้ ง 7 ด้ าน ตามแนวคิ ด ของ Kotler, Philip and Keller Kelvin Lane (2016) มาสนับสนุนการจัดบริการวิชาการแก่สังคมแบบมีรายได้ ทั้งนี้กลยุทธ์ ทางการตลาด (7Ps) ที่กลุ่มตัวอย่างให้ความสาคัญ 3 อันดับแรก คือ ด้านลักษณะทางกายภาพ ( =


4.30, S D = .78) ด้านการส่งเสริมการตลาด ( = 4.29, S D = .88) และด้านผลิตภัณฑ์ ( = 4.24, S D = .78) ตามลาดับ และมีความคิดเห็นเกี่ยวกับ สภาพปัญหาของการจัดบริการวิชาการแก่สังคม แบบมีรายได้ในเชิงทฤษฎี พบว่า มีปัญหาอยู่ในระดับเล็กน้อย ( = 2.19, S D = .94) โดยเรื่องที่มี ความเห็นว่าเป็นปัญหาเล็กน้อยแต่มีค่าเฉลี่ยมากที่สุด คือ ด้านการประเมินผลประโยชน์/ ผลกระทบ ของการให้ บ ริ ก ารวิ ช าการ ( = 2.26, S D = .98) และปั ญ หาจากการบริ ห ารทรั พ ยากรการ ดาเนินงาน พบว่าอยู่ในระดับเล็กน้อย ( = 2.15, S D = .86) โดยเรื่องที่มีความเห็นว่าเป็นปัญหา เล็กน้อยแต่มีค่าเฉลี่ยมากที่สุด คือ ด้านการบริหารคน ( = 2.27, S D = .86) คาสาคัญ: กลยุทธ์การตลาด การให้บริการวิชาการแก่สังคม การสร้างรายได้


ง

Research Title Researcher Office Academic Year

Marketing Strategies (7Ps) Generating the Academic Services to Society Income of Health Science Program of a Private University in Nakhon Pathom Province Mr. Itthiporn Khumprasert Mrs. Supatsara Vipakul Miss Nantida Kaenoy Planning Section, Division of General Administration Office of the President 2019

This research was a mixed method research. The objectives of this research were to 1. analyze the marketing strategies generating income for the academic services to society project of Health Science Program and 2. study the problem conditions and guidelines for promoting the marketing strategies generating the academic services to society income of Health Science Program. The research population were the administrators and instructors under the Health Science Program of a private university. The research samples were divided into 2 groups which were qualitative sample consisting of 7 key persons and 76 quantitative samples.Research instruments consisted of interview and questionnaire. The research instruments were inspected and found that Item Objective Congruence Index (IOC) was at .92 and the reliability of the questionnaire in the from of a Cronbach’s alpha coefficient was .96 and .94. Qualitative data was analyzed by summary and quantitative data was analyzed by Mean and Standard Deviation. The results of the qualitative study found that the sample group presented 5 strategies generating academic services to society income which consisted of 1) strategy for using alumni network 2) strategy for enhancing cooperation with organizations under academic collaborations 3) strategy for conducting projects related to multidisciplinary 4) strategy for providing Service Excellent, and 5) strategy for building health science brand. It was found that the problems that hindered the project services to the society came from two reasons: 1) the problem of not planning to explore the needs of the target systematically and 2) the issue of the duration of accreditation for the training Institute of Professional Council. The guidelines for promoting the marketing strategies consisted of 1) providing a one stop service center to coordinate in managing the academic services to the society, 2) supporting health science equipment and technology, 3) developing the potential of instructors to be good " sellers" , 4) sharing income from academic services to the


ŕ¸ˆ

program management, and 5) defining the mission of providing academic services to society explicitly as the "workload" of the instructors. The results of the quantitative study found that the sample group agreed in overall with a high level of consensus ( = 4.20, S D = .87) in applying marketing strategies (7Ps) according to concept of Kotler, Philip and Keller Kelvin Lane (2016) to support the operation of academic services to society with income. In addition, the sample group gave priority to the top 3 marketing strategies which were the physical characteristics ( = 4.30, S.D.= 78), the marketing promotion ( = 4.29, S D =.88) and the products ( = 4.24, S D =.78) respectively. The problems of conducting academic service to society with income theoretically found at low level ( = 2.19, SD=.94) with the most average in the aspect of the benefit evaluation/impact of the academic services ( = 2.26, S D =.98). The problems from operating resource management were found at low level ( = 2.15, S D =.86) with the most average in human management ( = 2.27, S D =. 86). Keyword: marketing strategies, academic services to society, generating income


กิตติกรรมประกาศ รายงานวิจัย เรื่อง กลยุทธ์ทางการตลาด (7Ps) ที่สนับสนุนการจัดบริการวิชาการแก่สังคม แบบมีรายได้ของหลักสูตรด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพสังกัดมหาวิทยาลัยเอกชนแห่ งหนึ่ง ในจังหวัด นครปฐม เป็นงานวิจัยพัฒนาสถาบันที่ มีเป้าหมายเพื่อค้นหากลยุทธ์ ทางการตลาดและแนวทางเพิ่ม ประสิ ท ธิภ าพของการจั ด บริ การวิช าการแก่สั งคมแบบมี รายได้ ให้ แก่ห ลั ก สู ตรด้านวิท ยาศาสตร์ สุ ขภาพ ส าหรั บ การน าไปวางแผนสนั บ สนุ น และส่ งเสริมการจั ดบริการวิช าการแก่ สั งคมของทุ ก หลักสูตร อันจะก่อให้เกิดคุณค่าแก่ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทั้งนักศึกษา อาจารย์ และกลุ่มผู้ใช้ บริการ และที่ สาคัญไปกว่านั้น สอดคล้องกับนโยบายการเพิ่มรายได้ให้แก่มหาวิทยาลัยฯจากการจัดบริการวิชาการ แก่สังคม คณะผู้ วิ จั ย ขอขอบพระคุ ณ มหาวิ ท ยาลั ย คริ ส เตี ย น ที่ อ นุ มั ติ ทุ น สนั บ สนุ น การท าวิ จั ย ขอขอบพระคุณ ศาสตราจารย์ ดร.เพชรน้อย สิงห์ช่างชัย ที่กรุณาตรวจอ่านโครงร่ างงานวิจัย และ รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ ซึ่งได้ชี้แนะประเด็น ให้มุมมอง และข้อเสนอแนะที่เป็นประโยชน์ อย่างยิ่ง สาหรับงานวิจัยในครั้งนี้ ขอขอบพระคุณ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ศศิธร รุจนเวช ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เนตรชนก ศรีทุมมา และอาจารย์ ดร.กรรณิการ์ ฉัตรดอกไม้ไพร ที่ร่วมตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือวิจัย และ ขอขอบคุณเป็นพิเศษสาหรับผู้ให้ข้อมูล หลักในการสัมภาษณ์ทั้ง 7 ท่าน รวมทั้ง ผู้บริหาร อาจารย์ใน สังกัดคณะพยาบาลศาสตร์ และคณะวิทยาศาสตร์สุขภาพที่มีส่วนร่วมในการให้ข้อมูลสาหรับการทา วิจัย ท้ายที่สุด ขอขอบพระคุณ มหาวิทยาลั ยคริสเตียนที่ทาให้ คณะผู้วิจัยมีโอกาสได้ศึกษาวิจัย ครั้งนี้ และขอบพระคุณพระเจ้าที่ประทานพระพรให้คณะผู้วิจัยได้เรียนรู้และพัฒนางานวิจัยสถาบันที่ เป็นประโยชน์ต่อมหาวิทยาลัยคริสเตียน


สารบัญ หน้า บทคัดย่อภาษาไทย...................................................................................................................... บทคัดย่อภาษาอังกฤษ........................................................................................................... ...... กิตติกรรมประกาศ....................................................................................................................... สารบัญ....................................................................................................................... .................. สารบัญตาราง............................................................................................................................... สารบัญภาพ.................................................................................................................................

ข ง ฉ ช ฌ ฎ

บทที่ 1 บทนา............................................................................................................................. ความสาคัญของปัญหาการวิจัย.......................................................................................... คาถามการวิจัย................................................................................................................ .. วัตถุประสงค์ของการวิจัย................................................................................................... กรอบแนวคิดการวิจัย........................................................................................................ ขอบเขตการวิจัย................................................................................................................ นิยามตัวแปรที่ใช้ในการวิจัย..............................................................................................

1 1 3 3 3 4 5

บทที่ 2 วรรณกรรมและผลการวิจัยที่เกี่ยวข้อง......................................................................... บริบทของสถาบันอุดมศึกษาในการจัดบริการวิชาการแก่สังคม......................................... กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับกาหนดบทบาทการจัดบริการวิชาการแก่สังคม.................... ลักษณะการจัดบริการวิชาการของสถาบันอุดมศึกษาแบบมีรายได้.......................... ปัจจัยการบริหารจัดการบริการวิชาการของสถาบันอุดมศึกษา................................. การให้บริการวิชาการแก่สังคมของมหาวิทยาลัยเอกชนแห่งหนึ่ง.............................. แนวคิดเกี่ยวกับกลยุทธ์การตลาด...................................................................................... ความหมายของกลยุทธ์การตลาด............................................................................. องค์ประกอบการพิจารณากลยุทธ์การตลาด............................................................. กลยุทธ์การตลาด (7Ps)............................................................................................ แนวคิดเกี่ยวกับการบริการวิชาการแก่สังคม...................................................................... ความหมายของการให้บริการวิชาการ....................................................................... ประเภทของการให้บริการวิชาการ............................................................................ รูปแบบของการให้บริการวิชาการ............................................................................. หลักการให้บริการวิชาการ........................................................................................ การพัฒนาคุณภาพการให้บริการวิชาการ................................................................. สรุปแนวคิดจากการทบทวนวรรณกรรม............................................................................

9 9 9 10 12 18 20 20 21 21 25 25 26 27 27 29 35


หน้า บทที่ 3 ระเบียบวิธีวิจัย............................................................................................................... วิธีดาเนินการวิจัย............................................................................................................... การออกแบบการวิจัยแบบผสมผสาน................................................................................ สถานที่ที่ใช้ในการเก็บข้อมูลวิจัย.............................................................................. ประชากร.................................................................................................................. กลุ่มตัวอย่างและขนาดของกลุ่มตัวอย่าง.................................................................. เครื่องมือที่ใช้การวิจัย........................................................................................................ การพัฒนาเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย.......................................................................... การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือวิจัย........................................................................ การพิทักษ์สิทธิผู้เข้าร่วมการวิจัย....................................................................................... การเก็บรวบรวมข้อมูลที่ใช้ในการวิจัย................................................................................ การวิเคราะห์ข้อมูลวิจัย..................................................................................................... สรุปขั้นตอนการศึกษาวิจัย.................................................................................................

36 36 36 36 36 36 37 37 39 41 41 42 43

บทที่ 4 ผลการวิจัย..................................................................................................................... ผลการวิจัยเชิงคุณภาพเกี่ยวกับกลยุทธ์ทางการตลาดที่สนับสนุนการจัดบริการวิชาการ แก่สังคมแบบมีรายได้........................................................................................................ ผลการวิจัยเชิงปริมาณเกี่ยวกับกลยุทธ์ทางการตลาดที่สนับสนุนการจัดบริการวิชาการ แก่สังคมแบบมีรายได้........................................................................................................ ความสัมพันธ์ระหว่างผลการวิจัยเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ............................................

44

บทที่ 5 สรุปผลการวิจัย อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ............................................................ สรุปผลการวิจัย.................................................................................................................. อภิปรายผล........................................................................................................................ ข้อเสนอแนะ................................................................................................................... ...

104 104 107 109

บรรณานุกรม............................................................................................................................... ภาคผนวก............................................................................................................................. ....... ภาคผนวก ก. เครื่องมือวิจัย............................................................................................... ภาคผนวก ข. ค่าดัชนีความสอดคล้องของเครื่องมือวิจัย................................................... ภาคผนวก ค. ค่าความเชื่อมั่นของเครื่องมือวิจัย................................................................ ภาคผนวก ง. เอกสารรับรองจริยธรรมการทาวิจัยในมนุษย์............................................... ประวัติผู้วิจัย...............................................................................................................................

112 115 116 128 137 141 143

44 79 100


สารบัญตาราง ตารางที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13

หน้า จานวนโครงการบริการวิชาการของมหาวิทยาลัยเอกชนแห่งหนึ่ง......................... จานวนและร้อยละของกลุ่มตัวอย่างจาแนกตามข้อมูลพื้นฐาน.............................. จานวนและร้อยละของการมีส่วนร่วมในการจัดบริการวิชาการแก่สังคมแบบ มีรายได้ของกลุ่มตัวอย่าง....................................................................................... จานวนและร้อยละของการมีส่วนร่วมในการจัดบริการวิชาการแก่สังคมแบบ มีรายได้ของกลุ่มตัวอย่างจาแนกตามระยะเวลาที่ปฏิบัติงานในมหาวิทยาลัยฯ...... จานวนและร้อยละของการมีส่วนร่วมในการจัดบริการวิชาการแก่สังคมแบบ มีรายได้ของกลุ่มตัวอย่างจาแนกตามตาแหน่งที่ปฏิบัติงานในมหาวิทยาลัยฯ........ ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับการใช้กลยุทธ์ ทางการตลาดที่สนับสนุนการจัดบริการวิชาการแก่สังคมแบบมีรายได้ของ กลุ่มตัวอย่าง ภาพรวม........................................................................................... ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับการใช้กลยุทธ์ ทางการตลาดที่สนับสนุนการจัดบริการวิชาการแก่สังคมแบบมีรายได้ของ กลุ่มตัวอย่าง ด้านผลิตภัณฑ์.................................................................................. ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับการใช้กลยุทธ์ ทางการตลาดที่สนับสนุนการจัดบริการวิชาการแก่สังคมแบบมีรายได้ของ กลุ่มตัวอย่าง ด้านราคา......................................................................................... ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับการใช้กลยุทธ์ ทางการตลาดที่สนับสนุนการจัดบริการวิชาการแก่สังคมแบบมีรายได้ของ กลุ่มตัวอย่าง ด้านช่องทางการจัดจาหน่าย............................................................ ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับการใช้กลยุทธ์ ทางการตลาดที่สนับสนุนการจัดบริการวิชาการแก่สังคมแบบมีรายได้ของ กลุ่มตัวอย่าง ด้านการส่งเสริมการตลาด................................................................ ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับการใช้กลยุทธ์ ทางการตลาดที่สนับสนุนการจัดบริการวิชาการแก่สังคมแบบมีรายได้ของ กลุ่มตัวอย่าง ด้านบุคคล........................................................................................ ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับการใช้กลยุทธ์ ทางการตลาดที่สนับสนุนการจัดบริการวิชาการแก่สังคมแบบมีรายได้ของ กลุ่มตัวอย่าง ด้านลักษณะทางกายภาพ................................................................ ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับการใช้กลยุทธ์ ทางการตลาดที่สนับสนุนการจัดบริการวิชาการแก่สังคมแบบมีรายได้ของ กลุ่มตัวอย่าง ด้านกระบวนการ.............................................................................

2 79 80 81 82 83 84 85 86 87 88 89 90


สารบัญตาราง (ต่อ) ตารางที่ 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25

หน้า ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับสภาพปัญหาของ การจัดบริการวิชาการแก่สังคมแบบมีรายได้ของกลุ่มตัวอย่าง ภาพรวม................ ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับสภาพปัญหาของ การจัดบริการวิชาการแก่สังคมแบบมีรายได้ของกลุ่มตัวอย่าง ด้านการเชื่อมโยง โครงการบริการที่บูรณาการกับการจัดเรียนการสอนและการวิจัย......................... ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับสภาพปัญหาของ การจัดบริการวิชาการแก่สังคมแบบมีรายได้ของกลุ่มตัวอย่าง ด้านการพัฒนา คุณภาพกระบวนการให้บริการวิชาการ................................................................. ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับสภาพปัญหาของ การจัดบริการวิชาการแก่สังคมแบบมีรายได้ของกลุ่มตัวอย่าง ด้านการประเมินผลประโยชน์/ ผลกระทบของการให้บริการวิชาการ................... ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับสภาพปัญหาของ การจัดบริการวิชาการแก่สังคมแบบมีรายได้ของกลุ่มตัวอย่างจากการบริหาร ทรัพยากรการดาเนินงาน ภาพรวม....................................................................... ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับสภาพปัญหาของ การจัดบริการวิชาการแก่สังคมแบบมีรายได้ของกลุ่มตัวอย่างจากการบริหาร ทรัพยากรการดาเนินงาน ด้านการบริหารคน........................................................ ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับสภาพปัญหาของ การจัดบริการวิชาการแก่สังคมแบบมีรายได้ของกลุ่มตัวอย่างจากการบริหาร ทรัพยากรการดาเนินงาน ด้านการบริหารงบประมาณ.......................................... ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับสภาพปัญหาของ การจัดบริการวิชาการแก่สังคมแบบมีรายได้ของกลุ่มตัวอย่างจากการบริหาร ทรัพยากรการดาเนินงาน ด้านการบริหารทรัพยากร/วัตถุ.................................... ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับสภาพปัญหาของ การจัดบริการวิชาการแก่สังคมแบบมีรายได้ของกลุ่มตัวอย่างจากการบริหาร ทรัพยากรการดาเนินงาน ด้านการบริหารจัดการ………………………………………… ความสัมพันธ์ระหว่างผลการวิจัยเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ............................... ความสัมพันธ์ระหว่างผลการวิจัยเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ กับจุดแข็งของ หลักสูตรและมหาวิทยาลัยฯ.................................................................................. ความสัมพันธ์ระหว่างผลการวิจัยเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ กับอุปสรรคของ หลักสูตรและมหาวิทยาลัยฯ..................................................................................

91 92 93 94 95 96 97 98 99 100 101 103


สารบัญภาพ ภาพที่ 1 2 3

หน้า กรอบแนวคิดการวิจัย............................................................................................ ขั้นตอนการศึกษาวิจัย………………………………………………………………………………… สรุปกลยุทธ์ที่สนับสนุนการจัดบริการวิชาการแก่สังคมจากผลการวิจัยเชิง คุณภาพ.................................................................................................................

4 43 78


1

บทที่ 1 บทนำ ควำมสำคัญของปัญหำกำรวิจัย สถาบันอุดมศึกษาเอกชน เป็นองค์กรมุ่งทาหน้าที่ในการให้บริการศึกษาครอบคลุม พันธกิจ ด้านผลิตบัณฑิต การทาวิจัย การให้บริการวิชาการแก่สังคม และการทานุบารุงศิลปวัฒนธรรมและ สิ่งแวดล้อม ในการดาเนินงานตามพันธกิจดังกล่าวต้องมีรายได้ที่เกิดขึ้นด้วย เพื่อนาไปใช้ในการขยาย หรือพัฒ นาสถาบันอุดมศึกษาให้มีความก้าวหน้า และสามารถดารงอยู่ได้ เหมือนกับหน่วยงานทาง ธุรกิจ อื่น ๆที่มี กาไร (Profit Organization) เช่นเดียวกัน กับองค์กรไม่แสวงหากาไร (Non-profit Organization) ทั้งที่เป็นองค์กรศาสนา และองค์กรทางการศึกษา ซึ่งมีบทบาทสาคัญในการพัฒนา ประเทศ โดยมีวัตุถุป ระสงค์ในการจัดตั้งขึ้นมาเพื่อพันธกิจทางสังคม (Social Mission) ยังมีความ จาเป็นต้องพึ่งพาทุน ทรัพย์จากการสนับสนุนของภาครัฐและ/หรือการบริจาคจากภาคเอกชนและ ประชาชน จึงมีการจัดบริการในรูปแบบต่างๆ โดยนาแนวคิดทางการตลาดเข้า มาประยุกต์ใช้เพื่อให้ เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผล (อภิชาต คณารัตน์วงศ์, 2562) สถาบันอุดมศึกษาเอกชนจึงมีการ จัดบริการวิชาการที่ช่วยสร้างรายได้ให้แก่องค์กรเพื่อนามาสนับสนุนการดาเนินงาน สอดคล้องกับ ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง มาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ. 2561 ได้กาหนดมาตรฐานด้าน การให้ บริการวิชาการแก่สังคม ได้ระบุว่า “สถาบันอุดมศึกษาพึงกาหนดนโยบายและทิศทางการ บริการวิชาการเพื่อให้เกิดประโยชน์กับชุมชน สังคม และประเทศชาติ ตามจุดเน้นและอัตลักษณ์ของ ประเภทของสถาบั น และตามความได้เปรียบเชิงทรัพยากรและเชิงพื้นที่ของสถาบัน ทั้งนี้ ควรให้ ความสาคัญกับการบริการวิชาการที่ครอบลคลุมทั้งการบริการวิชาการแบบมีรายได้ แบบให้ เปล่า หรือไม่ห วังผลกาไร มีผลงานบริการวิชาการที่สามารถสร้างคุณ ค่าที่พิจารณาจากรายได้ และหรือ สามารถสร้างคุณค่าที่ไม่เน้นรายได้” (ราชกิจจานุเบกษา, 2561) มหาวิทยาลัยเอกชนแห่งหนึ่ง ในจังหวัดนครปฐม จัดการศึกษามาเป็นเวลากว่าสามทศวรรษ มีภาพลักษณ์ที่โดดเด่นในการจัดการศึกษาด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพได้ดาเนินพันธกิจการให้บริการ วิชาการแก่สังคมมาอย่างต่อเนื่อง โดยจัดให้มีระบบและกลไกการดาเนินงานด้านการบริการวิชาการ แก่สั งคม ได้แก่ คณะกรรมการส่ งเสริมการให้ บ ริการวิช าการแก่สั งคมทั้งในระดับมหาวิทยาลั ยฯ คณะวิชา และหลักสูตร การจัดให้มี การสารวจความต้องการของชุมชน การจัดทาแผนแม่บทการ ให้บริการวิชาการที่เน้นการบูรณาการกับการจัดการเรียนการสอน การวิจัย และการพัฒนานักศึกษา การสร้างและขยายเครือข่ายความร่วมมือในการให้บริการ รวมทั้งจัดให้มีการประเมินผลกระทบหรือ การใช้ประโยชน์ จากการให้บริการวิชาการแก่สังคมของหน่วยงาน องค์กร ชุมชน ที่มหาวิทยาลัยฯ ให้ บ ริการวิช าการ โดยเฉพาะการจัดบริการวิช าการแก่สั งคมด้านสุ ขภาพที่ จั ดขึ้น อย่างต่อเนื่อ ง อันเนื่องมาจากมหาวิทยาลัยเอกชนแห่งนี้ เปิดสอนหลักสูตรด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพ ทั้งในระดับ ประกาศนียบัตร ระดับ ปริญญาตรีและระดับบัณฑิตศึกษามากถึง 10 หลักสูตร จากหลักสูตรที่เปิด สอนทั้งหมด 17 หลักสูตร


2

แม้ว่าหลักสูตร และคณะวิชาสามารถที่ จะดาเนินการให้บริการวิชาการแก่สังคมเป็นไปตาม เกณฑ์การประเมินคุณภาพของสานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาในทุกปีการศึกษา แต่เกณฑ์ที่ มหาวิทยาลัยฯกาหนดโดยเฉพาะในประเด็นการให้บริการวิชาการที่ช่วยเพิ่มพูนรายได้ให้แก่หลักสูตร และคณะวิชาอาจกล่าวได้ว่ายังไม่สามารถดาเนินการได้อย่างต่อเนื่อง และเป็นไปตามความคาดหวัง ของมหาวิทยาลัยฯ ที่จะผลักดันให้แต่ละหลักสูตรสามารถมีรายได้จากการให้บริการวิชาการแก่สังคม จนนาไปสู่การพึ่งพาตนเองได้ในระดับหนึ่ง นอกเหนือจากการพึ่งพารายได้ที่มีที่มาจากการลงทะเบียน เรียนของนักศึกษาในแต่ละหลักสูตร เนื่องจากมหาวิทยาลัยแห่งนี้ ในฐานะที่เป็นมหาวิทยาลัยเอกชน ย่อมมีบริบทของการบริหารจัดการอุดมศึกษาที่แตกต่างไปจากสถาบันอุดมศึกษาของรัฐที่ได้ รับการ สนับสนุนงบประมาณจากรัฐบาลอย่างต่อเนื่อง จากการสารวจข้อมูลจานวนโครงการให้บริการวิชาการแก่สังคม และจานวนรายรับเหนือ รายจากจากการให้บริการวิชาการแก่สังคม ของมหาวิทยาลัยเอกชนแห่งนี้ ตั้งแต่ปีการศึกษา 25552560 พบว่า จ านวนโครงการให้ บ ริการวิช าการแก่สังคมประเภทให้ เปล่าและประเภทมีรายได้มี สัดส่วนที่ใกล้เคียงกัน แต่หากพิจารณาโครงการประเภทที่มีรายได้จะพบว่าจานวนโครงการมีแนวโน้ม ทีไ่ ม่แน่นอนในแต่ละปี และลดลงในช่วงปี 2559-2560 ดังแสดงในตาราง ตารางที่ 1 แสดงจานวนโครงการบริการวิชาการของมหาวิทยาลัยเอกชนแห่งหนึ่ง ปีกำรศึกษำ 2555 2556 2557 2558 2559 2560

มีรำยได้ 16 24 18 22 14 16

จำนวนโครงกำรบริกำรวิชำกำร ให้เปล่ำ รวมทั้งหมด 29 43 24 48 16 34 18 40 13 27 19 35

นอกจากนี้ หากพิจารณาจากจานวนหลักสูตรด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพที่เปิดสอน ซึ่งได้มีส่วน ร่ ว มในการให้ บ ริ ก ารวิช าการแก่ สั งคมแบบมี ร ายได้ ของปี ก ารศึ ก ษา 2560 จะพบว่า โดยเฉลี่ ย หลักสูตรหนึ่งหลักสูตรจะจัดโครงการจานวน 1-2 โครงการต่อปีการศึกษา หลักสูตรที่มีรายได้สูงสุด อยู่ที่ 837,312.62 บาท และหลักสูตรที่มีรายได้ต่าสุดอยู่ที่ 3,349 บาท ความแตกต่างของรายได้ ในทางธุรกิจอาจประเมินได้ว่า การวางแผนและการกาหนดกลยุทธ์ทางด้านการตลาดอาจยังไม่ชัดเจน ดั งนั้ น การมี เครื่ อ งมื อ ทางการตลาด จึ ง เป็ น สิ่ ง ที่ ทุ ก หลั ก สู ต รด้ า นวิ ท ยาศาสตร์ สุ ข ภาพควรให้ ความสาคัญและนาไปพิจารณาทบทวนการดาเนินงานเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดโครงการ บริการวิชาการแบบมีรายได้ให้เป็นไปตามเป้าหมาย จากการสารวจงานศึกษาวิจัยเกี่ยวกับการส่งเสริมการให้บริการวิชาการแก่สังคมเพื่อสร้าง รายได้แก่สถาบันอุดมศึกษาจานวนหนึ่ง เช่น รอฮานา ดาคาเฮง และคณะ (2556) เรื่อง ปัจจัยที่มีผล ต่อการบริการวิชาการแก่สังคมของอาจารย์ในมหาวิทยาลั ยราชภัฏยะลา เพลินพิศ จุฬพันธ์ทอง และ คณะ (2557) เรื่อ งการพั ฒ นากลยุท ธ์การบริการวิช าการแก่สั งคมของมหาวิท ยาลั ย ราชภั ฏ กลุ่ ม ภาคเหนือตอนล่าง เครือวัลย์ อินทรสุข (2558) เรื่อง การพัฒนาประสิทธิภาพการให้บริการวิชาการ


3

ของสาขาวิชานิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์ ธันยพร อริยะเศรณี (2558) เรื่อง ความ คิดเห็นของบุคลากรที่มีต่อการดาเนินงานบริการวิชาการแก่สังคมของมหาวิ ทยาลัยเทคโนโลยีราช มงคลศรีวิชัย ภัทรธิดา วัฒนาพรรณกิตติ (2558) เรื่อง ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อประสิทธิผลการบริการ วิชาการแก่สังคมของมหาวิทยาลัยราชภัฏกลุ่มภาคเหนือ ข้อค้นพบจากการวิจัยเหล่านี้ทาให้เห็ น กลยุทธ์การตลาดที่ จะส่งเสริมการให้ บริการวิชาการแก่สังคม จากมุมมองของผู้ให้บริการอันได้แก่ ผู้บริหารหรืออาจารย์ประจาหลักสูตร คณะวิชา รวมทั้งทราบถึงแนวคิด กลวิธีต่างๆ ที่จะใช้ในการ ดาเนินงานอย่างมีทิศทาง ซึ่งสามารถเป็นแนวทางสาหรับการทาวิจัยในครั้งนี้ได้ เมื่อประมวลข้อมูลข้างต้น จะเห็ นได้ว่า จานวนโครงการบริการวิ ช าการแบบมีรายได้ของ มหาวิทยาลัยฯของหลักสูตรด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพมีแนวโน้มลดลง และรายได้จากการให้บริการซึ่ง มีความแตกต่างกันมากในแต่ละหลักสูตร จึงจาเป็นต้องการนาแนวคิดกลยุทธ์ด้านการตลาด อันเป็น แนวคิดที่ใช้ในการกาหนดกลยุทธ์ทางธุรกิจ เพื่อเพิ่ม มูลค่าหรือสร้างความอยู่รอดขององค์กร มาทา การวิจัยเพื่อค้ นหาคาตอบจากมุมมองของผู้บริหาร อาจารย์ที่มีบทบาทของผู้ให้บริการวิชาการว่า แนวคิดดังกล่าวจะมีส่วนช่วยในการสนับสนุนการจัดบริการวิชาการแก่สังคมของมหาวิทยาลัยเอกชน แห่งนี้ได้อย่างไร คำถำมกำรวิจัย 1. กลยุทธ์การตลาดที่มีส่วนสนับสนุนการจัดโครงการบริการวิชาการแก่ สังคมแบบมีรายได้ ของหลักสูตรด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพ ประกอบด้วยอะไรบ้าง 2. ปัญหา และแนวทางส่งเสริมการจัดบริการวิชาการแก่สังคมแบบมีรายได้ของหลักสูตรด้าน วิทยาศาสตร์สุขภาพ เป็นอย่างไร วัตถุประสงค์ของกำรวิจัย 1. วิเคราะห์กลยุทธ์การตลาดที่มีส่วนสนับสนุนการจัดโครงการบริการวิชาการแก่สังคมแบบ มีรายได้ของหลักสูตรด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพ 2. ศึกษาสภาพปัญหา และแนวทางการส่งเสริมกลยุทธ์การตลาดการจัดบริการวิชาการแก่ สังคมแบบมีรายได้ของหลักสูตรด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพ กรอบแนวคิดกำรวิจัย กรอบแนวคิ ด การศึ ก ษาวิ จั ย ในครั้ ง นี้ ได้ ป ระยุ ก ต์ แ นวคิ ด กลยุ ท ธ์ ก ารตลาด (7Ps) ของ Kotler, Philip and Keller Kelvin Lane (2016) มาปรั บ ให้ ส อดคล้ อ งกั บ บริ บ ทของการ ให้บริการวิชาการแก่สังคมของสถาบันอุดมศึกษา เพื่อศึกษาการนากลยุทธ์ทางการตลาดมาใช้เป็น แนวทางการส่งเสริมการจัดบริการวิชาการแก่สังคม และใช้แนวคิดเกี่ยวกั บการพัฒนาคุณภาพการ บริการวิชาการแก่สังคมที่สร้างคุณค่าตามแนวคิดของเบญจวรรณ ทิมสุวรรณ และกรกนก ลัทธนันท์ (2556) รวมทั้งแนวคิดปัจจัยการบริหาร (4M) มาเป็นแนวทางในการศึกษาศึกษาสภาพปัญหาการ จัดบริการวิชาการแก่สังคม ซึ่งกาหนดเป็นกรอบการวิจัย ดังนี้


4

กลยุทธ์ทางการตลาดที่ สนับสนุนการจัดบริการ วิชาการแก่สังคมแบบมี รายได้ของหลักสูตรด้าน วิทยาศาสตร์สุขภาพ

กลยุทธ์ทางการตลาด (7Ps) 1. ด้านผลิตภัณฑ์ (Product) 2. ด้านราคา (Price) 3. ด้านช่องทางการจัดจาหน่าย (Place/Channel Distribution) 4. ด้านการส่งเสริมการตลาด (Promotion) 5. ด้านบุคคล (People) 6. ด้านลักษณะทางกายภาพ (Physical Evidence) 7. ด้านกระบวนการ (Process)

สภาพปัญหาการจัดบริการวิชาการแก่สังคมแบบมีรายได้ 1. ปัญหาเชิงทฤษฎี 1.1 การเชื่อมโยงโครงการบริการที่บูรณาการกับการจัด เรียนการสอนและการวิจัย 1.2 การพัฒนาคุณภาพกระบวนการให้บริการวิชาการ 1.3 การประเมินผลประโยชน์/ ผลกระทบของการให้บริการ วิชาการ 2. ปัญหาการบริหารทรัพยากร 2.1 บุคคล 2.2 เงิน 2.3 ทรัพยากรหรือวัตถุ 2.4 การบริหารจัดการ

ภาพที่ 1 กรอบแนวคิดการวิจัย ขอบเขตของกำรวิจัย 1. การศึกษาวิจัยในครั้งนี้มุ่งศึกษาวิเคราะห์ การนากลยุทธ์การตลาดที่มีส่วนสนับสนุนการ จัดบริการวิชาการแก่สังคมแบบมีรายได้ของหลักสูตรด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพ รวมทั้ง ศึกษาสภาพ ปัญหาและแนวทางการส่งเสริมกลยุทธ์การตลาดการจัดบริการวิชาการแก่สังคมแบบมีรายได้ของ หลักสูตรด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพ โดยประยุกต์แนวคิด กลยุทธ์การตลาดของ Kotler, Philip and Keller Kelvin Lane (2016) และแนวคิดเกี่ยวกับการพัฒนาคุณภาพการบริการวิชาการแก่สังคม ที่สร้างคุณค่าตามแนวคิดของเบญจวรรณ ทิมสุวรรณ และกรกนก ลัทธนันท์ (2556) รวมทั้งแนวคิด ปัจจัยการบริหาร (4M) เป็นแนวทางในการศึกษาวิจัย 2. ประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ คือ บุคลากรของมหาวิทยาลัย เอกชนแห่งหนึ่งในจังหวัด นครปฐม ประกอบด้วยผู้บริหาร และอาจารย์ ในสังกัดคณะวิชาด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพ


5

3. การศึกษาวิจัยในครั้งนี้มีระยะเวลาดาเนินการตั้งแต่เดือนสิงหาคม พ.ศ.2562-พฤษภาคม พ.ศ.2563 นิยำมตัวแปรที่ใช้ในกำรศึกษำวิจัย 1. กลยุ ท ธ์ ท ำงกำรตลำด (7Ps) หมายถึ ง ความคิ ด เห็ น เกี่ ย วกั บ วิธี ก ารหรื อ แนวทางที่ หลักสูตร คณะวิชาด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพใช้ในการดาเนินการเพื่อสนับสนุนการจัดโครงการบริการ วิช าการแก่ สั งคมแบบมี ร ายได้ ซึ่ งประกอบไปด้ ว ยกลยุ ท ธ์จ านวน 7 ด้ าน ได้แ ก่ ด้ านผลิ ต ภั ณ ฑ์ (Product) ด้านราคา (Price) ด้านช่อ งทางการจัดจาหน่าย (Place/Channel Distribution) ด้าน การส่ งเสริมการตลาด (Promotion) ด้านบุ คคล (People) ด้านลั กษณะทางกายภาพ (Physical Evidence) ด้านกระบวนการ (Process) 1.1 ด้านผลิตภัณฑ์ (Product) หมายถึง ความคิดเห็นเกี่ยวกับการนาเสนอโครงการ บริ การวิช าการแก่สั งคมของหลั ก สู ตร คณะวิช าด้ านวิท ยาศาสตร์สุ ขภาพ ที่ มี เอกลั ก ษณ์ คุ ณ ค่ า สามารถที่ จ ะตอบสนองต่อความต้อ งการของผู้ ที่ จะมาใช้บ ริการวิช าการกลุ่ ม ต่างๆ เช่น รูป แบบ โครงการที่แปลกใหม่ สร้างสรรค์ มีนวัตกรรม ความรู้ที่ทันสมัย การวิเคราะห์ความต้องการของ กลุ่มเป้าหมาย การบูรณาการความรู้สหสาขาวิชา การประยุกต์ประโยชน์สาหรับองค์กร การเป็น หลักสูตรที่มีคะแนนหน่วยนับจากสภาวิชาชีพ เป็นต้น 1.2 ด้านราคา (Price) หมายถึง ความคิดเห็นเกี่ยวกับการกาหนดราคาสาหรับการ จัดบริการวิชาการแก่สังคมของหลักสูตร และคณะวิชาด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพ เช่น ความเหมาะสม ของราคาในการจั ดบริการ การพิ จารณาความคุ้มค่ าคุ้ม ทุน การเปรียบเที ยบราคากับ คู่แ ข่งขั น การกาหนดสิทธิพิเศษด้านราคา การแสดงรายการค่าใช้จ่าย การชาระเงิน เป็นต้น 1.3 ด้านช่องทางการจัดจาหน่าย (Place/Channel Distribution) หมายถึง ความ คิ ด เห็ น เกี่ ย วกั บ การก าหนดวิ ธีก ารในการน าเสนอการจั ด โครงการบริก ารวิช าการแก่ สั งคมของ หลักสูตรและคณะวิชาด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพ ต่อผู้มาใช้บริการให้รับรู้ อย่างชัดเจน และทั่วถึงใน ข้อมูลต่างๆ ได้แก่ สถานที่จัด การติดต่อประสานงาน การแสดงข้อมูลต่างๆ รวมทั้ง ช่องทางในการ นาเสนอบริการต่างๆ 1.4 ด้านการส่งเสริมการตลาด (Promotion) หมายถึง ความคิดเห็นเกี่ยวกับ การ ส่ งเสริ ม การน าเสนอการจั ด โครงการบริ ก ารวิ ช าการแก่ สั ง คมของหลั ก สู ต รและคณะวิ ช าด้ า น วิทยาศาสตร์สุขภาพ ต่อผู้ใช้บริการเพื่อให้ข้อมูล หรือชักจูงผู้ใช้บริการให้เข้ามาใช้บริการด้วยการ ประชาสัมพันธ์ผ่านช่องทางต่างๆ เช่น สื่อสิ่งพิมพ์ สื่อออนไลน์ สื่อบุคคลที่เคยมาใช้บริการ เครือข่าย สังคมออนไลน์ เครือข่ายองค์กรด้านสุขภาพ เครือข่ายศิษย์เก่า การจัดทาเวปเพ็จประชาสัมพันธ์ เป็นต้น 1.5 ด้านบุคคล (People) หมายถึง ความคิดเห็นเกี่ยวกับการจัดบุคลากร อันได้แก่ ผู้บริหาร อาจารย์ และพนักงาน ที่มีคุณสมบัติในการให้บริการวิชาการโดยพิจารณาจากความสามารถ ทัศนคติที่ดี บุคลิกภาพ มนุษยสัมพันธ์ ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ความสามารถในการแก้ไขปัญหา เฉพาะหน้า เป็นต้น ซึ่งคุณสมบัติเหล่านี้จะช่วยสามารถตอบสนองต่อความต้องการของผู้ใช้บริการ และการบริหารจัดโครงการบริการวิชาการได้อย่างมีประสิทธิภาพ


6

1.6 ด้ า นลั ก ษณะทางกายภาพ (Physical Evidence) หมายถึ ง ความคิ ด เห็ น เกี่ยวกับการสร้างและน าเสนอภาพลักษณ์ ทั้งที่เป็นรูปธรรมและนามธรรมให้แก่ผู้มาใช้รับรู้ว่าควร เลือกใช้บริการวิชาการของหลักสูตร คณะวิชาด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพ ได้แก่ การเลือกสรรสถานที่ จัดบริการ การแสดงถึงความเป็นมืออาชีพของผู้ให้บริการ คุณสมบัติของวิทยากร การจัดบรรยากาศ ในการให้บริการ การสร้างความสัมพันธ์กับผู้ใช้บริการ การแสดงถึงความมีมาตรฐานในเรื่องอุปกรณ์ สิ่งอานวยความสะดวก เป็นต้น 1.7 ด้านกระบวนการ (Process) หมายถึง ความคิดเห็นเกี่ยวกับ กระบวนการให้ บริ ห ารจั ด โครงการบริ ก ารวิช าการแก่ สั งคมของหลั ก สู ต ร คณะวิ ช าด้ านวิท ยาศาสตร์สุ ข ภาพที่ ก่อให้เกิดประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน ได้แก่ ระเบียบปฏิบัติ กฎเกณฑ์ที่ชัดเจน การแบ่งหน้าที่ รับ ผิ ดชอบ การลดขั้น ตอนการบริ ห ารจั ดการ การป้ องกัน ความเสี่ ยงหรือ ลดข้อ ผิ ด พลาดในการ ปฏิบัติงาน รวมทั้ งวิธีการที่จะสร้างความประทับใจแก่ผู้มาใช้บริการ และความภักดีที่จะใช้บริการ อย่างต่อเนื่อง 2. สภำพปั ญ หำกำรจั ด บริ ก ำรวิ ช ำกำรแก่ สั งคมแบบมี ร ำยได้ หมายถึง ความคิ ด เห็ น เกี่ยวกับสาเหตุที่เป็นอุปสรรค สนับสนุนการให้บริการวิชาการแก่สังคมแบบมีรายได้ของหลักสูตร คณะวิชาด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพ ประกอบด้วย 2 ส่วนคือ ปัญหาในเชิงทฤษฎี และปัญหาจากการ บริหารทรัพยากรการดาเนินงาน 2.1 ปั ญ หาในเชิ งทฤษฎี หมายถึ ง ความคิ ด เห็ น เกี่ ย วกั บ สภาพปั ญ หาของการ เชื่อมโยงโครงการบริการที่บู รณาการกับการจัดเรียนการสอน และการวิจัย การพั ฒ นาคุณ ภาพ กระบวนการให้บริการวิชาการ รวมทั้งการประเมินผลประโยชน์/ผลประทบของการให้บริการวิชาการ 2.2.1 การเชื่อมโยงโครงการบริการที่บูรณาการกับการจัดเรียนการสอน และการวิจัย หมายถึง ความคิดเห็นเกี่ยวกับสภาพปัญหาในการเชื่อมโยงการให้บริการวิชาการแก่ สังคมกับรายวิชาที่ทาการจัดการเรียนการสอน หรือการทาวิจัยได้อย่างชัดเจน เช่น เนื้อหาสาระของ รายวิช าที่ จ ะใช้ ในการบู ร ณาการกั บ การจั ด โครงการ การส่ งเสริ ม ให้ นั ก ศึ ก ษามี ส่ ว นร่ว มในการ ดาเนินการ การกาหนดกิจกรรมที่นักศึกษาต้องดาเนินการ ผลประโยชน์ที่นักศึกษาจะได้รับจากการ จั ดโครงการ การกาหนดโจทย์ ห รือ ประเด็ น การวิจัย ที่ พ บระหว่างการให้ บ ริก ารวิช าการ การน า ผลการวิจั ยไปสู่การใช้ป ระโยชน์ กับทุกภาคส่ วน การนาความรู้และประสบการณ์ จากการบริการ กลับมาพัฒนาต่อยอดไปสู่การสร้างความรู้ใหม่ผ่านกระบวนการวิจัย เป็นต้น 2.2.2 การพัฒนาคุณภาพกระบวนการให้บริการวิชาการ หมายถึง ความ คิดเห็นเกี่ยวกับสภาพปัญหาในเรื่องความรู้และความเข้าใจหลักการและเกณฑ์การประเมินคุณภาพ การประเมินความต้องการหรือความจาเป็นจากผู้ใช้บริการการสร้างและขยายเครือข่ายกับหน่วยงาน ในการให้บ ริการวิช าการ การเชื่อมโยงการให้ บริการกับศูนย์ความเป็นเลิศของสถาบันอุดมศึกษา รวมทั้งให้ความสาคัญกับการจัดบริการวิชาการอย่างมีระบบตามวงจรการควบคุมคุณภาพ (PDCA) ตลอดจนส่งเสริมให้อาจารย์มีความเชี่ยวชาญ การกาหนดแผนงานอย่างมีทิศทาง การให้บริการที่ ชัดเจนเป็นไปตามจุดเน้นของสถาบัน และการทางานเป็นทีม เป็นต้น 2.2.3 การประเมิ น ผลประโยชน์ /ผลกระทบของการให้ บ ริก ารวิช าการ หมายถึง ความคิดเห็ น เกี่ยวกับ สภาพปัญ หาในเรื่องความรู้ ความเข้าใจและการปฏิบัติการวัดผล


7

ความสาเร็จจากการจัดโครงการให้บริการวิชาการ โดยวัดผลจากนักศึกษา หรือผู้มาใช้บริการ และมี การกาหนดวิธีการประเมินผลตามตัวชี้วัดที่กาหนดไว้ ผลกระทบของการให้บริการ รวมทั้งมีการนาผล การประเมินไปปรับปรุงส่งเสริมการดาเนินงานในขั้นตอนต่างๆให้ดียิ่งขึ้น เป็นต้น 2.2 ปัญหาจากการบริหารทรัพยากรการดาเนินงาน หมายถึง ความคิดเห็นเกี่ยวกับ สภาพปั ญ หาของการบริ ห ารจั ด การบริการวิช าการแก่ สั งคม ซึ่ งประกอบด้ ว ยปั จจั ย 4 ประการ ได้ แ ก่ บุ ค คล (Man) เงิ น (Money) ทรั พ ยากรหรื อ วั ส ดุ (Materials) และการบริ ห ารจั ด การ (Management) 2.2.1 บุคลากรในสังกัดหลักสูตร คณะวิชา หมายถึง ความคิดเห็นเกี่ยวกับ สภาพปั ญ หาของการมีส่ ว นร่ว มในการทาพั นธกิจการบริการวิช าการแก่ สั งคม โดยมีก ารกาหนด ผู้รับผิดชอบอย่างเหมาะสม การมอบภาระงานที่ชัดเจน การให้ อานาจการตัดสินใจ การนาเสนอ แนวคิด และร่วมประเมินผลการจัดบริการวิชาการแก่สังคม เป็นต้น 2.2.2 เงินสนับสนุน การบริการวิชาการแก่สังคม หมายถึง ความคิดเห็ น เกี่ยวกับสภาพปัญหาของการกาหนดงบประมาณอย่างเหมาะสม การวิเคราะห์ความคุ้มค่าคุ้มทุน การ จัดทารายละเอียดค่าใช้จ่ายที่ครอบคลุมแผนงาน การได้รับความสะดวกในการอนุมัติเบิกจ่ายเงิน การควบคุมการใช้จ่ายงบประมาณ และมีการรายงานประเมินผลการใช้งบประมาณที่ชัดเจนถูกต้อง ตามระเบียบของมหาวิทยาลัยฯ 2.2.3 ทรั พ ยากรหรื อ วั ส ดุ ส นั บ สนุ น การจั ด บริ ก ารวิ ช าการแก่ สั ง คม หมายถึ ง ความคิ ด เห็ น เกี่ ย วกั บ สภาพปั ญ หาของการวางแผนการใช้ วั ส ดุ อุ ป กรณ์ ต่ า งๆทั้ ง วั ส ดุ การศึกษา วัสดุสานักงาน หรือวัสดุสิ้นเปลืองและไม่สิ้นเปลือง การใช้ประโยชน์จากวัสดุเหล่านั้นได้ อย่างคุ้มค่า การได้รับความสะดวกจากการจัดซื้อจั ดจ้างวัสดุ หรือการเบิกจ่ายวัสดุ การประเมินผล การใช้วัสดุ และการควบคุมติดตามการใช้วัสดุ เป็นต้น 2.2.4 การบริห ารจั ดการการบริการวิช าการแก่สั งคม หมายถึง ความ คิ ด เห็ น เกี่ ย วกั บ สภาพปั ญ หาของการจั ด การบริ ก ารวิ ช าการแก่ สั งคมตั้ งแต่ ต้ น ทางจนถึ ง สิ้ น สุ ด กระบวนการได้ อย่ า งมี ป ระสิ ท ธิภ าพครอบคลุ ม ตั้ งแต่ ก ารวางแผน การก าหนดรายละเอี ย ดงาน การประสานงาน การติ ด ต่ อ สื่ อ สาร การควบคุ ม ติ ด ตามการด าเนิ น งาน การบริห ารความเสี่ ย ง การประเมินผลการจัดบริการวิชาการ รวมทั้งมีการนาผลจากการประเมินไปปรับปรุงการจัดบริการใน ครั้งต่อไป 3. หลักสูตรด้ำนวิทยำศำสตร์สุขภำพ หมายถึง ผู้ให้บริการวิชาการแก่สังคม ได้แก่ ผู้บริหาร อาจารย์ และพนักงานในสังกัดทุกหลักสูตรด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพของมหาวิทยาลัยเอกชนแห่งหนึ่ง ประกอบด้วย 3.1 คณะพยาบาลศาสตร์ ประกอบด้ ว ย หลั ก สู ต รพยาบาลศาสตรบั ณ ฑิ ต Bachelor of Nursing Science หลักสูตรพยาบาลศาสตมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารทางการ พยาบาล และหลักสูตรพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ


8

3.2 คณะวิ ท ยาศาสตร์ สุ ข ภาพ ได้ แ ก่ หลั ก สู ต รวิ ท ยาศาสตรบั ณ ฑิ ต สาขาวิ ช า กายภาพบ าบั ด หลั กสู ตรวิท ยาศาสตรบั ณ ฑิ ต สาขาวิช านวัต กรรมเทคโนโลยีอาหาร หลั กสู ต ร วิ ศ วกรรมศาสตรบั ณ ฑิ ต สาขาวิ ช าวิ ศ วกรรมชี ว การแพทย์ และหลั ก สู ต รวิ ท ยาศาสตรบั ณ ฑิ ต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การกีฬาและการออกกาลังกาย


9

บทที่ 2 การทบทวนวรรณกรรม การวิจัย เรื่อง กลยุทธ์ทางการตลาดที่สนับสนุนการจัดโครงการบริการวิชาการแก่สังคมแบบ มีรายได้ของหลักสูตรด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพสังกัดมหาวิทยาลัยเอกชนแห่งหนึ่งในจังหวัดนครปฐม ผู้วิจัยได้ทบทวนแนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวข้องเพื่อใช้เป็นแนวทางในการศึกษาวิจัย ดังนี้ 1. บริบทของสถาบันอุดมศึกษาในการจัดบริการวิชาการแก่สังคม 1.1 กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับกาหนดบทบาทการจัดบริการวิชาการแก่สังคม 1.2 ลักษณะการจัดบริการวิชาการของสถาบันอุดมศึกษาแบบมีรายได้ 1.3 ปัจจัยการบริหารจัดการบริการวิชาการของสถาบันอุดมศึกษา 1.4 การให้บริการวิชาการแก่สังคมของมหาวิทยาลัยเอกชนแห่งหนึ่ง 2. แนวคิดเกี่ยวกับกลยุทธ์การตลาด 2.1 ความหมายของกลยุทธ์การตลาด 2.2 องค์ประกอบการพิจารณากลยุทธ์การตลาด 2.3 กลยุทธ์การตลาด (7Ps) 3. แนวคิดเกี่ยวกับการบริการวิชาการแก่สังคม 3.1 ความหมายของการให้บริการวิชาการ 3.2 ประเภทของการให้บริการวิชาการ 3.3 รูปแบบของการให้บริการวิชาการ 3.4 หลักการให้บริการวิชาการ 3.5 การพัฒนาคุณภาพการให้บริการวิชาการ บริบทของสถาบันอุดมศึกษาในการจัดบริการวิชาการแก่สังคม กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับกาหนดบทบาทการจัดบริการวิชาการแก่สังคม กฎหมายที่ เกี่ ย วข้ อ งกั บ การก าหนดให้ ส ถาบั น อุ ด มศึ ก ษาเอกชน ท าหน้ าที่ เกี่ ย วกั บ การ จัดบริการวิชาการแก่สังคม ได้แก่ ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง มาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ. 2561 ได้ระบุ มาตรฐานด้านการจัดบริการวิชาการแก่สังคม ของสถาบันอุดมศึกษาไว้ ดังนี้ มาตรฐานที่ 3 ด้านการบริการวิชาการ สถาบั น อุดมศึกษาให้ บ ริ การวิช าการเหมาะสม สอดคล้ องกับบริบทและตอบสนองความ ต้องการ ของท้องถิ่น ชุมชน และสังคม ตามระดับความเชี่ยวชาญและอัตลักษณ์ของประเภทสถาบัน โดยมีการบริห ารจัดการที่ประสานความร่วมมือระหว่างสถาบันอุดมศึกษาภาครัฐและภาคเอกชน ทั้งในและต่างประเทศ และมีความโปร่งใส ชัดเจน และตรวจสอบได้ ผลลัพธ์ของการบริการวิชาการ น าไปสู่ ก ารเสริ ม สร้ า งความเข้ ม แข็ งและความยั่ งยื น ของผู้ เรี ย น ครอบครั ว ชุ ม ชน สั ง คม และ ประเทศชาติ


10

นอกจากนี้ สานั กงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ได้จัดทาประกาศคณะกรรมการการ อุ ด มศึ ก ษา เรื่ อ ง แนวทางการน ามาตรฐานการอุ ด มศึ ก ษาไปสู่ ก ารปฏิ บั ติ พ.ศ. 2561 เพื่ อ ให้ สถาบันอุดมศึกษามีแนวทางในการนามาตรฐานด้านการให้บริการวิชาการไปสู่การปฏิบัติให้เกิดผล ดังนี้ 1. สถาบันอุดมศึกษาพึงกาหนดนโยบายและทิศทางการบริการวิชาการเพื่อให้เกิด ประโยชน์กับชุมชน สังคม และประเทศชาติ ตามจุดเน้นและอัตลักษณ์ของประเภทของสถาบันและ ตามความได้เปรียบเชิงทรัพยากรและเชิงพื้นที่ของสถาบัน ทั้งนี้ ควรให้ความสาคัญกับการบริการ วิชาการที่ครอบลคลุมทั้งการบริการวิชาการแบบมีรายได้ แบบให้เปล่าหรือไม่หวังผลกาไร มีผลงาน บริการวิชาการที่สามารถสร้างคุณค่าที่พิจารณาจากรายได้ และหรือ สามารถสร้างคุณค่าที่ไม่เน้น รายได้ 2. สถาบันอุดมศึกษาพึงกากับดูแลกระบวนการให้บริการวิชาการที่มีความโปร่งใส และตรวจสอบได้ โดยมุ่งเน้ นผลลัพธ์ที่ตอบสนองและสร้างประโยชน์แก่ชุมชน ท้องถิ่น และสังคม ตามความเชี่ยวชาญและอัตลักษณ์ของสถาบัน 3. สถาบั นอุดมศึกษาพึงประสานความร่วมมือระหว่างสถาบันอุดมศึกษา องค์กร ภาครั ฐ และภาคเอกชน ทั้ ง ในและต่ า งประเทศ เพื่ อ ส่ ง ผลให้ เกิ ด ประโยชน์ ต่ อ สั งคมและความ เปลี่ ย นแปลงในทางที่ ดี ขึ้ น ทางด้ า นใดด้ า นหนึ่ งหรื อ หลายด้ า นเกี่ ย วกั บ ท้ อ งถิ่ น ชุ ม ชน วิ ถี ชี วิ ต ศิลปวัฒนธรรม สิ่งแวดล้อม อาชีพ เศรษฐกิจ การเมืองการปกครอง คุณภาพชีวิตหรือสุขภาพที่ดี โดย มีการติดตามความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น 4. สถาบันอุดมศึกษาพึงส่งเสริมการบริหารหรือการจัดทาหลักสูตรที่บูรณาการการ เรี ย นการสอน การวิ จั ย และการบริ ก ารวิ ช าการ เพื่ อ ให้ ผู้ เรี ย นมี ป ระสบการณ์ ในการเรี ย นรู้ ที่ ตอบสนองความต้องการของสังคม และเรียนรู้เพื่อรับใช้สังคม รวมทั้ง การส่งเสริมการเผยแพร่การ บริการวิชาการในรูปแบบต่างๆ เช่น ศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบ 5. สถาบันอุดมศึกษากากับดูแลให้มีการประกันคุณภาพการบริการวิชาการและมี การกากับติดตามผลการให้บริการอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง ลักษณะของการจัดบริการวิชาการของสถาบันอุดมศึกษาแบบมีรายได้ การจั ด บริ ก ารวิ ช าการแก่ สั ง คมแบบมี ร ายได้ ข องสถาบั น อุ ด มศึ ก ษามี ลั ก ษณะ ดั ง นี้ (มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต, 2562) 1. การให้ บ ริ ก ารวิ ช าการแก่ ห น่ ว ยงานและบุ ค คลทั้ ง ภายในและภายนอก มหาวิทยาลัย จะต้องผ่านระบบและกลไกการบริหาร และกระบวนการดาเนินงานของหลักสูตร คณะ วิชาหรือหน่ วยงาน ซึ่งมีผู้ รับ ผิดชอบในรูปคณะกรรมการบริห ารที่เรียกว่า คณะกรรมการบริห าร โครงการบริการวิชาการ 2. การพิจารณาจัดโครงการ ให้คานึงถึงหลักเกณฑ์ ดังนี้ 2.1 เป็ น งานที่ ต้ อ งใช้ ค วามรู้ ความสามารถทางวิ ช าการที่ ค ณะวิ ช า/ หน่วยงานที่รับผิดชอบและอยู่ในวิสัยและความสามารถที่คณะวิชา/หน่วยงานจะดาเนินการให้ลุล่วง สาเร็จประโยชน์ได้


11

2.2 เป็นงานที่มีอยู่ในแผนดาเนินการหรือมีความสอดคล้องกับนโยบายของ สถาบัน 2.3 เป็นงานที่ได้รับค่าตอบแทน หรือค่าบริการเพียงพอกับค่าใช้จ่ายต่างๆ 2.4 การจัดทาโครงการบริการวิชาการแก่สังคม จะต้องจัดทาเป็นเอกสาร โครงการเสนอต่อผู้บริหารพิจารณาอนุมัติ 2.5 โครงการบริ ก ารวิ ช าการใดที่ จั ด ท าต่ อ เนื่ อ ง โดยมี อั ต ราจั ด เก็ บ ค่าบริการ และการบริหารงบประมาณ การกาหนดค่าใช้จ่าย และการแบ่งสัดส่วนรายได้ตอบแทนไม่ เปลี่ยนแปลงในสาระสาคัญให้ขออนุมัติผู้บริหารพิจารณาเพียงครั้งแรกครั้งเดียว 3. การติดตามผลการดาเนินงาน ควรกาหนดให้มีการติดตามผลการดาเนินงานการ จัดบริการวิชาการแก่สังคมในระหว่างดาเนินการเป็นระยะโดยมีการจัดทาเอกสารชี้แจงอย่างเป็น ทางการต่อคณะกรรมการบริหารโครงการ คณะวิชา และสถาบัน เพื่อรับทราบ และสนับสนุนส่งเสริม หรือร่วมหาทางการแก้ไขปัญหา อุปสรรคในการดาเนินงาน 4. การรายงานผลการดาเนินงาน ควรดาเนินการ ดังนี้ 4.1 รายงานผลการดาเนินงานในเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ ตามตัวชี้วัด ความสาเร็จที่กาหนดไว้ 4.2 การรายงานทางการเงิ น คื อ การรวบรวมหลั ก ฐานการใช้ จ าย งบประมาณ นาส่งให้กับมหาวิทยาลัย เพื่อทาการตรวจสอบ ซึ่งผู้รับผิดชอบโครงการต้องดาเนินการ ให้ทันตามระยะเวลาที่กาหนด นับจากเสร็จสิ้นโครงการ นอกจากนี้สถาบันอุดมศึกษาเอกชน ควรมีแนวปฏิบัติการดาเนินงานด้านการบริการ วิชาการแก่สังคม ดังนี้ (มหาวิทยาลัยพายัพ, 2558) 1. โครงการที่ เกี่ ย วข้ อ งกั บ การบริ ก ารวิ ช าการแก่ สั งคม ควรเป็ น โครงการที่ มุ่ ง เสริมสร้าง การพัฒนา เผยแพร่ความรู้ ทักษะเชิงวิชาการหรือวิชาชีพแก่ชุมชน ท้องถิ่น หรือสังคม 2. โครงการหรื อ กิ จ กรรมที่ เกี่ ย วข้ อ งกั บ การบริ ก ารวิ ช าการแก่ สั งคม ควรเป็ น กิจ กรรมที่ ได้ รั บ ความร่ ว มมื อ หรื อ สนั บ สนุ น จากผู้ มี ส่ ว นได้ ส่ ว นเสี ย ในการด าเนิ น กิ จกรรม เช่ น บุคลากร นักศึกษา ภาครัฐ ภาคเอกชน หน่วยงานวิชาชีพ ชุมชน หรือหน่วยสังคมอื่น ๆ เป็นต้น 3. โครงการหรื อ กิ จ กรรมที่ เกี่ ย วข้ อ งกั บ การบริ ก ารวิ ช าการแก่ สั ง คม ควรเป็ น โครงการหรือกิจกรรมการบริการทางวิชาการแก่สังคมที่บูรณาการเข้ากับการเรียนการสอนหรือการ วิจัย เพื่อสนับสนุนให้นักศึกษาสามารถบูรณาการองค์ความรู้นาไปสู่การปฏิบัติได้ตามบริบทของชุมชน ท้องถิ่นหรือสังคม 4. การดาเนินงานโครงการหรือกิจกรรมเกี่ยวกับการบริการวิชาการแก่สังคม ควร สนับสนุน ส่งเสริม ผลักดันให้นักศึกษามีส่วนร่วมในการริเริ่ม สร้างสรรค์ หรือเป็นผู้วางโครงการ เพื่อ เพิ่ มทั กษะ การเขี ย นโครงการ การเสนอโครงการ และเสริ ม สร้างการเรียนรู้เกี่ยวกับ การดาเนิ น โครงการอย่างเป็น ขั้นเป็นตอนตามหลัก PDCA หรือการวางแผน (plan) การดาเนินงานและเก็บ ข้อมูล (do) การประเมินคุณภาพ (check) และการเสนอแนวทางปรับปรุง (act)


12

5. สนับสนุนและส่งเสริมให้นักศึกษาตระหนักและเห็นความสาคัญของการมีวินัย และมีจิตอาสา สามารถนาโครงการด้านการบริการวิชาการแก่สังคมไปปฏิบัติให้ เกิดประโยชน์แก่ ชุมชน ท้องถิ่น หรือ สังคมได้อย่างมีประสิทธิภาพ 6. ส่งเสริมและสนับสนุนให้การดาเนินโครงการด้านการบริการวิชาการแก่สังคม สามารถ บรรลุผลตามวัตถุประสงค์และเป้าหมายที่มีความเป็นไปได้อย่างเป็นรูปธรรมสามารถจะ ดาเนินการได้ อย่างต่อเนื่อง มั่นคง และยั่งยืน 7. ผลจากการดาเนิน งานโครงการหรือกิจกรรมเกี่ยวกั บการบริการวิช าการแก่ สังคมควรให้มีผลที่บ่งบอกถึงความเจริญงอกงามของนักศึกษาที่มีพัฒนาการต่อเนื่องได้ เช่น ความ คิดเห็นต่อ การบริการสาธารณะ ความรู้สึกที่สังเกตเห็นได้จากพฤติกรรมในวิถีชีวิตเป็นต้น 8. การดาเนินงานโครงการ หรือกิจกรรมเกี่ยวกับการบริการวิชาการแก่สังคม ควร สนั บ สนุ น ส่ งเสริมให้ มีความสอดคล้ องกับศักยภาพ หรือความพร้อมของหลั กสู ตรต่อการบริการ วิชาการแก่สังคม ที่แสดงถึงความเจริญงอกงามทางปัญญา ความรู้ ความคิด ทัศนคติ จิตใจ การมี น้าใจเสียสละ การมีส่วนร่วมกับสังคม สามารถแสดงออกให้เห็นถึงความมีวินัยและการมีจิตอาสา และ เป็นที่ยอมรับของสังคมได้ 9. ผลสัมฤทธิ์ของการดาเนินงานตามโครงการหรือกิจกรรมการบริการวิชาการแก่ สังคม ควรได้รับการเผยแพร่ทั้งภายในมหาวิทยาลัย และสู่สาธารณชนผ่านช่องทางการสื่อสารต่าง ๆ ปัจจัยการบริหารจัดการบริการวิชาการของสถาบันอุดมศึกษา การจั ด บริ ก ารวิ ช าการแก่ สั งคมของหลั ก สู ต ร คณะวิ ช าในสถาบั น อุ ด มศึ ก ษาต้ อ งอาศั ย องค์ประกอบหลายด้านในการบริหารงาน โดยเฉพาะต้องมีทรัพยากรอันเป็นปัจจัยพื้นฐานทางการ บริห ารจัดการโดยทั่วไปถือว่าทรัพยากรที่เป็นปัจจัยสาคัญ ของการจัดการมีอยู่ 4 ประการ หรือที่ เรียกว่า 4M ได้แก่ บุคลากรหรือคน (Man) เงินหรืองบประมาณ (Money) วัสดุ อุปกรณ์หรือสิ่งของ (Materials) และการจัดการ (Management) 1. บุ ค ลากรหรื อ คน (Man) เป็ น ผู้ ที่ ป ฏิ บั ติ ภ ารกิ จ และกิ จ กรรมต่ า งๆ ซึ่ ง มี ความสาคัญต่อการจัดบริการวิชาการแก่สังคมของหลักสูตร หรือคณะวิชา ฝ่ายสนับสนุนวิชาการ ผู้บ ริห ารของหลั กสูต ร คณะวิช า และฝ่ ายสนับ สนุนวิช าการต้องอาศัยหลั กในการบริห ารคนเพื่ อ สนับสนุนการจัดบริการวิชาการแก่สังคม โดยคานึงถึงเงื่อนไข ดังนี้ 1.1 การกาหนดผู้รับผิดชอบตามทักษะหรือความชานาญ (Skill) เป็นการ พิจารณาทักษะหรือความสามารถทั้งทางร่างกายและจิตใจในการปฏิบัติ งาน สิ่งที่ควรให้ความสาคัญ มากที่สุด คือ การมอบหมายภาระงาน ตามความถนัดหรือเชี่ยวชาญ ประสบการณ์ (Experience) การมีทักษะเกี่ยวกับการบริหารจัดการ เช่น การประสานงาน ทักษะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ และ การให้บริการ เป็นต้น (เชาว์ โรจนแสง 2555: 38-39) 1.2 การมอบหมายงาน (Delegation) หมายถึง การมอบงานใดงานหนึ่ง หรือโครงการใดโครงการหนึ่งให้อีกคนหนึ่งทา ซึ่งคนที่ถูกมอบหมายงานนั้นอาจเป็นเพื่อนร่วมงานที่ อยู่ในระดับตาแหน่งเท่าเทียมกัน เพื่อนร่วมทีมงานในโครงการเดียวกัน พนักงานที่อยู่ใต้บังคับ บัญชา ของผู้มอบหมายงานหรือบุคคลภายนอกที่องค์กรว่าจ้างมาก็ได้และคนที่ถูกมอบหมายงานนั้นจะมี


13

พันธะสัญญาผูกพันกันว่าจะต้อง ทางานหรือโครงการนั้นให้เสร็จสมบูรณ์ภายในระยะเวลาที่กาหนด เมื่อผู้มอบหมายงานได้มอบหมายงานให้คนอื่นทาแล้ว ผู้มอบหมาย งานไม่เพียงแต่จะโอนภาระงาน นั้นไปให้เขาเท่านั้น แต่ยังรวมไปถึงการโอนความรับผิดชอบไปให้กับเขาด้วย การมอบหมายงานเป็น ทั ก ษะที่ ส าคั ญ ส าหรั บ ผู้ บ ริ ห ารที่ ต้ อ งการใช้ เวลาและทรั พ ยากรของตั ว เองให้ คุ้ ม ค่ า ที่ สุ ด (นิ สิ ต มโนตั้งวรพันธุ์, 2554) 1.3 กาหนดระดับของอานาจหรือกระจายอานาจแก่บุคคล เป็นการมอบ อานาจให้ตัดสินใจจากผู้บริหาร โดยผู้บริหารสามารถพิจารณาเลือกระดับตามความเหมาะสมได้ ดังนี้ 1.3.1 ให้ผู้รับมอบหมายงานมีสิทธิ์ตัดสินใจและดาเนินการ ตามที่ ตัดสินใจได้เลยโดยไม่จาเป็นต้องปรึกษาผู้บริหารก่อน 1.3.2 ให้ผู้รับมอบหมายงานตัดสินใจเท่าที่จาเป็น และต้องแจ้งให้ ผู้บริหารทราบก่อนที่จะดาเนินการ 1.3.3 เปิดโอกาสให้แสดงความคิดเห็ นเกี่ยวกับการตัดสินใจ ของ ผู้บริหาร 1.3.4 เปิ ด โอกาสให้ เสนอแนะทางเลื อ กหลายๆ ทางเพื่ อ ให้ ผู้ บริหารตัดสินใจ 1.3.5 ให้ ผู้ รั บ มอบหมายงานน าเสนอข้ อ มู ล ที่ เกี่ ย วข้ อ งเพื่ อ ให้ ผู้ประกอบการมีทางเลือกมากขึ้น และตัดสินใจโดยอาศัยข้อมูลที่ ได้รับมา จากนั้นผู้บริหารก็ต้องแจ้งให้บุคลากรคนอื่นที่เกี่ยวข้องกับงานนั้นทราบด้วย ว่าผู้รับมอบหมายงานจะมีบทบาทอานาจมาก น้อยแค่ไหนอย่างไร 1.4 การหาตัวแปรหรือปัจจัยที่มีผลต่อความสาเร็จของงาน เพื่อใช้ติดตาม ความคืบหน้าของงาน โดยกาหนดระบบการรายงานผลความคืบหน้าของงานให้มีขึ้นเป็นประจา เช่น การจัดทารายงานผลงานประจาสัปดาห์หรือ ประจาเดือน เป็นต้น การร่วมกันหาตัวแปรหรือปัจจัยที่ มีผลต่อความสาเร็จของงานเพื่อใช้ในการประเมินผลงานแล้วการประเมินผลงานจะมี ความกดดัน น้อยลง หากผู้บ ริห ารและผู้ รับมอบหมายงานเห็ นด้วยกับการกาหนดวันเวลาประเมินและวิธีการ ประเมิน รวมทั้งการชี้แจงให้ทุกคนที่เกี่ยวข้องกับงานนั้นทราบชัดเจนว่าตัวผู้บริหารจะเข้ามาเกี่ยวข้อง กับงานนี้เมื่อใดและอย่างไรหากงานนั้นกาลังอยู่ในภาวะเสี่ยงหรือกาลังประสบปัญหาสาคัญ (นิสิต มโนตั้งวรพันธุ์, 2554) 2. เงิน หรืองบประมาณ (Money) เป็นงบประมาณที่นามาใช้ในการดาเนินการ และค่าใช้จ่ายต่าง ๆ งบประมาณมีความสาคัญต่อการบริหารงานโครงการอย่างมาก หากมีบุคลากร แต่ไม่มีงบประมาณก็ไม่สามารถบริหารโครงการได้ ขณะเดียวกันหากมีงบประมาณ แต่ไม่สามารถ บริหารและควบคุมการใช้จ่ายงบประมาณในการบริหารโครงการได้อย่างมีประสิทธิภาพ อาจนาไปสู่ การคอร์รัปชั่น หรือจัดหาทรัพยากรโดยไม่คานึงถึงการประหยัด หากมีการใช้จ่ายอย่างมีประสิทธิภาพ จะช่ ว ยลดต้ น ทุ น การใช้ ง บประมาณได้ (สวั ส ดิ์ เชาวกุ ล , 2555) แหล่ ง ที่ ม าของบประมาณ สถาบันอุดมศึกษาแต่ละแห่ง อาจแบ่งได้หลายลักษณะ ได้แก่ งบประมาณที่องค์กรต้นสังกัดจัดหาให้ เช่ น เงิน จากงบประมาณแผ่ น ดิ น ส าหรับ สถาบั น อุด มศึ ก ษาของรัฐ งบประมาณจากการจั ด เก็ บ ค่ า ธรรมเนี ย มการศึ ก ษา งบประมาณเงิ น ผลประโยชน์ จ ากดอกผลของกองทุ น ที่ จั ดตั้ ง ขึ้ น ของ


14

สถาบันอุดมศึกษาแต่ละแห่ง งบประมาณเงินรายได้จากการที่สถาบันอุดมศึกษาจัดหาเอง เช่น การทา วิจัย การให้บริการวิชาการแก่สังคมแก่หน่วยงานภายนอก เงินบริจาค เป็นต้น 2.1 กระบวนการจัดทางบประมาณ ประกอบด้วย 4 ขั้นตอนที่สาคัญ คือ 2.1.1การจั ดท าแผนงบประมาณ เป็ น การจัด เตรีย มข้ อมูล และ คาดการณ์ตามความต้องการใช้จ่ายเงินซึ่งจะสอดคล้องกับแผนกลยุทธ์ แผนปฏิบัติของแต่ละคณะวิชา และส่วนงานสนับสนุนวิชาการ แผนงบประมาณนี้จะแสดงความจาเป็นในการใช้ทรัพยากรประเภท ต่างๆ จานวนงบประมาณที่จะต้องใช้ และกรอบระยะเวลาการดาเนินงานที่ชัดเจน 2.1.2 การจัดสรรงบประมาณ เป็นขั้นตอนการพิจารณาคาขอ งบประมาณจากหน่วยงานต่างๆที่ได้เสนอไว้แล้ว โดยทั่วไปมีหน่วยงานที่รับผิดชอบด้านแผนงานและ งบประมาณของสถาบันอุดมศึกษารวบรวมวิเคราะห์และจัดสรรงบประมาณที่หน่วยงานต่างๆภายใน สถาบันของรับจัดสรรมา ซึ่งจะมีคณะกรรมการ ประกอบด้วยผู้บริหารร่วมกลั่นกรองหลายลาดับ 2.1.3 การใช้จ่ายและการทารายงานการใช้จ่ายเงินงบประมาณ เป็นขั้นตอนการปฏิบัติงานตามแผนที่กาหนดโดยมีการเบิกจ่ายงบประมาณที่ได้รับอนุมัติไว้ไปใช้อย่าง ถูกต้องครบถ้วนตรงกับรายการที่ขออนุมัติไว้ โดยมีการจัดทาบัญ ชีควบคุมรายการใช้จ่าย การจัดทา รายงาน ยอดงบประมาณคงเหลือ การจัดทารายงานการใช้จ่ายอาจกาหนดเป็นภาคการศึกษาหรือปี การศึกษา เป็นต้น 2.1.4 การติดตามและประเมินผลการใช้จ่ายเงินงบประมาณ เป็น การประเมินผลการใช้จ่ายเงินงบประมาณตั้งแต่การประเมินวัตถุประสงค์ จานวนงบประมาณที่ใช้ ช่วงเวลาที่ใช้ การประเมินประสิทธิภาพและประสิทธิผลที่เกิดขึ้น รวมทั้งการนาผลจากการประเมินไป ทบทวนและปรับปรุงการจัดทาแผนงบประมาณปีการศึกษาต่อไป 2.2 ปัจจัยที่มีส่วนส่งเสริมความสาเร็จของบริหารงบประมาณ 2.2.1 การศึกษาทาความเข้าใจเกี่ยวกับวิสัยทัศ น์ พันธกิจ แผน กลยุทธ์ นโยบายและมาตรการที่สถาบันกาหนดให้ชัดเจน และนามาแปลงสู่แผนปฏิบัติการ และแผน งบประมาณ 2.2.2 การใช้ประโยชน์จากข้อมูลและสถิติการใช้งบประมาณและ การปฏิบัติงาน ผู้รับผิดชอบการบริหารโครงการ จะต้องศึกษาหาความรู้จากข้อมูลสถิติการใช้จ่ ายเงิน งบประมาณจริงเปรียบเทียบกับแผนงบประมาณที่ขอจัดสรร เพื่อใช้เป็นข้อมูลประกอบการพิจารณา การจัดทางบประมาณฉบับใหม่ โดยอาจศึกษาข้อมูลจากปีการศึกษาที่ผ่านมา รวมทั้งศึกษาสถิติการ ปฏิบัติงานที่มีการใช้จ่ายงบประมาณในส่วนต่างๆ 2.2.3 การมี ส่ ว นร่ ว มของบุ ค ลากรในการจั ด ท างบประมาณ บุคลากรภายในคณะวิชาและส่วนงานสนับสนุนวิชาการได้มีส่วนร่วมในการนาเสนอความคิดเห็นและ ข้อมูล ประกอบการจัดทางบประมาณ ซึ่งจะทาให้การจัดทางบประมาณมีประเด็นครอบคลุมความ ต้องการทรัพยากรต่างๆ (วรนุช มานะวนิชย์ 2555: 82-100) 2.2.4 ความโปรงใสในงานการบริหารงบประมาณ เป็นการนาเงิน งบประมาณที่กาหนดไว้ไปใช้จ่ ายตรงตามวัตถุประสงค์ของแผนงาน มีการรายงานผลการใช้เงิน งบประมาณตามหมวดค่าใช้จ่ายประเภทต่างๆ และการตรวจสอบหลักฐานทางการเงิน และอาจรวม


15

ไปถึ งการวิ เคราะห์ ค วามคุ้ ม ค่ าทางการเงิน จากการลงทุ น ด้ านงบประมาณซึ่ งต้ อ งด าเนิ น การให้ สอดคล้องกับกฎเกณฑ์ ระเบียบขององค์กรที่กาหนดไว้ 2.2.5 การอ านวยความสะดวกด้ า นการจ่ า ยงบประมาณ ซึ่ ง เกี่ยวข้องกับระเบียบวิธีการขั้นตอนต่างๆของสถาบันอุดมศึกษา ที่จะต้องออกแบบให้เหมาะสมเกิด ความรวดเร็วในการเบิกจ่ายงบประมาณ เพื่อให้ทันต่อการนาไปบริห ารจัดการงานด้านต่างๆ รวมทั้ง การอ านวยความสะดวกของผู้ ป ฏิ บั ติ งานในการให้ บ ริ ก ารของหน่ ว ยงานที่ รั บ ผิ ด ชอบงานด้ า น งบประมาณของสถาบันอุดมศึกษา 3. วั ส ดุ อุ ป กรณ์ ห รื อ สิ่ งของ (Materials) หมายถึ ง วั ส ดุ อุ ป กรณ์ และครุภั ณฑ์ การศึกษา และสานักงาน ซึ่งนามาใช้สนับสนุนการจัดบริการวิชาการของหลักสูตรและคณะวิชา โดยแบ่ง ประเภทของพัสดุตามลักษณะการใช้งานออกเป็น 2 ประเภท คือ (1) ครุภัณฑ์ หมายถึง ของใช้ทั่วไปที่มี ลั กษณะคงทน ถาวร มีอายุ ในการใช้งานยาวนาน เช่น อุปกรณ์ สื่ อโสตทั ศนูปกรณ์ โต๊ะท างาน เก้าอี้ หนั งสื อ เครื่องคอมพิ วเตอร์ เป็ นต้ น (2) วัสดุ หมายถึ ง ของใช้ สิ้ นเปลื อง คือ เมื่อใช้ แล้ วหมดไป เช่ น กระดาษ ดินสอ ปากกา ลวดเย็บกระดาษ เป็นต้น การบริหารจัดการวัสดุ อุปกรณ์หรือสิ่งของที่ดีนั้น ควร มีดังนี้ (ฐิติรัตน์ จันทรดารา, 2560) 3.1 การวางแผนความต้องการวัสดุ อุปกรณ์หรือสิ่งของ เป็นขั้นตอนการ รวบรวมความต้องการมีวัสดุของสถาบันอุดมศึกษาไว้ใช้งานได้อย่างต่อเนื่อง และเพียงพอต่อความ ต้องการในการปฏิบัติงานเพื่อสามารถตอบสนองต่อวัตถุประสงค์และเป้าหมายของสถาบันอุดมศึกษา ได้ถูกต้องตามหน้าที่และบทบาทความรับผิดชอบของแต่ละส่วนงานในสังกัดสถาบันอุดมศึกษา สอด รับกับสถานการณ์เป็นอยู่ในปัจจุบันได้อย่าเหมาะสมทันต่อเหตุการณ์ 3.2 การวิเคราะห์ คุ ณ สมบั ติ ข องวัส ดุ อุ ป กรณ์ หรือ สิ่ งของที่ น ามาเป็ น ส่วนประกอบในการคัดเลือกเพื่อสร้างความคุ้มค่าคุ้มทุนกับสิ่งที่จะจัดหามา ได้แก่ ประสิทธิภาพของ ระบบ ความเหมาะสมกับเนื้อหาของงาน อุป กรณ์ เครื่องมือหรืออะไหล่ในตัวเทคโนโลยีที่สามารถ จัดหาได้เมื่อมีการซ่อมแซม การเปรียบเทียบราคาจากหลายแหล่งจัดซื้อ ความทันสมัย และมีความ ปลอดภัยตามความต้องการของทุกฝ่าย เป็นต้น ทั้งนี้สถาบันอุดมศึกษาจะต้องอาศัยผู้ที่มีความรู้ความ เชี่ยวชาญจากภายในสถาบันอุดมศึกษาให้เข้ามามีส่วนร่วมในการคัดเลือกและพิจารณาตรวจสอบ เทคโนโลยีสารสนเทศที่สถาบันอุดมศึกษาต้องการ 3.3 การจัดระบบสนับสนุนการให้บริการวัสดุ อุปกรณ์ เป็นการจัดขั้นตอน ระบบการบริหารพัสดุ เริ่มตั้งแต่ การจัดซื้อ จัดจ้าง การจัดทาทะเบียน การเบิ กจ่าย การควบคุมการ ใช้ การดูแล และการจาหน่าย ให้ มีความชัดเจนเป็นระบบ ต่อเนื่อง ผู้ใช้บริการสามารถได้รับการ อานวยความสะดวกในการได้มาซึ่งวัสดุ อุปกรณ์หรือสิ่งของตรงกับคุณสมบัติที่ร้องขอ มีคุณภาพ และทันเวลาในการใช้งาน 3.4 การประเมินผลการใช้วัสดุ อุปกรณ์ เป็นขั้นตอนที่สาคัญเพื่อนาข้อมูลที่ ได้จากการการบริหารงานวัสดุจากข้อมูลในการปฏิบัติจริงของบุคลากร โดยการประเมินการใช้วัสดุ นั้น สามารถประเมิน ได้ในช่วงระหว่างการใช้ และหลังสิ้นสุดการใช้ในแต่ล ะภาคการศึกษา และปี การศึกษาของสถาบันอุดมศึกษา เครื่องมือ การประเมินได้แก่ แบบสอบถาม ซึ่งอาจวัดความคิดเห็น ของบุคลากรที่ใช้ วัดจากสถิติการใช้งาน ข้อผิดพลาดในการใช้งาน รวมทั้งข้อเสนอแนะ ข้อมูลเหล่านี้


16

จะเป็นประโยชน์ แก่สถาบันอุดมศึกษาเพื่อนาไปเพิ่มประสิทธิภาพหรือปรับปรุงการการบริหารงาน ด้านวัสดุของสถาบันอุดมศึกษาต่อไป 4. การบริหารจัดการ (Management) เป็นวิธีการ ขั้นตอน หรือขบวนการในการ ปฏิบั ติงาน ความสาเร็จของการปฏิบัติงานส่ วนใหญ่ จะมาจากการที่องค์กรมีการกาหนดขั้นตอน แนวทางในการดาเนินงานที่ดี การที่จะมีแนวทางการปฏิบัติงานและขั้นตอนของการดาเนินงานที่ดีได้ ควรต้ อ งมี ก ารก าหนดนโยบายที่ ชั ด เจน มี วิ สั ย ทั ศ น์ ที่ ดี มี ก ารวางแผนจั ด การ การติ ด ตาม ความก้าวหน้ าของงาน การตรวจสอบคุณ ภาพผลงานที่ได้ และการควบคุม การดาเนิ นงานอย่าง ต่อเนื่อง การบริหารวิธีปฏิบัติงาน ต้องมีการพัฒนาขั้นตอนการทางาน นาเอาความรู้เทคโนโลยีใหม่ และวางแผนขบวนการทางานให้ดี มีขั้นตอนที่ไม่ยุ่งยาก ประหยัดเวลา สามารถติดตามตรวจสอบได้ ง่าย และกระบวนการจัดการบริหารควบคุมเพื่อให้งานทั้งหมดเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและเกิด ประสิทธิผล โดยอาจพิจารณาถึงเงื่อนไขที่เกี่ยวข้อง เช่น 4.1 การส่งเสริมการมีส่วนร่วม (Participative)ในการดาเนินงาน เป็นการ เปิ ดโอกาสให้ บุ ค ลากรในสั งกั ดหลั กสู ตร คณะวิช า ได้ มีร่ว มวางแผน น าเสนอแนวคิ ด และร่ว ม ดาเนินการ และประเมินผลเกี่ยวกับการจัดบริการวิชาการ ในทุกขั้นตอน ซึ่งจะทาให้ผู้บริหารได้รับ ข้อมูลรอบด้าน และทราบความคิดสร้างสรรค์ที่หลากหลาย ขณะเดียวกันจะเป็นการเน้นย้าถึงความ รับผิดชอบของบุคลากรทุกคนในการทาหน้าที่เพื่อหลักสูตร คณะวิ ชาให้บรรลุตามแผนงานที่กาหนด ไว้อีกทั้งจะช่วยให้บุคลากรเข้าใจแผนงานและยอมรับความผูกพันที่จะปฏิบัติตาม 4.2 การประสานงาน (Coordination) เป็ น กระบวนการที่ ใ ช้ ใ นการ ปฏิบัติงานเพื่อก่อให้เกิดความร่วมมือระหว่างกิจกรรม การประสานงานจะมีความจาเป็นมากขึ้นเมื่อ งานระหว่างบุคคล แผนก ฝ่าย มีลักษณะที่ขึ้นต่อกันและต้องทางานร่วมกันเพื่อให้บรรลุเป้าหมาย การประสานงานจึงเป็ นการเชื่อมความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลกับบุคคล บุคคลกับหน่วยงาน หรือ ระหว่างหน่วยงานกับหน่วยงาน ความสาเร็จหรือประสิทธิภาพและประสิทธิผลของงานจะมีมากน้อย เพียงใด ขึ้นอยู่กับการประสานงานของผู้มีส่วนเกี่ยวข้องและยังช่วยประหยัดงบประมาณ ค่าใช้จ่าย เวลา และลดข้อขัดแย้งระหว่างผู้ปฏิบัติงานด้วย (กฤติกา จิวาลักษณ์, 2555) 4.3 การติดต่อสื่อสาร (Communication) หมายถึง การแลกเปลี่ยนความ คิดเห็นหรือข้อมูลข่าวสารเพื่อให้เกิดความเข้าใจระหว่างผู้ส่งสาร (Sender) และผู้รับสาร (Receiver) ซึ่งในแต่ละสถาบันอุดมศึกษาจะมีการติดต่อระหว่างกันทั้งภายในและภายนอกสถาบัน ตั้งแต่บุคคลใน ระดั บ เดี ย วกั น เช่ น เจ้ าหน้ า ที่ กั บ เจ้ าหน้ า ที่ อาจารย์ กั บ อาจารย์ หรื อ กั บ ผู้ บ ริ ห าร (ณั ฎ ฐพั น ธ์ เขจรนันทน์ ,2551) วัตถุประสงค์ที่สาคัญของการสื่อสารเป็นไปเพื่อการแจ้งข้อมูลข่าวสาร การสร้าง ความน่ าเชื่ อถื อ ตอกย้ าความน่ าเชื่อ ถือ และการให้ ป ฏิ บั ติต าม นิ ติ พ ล ภู ต ะโชติ (2560) เสนอ แนวทางการเพิ่มประสิทธิภาพในการติดต่อสื่อสารไว้ 5 แนวทาง ได้แก่ 1) การเปิดโอกาสให้ผู้รับ ข่ า วสารให้ ข้ อ มู ล ย้ อ นกลั บ (Use feedback) 2) การใช้ ภ าษาง่ า ยๆในการสื่ อ สาร (Simplify Language) 3) การตั้งใจรับฟังของผู้รับสาร (Listen Activity) 4) การใช้การติดต่อสื่อสารหลายวิธี (Multiple Channels) และ5) การควบคุมอารมณ์และความรู้สึก (Constrain Emotions) 4.4 การบริหารความเสี่ยง เป็นแนวคิดที่สาคัญซึ่งองค์กรนามาใช้ในป้องกัน ความเสี่ยงต่างๆที่อาจจะเกิดขึ้นระหว่างการดาเนินงาน โดยมีการกาหนดมาตรการ ควบคุม ป้องกัน


17

จัดการความเสี่ยงที่อาจจะเกิดขึ้นตามประเด็นความเสี่ ยงที่ผู้รับผิดชอบกาหนดไว้ และประเมินผลใน ขั้นตอนสุดท้าย การบริหารความเสี่ยงจึงช่วยให้ผู้บริหาร หรือผู้รับผิดชอบโครงการสามารถตัดสินใจ เพื่อตอบสนองต่อความเสี่ยงได้ดีขึ้น ดังนั้นเมื่อความเสี่ยงนั้นเกิดขึ้นจริง ๆ ผู้บริหารจะสามารถที่จะ เลือกการตัดสินใจและตอบสนองต่อความเสี่ยงนั้นได้ดีขึ้น 4.5 การควบคุม ติดตาม ประเมินผล เป็นวิธีการดาเนินงานขององค์กรที่ ใช้ในการกากับติดตามการดาเนินงานตามนโนบายที่มอบหมาย เครื่องมือที่ใช้ในการควบคุมติดตาม เช่น การประชุม การจัดทารายงานผล การตรวจสอบจากสถานที่จริง การใช้แบบประเมิน เพื่ อนา ข้อมูลที่ได้รับมาใช้วัดความสาเร็จของการดาเนินงาน รวมทั้งใช้เป็นข้อมูลป้อนกลับสาหรับพัฒ นา ปรับปรุงการดาเนินงานในครั้งต่อไปให้เกิดประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น จากแนวคิดปัจจัยการบริหารทรัพยากรการดาเนินงานทั้ง 4 ปัจจัย ได้แก่ คน เงิน สิ่งของ วัสดุอุปกรณ์ และระบบบริหารจัดการ สามารถนามาประยุกต์ในการวิเคราะห์เป็นปัจจัยสนับสนุนการ จัดบริการวิชาการแก่สังคม ดังที่ ธันยพร อริยะเศรณี (2558) ทาวิจัยเรื่อง ความคิดเห็นของบุคลากร ที่มีต่อการดาเนินงานบริการวิชาการแก่สังคมของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย สงขลา พบปัจจัยด้านการบริหารที่มีต่อการดาเนินงานด้านบริการวิชาการแก่สังคมของมหาวิทยาลัยฯ ได้แก่ (1) ความชัดเจนของนโยบายของหน่วยงาน คือ การจัดบริการวิชาการต้องมีความเหมาะสมสอดคล้อง กับ ความต้องการของสังคม (2) ลักษณะของหน่วยงาน คือ การกาหนดผู้รับผิดชอบอย่างเป็นลาย ลั กษณ์ อักษร การจัด ทาขอบเขตและแผนปฏิ บัติงาน การมอบอานาจ หน้ าที่ค วามรับผิ ดชอบให้ ผู้ปฎิบั ติอย่างเหมาะสม (3) การประชาสัมพันธ์ คือ การสร้างความทั่วถึงในการส่งข้อมูลข่าวสาร เกี่ยวกับจัดบริการวิชาการให้เป็นที่รับรู้แก่สังคมในวงกว้าง (4) งบประมาณ/แหล่งทุน คือ การจัดสรร งบประมาณสนั บ สนุ นอย่างเหมาะสม การที่ส ถาบันมีห ลั กเกณฑ์การบริห ารจัดการด้านการเงินที่ ชัดเจน ผู้ บ ริ ห ารให้ ค วามส าคั ญ และริเริ่มในการหาแหล่ งทุ น เพื่ องานบริก ารวิช าการ (5) ความมี ชื่อเสียง คือ การสร้างชื่อเสียงของหน่วยงาน และความมีชื่อเสี่ยงของผู้บริหารและอาจารย์จะส่ง ผล ให้แหล่งทุนเข้ามาสนับสนุนในงานบริการวิชาการ งานวิจัยของเครือวัลย์ อินทรสุข (2558) ทาวิจัย เรื่อง การพัฒ นาประสิทธิภาพการให้บริการวิชาการของสาขาวิชานิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏ เพชรบูรณ์ พบว่า ปัจจัยการบริหารของคณะฯ ด้านระบบการบริหารจัดการ ได้แก่ การประสานงาน ติดต่อสื่ อสารล่ วงหน้ าในเวลาที่เหมาะสม การจัดเวลาที่เหมาะสมในการอบรม ปัจจัยด้านวัส ดุ อุปกรณ์ ได้แก่ การจัดเตรียมสถานที่ในการจัดโครงการ การจัดเตรียมเอกสารประกอบการอบรม และปั จ จัย ด้านงบประมาณ ได้แก่ การอานวยความสะดวกในการจัดรถบริการเพื่อการเข้าอบรม ส่งผลให้ผู้มาใช้บริการมีความพึงพอใจต่อการได้รับบริการในระดับมาก ( x =4.13) งานวิจัยของจันทิ มา องอาจ และคณะ (2561) ทาการวิจัยเรื่อง การบริหารจัดการการบริการวิชาการแก่สังคมของ มหาวิทยาลั ย ราชภัฏ สุ ราษฎร์ธ านี ได้วิเคราะห์ ปัจจัยการบริห ารที่เป็ นอุ ปสรรคต่อการจัดบริการ วิชาการของมหาวิทยาลัยฯ ดังนี้ (1) ด้านโครงสร้างการบริหาร พบว่า การดาเนินงานของหน่วยงาน ต่างๆทั้งคณะวิชา สานัก และส่วนงานยังไม่ส อดคล้องกัน ร่วมมือกันอย่างเป็นเครือข่าย (2) ด้าน บุ ค ลากร ผู้ รั บ ผิ ด ชอบการจั ด บริ ก ารยั งไม่ เข้ า ใจระเบี ย บราชการและแนวปฏิ บั ติ รวมทั้ ง ปั จ จั ย สนับสนุนในการออกพื้นทีไปบริการวิชาการ เช่น การนานักศึกษาไปร่วมดาเนินการให้บริการวิชาการ


18

ในชุมชน (3) ด้านแผนงานและโครงการ กล่าวคือ ความไม่เข้าใจของหน่วยงานในการแปลงแผนงาน หลักไปสู่การปฏิบัติและทาให้เกิดผลที่เป็นรูปธรรม (4) ด้านงบประมาณ การเบิกจ่ายงบประมาณ รายได้และรายไตรมาสไม่สอดคล้องกับลักษณะการดาเนินงานบริการวิชาการในบางพื้นที่ (5) ด้าน การด าเนิ น งาน พบว่า บางโครงการยังปฏิ บั ติ ไม่ เป็ น ไปตามวงจรคุณ ภาพ (PDCA) (6) ด้านการ ประชาสัมพันธ์ที่ขาดความทั่วถึง การให้บริการวิชาการแก่สังคมของมหาวิทยาลัยเอกชนแห่งหนึ่ง มหาวิทยาลัยเอกชนแห่งหนึ่งกาหนดให้พันธกิจการให้บริการวิชาการแก่สังคมเป็นหนึ่งใน กลยุทธ์หลักของการพัฒนามหาวิทยาลัยฯ โดยกาหนดไว้ในวิสัยทัศน์ ปรัชญา วัตถุประสงค์ กลยุทธ์ และเป้าประสงค์ ดังนี้ วิสัยทัศน์ของมหาวิทยาลัย “มุ่งผลิตบัณฑิตที่มีคุณภาพ มีจริยธรรมและคุณธรรม ในการเสริมสร้างคุณค่าให้กับ องค์กร ชุมชน และสังคม ด้วยนวัตกรรมและระบบนิเวศ เพื่อสร้างความได้เปรียบเชิงการแข่งขัน ให้กับองค์กร และประเทศ ปรัชญา มหาวิ ท ยาลั ย ฯ เชื่ อ ในการเรี ย นรู้ เชิ ง รุ ก ได้ แ ก่ การเรี ย นรู้ อ ย่ า งมี เป้ า หมาย (Purposeful Learning) การเรียนรู้อย่างสร้างสรรค์(Generative Learning) การเรียนรู้เพื่อส่วนรวม (Mindful Learning) และการเรียนรู้เพื่อการนาไปปฏิบัติได้ (Result-Based Learning)ที่มีมาตรฐาน และคุณภาพระดับนานาชาติ และเชื่อในการผลิตผลงานวิชาการ และการทาวิจัยอย่างสร้างสรรค์ และ มี น วั ต กรรม รวมทั้ งเชื่ อ ในการให้ บ ริ ก ารวิ ช าการอย่ า งสร้ า งสรรค์ แ ละมี น วั ต กรรมแก่ ชุ ม ชน เป้ าหมาย องค์กรและสังคม ตลอดจนการมีส่วนร่วมในการฟื้นฟู อนุรักษ์ สืบสาน พัฒ นา และ เผยแพร่ศิลปะและวัฒนธรรม ด้วยการส่งเสริมและสร้างสรรค์ภูมิปัญญาท้องถิ่นให้เป็นรากฐานของ การพัฒนาองค์ความรู้ด้านศิลปะและวัฒนธรรม รวมทั้งการฟื้นฟู อนุรักษ์ และพัฒนาการใช้ประโยชน์ และการอยู่ร่วมกับทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างเกื้อกูล เหมาะสม และเป็นธรรม บน พื้นฐานปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และบรรษัทภิบาล เพื่อการเป็นมหาวิทยาลัยส่งเสริมสุขภาพ วัตถุประสงค์ มหาวิทยาลัยฯ ได้กาหนดวัตถุประสงค์ในการดาเนินพันธกิจหลักของการอุดมศึกษา ซึ่งเชื่อมโยงกับการให้บริการวิชาการแก่สังคม ดังต่อไปนี้ ข้อ 6. เป็ น แหล่ งให้ บ ริก ารวิช าการที่ มีก ารสร้างสรรค์ และมี น วัต กรรมแก่ชุ มชน เป้าหมาย องค์กรและสังคม ที่บูรณาการกับการจัดการเรี ยนรู้เชิงรุก/การทาวิจัย/การพัฒนานักศึกษา และศิษย์เก่า อันจะก่อให้เกิดการพัฒนาอย่างยั่งยืนในชุมชนเป้าหมาย องค์กร และสังคม ข้อ 7. เป็นแหล่งเรียนรู้ร่วมกับชุมชนโดยรอบมหาวิทยาลัยคริสเตียนเกี่ยวกับการ ฟื้นฟู อนุรักษ์ สืบสาน พัฒนา และเผยแพร่ศิลปะและวัฒนธรรม ด้ว ยการส่งเสริมและสร้างสรรค์ภูมิ ปัญญาท้องถิ่นให้เป็นรากฐานของการพัฒนาองค์ความรู้ด้านศิลปะและวัฒนธรรม รวมทั้งการฟื้นฟู อนุรักษ์ และพัฒนาการใช้ประโยชน์ และการอยู่ร่วมกับทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่าง


19

เกื้อกูล เหมาะสม และเป็นธรรม ด้วยการบูรณาการกับการจัดการเรียนรู้เชิงรุก/การทาวิจัย/การ ให้บริการวิชาการแก่ชุมชนเป้าหมาย องค์กร และสังคม กลยุทธ์ มหาวิ ท ยาลั ย ฯ ก าหนดกลยุ ท ธ์ เป้ าประสงค์ และตั ว ชี้ วัด ความส าเร็จ ของการ ให้บริการวิชาการแก่สังคม ไว้ดังนี้ กลยุทธ์ที่ 4 การให้บริการวิชาการแก่สังคมที่ตอบสนองความต้องการของชุมชน สังคม และสถานประกอบการ ประกอบด้วย เป้าประสงค์ 1 ประการ 2 ตัวชี้วัดความสาเร็จ เป้าประสงค์ที่ 4.1 ส่งเสริมการให้บริการวิชาการแก่สังคมที่ตอบสนองความต้องการ ของชุมชน สังคม และสถานประกอบการ ตัวชี้วัดความสาเร็จ 1. จานวนโครงการให้บริการวิชาการแก่สังคมเพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งให้กับ ชุมชนเป้าหมายแต่ละหลักสูตร  1 โครงการ 2. จานวนสถานประกอบการที่มีการตกลงความร่วมมือทางวิชาการกับมหาวิทยาลัย เพิ่มขึ้น  4 แห่ง กลยุทธ์ที่ 5 เพิ่มประสิทธิภาพในการสร้างรายได้ ประกอบด้วย เป้าประสงค์ 3 ประการ 5 ตัวชี้วัดความสาเร็จ เป้าประสงค์ที่ 5.1 เพิ่มศักยภาพการจัดหารายได้จากการให้บริการวิชาการแก่สังคม เป้าประสงค์ที่ 5.2 พัฒนาการบริหารจัดการและสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับทรัพย์สินและ สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ เป้าประสงค์ที่ 5.3 พัฒนาการให้บริการด้านสุขภาพแก่ผู้สูงอายุและชุมชนใกล้เคียง ตัวชี้วัดความสาเร็จ 1. รายได้จากการให้บริการวิชาการแก่สังคมเพิ่มขึ้น  ร้อยละ 20 2. จานวนโครงการให้บริการวิชาการแก่สังคมประเภทเพิ่มรายได้ มีรายรับเหนือ รายจ่ายจริง ร้อยละ 25  ร้อยละ 90 3. จานวนรายได้จากการให้บริการอาคารสถานที่เพิ่มขึ้น  ร้อยละ 20 4. จานวนรายได้จากการให้บริการคลินิกกายภาพบาบัด เพิ่มขึ้น  ร้อยละ 50 5. จานวนโครงการให้บริการสุขภาพแก่ผู้สูงอายุเพิ่มขึ้น  1 โครงการ ระบบและกลไกของการให้บริการวิชาการแก่สังคม มหาวิทยาลัยเอกชนแห่งนี้ ได้มีการแต่งตั้งคณะกรรมการส่งเสริมการจั ดบริการวิชาการแก่ สังคม เพื่อเป็นกลไกในการขับเคลื่อนการให้บริการวิชาการแก่สังคมเป็นไปอย่างมีระบบ โดยมีหน้าที่ รับผิดชอบ ดังนี้


20

1. จัดทาโครงการให้บริการวิชาการแก่สังคม โดยให้ทุกคณะวิชามีส่วนร่วมในการ วางแผน ดาเนินการ และประเมินผล 2. ประชุมวางแผนการจัดโครงการให้บริการวิชาการแก่สังคมของมหาวิทยาลัยฯ โดยให้ทุกคณะวิชามีส่วนร่วม 3. ประสานงานกับหลักสูตร คณะวิชา และส่วนงานที่เกี่ยวข้องในการเตรียมความ พร้อมเพื่อการจัดโครงการให้บริการวิชาการแก่สังคม 4. จัดทาแผนการดาเนินงานและงบประมาณโครงการให้บริการวิชาการแก่สังคม โดยให้ทุกหลักสูตร และคณะวิชามีส่วนร่วม 5. จัดโครงการให้บริการวิชาการแก่สังคมของมหาวิทยาลัยฯ โดยให้ทุกคณะวิชามี ส่วนร่วม ให้ลุล่วงด้วยความเรียบร้อย เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผล 6. ประเมินผลการดาเนินงานภายใน 30 วัน หลังจากเสร็จสิ้นโครงการให้บริการ วิชาการแก่สังคม 7. จั ดทารายงานติดตามผลการใช้ป ระโยชน์จากการให้ บริการวิช าการแก่สั งคม ภายหลังการจัดโครงการเสร็จสิ้น พร้อมกับแนบหลักฐานหรือข้อมูลที่แสดงถึงการใช้ประโยชน์จาก การให้บริการวิชาการ แนวคิดเกี่ยวกับกลยุทธ์การตลาด ความหมายของกลยุทธ์การตลาด กลยุทธ์ (Strategy) เป็นวิธีการที่จะทาให้เกิดผลสาเร็จตามวัตถุประสงค์ (How to Achieve Objective) โดยเกี่ ย วข้ อ งกั บ การแข่ งขั น ทรั พ ยากรที่ มี อ ยู่ อ ย่ า งจ ากั ด เพื่ อ ให้ เกิ ด ผลดี ที่ เป็ น ข้ อ ได้เปรีย บ และสามารถบรรลุ วัตถุป ระสงค์ พร้อมกับ มีความเสี่ ยงน้อยที่ สุ ด ณ ระดับ ที่ยอมรับได้ (ณฐาพัช ร์ วรพงศ์พั ชร์ ,2558) ส าหรับกลยุทธ์ทางการตลาด Kotler (2016) กล่าวว่า เป็นการใช้ กิจกรรมทางการตลาดด้วยวิธีการต่างๆที่องค์กรได้ดาเนินการเพื่อสื่อสารและส่งเสริมสินค้าและบริการ ไปยังกลุ่มผู้บริโภคเป้าหมาย สาหรับเครื่องมือที่ใช้ในการสื่อสาร ได้แก่ การโฆษณา การส่งเสริมการ ขาย การประชาสัมพันธ์ การใช้พนักงานขาย และการตลาดทางตรง นอกจากนี้ ชีวัน เจริญสุข (2557) ได้กล่าวว่า กลยุทธ์การตลาดเป็นการประยุกต์นาเอาส่วน ประสมทางการตลาด ในด้ า นผลิ ต ภั ณ ฑ์ สิ น ค้ า หรื อ บริ ก าร (Product Strategy) ราคา (Price Strategy) ช่องทางจัดจาหน่าย (Place Strategy) การส่งเสริม (Promotion Strategy) มาใช้เพื่อให้ ธุร กิจ บรรลุ วัตถุป ระสงค์ท างด้านการตลาด โดยจัดส่ ว นประสม (Mixture) ของส่ ว นประสมหลั ก ดังกล่าวให้มีความเหมาะสม สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ขององค์กรหรือบริษัท โดยดูเป้าหมาย และ สถานการณ์ในการนาเครื่องมือออกมาใช้ในขณะนั้นว่ามีความเหมาะอย่างไร เพื่อให้กลยุทธ์ทางด้าน การตลาด ที่นามาใช้ให้มีประสิทธิภาพประสิทธิผล และเกิดประโยชน์สูงสุดต่อองค์กร หรือบริษัท จากนิ ย ามข้างต้น สรุ ป ได้ว่า กลยุทธ์ทางการตลาด เป็นวิธีการขององค์กรที่จะนาแนวคิด เกี่ยวกับการดาเนินงานด้านการตลาด เช่น ผลิตภัณฑ์สินค้า หรือบริการ ราคา ช่องทางจัดจาหน่าย การส่งเสริมการจัดจาหน่าย มาผลักดันเป็นรูปธรรมให้เกิดปฏิบัติก ารที่จะไปสู่การบรรลุเป้าหมายทั้ง


21

ในเชิ ง ปริ ม าณและเชิ ง คุ ณ ภาพขององค์ ก รที่ ไ ด้ ก าหนดไว้ โดยค านึ ง ถึ ง บริ บ ทต่ า งๆ อั น ได้ แ ก่ คุณลักษณะของกลุ่มเป้าหมาย สภาพแวดล้อมทางเศรษฐกิจ สังคมที่มีการเปลี่ยนแปลง องค์ประกอบการพิจารณากลยุทธ์การตลาด ณฐาพัชร์ วรพงศ์พัชร์ (2558) อธิบายการองค์ประกอบของการพิจารณาการจัดวางกลยุทธ์ การตลาด แบ่งได้ 4 ขั้นตอน คือ 1. การพิจารณาโอกาสและข้อจากัด หมายถึง การตรวจสอบพิจารณาให้ทราบถึ ง โอกาสและข้อจากัดต่างๆ ทั้งในด้านสภาพแวดล้อม ความเป็นไปได้ของเหตุการณ์ และผลกระทบหรือ การคาดการณ์กับสิ่งที่จะเกิดขึ้น โดยคานึงถึง 1.1 การประเมินทรัพยากรที่มีอยู่ คือ การประเมินถึงจุดแข็งและสิ่งที่ควร ปรับปรุงหรือพัฒนาของทรัพยากรที่มีอยู่ขององค์กร โดยสร้างประโยชน์จากข้อดีขององค์กร และใน ขณะเดียวกันก็ลดข้อจากัดที่เป็นข้อบกพร่องให้เกิดขึ้นน้อยที่สุด 1.2 การพิจารณาทางเลือกกลยุทธ์ หมายถึง การรวบรวมนาเอาข้อมูลที่ เกี่ยวกับโอกาสและข้อจากัดของสภาพแวดล้อมพิจารณาร่วมกับข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับทรัพยากรที่มีอยู่ เพื่ อ ท าให้ ให้ มี ก ารใช้ ป ระโยชน์ จ ากข้ อ ดี ที่ ส่ งผลต่ อ การปฏิ บั ติ งานมากที่ สุ ด ซึ่ งจะส่ งผลให้ ก าร ปฏิบัติงานบรรลุวัตถุประสงค์ได้ โดยมีระดับความเสี่ยงน้อยที่สุด ณ ระดับที่ยอมรับได้ 2. การกาหนดกลยุทธ์หลัก เป็นการกาหนดแนวทางที่เป็นวิธีการพื้นฐาน (General Approach) ที่จะใช้ป ฏิบั ติตาม เพื่อให้ บรรลุตามเป้าหมายที่ต้องการ ด้วยคุณลั กษณะการกาหนด กลยุทธ์หรือนโยบายที่จะเปลี่ยนแปลงในตัวตลอดเวลา เพื่อปรับให้ทันหรือสอดคล้องกับเหตุการณ์ที่มี การเปลี่ยนแปลง 3. การด าเนิ น ตามกลยุ ท ธ์ เป็ น ขั้ น ตอนที่ น าเอากลยุ ท ธ์ ที่ ได้ พั ฒ นาขึ้ น แล้ ว มา ดาเนินการเพือ่ นาไปสู่การปฏิบัติให้เกิดผลตามกลยุทธ์ที่กาหนดไว้ 4. การประเมิ น ผลกลยุ ท ธ์ เป็ น การวัด เป้ าหมายว่าผลงานส าเร็จ ตามกลยุ ท ธ์ ที่ กาหนดไว้ห รื อ ไม่ เพราะอาจมี ก ารปรับ เปลี่ ย น เพื่ อ ให้ ก ลยุท ธ์เหมาะสมหรือ กลมกลื น กั บ ภาวะ เหตุการณ์ กลยุทธ์การตลาด (7Ps) กลยุ ท ธ์ก ารตลาด 7Ps เป็ น แนวคิ ด ที่ พั ฒ นาขึ้ น โดย Kotler, Philip and Keller Kelvin Lane. (2016) โดยเป็ น การน าส่ ว นประสมทางการตลาด (Marketing Mix) ที่ เป็ น เครื่ อ งมื อ ใน การตลาดที่ อ งค์ ก รสามารถควบคุ ม ได้ ซึ่ ง องค์ ก รจะต้ อ งผสมผสานเครื่ อ งมื อ เหล่ า นี้ ให้ ส ามารถ ตอบสนองความต้ องการและสร้ างแรงจูงใจ ความพึ งพอใจให้ แ ก่กลุ่ มลู ก ค้าที่ เป็ น กลุ่ ม เป้ าหมาย โดยเฉพาะอย่ างยิ่ งคือการโน้ มน้ าวให้ มีอิทธิพลต่อความต้องการใช้ผ ลิ ตภัณ ฑ์ ขององค์กร ส าหรับ องค์ประกอบของส่วนประสมทางการตลาดที่นามาประยุกต์เป็นกลยุทธ์ทางการตลาด ประกอบด้วย 7 องค์ ป ระกอบ ได้ แ ก่ 1. ด้ านผลิ ตภั ณ ฑ์ (Product) 2. ด้ านราคา (Price) 3. ด้ านช่ อ งทางการจั ด จ าหน่ าย (Place/ Channel Distribution) 4. ด้านการส่ งเสริมการตลาด (Promotion) 5. ด้ าน


22

บุ คคล (People) 6. ด้านลั กษณะทางกายภาพ (Physical Evidence) และ 7. ด้านกระบวนการ (Process) โดยมีรายละเอียด ดังนี้ 1. ด้านผลิตภัณฑ์ (Product) หรือบริการ (Service) เป็นสิ่งซึ่งสนองความจาเป็น และความต้ อ งการของมนุ ษ ย์ ได้ คื อ สิ่ งที่ อ งค์ ก รต้ อ งมอบให้ แ ก่ ผู้ บ ริ โ ภคและผู้ บ ริ โ ภคจะได้ รั บ ผลประโยชน์และคุณค่าของผลิตภัณฑ์หรือบริการนั้นๆ ซึ่งประกอบด้วยรูปแบบคุณสมบัติ คุณภาพ ความคงทน ความน่าเชื่อถือ รูปลักษณ์ และการออกแบบ ผลิตภัณฑ์หรือบริการต้องมีอรรถประโยชน์ มีคุณค่าในสายตาผู้บริโภค ซึ่งปัจจุบันการแข่งขันมุ่งเน้นการสร้างผลิตภัณฑ์หรือบริการให้มีคุณค่าแก่ ผู้บริโภคมากกว่าที่ผู้บริโภคคาดหวัง 2. ด้ านราคา (Price) หมายถึ ง คุ ณ ค่ าผลิ ต ภั ณ ฑ์ ในรูป ของตั ว เงิน ซึ่ งเป็ น ต้ น ทุ น ทั้งหมดที่ผู้บริโภคต้องจ่ายในการแลกเปลี่ยนกับสินค้าและบริการ รวมทั้งยังเป็นปัจจัยสาคัญในการ กาหนดส่วนแบ่ งตลาดและกาไรของธุรกิจ โดยปกติแล้ วราคาเป็นตัวกาหนดหลั กที่ผู้ บริโภคจะใช้ ตัดสินใจว่าจะซื้อผลิตภัณฑ์หรือไม่ เนื่องจากผู้บริโภคจะเปรียบเทียบส่วนคุณค่าของผลิ ตภัณฑ์และ บริการกับ ราคา ถ้าคุณค่าสูงกว่าราคา ผู้บริโภคจึงตัดสินใจซื้อ ดังนั้น ธุรกิจขององค์กรจาเป็นต้อง กาหนดต้นทุนให้มีความเหมาะสมกับระดับการให้บริการและสภาพตลาดอย่างชัดเจน 3. ด้ า นช่ อ งทางการจั ด จ าหน่ า ย (Place) ส าหรับ ธุ รกิ จ บริ ก าร ช่ อ งทางการจั ด จาหน่ายเป็นความสะดวกที่ธุรกิจนาเสนอให้แก่ผู้บริโภค การจัดสถานที่หรือตัวแทนให้เข้าถึงกลุ่ม ผู้บริโภคเป้าหมายได้อย่างดี เช่น การเลือกทาเลที่ตั้ง ต้องเป็นทาเลที่อยู่ในบริเวณที่กระบวนการเพื่อ ส่ งมองการบริ การที่ มีคุ ณ ภาพและสร้างความพอใจสู งสุ ดให้ แ ก่ผู้ บ ริโภค ผู้ บ ริโภคสามารถติ ดต่ อ ได้สะดวก และสามารถครอบคลุมพื้นที่ในการให้บริการกลุ่มเป้าหมายได้มากที่สุด เป็นต้น 4. ด้านส่งเสริมการตลาด (Promotion) เป็นเครื่องมือหนึ่งที่มีความสาคัญในการ ติดต่อสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างธุรกิจกับผู้บริโภค โดยการติดต่อสื่อสารกับผู้บริโภคนั้นอาจใช้ หรื อ ไม่ ใช้ พ นั ก งานขาย ซึ่ งเครื่ อ งมื อ ที่ ใช้ มี ห ลายวิ ธี ก าร เช่ น การโฆษณา การส่ งเสริม การขาย การประชาสั ม พั น ธ์และการให้ ข่าวสาร การใช้พ นั ก งานขาย และการตลาดทางตรง โดยทุ ก วิธีที่ ผู้บริโภคสัมผัสตรายี่ห้อ ทาให้เกิดความประทับใจทั้งทางบวกและทางลบต่อธุรกิจได้ทั้งสิ้น ธุรกิจของ อ งค์ ก รจึ งต้ อ งใช้ ก ารสื่ อ ส ารก ารต ล าด แ บ บ ป ระ ส ม ป ระ ส าน ( Integrated Marketing Communication) โดยพิจารณาถึงความเหมาะสมกับผู้บริโภค ผลิตภัณฑ์ และคู่แข่ง สะท้อนจุดยืน ของธุรกิจได้อย่างชัดเจน 5. ด้านบุคคล (People) หรือพนักงาน (Employee) การให้บริการส่วนมากกระทา โดยบุคคล ดังนั้น ต้องอาศัยการคัดเลือก การฝึกอบรม การจูงใจพนักงานให้สามารถสร้างความพึง พอใจให้กับผู้บ ริโภคได้แตกต่างเหนือคู่แข่งขันเป็นความสัมพันธ์ระหว่างเจ้าหน้าที่ผู้ให้ บริการและ ผู้ใช้บริการต่างๆ ขององค์กร พนักงานต้องแสดงความรู้ ความสามารถอย่างเต็มที่ มีทัศนคติที่สามารถ ตอบสนองต่ อ ผู้ ใ ช้ บ ริ ก าร มี ค วามคิ ด ริ เ ริ่ ม มี ค วามสามารถในการแก้ ไ ขปั ญ หา สามารถ สร้างค่านิยมให้แก่องค์กรได้ 6. ด้านการสร้างและการนาเสนอลักษณะทางกายภาพ (Physical Evidence and Presentation) เนื่องจากการบริการเป็นสิ่งที่ไม่มีตัวตน ธุรกิจจึงต้องเปลี่ยนบริการที่ไม่สามารถจับ ต้ อ งได้ ใ ห้ เป็ น ประโยชน์ ที่ จั บ ต้ อ งได้ โดยการแสดงให้ เ ห็ น ถึ ง คุ ณ ภาพโดยรวม เช่ น การใช้


23

อุปกรณ์อานวยความสะดวกในการให้บริการ การตกแต่งสถานที่ควรให้ความสาคัญต่อความสะอาด การใช้ อุ ป กรณ์ หรื อ วั ส ดุ สื่ อ สารที่ แ สดงถึ ง ความมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพและรวดเร็ ว เพื่ อสร้ า ง คุณค่าให้กับผู้บริโภค 7. ด้านกระบวนการ (Process) เป็นวิธีการและลาดับขั้นตอนในการส่งมอบบริการ ซึ่งต้องคานึงถึงการออกแบบและจัดการกระบวนการอย่างมีประสิทธิภาพ กระบวนการผลิตที่ไม่ ได้รับ การออกแบบที่ดี มักจะสร้างความไม่พอใจให้แก่ผู้บริโภค เนื่องจากมีความล่าช้า มีขั้นตอนที่ยุ่งยาก ซับซ้อน ประสิทธิภาพในการบริหารไม่เพียงพอ ผู้ให้บริการจึงต้องให้ความสาคัญกับกระบวนการเพื่อ ส่งมองการบริการที่มีคุณภาพและสร้างความพอใจสูงสุดให้แก่ผู้บริโภค Kotler, Philip and Keller Kelvin Lane. (2016) ยั ง เสนอว่ า องค์ ก รธุ ร กิ จ ไม่ ค วรมุ่ ง วิเคราะห์มุมมองจากธุรกิจออกไปสู่ผู้บริโภคเท่านั้น ในทางตรงกันข้ามองค์กรธุรกิจจาต้องวิเคราะห์ ทิศทางหรือมองย้อนกลับ จากผู้บริโภคมายังองค์กรด้วย เพื่อค้นหาความสอดคล้องกับความต้องการที่ แท้ จริ งของผู้ บ ริ โภค อัน จะสร้างความพึงพอใจให้ แก่ผู้ บริโภคในระยะยาว โดยสิ่ งที่ ควรพิ จารณา ประกอบด้วย 1. คุณ ค่าที่ผู้ บ ริโภคจะได้รับ (Customers value) กล่ าวคือ ผู้ บริโภคจะเลื อกใช้ บริการอะไรหรือกับใคร สิ่งที่ผู้บริโภคใช้พิจารณาเป็นหลั ก คือ คุณค่าหรือคุณประโยชน์ต่างๆที่ได้รับ เมื่อเปรียบเทียบกับเงินที่จ่ายไป ดังนั้น องค์กรธุรกิจต้อเสนอบริการที่สามารถตอบสนองผู้บริโภคได้ ตรงตามจุดที่ต้องการอย่างลงตัว 2. ต้นทุน (Cost to customer) หมายถึงเงินทุนที่ผู้บริโภคยินดีจะจ่ายสาหรับการ บริการต้องคุ้มค่ากับบริการที่ได้ หากผู้บริโภคยินดีที่จะจ่ายในราคาสูง สะท้อนให้เห็นว่าความคาดหวัง ในการบริการของผู้บริโภคย่อมสูงตามการกาหนดราคาบริการด้วย องค์กรธุรกิจจะต้องหาราคาที่ ผู้ บ ริ โภคที่ มีก าลั งความสามารถหรือ ยิน ดี ที่ จะจ่ายได้ ดั งนั้ น ปั จจั ยเรื่อ งการก าหนดราคาจึ งเป็ น องค์ ป ระกอบหนึ่ งในการระบุ ค วามสามารถที่ จะซื้ อ และความคุ้ ม ค่ าที่ ผู้ บ ริโภคจะได้ รับ จากการ ให้บริการ 3. ความสะดวก (Convenience) กล่ าวคือ การที่ ผู้ บ ริโภคจะเลื อ กใช้ บริการกั บ ธุรกิจใด ธุรกิจนั้นจะต้องสร้างการอานวยความสะดวกให้แก่ผู้บริโภคทั้งในด้านการติดต่อสอบถาม ข้อมูล การติดต่อขอใช้บริการ หากการติดต่อไม่สะดวก องค์กรธุรกิจต้องทาหน้าที่ในการสร้างความ สะดวกด้วยกลวิธีการให้ บ ริการที่ตรงกลุ่มเป้าหมาย เช่น ที่บ้าน หรือสานักงานของผู้ บริโภค การ ติดต่อสอบถาม การติดตามผลบริการหลั งการขายที่มีระยะเวลาที่ แน่นอนในการดาเนิน การด้ว ย เทคนิค ความชานาญ และความรวดเร็ว และการให้ความสาคัญกับการนัดหมาย 4. การติดต่อสื่อสาร (Communication) ผู้บริโภคมีความความต้องการข่าวสารที่ เป็นประโยชน์จากองค์กรธุรกิจ ขณะเดียวกันผู้บริโภคมีความคาดหวังที่จะติดต่อธุรกิจเพื่อให้ข้อมูล ข่าวสาร ความเห็ น หรือข้ อร้ องเรี ย น การเสนอแนะ องค์ กรธุรกิจจะต้ องจัด หาสื่ อ ที่เหมาะสมกั บ ผู้บริโภคเป้าหมายกลุ่มต่างๆ เพื่อการให้และได้รับข้อมูลความคิดเห็นทั้งสองทาง ดังนั้น กลยุทธ์การ ส่งเสริมการตลาดที่ดีจึงขึ้นอยู่กับการสื่อสารที่ดีตามไปด้วย


24

5. การเอาใจใส่ดูแล (Caring) สิ่งที่ผู้บริโภคมีความต้องการเป็นพิเศษจากองค์กร ธุรกิจหรือผู้ให้บริการ คือ การให้ความสาคัญในการเอาใจใส่ดูแลเป็นอย่างดี เริ่มตั้งแต่ต้นทางของการ บริการ อัน ได้แก่ สถานที่ส าหรับ ให้ บริการ พนักงานผู้ ให้ บริการ การสอบถาม การติดตามในการ จัดการกับข้อร้องขอ ร้องเรียน หรือคาแนะนาต่างๆ การติดตามหลังการให้บริการ การให้ คาแนะนา ต่างๆแก่ผู้บริโภคเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์หรือการใช้บริการ เป็นต้น 6. ความสาเร็จในการตอบสนองความต้องการ (Completion) กล่าวคือผู้บริโภคมี ความคาดหวังให้ได้รับการตอบสนองความต้องการจากองค์กรธุรกิจ หรือพนักงานผู้ให้บริการอย่าง สมบูรณ์แบบทั้งในด้านการให้บริการ ณ สานักงาน หรือ ณ ที่อยู่ของผู้บริโภค 7. ความสบาย (Comfort) หมายถึง สภาพแวดล้ อมต่างๆในการให้ บ ริการ เช่ น อาคาร เคาน์ เตอร์บ ริการ จุดช าระเงิน ร้านจาหน่ายอาหาร ห้ องน้า สถานที่จอดรถ ทางเดิน สิ่ ง อานวยความสะดวกขั้น พื้น ฐานอื่น ๆ เช่น ป้ายบอกทิศทาง ตู้บริการเงินสด จุดบริการร่วมแบบ เบ็ ด เสร็ จ คอมพิ ว เตอร์ ห รื อ การบริ ก ารสั ญ ญาณอิ น เทอร์ เน็ ต ฯ ซึ่ ง ทั้ งหมดล้ ว นเป็ น ปั จ จั ย ที่ จ ะ สนองตอบให้แก่ผู้บริโภคในการได้รับความสบายจากการใช้บริการธุรกิจนั้นๆคู่ขนานกันไป โดยเฉพาะ ในปัจจุบันที่มีการนาเทคโนโลยีดิจิทัลเข้ามาสนับสนุนหรือเป็นองค์ประกอบในการจัดบริการให้แก่ ผู้บริโภค จากแนวคิดเรื่องกลยุทธ์การตลาด จึงสามารถนามาประยุกต์ในการสนับสนุนการจัดบริการ วิชาการแก่สังคมของสถาบันอุดมศึกษา ดังที่มีงานวิจัยหลายเรื่องได้ศึกษาไว้ เช่น รอฮานา ดาคาเฮง และคณะ (2556) ท าวิ จั ย เรื่ อ ง ปั จ จั ย ที่ มี ผ ลต่ อ การบริ ก ารวิ ช าการแก่ สั ง คมของอาจารย์ ใ น มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา พบว่า มีปัจจัยหลายด้านซึ่งเกี่ยวข้องกับกลยุทธ์การตลาดที่จะส่งผลต่อการ ให้บริการวิชาการแก่สังคมอยู่ในระดับมาก ( x =4.03) ได้แก่ ปัจจัยด้านบุคลากร ด้านอาคารสถานที่ ด้านหลักสูตร/รูปแบบโครงการ ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ด้านการบริหารจัดการ ด้านภูมิปัญญา ความรู้ ค วามสามารถ ด้ า นลู ก ค้ า /ผู้ ใช้ บ ริ ก าร และด้ า นการเงิ น รวมทั้ ง ได้ ให้ ข้ อ เสนอแนะว่ า การจัดบริการวิชาการแก่สังคมที่ดีนั้นควรมีการศึกษา สารวจความต้องการของกลุ่มเป้าหมายเป็น หลักก่อนว่ามี ความต้องการสนั บ สนุนด้านใด เพื่อให้ ส อดคล้องกับความต้องการที่แท้จริง เกิดผล ในทางปฏิบัติ และสามารถต่อยอดองค์ความรู้ด้านที่เกี่ยวข้องได้ งานวิจัยของจิตรานุช น้อยสุทธิสกุล (2557) ทาวิจัย เรื่อง ปัจจัยที่มีผลต่อการให้ บริการวิชาการของศูนย์บริการวิชาการแบบจัดหารายได้ พบว่า ปัจจัยส่วนผสมทางการตลาดทั้ง 7 ประการมีผลต่อการตัดสินใจเลือกมาใช้บริการของศูนย์ ฝึกอบรมอยู่ในระดับมาก ( x = 3.81) ได้แก่ ด้านหลักสูตร ด้านผู้เข้ารับการฝึกอบรม/สัมมนา/ ประชุม ด้านราคา/ค่าใช้จ่ายในการฝึ กอบรม ด้านวิท ยากรและเจ้ าหน้าที่ ด้ านสิ่ งอานวยความ สะดวก และด้านการส่งเสริมการตลาด และพบว่าจากทั้ง 7 ปัจจัย มี 2 ปัจจัย ได้แก่ ตัวแปรด้าน ค่าใช้จ่าย และด้านการส่งเสริมการตลาด เป็นปัจจัยที่สามารถทานายพฤติกรรมการเข้ารับบริการ วิชาการแบบจัดหารายได้ ร้อยละ 51 และได้เสนอแนะกลยุทธ์การตลาดไว้ว่า ผู้จัดการอบรมควรสร้าง ระบบบริหารจัดการแสดงค่าใช้จ่ายอย่างชัดเจน ตรวจสอบได้ และแสดงอัตราค่าบริการ หลักฐานทาง การเงิน วิธีการชาระเงินที่ชัดเจน ถูกต้อง รวดเร็ว นอกจากนี้ควรกาหนดส่วนลดราคา กรณีที่มีการ เข้าร่วมเป็นหมู่คณะ หรือชาระเงินล่วงหน้า เนื่องจากจะเป็นการสร้างแรงจูงใจให้เกิดการเข้าอบรม


25

ตามเวลาที่กาหนด อีกทั้งยังช่วยลดความเสี่ยงเรื่องค่าใช้จ่ายบางส่วนที่จะต้องจัดเตรียมสาหรับผู้ที่แจ้ ง ชื่อและไม่สามารถเข้าร่วมได้ แนวคิดเกี่ยวกับการบริการวิชาการแก่สังคม ความหมายของการให้บริการวิชาการ การบริ ก ารทางวิช าการแก่ สั งคมเป็ น หนึ่ งในภารกิ จหลั ก ของสถาบั น อุ ดมศึก ษา สถาบั น พึงให้บริการทางวิชาการแก่ชุมชน สังคม และประเทศชาติในรูปแบบต่างๆ ตามความถนัด และใน ด้านที่สถาบันมีความเชี่ยวชาญ การให้บริการทางวิชาการอาจให้เปล่าโดยไม่คิดค่าใช้จ่าย หรืออาจคิด ค่ า ใช้ จ่ า ยตามความเหมาะสม โดยให้ บ ริ ก ารทั้ ง หน่ ว ยงานภาครั ฐ และเอกชน หน่ ว ยงานอิ ส ระ หน่วยงานสาธารณะ ชุมชน และสังคมโดยกว้าง รูปแบบการให้บริการทางวิชาการมีความหลากหลาย (สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา, 2560) การบริการทางวิช าการแก่สั งคม หมายถึง การที่ส ถานศึกษาให้ บริการวิช าการแก่ชุม ชน สังคม ในรูปแบบต่างๆ ตามความถนัดและความเชี่ยวชาญของสถานศึกษา รวมถึงเป็นแหล่งอ้างอิง ทางวิช าการ หรือทาหน้ าที่ ใดๆ ที่มีผ ลต่อการพั ฒ นาชุมชน สั งคมในด้านวิชาการหรือการพั ฒ นา ความรู้ ตลอดจนความเข้มแข็งของประเทศชาติและนานาชาติ การบริการวิชาการเป็นการบริการที่มี ค่าตอบแทน และบริการวิชาการให้เปล่า โดยมีการนาความรู้และประสบการณ์มาใช้พัฒนาหรือบูรณา การเข้ากับการเรียนการสอนและการวิจัย อาทิ บทความ ตารา หนังสือ รายวิชาหรือหลักสูตร เป็น ต้น ประกอบด้วย การบริการวิชาการสู่สาธารณะและการบริการวิชาการ เฉพาะกลุ่มชุมชน/องค์การ (สานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา, 2561) การบริ ก ารทางวิ ช าการแก่ สั ง คม หมายถึ ง โครงการ/กิ จ กรรมที่ ม หาวิ ท ยาลั ย เป็ น ผู้ ดาเนินงาน เพื่อการเป็นที่พึ่งทางวิชาการที่เหมาะสมให้แก่สังคม ชุมชน ท้องถิ่นและ ประเทศชาติและ ได้ใช้องค์ความรู้จากการพัฒนาหลักสูตร การจั ดการเรียนการสอนที่สอดคล้องกับบริบทของชุมชน และสังคมไปในการให้บริการทางวิชาการ วิชาชีพแก่ชุมชน รวมทั้งได้นาองค์ความรู้จากการวิจัย หรือ การค้นคว้าไปใช้ในการให้บริการทางวิชาการ วิชาชีพแก่ชุมชน เพื่อพัฒนาความเข้มแข็งของชุมชน และพัฒ นาสั งคมแห่ งการเรียนรู้ รวมทั้งการนาความรู้ประสบการณ์จากการบริการวิชาการสู่ การ พัฒนามหาวิทยาลัยฯ (มหาวิทยาลัยพะเยา, 2561) การบริการทางวิชาการแก่สังคม หมายถึง กิจกรรมหรือโครงการทางวิชาการเพื่อให้บริการ วิชาการแก่สังคมและชุมชน โดยเป็นกิจกรรมหรือโครงการที่ช่วยพัฒนาหรือช่วยเหลือสังคมและชุมชน ในรูปแบบของกิจกรรมหรือโครงการต่าง ๆ เพื่อพัฒนาหรือช่วยเหลือสังคมและชุมชน อันก่อให้เกิด ความก้ าวหน้ า ทางวิ ช าการแก่ สั งคม โดยอาศั ย ความรู้ แ ละความสามารถทางวิช าการตลอดจน การสร้างหรือเสริมประสบการณ์ในการประยุกต์วิชาการให้ เหมาะสมกับสังคมไทยและการเรียน การสอน (มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม, 2561) จากนิ ย ามข้างต้น สรุ ป ได้ว่าการให้ บ ริการวิช าการแก่สั งคม เป็ น พัน ธกิจหลั กของสถาบั น อุดมศึกษาในฐานะที่เป็นแหล่งรวมองค์ความรู้ และวิทยาการต่างๆ ได้ถ่ายทอดและนาพาสิ่งดังกล่าว ไปสู่ ห น่ วยงาน องค์ กร ชุ มชน และสั งคมตามความเชี่ย วชาญเฉพาะหรือความถนัด ผ่ านการจั ด โครงการและกิจกรรมในรูปแบบต่างๆ ซึ่งผลกระทบจากการให้บริการวิชาการแก่สังคมนั้นจะต้องเกิด


26

ประโยชน์ ทั้งสองด้าน กล่ าว คือ เกิดประโยชน์ต่อนักศึกษาและอาจารย์ของสถาบันอุดมศึกษาที่ ดาเนินการบูรณาการกับการเรียนการสอน การวิจัย และยังผลต่อหน่วยงาน องค์กร ชุมชน และสังคม ที่ได้รับบริการวิชาการนั้นด้วย ประเภทของการให้บริการวิชาการ การให้บริการวิชาการแก่สังคม อาจจาแนกออกเป็นหลายประเภท ได้แก่ 1. การให้บริการวิชาการและวิชาชีพ หมายถึง งานที่ปฏิบัติในกิจกรรมบริการวิชาการหรือ วิชาชีพ เพื่อตอบสนองความต้องการพัฒนาและเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนและประเทศชาติ หรือนานาชาติ หรือได้รับ การขอความร่วมมือจากหน่วยงานอื่น สามารถแบ่งออกเป็น 3 ประเภท (มหาวิทยาลัยพะเยา, 2561) 1.1 กิจกรรมสนับสนุนวิชาการและวิชาชีพ เป็นลักษณะบริการวิชาการและวิชาชีพ ที่ใช้ความรู้ความสามารถและความเชี่ยวชาญของอาจารย์ ในการเป็นกรรมการวิชาการ หรือวิชาชีพ กรรมการวิชาการ หมายถึง กรรมการร่างหลักสูตร กรรมการประเมินหลักสูตร กรรมการประเมินผล งานวิช าการ หรืออยู่ ในกองบรรณาธิการของวารสารวิช าการต่างๆ กรรมการประชุมวิช าการที่ มี ลักษณะเป็นการจัดเป็นประจาระดับชาติหรือนานาชาติ กรรมการประจาหน่วยงานภาครัฐ รวมทั้ง การเป็นกรรมการวิทยานิพนธ์ภายนอกสถาบัน กรรมการวิชาชีพ หมายถึง การเป็นกรรมการของ สมาคมวิชาชีพต่างๆ ที่ปรึกษาระดับสูงของประเทศที่ ได้รับคัดเลือกหรือได้รับมอบหมายให้ร่วมเป็น คณะทางาน หรือคณะดาเนินการเพื่ อพัฒ นางานวิชาการหรือวิชาชีพภายนอกสถาบันในระดับชาติ หรือนานาชาติ 1.2: กิจกรรมบริการวิชาการและวิชาชีพ หมายถึงโครงการที่มหาวิทยาลัยได้จัดขึ้น เพื่ อ ให้ บ ริ ก ารวิ ช าการสั ง คมและชุ ม ชน หรื อ เพื่ อ ตอบสนองความต้ อ งการของสั ง คม ชุ ม ชน ประเทศชาติหรือนานาชาติ 1.3 กิจกรรมบริการวิชาการที่เกี่ยวเนื่องกับการทานุบารุงศิลปวัฒนธรรม ลักษณะ โครงการหรือกิจกรรมศิลปะและวัฒนธรรม ที่สถาบันอุดมศึกษามีส่งเสริมให้เกิดความเข้าใจและความ ภาคภูมิใจใน วิถีชีวิตและภูมิปัญญาไทย ขนบธรรมเนียมประเพณีไทย ทั้งของท้องถิ่นและของชาติ ความเข้ าใจและศรั ท ธาในสถาบั น ทางศาสนา ระบบคุ ณ ค่ าหรือ ค่ านิ ย มที่ นั บ ถื อความดี งามและ คุณธรรม จริยธรรมในยุคปัจจุบันหรือโครงการหรือกิจกรรมการแสดงศิลปวัฒนธรรมไทย เช่น ดนตรี ไทย และพื้นบ้าน ศิลปะการแสดงของไทยและพื้นบ้าน ประดิษฐ์ศิลป์ไทยและพื้นบ้าน 2. การให้ บ ริ ก ารวิ ช าการที่ ตั้ ง อยู่ บ นพื้ น ฐานงบประมาณ หมายถึ ง การให้ บ ริ ก ารที่ สถาบันอุดมศึกษามุ่งผลลัพธ์ด้านการใช้งบประมาณของการจัดบริการวิชาการแก่หน่วยงาน องค์กร ชุมชน และสังคมในรูปแบบต่างๆโดยจาแนกออกเป็น 2 ประเภท คือ 2.1 การให้ บ ริการวิช าการแก่สังคมแบบให้ เปล่า หมายถึง การนางบประมาณที่ สถาบั น อุ ด มศึ ก ษาก าหนดไว้ไปใช้ จั ด โครงการหรือ กิ จ กรรมการให้ บ ริก ารวิช าการแก่ สั งคมของ หลักสูตร หรือคณะวิชาในรูปแบบต่างๆ ซึง่ ก่อให้เกิดประโยชน์ต่อหน่วยงาน องค์กร ชุมชน และสังคม กลุ่มเป้าหมายอาจไม่จากัดกลุ่มอายุ เพศ วัย อาชีพ และไม่หวังผลกาไรที่เป็นตัวงบประมาณกลับมาสู่ สถาบันอุดมศึกษา


27

2.2 การให้ บ ริการวิชาการแก่สั งคมแบบมีรายได้ หมายถึง การนางบประมาณที่ สถาบั น อุ ด มศึ ก ษาก าหนดไว้ไปใช้ จั ด โครงการหรือ กิ จ กรรมการให้ บ ริก ารวิช าการแก่ สั งคมของ หลักสูตร หรือคณะวิชาซึ่งอาจจัดในรูปแบบต่างๆตามความเชี่ยวชาญ หรือ อาจมีการร้องขอจาก หน่ ว ยงานภายนอก กลุ่ ม เป้ า หมายที่ เข้ า มาใช้ บ ริ ก ารอาจเป็ น กลุ่ ม เฉพาะ และมี ก ารจั ด เก็ บ ค่าลงทะเบียน และการคิดรับรายหลังจากการหักค่าใช้จ่ายที่เป็นต้นทุนในการดาเนินงานไปแล้ว เพื่อ นาเงินรายรับที่ได้จากการให้บริการไปใช้จ่ายตามวัตถุประสงค์ตามที่หลักสูตร หรือคณะวิชากาหนดไว้ รูปแบบของการให้บริการวิชาการ สถาบันอุดมศึกษามีรูปแบบการให้บริการวิชาการแก่สังคมที่หลากหลาย เช่น 1. การจัดการเรียนการสอน เป็นรูปแบบการให้บริการที่นอกเหนือจากการสอนปกติ โดยจัด ให้มีการสอนเรื่องต่างๆ ที่หน่วยงาน องค์กร ชุมชนหรือสถานประกอบการ มีความต้องการ หรือจัด ให้กับหน่วยงานทั้งราชการ หรือเอกชนตามคาร้องขอ 2. การฝึกอบรม เน้นการให้ความรู้และทักษะด้านวิชาชีพหรือการจัดฝึกอบรมเฉพาะอย่าง หนึ่งอย่างใด เช่น การฝึกอบรมความรู้ด้านโปรแกรมทางคอมพิวเตอร์ ด้านบัญชี ด้านการออกแบบ กราฟิก เป็นต้น 3. การลงพื้นที่ชุมชนเพื่อปฏิบัติงาน หรือการให้บริการเฉพาะทาง โดยอาจารย์และนักศึกษา ลงพื้นที่ชุมชน ให้บริการวิชาการในลักษณะให้คาแนะนา ให้คาปรึกษา เช่น การให้บริการตรวจคัด กรอกสุ ขภาพ การประเมิน สุ ขภาพเบื้องต้น การดูแลตนเองของผู้ป่ วย หรือ การให้ บ ริการด้าน การแพทย์ เป็นต้น 4. การจัดอภิปราย การสัมมนาวิชาการ การประชุมสัมมาเชิงปฏิบัติการ ซึ่งเน้นการจัดใน หัวข้อที่เป็น เรื่องสนใจของสังคมในช่วงเวลานั้นๆ หรืออาจเกี่ยวข้องกับความรู้ทางวิชาชีพที่มีการ สะสมหน่วยคะแนนนับโดยสภาวิชาชีพ เป็นต้น 5. การจัดนิทรรศการทางวิชาการ เป็นอีกหนึ่งรูปแบบของการให้บริการวิชาการแก่ชุมชน ต้องสร้างความ น่าสนใจและเชิญชวนให้ชุมชนได้เข้ามามีส่วนร่วมให้มากที่สุด 6. การเป็นที่ปรึกษาเพื่อดาเนินโครงการต่างๆ เช่น โครงการวิจัยนโยบาย การวิจัยประเมิน ผลชุมชนแบบเร่งด่วน การประเมินผลกระทบทางเศรษฐกิจและสังคม การประเมินผลกระทบด้าน สุขภาพและสิ่งแวดล้อม เป็นต้น 7. การให้บริการวิเคราะห์ ทดสอบ หรือตรวจสอบ เช่น การทดสอบอุปกรณ์ เครื่องมือ ทาง การแพทย์ ตามเกณฑ์หรือมาตรฐานต่างๆ ขององค์กรด้านสุขภาพหรือสถานประกอบการ เป็นต้น 8. การให้ บ ริ ก ารสถานที่ ห รือ อุ ป กรณ์ เช่ น การให้ ยื ม อุ ป กรณ์ เทคโนโลยี ท างการศึ ก ษา การให้บริการห้องประชุม อาคารเรียน ห้องแสดงนิทรรศการ ห้องปฏิบัติการต่างๆ เป็นต้น หลักการให้บริการวิชาการแก่สังคม สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (2560) ได้กาหนดให้สถาบันอุดมศึกษามีบทบาทใน การให้บริการวิชาการอย่างมีคุณภาพ โดยกาหนดเกณฑ์มาตรฐานไว้ในเกณฑ์การประเมิน คุณภาพ การศึกษาภายในของสถาบันอุดมศึกษาที่จะต้องมีวิธีการ กระบวนการ และผลลัพธ์จากการให้บริการ


28

วิชาการอย่างเป็นระบบขั้นตอนและสร้างความเชื่อมโยงกันในระดับคณะวิชา และระดับสถาบัน ดังนี้ (สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา, 2560) 1. เกณฑ์ระดับคณะวิชา การบริการวิชาการเป็นภารกิจหลักอีกอย่างหนึ่งของสถาบันอุดมศึกษา คณะควร คานึงถึงกระบวนการ ในการให้บริการวิชาการแก่สังคม โดยศึกษาความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย นามาจัดทาแผนบริการวิชาการ ประจาปีทั้งการบริการวิชาการที่ทาให้ เกิดรายได้และการบริการ วิช าการที่คณะจัดทาเพื่อสร้างประโยชน์แก่ ชุมชน โดยมีการประเมินความส าเร็จของการบริการ วิชาการ และนามาจัดทาเป็นแผน เพื่อพัฒนาการเรียน การสอนแก่นักศึกษาให้มีประสบการณ์จาก สภาพจริ งและน ามาใช้ ป ระโยชน์ จ นเกิด ผลลั พ ธ์ที่ ส ร้างความ พึ งพอใจต่ อชุ มชนและสั งคมอย่ าง ต่อเนื่องและยั่งยืน และได้กาหนดเกณฑ์มาตรฐานไว้ 6 ข้อ ดังนี้ 1.1 การจั ด ท าแผนการบริ ก ารวิ ช าการประจ าปี ที่ ส อดคล้ อ งกั บ ความ ต้องการของสังคมและกาหนด ตัวบ่งชี้วัดความสาเร็จในระดับแผนและโครงการบริการวิชาการแก่ สังคมและเสนอกรรมการประจาคณะ เพื่อพิจารณาอนุมัติ 1.2.โครงการบริก ารวิช าการแก่ สั งคมตามแผน มี ก ารจั ด ท าแผนการใช้ ประโยชน์จากการบริการวิชาการ เพื่อให้เกิดผลต่อการพัฒนานักศึกษา ชุมชน หรือสังคม 1.3 โครงการบริการวิชาการแก่สังคมในข้อ 1.1 อย่างน้อยต้องมีโครงการที่ บริการแบบให้เปล่า 1.4 การประเมิ น ความส าเร็จ ตามตั ว บ่ งชี้ ข องแผนและโครงการบริก าร วิชาการแก่สังคมในข้อ 1 และนาเสนอ กรรมการประจาคณะ เพื่อพิจารณา 1.5. นาผลการประเมินตามข้อ 4 มาปรับปรุงแผนหรือพัฒนาการให้บริการ วิชาการสังคม 1.6 คณะมีส่วนร่วมในการบริการวิชาการแก่สังคมในระดับสถาบัน 2. เกณฑ์ระดับสถาบัน การบริการวิชาการเป็นภารกิจหลักอีกอย่างหนึ่งของสถาบันอุดมศึกษา สถาบัน ควร คานึงถึงกระบวนการในการให้บริการวิชาการแก่สังคม โดยการศึกษาความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย นามาจัดทาแผนบริการวิชาการ ทั้งการบริการวิชาการที่ทาให้เกิดรายได้และการบริการวิชาการที่ สถาบันจัดทาเพื่อสร้างประโยชน์แก่ชุมชนหรือสังคมโดยมีการประเมินความสาเร็จของการบริการ วิชาการ และนามาจัดทาเป็นแผนการใช้ประโยชน์จนเกิดผลลัพธ์ที่สร้างความพึงพอใจต่อชุมชนและ สังคมอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน และได้กาหนดเกณฑ์มาตรฐานไว้ 6 ข้อ ดังนี้ 2.1. กาหนดชุมชนหรือองค์การเป้าหมายของการให้บริการทางวิชาการแก่ สังคมโดยมีความร่วมมือ ระหว่างคณะหรือหน่วยงานเทียบเท่า 2.2. มีการจัดทาแผนบริการวิชาการโดยมีส่วนร่วมจากชุมชนหรือองค์การ เป้าหมายที่กาหนดในข้อ 2.1 2.3 ชุมชนหรือองค์การเป้าหมายได้รับการพัฒนาและมีความเข้มแข็งที่มี หลักฐานที่ปรากฏชัดเจน


29

2.4 ชุมชนหรือองค์การเป้าหมายดาเนินการพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง 2.5 สถาบันสามารถสร้างเครือข่ายความร่วมมือกับหน่วยงานภายนอกใน การพัฒนาชุมชนหรือองค์การ เป้าหมาย 2.6 ทุกคณะมีส่วนร่วมในการดาเนินการตามแผนบริการทางวิชาการแก่ สังคมของสถาบันตาม ข้อ 2 โดยมีจานวนอาจารย์เข้าร่วมไม่น้อยกว่าร้อยละ 5 ของอาจารย์ทั้งหมด ของสถาบัน ทั้งนีต้ ้องมีอาจารย์มาจาก ทุกคณะ การพัฒนาคุณภาพการให้บริการวิชาการ เบญจวรรณ ทิมสุวรรณ และกรกนก ลัทธนันท์ (2556) ได้กล่าวถึง การพัฒนาคุณภาพการ ให้บ ริการวิชาการเพื่อสร้างคุณค่า ว่าสถาบันอุดมศึกษาควรส่งเสริมและสนับสนุนให้ มีการพัฒ นา ระบบการให้ บริการวิชาการแก่สังคมของหลักสูตร คณะวิช า โดยต้องทาให้ เกิดความชัดเจนใน 3 ประเด็น คือ 1. การเชื่อมโยงโครงการบริการวิชาการที่บูรณาการกับการจัดเรียนการสอน และ การวิจัย สถาบันอุดมศึกษาควรสร้างความเข้าใจที่ชัดเจนเกี่ยวกับการบูรณาการการจัดการ เรียนการสอนและการวิจัยให้กับอาจารย์ผู้สอนว่าเป็นอย่างไร เนื่องจากปัญหาของการบูรณาการส่วน ใหญ่จะเป็นการจับความรู้มาต่อกัน ขาดการผสมกลมกลืนระหว่างการเรียนการสอนกับการให้บริการ วิชาการ อาจารย์ต้องระบุใน มคอ.แผนการสอนว่าจะบูรณาการอย่างไร การบูรณาการนั้นมีเจตนาให้ นั กศึ กษาน าความรู้ จ ากชั้ น เรี ย นในรายวิช าไปจัด ท าโครงการหรือ กิจ กรรมบริการวิช าการที่ เป็ น ประโยชน์ต่อสังคม โครงการหรือกิจกรรมที่ได้ลงมือปฏิบัตินั้นควรให้มีความเชื่อมโยงกับการจัดการ เรีย นการสอนได้เรีย นรู้ในสภาพจริง ได้นาความรู้จากภาคทฤษฎีไปใช้ในการบริการและส่งผลให้ ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องนั้ นๆมากขึ้น แนวทางในการบูรณาการวิชาการแก่สังคมกับการ จัดการเรียนการสอน ดังนี้ 1.1 การบูรณาการโครงการบริการวิชาการกับการจัดการเรียนการสอนต้อง กาหนดเนื้ อ หาสาระที่ จ ะบู ร ณาการว่าอยู่ ในรายวิช าใด เรื่อ งอะไร และโครงการบริการวิช าการ โครงการอะไร อาจารย์ต้องเห็นความสอดคล้องกันของสองพันธกิจ ที่เป็นสิ่งเชื่อมโยงกัน โดยต้อง คานึงไว้เสมอว่าการบูรณาการนั้นต้องผสมกลมกลืนกัน โดยมีหลักที่ควรคานึงถึงในการบูรณาการ คือ ต้ อ งใช้ ท รั พ ยากรร่ ว มกั น (Resource) ต้ อ งเป็ น มากกว่ า ความสอดคล้ อ งไปในแนวทางเดี ย วกั น (Alignment) ช่วงเวลาเดียวกัน (Time) ดังนั้นสาระที่สอนในรายวิชาต้องสอดคล้องเรื่องเดียวกับสิ่งที่ จะให้บริการ 1.2 มีวิธีการให้นักศึกษาดาเนินการโครงการและกิจกรรมบริการวิชาการ ในรูป แบบใด เช่น สถาบัน มีโครงการหรือกิจกรรมการให้ บริการวิชาการ อาจารย์ผู้ส อนพิจารณา รายวิชาที่สอนโดยมีองค์ความรู้ที่สอดคล้อง สามารถให้การบริการวิชาการแก่สังคมได้ อาจารย์ให้ ความรู้/ให้นักศึกษาเรียนรู้ และค้นคว้าเพื่ออภิปรายปรากฏการณ์ต่างๆ พร้อมทั้งค้ นพบองค์ความรู้ หรือเทคนิคของการบริการวิชาการด้วยการปฏิบัติจริง จนสามารถถ่ายทอดองค์ความรู้ได้ จึงจัดให้ นักศึกษามีส่วนร่วมในการให้บริการวิชาการตามโครงการหรือกิจกรรม ตัวอย่าง คณะวิชา มีการจัด


30

โครงการคัดกรองสุขภาพผู้ใหญ่ผู้สูงอายุ อาจารย์ผู้สอนรายวิชาการพยาบาลผู้ใหญ่ผู้สูงอายุ มีหัวข้อ การสอนเรื่ อ ง การคั ด กรองสุ ข ภาพผู้ ใหญ่ ผู้ สู งอายุ อาจารย์ เห็ น ว่ าเนื้ อ หาสาระทั้ ง สองพั น ธกิ จ สอดคล้องกันเวลาที่จัดโครงการอยู่ในช่วงการเรียนการสอนรายวิชา เมื่ออาจารย์สอนนักศึกษาจนมี ความรู้ทักษะแล้ว จึงมอบหมายใบงานให้นักศึกษาเข้าร่วมกิจกรรมในโครงการ เช่น ให้เป็นวิทยากร ให้ร่วมคัดกรองสุขภาพ 1.3 มีกิจกรรมอะไรบ้างที่นักศึกษาต้องดาเนินการ ต้องคิดและวางแผนไว้ ให้ชัดเจนใน มคอ.ว่านักศึกษามีบทบาทอย่างไรบ้าง ต้องทาอะไรบ้าง ทั้งนี้กิจกรรมที่ทาต้องสอดคล้อง กันระหว่างเนื้อหาวิชาที่เรียนกับสิ่งที่ให้บริการ และต้องเป็นไปตามวัตถุประสงค์ของการบูรณาการ 1.4 การกาหนดวัต ถุประสงค์ ของการบู รณาการเพื่ ออะไร การกาหนด วัตถุป ระสงค์ของการบู รณาการเป็ นเรื่องสาคัญมาก เพราะวัตถุประสงค์จะเป็นสิ่งกาหนดตัวบ่งชี้ ความสาเร็จของการบูรณาการ เช่น อาจารย์กาหนดวัตถุประสงค์ไว้ 3 ข้อ คือ (1) นักศึกษาสามารถ น าความรู้ที่ ได้ศึกษาในชั้น เรีย นไปให้ บริการแก่ประชาชนในชุมชนได้ (2) สามารถคัดกรองผู้ ป่ว ย เบาหวานและความดั น โลหิ ต สู งได้ (3) ระบุ ขั้ น ตอนการให้ บ ริก ารวิช าการตามโครงการได้ จาก วัตถุประสงค์ทั้งสามข้อ สามารถนามากาหนดเป็นตัวชี้วัดความสาเร็จได้ คือ (1) ร้อยละ 100 ของ นักศึกษามีความรู้เพิ่มขึ้นหลังการให้บริการวิชาการ (ต้องออกข้อสอบวัด ก่อน-หลัง) (2) นักศึกษาทุก คนสามารถคั ดกรองผู้ ป่ วยเบาหวานและความดัน โลหิ ตสู งได้ถูกต้องทุ กราย (3) ร้อยละ 95 ของ นั กศึกษามีความรู้ความเข้าใจในการให้ บริการวิช าการ (มีการสรุปขั้นตอนการดาเนินงานบริการ วิชาการ) สาหรับการบูรณาการจัดบริการวิชาการแก่สังคมกับการวิจัย ควรมีการดาเนินการ ให้เกิด (1) การนาผลการวิจัยไปสู่การใช้ประโยชน์จริงที่ตอบสนองความต้องการของทุกภาคส่วนใน ทุกระดับ และ (2) การน าความรู้ ประสบการณ์ จากการให้บริการกลั บมาพัฒ นาต่อยอดไปสู่ การ พั ฒ นาองค์ ค วามรู้ ใหม่ ผ่ า นกระบวนการวิ จั ย โดยในประเด็ น นี้ เมื่ อ ให้ บ ริ ก ารวิ ช าการแล้ ว เสร็ จ อาจารย์ผู้สอนจะต้องตรวจสอบว่า มีข้อมูลสาคัญอะไรที่เป็นประเด็นชี้ชัดว่า เป็นปัญหาหรือข้อค้นพบ สาคัญที่สามารถต่อยอดสู่งานวิจัยได้ เช่น อาจารย์ให้บริการวิชาการในโครงการ 3 อ.พิชิตอ้วนพิชิต พุง (อ-อาหาร อ-ออกกาลังกาย อ-อารมณ์) เมื่ออาจารย์ได้ให้บริการวิชาการ ผ่านการจัด กิจกรรมต่างๆแล้วอาจารย์มีประเด็นปัญหา ผู้มาใช้บริการจะทาตามกิจกรรมในโครงการได้หรือไม่ และจะสามารถพิชิตความอ้วนลดพุงลงได้จริงหรือไม่ จึงได้ดาเนินการวิจัยเพื่อศึกษาประสิทธิผลของ 3 อ.พิชิตอ้วน พิชิตพุงต่อการลดน้าหนักและรอบเอวของผู้มาใช้บริการที่มีน้าหนักและรอบเอวเกิน มาตรฐาน เป็นต้น ดังนั้น การสรุปประเด็นต้องชัดเจนให้เห็นที่มาของปัญหาที่จะพัฒนาเป็นโจทย์ของ การวิจัยต่อไป 2. การพัฒนาคุณภาพกระบวนการให้บริการวิชาการ สถาบันอุดมศึกษาควรส่งเสริมให้ ผู้บริหาร และอาจารย์ได้มีส่วนร่วมในการพัฒนา คุณภาพของกระบวนการให้บริการวิชาการ โดยมีแนวทางการส่งเสริมการดาเนินงาน ดังนี้ 2.1 สร้ า งความรู้ ค วามเข้ า ใจเกี่ ย วกั บ เกณฑ์ ก ารประเมิ น คุ ณ ภาพของ ส านั ก งานคณะกรรมการการอุ ด มศึ ก ษา และส านั ก งานรับ รองมาตรฐานและประเมิ น คุ ณ ภาพ การศึกษา รวมทั้งสภาพวิชาชีพที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้เกิด ความเข้าใจกับหลักการและคาอธิบายของตัว


31

บ่งชี้ของการให้ บ ริการวิช าการอย่างแจ่มชัด ซึ่งหากพิจารณาจากเกณฑ์การประเมินคุณ ภาพของ สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษามีเกณฑ์มาตรฐานในระดับคณะวิชา จานวน 6 ข้อ และระดับ สถาบัน จานวน 6 ข้อ ดังที่กล่าวมาข้างต้น 2.2 การให้ บ ริ ก ารวิ ช าการที่ จ ะให้ เกิ ด ประโยชน์ ต่ อ สั ง คมได้ นั้ น ต้ อ ง ให้ บ ริ ก ารที่ ต อบสนองความต้ อ งการของชุ ม ชน หรื อ หน่ ว ยงานภาครั ฐ เอกชน องค์ ก ร สถาน ประกอบการ ซึ่งการจะตอบสนองสิ่งดังกล่าวได้ ต้องดาเนิน การสารวจความต้องการความจาเป็นของ ชุมชน โดยต้องมีการบริหารโครงการอย่างเป็น ระบบ จะต้องมีการวิเคราะห์สภาพปัจจุบัน ปัญหา และความต้องการก่อนวางแผนโครงการ ซึ่งเป็นลักษณะของการประเมินความต้องการจาเป็น นับว่า เป็นกิจกรรมที่สาคัญที่จะทาให้ได้ทราบสภาพปัญหา สาเหตุของปัญหา และความต้องการที่แท้จริงใน การก าหนดโครงการ ท าให้ ได้ โ ครงการที่ มี ค วามเหมาะสมและตอบสนองความต้ อ งการขอ ง กลุ่ ม เป้ าหมายหรื อ ผู้ ใช้ บ ริ ก าร การประเมิ น ความต้ อ งการจาเป็ น (needs assessment) จึงเป็ น กิจกรรมที่มีความสาคัญยิ่ง ทั้งนี้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ต่างๆ สามารถทาได้โดยวิธีการสัมภาษณ์ และการใช้แบบสอบถาม เป็นเครื่องมือ 2.3 ต้องดาเนินการให้บริการแบบมีส่วนร่วมระหว่ างสถาบันอุดมศึกษากับ หน่วยงาน องค์กร ชุมชน สถานประกอบการที่มาใช้บริการ จึงควรมีการสร้างเครือข่ายการให้บริการ การจัดทาข้อตกลงร่วมกัน การบูรณการทรัพยากรร่วมกัน การแก้ปัญหา ประเมินผลร่วมกัน จะทาให้ เกิดมุมมองของผลกระทบที่สอดคล้องกัน และพัฒนาต่อยอดโครงการจนเกิดความเข็มแข็ง 2.4 ควรกาหนดให้มีการวิจัยที่ต่อยอดจากการให้บริการวิชาการมากขึ้น และนาผลวิจัยไปใช้ในการจัดการเรียนการสอน การปรับปรุงการให้บริการวิชาการ การปรับปรุง หลักสูตร ซึ่งจะทาให้เห็นภาพชัดเจนตามกระบวนการคุณภาพโดยดาเนินการสอดประสานสามเส้า คือ ให้บริการวิชาการ ต่อยอดสู่การวิจัย และนาผลจากการวิจัยไปใช้ในการจัดการเรียนการสอนและ ปรับปรุงการให้บริการ 2.5 ควรเชื่ อ มโยงการให้ บ ริ ก ารวิ ช าการกั บ ศู น ย์ ค วามเป็ น เลิ ศ ของ สถาบันอุดมศึกษา และการบริการวิชาการแก่สังคมต้องใช้ความสามารถ สติปัญหาของผู้ให้บริการ วิชาการ ในการพัฒนาหลักสูตร การหล่อหลอมนักศึกษาให้มีจิตสาธารณะ ที่สาคัญการบริการวิชาการ กาสังคมนั้น ต้องสามารถสร้างกระบวนการเรียนรู้ร่วมกันระหว่างสถาบันอุดมศึกษา ชุมชน สังคมได้ และต้องให้ความสาคัญกับสังคมหรือชุมชนที่มีประเด็นปัญหาหรือชุมชนที่มีความเดือดร้อน มากกว่า ชุมชนหรือสังคมทั่วไป หรือชุมชนที่เป็นพันธมิตรกับสถาบันอุดมศึกษา แต่ไม่มีประเด็นปัญหาที่ควร พัฒนา 2.6 แนวทางการขับเคลื่อนงานบริการวิชาการแก่สังคม ที่หลักสูตร คณะ วิชาต้องมี คือ (1) ฝัน (Dream) ทุกคนต้องมีความฝันในเรื่องการเรียนรู้ทางวิชาการและต้องพัฒนา ความเชี่ยวชาญเฉพาะตนให้เพิ่มมากขึ้น (2) กาหนดความฝันของหลักสูตรให้ชัดเจน (Define) เพื่อ ก าหนดแผนที่ ชั ด เจน และทิ ศ ทางการให้ บ ริ ก ารที่ เป็ น ไปตามจุ ด เน้ น จุ ด เด่ น ของสถาบั น จริ ง ๆ (3) การสร้างเครือข่ายบริการวิชาการ (Network) ต้องเป็นแบบใยแมงมุม พัฒนาอย่างต่อเนื่องอย่างมี ทิศทาง และมีเครือข่ายในทุกระดับ ตั้งแต่ระดับบุคคล องค์กร ชุมชน และสังคม และ (4) การทางาน เป็ น ทีม (Team Work) อาจารย์ ต้องทางานร่วมกัน ไม่แยกกันดาเนินการ ต้องร่วมมือกันระหว่าง


32

สาขา เป็ น สหสาขาวิช า หรือร่ว มกันระหว่างศาสตร์ต่างๆมาบูรณาการให้ เกิดความเข็มแข็งของ หน่วยงาน องค์กร ชุมชน และสังคม 3. การประเมินผลประโยชน์/ผลกระทบของการให้บริการวิชาการ เป็นขั้นตอนที่สาคัญที่จะวัดว่าการให้บริการก่อให้เกิดประโยชน์หรือผลอย่างไรกับ กลุ่มเป้าหมายทั้งในส่วนของผู้ให้บริการ และผู้ใช้บริการ โดยมีแนวทาง ดังนี้ 3.1 การประเมิน ความส าเร็จของการบู รณาการ ควรกาหนดระบบการ ติดตามประเมินผลให้ชัดเจนว่าจะติดตามอย่างไร โดยใคร การประเมินควรประเมินแบบมีส่วนร่วม ของผู้ ให้บ ริการ คือ นักศึกษา อาจารย์ และผู้ใช้บริการ และทาการประเมินให้ครบทุกขั้นตอนทั้ง แผนงาน เป้าหมายของงาน ได้แก่ 3.1.1 การประเมิน โดยผู้ เรียน เช่น การที่ผู้ เรียนสามารถเข้าใน เนื้อหา ได้เรียนรู้ประสบการณ์จริง การส่งเสริมกระบวนการคิด การจัดการ การได้เรียนรู้วิธีการเรียนรู้ ตลอดชีวิต สามารถนาความรู้ที่ได้ไปใช้ในชีวิตจริง เป็นต้น 3.1.2 การประเมิ น โดยอาจารย์ เช่ น ได้ แ นวปฏิ บั ติ ที่ ดี ในการ ทางานร่วมกัน หรือการประสานงาน การสร้างวิธีคิด นวัตกรรมใหม่ๆมาใช้ในการจัดการเรียนการ สอน การต่อยอดการวิจัย เป็นต้น 3.1.3 การประเมินโดยผู้ใช้บริการ เช่น การประเมินความคิดเห็น หรือความพึงพอใจในการเข้ามาใช้บริการ การรับฟังข้อเสนอแนะ การติดตามผลหลังจากการมาใช้ บริการเป็นระยะ หรือวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงในภาพรวมของหน่วยงาน องค์กร ชุมชน และสถาน ประกอบการ เป็นต้น 3.2 วิธีการประเมิน การประเมินนอกจากประเมินตามตัวชี้วัดที่กาหนดแล้ว ด้วยเครื่องมือต่างๆ เช่น แบบสอบถาม แบบสารวจ แบบสัมภาษณ์ หากอาจารย์ต้องการเห็นผลลัพธ์ ที่ชัดเจนยิ่ งขึ้น อาจทาการสนทนากลุ่ ม (Focus Group) กับ นัก ศึกษา หรือผู้ ใช้บริการในประเด็ น ประโยชน์ คุณค่า หรือสิ่งที่ได้เรียนรู้ซึ่งมีผลกระทบต่อตัวเอง 3.3 การนาผลการประเมินไปปรับปรุงการบูรณาการ เป็นการนาผลที่ได้ จากการประเมินผลไปปรับปรุงจุดอ่อนของโครงการ แผนงาน พัฒนากระบวนการให้บริการวิชาการ และการจัดการเรียนการสอนหรือการทาวิจัย รวมทั้งนาผลการประเมินที่เป็นจุดแข็งหรือแนวปฏิบัติที่ ดีไปส่งเสริมการดาเนินงานในขั้นตอนของการให้บริการวิชาการให้ดียิ่งขึ้นในการดาเนินการครั้งต่อไป มานิตย์ ไชยกิจ (2557) ได้เสนอแนวทางการบูรณาการการจัดการเรียนการสอน กับการวิจัย และการบริการวิชาการแก่สังคมของสถาบันอุดมศึกษา ไว้ 8 ประการ ดังนี้ 1. คณาจารย์ผู้สอนนาผลงานวิจัย การจัดการความรู้ หรือนาประสบการณ์และผล การฝึกอบรมและการให้บริการวิชาการแก่สังคมมาใช้พัฒนา หรือไปประยุกต์กับการจัดการเรียนการ สอนในชั้นเรียนปกติ 2. คณาจารย์ ผู้ ส อนมอบหมายงานให้ ผู้เรียนศึกษาวิเคราะห์ วิจัยหน่วยงานของ ตนเองเป็ น รายงานกลุ่ ม หรื อ หน่ ว ยงานของตนเองเป็ น รายกลุ่ ม หรื อ งานส่ ว นบุ ค คล แล้ ว น ามา แลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันแล้วสังเคราะห์ผลในเชิงวิจัย แล้วเผยแพร่ไปยังหน่วยงานกลุ่มตัวอย่างโดย ผ่านผู้เรียน


33

3. คณาจารย์ผู้สอนมอบหมายให้ผู้เรียนทาวิจัยในประเด็นย่อยๆ ของเนื้อหารายวิชา กับแหล่งเรียนรู้ภายนอก แล้วนามาสังเคราะห์เผยแพร่แก่หน่วยงาน ชุมชน และสังคม 4. คณาจารย์ผู้ ส อนทาวิจัยชั้นเรียน หรือสร้างนวัตกรรมแล้ว นาไปอบรมหรือให้ ความรู้ขยายผลต่อหน่วยงาน ชุมชน และสังคม 5. คณาจารย์ผู้สอนและผู้เรียน ร่วมมือกับสถานศึกษาหรือหน่วยงานการศึกษาใน การทาวิจัยแบบมีส่วนร่วม (PAR) เพื่อพัฒนาสถานศึกษาหรือหน่วยงานนั้น 6. คณาจารย์ ผู้ ส อนและผู้ เรี ย นร่ ว มกั น ก าหนดพื้ น ที่ ที่ มี ปั ญ หาหรื อ เป็ น Best Practice แล้วร่วมกันศึกษาวิจัยเจาะลึก 7. คณาจารย์ผู้สอนสารวจความต้องการของหน่วยงาน ชุมชน สังคม และมีการนา ผลงานวิจัย หรือผลการสร้างองค์ความรู้/นวัตกรรมที่ได้จากงานวิจัยหรือการจัดการเรียนการสอน มา ใช้เป็นส่วนหนึ่งของการให้บริการวิชาการ 8. คณาจารย์ผู้สอนเป็นวิทยากรให้ความรู้แก่บุคคลภายนอก โดยมีผู้เรียนเป็นผู้ช่วย แล้วให้ผู้เรียนทาการประเมินการฝึกอบรม พิชณิชา นิปุณะ (2561) เสนอแนวทางการพัฒนางานบริการวิชาการที่ก่อให้เกิดรายได้ ว่า ควรประกอบไปด้วย (1) การจัดผู้รับผิดชอบที่เป็นผู้ประสานงานที่ชัดเจน (2) วิทยากรควรพิจารณา ผู้ ท รงคุ ณ วุฒิ ที่ ม าจากภายในมหาวิท ยาลั ยฯ (3) เจ้ าหน้ าที่ ผู้ รับ ผิ ดชอบไม่ ควรปฎิ เสธงาน และ (4) มีระเบียบการเบิกจ่ายเฉพาะ เพื่อความคล่องตัวในการบริหารจัดการ ซึ่งในการขับเคลื่อนงาน ด้านบริการของแต่ละมหาวิทยาลัยมีนโยบาย รูปแบบและแนวทางการบริหารจัดการที่แตกต่างกัน ดังนั้น แนวทางการพัฒนางานบริการวิชาการที่ก่อให้เกิดรายได้ ที่จะเป็นปัจจัยนาไปสู่ความสาเร็จ สามารถสรุปได้ดังนี้ 1. ควรกาหนดนโยบายการให้บริการวิชาการที่ชัดเจน 2. บุคลากรควรมีความรู้ความเข้าใจในนโยบาย และรับรู้ถึงสินค้า ผลิตภัณฑ์หรือ ความเชี่ยวชาญของหน่วยงานตนเอง 3. มีความเข้าใจในวัฒนธรรมองค์กร 4. มีความเข้าใจในทิศทางขององค์กร พร้อมรับการเปลี่ยนแปลง 5. สามารถวิเคราะห์คู่แข่ง สภาพแวดล้อมทั้งภายในและภายนอกมหาวิทยาลัยฯ 6. ขยายโอกาสด้วยการเพิ่มช่องทาง และวิธีการเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายด้วยรูปแบบที่ หลากหลาย เช่น การตกลงความร่วมมือ การลงนามสัญญา การสร้างความเป็นหุ้นส่วน 7. มี ก ารขยายและสร้ า งเครื อ ข่ า ยความร่ ว มมื อ กั บ หน่ ว ยงานอื่ น ๆภายนอก มหาวิทยาลัย 8. มีการสร้างแรงจูงใจแก่ผู้ปฏิบัติงาน เช่น การให้รางวัล การพิจารณาประเมินผล การปฏิ บั ติ งาน การสร้ างความก้ าวหน้ าความมั่ น คง การส่ งไปพั ฒ นาความรู้ เพิ่ ม ทั กษะในการ ปฏิบัติงาน 9. น าเครื่ องมือ ทางเทคโนโลยี/นวัต กรรม (Digital Technology /Outsourcing Technique ) มาช่วยสนับสนุนการบริหารจัดการ


34

จากแนวคิดการให้บริการวิชาการแก่สังคม จะเห็นได้ว่าแนวคิดดังกล่าวให้ทั้งหลักการ และ วิธีการในการจัดบริการวิชาการแก่สังคมของสถาบันอุดมศึกษา สถาบันอุดมศึกษาได้นาไปใช้ในการ จั ด บริ ก ารวิ ช าการที่ ส อดคล้ อ งกั บ เอกลั ก ษณ์ ข องตนเอง ดั ง ปรากฏในงานวิ จั ย ของ เพลิ น พิ ศ จุฬพันธ์ทอง และคณะ (2557) ได้ทาวิจัยเรื่อง การพัฒ นากลยุทธ์การบริการวิชาการแก่สังคมของ มหาวิทยาลัยราชภัฏกลุ่มภาคเหนือตอนล่าง ซึ่งผลสรุปจากการวิจัย ได้กาหนดกลยุทธ์ 10 ประการที่ จะสนับสนุนให้มหาวิทยาลัยราชภัฏกลุ่มภาคเหนือตอนล่างมีความเข้มแข็งด้านการบริการวิชาการเชิง บูรณาการเพื่อพัฒนาท้องถิ่น สังคม และประชาคมอาเซียน ได้แก่ (1) การปรับปรุงกระบวนการวาง แผนการบริการวิชาการเชิงรุกโดยใช้การมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วนและใช้ระบบสารสนเทศเพื่อการ ตัดสิ นใจเป็ น เครื่องมือ (2) พัฒ นาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการบริการวิชาการ (3) พัฒ นา ระบบการบริการวิชาการ (4) พัฒนาศักยภาพของหน่วยงานและบุคลากรด้านการบริการวิชาการ (5) พัฒนากลไกการจัดการทรัพยากรการบริการวิชาการทั้งภายในและภายนอก (6) พัฒนากระบวนการ และทรัพยากรการบูรณาการการบริการวิชาการกับพันธกิจของมหาวิทยาลัย (7) ส่งเสริมการบริการ วิชาการแก่สังคมที่ตอบสนองและชี้นาท้องถิ่น สังคม และประชาคมอาเซียน (8) พัฒ นาเครือข่าย ความร่วมมือในการบริการวิชาการ (9) ส่งเสริมการถ่ายทอดองค์ความรู้และนวัตกรรมการบริการ วิชาการ และ (10) พัฒนาระบบและกลไกการติดตามประเมินผลการให้บริการวิชาการ งานวิจัยของ ภัทรธิดา วัฒนาพรรณกิตติ (2558) ทาวิจัยเรื่อง ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อประสิทธิผลการบริการวิชาการ แก่สังคมของมหาวิทยาลัยราชภัฏกลุ่มภาคเหนือ พบว่า ปัจจัย 5 ด้าน ได้แก่ ด้านภาวะผู้นาเชิงกล ยุทธ์ในการจัดบริการวิชาการ ด้านการบริห ารจัดการองค์กร ด้านคุณ ลั กษณะของอาจารย์ในการ ให้บริการวิชาการ ด้านกระบวนการมีส่วนร่วมในการให้บริการวิชาการ และด้านพฤติกรรมในการ ทางานด้านบริการวิชาการ มีความสัมพันธ์กับประสิทธิผลในการจัดบริการวิชาการ และพบว่า ปัจจัย ด้านคุณลักษณะของอาจารย์ในการให้บริการวิชาการ ด้านกระบวนการมีส่วนร่วมในการให้บริการ วิ ช าการ และด้ า นพฤติ ก รรมในการท างานด้ า นบริ ก ารวิ ช าการ เป็ น ปั จ จั ย ที่ ส ามารถท านาย ประสิทธิผลการให้บริการวิชาการ ร้อยละ 62.3 และได้ให้ข้อเสนอแนะว่า มหาวิทยาลัยฯควรกาหนด ทิศทางการให้บริการที่ชัดเจนเป็นไปในทิศทางเดียวกันและสอดคล้องกับตัวชี้วัดที่กาหนดไว้ มีการ จัดสรรงบประมาณ และควบคุมติดตามการใช้งบประมาณอย่างเป็นระบบ และส่งเสริมการจัดบริการ วิชาการที่ตรงกับความถนัด เชี่ยวชาญของมหาวิทยาลัยฯ รวมทั้งส่งเสริมการมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้ ส่วนเสียในการจัดบริการวิชาการ งานวิจัยของนภัทร เสนพงศ์ (2561) ทาวิจัย เรื่อง กระบวนการ สร้างแรงบันดาลใจในการทางานบริการวิชาการแก่สังคมของบุคลากรในมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิ โรฒ พบว่า กระบวนการสร้างแรงบันดาลใจ มี 4 ขั้นตอน ได้แก่ ขั้นสร้างความเข้มแข็ง ขั้นสะสม ประสบการณ์ ขั้น แปลงแรงบั น ดาลใจสู่ การปฏิ บัติ และขั้น รักษาไว้ให้ มั่นคง รวมทั้ งได้เสนอแนะ เกี่ยวกับการส่งเสริมและสนับสนุนการให้บริการวิชาการแก่สังคมของอาจารย์ไว้ ดังนี้ (1) ส่งเสริม การสร้างเจตคติที่ดีให้แก่อาจารย์ในการเข้าร่วมบริการวิชาการโดยการประชาสัมพันธ์อย่างหลาย ช่องทางเพื่อให้เกิดความทั่วถึง โดยข้อมูลที่สื่อไปถึงอาจารย์ต้องมีความชัดเจน จริงจัง (2) สนับสนุน การสร้างความรู้และประสบการณ์ เช่น การศึกษาดูงาน การจัดนิทรรศการภายในมหาวิทยาลัย (3) สนับสนุนให้บุคลากรได้ทางานบริการวิชาการแก่สังคมทุกประเภท และดาเนินการอย่างต่อเนื่อง (4) กาหนดระเบียบ ข้อบังคับหรือขั้นตอนการดาเนินงานของมหาวิทยาลัยฯที่ไม่นาไปสู่การสร้างอุปสรรค


35

ในการจัดบริการวิชาการ เช่น ระเบียบการเงิน ระเบียบการพัฒ นาบุคลากร เป็นต้น (5) กระตุ้น ความคิดสร้างสรรค์แก่บุคลากรในความรู้ความสามารถของตนเองเพื่อให้นาความรู้ ความสามารถนั้น ไปประยุกต์และช่วยเหลือสังคมในด้านต่างๆ สรุปแนวคิดจากการทบทวนวรรณกรรม จากการทบทวนแนวคิดต่างๆ ดังที่กล่ าวมาข้างต้น ผู้ วิจัย จึงนาแนวคิด กลยุทธ์การตลาด (7Ps) ของ Kotler, Philip and Keller Kelvin Lane. (2016) ซึ่ งประกอบด้ ว ยปั จ จั ย 7 ประการ ได้แก่ ด้านผลิตภัณฑ์ (Product) ด้านราคา (Price) ด้านช่องทางการจัดจาหน่าย (Place/Channel Distribution) ด้ า นการส่ งเสริ ม การตลาด (Promotion) ด้ านบุ ค คล (People) ด้ านลั ก ษณะทาง กายภาพ (Physical Evidence) ด้านกระบวนการ (Process) มาประยุกต์ให้สอดคล้องกับบริบทของ การจัดการบริการวิชารแก่สังคมของหลักสูตร และคณะวิชาด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพ เพื่อที่จะวัด ระดับความคิดเห็นและสัมภาษณ์ผู้บริหาร อาจารย์ในสังกัด คณะวิชาด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพ ของ มหาวิทยาลัยเอกชนแห่งหนึ่งว่า มีความคิดเห็น มากน้อยระดับใดเกี่ยวกับการนากลยุทธ์การตลาดมา ใช้ในการสนับสนุนการจั ดบริการวิชาการแบบมีรายได้ นอกจากนี้ยังได้ศึกษาสภาพปัญหาของการ ให้บริการวิชาการแก่สังคม โดยแบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ (1) ปัญหาในเชิงทฤษฎี โดยนาแนวคิดของ เบญจวรรณ ทิ ม สุ ว รรณ และกรกนก ลั ท ธนั น ท์ (2556) ซึ่ งครอบคลุ ม ปั ญ หาใน 3 ด้ า น ได้ แ ก่ การเชื่อมโยงโครงการบริการที่บูรณาการกั บการจัดเรียนการสอนและการวิจัย การพัฒนาคุณภาพ กระบวนการให้บริการวิชาการ การประเมินผลประโยชน์/ ผลกระทบของการให้บริการวิชาการ และ (2) ปัญหาการบริหารทรั พยากรดาเนินงาน หรือ 4M ซึ่งประกอบด้วยบุคคล (Man) เงิน (Money) ทรัพยากรหรือวัตถุ (Material) การบริหารจัดการ (Management) โดยนาปัญหาในเชิงทฤษฎีและ ปั ญ หาจากการบริ ห ารทรัพ ยากรการด าเนิ นงานมาวัดระดับความคิดเห็ น และสั มภาษณ์ ผู้ บริห าร อาจารย์ในสังกัดคณะวิชาด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพ ของมหาวิทยาลัยเอกชนแห่งหนึ่งว่า ปัจจัยเหล่านี้ เป็ นปัญ หามากน้อยระดับใดในการสนับสนุนส่งเสริมการจัดบริการวิชาการแก่สังคมของหลักสูตร คณะวิชาด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพ เพื่อนาไปสู่การกาหนดกลยุทธ์และแนวทางการเพิ่มประสิทธิภาพ ที่ชัดเจนในการสนับสนุนการจัดบริการวิชาการแก่สังคมแบบมีรายได้ให้เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องเป็นไป ตามเป้าหมายที่มหาวิทยาลัยเอกชนแห่งนี้ได้กาหนดไว้


36

บทที่ 3 ระเบียบวิธีวิจัย วิธีดำเนินกำรวิจัย การวิจัยเรื่องกลยุทธ์ทางการตลาดที่สนับสนุนการจัดบริการวิชาการแก่สังคมแบบมีรายได้ ของหลักสูตรด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพสังกัดมหาวิทยาลัยเอกชนแห่งหนึ่งในจังหวัดนครปฐม ผู้วิจัยใช้ วิธีวิจั ย แบบผสมผสาน (Mix-Method) โดยมีลั กษณะการวิจัยแบบแผนคู่ขนาน (Concurrent or Simultaneous) คือ การใช้วิธีเก็บข้อมูลเชิงปริมาณ และเชิงคุณภาพพร้อมๆกันเพื่อเสริมเติมเต็มซึ่ง กั น และกั น ด าเนิ น การวิ จั ย ระยะเดี ย ว (วั ล นิ ก า ฉลากบาง, 2560) โดยการวิ จั ย เชิ ง คุ ณ ภาพ (Quantitative Research) ศึกษาด้วยการสัมภาษณ์กลุ่มผู้ให้ข้อมูลสาคัญ (Key Person) ควบคู่ไป กับการวิจัยเชิงปริมาณ (Qualitative Research) ศึกษาความคิดเห็นจากกลุ่มตัวอย่างที่กาหนดเพื่อ นามาวิเคราะห์ เปรีย บเทีย บให้ เห็ นข้อมูล จุดร่วม และจุดต่างเกี่ยวกับกลยุทธ์การตลาด ตลอดจน ปัญ หา และอุป สรรคการจั ดโครงการบริการวิช าการแก่สั งคมแบบมีรายได้จากมุมมองอาจารย์ใน หลักสูตรด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพของมหาวิทยาลัยเอกชนแห่งหนึ่ง โดยมีระเบียบวิธีวิจัย ดังนี้ กำรออกแบบกำรวิจัยแบบผสมผสำน 1. สถำนที่เก็บข้อมูล คือ มหาวิทยาลัยเอกชนแห่งหนึ่งในจังหวัดนครปฐม 2. ประชำกร ที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้คือ กลุ่มบุคลากร ซึ่งประกอบด้วยผู้บริหาร และอาจารย์ ในสั ง กั ด คณะพยาบาลศาสตร์ และคณะวิ ท ยาศาสตร์ สุ ข ภาพ จ านวนทั้ งหมด 94 คน (ส านั ก บริหารงานบุคคล พฤศจิกายน พ.ศ.2562) 3. กลุ่มตัวอย่ำงและขนำดกลุ่มตัวอย่ำง การวิจัยในครั้งนี้ผู้วิจัยแบ่งกลุ่มตัวอย่างที่จะใช้ทาการวิจัยออกเป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มตัวอย่าง ที่จะทาการศึกษาในเชิงคุณภาพ และกลุ่มตัวอย่างที่จะทาการศึกษาในเชิงปริมาณ ดังนี้ 3.1 การศึกษาเชิงคุณภาพ กาหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง (Purposive sampling) จากผู้บริหาร และหัวหน้าหลักสูตร หรืออาจารย์ที่ได้รั บมอบหมายให้ดูแลงานด้านการ ให้ บ ริการวิช าการแก่สั งคมของหลั กสูตร หรือคณะวิ ชาด้านวิทยาศาสตร์สุ ขภาพ จานวน 7 คน ในฐานะที่เป็นผู้ให้ข้อมูลสาคัญ (Key Person) 3.2 การศึกษาเชิงปริมาณ กาหนดกลุ่มบุคลากรของมหาวิทยาลัยเอกชนแห่งหนึ่งใน จั งหวั ด นครปฐม ก าหนดขนาดของกลุ่ ม ตั ว อย่ างตามสู ต รการค านวณของทาโร ยามาเน (Taro Yamane) ที่ขนาดความคลาดเคลื่อน ร้อยละ 5 ตามสูตร

n =

N 1+ N (e)²

=

94 1+ 94 (0.05)²

= 76

ดั ง นั้ น จากสู ต รที่ ค านวณได้ ก ลุ่ ม ตั ว อย่ า งที่ ใช้ ใ นการศึ ก ษาครั้ ง นี้ จ านวน 76 คน คณะผู้วิจัย ทาการสุ่มตัวอย่างแบบไม่ใช้ความน่าจะเป็น (Non probability sampling) โดยวิธีการ


37

เลือกกลุ่ มตัว อย่ างแบบบั งเอิญ (Accidental sampling) เหตุที่คณะผู้ วิจัยใช้วิธีการสุ่มตัว อย่างใน รูปแบบดังกล่าว เนื่องจากกลุ่มตัวอย่างที่เป็นอาจารย์จานวนหนึ่งมีภารกิจภายนอกมหาวิทยาลัยฯ โดยต้องออกไปนิเทศและนานักศึกษาสาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ และสาขาวิชากายภาพบาบัด ไปฝึก ประสบการณ์วิชาชีพทางในโรงพยาบาล หรือชุมชน ดังนั้น คณะผู้วิจัยจึงเลือกเก็บข้อมูลกับอาจารย์ที่ เป็ น กลุ่ มตัวอย่างซึ่งปฏิบั ติงานด้านการสอน การฝึ กปฏิบัติวิชาชีพภายในมหาวิทยาลั ยฯเป็นกลุ่ ม ตัวอย่าง และเพื่อป้องกันความผิดพลาดในการได้ รับข้อมูลที่สมบูรณ์กลับคืนมาใช้ในการวิเคราะห์ คณะผู้วิจัย จึงได้กาหนดเก็บ ข้อมูล จากประชากร จานวน 91 คน เกินร้อยละ 20 (76*20/100 = 15.2) ตามหลักเก็บข้อมูลทางสังคมศาสตร์ (สมชาย วรกิจเกษมสกุล, 2554) เครื่องมือที่ใช้ในกำรวิจัย 1. กำรพัฒนำเครื่องมือวิจัย เครือ่ งมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ประกอบด้วยเครื่องมือ จานวน 2 ชุด คือ แบบสัมภาษณ์ และ แบบสอบถาม ซึ่งมีการพัฒนาขึ้น ดังนี้ 1.1 แบบสัมภาษณ์ จานวน 1 ชุด เป็นแบบสอบถามแบบมีโครงสร้าง (Structured Interview) โดยเป็นการสัมภาษณ์ที่ผู้วิจัยได้กาหนดโครงสร้างและคาถามที่ จะใช้ในการสัมภาษณ์ไว้ ล่วงหน้าก่อนการไปเก็บข้อมูล และไปสัมภาษณ์กับผู้ให้ข้อมูลตามโครงสร้างคาถามที่ได้กาหนดไว้ แบบสัมภาษณ์นี้พัฒนาขึ้นจากการศึกษาแนวความคิดเกี่ยวกับกลยุทธ์ทางการตลาด (7Ps) แนวคิด การพัฒนาคุณภาพการให้บริการวิชาการของเบญจวรรณ ทิมสุวรรณ และกรกนก ลัทธนันท์ (2556) แนวคิดปัจจัยการบริหาร (4M) โดยสร้างแนวประเด็นคาถามให้สอดคล้องกับบริบทของมหาวิทยาลัย เอกชนแห่งหนึ่ง แบบสัมภาษณ์ประกอบด้วย 5 ประเด็นสาคัญ คือ 1.1.1 สถานการณ์แข่งขันของสถาบันอุดมศึกษาในการจัดบริการวิชาการ แก่สังคมในหลักสูตรที่สังกัด 1.1.2 จุดแข็ง และจุดอ่อนของหลักสูตรเกี่ยวกับการจัดบริการวิชาการแก่ สังคม 1.1.3 สภาพปัญหาการจัดบริการวิชาการแก่สังคมของหลักสูตร ทั้งปัญหา ในเชิงทฤษฎี และปัญหาจากการบริหารทรัพยากร 1.1.4 แผนการจัดการบริการวิชาการแก่สังคมในอนาคตและกลยุทธ์ของ หลักสูตรที่จะนาไปใช้แข่งขันในการจัดบริการวิชาการแก่สังคม 1.1.5 ความต้องการปัจจัยสนับสนุนด้านต่างๆจากมหาวิทยาลัยฯ 1.2 แบบสอบถาม จานวน 1 ชุด ซึ่งผู้ วิจัยพัฒ นาขึ้นจากการศึกษาแนวความคิด เกี่ยวกับกลยุทธ์ทางการตลาด (7Ps) ของ Kotler, Philip and Keller Kelvin Lane. (2016) และ สภาพปั ญหาของการให้ บริการวิชาการแก่สังคมในเชิงทฤษฎี จากแนวคิดการพัฒ นาคุณ ภาพการ ให้บริการวิชาการของเบญจวรรณ ทิมสุวรรณ และกรกนก ลัทธนันท์ (2556) และด้านการบริหาร จัดการบริการวิชาการจากแนวคิดปัจจัยการบริหาร (4M) โดยสร้างแนวประเด็นคาถามให้สอดคล้อง กับบริบทของมหาวิทยาลัยเอกชนแห่งหนึ่งเพื่อวัดระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับ กลยุทธ์ทางการตลาด


38

(7Ps) ที่ใช้ในการให้บริการวิชาการแก่สังคม และสภาพปัญหาของการให้บริการวิชาการแก่สังคม ของมหาวิทยาลัยฯ โดยแบ่งแบบสอบถามออกเป็น 4 ตอน ดังนี้ ตอนที่ 1 ข้ อ มู ล พื้ น ฐานของผู้ ต อบแบบสอบถาม ใช้ ก ารสอบถามแบบ ตรวจสอบรายการ (Checklist) ประกอบด้วย เพศ อายุ คุณวุฒิการศึกษา ส่วนงานที่สังกัด ตาแหน่ง ระยะเวลาการปฏิบัติงานที่มหาวิทยาลัยฯ และกิจกรรมการมีส่วนร่วมในการจัดบริการวิชาการแก่ สังคม ตอนที่ 2 การวัดระดับ คะแนนความคิดเห็นเกี่ยวกับกลยุทธ์ทางการตลาด (7Ps) ที่ใช้ในการให้บริการวิชาการแก่สังคม จาแนกเป็น 7 ด้าน ประกอบด้วยข้อคาถาม จานวน 36 ข้อ ได้แก่ 2.1 ด้านผลิตภัณฑ์ จานวน 7 ข้อ 2.2 ด้านราคา จานวน 5 ข้อ 2.3 ด้านช่องทางการจัดจาหน่าย จานวน 4 ข้อ 2.4 ด้านการส่งเสริมการตลาด จานวน 6 ข้อ 2.5 ด้านบุคคล จานวน 5 ข้อ 2.6 ด้านลักษณะทางกายภาพ จานวน 4 ข้อ 2.7 ด้านกระบวนการ จานวน 5 ข้อ แบบสอบถามในตอนที่ 2 สร้างเป็นมาตรวัดแบบลิเคร์ท ( Likert’s rating Scale ) แบ่งระดับความคิดเห็นออกเป็น 5 ระดับ และมีเกณฑ์การให้ ค่าระดับคะแนนความคิดเห็น และการแปลความหมายคะแนนของผู้ ต อบแบบสอบถาม ดั งนี้ (ส านั ก งานคณะกรรมการการ อุดมศึกษา, 2558) กำรให้คะแนน ค่ำระดับคะแนนเฉลี่ย กำรแปลควำมหมำย 5 4.51 – 5.00 มีความเห็นด้วยมากที่สุด 4 3.51 – 4.50 มีความเห็นด้วยมาก 3 2.51 – 3.50 มีความเห็นด้วยปานกลาง 2 1.51 – 2.50 มีความเห็นด้วยน้อย 1 1.00 – 1.50 ไม่เห็นด้วย ตอนที่ 3-4 การวั ด ระดั บ ความคิ ด เห็ น เกี่ ย วกั บ สภาพปั ญ หาของการ ให้บริการวิชาการแก่สังคมของหลักสูตร คณะวิชาด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพของมหาวิทยาลัยเอกชน แห่งหนึ่ง ประกอบด้วยข้อคาถาม จานวน 37 ข้อ จาแนกเป็น 3.1 ด้านทฤษฎี 3.1.1 ด้านการเชื่อมโยงโครงการบริการที่บูรณาการกับ การจัดเรียนการสอนและการวิจัย จานวน 5 ข้อ 3.1.2 การพัฒนาคุณภาพกระบวนการให้บริการวิชาการ จานวน 6 ข้อ


39

3.1.3 การประเมิ น ผลประโยชน์ / ผลกระทบของการ ให้บริการวิชาการ จานวน 5 ข้อ 3.2 ด้านปัจจัยการบริหาร 3.2.1 บุคคล จานวน 5 ข้อ 3.2.2 เงิน จานวน 5 ข้อ 3.2.3 ทรัพยากรหรือวัตถุ จานวน 5 ข้อ 3.2.4 การบริหารจัดการ จานวน 6 ข้อ แบบสอบถามในตอนที่ 3-4 สร้างเป็นมาตรวัดแบบลิเคร์ท (Likert’s rating Scale) แบ่งระดับความคิดเห็นออกเป็น 5 ระดับ และมีเกณฑ์การให้ ค่าระดับคะแนนความคิดเห็น และการ แปลความหมายคะแนนของผู้ ตอบแบบสอบถาม ดังนี้ (ส านักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา, 2558) กำรให้คะแนน ค่ำระดับคะแนนเฉลี่ย กำรแปลควำมหมำย 5 4.51 – 5.00 มีความเห็นว่ามีปัญหามากที่สุด 4 3.51 – 4.50 มีความเห็นว่ามีปัญหามาก 3 2.51 – 3.50 มีความเห็นว่าค่อนข้างมีปัญหา 2 1.51 – 2.50 มีความเห็นว่าเป็นปัญหาเล็กน้อย 1 1.00 – 1.50 ไม่เป็นปัญหา ตอนที่ 5 แบบสอบถามปลายเปิ ด ให้ ผู้ ต อบแสดงความคิ ด เห็ น หรื อ ข้ อ เสนอแนะเกี่ ย วกั บ การส่ งเสริ ม การจั ด บริก ารวิช าการแก่ สั งคม ของหลั ก สู ต ร คณะวิ ช าด้ า น วิทยาศาสตร์สุขภาพของมหาวิทยาลัยเอกชนแห่งหนึ่ง 2. กำรตรวจสอบคุณภำพของเครื่องมือวิจัย การศึ ก ษาวิ จั ย ในครั้ งนี้ มี เครื่อ งมื อ วิ จั ย จานวน 2 ชุ ด ที่ จ ะต้ อ งตรวจสอบคุ ณ ภาพ คื อ แบบสอบถาม และแบบสัมภาษณ์ ซึ่งการตรวจสอบประกอบด้วย 2 ส่วน ได้แก่ การทดสอบความ ตรง (Validity) และความเชื่อมั่นได้ (Reliability) ของเครื่องมือวิจัย ดังนี้ 1. การตรวจสอบความตรง (Validity) ผู้วิจัยตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหาของแบบสอบถาม และแบบสัมภาษณ์ โดยให้ ผู้ทรงคุณ วุฒิ จ านวน 3 คน วิพากษ์ความตรงเชิงเนื้อหาโดยพิจารณาความสอดคล้ องระหว่างข้อ คาถามกับวัตถุประสงค์ของการวิจัย จากค่าดัชนีความสอดคล้อง Index of congruency : IOC (ล้วน สายยศ และอังคณา สายยศ, 2548) และกาหนดการให้คะแนน ดังนี้ คะแนน + 1 เมื่อผู้ทรงคุณวุฒิแน่ใจว่า ข้อคาถามนั้นสอดคล้องกับวัตถุประสงค์การวิจัย คะแนน 0 เมื่อผู้ทรงคุณวุฒิไม่แน่ใจว่า ข้อคาถามนั้นสอดคล้องกับวัตถุประสงค์การวิจัย คะแนน - 1 ผู้ทรงคุณวุฒิไม่เห็นด้วย ข้อคาถามนั้นไม่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์การวิจัย หลังจากการตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหาของผู้ทรงคุณวุฒิ ผู้วิจัยจะนาคะแนนใน แต่ละข้อคาถามที่ได้มาแทนค่าในสูตร


40

IOC

=

ΣR N IOC หมายถึง ดัชนีความสอดคล้องระหว่างข้อคาถามกับแบบสอบถาม ΣR หมายถึง ผลรวมของคะแนนความคิดเห็นของผู้ทรงคุณวุฒิ N หมายถึง จานวนผู้ทรงคุณวุฒิ ผลจากค่าดัชนีความสอดคล้องที่มีค่าดัชนีความสอดคล้องมากกว่าหรือเท่ากับ 0.5 จะคงข้อคาถามไว้ ถ้าข้อคาถามใดมีค่าดัชนีความสอดคล้องต่ากว่า 0.5 ได้ตัดออกหรือนาไปปรับปรุง ใหม่ ซึ่ งผลจากการตรวจสอบความเที่ ย งตรงของเนื้ อ หาของผู้ ท รงคุ ณ วุ ฒิ จานวน 3 คน พบว่ า ภาพรวมค่ าดัช นี ความสอดคล้ องทุ กข้อคาถาม แบบสั ม ภาษณ์ มี ค่าเท่ ากับ 1 และแบบสอบถาม มีค่าเท่ากับ 0.92 จึงสามารถนาไปใช้ในการศึกษาวิจัยได้ (ล้วน สายยศ และอังคณา สายยศ, 2548) 2. การตรวจสอบความเชื่อมั่น (Reliability) การวิจั ย ครั้ งนี้ ท าการตรวจสอบคุ ณ ภาพของเครื่องมื อ วิจัย จานวน 1 ชุด คื อ แบบสอบถามสาหรับผู้บริหาร และอาจารย์ที่สังกัดคณะวิชาด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพ ผู้วิจัยนามาตร วัดดังกล่าวไปทาการทดสอบก่อนใช้จริง (Try out) กับกลุ่มตัวอย่างที่ไม่ใช่กลุ่มเป้าหมาย จานวน 30 คน เพื่อหาข้อบกพร่องของข้อคาถามที่ใช้ตัวแปรดังกล่าว และได้นาโปรแกรมสาเร็จรูป ทางสถิติมาใช้ ในการคานวณหาค่าสัมประสิทธิ์แอลฟา (Coefficient alpha) ของครอนบาค (Cronbach) โดยมีการ พิจารณาจากเกณฑ์การประเมินความเชื่อมั่นของค่าสัมประสิทธิ์แอลฟา ของครอนบาค ดังนี้ (ศิริชัย กาญจนวาสี, 2544) ค่าสัมประสิทธิ์แอลฟา การแปลความหมาย มากกว่า .9 ดีมาก มากกว่า .8 ดี มากกว่า .7 พอใช้ มากกว่า .6 ค่อนข้างพอใช้ มากกว่า .5 ต่า น้อยกว่า หรือ เท่ากับ .5 ไม่สามารถรับได้ 2.1 ข้อ ค าถามเกี่ ยวกั บ กลยุท ธ์ ท างการตลาด (7Ps) ที่ ใช้ในการให้ บ ริก าร วิชาการแก่สังคม ภาพรวมของมาตรวัดในการวิจัยครั้งนี้มีค่าเท่ากับ .965 หมายถึง ดีมาก โดยในแต่ ละด้านมีค่าสัมประสิทธิ์อัลฟ่า (Alpha) ดังนี้ดังนี้ 1) ด้านผลิตภัณฑ์ มีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ .811 2) ด้านราคา มีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ .846 3) ด้านช่องทางการจัดจาหน่าย มีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ .775 4) ด้านการส่งเสริมการตลาด มีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ .868 5) ด้านบุคคล มีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ .912 6) ด้านลักษณะทางกายภาพ มีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ .924 7) ด้านกระบวนการ มีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ .885


41

2.2 ข้อคาถามเกี่ยวกับ สภาพปัญ หาการจัดบริการวิช าการแก่สังคมแบบมี รายได้ของมหาวิทยาลั ยเอกชนแห่ งหนึ่ง ภาพรวมมีค่า ค่าสัมประสิทธิ์อัล ฟา (Coefficient alpha) ของครอนบาค (Cronbach) เท่ากับ .948 หมายถึง ดีมากโดยในแต่ละด้านมีค่าสัมประสิทธิ์อัลฟ่า (Alpha) ดังนี้ 1) ด้านทฤษฎี 1.1) ด้านการเชื่อมโยงโครงการบริการที่บูรณาการกับการจัดเรียน การสอนและการวิจัย มีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ .926 1.2) การพั ฒ นาคุ ณ ภาพกระบวนการให้ บ ริก ารวิช าการ มี ค่ า ความเชื่อมั่นเท่ากับ .785 1.3) การประเมิ น ผลประโยชน์ / ผลประทบของการให้ บ ริก าร วิชาการ มีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ .965 2) ด้านปัจจัยการบริหาร 2.1) บุคคล มีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ .937 2.2) เงิน มีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ .937 2.3) ทรัพยากรหรือวัตถุ มีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ .913 2.4) การบริหารจัดการ มีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ .869 ทั้งนี้จากการพิจารณาค่าความเชื่อมั่นของมาตรวัดในแต่ละด้าน พบว่ามีค่าความ เชื่อมั่นที่อยู่ระหว่าง .70 – 1.00 แสดงว่ามีความเชื่อมั่นสูง จึงสามารถนาไปใช้ในการศึกษาวิจัยได้ กำรพิทักษ์สิทธิของกลุ่มตัวอย่ำง การศึกษาวิจัยครั้งนี้คณะผู้วิจัยได้ คานึงถึงจริยธรรมและจรรยาบรรณของการทาวิจัย โดยมี การท าหนั งสื อ ผ่ านความเห็ น ชอบจากคณะกรรมการพิ จ ารณาจริย ธรรมการวิ จั ย ในมนุ ษ ย์ ข อง มหาวิทยาลัยเอกชนแห่งหนึ่ ง ตามหนังสือรับรองเลขที่ 5/2562 ทั้งนี้ผู้วิจัยได้พิทักษ์สิทธิของผู้ ให้ ข้อมูลตั้งแต่เริ่มต้นขั้นตอนการเก็บรวบรวมข้อมูลจนกระทั่งการนาเสนอผลการวิจัย โดยคณะผู้วิจัยได้ เข้าพบและชี้แจงสร้างความเข้าใจให้แก่กลุ่มตัวอย่าง โดยแนะนาตัว อธิบายวัตถุประสงค์และวิธีการ เก็บรวบรวมข้อมูลในการศึกษาวิจัยครั้งนี้ว่าเป็นการศึกษาวิจัยเพื่อก่อให้เกิดประโยชน์ต่อการกาหนด นโยบายในการพัฒนามหาวิทยาลัยเอกชนแห่งหนึ่ง รวมทั้งได้เปิดโอกาสให้กลุ่มตัวอย่างซักถามข้อมูล ประเด็นข้อคิดเห็นเกี่ยวกับแบบสอบถาม และการสัมภาษณ์ พร้อมทั้งยืนยันว่าการให้ข้อมูล ดังกล่าว จะถูกเก็บเป็นความลับและนาไปใช้ประโยชน์ในการศึกษาเท่านั้น กำรเก็บรวบรวมข้อมูลวิจัย ผู้วิจัยดาเนินการเก็บรวบรวมข้อมูล ดังนี้ 1. การเก็บข้อมูลเชิงคุณภาพ ผู้วิจัยทาการประสานงานกับผู้บริหาร และอาจารย์ที่ได้กาหนดเป็นกลุ่มตั วอย่างที่จะทาการ สั มภาษณ์ จ านวน 7 คน โดยทาการนัด หมายวัน และเวลาล่ ว งหน้า โดยจะจัดส่ งแนวค าถามให้ ล่วงหน้าเพื่อนาไปใช้ศึกษา และเข้าทาการสั มภาษณ์กับกลุ่มตัวอย่างตามประเด็นคาถามที่กาหนดไว้


42

ทั้งนี้จะขออนุญาตทาการบันทึกเสียงด้วยเครื่องบันทึกเสียงขณะสัมภาษณ์ เพื่อนาข้อมูลไปใช้ในการ วิเคราะห์ในเชิงเนื้อหาด้วยเพื่อป้องกันการสูญหายของข้อมูลจาการสัมภาษณ์ ซึ่งดาเนินการระหว่าง เดือนกันยายน-ธันวาคม 2562 2. การเก็บข้อมูลเชิงปริมาณ 2.1 จัดท าหนั งสือถึงคณบดีคณะพยาบาลศาสตร์ และคณบดีคณะวิทยาศาสตร์ สุขภาพ เพื่อขอความร่วมมือให้ บุ คลากรในสั งกัดกรอกข้อมูลลงในแบบสอบถามตามจานวนกลุ่ ม ตัวอย่างที่กาหนด โดยกาหนดเวลาการเก็บรวบรวมข้อมูลจากผู้บริหาร และอาจารย์ของแต่ละคณะ วิช า และให้ จั ด ส่ งแบบสอบถามกลั บ คื น มายังคณะผู้ วิจั ย ซึ่ งด าเนิ น การระหว่างเดื อน กั น ยายนธันวาคม 2562 2.2 ผู้ วิจั ย ตรวจสอบความสมบู รณ์ ข องแบบสอบถามที่ เก็ บ รวบรวมข้ อมู ล จาก บุคลากรครบตามจานวนที่กาหนดไว้ และได้รับแบบสอบถามกลับคืนจากบุคลากร จานวน 76 ชุด คิดเป็น ร้อยละ 100 นามาดาเนินการบันทึกและวิเคราะห์ข้อมูลต่อไป กำรวิเครำะห์ข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูลประกอบด้วย 2 ส่วน ได้แก่ การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ และการวิเคราะห์ ข้อมูลเชิงคุณภาพ ดังนี้ 1. การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ ใช้วิธีการสรุปวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis) จาก การสัมภาษณ์กลุ่มตัวอย่าง โดยจะแสดงให้เห็นถึงจุดร่วมและจุดต่างของข้อมูล และนาไปสู่การสร้าง ข้อสรุปจากเนื้อหา รวมทั้งกาหนดกรอบการนาเสนอข้อมูลตามประเด็นคาถามหลักและวัตถุประสงค์ การวิจัย 2. การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ กาหนดสถิติที่จะใช้ศึกษา ดังนี้ 2.1 ข้อมูลพื้นฐานของกลุ่มตัวอย่างใช้สถิติเชิงพรรณนา (Descriptive statistics) ด้วยการแจกแจงความถี่ (Frequency) และค่าร้อยละ (Percent) 2.2 ข้ อ มู ล ระดั บ ความคิ ด เห็ น ของบุ ค ลากรเกี่ ย วกั บ กลยุ ท ธ์ ก ารตลาดที่ มี ส่ ว น สนั บ สนุ น การจัดบริการวิช าการแก่สังคมแบบมีรายได้ และปั ญ หาและอุปสรรคในการจัดบริการ วิ ช าการ ใช้ ส ถิ ติ ส ถิ ติ เชิ ง พรรณนา (descriptive statistics) ได้ แ ก่ ค่ า เฉลี่ ย (Mean) และส่ ว น เบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard deviation)


43

สรุปการศึกษาวิจัยในครั้งนี้มีขั้นตอนการดาเนินงาน ดังนี้ ขั้นตอนที่ 1

การทบทวนเอกสาร เพือ่ ค้นหาตัวแปรและกาหนดกรอบแนวคิด

ศึกษาแนวคิด ทฤษฎี เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง - บริบทของสถาบันอุดมศึกษาในการจัดบริการวิชาการแก่สังคม - แนวคิดเกี่ยวกับกลยุทธ์การตลาด - แนวคิดเกี่ยวกับปัจจัยการบริหาร - แนวคิดเกี่ยวกับการให้บริการวิชาการแก่สังคม - งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง สร้างกรอบแนวคิดการวิจัย

ขั้นตอนที่ 2

การสร้างเครื่องมือ

สร้างแบบสอบถาม - กลยุทธ์การตลาดที่สนับสนุนการจัดบริการวิชาการแก่สังคม - สภาพปัญหาของการจัดบริการวิชาการแก่สังคม สร้างแบบสัมภาษณ์ - จุดแข็ง/จุดอ่อน, การแข่งขัน, สภาพปัญหา, ความต้องการ,แผนการและกลยุทธ์ในอนาคต

ขั้นตอนที่ 3

กำรเก็บรวบรวมข้อมูล

เชิงคุณภาพ : แบบสัมภาษณ์ : ผู้บริหาร/อาจารย์

ขั้นตอนที่ 4

ตรวจสอบ คุณภาพเครื่องมือ - Validity - Reliability

เชิงปริมาณ : แบบสอบถาม : ผู้บริหาร/อาจารย์

การวิเคราะห์ข้อมูล

- วิเคราะห์กลยุทธ์การตลาดที่สนับสนุนการจัดบริการวิชาการแก่สังคมของหลักสูตร คณะวิชา - สภาพปัญหา และแนวทางการส่งเสริมกลยุทธ์การตลาดการจัดบริการวิชาการแก่สังคมของหลักสูตร และคณะวิชา

ขั้นตอนที่ 5

สรุปผลการวิจัย สรุปผลการวิจัย อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ

เรียบเรียงบทความวิจัยเพือ่ ตีพิมพ์เผยแพร่ในวารสารวิชาการระดับชาติ

ภาพที่ 2 ขั้นตอนการศึกษาวิจัย


44

บทที่ 4 ผลการวิจัย การวิจัยเรื่องกลยุทธ์ทางการตลาดที่สนับสนุนการจัดบริการวิชาการแก่สังคมแบบมีรายได้ ของหลั ก สู ตรด้านวิทยาศาสตร์ สุ ข ภาพสั งกั ดมหาวิท ยาลั ยเอกชนแห่ งหนึ่ งในจังหวัดนครปฐมมี ผลการวิจัยนาเสนอตามหัวข้อ ดังนี้ 1. ผลการวิจัยเชิงคุณภาพเกี่ยวกับกลยุทธ์ทางการตลาดที่สนับสนุนการจัดบริการวิชาการแก่ สังคมแบบมีรายได้ 1.1 สถานการณ์การแข่งขันในตลาดบริการวิชาการแก่สังคมแบบมีรายได้ 1.2 จุดแข็ง และอุปสรรคในการจัดบริการวิชาการแก่สังคมแบบมีรายได้ 1.3 กลยุทธ์ที่สนับสนุนการจัดบริการวิชาการแก่สังคมแบบมีรายได้ 1.4 ความต้องการปัจจัยสนับสนุนจากมหาวิทยาลัยฯ 1.5 สรุปผลการศึกษาเชิงคุณภาพ 2. ผลการวิจัยเชิงปริมาณเกี่ยวกับกลยุทธ์ทางการตลาดที่สนับสนุนการจัดบริการวิชาการแก่ สังคมแบบมีรายได้ 2.1 ข้อมูลพื้นฐานของกลุ่มตัวอย่าง 2.2 ระดั บ ความคิ ด เห็ น เกี่ ย วกั บ การใช้ ก ลยุ ท ธ์ ท างการตลาดที่ ส นั บ สนุ น การ จัดบริการวิชาการแก่สังคมแบบมีรายได้ 2.3 ระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับสภาพปัญหาของการจัดบริการวิชาการแก่สังคม แบบมีรายได้ในเชิงทฤษฎี 2.4 ระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับสภาพปัญหาของการจัดบริการวิชาการแก่สังคม แบบมีรายได้จากการบริหารทรัพยากรการดาเนินงาน 3. ความสัมพันธ์ระหว่างผลการวิจัยเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ 1. ผลการวิจัยเชิงคุณภาพเกี่ยวกับกลยุทธ์ทางการตลาดที่สนับสนุนการจัดบริการวิชาการแก่ สังคมแบบมีรายได้ จากการสั ม ภาษณ์ ผู้ ใ ห้ ข้ อ มู ล หลั ก (Key Person) ได้ ข้ อ มู ล เกี่ ย วกั บ การด าเนิ น งานที่ สนับสนุนการจัดบริการวิชาการแก่สังคมแบบมีรายได้ ดังนี้ 1.1 สถานการณ์การแข่งขันในตลาดบริการวิชาการแก่สังคมแบบมีรายได้ ผู้ ใ ห้ ข้ อ มู ล หลั ก ของหลั ก สู ต รด้ า นวิ ท ยาศาสตร์ สุ ข ภาพได้ วิ เ คราะห์ ถึ ง สถานการณ์ แ ละ แนวโน้ ม ของการจั ด บริ การวิ ช าการแก่ สั ง คม ซึ่ งประกอบด้ ว ย ปัจ จัย ที่มี ผ ลต่อ การเข้า ร่ว มของ กลุ่มเป้าหมาย รูปแบบ ราคา และแนวโน้มของประเด็นทางสุขภาพที่กาลังได้รับความสนใจ ดังนี้


45

1.1.1 เกณฑ์ของสภาวิชาชีพเป็นปัจจัยสนับสนุนการเข้าร่วมของกลุ่มเป้าหมาย องค์กรวิชาชีพ เช่น สภาการพยาบาล สภากายภาพบาบัด ได้กาหนดให้สมาชิกของ สภาวิชาชีพต้องได้รับการพัฒนาเพิ่มพูนทักษะ ความรู้โดยที่สมาชิกจะต้องมีหน่วยคะแนนสะสมต่อปี ตามเกณฑ์ที่สภาวิชาชีพกาหนด จึงเป็นปัจจัยผลั กดันให้สมาชิกของสภาวิชาชีพเข้ารับการอบรมใน โครงการต่างๆที่ห ลักสูตรด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพ คณะวิช าของสถาบันอุดมศึกษาซึ่งได้รับการ รับรองให้เป็นสถาบันฝึกอบรมจัดขึ้น ผู้รับผิดชอบโครงการจึงต้องคานึงถึงองค์ประกอบหลายด้านใน การจัดโครงการบริการวิชาการที่เกี่ยวข้องกับสภาวิชาชีพ 1.1.1.1 ระยะเวลาการวางแผนเตรียมการจัดอบรม การเตรี ย มการเพื่ อ วางแผนการจั ด อบรมที่ ค รอบคลุ ม และมี ทิ ศ ทาง สามารถทาให้ ก ารด าเนิ น งานเพื่อ ขอหน่ ว ยคะแนนนับ ทางวิ ช าชี พจากสภาวิช าชีพ เป็ น ไปตาม เป้าหมายที่กาหนดไว้ทาให้สามารถนาข้อมูลมาดาเนินการต่อไปได้ “ถ้ า เป็ น ของพยาบาล เราต้ อ งขอหน่ ว ย cneu กั บ สภาการ พยาบาลหากเราเสนอโครงการกระชั้นชิดมาก ก็จะมีผลว่าเราไม่สามารถ ที่จะบอกกับผู้เข้าร่วมการประชุมว่าได้ cneu เท่าไหร่ ก็ได้แต่คาดการณ์ ว่าประมาณนี้ แต่ถ้าเกิดว่าเรามีเวลาเตรียมการมากพอ แล้วเราสามารถ ส่งไปและแล้วเราได้รับ cneu มาก่อน” “การรู้ ว่าได้หน่ว ยคะแนนจากสภาฯเท่าไหร่ เร็วขึ้น จะทาให้ คณะเอาไปวางแผน ขั้นตอน เตรียมการล่วงหน้าได้ จะได้ไปมีข้อมูลไป บอกกับลูกค้าได้ชัดเจน” 1.1.1.2 การประชาสัมพันธ์โครงการ โครงการบริการวิชาการที่จัดขึ้นโดยได้รับหน่วยคะแนนนับจากสภาวิชาชีพ เป็นปัจจัยสาคัญในการประชาสัมพันธ์ข้อมูลไปยังกลุ่มเป้าหมายสาหรับการตัดสินใจมาใช้บริการ โดยเฉพาะการพิจารณาจานวนคะแนนที่ได้รับจากสภาวิชาชีพ “cneu มีผลต่อการประชาสัมพันธ์โ ครงการ เพราะว่าบางคน อาจต้องการหน่ ว ยนับ เพื่อเป็นคะแนนต่อเนื่องและตัดสิ นใจเข้าร่ว ม ประชุม” “แต้มหรือหน่วยนับ เป็นจุดขายอีกอย่างหนึ่งที่สาคัญพอๆกับ ประเด็นหัวข้อที่จัดอบรม” “ของกายภาพทุกมหาวิทยาลัยฯหรือหน่วยงานที่จัดจะใช้เวป ไซต์ ข องสภากายภาพบ าบั ด เป็ น ช่ อ งทางในการประชาสั ม พั น ธ์ นักกายภาพที่สนใจ ก็สามารถเห็นตารางการอบรมในแต่ละช่วงเวลาได้ ทั้งหมดตามที่เขาสนใจ”


46

1.1.1.3 การต่อใบอนุญาตใบประกอบวิชาชีพ ผู้ ป ฏิ บั ติ ง านในสายวิ ช าชี พ ที่ มี ส ภาวิ ช าชี พ ก ากั บ จ าเป็ น ต้ อ งมี ก ารต่ อ ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพตามรอบระยะเวลาที่กาหนด การเข้าอบรมทางวิชาชีพให้ได้หน่วยคะแนน ที่กาหนดเป็นเงื่อนไขหนึ่งที่จะต้องใช้เป็นข้อมูลการต่อใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ “พยาบาลวิ ช าชี พ ต้ อ งการหน่ ว ย cneu เพื่ อ เป็ น คะแนน ต่อเนื่องเพื่อที่เขาจะได้ไปต่อใบประกอบอาชีพ ถ้าแบบว่าคะแนนน้อย เขาอาจจะยังไม่พิจารณาเข้าโครงการนี้” “บางคนเป็นนักกายภาพในโรงพยาบาล ตามคลินิกก็มา เพราะ เขามาตามหัวข้อที่น่าสนใจ หรือบางคนมาเพื่อต่อแต้ม อย่างเช่นไม่ได้ เป็ น นั ก กายภาพบ าบั ด แล้ ว ไปท างานที่ อื่ น แล้ ว แต่ ยั ง ไม่ อ ยากให้ ไ ป ประกอบวิชาชีพมันหลุดเขาก็จะมาเก็บแต้ม” “การจัดโครงการของคณะฯ แบบมีรายได้ จะมุ่งเน้นไปที่การขอ คะแนนจากองค์กรวิชาชีพ เพื่อให้มียอดผู้เข้าร่วมโครงการเป็นไปตามเป้า และจะมีการประชาสัมพันธ์โครงการโดยผ่านเครือข่ายวิชาชีพ จึงทาให้ ให้หลักสูตรสามารถประชาสัมพันธ์โครงการได้ตามกลุ่มเป้าหมาย” 1.1.1.4 หัวข้อการจัดโครงการ/วิทยากร การกาหนดประเด็ นหัวข้อการจัดโครงการที่ทันสมัย และสอดคล้องกับ อุบัติการณ์ของภาวะสุขภาพในแต่ละกลุ่มวัย พร้อมกับวิทยากรที่เชี่ยวชาญเป็นอีกปัจจัยหนึ่งสาหรับ การจัดโครงการของหลักสูตรที่มีสภาวิชาชีพกากับ ซึ่งจะเชื่อมโยงกับหน่วยคะแนนนับด้วย “ต้ อ งวางแผนในเรื่ อ งของหั ว ข้ อ การอบรม ทั้ ง วิ ท ยากร ระยะเวลา เพราะเวลาที่เขาดูให้คะแนนจะต้องดูจานวนชั่วโมงตรงนี้” “ในวางการกายภาพ หมู่นักกายภาพจะรู้กันเองว่าถ้าประเด็นนี้ กลุ่ ม อาการปวดกระดู ก กล้ า มเนื้ อ ระบบประสาท ทางเดิ น หายใจ วิทยากรจะต้องเป็นใคร เราจึงต้องวางตัว เชิญวิทยากรที่ตรงกับความ เชี่ยวชาญนั้นๆ” ขณะที่ห ลักสูตรด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพ ที่ยังไม่มีสภาวิชาชีพกากับให้ ความเห็นว่าการมีสภาวิชาชีพหรือหน่วยต้นสังกัดที่กาหนดให้สมาชิกเข้ารับการโดยมีหน่วยคะแนน นับมีผลต่อการเข้าร่วมโครงการ ดังนั้น จึงต้องกาหนดทิศทางการดาเนินงานให้สามารถเชื่อมโยงกับ กลุ่มเป้าหมายที่เป็นนักวิชาชีพ ซึ่งมีสภาวิชาชีพกากับ 1) จัดทาโครงการที่มีหน่วยคะแนนนับโดยกาหนดกลุ่มเป้าหมายที่มีสภา วิชาชีพกากับ เป็นการจัดทาโครงการบริการวิชาการที่สามารถขอหน่วยคะแนนนับกับ สภาวิชาชีพได้ โดยไม่จาเป็นต้องตรงกับสาขาวิชา เช่น สาขาวิศวกรรมชีวการแพทย์ สามารถจัด


47

โครงการอบรมให้ครูที่สอนทางคณิตศาสตร์ ซึ่งสภาวิชาชีพครูกาหนดให้ครูต้องมีชั่วโมงการอบรมตาม เกณฑ์ “เราต้องขอเสนอแต้ม เหมือนกับวิชาชีพอื่นๆ เราจะเชื่อมโยง กับสภาวิชาชีพอื่น เนื่องจากสาขาของเราไม่มีสภาวิชาชีพที่เป็นทางการ” “อาจจะต้องทาเชื่อมโยงหรือร่วมกั บสาขาอื่นๆที่เป็นวิชาชีพทา ร่วมกันในหัวข้อโครงการอบรมที่ไปด้วยกันได้” 2) กาหนดประเด็นการอบรมที่ตรงกับความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย การกาหนดประเด็นการอบรมให้ตรงกับข้อกาหนดของสภาวิชาชีพในแต่ ละกลุ่มเป้าหมาย “เราจะอบรมอะไรบ้าง เช่น ครูคอมพิวเตอร์ต้องอบรมการใช้ ซอฟต์แวร์ ค่าบริ การเท่านี้ จะได้ห น่วยคะแนนเท่านี้ ต้องเก็บชั่ว โมง เท่านี้” “ต้องมองว่าประเด็นหรือความรู้ที่กลุ่มวิชาชีพต้องการคืออะไร แล้วนามาคิดต่อว่าจะทาอะไร ร่วมกันสาขาไหนที่เป็นไปได้” 3) ศึกษาแหล่งทุนสนับสนุนการอบรมจากสภาวิชาชีพ เป็ น การส ารวจข้อ มู ล แหล่ ง ทุ นการพั ฒ นาการฝึ ก อบรมของหน่ ว ยงาน ภาครัฐและเอกชน ที่จัดสรรทุนการพัฒนาบุคลากรในสังกัด เพื่อทาการเข้าถึงเป้าหมายได้อย่างตรง จุด “ตัวอย่างที่สภาวิชาชีพครู เขาจะมีงบให้ครูไปอบรม แต่ละปีซึ่ง เขาก็ จ ะมี แ ต้ ม มาก าหนดซึ่ ง ได้ ร วมยอดแล้ ว คุ ณ ก็ ต้ อ งเอาคะแนนไป รวมกันในรอบปี เพื่อไปต่อใบประกอบครู ที่จริง” “ในโรงงานเขาจะมีแผนพัฒนาคน มีงบให้ไปอบรม เราต้องรู้ แหล่งข้อมูลตรงนี้ เพื่อนามาวางแผนเข้าหาสถานประกอบการ” 1.1.2 ความแตกต่างกันในด้านของราคาค่าใช้จ่ายการเข้าร่วมโครงการของแต่ละ หลักสูตร การกาหนดค่าใช้จ่ายในการเข้ารับการบริการวิชาการแก่สังคมของแต่ละหลักสูตรมี ความแตกต่างกัน อันเป็นผลมาจากความได้เปรียบจากการเป็นสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ การมีแหล่ง ทุนสนับสนุน การกาหนดราคาค่าใช้จ่ายแบบมีเงื่อนไข นอกจากนี้หากบางสถาบันที่จัดได้รับการ สนับสนุนจากองค์กรหรือบริษัทภายนอก จึงส่งผลให้ราคาค่าใช้จ่ายในการเข้าร่วมโครงการไม่สูงมาก นัก รวมทั้งรูปแบบของการจัดโครงการ ปัจจัยเหล่านี้จึงมีผลต่อการเข้าร่วมโครงการที่จัดขึ้นด้วย


48

1.1.2.1 ความได้เปรียบจากการเป็นสถาบันอุดมศึกษาของรัฐและมีแหล่ง ทุนสนับสนุน สถาบันอุดมศึกษาของรัฐมีข้อได้เปรียบในด้านทรัพยากรที่สนับสนุนการ ดาเนินงาน วิทยากร ตลอดจนภาพลักษณ์ที่มีชื่อเสี่ยง รวมทั้งการมีเครือข่ายกับหน่วยงานต่างๆ จึง เป็นเหตุให้การกาหนดค่าใช้จ่ายในการจัดบริการไม่สูงมากนัก สถาบันอุดมศึกษาเอกชนจึงต้องมีการ วิเคราะห์ราคาให้ใกล้เคียงกันเพื่อทาให้สามารถแข่งขันได้ “ดู จ ากของรั ฐ และเอกชนด้ ว ยกั น ค่ า ใช้ จ่ า ยไม่ ค่ อ ยต่ า งกั น เพราะว่าตอนที่เราจะกาหนดค่าลงทะเบียนเราก็จะดูค่าใช้จ่ายมาตรฐานว่า สถาบั น อื่ น ที่ เ ขาจั ด 2 วั น 3 วั น คิด เท่ า ไหร่ เราก็ จ ะพยายามก าหนด ค่าใช้จ่ายในการลงทะเบียนไม่ให้มันโอเวอร์ก็คือให้มันอยู่ในหน้าเดียวกัน” “Short cost แต่หลังๆ เริ่มมีแล้ว คอร์สระยะสั้นจะอยู่ที่ประมาณ 1,000 กว่าบาท เพราะเขาได้งบสนับสนุน อย่างมหาวิทยาลัย... คอร์สจะอ ยู่ที่ 1,000 แล้วมีงบสนับสนุนจากบริษัทเขาจึงเก็บไม่แพง แต่มีหลายราคา แต่อบรมทั่วไปอย่าง food Science ประมาณ 3,000 บาท 1 วัน” “ถ้ า เป็ น มหาวิ ท ยาลั ย ของรั ฐ เขามี ส ถานที่ คน ของอุ ป กรณ์ เพียบพร้อม ซึ่งเป็นต้นทุนสนับสนุนการดาเนินงานได้มาก ดังนั้น จึงทาให้ ราคาไม่สูง” “อุป กรณ์ ท รั พ ยากรของรั ฐ ค่ อ นข้ า งพร้ อมที่ จ ะสนั บ สนุ น การ จัดบริการจึงสามารถทาได้อย่างครบวงจร คือ เขามีคนที่จะมาทาภารกิจ ตรงนี้ มีคอนเน็กชั้นมากมาย ส่วนหนึ่งอาจมาจากเป็นมหาวิทยาลัยขนาด ใหญ่ และเปิดมานาน” 1.1.2.2 การกาหนดราคาแบบมีเงื่อนไข เป็นเทคนิคในการกาหนดค่าใช้จ่ายการจัดโครงการแบบมีเงื่อนไข เพื่อเชิญ ชวนให้กลุ่มเป้าหมายสนใจเข้าร่วมโครงการ เช่น ผู้เข้าร่วมที่อยู่ภายในมหาวิทยาลัยฯ การลงทะเบียน ก่อนวันที่กาหนด การแนะนาผู้อื่นให้เข้าร่วมโครงการตามจานวนที่กาหนด สิทธิพิเศษสาหรับศิษย์เก่า หรือผู้ที่เคยเข้าร่วมมาแล้วเป็นต้น “ถ้าเป็นคนในมหาวิทยาลัยฯ จะคิดอีกราคา หากเป็นคนนอกถ้า สมัครก่อนวันที่กาหนดจะได้อีกราคา ถ้ามาแล้วเอาเพื่อนมาด้วยกี่คน จะได้ ส่วนลดเพิ่มเติมหรือสิทธิอะไร นี่เป็นเทคนิคหรือกลยุทธ์” “อย่างที่มหาวิทยาลัย... หากเป็นศิษย์เก่าเขาจะมีราคาพิเศษให้ ถ้าเป็ น คนในองค์กร หน่ว ยงานในสั งกัด ราคาจะต่างกัน คนนอกที่เข้า โครงการมาอย่างต่อเนื่องหรือหน่วยงานที่เป้ นพันธมิตรกัน เขาจะมีสิทธิ พิเศษส่วนลดในการเข้าร่วมโครงการครั้งต่อไป”


49

1.1.2.3 รูปแบบของโครงการมีผลต่อราคาค่าใช้จ่าย โครงการบริการวิชาการแก่สังคมแบบมีรายได้ที่จัดขึ้นมีรูปแบบที่แตกต่าง กันออกไป เช่น ระยะเวลาการจัดโครงการ อุปกรณ์ที่ต้องใช้ วิทยากร สถานที่ดาเนินการ เป็นต้น ดังนั้น จึ งทาให้ค่าใช้จ่ายมีความผันแปรออกไปตามเงื่อนไขดังกล่าวและวัตถุประสงค์ของการจัด โครงการว่าต้องการให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจหรือได้รับคุณค่าอย่างไรจากการเข้าร่วม โครงการ “คอรส์ระยะยาว เช่น 2-3 เดือน ต้องมีค่าใช่จ่ายที่ สูงตามไปตาม เพราะการออกแบบหลั ก สู ต รที่ มี เ นื้ อ หาความรู้ ให้ แ ก่ ผู้ เ ข้ า ร่ ว ม หาก วิทยากรที่มีชื่อเสียงด้วยแล้ว มีการศึกษาดูงาน ก็จะมีราคาสูง ซึ่งขึ้นอยู่กับ ผู้สนใจหากเขามองว่ามันคุ้มค่าก็จะทาให้ตัดสินใจได้ง่าย” “โครงการเพียง 2 วัน แต่ค่าตัววิทยากรสูง ก็มีผลต่อการกาหนด ราคาการลงทะเบียน” “มีองค์ประกอบหลายอย่างที่ทาให้ค่าใช้จ่ายไม่เหมือนกัน ทั้งวันที่ จัด สถานที่ วิทยากร ผู้จัดต้องวิเคราะห์ความคุ้มค่าคุ้มทุน ให้ดี” 1.1.3 รูปแบบการจัดบริการวิชาการแก่สังคมมีความหลากหลาย หลักสูตรหรือหน่วยงานด้านสุขภาพจานวนหนึ่งจัดการให้บริการวิชาการในรูปแบบ ของโครงการอบรม ซึ่งมีห ลายลักษณะ เช่น การประชุมวิชาการ การสัมมนาเชิงปฏิบัติการ การ ประชุมเชิงปฏิบัติการ การอบรมหลักสูตรระยะสั้น โดยในแต่ละโครงการนั้นอาจจัดให้มีกิจกรรม ย่อยๆประกอบด้วย อาทิ การศึกษาดูงาน การทดลองปฏิบัติในห้องปฏิบัติการ การร่วมสาธิตหรือฝึก ปฏิบัติ แต่บางหลักสูตรด้านสุขภาพที่จัดให้บริการในรูปแบบของหน่วยงานหรือศูนย์การให้บริการ เช่น ศูนย์สอบเทียบเครื่องมมือวัด สถาบันวิจัยให้คาปรึกษา คลินิกด้านสุขภาพ สถาบันบริการออก กาลังกาย นันทนาการ ศูนย์ดูแลผู้สูงอายุ หน่วยบ่มเพาะธุรกิจ เป็นต้น 1.1.3.1 โครงการอบรมทั่วไป เป็นรูปแบบการจัดโครงการอบรมที่มีระยะเวลาดาเนินการ 1 – 5 วัน ซึ่ง เป็นรูปแบบของการอบรม สัมมนา เพื่อให้ความรู้ เทคนิค วิธีปฏิบัติต่างๆ แก่ผู้เข้าร่วมโครงการ “ทาง food science จะมีคอร์สระยะสั้น 1-3 วัน ที่จัดขึ้น ให้แก่ นั ก โภชนาการ นั กวิ จั ย อาหาร หรื อ กลุ่ ม ที่ ทางานในห้ อ งปฏิ บั ติก ารใน โรงเรียนต่างๆ” “ของพยาบาลส่วนใหญ่จะเป็นรูปแบบของการจัดโครงการอบรม ในประเด็นสุ ขภาพต่างๆเพื่อสนับสนุนการเพิ่มความรู้ ทักษะใหม่ๆทาง วิชาชีพ เวลา เช่น 1-3 วัน 5 วันบ้างขึ้นอยู่กับเนื้อหาและหน่วยคะแนนนับ ที่ให้”


50

1.1.3.2 โครงการอบรมหลักสูตรระยะสั้น เป็ น โครงการที่จั ดขึ้ นโดยมีระยะเวลาดาเนิน การหลายเดื อน ซึ่ งมี การ ออกแบบเนื้อหาของการอบรม และกิจกรรมย่อยต่างๆที่ต้องการให้ผู้เข้าร่วมโครงการได้ความรู้ ความ เข้าใจค่อนข้างมาก ให้ เป็ น ไปตามเกณฑ์มาตรฐานหรือวัตถุประสงค์ของการจัดโครงการ และมี ค่าใช้จ่ายที่สูงกว่าการอบรมทั่วไป “อาจจะใช้ระยะเวลาที่สั้นๆอาจจะเป็น 70 ชั่วโมง เพื่อให้ เขา สามารถที่จะไปดูแลผู้สูงอายุได้ก่อน เป็นการดูแลใน nursing home ซึ่ง จะเป็นระยะสั้น ช่วง 70 ชั่วโมงหรือว่า ถ้าเป็นลักษณะที่เป็นผู้ช่วยเหลือใน เรื่องไม่ใช่หลักสูตรผู้ช่วยพยาบาลและเป็นผู้ช่วยเหลือก็จะเป็นประมาณ 6 เดือน” “การอบรมหลักสูตรระยะสั้น ซึ่งมีหัวข้อ เนื้อหาจานวนมากที่จะ จัดให้แก่ผู้เข้าอบรม โดยมีระยะเวลาหลายเดือน ค่าใช้จ่ายก็จะสูงตามไป ด้วย” 1.1.3.3 การจัดตั้งหน่วยงานให้บริการ เป็ น รู ป แบบการจั ด ตั้ ง หน่ ว ยงานขึ้ น มาให้ บ ริ ก ารโดยมี ก ารก าหนด วัตถุประสงค์ที่ชัดเจน ดาเนินงานในรูปแบบของธุรกิจ เพื่อให้บริการสร้างรายได้แก่หน่วยงานโดยตรง “มหาวิ ท ยาลั ย ฯทุ ก แห่ ง จะมี ค ลิ นิ ก กายภาพ ให้ บ ริ ก ารมี นักกายภาพและเป็นแหล่งให้นักศึกษาได้ฝึกปฏิบัติวิชาชีพ” “มหาวิ ทยาลั ยอื่นเขาจะใช้วิธี การหารายได้จ ากการตั้งตั ว เป็ น ผลิตภัณฑ์ที่ให้บริการให้บริการเลย เช่น จัดอบรมการสอบเทียบเครื่องมือ ซึ่งก็ต้องมีการลงทุนขึ้นอยู่กับว่าศักยภาพของไหวไหมที่จะลงทุนทาเป็น อบรมแล้วจะได้ใบ certificate แต่ส่วนใหญ่ก็คือใช้ตั้งตัวเองเป็นศูนย์สอบ เทียบเครื่องมือ” 1.1.4 ประเด็นการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุเป็นแนวโน้มสาคัญในการจัดบริการวิชาการ ปัจจุบันและอนาคต แต่ก็ยังพบประเด็นทางสุขภาพอื่นๆร่วมด้วย การเปลี่ยนผ่านเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุของประเทศไทยทาให้สถาบันอุดมศึกษา และ องค์กรด้านสุขภาพตอบสนองสถานการณ์ดังกล่าวด้วยการจัดทานโยบาย แผนพัฒนา การทาวิจัย รวมทั้งการจัดบริการเพื่อส่งเสริมสุขภาพของผู้สูงอายุ ซึ่งจัดให้กับตัวผู้สูงอายุเอง และบุคลากรด้าน สุขภาพที่ทาหน้าที่ดูแลผู้สูงอายุ แต่ก็อย่างไรก็ตาม พบประเด็นทางสุขภาพอื่ นๆที่ร่วมด้วย เช่น โรค เรื้อรัง สุขภาพจิตในกลุ่มวัยต่างๆ โรคที่เกิดขึ้นจากการทางาน (office syndrome) 1.1.4.1 การให้ความสาคัญกับการดูแลผู้สูงอายุ การจั ด บริ ก ารวิช าการแก่ สั ง คมด้ า นสุ ข ภาพในปั จ จุ บัน และอนาคตจะ เน้นหนักไปในการเพิ่มพูนความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลกลุ่มผู้สูงอายุ


51

“คงจะต้องเป็นประเด็นที่เกี่ยวข้องกับเรื่องของแนวโน้มปัญหา สุขภาพของประเทศไทยซึ่งตอนนี้ไม่ว่าจะเป็นนโยบายของระดับประเทศ จะเน้นมาทางผู้สูงอายุ ซึ่งเราก็มองว่าในการจัดบริการวิชาการแก่สังคมที่ เป็นเป็นด้านเกี่ยวกับผู้สูงอายุ ยังเป็นหัวข้อที่น่าสนใจ แล้วก็คิดว่าพยาบาล วิชาชีพเขาต้องการที่จะมีความรู้หรือว่าการเตรียมตัวเพื่อที่จะดูแลผู้สูงอายุ ที่มีจานวนเพิ่มมากขึ้น” “ตอนนี้ เทรนด์ผู้ สู ง อายุกาลั งมาแรง เวลาที่ จัดบริการวิช าการ สังคมก็จะไปทางผู้สูงอายุ แต่ก็จะมีพ่วงวิกฤตอยู่บ้าง เพราะจากการสารวจ ผู้ใช้บัณฑิต พบว่า ยังต้องการผลิตบัณฑิตที่เฉพาะทางด้านการพยาบาล ผู้ป่วยวิกฤตอยู่ ฉะนั้นการจัดบริการทางสั งคมของคณะก็จะเบนไปทาง วิกฤต ผู้สูงอายุ กลุ่มที่พยายามจะทาและผลักดันให้เกิด” 1.1.4.2 ปั ญ หาทางสุ ข ภาพที่ เ ป็ น ผลมาจากกลุ่ ม โรค NCDs (NonCommunicable diseases) เป็นการจัดบริการวิชาการแก่สังคมด้านสุขภาพที่ให้ความรู้ ความเข้าใจ และวิธีการดูแล ป้องกัน บาบัด รักษาโรคในกลุ่มที่ไม่ติดต่อเรื้อรัง ได้แก่ โรคเบาหวาน โรคหลอด เลือดสมองและหั วใจ โรคถุงลมโป่งพอง โรคมะเร็ง โรคความดันโลหิ ตสูง และโรคอ้ว นลงพุง ซึ่ง เกิดขึ้นในกลุ่มคนวัยต่างๆ “ถ้ า เราไปทบทวนวรรณกรรมก็ จ ะเห็ น สถิ ติ ต่ า งๆ มากมาย เกี่ยวกับโรค NCDs ซึ่งเรียกว่าเป็นสถิติสาธารณสุขหรือข้อมูลเชิงประจักษ์ ที่ให้เรายืนยันว่า เรามีฐานของการคิดโครงการว่ามันมีสถิติเชิงประจักษ์ ยืนยันว่า ขณะนี้มันเป็นปัญหาของสังคม” “หากย้อนไปดูโครงการบริการวิชาการที่นักศึกษา ป.โท และ ป. ตรี ทาที่ผ่านมาในชุมชน โรงพพยาบาล รพสคต่างๆ จะเห็นได้ว่า เราเน้น กลุ่มโรคเบาหวาน โรคอ้วน หลอดเลือดหัวใจ ความความดัด ซึ่งในอนาคต จะมีแนวโน้มสูงขึ้น” 1.1.4.3 กลุ่มอาการโรคออฟฟิศซินโดรม (Office syndrome) เป็นโรคที่เกิดขึ้นจากพฤติกรรมในการทางาน รวมไปถึงสภาพแวดล้อมในที่ ทางาน ที่เป็นเหตุให้เกิดกลุ่มอาการปวดกล้ามเนื้อ และเนื้อเยื่อพังผืด ซึ่งเป็นปัญหาของกลุ่มคนวัน ทางาน ที่เป็นประเด็นทางสุขภาพเพิ่มมากขึ้น “เทรนด์ที่มาแรง คือ เทรนด์ลดปวดในออฟฟิตซินโดมในภาวะ โรคต่างๆ ที่เป็นเทรนด์ในกระแสตอนนี้” “หลายหน่ ว ยงานที่ จั ด หรื อ หากไปดู ใ นเวปไซต์ ข องสภา กายภาพบาบัด จะเห็นได้ชัดเจนเลย ว่ากลุ่มอาการโรคปวดต่างๆ ระบบ ประสาท พังผืด การจัดกระดูกข้อต่อ เป็นประเด็นหลัก”


52

1.2 จุดแข็ง และอุปสรรคในการจัดบริการวิชาการแก่สังคมแบบมีรายได้ ผู้ให้ข้อมูลหลักได้วิเคราะห์ถึงจุดแข็ง และอุปสรรคที่อาจจะส่งผลต่อการจัดบริการวิชาการ แก่สังคม ดังนี้ 1.2.1 จุดแข็ง เป็ น ศักยภาพของหลั กสู ตรด้านวิทยาศาสตร์สุ ขภาพของมหาวิทยาลั ยเอกชนแห่ งหนึ่งในจังหวัด นครปฐม ซึ่ง เป็ น ปั จ จั ย สนั บ สนุ น การจั ด บริก ารวิ ช าการแก่ สั ง คมให้ ส ามารถด าเนิ นการอย่ า งมี ประสิทธิภาพ ซึ่งพบว่ามีดังนี้ 1.2.1.1 ประสบการณ์ของคณะวิชาในการจัดบริการและความเชื่อมโยงกับ ศิษย์เก่า เป็นประสบการณ์เกี่ยวกับการจัดบริการวิชาการแก่สังคมของหลักสูตร และคณะวิชาที่มีการสั่งสมมาอย่างยาวนานทาให้เป็นที่รับรู้จักในแวดวงวิชาชีพในพื้นที่และจังหวัด ใกล้เคียง และเชื่อมโยงไปถึงการมีเครือข่ายกับศิษย์เก่าที่ปฏิบัติงานในองค์กรสุขภาพต่างๆที่มีส่วน ช่วยในการสนับสนุน ทาให้สามารถเผยแพร่ข้อมูลและเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการบริการวิชาการ “ด้วยคณะ... มีประสบการณ์ในเรื่องของการจัดโครงการแล้วก็ อาจจะต้องบอก...และมองว่าในความเข้มแข็งของสาขาพยาบาลศาสตร์ เวลาที่จัดประชุมส่วนใหญ่ คนที่มาเข้ารับการอบรม เขาจะประเมินความ พึง พอใจอยู่ ใ นระดั บ ดีม าก ในแง่ ข องอาจารย์ ที่ เป็ น วิ ท ยากร มีค วามรู้ ความสามารถ มีผลงานที่เป็นเชิงประจักษ์ ก็เป็นส่วนหนึ่งที่ทาให้คนเข้ามา รับการอบรม” “เนื่องจากว่ามหาวิทยาลัยฯอยู่ในพื้นที่ภูมิภาคทางตะวันตก และ ในพื้นที่เป็นจังหวัดในเขตบริการสุขภาพที่ 5 จะเป็นกลุ่มเป้าหมายที่ที่คาด ว่า เขาจะเข้า มาเพื่ อที่ จ ะมาอบรมได้ ง่า ย โดยเฉพาะศิษ ย์ เก่ า ของเราที่ กระจายตัวอยู่ในเขตบริการสุขภาพ” “เราก็โปรโมทของเราอยู่แล้วในเพจของเรากับกลุ่มเราในกลุ่มของ นักศึกษา ศิษย์เก่าเวลาเราจัดงานประชุมครั้งหนึ่งเราก็จะสร้างกลุ่ม Line ขึ้นมาเพื่อจะได้ส่งข้อมูลข่าวสารอันนี้ และเป็น Connection ต่อไปๆ ใน โครงการข้างหน้า อันนี้เราก็โปรโมทอยู่แล้วตามไลน์กลุ่ม” 1.2.1.2 มีอาจารย์ที่เชี่ยวชาญซึ่งมีความพร้อมในการให้บริการวิชาการแก่ สังคม แต่ละหลักสูตรมีอาจารย์ซึ่งสาเร็จการศึกษาจากหลากหลายสาขาวิชาเป็น วิทยากรที่มีความเชี่ยวชาญในการให้บริการได้ครอบคลุมกับหัวข้อหรือประเด็นทางสุขภาพของแต่ละ สาขาทาให้ไม่ต้องพึ่งพาวิทยากรจากภายนอกจานวนมาก รวมทั้งแต่ละหลักสูตรการมีเตรียมอาจารย์ รุ่นใหม่เพื่อให้เป็นวิทยากรที่มีความรู้ความสามารถในอนาคตด้วย


53

1) ความเชี่ยวชาญของอาจารย์ที่ครอบคลุมกับปัญหาทางสุขภาพ มีอาจารย์ที่มีคุณวุฒิ ความสนใจทางวิชาการ และมีผลงานทาง วิชาการที่ตรงกับปัญหาทางสุขภาพ จึงพร้อมที่จะเป็นวิทยากรถ่ายทอดความรู้ในการให้บริการได้ “เนื่องจากอาจารย์ในสาขากายภาพบาบัดของเรา มีทั้งพรีคลินิก และคลินิ กที่จ บมาความหลากหลายของอาจารย์ค่อนข้างสูงและมีฟิว ส์ สาขาอื่น ที่ขาดแคลน เช่น จิตวิทยา economy ตรงนี้ เราได้เปรียบใน ความหลากหลายของอาจารย์ในการบูรณาการซึ่ งศาสตร์กายภาพบาบัด สมัยใหม่เป็นสาเหตุของการบูรณาการ” “อาจารย์ในสาขาเหล่ามีหลายฟิว โดยเฉพาะอาจารย์ผู้ใหญ่แต่ละ ท่านมีความเชี่ยวชาญในเรื่องอะไร เวลาที่กาหนดหัวข้อในการอบรม ก็ต้อง มองว่าอาจารย์ท่านนี้มีงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับเรื่องนี้หรือเปล่า อาจารย์ ท่านสอนในหัวข้อเหล่านี้ไหม หรือว่าการไปพัฒนาอบรมเรื่องที่เกี่ยวข้อง เช่นที่ผ่านมอาจารย์ไปอบรมเกี่ยวกับเรื่องของการดูแลผู้สูงอายุระยะยาวก็ ได้ความรู้มาส่วนหนึ่ง ก็เอามาพูดในหัวข้อหนึ่งในการประชุมวิชาการ” 2) มีการเตรียมความพร้อมให้อาจารย์เป็นวิทยากร ทุกหลักสูตรมีแผนที่จะส่งเสริมและสนับสนุนให้อาจารย์รุ่นใหม่ ได้รับการพัฒนาความรู้ และเข้ามามีส่วนร่วมในการทากิจกรรมกับอาจารย์ที่มีประสบการณ์ เพื่อ เตรียมพร้อมสาหรับการเป็นวิทยากรในอนาคต “วิ ธี ก ารที่ เ ราจะเรี ย กว่ า มี ก ารเตรี ย ม คื อ อาจจะมี ก ารพั ฒ นา อาจารย์แล้วก็ให้อาจารย์เข้ามามีส่วนร่วม อย่างอาจารย์ที่ไปอบรมระยะสั้น เรื่องของผู้สูงอายุค่ะเราก็จะเชิญมาช่วยเป็นวิทยากรร่วม สาหรับอาจารย์ที่มี ประสบการณ์ส่วนหนึ่งอาจารย์ก็อาจจะเป็นหลักในการเป็นวิท ยากรในการ บรรยายหลายชั่วโมงแต่ว่าอาจารย์ที่ยังมีประสบการณ์น้อยกว่าจะให้เป็น ผู้ช่วยในการนากิจกรรมกลุ่มหรืออะไรแล้วก็ค่อยๆพัฒนาให้อาจารย์เขามี ความมั่นใจในการที่จะเป็นวิทยากรและพอเขามีความมั่นใจในครั้งต่อไปเขา ก็จะเป็นวิทยากรได้โดยที่ไม่ต้องเป็นวิทยากรร่วม สามารถเป็นวิทยากรเดี่ยว ได้” “สาขามีการเตรียมอาจารย์ให้มีความรู้ และเทคนิคในการเป็นวิทยา กร โดยส่งไปอบรมให้ความรู้ อยู่ในคลินิก และมีส่วนร่วมในการเป็นทีมงาน ร่วมกับวิทยากรที่เชิญมาจากภายนอก เพื่อเพิ่มพูนประสบการณ์” “มีอาจารย์ที่ผ่านการอบรมหลักสูตรเฉพาะทาง 4 เดือนมาแล้วก็คิด ว่าเราก็มีวิทยากรที่เป็นอาจารย์ภายในสามารถที่จะเป็นวิทยากรหลักในการ บรรยายได้ในการจัดโครงการ ก็จะเป็นรายได้ที่จะเข้ามหาวิทยาลัย” “ในนโยบายที่มีอยู่ตอนนี้ เราก็คิดว่าในกลุ่มเป้าหมายน่าจะต้องมี เรื่องของการที่จัดเตรียมบุคลากรให้มีความรู้ในด้านของผู้ สูงอายุเท่าเท่าที่


54

มองนะตอนนี้เพราะว่าดูจากโครงการบริการวิชาการแก่สังคมที่จัดในช่วงนี้ก็ จะเกี่ยวกับเรื่องของผู้สูงอายุใช่แล้วแต่จะเป็นทางมุมไหนอะไรอย่างนี้” 1.2.1.3 ความพร้อมด้านสถานที่ของมหาวิทยาลัยฯ มหาวิทยาลัยฯมีความพร้อมด้านสถานที่ ได้แก่ ห้องประชุม ห้องปฏิบัติการ และโสตทัศนูปกรณ์ เพื่อสนับสนุนการจัดการให้บริการวิชาการแก่สังคม ทั้งในส่วนของวิทยาเขตหลัก และศูนย์การศึกษาที่ตั้งอยู่ในเขตกรุงเทพมหานคร 1) มีสถานที่จัดบริการที่สนองกับความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย ในแต่ละพื้นที่ มหาวิทยาลัยฯมีสถานที่ที่สามารถจัดโครงการบริการวิชาการทั้งที่ วิทยาเขตหลักนครปฐม และในกรุงเทพมหานคร ซึ่งขึ้นอยู่กับกลุ่มเป้าหมายของแต่ละหลักสูตรที่จะ จั ด ขึ้ น เช่ น กลุ่ ม บุ ค ลากรในพื้ น ที่ เ ขตสุ ข ภาพที่ 5 หรื อ ภาคตะวั น ตก หรื อ กลุ่ ม เป้ า หมายใน กรุงเทพมหานครและปริมณฑล “เนื่องจากว่ากลุ่มเป้าหมายที่อยู่เนื่องจากว่ามหาวิทยาลัยในอยู่ใน พื้นที่ที่อยู่ในเขต 1 มาทางทางภูมิภาคทางตะวันตกในพื้นที่เป็นจังหวัดใน เขตบริการสุขภาพที่ 5 จะเป็นกลุ่มเป้าหมายที่ที่คาดว่าเขาจะเข้ามาเพื่อที่จะ มาอบรมได้ง่าย” “ในกรุ ง เทพเอง เราก็มี ศูน ย์ศึ กษาสยามคอมเพล็ ก ซ์ซึ่ งเป็น เป็ น สถานที่ที่อยู่ในทาเลที่ดีแล้วก็สาหรับกลุ่มเป้าหมายที่อยู่ในกรุงเทพฯแล้วก็ใน ในพื้นที่ใกล้กรุงเทพฯ อย่างเช่น นนทบุรีก็จะมาได้สะดวกเนื่องจากว่าการ เดินทางก็เป็นปัจจัยหนึ่งที่ทาให้เขามาอบรมทั้งนั้นแต่ว่าในเรื่องของการจัด สถานที่ตรงนี้” 2) มีความพร้อมด้านอุปกรณ์สนับสนุนการจัดบริการ มหาวิทยาลัยฯ มีอุปกรณ์ที่เกี่ยวช้องกับวิชาชีพ รวมทั้งอุปกรณ์ โสตทัศ นู ป กรณ์ ที่ส ามารถน ามาสนั บสนุน การจั ดบริ การได้ส ะดวก โดยเฉพาะที่วิ ทยาเขตหลั ก นครปฐม ต้องพิจารณาจากรูแปบบการจัดโครงการ “ถ้าต้องมีการฝึกปฏิบัติที่อาจจะต้องใช้ในเรื่องอุปกรณ์ เราก็อาจจะ ต้ อ งวางแผนในเรื่ อ งของการเตรี ย มอุ ป กรณ์ หากว่ า เราต้ อ งใช้ พื้ น ที่ ใ น กรุงเทพฯ แต่ถ้าเป็นในที่นครปฐมแล้วก็มีอุปกรณ์ที่เราจะใช้ได้ง่ายน่าจะ สะดวกกว่า แต่เราก็มองว่าหากว่าถ้าเป็นแค่เรื่องของการอบรมทั่วไปโดยที่ ไม่ได้ไม่ได้มีการฝึกทักษะอะไร ในเรื่องของการใช้อุปกรณ์ในห้องแลบ ก็จะมี ความคล่องตัวมากขึ้น อาจจะจัดในกรุงเทพฯ ก็ได้”


55

แต่อย่างไรก็ตาม บางหลักสูตรให้ความเห็นว่า การจัดบริการโดยใช้บริการสถานที่ จากโรงแรมภายนอกมหาวิทยาลัยฯ ทาให้ได้รับความสะดวกมากกว่า เนื่องจากความต้องการของ กลุ่มเป้าหมาย และกิจกรรมที่เกิดขึ้นในโครงการ “โรงแรมจะตอบโจทย์มากกว่า เพราะค่าอาหารเขาเหมารวมในค่า ห้องเลย สามารถบริหารจัดการได้คล่องมาก วิธีการหาลูกค้าจะเหมือนกัน เพราะนักกายภาพบาบัดทุกคนจะไปรวมกันที่นั่น” “เราเคยจัดทั้งข้างนอกและข้างใน ข้างในไม่ค่อยมีสิ่ง อานวยความ สะดวก เช่ น อาหารหรือ สถานที่จ ากัด แต่ค นที่ม าอบรมจะชอบให้ จั ด ที่ โรงแรมมากกว่ า เพราะการบริ ห ารจั ด การของโรงแรมจะดี ก ว่ า ราคา ใกล้เคียงกัน แต่โรงแรมดีกว่า ทาเลที่ตั้งของเราไม่เหมาะ เพราะศิษย์เก่าจะ อยู่ต่างจังหวัดเดินทางมาสะดวกกว่า” 1.2.1.4 การบริหารจัดการโครงการที่มีประสิทธิภาพ เป็นการดาเนินงานของหลักสูตรที่พยายามวิเคราะห์ถึงการบริหารต้นทุน ด้านเวลา การใช้งบประมาณ และกาลังคนให้เกิดความคุ้มค่ามากที่สุดเท่าที่จะดาเนินการได้ เพื่อทา ให้โครงการมีประสิทธิภาพ และมีรายรับบนพื้นฐานของความสมเหตุสมผล 1) การยึดหลักการประหยัดสุด ประโยชน์สูง เป็ น การวิ เ คราะห์ ก ารด าเนิ น งานของผู้ รั บ ผิ ด ชอบโครงการ เกี่ยวกับการใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ทั้งในด้านตัวบุคคล งบประมาณ พัสดุต่างๆ ที่ตั้งอยู่บนพื้นฐานของ ความสมเหตุสมผล และระเบียบของมหาวิทยาลัยฯ โดยเน้นความคุ้มค่า คุ้มทุนในการบริหารจัดการ กับทรัพยากรการดาเนินงานเหล่านี้ “เราต้องคิดไตร่ตรองหรือว่ามีการประเมินค่าเพื่อตัดสินใจว่าเราจะ ทากับคนกลุ่มนี้ไม่ใช่ว่าเขาทาเราก็ทา ต้องมีหลักคิด ซึ่งหลักคิด คือ เรามี ทรัพยากรจากัด ถ้าเราจะจัดโครงการ 1 โครงการ ใช้ทรัพยากรอะไร เราใช้ ค น วิ ท ย า ก ร บุ ค ล า ก ร เ งิ น Data information เ ร า ใ ช้ Material Equipment เราใช้องค์ความรู้ พวกนี้เป็น Resource ทั้งหมด แต่อย่าคิดว่า มีเยอะ ต้องคิดว่า มีอยู่ค่อนข้างจากัด ต้องใช้ยังไงกับคนกลุ่มนั้นแล้วคุ่มค่า” “ใช้คนและทรัพยากรอย่างประหยัดสุ ด เพราะเราต้องประหยัด ต้นทุน เพื่อให้เกิดรายรับเหนือรายจ่ายมากตามที่คาดหวังไว้” 2) การทางานเป็นทีม เป็นการวางแผนของคณะกรรมการดาเนินงานโครงการที่มีการ แบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ และเน้นการให้ทุกคนมีส่วนร่วมในการดาเนินงาน รวมทั้งความร่วมมือกัน ในการทางานอย่างประสานสอดคล้อง ทาการให้ดาเนินโครงการเป็นไปได้ด้วยดี


56

“ในส่ ว นของกายภาพไม่ ค่ อ ยมี ปั ญ หาอะไรมากเพราะว่ า เรามี อาจารย์ที่ทางานร่วมกันเป็นทีมยกเป็นทีมเลย เมื่อก่อนที่ผ่านมานักศึกษา เราเยอะเราก็ เ กณฑ์ นั ก ศึ ก ษาแล้ ว เราก็ Management การสอนกั น เอง ดังนั้นที่ผ่านมาไม่มีปัญหาแต่” “คณะ...มีจุดแข็งอย่างหนึ่งคือเวลาที่ต้องอาศัยความร่วมมือหรือ อาศัยพลังสามัคคีนี้ก็จะมีมาถูกเวลา ระยะเวลาที่เหมาะสมคือในช่วงนี้เป็น ช่วงเริ่มของการเริ่มที่เราจะทางานอย่างนี้ที่ยังไม่ถึงเวลาที่จะมีโครงการแบบ นี้เขาก็บางคนเขายังไม่ได้มาช่วยเต็มที่เพราะว่าเขามีภาระอย่างอื่นที่ต้องไป ทาอะไร แต่คนที่อยู่ก็จะสามารถบริหารจัดการได้ แต่เมื่อไหร่ที่ใกล้เข้ามา เหลืออีก 1 เดือนหรือมีอะไร ทุกคนก็จะเข้ามาหรือแม้กระทั่งว่าเวลาที่เรา ต้องการหาสปอนเซอร์ หาอะไรเพิ่ม คนที่อยู่นิเทศก์เขาก็จะช่วยในส่วนของ โรงพยาบาล” 1.2.2 อุปสรรค หลักสูตรด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพได้วิเคราะห์ถึงปัจจัยที่มีผลต่อการจัดโครงการ บริการวิชาการแก่สังคมของหลักสูตร ซึ่งส่งผลให้ไม่สามารถดาเนินการได้อย่างที่คาดหวังไว้ และการ มีข้อมูลที่จะนามาใช้ประกอบการกาหนดแผนการจัดบริการวิชาการได้ตรงกลุ่มเป้าหมาย อุปสรรค เหล่านั้น ได้แก่ 1.2.2.1 การวางแผนการสารวจความต้องการที่ตรงกลุ่มเป้าหมายอย่าง เป็นระบบ การดาเนินงานของหลักสูตร รวมทั้งในระดับคณะวิชา และมหาวิทยาลัยฯ ยังไม่มีการสารวจความต้องการจัดบริการที่ชัดเจน (Need Assessment) โดยมีการวิเคราะห์ประเด็น เนื้อหา รูปแบบที่ต้องการของกลุ่มเป้าหมายในพื้นที่ องค์กร หรือแต่ละกลุ่มวิชาชีพอย่างเป็นระบบ เพื่อนาข้อมูลเหล่านั้นมาใช้ในการจัดทาชุดข้อมูล หรือแผนการจัดบริการวิชาการ เพื่อนาเสนอการ ให้บริการวิชาการที่สอดคล้องกับความต้องการของกลุ่มเป้าหมายที่ได้มีการวิเคราะห์แล้ว สร้างความ เชื่อมมั่นในข้อมูลให้แก่ผู้บริหารในองค์กรที่เป็นกลุ่มเป้าหมาย อย่างไรก็ตามโดยส่วนใหญ่จะมีการ สารวจแยกย่อยออกเป็นรายโครงการในเอกสารประเมินผลโครงการ หรือประเมินจากประเด็นปัญหา ทางสุขภาพที่ได้รับความสนใจ 1) การศึกษาวิจัยที่เป็นระบบ หลั กสู ตรด้านวิทยาศาสตร์สุ ขภาพ เสนอว่า การที่จะได้ข้อมู ล ความต้องการบริการจากหน่วงานภายนอกนั้น ต้องมีการศึกษาวิจัย โดยมีการวิเคราะห์กลุ่มเป้าหมาย ที่ชัดเจนเพื่อนาไปสู่การจัดทาแผนการดาเนินงานระยะสั้น ระยะยาวได้อย่างมีทิศทาง “ต้องทาวิจัยแบบ Survey หรือว่าสัมภาษณ์เชิงลึ กกับผู้บริหารนี้ เพื่ อ เอาผลการวิ จั ย มาเป็ น ฐานในการเขี ย นหลั ก การและเหตุ ผ ลแล้ ว ก็ วางแผนระยะยาว 3 ปี และได้คุยกับ สสจ ว่าเราจะมีห ลักสูตรแบบนี้ให้ เตรียมงบ เตรียม HR ไว้ได้เลย”


57

“มันไม่มีฐานข้อมูลตรงนี้พี่ก็ว่าตรงนี้ก็เป็นปัญหาหรือเป็นจุดอ่อน ของเรา จริงๆแล้วมันเคยกับการให้เป็นขั้นตอนที่ 1 นะของการทาแผนก็คือ ศึกษาสภาพความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย มีผลต่อในข้อ 3 ในแผนระยะ สั้นที่ว่าระยะสั้นนี่คือ 1 ปี ยกเว้นอีก 1 ปีนี้คือ สั้นแล้ว” “จริ งๆ แล้ ว ถามว่ าเวลาเราจัดประชุมวิช าการ เราคงต้องมีการ สารวจความต้องการของชุมชนหรือว่าของกลุ่ มเป้าหมายว่าเขาสนใจใน หัวข้ออะไร แต่ช่วงที่ผ่านมาไม่ได้ลงไปในในกลุ่มเป้าหมาย” 2) การนาผลการดาเนินงานในครั้งที่ผ่านมาปรับปรุง การที่จะทาการสารวจความต้องการที่ตรงกลุ่มเป้าหมายได้นั้น ควรมีก ารน าข้ อมู ล จากการดาเนิ น งานของการจัดโครงการในครั้งที่ ผ่ า นมาใช้ เป็ นข้ อมูล ในการ ประกอบการดาเนินงานวางแผนสารวจ เพื่อทาให้เห็นความเชื่อมโยงของแผนในระดับหลักสูตร คณะ วิชาและมหาวิทยาลัยฯ “ปัญหาอีกอย่างคือ แผนของเรายังไม่ชัด คือการประเมินผลแผนใน แต่ล ะปี ยั งไม่ค่อ ยชัด การเอาข้อมูล จากการประเมินผลแผนไปใช้ในการ วางแผนในปีถัดไป แต่ยังต่อกันไม่ติดทั้งในระดับมหาวิทยาลัยและคณะวิชา ทั้งนี้ในรายงาน SAR ที่ทาไว้ชัดเจนแล้วแต่ยังต่อกันไม่ได้” “เหมือนกับว่าคนที่ทาแผนอาจจะลืมไปว่าปีที่แล้วเป็นยังไงเรามี การประเมินผลแผนไหมและมีข้อเสนอแนะหรือว่าแนวทางพัฒนายังไงเอา ตรงนั้นมาใช้อยู่ในมือหรือเปล่าก่อนที่จะทาแผนไป ทางบประมาณ ปีถัดไป ซึ่ ง ต้ อ งท าอี ก รอบจึ ง จะเห็ น ทั้ ง 2 ระดั บ คื อ ของคณะวิ ช ากั บ ของ มหาวิทยาลัยฯ” 1.2.2.2 ระยะเวลาการให้การรับรองเป็นสถาบันฝึกอบรมของสภาวิชาชีพ มีผลต่อการจัดทาโครงการเพิ่มรายได้ เป็นประเด็นที่เกี่ยวข้องกับสภาวิชาชีพ เนื่องจากปัจจุบันคณะพยาบาล ศาสตร์ได้รับการรับรองให้เป็นสถาบันหลักในการจัดอบรม 2 ปี จึงส่งผลให้ไม่สามารถจัดการอบรม ระยะสั้นเฉพาะทางที่มีระยะเวลา 4-6 เดือนได้ ซึ่งตามเกณฑ์ของสภาการวิชาชีพ สถาบันหลักต้อง ได้รั บ การรั บ รอง 4 ปี ขึ้น ไป ดังนั้ น ความคาดหวัง เกี่ยวกับ การจัดอบรมหลั ก สู ตรเฉพาะทางที่ มี ระยะเวลาอบรมนานและเพิ่มรายได้จึงไม่สามารถดาเนินการได้ แต่หลักสูตรก็มีความพยายามที่ จัดเตรียมทรัพยากรและกาลังคนไว้หากได้รับการรับรองตามเกณฑ์ที่กาหนด 1) ข้อจากัดในการเปิดอบรมหลักสูตระยะสั้น เนื่องจากระยะเวลาในการรับรองของคณะพยาบาลศาสตร์ให้เป็น สถาบันในการฝึกอบรมทางวิชาชีพ มีผลต่อการจัดอบรมหลักสูตรระยะสั้นที่มีระยะเวลาหลายชั่วโมง จึงทาให้ได้จัดอบรมเพียง 1- 5 วัน เท่านั้น การเพิ่มรายได้ที่มากขึ้นจากการอบรมจึ งยังไม่สามารถ ดาเนินการได้


58

“เนื่องจากว่าตอนนี้คณะพยาบาลศาสตร์เราได้รับการรับรองแค่ 2 ปีเป็นหลักสูตรระยะสั้น 4 เดือน สถาบันต้องได้รับการรับรอง 4 ปีถึงจะเปิด หลักสูตรนี้ได้ ในช่วงนี้เราก็คงทาได้แค่ที่เป็นช่วงสั้นๆแค่ 3 วัน 5 วัน ก็ต้อง รอจนกว่าเราจะได้รับรอง 4 ปีแล้ว ถึงจะเปิดอบรมระยะสั้นที่เป็น Short cost Training 4 เดือน” “แต่มันยังติดค้างที่หลักสูตรระยะสั้นเฉพาะทาง 4 เดือน 6 เดือน ซึ่งสภาพยาบาลก็มีกฎอยู่ว่ามีโครงสร้างหลักสูตรให้เอาหลักสูตรของสภาการ พยาบาลไปเป็ นหลักในการคิดแบบนี้นะแล้ว ก็คุณก็ส่งตามระเบียบส่ งชื่ อ วิทยากรให้เขาตรวจสอบอะไรนะช่วงนี้เรายังไม่สามารถทาได้มันต้องมันต้อง เท่าไหร่ในช่วงระยะนี้เราก็ไม่ได้เราก็ทาโครงการอบรมระยะสั้นก็ทาไปเขาก็ ไม่ได้ว่าเราทาได้แล้วตอนนี้ไม่มีลิมิตแต่ว่าขณะเดียวกันว่า” 2) การเตรียมความพร้อมที่จะจัดการอบรมหลักสูตรระยะสั้นหาก ได้รับการรับรองตามเกณฑ์ที่กาหนด แม้ว่าปัจจุบันคณะวิชายังไม่ได้รับการรับรองตามเกณฑ์ที่กาหนด แต่มีการเตรียมแผนงานที่จะจัดอบรมหลักสูตรระยะสั้นในอนาคต โดยมีการเตรียมวิทยาการหลัก การเขียนหลักสูตร การทาความร่วมมือกับองค์กรด้านสุขภาพภายนอก “กว่าจะได้รับรองหรือว่าให้สิทธิ์ในการเปิดหลักสูตรเฉพาะทาง เรา ควรจะมีการสั่งสมวิทยากรสะสมองค์ความรู้พอสมควรสาหรับเปิดเฉพาะ ทางได้ แ ล้ ว เช่น กั น ในวั นผู้ สู งอายุก ารใช้ ง านได้กี่ บั ตรการพยาบาลวิ ก ฤต ทานองนี้ค่ะ 3-4 เรื่องนะที่เราเดินอยู่ในนี้มันคงจะรอไม่ได้แล้วไงต้องเตรียม หลักสูตรไว้” “จึงต้องวางแผนกับองค์กรภายนอก เช่น โรงพยาบาล.....ที่ติดต่อให้ เราทา 4 เดือน เรื่องผู้ป่วยวิกฤติ โดยเขาจะ support เรื่องอาจารย์หมอที่ จะมาสอน ตอนนี้เขาสร้างตึกเพื่อจะเป็นโรงเรียนแพทย์ เขาจึงต้องการให้ เราผลิตบัณฑิตหรือสร้างคนให้เขา แต่ติดที่การรับรองสถาบันของเราไม่ถึง 4 ปี ตอนนี้อยู่ระหว่างการศึกษาและเตรียมเขียนหลักสูตรและต้องผ่านรับรอง จากสภาการพยาบาลก่อน เราได้เตรียมการเรื่องการพยาบาลผู้ป่วยวิกฤตกับ การพยาบาลผู้สูงอายุ”


59

1.3 กลยุทธ์ที่สนับสนุนการจัดบริการวิชาการแก่สังคมแบบมีรายได้ หลักสูตรด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพ ได้นาเสนอวิธีการหรือแนวทางที่ชัดเจน ซึ่งจะนาไปใช้ใน การส่งเสริมและสนับสนุนการจัดบริการวิชาการแก่สังคมแบบมีรายได้ ให้มีประสิทธิภาพและเกิด ประสิทธิผล โดยอาศัยความร่วมมือทั้งจากภายในและภายนอกองค์กร ดังนี้ 1.3.1 กลยุทธ์การใช้เครือข่ายศิษย์เก่า เป็นการนาศิษย์เก่าเข้ามามีส่วนร่วมสนับสนุนการจัดโครงการบริการวิชาการแก่ สั ง คมของหลั ก สู ต ร เนื่ อ งจากศิ ษ ย์ เ ก่ า ของแต่ ล ะหลั ก สู ต รทั้ ง ในระดั บ ปริ ญ ญาตรี แ ละระดั บ บัณฑิตศึกษายังมีความสัมพันธ์อันดีกับอาจารย์ ร่วมทั้งได้เข้าร่วมทาโครงการ/กิจกรรมกับคณะวิชา อย่างสม่าเสมอ ดังนั้น ศิษย์เก่าจึงเป็นทั้งกลุ่มเป้าหมายที่จะเข้ามาร่วมในโครงการ และเป็นเครื่องมือ ในการส่ ง ข้ อ มู ล ต่ อ หรื อ การบอกปากต่ อ ปาก (word of mouth) ไปยั ง องค์ ก รที่ สั ง กั ด เพื่ อ ช่ ว ย ประชาสัมพันธ์และสนับสนุนการเข้ าร่วมโครงการบริการวิชาการที่คณะวิชา หรือหลักสูตรจัดขึ้น แนวทางการดาเนินงานเพื่อใช้ศิษย์เก่าเป็นเครือข่าย มีดังนี้ 1.3.1.1 การสร้างความเชื่อมั่นในอาจารย์ให้แก่ศิษย์เก่า เป็นการสร้างความเชื่อมั่นในตัวอาจารย์ของหลักสูตรที่เป็นวิทยากร ซึ่ง เป็นผู้ที่มีความรู้ ความสามารถ ทาให้ศิษย์เก่ามีความสนใจที่จะเข้ามามีส่วนร่วมในโครงการ “ลู ก ศิษ ย์ เข้ า ร่ว มโครงการที่ มาก็ จะเป็น ลู กศิ ษย์ ที่ ก็เ คยเรี ยนกั บ อาจารย์เขาจะรู้ว่าอาจารย์ที่เป็นวิทยากรมีความรู้ความสามารถก็อาจจะเป็น ส่วนหนึ่ง ทาให้เขาเชื่อมั่นว่า ว่าจะได้ความรู้ที่ได้เต็มที่แน่นอน” “อาจารย์ ผู้ ใหญ่ ห ลายท่า นมี ประสบการณ์ที่ จ ะถ่ า ยทอดความรู้ เทคนิควิธีการต่างๆ รวมทั้งส่วนหนึ่งศิษย์เก่าเหล่านี้เคยสัมผัสการเรียนกับ อาจารย์มาก่อนสมัยยังเรียน” 1.3.1.2 การมอบสิทธิพิเศษให้แก่ศิษย์เก่า เป็นการมอบสิทธิพิเศษให้แก่ศิษย์เก่าที่เข้ามามีส่วนร่วมในโครงการบริการ วิชาการแก่สังคมของคณะฯ โดยมอบในส่วนของค่าใช้จ่ายในการลงทะเบียนเข้าร่วมโครงการตาม เงื่อนไขที่กาหนด เพื่อสร้างความรู้สึกที่ดีให้แก่ศิษย์เก่า และเป็นจุดขายในการประชาสัมพันธ์โครงการ “มีสิทธิพิเศษในเรื่องส่ วนลดราคาสาหรับศิษ ย์เก่าของสาขาที่มา อบรมในโครงการ” “หากศิษย์เก่าไปแนะนาให้ผู้อื่น เข้ามาร่วม อาจจัดทาสิทธิพิเศษ เพิ่มเติมให้ได้อีกตามเงื่อนไขที่กาหนด” 1.3.1.3 การใช้เพจของคณะวิชาเป็นเครื่องมือสื่อสาร การใช้สื่ อสั งคมออนไลน์ของหลั กสู ตร คณะวิช า ที่เป็น ช่องทางในการ ส่งผ่านข้อมูลการจัดบริการวิชาการไปสู่ศิษย์เก่า เพื่อทาให้ศิษย์เก่าทราบข้อมูล ความเคลื่อนไหวใน โครงการ/กิจกรรมต่างๆของหลักสูตร และคณะวิชา


60

“เรามีเพจที่เป็นสื่อกลางในการติดต่อกับศิษย์เก่าเพื่อส่งข่าวสาร ข้อมูล ความเคลื่อนไหวของคณะ รวมทั้งยังมีสิทธิพิเศษในเรื่องส่วนลดราคา สาหรับศิษย์เก่าที่มาอบรมในโครงการที่จัดขึ้นด้วย” “เวลาจะจัดโครงการอะไร อาจารย์ที่รับผิดชอบ จะอัพเดทข้อมูลลง ในเพจ ทั้งที่ผ่านไปแล้วและกาลังจะจัดขึ้นในอนาคต เพื่อทาให้ศิษย์เก่าเห็น พัฒนาการ” 1.3.1.4 กาหนดให้ศิษย์เก่าช่วยเพิ่มกลุ่มเป้าหมายในการร่วมโครงการ เป็นการกาหนดนโยบายให้ศิษย์เก่า โดยเฉพาะที่เป็นผู้นาในองค์กร มีส่วน ร่วมในการจัดโครงการทุกโครงการ โดยมีการเชิญประชุมและให้ศิษย์เก่าช่วยสนับสนุนผู้เข้าร่วม โครงการตามเป้าหมายที่กาหนด “นโยบายของเราคื อ ดึ ง ศิ ษ ย์ เ ก่ า เข้ า มามี ส่ ว นร่ ว มทุ ก ครั้ ง ที่ จั ด โครงการบริการวิชาการแก่สังคม เราจะดึงศิษย์เก่าเขาเข้ามาร่วมประชุม อย่างน้อย 1-2 ครั้ง ครั้งแรกคือมาดูเทรนว่าตอนนี้คือเขาต้องการอะไรบ้าง ต้องการให้เขาช่วยเราหาลูกค้า โดยอาจจะกาหนดว่า ในแต่ละรุ่นหามาสัก 5-6 คน เพื่อเป็นการการันตีว่าเรามีลูกค้าแน่นอน สามารถจัดบริการได้” 1.3.1.5 การนาเสนอให้ศิษย์เก่ามีส่วนร่วมในการพัฒนาคณะวิชา การส่งเสริมให้ศิษย์เก่ากลุ่มต่างๆ เข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาหรือทา ประโยชน์ให้แก่คณะวิชาผ่านการจัดโครงการบริการวิชาการแก่สังคม ซึ่งอาจารย์ของคณะวิชาจะเป็น เครื่องมือสาคัญในการเชื่อมโยงความสัมพันธ์อันดีกับศิษย์เก่าให้เข้ามามีส่วนร่วม “พยายามดึงศิษย์เก่าเข้ามามีส่วนร่วม เพราะจบเยอะมากแล้วก็มี เต็มพื้นที่ ถ้าเราไม่ดึงเขามาช่วยคือตลาดการแข่งขันข้างนอกสูงมาก ถ้าหา ลูกค้าด้วยตัวเองจะยาก…เพราะมีเกณฑ์ว่าเราเป็นสถาบันหลักแล้วเราต้อง ดูแลคนในจังหวัดทั้งหมด ถ้าเกิดว่าเขาต้องการจัดแล้ ว ขอหน่ว ยคะแนน CNEPU ต้องขอผ่านเรา ฉะนั้นเราก็ต้องดูแลเขา แต่ถ้าเราไม่มีเครือข่ายหรือ ว่าไม่มีจุดที่เราจะดึงมาช่วย ซึ่งตอนนี้คณะมองว่าศิษย์เก่าเป็นกาลังสาคัญ เพราะว่าศิษย์เก่าของเราไปเป็นผู้นาของแต่ละที่เยอะมาก” “จะใช้ ศิ ษ ย์ เ ก่ า ให้ เ ข้ า มาสนั บ สนุ น การด าเนิ น งานของคณะ หลักสูตร โดยจะต้องสร้างความสัมพันธ์อันดีแก่ศิษย์ มีอาจารย์คอยยึดโยง ความสัมพันธ์เป็นกลุ่มเป็นก้อนไว้ และนาเสนอให้ศิษย์เก่าได้มีส่วนร่วมใน การพัฒนาคณะ ซึ่งน่าจะเป็นเรื่องของความภาคภูมิใจของศิษย์เก่าด้วยที่ทา ประโยชน์ให้คณะ”


61

1.3.2 กลยุทธ์การเพิ่มความร่วมมือกับองค์กรที่มีการตกลงความร่วมมือ เนื่องจากหลักสูตรด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพของมหาวิทยาลัยฯมีการตกลงความ ร่วมมือทางวิชาการกับองค์กรทั้งภาครัฐและเอกชน เช่น โรงพยาบาล คลินิกกายภาพบาบัด บริษัท ผลิตวัสดุอุปกรณ์ทางการแพทย์ โรงงานหลายแหล่ง หน่วยงานงานระดับท้องถิ่น เช่น องค์การบริหาร ส่วนจังหวัดหลักสูตรจึงจะใช้เครือข่ายดังกล่าวเพื่อสนับสนุนการจัดบริการวิชาการแก่สังคมแบบมี รายได้ เช่น การเชิญให้บุคลากรในองค์กรเข้าร่วมในโครงการต่างๆ การนาเสนอชุดโครงการทั้งใน ระยะสั้น ระยะยาว เพื่อจัดอบรมให้ รวมทั้งการสร้างความร่วมมือในด้านอื่นๆ เช่น การทาวิจัย การ เป็นที่ปรึกษาโครงการ เป็นต้น โดยมีแนวทางการดาเนินงาน ดังนี้ 1.3.2.1 การทราบแผนงานการพัฒ นาบุคลากรในองค์กรที่มีการตกลง ความร่วมมือ เป็นการเข้าถึงข้อมูลการวางแผนพัฒนาบุคลากรในองค์กรที่มีการตกลง ความร่วมมือกับหลักสูตรหรือคณะวิชา เพื่อร่วมกันจัดโครงการพัฒนาบุคลากรให้แก่องค์กร “ต้ อ งเป็ น ลั ก ษณะการท า MOU ต้ อ งเข้ า ไปในจะเป็ น สถาน ประกอบการหรือว่าจะเป็นหน่วยงานหรือสสจ. ที่ดูแลหน่วยงานในพื้นที่ เพื่อที่จ ะสามารถวางแผนร่ว มกับเขาในการที่จะพัฒ นาพัฒ นาบุคลากร เพราะว่าเราสามารถเข้าไปในระบบหรือว่าเข้าไปมีส่วนร่วมในการที่จะช่วย เขาคิดหรือว่าวางแผนก็เหมือนเราก็จะกลุ่มเป้าหมายระยะยาว” “ถ้าเรารู้ว่าเขาต้องการเขามีแผนที่จะพัฒนาในเรื่องอะไรแล้วก็ อาจจะเข้ าไปว่า เรามี ทีมเรามีอ าจารย์ ที่มี ความรู้ ตรงนี้ อะไรอย่า งนี้ เรา สามารถที่จะจัดส่งให้เขาได้คือเขาเป็นคนรีครูทคนมาประมาณมาให้เราเรา เป็นคนออแกไนซ์โครงการให้ อย่างนี้จะทาให้เป็นโครงการต่อเนื่อง” 1.3.2.2 การประสานงานกับบุคคลที่มีนัยสาคัญในองค์กร การที่จะส่งเสริมให้เกิดความร่วมมือในการดาเนินโครงการบริการวิชาการ แก่สังคมแบบมีรายได้ในองค์กรที่มีการตกลงความร่วมมือนั้น ต้องประสานงานกับบุคคลที่มีนัยสาคัญ ที่จะสามารถสั่งการ ให้ข้อมูลที่ชัดเจน หรือผู้ประสานงาน ติดตามเรื่องที่จะดาเนินการได้ เป็นบุคคลผู้ มีบทบาทสาคัญในงานด้านการพัฒนาบุคลากร เพื่อที่จะเข้าไปสร้างความร่วมมือได้อย่างต่อเนื่อง “เราต้องใช้เรื่องของ Connection ที่จะเข้าไป คือต้องเวลาที่เรา จะเข้าไปติดต่อหน่วยงานจะเข้าถึงยากอยู่เหมือนกัน เราอาจจะต้องอาศัย กลยุทธ์ที่แบบมีคนในที่รู้จักแล้วก็เหมือนว่าเข้าไปอยากจะเข้าไปพูดคุยใน เชิงที่เขามีแผนหรือเขามีงบประมาณที่ผ่านมาได้คุยกับรองนายก อบจ.ที่ เมืองกาญ เขาก็สนใจในเรื่องของการอบรมดูแลผู้สูงอายุอยู่แล้ว” “ต้องมองว่าใครในหน่วยงานนั้น ที่มีอานาจในการสั่ งการ หรือ เป็นผู้สนับสนุนให้เรื่องเดินต่อไปได้ เช่น ผู้อานวยการ รองผู้อานวยการ ผู้จัดการ ห้วหน้าฝ่าย หรือผู้ที่ได้รับมอบหมายโดยตรงจากองค์กร เพื่อที่จะ เข้าไปติดต่อ นาเสนอข้อมูลให้ตรงกับความต้องการ”


62

1.3.2.3 การเป็นสถาบันหลักในการฝึกอบรมจากสภาวิชาชีพ หน่ ว ยงาน องค์ ก รที่ มี ก ารตกลงความร่ ว มมื อ ทางวิ ช าการ ซึ่ ง มี ค วาม เกี่ยวข้องกับสภาวิชาชีพ บุคลากรในองค์กรต้องได้รับการพัฒนาให้ได้หน่วยคะแนนนับตามเกณฑ์ที่ สภาวิชาชีพกาหนด ดังนั้น หลักสูตร คณะวิชา จึงสามารถใช้การเป็นสถาบันหลักในการฝึกอบรมไป เป็นแนวทางในการสร้างความร่วมมือในการจัดทาโครงการร่วมกันได้ “เราเป็นสถาบันหลักที่ในการขอคะแนน เนื่องจากคลินิกภายนอก ไม่ ส ามารถขอคะแนนได้ ดั ง นั้ น เขาต้ อ งหวั ง พึ่ ง กั บ เราเพื่ อ เป็ น ตั ว ของ คะแนน เราจึงต้องพยายามสร้างความร่วมมือกับองค์กรเหล่านั้น เพื่อช่วย สนับสนุนการจัดโครงการได้” “เป็นแต้มต่อของเราที่ทั้งเราและเขาอยู่ภายใต้การกากับจากสภา วิชาชีพ ดังนั้น การเป็นหน่วยงานที่ได้รับการรับรองจากสภาวิชาชีพ จึง เป็นเงื่อนไขหนึ่งที่สาคัญกับองค์กรที่เราตกลงความร่วมมือ” 1.3.2.4 การสร้างความเชื่อมั่นในทีมอาจารย์ที่มีประสบการณ์ เป็ น การน าเสนอข้ อ มู ล ของอาจารย์ ที่ มี ค วามเป็ น มื อ อาชี พ มี ค วามรู้ ความสามารถ ความเชี่ยวชาญตามสาขาวิชาชีพที่องค์กรจะพัฒนาความรู้ และพร้อมที่จะสนับสนุน การจัดโครงการ ทาให้เพิ่มทางเลือกในการจัดบริการได้หลายรูปแบบ “ตอนนี้ เราก็มีทีมอาจารย์ที่มีประสบการณ์ในเรื่องของการจั ด โครงการแบบนี้ให้กับหน่วยงานอื่นๆมา เราก็มองว่าในกลุ่มเป้าหมายใน โรงงานเราสามารถเข้าไปได้แล้วก็ไปคุยว่าตรงนี้เราสามารถที่จะจัดเป็น โครงการตรงนี้ให้ อาจจะเป็นหนึ่งวันสองวันแล้ ว เราก็มีเขาเรียกว่ามีใบ ประกาศให้เขาผ่านการอบรมตรงนี้ ซึ่งตรงนี้อาจจะเป็นโครงการที่ได้รับ ความสนใจ” “อาจารย์เราค่อนข้างพร้อม มีประสบการณ์ เพราะมีหลายกลุ่ม วิชา ซึ่งทางโรงพยาบาลต้องการพัฒนาความรู้ด้านใด ก็สามารถรองรับการ พัฒนาในสาขานั้นๆได้” 1.3.2.5 กาหนดแผนค่าใช้จ่ายที่ชัดเจน เป็ น การวางแผนการก าหนดค่ า ใช้ จ่ า ยที่ จ ะต้ อ งใช้ ด าเนิ น การร่ ว มกั น เกี่ยวกับการจัดบริการวิชาการ เพื่อเป็นข้อมูลประกอบการตัดสินใจของผู้บริหารองค์กรที่มีการตกลง ความร่วมมือ ผู้รั บผิดชอบโครงการจึงต้องเตรียมข้อมูลด้านนี้ให้ถูกต้อง เหมาะสม สามารถตอบ คาถามได้ชัดเจน รวมทั้งสิทธิพิเศษต่างๆที่จะมอบให้ด้วย “ต้องมีการวางแผนทางการเงินที่ชัดเจนเวลาจะเข้าไปพูดคุย ซึ่ ง เป็นเรื่องที่ต้องทาให้ชัดว่า งบประมาณที่เขาจะให้เรา เราจะตอบสนองบน พื้นฐานของความคุ้มค่าหรือไม่อย่างไร มีแผนค่าใช้จ่ายตรงไหนตั้งงบไว้เพื่อ ป้องกันการใช้จ่ายเกินเลย”


63

“เราต้ อ งคุ ย กั บ เขาเลยว่ า เราจะขอความร่ ว มมื อ เขาในเรื่ อ ง อะไรบ้าง เวลาไป MOU ก็จะขอเลยว่าให้ส่งมาอบรมที่เราที่ละ 2-3 คน แล้ว CO กันเรื่องค่าใช้จ่ายที่เราจะมีส่วนลด ลงทะเบียน เราก็คิดค่าใช้จ่าย ลงทะเบียนให้เขาก็ลดไป 500 บาท และวันที่ 19 จะลดให้อีก 1,000 บาท เราจะคิดคานวณแล้ ว ว่าศิษย์เก่าจะมาประมาณกี่คน แล้ว คิดค่าใช้จ่าย เท่านี้ต้นทุนกาไรเราก็ยังต้องเป็น 60 เราวางแผนว่าเราจะต้องจับให้มั่น” 1.3.2.6 การพิจารณาประเด็นความต้องการขององค์กรที่มีการตกลงความ ร่วมมือกับนโยบายของมหาวิทยาลัยฯ รวมทั้งศักยภาพของหลักสูตร และคณะวิชา ผู้รับผิดชอบโครงการต้องพิจารณาประเด็นต่างๆเกี่ยวกับความต้องการให้ เข้าไปจัดบริการให้ ซึ่งประเด็นเหล่านั้นต้องสอดคล้องกับนโยบายของมหาวิทยาลัยฯ และที่สาคัญคือ ความเชี่ยวชาญ ความถนัด ความสามารถของตนเองด้วย เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดปัญหาตามมาภายหลัง “เราจะไปทาร่วมกับอบจ. ของกาญจนบุรี คือ การดูแลผู้สูงอายุ การพัฒนาสมรรถนะของผู้นาชุมชนเพื่อให้เขามีสมรรถนะที่สามารถดูแล ตั ว เองได้ แ บบยั่ ง ยื น ก็ คื อ ท าเรื่ อ งผู้ สู ง อายุ เพราะว่ า เขาเป็ น สถานที่ ท่องเที่ยว ซึ่งสามารถไปบูรณาการทางานร่วมกันกับหลายหลักสูตร” “เขาอยากให้ทาเรื่องการ CPR การเคลื่อนย้ายผู้ป่วย การห้าม เลือด เราก็มี โปรเจคจะทาร่วมกับเขาที่ set ไว้เรียบร้อยแล้ว พร้อมกับ วิทยากร อุปกรณ์ต่างๆ” “อีกเรื่ องที่จะทาคื อ โรงเรียนเครือข่าย ที่เขามี เด็กเล็ ก ๆเขามี แบรนด์หรือจุดเด่นของโรงเรียน ในเรื่องของการดูแลสุขภาพเด็ก เขาก็มา คุยว่าเราจะสามารถลงไปจัดบริการวิชาการแก่สังคมแบบนี้ได้ไหมโดยที่เขา ให้ค่าใช้จ่ายหลักส่วนหนึ่ง แม้จะไม่เยอะมากแต่ก็เป็นรายได้ที่เข้ามา” “โครงการบริการวิชาการต้องตอบโจทย์กับนโยบายหรือกลยุทธ์ ของมหาวิทยาลัยฯด้วย... และเราเองก็มีอาจารย์และเครื่องมือที่พร้ อม สนับสนุนการจัดโครงการร่วมกับภายนอกได้” 1.3.3 กลยุทธ์การจัดโครงการที่เน้นสหวิทยาการ เป็นการกาหนดหัวข้อหรือประเด็นการจัดโครงการในลักษณะสหวิทยาการเชื่อมโยง ศาสตร์ด้านสุขภาพหลายด้านเข้าไว้ด้วยกัน เนื่องจากประเด็นปัญหาทางสุขภาพไม่อาจมองได้โดยมิติ ใดมิติหนึ่ง การมองแบบองค์รวมโดยการทางานร่วมกันระหว่างองค์ความรู้จากหลากหลายสาขาวิชา จะทาให้กลุ่มเป้าหมายที่เข้ามามีส่วนร่วมในโครงการจะได้รับความรู้ ความเข้าใจจากศาสตร์ต่างๆ และยังต้องเป็นโครงการที่สามารถบูรณาการกับพันธกิจอุดมศึกษาที่หลักสูตร คณะวิชารับผิดชอบ ด้วย ซึ่งจะเป็นประโยชน์อย่างยิ่งทั้งผู้จัดโครงการ ได้แก่ อาจารย์ และนักศึกษาได้เรียนรู้กระบวนการ และกับกลุ่มเป้าหมายโดยตรง โดยมีแนวทางการดาเนินงาน ดังนี้


64

1.3.3.1 การออกแบบเนื้อหาการจัดบริการให้เป็นสหวิทยาการ ผู้รับผิดชอบโครงการจะต้องออกแบบหัวข้อการจัดบริการหรือการอบรม โดยใช้ความรู้จากหลากหลายสาขาวิชาเพื่อสร้างเนื้อหาที่สามารถจะมองได้จากทุกศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง กับด้านสุขภาพ การออกแบบดังกล่าวจะเชื่อมโยงไปสู่การกาหนดผู้เชี่ยวชาญจากสหสหขาเข้ามามี ส่วนร่วมเป็นวิทยากรให้ความรู้ ซึ่งจะทาให้ผู้ใช้บริการโครงการได้เห็นมุม มอง แนวคิด วิธีการทา ความเข้าใจและแนวทางการแก้ไขปัญหาในประเด็นที่กาหนด “เป็ น เรื่ องที่ดีและได้ทาแล้ว อย่างเช่นว่า ทางการพยาบาลทา ร่วมกับกายภาพ คือถ้ามองว่าประเด็นหรือ topic ที่จะจัดเป็นศาสตร์สาขา หรือ collaboration หรือทาด้วยกัน นั้นคือการบูรณาการศาสตร์มันไม่ใช่ ศาสตร์ทางด้านสุขภาพ แต่ไม่ใช่เดี่ยวๆ ถ้าบอกว่าเป็นของพยาบาลคนอื่น ไม่เกี่ยวไม่ใช่ เมื่อตอนต้นปีทาเรื่องของการป้องกันการหกล้มหรือการดูแล ผู้สูงอายุมันไม่ใช่ของพยาบาลอย่างเดียว ไม่ใช่วิชาชีพเดียวกัน การบูรณา การศาสตร์ที่ทาอยากจะเชิญนักกายภาพบาบัด อยากเชิญโภชนากร อยาก เจออะไรตรงนี้ แล้ ว ก็ เ ชิ ญ เข้ า มา เชิ ญ นั ก กิ จ กรรมบ าบั ด นี่ ยั ง ขาด นักจิตวิทยา นี่คือการบูรณาการศาสตร์ ถ้าทาได้ก็จะช่วยทาให้คนที่เข้ารับ การอบรมมีมุมมองว่า ปัญหาสุขภาพมีแบบเป็นองค์รวมได้” “สาขาโรงแรมก็ดี เพราะเขามีการจัดอาหาร สถานที่ก็จะส่วนผสม สุขภาพจัดคอร์ สร่วมกัน อย่างของกาญจนบุรีถ้าเราร่ว มกับพยาบาลก็ อาจจะการเป็ น Mega day care ซึ่ง อาจจะออกแบบหลั กสู ตรโดยเอา ผู้สูงอายุ หรือคนที่ป่วยแล้วหายป่วยเข้ารับบริการด้ านกายภาพ การให้ ความรู้ การปรั บ เปลี่ ย นพฤติ ก รรมการบริ โ ภค พาไปออกก าลั ง การ ทาอาหาร หรือพาทัวร์ในสถานที่สุขภาพ ซึ่งมียอดผู้เข้าร่วมเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ทุกปี” 1.3.3.2 การกาหนดกลุ่มเป้าหมายให้ชัดเจน เป็นการวิเคราะห์กลุ่มเป้าหมายที่จะทาการสื่อสารการตลาดให้เข้ามาใช้ บริการว่า กลุ่มเป้าหมายกลุ่มต่างๆ มีความต้องการอย่างไรเกี่ยวกับประเด็นทางสุขภาพ เช่น ความรู้ วิธีการ การดูแล การรักษา เป็นต้น กลุ่มเป้าหมายเป็นได้ทั้งบุคลากรทางสุขภาพในองค์กรสุขภาพ และกลุ่มเป้าหมายที่มีปัญหาทางสุขภาพโดยตรง “กลุ่ ม เป้ า หมายของเราคือ ผู้ ป่ ว ยหรื อว่ า ครอบครัว หรื อคนที่ มี ปั ญหาสุ ขภาพ เราในฐานะผู้ ให้ การดู แลถ้า มีมุม มองแบบองค์ร วมแล้ ว คุณภาพชีวิตเขาจะมา ปัญหาที่เกิดขึ้นที่ผ่านมาคือ การมองแบบแยกส่วน คือ ตั้ง โครงการว่ า การพยาบาลผู้ ป่ว ยโรคเบาหวาน ก็บ อกว่ าโรคมี ย า ต้องลดอาหาร ลดอะไร และโฟกัส ว่าถ่ายทอดไปถึงคนไข้ว่าจะต้องทา แบบนี้ แต่ไม่มองชีวิตความเป็นคนของเขา”


65

“ต้องวิเคราะห์ว่า เป้าหมายของเรา คือ กลุ่มไหน เลือกประเด็น ปัญหาที่เหมาะสมกับกลุ่มเหล่านั้น กลุ่มเป้าหมายจึงต้องชัด” “อย่างนักกายภาพที่เปิดคลินิกส่วนตัว เขาต้องการอัพเดทความรู้ เทคนิคใหม่ในการรักษา ดังนั้น ผู้จัดต้องติดตามความเคลื่อนไหวใหม่ๆใน วงการที่ตรงกับนักกายภาพต้องการด้วย” 1.3.3.3 การดูแลสุขภาพด้วยนวัตกรรม เป็นการให้ความสาคัญกับการนานวัตกรรมทางสุขภาพมาใช้เป็นเครื่องมือ ในการบริการวิชาการ ซึ่งต้องอาศัยทีมงานจากหลายสาขาวิชาเข้ามามีส่วนร่วมดาเนินการ รวมทั้ งยัง สามารถสร้างจุดขายสาหรับการจัดบริการ “มองว่ า ถ้ า สามารถที่ จ ะจั ด แบบ disciplinary team มี ทั้ ง กายภาพบาบัดมีทั้งอาจจะเป็นทางวิศวกรรมชีวการแพทย์ซึ่งก็อาจจะเป็น เรื่ อ งของ innovation ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ เรื่ อ งของการดู แ ลผู้ สู ง อายุ มั น ก็ อาจจะทาให้การมองเป็นองค์รวมมีมากขึ้น” “ส่วนใหญ่ที่ผ่านมาก็จะมีเชิญที่เป็นแพทย์บ้าง ในเรื่องของความรู้ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งแต่ ว่ า ในเรื่ อ งของความรู้ ด้ า นอื่ น ๆ ส่ ว นใหญ่ เ ราก็ จ ะเป็ น พยาบาลแต่ว่าเราก็จะมีเรื่องของการใช้ความรู้ในเชิงของนวัตกรรม หรือ งานวิจัยที่จะเอามาช่วยในเรื่องของการที่จะพัฒนาองค์ความรู้” “อย่างสาขาวิศวะชีวการแพทย์เวลาที่คณะพยาบาลจัดประชุม วิชาการก็สามารถเอาเรื่องเครื่องมือแพทย์ ซึ่ง ICU เขาก็ต้องเป็นของไอซียู ของพยาบาล ICU จะมีข้อจากัดข้อเฉพาะเลยว่า 1 ปีแล้วคุณต้องอบรม CPR คุณต้องอบรมการใช้เครื่องมือแพทย์วิศวะก็เอามาร่วมได้เลยกับคณะ พยาบาลศาสตร์” 1.3.3.4 นักศึกษาและอาจารย์ต้องได้ประโยชน์ การใช้กลยุทธ์การจัดบริการที่เน้นความเป็นสหวิทยาการ นอกจากกลุ่ม เป้าหมายโดยตรงที่จะได้รับประโยชน์จากการเข้าร่วมโครงการแล้ว กลุ่มนักศึกษาและอาจารย์ ซึ่ง เป็นผู้ รับผิดชอบการจั ดบริ การจะต้องได้รับคุณค่าจากการเข้ ามาเรียนรู้วิธีการจัดบริการด้ว ย ซึ่ง ดาเนินการผ่านการจัดการเรียนการสอน การทาวิจัย การให้บริการวิชาการ รวมทั้งการทานุบารุง ศิลปวัฒนธรรม ซึ่งเป็นความรู้ ที่อยู่นอกเหนือชั้นเรียน ขณะเดียวกันกลุ่ มอาจารย์จะได้ใช้ความรู้ ถ่ายทอดแก่นักศึกษา ได้ประสบการณใหม่ๆอีกทั้งยั งเป็นผู้สนับสนุนให้นักศึกษาเรียนรู้ทักษะต่างๆ และการจัดการกับปัญหาด้วย “อยากออกแบบโครงการให้มันบูรณาการแบบ 4 พันธกิจให้ได้ทั้ง วิจัย การบริการวิชาการ การทานุบารุงศิลปวัฒนธรรม เราจะจัดเกี่ยวกับ การหกล้มในผู้สูงอายุ คณะที่จัดต้องมีนักศึกษาเข้ามามีส่วนร่วม เรียนรู้ ว่า คนที่เขาจะต้องไปพัฒนาจริงๆ มีปัญหาแบบนี้”


66

“นักศึกษาจะเห็นไม่ใช่แค่เอาเขามานั่งสอนในห้องเรียนเท่านั้น แต่ว่านักศึกษาจะอยู่ข้างหลังอาจารย์แล้วก็อาจารย์จะพาเขาไปดูกับโลก ภายนอกไปพูดคุยกับคนในชุมชน กับไม่ใช่คนในชุมชนของตน ในสังคมที่ หลากหลายมากขึ้นและความรู้ที่ได้ยังเป็นเรื่องที่มากกว่าอาจารย์สอนใน ห้องเรียน” “อาจารย์ก็จะมอบหมายให้เขาได้เริ่มมีแสดงทักษะหรือความรู้ เล็กๆน้อยๆอะไรบางอย่างที่ทาให้เขาได้รู้สึกว่าเป็นประสบการณ์จริง เช่น การสอนสาธิตการฝึกออกกาลังกายแบบตาราง 9 ช่อง อาจารย์เป็นคน บรรยาย นั ก ศึ ก ษาเป็ น คนแสดงให้ ดู หรื อ ว่ า มี ค นนั่ ง ฟั ง อยู่ ม ากมาย นักศึกษาเดินไปตามจุดต่างๆ” 1.3.4 กลยุทธ์การให้บริการที่เป็นเลิศ เป็นกลยุทธ์ที่ผู้รับผิดชอบโครงการของแต่ละหลักสูตรพยายามที่จะสร้างความรู้สึก ที่ดีแก่กลุ่มเป้าหมายนอกเหนือจากตัวองค์ความรู้ที่จะได้รับจากการเข้าร่วมโครงการ ซึ่งแสดงออกมา ให้รูปแบบของระบบการให้บริการ การอานวยความสะดวกในทุกๆด้าน เพื่อทาให้กลุ่มเป้าหมายรู้สึก อบอุ่นเป็นกันเอง เกิดความพึงพอใจทั้งก่อน ระหว่างและภายหลังจากการเข้าร่วมโครงการ อันจะ นาไปสู่ความประทับใจ บอกต่อปากต่อปากแก่ผู้อื่น และที่สาคัญคือการได้รับความภักดี โดยกลับมา ใช้บริการกับมหาวิทยาลัยอย่างต่อเนื่องในอนาคต โดยมีแนวทางการดาเนินงาน ดังนี้ 1.3.4.1 การสร้างทีมผู้ให้บริการที่มี Service Mind การจัดบริการให้เกิดความประทับใจแก่ผู้มาใช้บริการนั้น ผู้ให้บริการเป็น ส่วนสาคัญอันดับแรกที่จะต้องเป็นผู้มีคุณสมบัติ รักและบริการ ดังนั้น บุคลากรที่เข้ามารับผิดชอบใน ภารกิจดังกล่าวจึงต้องมีจิตใจในการให้บริการ มีความเป็นมิตร และให้ความสาคัญกับงานบริการ เมื่อ ทีมผู้ให้บริการมีคุณลักษณะดังกล่าวย่อมจะทาให้เกิดการจดจาในภาพลักษณ์ที่ดีให้แก่หลักสูตร คณะ วิชา และมหาวิทยาลัยฯด้วย “ที่ ส าคั ญ คนที่ จ ะท าในงานลั ก ษณะนี้ ไ ด้ ต้ อ งมี Service Mind ค่อนข้างมากกว่า คนที่เข้ามาก็จะประทับใจตั้งแต่แรก ที่ผ่านมาก็พยายาม ที่จะดูแล” “ทีมงานต้องใส่ ใจกับการบริการทั้งก่อน ระหว่าง และหลั งจบ โครงการไปแล้ ว ส าคั ญ อยู่ ที่ ว่ า เราจะสร้ า งคนแบบนี้ ขึ้ น มาให้ ไ ด้ เพื่ อ ช่วยกันเข้ามาทาโครงการ” 1.3.4.2 การให้ความสาคัญกับบรรยากาศหน้างาน เป็นความตระหนักของที่ผู้รับผิดชอบโครงการเกี่ยวกับความใส่ใจในการ ดูแลกลุ่ มผู้ มาใช้บ ริ การในช่ว งระหว่างการจัดโครงการ โดยควรมีการดูแล สอบถาม และรับฟัง ข้อเสนอแนะ หรือความต้องการของผู้มาใช้บริการ เพื่อทาให้รู้สึกว่าได้รับการดูแลใส่ใจอย่างอบอุ่น


67

“ช่วงเช้ามาแล้วรีบมาทักทายผู้เข้ารับการอบรมว่าเป็นไง วันนี้รถ ติดมั้ย พยายามที่จะมีปฏิสัมพันธ์และไม่งั้นมันก็จะแบบมาถึงฟังเสร็จแล้วก็ กลับไป” “เราอยากให้เขาเห็นว่าเราก็ใส่ใจเขา อยากให้เขาประทับใจส่วน หนึ่ ง หรื อ บางที ถ้ า มี อ ะไรที่ บ กพร่ อ งไปหรื อ เขาอาจจะไม่ ไ ด้ รู้ สึ ก มาก เพราะว่าด้วยท่าทีของเราที่เราพูดคุยกับเขาว่ามีอะไรตรงไหนบอกได้ อะไร อย่างนี้ว่าเรื่องอะไรตรงไหนที่เราพอจะจัดสรรแก้ไขปัญหาอะไรได้ในแต่ละ วัน อาจจะทาให้ความคับข้องใจอะไรบางเรื่ องมันดับถ้าเราไม่ได้ถามอะไร เลยมันก็จะอยากประชุม 5 วันอย่างนี้ก็ไม่ดี” “อยากให้ทุกคนบอกว่าเข้ารับการอบรมแบบประทับใจได้ความรู้ เห็นมิตรภาพ เห็นรอยยิ้ม ช่วยสร้างบรรยากาศ คนที่มาเขาก็ไม่ได้คาดหวัง ว่าเรื่องความรู้อะไร คือส่วนหนึ่งก็คือมาแล้วรู้สึกดี ตอนนั้นความรู้สึกดีก็ หลายๆอย่าง ส่วนเรื่องของบรรยากาศเรื่องของการต้อนรับการดูแลใน ระหว่างที่เข้ารับการอบรมก็ช่วยทาให้การอบรมผ่านพ้นไปได้ด้วยดี” 1.3.4.3 การปรับปรุงแก้ไขข้อร้องขอหรือความต้องการให้ดีขึ้น การจัดบริการวิชาการที่ดี ผู้รับผิดชอบโครงการต้องรับฟังข้อเสนอแนะ หรือข้อร้องขอ ความต้องการของผู้ใช้บริการระหว่างวันที่จัดบริการแล้วนามาพัฒนาปรับปรุง หรือ แก้ไขปัญหาให้ดีขึ้น หรือลุล่วงไปได้ในวันถัดไปหรือในโอกาสต่อไปจากการเข้ามาใช้บริการ “ตอนนี้ เราต้อ งดูแ ลในแต่ล ะวัน ว่าอาหารเป็ นยัง ไง อร่อ ยไหม เหมือนต้องมีการประเมินในแต่ละวันเลยว่าเป็นยังไงต้องเสิร์ฟอะไร วันนี้มี อะไรที่ต้องปรับปรุงแก้ไขในวันต่อๆไป เช่น อาหารไม่พอก็ต้องรีบประสาน ทางจัดเลี้ยงว่าอาจต้องขอเพิ่มปริมาณน้อยไป ต้องเข้ามาดูตรงนี้ด้วยทุกวัน ทาให้เราแบบมีการพัฒนาไปในแต่ละวัน ไม่ปล่ อยปัญหาให้จบไปแล้วค่อย มาดู” “แต่ถ้าเราได้ทาแบบตั้งแต่แรกๆ เราก็ค่อยๆปรับไปวันสุดท้าย เวลาประเมินมันอาจจะไม่ได้มีอะไรแย่มาก วันสุดท้ายประเมินผลก็จะมี บางอย่างที่เราคิดว่าเราน่าจะทาได้ก็อาจจะต้องไปแก้ในโครงการต่อไปก็จะ เป็นกลุ่มใหม่นะไม่ใช่กลุ่มนี้” 1.3.4.4 คุณค่าของเอกสารประกอบการจัดบริการ นอกจากกระบวนการให้บริการที่ต้องให้ความใส่ใจกับผู้มาใช้บริการแล้ว จุดที่จะสร้างความประทับใจอีกประการหนึ่งให้ แก่ผู้เข้ารับการบริการ คือ เอกสารประกอบการ จัดบริการ ควรจัดทาให้เหมาะสม และมีคุณค่า ซึ่งจะทาให้ช้วยเสริมสร้างภาพลักษณ์ที่ดีให้แก่ผู้จัด หลักสูตร คณะวิชา และมหาวิทยาลัยฯด้วย ทาให้เกิดการบอกต่อในทางบวกแก่มหาวิทยาลัยฯ


68

“ภาพลักษณ์หรือสิ่งที่สร้างความประทับใจให้เขา เช่น เอกสาร ส าหรั บ การอบรม สิ่ ง ของหรื อ สิ่ ง ที่ ใ ส่ ก ระเป๋ า ที่ เ ป็ น แบรนด์ ข อง มหาวิทยาลัยฯ ก็มีส่วนสาคัญ เพราะเขาเอากลับไปใช้ได้อีก เหมือนเป็น การโฆษณามหาวิทยาลัยฯไปด้วย” “อย่าคิดว่า เรื่องเอกสาร ถุง ปากกา สิ่งของต่างๆที่เตรียมให้แก่ ผู้เข้าร่วม องค์ประกอบเล็กๆน้อยๆอย่าคิดว่ามันไม่สาคัญ เพราะถ้าทาได้ดี มี ค่ า มั น จะช่ ว ยบอกต่ อ กั น ต่ อ ไปได้ อี ก ว่ า เราให้ ค วามส าคั ญ กั บ ทุ ก กระบวนการ” 1.3.5 กลยุทธ์การสร้างแบรนด์สุขภาพ เป็ น การน าเสนอภาพลั ก ษณ์ใ ห้ เ กิ ดการรั บรู้ ค วามเป็ นมหาวิ ทยาลั ย สุ ข ภาพแก่ ประชาคมด้านสุขภาพเพื่อชี้ชวนให้เห็นว่า หากองค์กรใดจะมีการจัดการอบรมหรือพัฒนาบุคลากร ด้านสุขภาพ ภาพแรกที่องค์กรเหล่านั้นจะต้องนึกถึงคือ มหาวิทยาลัยฯ เนื่องจากเป็นมหาวิทยาลัยที่ มี ก ารจั ด การเรี ย นการสอน การวิ จั ย การให้ บ ริ ก ารวิ ช าการแก่ สั ง คมที่ มุ่ ง เน้ น การพั ฒ นาด้ า น วิทยาศาสตร์ สุ ขภาพ มีทรั พยากรด้านสุ ขภาพ ได้แก่ อาจารย์ที่เชี่ ยวชาญ ความพร้อ มของวัส ดุ อุปกรณ์ สถานที่ ระบบการบริหารจัดการ ดังนั้น ทุกหลักสูตรจึงต้องออกแบบการจัด บริการวิชาการ ที่ตอบโจทย์แบรนด์ด้านสุขภาพของมหาวิทยาลัยด้วย โดยมีแนวทางการดาเนินงาน ดังนี้ 1.3.5.1 การนาศิษย์เก่ามาเสริมสร้างแบรนด์สุขภาพ เป็นการนาศิษย์เก่าที่มีชื่อเสียง และประสบความสาเร็จในวิชาชีพให้เข้ามา มีส่ วนร่ว มในการสร้ างแบรนด์สุ ขภาพ เช่น การเชิญมาเป็นวิทยากร การถ่ายทอดประสบการณ์ องค์ประกอบหรือปัจจัยแนวทางการประกอบอาชีพที่ประสบความสาเร็จ “เพราะเป็นมหาวิทยาลัยสุขภาพ ก็มองภาพของคณะฯ...ต่ อเนื่อง โดยคนทั่วไปเข้าใจว่าจะเด่นในสาขาพยาบาลศาสตร์เพราะว่าเป็นคณะ แรกที่เปิดแล้วก็เรามีศิษย์เก่าที่จบไปแล้วก็สร้างชื่อเสียงในหลายๆที่ตรงนี้ เป็นส่วนหนึ่งที่ทาให้มหาวิทยาลัยฯเป็นที่รู้จักของของสาธารณชน” “เห็ น ด้ ว ยอย่ างยิ่ง กับการนาศิษย์ เก่าของเราที่อยู่ ตามองค์ก ร ต่างๆ หรือแม้กระทั่งศิษย์เก่าที่เป็นเจ้าของธุรกิจส่วนตัว ให้เขามาช่วยเป็น จุดขาย สร้างมุมมองดีให้แก่มหาวิทยาลัยฯ” “เชิ ญ มาเป็ น วิ ท ยากรบ้ า ง มาเล่ า ประสบการณ์ ดี ๆ เกี่ ย วกั บ มหาวิทยาลัยฯ ความสาเร็จในอาชีพ” 1.3.5.2 การสร้างภาพลักษณ์แบรนด์สุขภาพให้สาธารณชนรับรู้ มหาวิทยาลัยฯต้องดาเนินการสื่อสารข้อมูลความเป็นมหาวิทยาลัยสุขภาพ ผ่านการจัดโครงการด้านสุขภาพของหลักสูตร คณะวิชา ให้สาธารณชนได้รับรู้จักมากยิ่งขึ้น โดยอาจ ต้องมีการจัดทาสัญลักษณ์หรือคาขวัญให้เป็นที่จดจาในสื่อประเภทต่างๆ เพื่อให้สังคมรับทราบ


69

“เราใช้แบรนด์มหาวิทยาลัยสุขภาพ Healthy University ซึ่งจะ เป็นมหาวิทยาลัยสาหรับคนที่สนใจสุขภาพ จะเป็นการประกาศให้สังคม รับรู้ว่าเราจะเดินหน้าผลิตโครงการต่างๆที่เกี่ยวข้องกับคุณภาพชีวิตของ ผู้สูงอายุ ถ้าเป็นอย่างนั้นก็ต้องมีการประชาสัมพันธ์ สร้างเป็นโลโก้เป็นคา ขวัญแล้วก็สื่อประชาสัมพันธ์ใน 3-5 ปี จะเดินหน้าตรงนั้นไหม” “ส่ ว นหนึ่ ง คิ ด ว่ า สั ง คมส่ ว นหนึ่ ง รั บ รู้ ว่ า เราเป็ น มหาวิ ท ยาลั ย ฯ ทางด้ า นสุ ข ภาพ แต่ การสร้ า งแบรนด์ สุ ข ภาพให้ ชั ด ขึ้น มาอาจจะยัง ไม่ ชั ด เจนในเรื่ อ งที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ การจั ด โครงการบริ ก าร ตรงนี้ ต้ อ ง ประชาสัมพันธ์ หรือมี อะไรในเชิงสัญลักษณ์ที่บ่งบอกว่า ถ้าโรงพยาบาล หรื อ หน่ ว ยงานใดในภาคตะวั น ตกนี้ จ ะจั ด โครงการสุ ข ภาพ ต้ อ งนึ ง ถึ ง มหาวิทยาลัยฯของเรา” 1.3.5.3 เพิ่มการจัดโครงการบริการวิชาการด้านสุขภาพให้มากขึ้น การจั ดโครงการบริการวิช าการแก่สั งคมแบบมีรายได้ของทุกหลั กสู ตร ในช่วงปีการศึกษาที่ผ่านมา เฉลี่ยจัด 1-2 โครงการต่อหลักสูตร ดังนั้นเพื่อทาให้เกิดการรับรู้ในแวดวง องค์กรด้านสุขภาพ หรือสถานประกอบการมากขึ้น และสนับสนุนแบรนด์สุขภาพของมหาวิทยาลัยฯ จึงควรมีการเพิ่มจานวนโครงการและมีระยะเวลาดาเนินการมากขึ้น “เราก็ต้องเริ่มสร้างชื่อเสียงหมายความว่าตอนนั้นที่เราจัดก็ได้รับ คาชมเยอะว่าเป็นโครงการที่ดี แล้วคนให้ความร่วมมือเยอะมาก ตอนนี้เลย เป็นจุดว่าทาไมปีนี้เราต้องจัดโครงการบริการวิชาการแก่สังคมที่มันใหญ่ กว่าทุกปีเดิมแต่เราจะแค่ 2 วันจะมาครั้งนี้เราจัด 3 เราจะสร้างตรงนี้ใหม่” “สาขาก็ พ ยายามไปคอนแทคกั บ คลิ นิ ก กายภาพ แล้ ว ร่ ว มท า โครงการให้มากขึ้นกว่าปีที่ผ่านๆมา ส่วนหนึ่งนอกจากได้รายได้ถึงแม้จะไม่ มาก แต่มันได้เรื่องของการประชาสัมพันธ์ ภาพลักษณ์ดีของสาขาเรา” 1.3.5.4 การเตรียมแผนงานที่ชัดเจน การสร้ างแบรนด์ สุ ขภาพของมหาวิ ทยาลั ย ฯ ควรมีก ารจัด ทาแผนการ ดาเนินงานที่เป็นทางการในระยะสั้นและระยะยาว โดยระบุเป้าหมาย โครงการ กิจกรรม งบประมาณ ระยะเวลา และผู้รับผิดชอบที่เข้าร่วม พร้อมกับสนับสนุนข้อมูลด้านต่างๆของทุกหลักสูตรที่เกี่ยวข้อง “ต้องมีการวางแผนให้ดี สร้างแบรนด์ให้เด่นชัด ซึ่งตรงนี้จะสร้าง ความน่ า เชื่อถือ จากกลุ่ มเป้าหมาย แบรดน์นี้จ ะช่ว ยสร้ างโอกาสให้ ทุ ก หลักสูตร ขายผลิตภัณฑ์ สินค้า บริการไปได้ด้วยกัน การเตรียมชุดข้อมูล ต่ า งๆจึ ง ส าคั ญ ในการอธิ บ ายให้ ก ลุ่ ม เป้ า หมาย องค์ ก รที่ เ ราจะไปท า การตลาดหรือจัดโครงการให้เข้าใจ”


70

“ถ้าจะสร้างแบรนด์ คิดว่าควรมีแผน ไม่ควรกล่าวถึงลอยๆ ทาให้ จับต้องไม่ได้ ต้องทาให้คนภายนอกเห็นจับต้องได้ว่าเรามีอะไรดี เราถึงมี แบรนด์นี้ขึ้นมา การมีแผนงาน ระยะเวลา ขั้นตอน ข้อมูลต่างๆ มีเจ้าภาพ หลัก และข้อมูลของทุกหลักสูตรด้านสุขภาพมาระดมความเห็นกันน่าจะ ช่วยได้” 1.4 ความต้องการปัจจัยสนับสนุนจากมหาวิทยาลัยฯ หลักสูตรด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพได้นาเสนอความต้องการเกี่ยวกับระบบและกลไก ที่จะมาสนับสนุนการจัดบริการวิชาการแก่สังคมแบบมีรายได้ของมหาวิทยาลัย เพื่อให้การปฏิบัติงาน เกิดประสิทธิภาพ ดังนี้ 1.4.1 หน่วยงานกลางทาหน้าที่ประสานงานจัดการให้บริการวิชาการแก่ สังคม หน่วยงานกลางที่ทาหน้าที่ในการประสานงานการจัดบริการวิชาการแก่ สังคม ยังมีความจาเป็นต่อการสนับสนุนการจัดบริการวิชาการของหลักวูตร คณะวิชา ซึ่งจะมีบทบาท เกี่ยวกับการบริหารทรัพยากรการดาเนินงาน อันได้แก่ การจัดทาแผนการให้บริการวิชาการอย่างเป็น องค์ร วมของมหาวิทยาลั ยฯ การจั ดวางตัว บุคลากรที่จะสนับสนุน การวางแผนค่าใช้จ่ายในการ ดาเนินงาน การประสานงานด้านวัสดุ อุปกรณ์ และที่สาคัญ คือ การช่วยในการสื่อสารโครงการไปยัง กลุ่มเป้าหมาย วางแผนด้านการตลาดเพื่อเข้าถึงกลุ่ มเป้าหมายในองค์กรต่างๆ เนื่องจากในปัจจุบัน ภาระทั้งหมดจะอยู่กับผู้รับผิดชอบโครงการของแต่ละหลักสูตรที่ต้องดาเนินการ “อยากให้มีหน่วยงานดูแลเรื่องของการจัดโครงการ เพราะถ้าคน ที่ต้องคิดแล้วต้องเริ่มต้นทาจนสิ้นสุ ดโครงการโดยไม่มีการบริหารจัดการ ก็อาจจะทาให้อาจารย์ต้องทางานหลายอย่างเกินไป แต่ถ้ามีหน่วยงานที่จะ ช่วยดู Process ในเรื่องงบประมาณ ช่วยการเบิกจ่าย เบิกอะไรต่างๆจะทา ให้อาจารย์มีเวลาในการที่จะเตรียมตัวในการเป็นวิทยากรหรืออะไรก็แล้ว จะได้ ไ ม่ ต้ อ งมากั ง วลวุ่ น วาย ต้ อ งมาดู แ ลในงานอื่ น ๆ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ โครงการ ก็อาจจะให้ทาให้มีจานวนของโครงการที่มากขึ้น ซึ่งคิดว่าต้องทา ได้ก็มองว่า ต้องหากลุ่มเป้าหมายต้องเป็นวิทยากรโครงการ ต้องเขียน ต้อง ทาบัญชี มีคนช่วยเบิก ช่วยประเมินโครงการ เหมือนกับว่าโครงการไม่มีคน คิด ไม่อยากจะเป็นคนหลัก” “อ ย า ก ใ ห้ ม ห า วิ ท ย า ลั ย ช่ ว ย เ ร า ส า ร ว จ ห รื อ ห า ลู ก ค้ า ประชาสัมพันธ์หาลูกค้า เก็บข้อมูลผู้ที่สนใจ แนวโน้ม คอร์สตัวไหนที่เปิด แล้ ว ดี หรื อ ในเรื่ อ งของอาคารสถานที่ หรือ ในเรื่อ งการบริ ห ารจั ด การ ทั้งหมด และราคาค่าคอร์สที่คิดว่าจะเหมาะสม ตามการบริหารจัดการของ มหาวิทยาลัย ไม่ให้น้อยหรือมากเกินไปจึงน่าจะมี หน่วยงานกลางที่คอย ช่วยเหลือหลักสูตร”


71

“ยังคิดว่ามีความจาเป็น เพราะหลักสูตร คณะวิชาอาจมีข้อจากัด การวางแผนค่าใช้จ่าย และการประชาสัมพันธ์ข้อมูลไปยังกลุ่มเป้าหมาย ถ้ามีห น่ ว ยงานกลาง โดยมีผู้ มีประสบการณ์มาช่ว ย จะทาให้ เกิดความ คล่องตัวได้มาก โดยเฉพาะทาการตลาดให้โครงการเพื่อให้ได้มาซึ่งลูกค้าที่ ต้องการ” “เมื่ อ เที ย บกั บ มหาวิ ท ยาลั ย แห่ ง อื่ น ๆที่ มี ส่ ว นงานนี้ ท าหน้ า ที่ โดยตรง ท าให้ เ ห็ น ภาพชั ด เจว่ า ทิ ศ ทางการบริ ก ารวิ ช าการของ มหาวิทยาลัยฯจะไปทางไหน แต่ในแง่ของการบริหารจัดการจะต้องมีการ ประสานงานที่ดีระหว่างหลักสูตรกับหน่วยงานนี้” 1.4.2 การสนับสนุนด้านอุปกรณ์ เทคโนโลยีด้านสุขภาพ ความต้องการอุปกรณ์ เทคโนโลยีด้านสุขภาพเพื่อนามาใช้ในการให้บริการ ซึ่งจะช่วยเพิ่มคุณค่าให้แก่โครงการที่จัดขึ้น เนื่องจากอุปกรณ์ เทคโนโลยีที่ใช้อยู่ในปัจจุบันส่วนหนึ่ง ไม่ทันสมัย หรือไม่มีอุปกรณ์เหล่านั้ น เมื่อเปรียบเทียบกับคุ่แข่งขันจากมหาวิทยาลัยอื่นๆ หากได้รับ การสนับสนุนน่าจะเสริมสร้างภาพลักษณ์ที่ดีให้แก่หลักสูตรและยังเป็นเครื่องมือดึงดูดความสนใจแก่ นักเรียนที่ได้เข้ามาเรียนรู้ในช่วงของการประชาสัมพันธ์หลักสูตรด้วย และยังประโยชน์ต่อนักศึกษาที่ สามารถนามาใช้ในการจัดการเรียนการสอนควบคู่ไปกับการให้บริการวิชาการได้ “อุปกรณ์ในการจัดบริการบางตัวไม่ทันสมัย อายุยาวนาน บางตัว ไม่มีเมื่อไปดูกับมหาวิทยาลัยอื่นๆ ถ้าเรามีอุปกรณ์เหล่านั้นจะช่วยสร้างจุด ขายให้กับโครงการได้ในระดับหนึ่ง” “เพราะเขามอง Model ธุรกิจชัดเจน เช่น การจัดเต็ม คือมีสร้าง ไว้ เท่ า ไหร่ ร วมมาให้ ห มดกี่ ร้ อยล้ านทาเสร็ จ จะคื นทุ น เท่ า ไหร่ เมื่ อไหร่ อย่างไรเขาคิดเชิงธุรกิจ เช่น ที่มหาวิทยาลัย... ลงทุนคณะทันตแพทย์ในปี แรก 200-300 ล้านบาท สร้างตึกใส่โต๊ะ อาจารย์ 1 คนต่อนักศึกษา เตียง 1 เตียง กล้าที่สู้เลยค่าเทอมแพงไหม 1 ล้าน มีคนหนึ่งที่มองแล้วว่าถ้าเรา คิดถึงใจคนที่รักทาให้องค์การอย่างเราไปกินทุกอย่างเลยถ้าเขาไม่รู้สึกว่า เขาจ่ายแล้วรู้สึกไม่แพง แล้วคุ้ม แต่ถ้าเก็บเต็มเลยทาให้ดูเหมือนกันมันไม่ น่ า เชิ ญ ชวน ทั้ ง นี้ ถ้ า เรามี ท รั พ ยากรที่ แ ข่ ง ขั น ได้ แต่ ถ้ า เที ย บกั บ มหาวิทยาลัยฯ..... มีอุปกรณ์การเรียนเยอะมาก ทาเป็นกระจกมองเห็นทุก อย่าง เราต้องกล้าโชว์ของ” “ถ้ า คุ ย กั น เรื่ อ งบริ ห ารจริ ง ๆ การลงทุ น ค่ อ นข้ า งสู ง หลาย มหาวิทยาลัยจึงทาสระน้ามาตรฐานแล้วเก็บรายได้เอง ทุกมหาวิทยาลัย แทบจะมี เ พื่ อ ให้ ส ร้ า งรายได้ ตอนที่ เ รี ย นมหาวิ ท ยาลั ย .... คณะ พาณิชยศาสตร์ล งทุนสร้างแบดมินตันขึ้นมาเองแล้วก็เก็บค่าบริการคนใน ช่วงเวลาจะมีช่วงเวลาที่สามารถใช้ได้ฟรีหลังจากนั้นเหตุผลใน 5 บาท 10


72

บาทโดยใช้บั ตรประจาตัว ที่เป็นบุคลากรหรือมีสิทธิ์ทุกคนต้องจ่ายตังค์ เท่ากันคนนอกชั่วโมงละ 60 บาทก็จะได้รายได้จากตรงนั้นเข้ามา” 1.4.3 การพัฒนาศักยภาพอาจารย์ให้เป็น“นักขาย”ที่ดี ข้ อ จ ากั ด ประการหนึ่ ง ของอาจารย์ ใ นแต่ ล ะหลั ก สู ต ร หากไม่ มี ประสบการณ์ใ นการน าเสนอผลิ ตภัณ ฑ์ห รือโครงการไปยัง กลุ่ มเป้ าหมาย อาจท าให้ ไม่ ส ามารถ โน้มน้าว เชิญชวนให้กลุ่มเป้าหมายตัดสินใจซื้อผลิตภัณฑ์หรือโครงการได้ หรือในทางการตลาดที่ เรียกว่า “การปิดการขาย” ดังนั้น มหาวิทยาลัยฯ ควรสนับสนุนและส่งเสริมให้อาจารย์ได้รับการ พัฒนาความรู้และทักษะการสื่อสารการตลาด เช่น การจัดอบรมหรือพี่เลี้ยง เพื่อทาให้อาจารย์ มี กลยุทธ์ที่จะใช้ในการเจรจา ต่อรอง นาเสนอข้อมูลอย่างสร้างสรรค์กับกลุ่มเป้าหมายหรือผู้บริหาร องค์กรได้ “เนื่ องจากอาจารย์ประจาหลั กสู ตร ไม่ได้เ ป็นนักการขายและ นั กการตลาด แต่ ต้อ งปฏิบั ติตามนโยบายของมหาวิท ยาลั ยฯเพื่ อสร้า ง รายได้...ควรเพิ่มการพัฒนาความรู้ด้านการตลาดและสร้างตวามเข้าใจให้ผู้ ปฏิ บั ติ เ พื่อ ให้ ส ามารถสร้ า งกลยุ ท ธ์ ก ารอบรมให้ เ ป็ น ที่น่ า สนใจ หรื อ มี ผู้เชี่ยวชาญให้คาปรึกษาเพื่อให้เกิดการพัฒนาโครงการบริการที่เป็นการ บริการที่ยั่งยืนและมีประสิทธิภาพในการสร้างรายได้” “อยากให้มหาวิทยาลัยช่วยให้มีนักการตลาดไปกับเราด้วย เวลา จะไปขายครอส์อบรม เนื่องจากเป็นเรื่องที่เราอาจไม่มีทักษะทาตรงนั้น ... หรือควรจัดการอบรมพัฒนาความรู้การตลาด ให้อาจารย์สามารถออกไป ขายคอรส์ได้” 1.4.4 การแบ่งปันรายได้จากการให้บริการสนับสนุนการดาเนินงานของ หลักสูตร เนื่ อ งจากรายได้ จ ากการให้ บ ริ ก ารของทุ ก หลั ก สู ต รที่ ด าเนิ น การจั ด โครงการบริการวิชาการแก่สังคมแบบมีรายได้ มีการคานวณรายรับเหนือรายจ่ายแล้ว รายรับทั้งหมด จะถูกจัดเก็บไว้ที่บัญชีส่วนกลางในกองทุนบริการวิชาการแก่สังคม หลักสูตรจึงเสนอว่าควรพิจารณา แบ่งปันรายได้ที่เกิดขึ้นจากการให้บริการส่วนหนึ่งเพื่อนามาสนับสนุนการบริหารจัดการของหลักสูตร คณะวิชา และนาไปต่อยอดเป็นทุนสนับสนุนการจัดบริการของหลักสูตร หรือการดาเนินงานด้าน อื่นๆต่อไป “การแบ่ ง สรรรายได้ จ ากการให้ บ ริ ก ารส่ ว นหนึ่ ง อาจมาช่ ว ย สนับสนุนการจัดการของสาขาบ้าง” “กาไรจากการจัดบริการวิชาการแก่สังคมแบบมีรายได้ที่หลักสูตร เป็นผู้จัดทา ในแต่ละหลักสูตรจัดมากว่า 3 โครงการ ควรแบ่ง % ให้ทาง หลักสูตรบ้างประมาณ 5 % เพื่อจะได้นาไปบริหารจัดการ การดาเนินงาน ในหลักสูตร”


73

1.4.5 การกาหนดภารกิจการให้บริการวิชาการแก่สังคมเป็น “ภาระงาน” ของอาจารย์อย่างชัดเจน ภารกิ จ การการให้ บ ริ ก ารวิ ช าการแก่สั ง คมถื อ เป็ นส่ ว นหนึ่ ง ในพั น ธกิ จ อุดมศึกษาซึ่งในอาจารย์ในสถาบันอุดมศึกษาทุกคนต้องดาเนินการ แต่ปัจจุบันมหาวิทยาลัยฯยังไม่มี การกาหนดภาระงานขั้นต่าหรือเกณฑ์ที่อาจารย์จะต้องดาเนินการเกี่ยวกับภารกิจนี้อย่างเป็นระบบ จึงทาให้อาจารย์มีระดับการส่วนร่วมในภารกิจบริการวิชาการที่แตกต่างกันออกไป ดังนั้น เพื่อเป็น การสร้ า งมาตรฐานที่ เ หมาะสมกั บ การปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ สามารถวั ด เป็ น ผลการด าเนิ น งานได้ มหาวิทยาลัยฯ จึงควรกาหนดแนวทางหรือเกณฑ์ที่เหมาะสมเพื่อให้อาจารย์ทุกคนรับทราบและถือ เป็นแนวปฏิบัติตามภารกิจ “อยากให้ ช่ ว ยเอาการบริ ก ารวิ ช าการนี้ ม าเป็ น work load นอกเหนือจาก Teaching load ให้ดูว่าบางคน ถึงแม้วันนั้นเขาไม่มีภาระ งานสอนแต่เขาก็ผันตัวเองไปทาบริการวิชาการ” “อยากจะให้สนับสนุนให้เป็น KPI ของอาจารย์...... เป็นส่งเสริม แบบ reward คื อ การที่ เ ราจะมี motivation ได้ ค วรจะเสริ ม ทาง reward” “เพื่อเป็นการสร้างความเท่าเทียมให้กับอาจารย์ทุกคนได้ทางาน บริการวิชาการแก่สังคม มหาวิทยาลัยฯควรจัดทาเกณฑ์ให้เหมาะสมและ เป็นมาตรฐานเดียวกันให้กับอาจารย์ทุกคน” กล่าวโดยสรุปจากการนาเสนอสถานการณ์การจัดบริการวิชาการแก่สังคมในหลักสูตรด้าน วิทยาศาสตร์สุขภาพ และการวิเคราะห์จุดแข็งของหลักสูตรที่สนับสนุนการดาเนินงาน รวมทั้งปัจจัย ที่เป็นอุปสรรค ตลอดจนกลยุทธ์การจัดบริการวิชาการแก่สังคม และความต้องการปัจจัยสนับสนุน ด้านต่างๆทาให้เห็นได้ว่าการจัดบริการวิชาการแก่สังคมไม่ว่าจะก่อให้เกิดรายได้หรือเป็นการให้เปล่า นั้น เป็นพันธกิจสาคัญของสถาบันอุดมศึกษาและเป็นภารกิจที่อาจารย์ในฐานะผู้สร้าง ต่อยอด และ ถ่ายทอดความรู้ ต้องใช้ความรู้ ประสบการณ์ ตลอดจนกระบวนการเรียนรู้เพิ่มเติมจากการศึกษา ความต้องการของสังคม โดยนาตนเอง หลักสูตร คณะวิชา และมหาวิทยาลัยฯ ไปสู่การปฏิบัติอย่างมี กลยุทธ์ที่ชัดเจน เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมในการรับผิดชอบทางสังคมมากขึ้น ดังที่ผู้ให้ข้อมูลท่านหนึ่ง ได้กล่าวว่า “เรามีความเชื่อไหมว่าเราจะต้องรับผิดชอบต่อสังคมถ้าเรามีความ เชื่อแบบนั้นนะไม่ว่าเราจะจัดโครงการหรือกิจกรรมอะไรเป็นแผนระยะสั้น และระยะยาวมันต้องสะท้อน และถือว่าเป็นเป้าหมายระดับระดับโลกซึ่ง อยากจะให้มหาวิทยาลัยหรือคณะวิชาแสดงบทบาททั้งนั้น ไม่ใช่ว่าสังคม เป็ น ไงไม่รู้ แ ต่ ว่ า จะจั ด เพราะว่ า เขาสั่ ง ให้ จั ด หรือ ว่ า มั น มี งานเป็ น part oriented หมายถึง ว่า ในปี การศึก ษานี้ เราจะต้องมีกี่ โ ครงการเราก็ ต้ อ ง จัดการนั้นโดยไม่คิดถึงสังคมและสิ่งที่เราจัดหรือทาโครงการช่วยแก้ปัญหา สังคมได้จริงเปล่า”


74

1.5 สรุปผลการศึกษาเชิงคุณภาพ จากการสัมภาษณ์กลุ่มผู้ให้ข้อมูลหลักของหลักสูตรด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพ มหาวิทยาลัย เอกชนแห่งหนึ่งเกี่ยวกับการจัดบริการวิชาการแก่สังคมแบบมีรายได้ สรุปประเด็นสาคัญ ได้ดังนี้ 1.5.1 สถานการณ์การแข่งขันในตลาดบริการวิชาการแก่สังคมแบบมีรายได้ ผู้ให้ข้อมูลหลักของหลักสูตรด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพได้วิเคราะห์ถึงสถานการณ์และแนวโน้มของการ จัดบริการวิชาการแก่สังคม ซึ่งประกอบด้วย ปัจจัยที่มีผลต่อการเข้าร่วมของกลุ่มเป้าหมาย รูปแบบ ราคา และแนวโน้มของประเด็นทางสุขภาพที่กาลังได้รับความสนใจ ได้แก่ 1.5.1.1 เกณฑ์ของสภาวิชาชีพเป็นปัจจัยผลักดันให้สมาชิกของสภาวิชาชีพ เข้ารับการอบรมในโครงการต่างๆที่หลักสูตรด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพจัดขึ้น ผู้รับผิดชอบโครงการจึง ต้องคานึงถึงองค์ประกอบหลายด้านในการจัดโครงการบริการวิชาการที่เกี่ยวข้องกับสภาวิชาชีพ ได้แก่ 1) ระยะเวลาการวางแผนเตรียมการจัดอบรม 2) การประชาสัมพันธ์โครงการ 3) การต่อใบอนุญาตใบประกอบวิชาชีพ 4) หัวข้อการจัดโครงการ/วิทยากร ขณะที่ห ลักสูตรด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพ ที่ยังไม่มีสภาวิชาชีพกากับให้ ความเห็นว่าการมีสภาวิชาชีพหรือหน่วยต้นสังกัดที่กาหนดให้สมาชิกเข้ารับการโดยมีหน่วยคะแนน นั บ มี ผ ลต่ อ การเข้ า ร่ ว มโครงการ ดั ง นั้ น จึ ง ต้ อ งก าหนดทิ ศ ทางการด าเนิ น งานที่ เ ชื่ อ มโยงกั บ กลุ่มเป้าหมายที่เป็นวิชาชีพ ซึ่งมีสภาวิชาชีพกากับ โดย 1) จัดทาโครงการที่มีหน่วยคะแนนนับโดยกาหนดกลุ่มเป้าหมาย ที่มีสภาวิชาชีพกากับ 2) ก าหนดประเด็ น การอบรมที่ ต รงกั บ ความต้ อ งการของ กลุ่มเป้าหมาย 3) ศึกษาแหล่งทุนสนับสนุนการอบรมจากสภาวิชาชีพ 1.5.1.2 ความแตกต่างกันในด้านของราคาค่าใช้ จ่ายการเข้าร่วมโครงการ ของแต่ละหลักสูตร อันเกิดขึ้นจาก 1) ความได้เปรียบจากการเป็นสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ และมี แหล่งทุนสนับสนุน 2) กาหนดราคาแบบมีเงื่อนไข 3) รูปแบบของโครงการมีผลต่อราคาค่าใช้จ่าย 1.5.1.3 รูปแบบการจัดบริการวิชาการแก่สังคมมีความหลากหลาย ได้ แก่ โครงการอบรมทั่วไป โครงการอบรมหลักสูตรระยะสั้น และการจัดตั้งหน่วยงานให้บริการ


75

1.5.1.4 ประเด็ น การดู แ ลสุ ข ภาพผู้ สู ง อายุ เ ป็ น แนวโน้ ม ส าคั ญ ในการ จัดบริการวิชาการปัจจุบันและอนาคต แต่ก็ยังพบประเด็นทางสุขภาพอื่นๆร่วมด้วย ได้แก่ ปัญหาทาง สุ ข ภาพที่ เ ป็ น ผลมาจากกลุ่ ม โรค NCDs (Non-Communicable diseases) และกลุ่ ม อาการโรค ออฟฟิศซินโดรม (Office syndrome) 1.5.2 จุดแข็ง และอุปสรรคในการจัดบริการวิชาการแก่สังคมแบบมีรายได้ 1.5.2.1 จุดแข็ง ศักยภาพของหลักสูตรด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพของมหาวิทยาลัยเอกชน แห่ งหนึ่งในจังหวัดนครปฐม ซึ่งเป็นที่ปัจจัยสนับสนุนการจัดบริการวิชาการแก่สังคมให้ สามารถ ดาเนินการอย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งประกอบด้วย 1) ประสบการณ์ของคณะวิชาในการจัดบริการและความเชื่อมโยง กับศิษย์เก่า 2) มีอาจารย์ที่เชี่ยวชาญซึ่งมีความพร้อมในการให้บริการวิชาการ แก่สังคม ครอบคลุมกับปัญหาทางสุขภาพ รวมทั้งยังมีการเตรียมความพร้อมให้อาจารย์เป็นวิทยากร 3) ความพร้อมด้านสถานที่ของมหาวิทยาลัยฯ กล่าวคือ มีสถานที่ จัดบริการที่สนองกับความต้องการของกลุ่มเป้าหมายในแต่ละพื้นที่ทั้งในวิทยาเขตหลักนครปฐม และ กรุงเทพฯ และความพร้อมด้านอุปกรณ์สนับสนุนการจัดบริการ แต่อย่างไรก็ตาม บางหลักสูตรให้ ความเห็นว่า การจัดบริการโดยใช้บริการสถานที่จากโรงแรมภายนอกมหาวิทยาลัยฯ ทาให้ได้รับ ความสะดวกมากกว่า เนื่องจากความต้องการของกลุ่ มเป้าหมาย และเหมาะสมกับลักษณะของ กิจกรรมที่จัดขึ้นในโครงการ 4) การบริหารจัดการโครงการที่มีประสิทธิภาพโดยยึดหลักการ ประหยัดสุด ประโยชน์สูง และมีการทางานเป็นทีม 1.5.2.2 อุปสรรค หลักสูตรด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพได้วิเคราะห์ถึงปัจจัยที่มีผลต่อการจัด โครงการบริการวิชาการแก่สังคมของหลักสูตร ได้แก่ 1) การวางแผนการสารวจความต้องการที่ตรงกลุ่มเป้าหมายอย่าง เป็นระบบ โดยควรมีการศึกษาวิจัยที่เป็นระบบ และเพิ่มการนาผลการดาเนินงานของโครงการในครั้ง ที่ผ่านมาปรับปรุงการจัดบริการในครั้งต่อไป 2) ระยะเวลาการให้ ก ารรั บรองเป็น สถาบั นฝึ ก อบรมของสภา วิชาชีพ มีผลต่อการจัดทาโครงการเพิ่มรายได้ โดยทาให้เกิดข้อจากัดในการเปิดอบรมหลักสูตรระยะ สั้นที่สร้างรายได้สูง แต่หลักสูตรได้มีการเตรียมความพร้อมที่จะจัดการอบรมหลักสูตรระยะสั้นหาก ได้รับการรับรองตามเกณฑ์ที่กาหนด


76

1.5.3 กลยุทธ์ที่สนับสนุนการจัดบริการวิชาการแก่สังคมแบบมีรายได้ หลักสูตรด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพ ได้นาเสนอวิธีการหรือแนวทางซึ่งจะนาไปใช้ใน การส่งเสริมและสนับสนุนการจัดบริการวิชาการแก่สังคมแบบมีรายได้ ให้มีประสิทธิภาพและเกิด ประสิทธิผล ดังนี้ 1.5.3.1 กลยุทธ์การใช้เครือข่ายศิษย์เก่ า โดยมีแนวทางการดาเนินงาน ได้แก่ 1) การสร้างความเชื่อมั่นในอาจารย์ให้แก่ศิษย์เก่า 2) การมอบสิทธิพิเศษให้แก่ศิษย์เก่า 3) การใช้เพจของคณะวิชาเป็นเครื่องมือสื่อสาร 4) กาหนดให้ศิษย์เก่าช่วยเพิ่มกลุ่มเป้าหมายในการร่วมโครงการ 5) การนาเสนอให้ศิษย์เก่ามีส่วนร่วมในการพัฒนาคณะวิชา 1.5.3.2 กลยุทธ์การเพิ่มความร่วมมือกับองค์กรที่มีการตกลงความร่วมมือ โดยมีแนวทางการดาเนินงาน ได้แก่ 1) การทราบแผนงานการพัฒนาบุคลากรในองค์กรที่มีการตกลง ความร่วมมือ 2) การประสานงานกับบุคคลที่มีนัยสาคัญในองค์กร 3) การน าเสนอการเป็น สถาบัน หลั กในการฝึ กอบรมจากสภา วิชาชีพ 4) การสร้างความเชื่อมั่นในทีมอาจารย์ที่มีประสบการณ์ 5) กาหนดแผนค่าใช้จ่ายที่ชัดเจน 6) การพิจารณาประเด็นความต้องการขององค์กรที่มีการตกลง ความร่วมมือกับนโยบายของมหาวิทยาลัยฯ รวมทั้งศักยภาพของหลักสูตร และคณะวิชา 1.5.3.3 กลยุทธ์การจัดโครงการที่เน้นสหวิทยาการ โดยมีแนวทางการ ดาเนินงาน ได้แก่ 1) การออกแบบเนื้อหาการจัดบริการให้เป็นสหวิทยาการ 2) การกาหนดกลุ่มเป้าหมายให้ชัดเจน 3) การดูแลสุขภาพด้วยนวัตกรรม 4) การทาให้นักศึกษาและอาจารย์ได้ประโยชน์จากการจัดบริการ 1.5.3.4 กลยุท ธ์การให้ บริก ารที่เ ป็นเลิ ศ โดยมีแนวทางการดาเนินงาน ได้แก่ 1) การสร้างทีมผู้ให้บริการที่มี Service Mind 2) การให้ความสาคัญกับบรรยากาศหน้างาน 3) การปรับปรุงแก้ไขข้อร้องขอหรือความต้องการให้ดีขึ้น 4) การทาให้เอกสารประกอบการจัดบริการมีคุณค่า


77

1.5.3.5 กลยุทธ์การสร้างแบรนด์สุ ขภาพ โดยมีแนวทางการดาเนินงาน ได้แก่ 1) การนาศิษย์เก่ามาเสริมสร้างแบรนด์สุขภาพ 2) การสร้างภาพลักษณ์แบรนด์สุขภาพให้สาธารณชนรับรู้ 3) การเพิ่มการจัดโครงการบริการวิชาการด้านสุขภาพให้มากขึ้น 4) การเตรียมแผนงานที่ชัดเจน 1.5.4 ความต้องการปัจจัยสนับสนุนจากมหาวิทยาลัยฯ หลักสูตรด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพได้นาเสนอความต้องการเกี่ยวกับระบบและกลไก ที่จะมาสนับสนุนการจัดบริการวิชาการแก่สังคมแบบมีรายได้ของมหาวิทยาลัย เพื่อให้การปฏิบัติงาน เกิดประสิทธิภาพ ได้แก่ 1) หน่วยงานกลางทาหน้าที่ประสานงานจัดการให้บริการวิชาการ แก่สังคม 2) การสนับสนุนด้านอุปกรณ์ เทคโนโลยีด้านสุขภาพ 3) การพัฒนาศักยภาพอาจารย์ให้เป็น“นักขาย”ที่ดี 4) การแบ่งปันรายได้จากการให้บริการสนั บสนุนการดาเนินงาน ของหลักสูตร 5) การกาหนดภารกิจ การให้บริการวิชาการแก่สังคมเป็น “ภาระ งาน”ของอาจารย์อย่างชัดเจน


78

สรุปกลยุทธ์ที่สนับสนุนการจัดบริการวิชาการแก่สังคมแบบมีรายได้ ของมหาวิทยาลัยเอกชนแห่งหนึ่งในจังหวัดนครปฐม

กลยุทธ์การใช้เครือข่ายศิษย์เก่า

กลยุทธ์การเพิม่ ความร่วมมือกับ องค์กรที่มีการตกลงความร่วมมือ

กลยุทธ์การจัดโครงการที่ เน้นสหวิทยาการ

กลยุทธ์การให้บริการที่เป็นเลิศ

กลยุทธ์การสร้างแบรนด์ สุขภาพ

าเนินการ ชาเป็นเครื่องมือสื่อสาร กาหนดให้ ใช้แนวทางด เพจของคณะวิ - การสร้างความเชื่อมั่นในอาจารย์ให้แก่ศิษย์เก่า ศิ-ษการมอบสิ ย์เก่าช่ทวธิยเพิ ่มกลุแก่​่มศเป้ วมโครงการ พิเศษให้ ิษย์เาก่หมายในการร่ า - การใช้เพจของคณะวิ และการน าเสนอให้ชาเป็ ศิษนย์เครืเก่​่อางมืมีอสสื่​่อวสาร นร่วมในการพัฒนา - กาหนดให้ศิษย์เก่าช่วยเพิ่มกลุ่มเป้าหมายร่วมโครงการ คณะวิ า ศิษย์เก่ามีส่วนร่วมในการพัฒนาคณะวิชา - การนชาเสนอให้ แนวทางดาเนินการ ใช้ เพจของคณะวิชาเป็นเครื่องมือสื่อสาร กาหนดให้ - ทราบแผนงานการพัฒนาบุคลากรในองค์กรที่มีการตกลงความร่วมมือ บบุค่มคลที ญในองค์กร ศิ- ประสานงานกั ษย์เก่าช่วยเพิ กลุ่ม่มีนัยเป้สาคัาหมายในการร่ วมโครงการ - นาเสนอการเป็นสถาบันหลักในการฝึกอบรมจากสภาวิชาชีพ และการน ศิษย์เก่ที่มาีปมีระสบการณ์ ส่วนร่วมในการพัฒนา - สร้างความเชืาเสนอให้ ่อมั่นในทีมอาจารย์ - กาหนดแผนค่ คณะวิ ชา าใช้จ่ายที่ชัดเจน - การพิจารณาประเด็นความต้องการขององค์กร กับนโยบายของมหาวิทยาลัยฯ และศักยภาพของคณะวิชา

ใช้แนวทางด เพจของคณะวิ าเนินการ ชาเป็นเครื่องมือสื่อสาร กาหนดให้ ดบริการให้เป็นสหวิทยาการ ศิ--ษการออกแบบเนื ย์เก่าช่วยเพิ้อ่มหาการจั กลุ่มเป้ าหมายในการร่วมโครงการ การกาหนดกลุ่มเป้าหมายให้ชัดเจน - การดูแลสุาเสนอให้ ขภาพด้วยนวัศติษ กรรม และการน ย์เก่ามีส่วนร่วมในการพัฒนา - การทาให้นักศึกษาและอาจารย์ได้ประโยชน์จากการจัดบริการ คณะวิชา าเนินการ ชาเป็นเครื่องมือสื่อสาร กาหนดให้ ใช้แนวทางด เพจของคณะวิ - การสร้างทีมผู้ให้บริการที่มี Service Mind ศิ- ษการให้ ย์เก่คาวามส ช่วยเพิ ่มเป้าหมายในการร่ วมโครงการ าคัญ่มกักลุ บบรรยากาศหน้ างาน - การปรับปรุาเสนอให้ งแก้ไขข้อร้อศงขอหรื งการให้ ดีขึ้น และการน ิษย์เอก่ความต้ ามีส่วอนร่ วมในการพั ฒนา - การทาให้เอกสารประกอบการจัดบริการมีคุณค่า คณะวิชา

ใช้ เพจของคณะวิ แนวทางด าเนินการ ชาเป็นเครื่องมือสื่อสาร กาหนดให้ - การนาศิษย์เก่ามาเสริมสร้างแบรนด์สุขภาพ ศิ- การสร้ ษย์เก่าางภาพลั ช่วยเพิ ่มเป้สุขาภาพให้ หมายในการร่ กษณ์่มแกลุ บรนด์ สาธารณชนรัวบมโครงการ รู้ -และการน การเพิ่มการจัาเสนอให้ ดโครงการบริ ก ารวิ ช าการด้ า นสุ ข ภาพให้ มากขึ้นฒนา ศิษย์เก่ามีส่วนร่วมในการพั - การเตรียมแผนงานที่ชัดเจน คณะวิชา

ภาพที่ 3 สรุปกลยุทธ์ที่สนับสนุนการจัดบริการวิชาการแก่สังคมจากผลการวิจัยเชิงคุณภาพ


79

2. ผลการวิจัยเชิงปริมาณเกี่ยวกับกลยุทธ์ทางการตลาดที่สนับสนุนการจัดบริการวิชาการแก่ สังคมแบบมีรายได้ 2.1 ข้อมูลพื้นฐานของกลุ่มตัวอย่าง ตารางที่ 2 จานวนและร้อยละของกลุ่มตัวอย่างจาแนกตามข้อมูลพื้นฐาน ข้อมูลพื้นฐาน จานวน (N=76) เพศ - หญิง 67 - ชาย 9 อายุ - 25 – 30 ปี 9 - 31 – 40 ปี 31 - 41 – 50 ปี 15 - 50 ปีขึ้นไป 21 ระดับการศึกษา - ปริญญาเอก 16 - ปริญญาโท 55 - ปริญญาตรี 5 คณะวิชาที่สังกัด - คณะพยาบาลศาสตร์ 46 - คณะวิทยาศาสตร์สุขภาพ 30 ระยะเวลาที่ปฏิบัติงานในมหาวิทยาลัยฯ - ต่ากว่า 5 ปี 32 - 5 - 10 ปี 20 - 11 – 15 ปี 14 - 15 ปีขึ้นไป 10 ตาแหน่ง - ผู้บริหาร 15 - อาจารย์ 56 - ผู้ช่วยอาจารย์ 5

ร้อยละ (100) 88.2 11.8 11.8 40.8 19.8 27.6 21.1 72.4 6.6 60.5 39.5 42.1 26.3 18.4 13.2 19.7 73.7 6.6

จากตารางที่ 2 พบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง จานวน 67 คน คิดเป็นร้อยละ 88.2 มีอายุ ระหว่าง 31-40 จานวน 31 คน คิดเป็นร้อยละ 40.8 เกินครึ่งสาเร็จการศึกษาระดับ ปริญญาโท จานวน 55 คน คิดเป็นร้อยละ 72.4 สังกัดคณะพยาบาลศาสตร์ จานวน 46 คน คิดเป็น ร้อยละ 60.5 มีระยะเวลาปฏิบัติงานในมหาวิทยาลัยฯ ต่ากว่า 5 ปี จานวน 32 คน คิดเป็นร้อยละ 42.1 และมีตาแหน่งเป็นอาจารย์ จานวน 56 คน คิดเป็นร้อยละ 73.7


80

ตารางที่ 3 จานวนและร้อยละของการมีส่วนร่วมในการจัดบริการวิชาการแก่สังคมแบบมีรายได้ของ กลุ่มตัวอย่าง จานวน ร้อยละ กิจกรรมการมีส่วนร่วม (N=76) (100) - ประชาสัมพันธ์การจัดบริการวิชาการ 49 64.5 - วางแผน ออกแบบรูปแบบการจัดบริการ เช่น การประชุม 43 56.6 วิชาการ การสัมมนาเชิงปฏิบัติการ การสาธิต การทดสอบ การตรวจประเมิน ฯ เป็นต้น - ประสานงานกับหน่วยงานภาครัฐ เอกชน ชุมชน หรือ 40 52.6 สถานประกอบการ - เขียนโครงการและประเมินผลโครงการ 39 51.3 - กาหนดประเด็นเรื่อง/หัวข้อที่จะจัดบริการ 36 47.4 - เป็นวิทยากรในการจัดบริการ 36 47.4 - ประสานงานติดตามวิทยากร/ผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก 30 39.5 มหาวิทยาลัยฯ - สารวจความต้องการจัดบริการวิชาการกับหน่วยงาน 22 28.9 ภายนอก - ติดตามผลการใช้ประโยชน์จากการได้รับบริการภายหลังการ 22 28.9 จัดบริการกับผู้ใช้บริการ หน่วยงาน องค์กร ชุมชน และ สถานประกอบการ - ไม่เคยมีส่วนร่วม 9 11.8 จากตารางที่ 3 พบว่า กลุ่มตัวอย่างมีส่วนร่วมในการจัดบริการวิชาการแก่สังคมแบบมีรายได้ มากที่สุด คือ การมีส่วนร่วมในการประชาสัมพันธ์การจัดบริการ จานวน 49 คน คิดเป็นร้อยละ 64.5 กิจกรรมการมีส่วนร่วมของกลุ่มตัวอย่างน้อยที่สุด คือ การสารวจความต้องการจัดบริการวิชาการกับ หน่วยงานกับหน่ว ยงานภายนอก และการติดตามผลการใช้ประโยชน์จากการได้รับบริการภายหลัง การจัดบริการกับผู้ใช้บริการ หน่วยงาน องค์กร ชุมชน และสถานประกอบการ จานวนเท่ากัน คือ 22 คน คิดเป็นร้อยละ 28.9


81

ตารางที่ 4 จานวนและร้อยละของการมีส่วนร่วมในการจัดบริการวิชาการแก่สังคมแบบมีรายได้ของ กลุ่มตัวอย่างจาแนกตามระยะเวลาที่ปฏิบัติงานในมหาวิทยาลัยฯ ระยะเวลาที่ปฏิบัติงานในมหาวิทยาลัยฯ ต่ากว่า 5 5 - 10 11 – 15 15 ปีขึ้น กิจกรรมการมีส่วนร่วม ปี ปี ปี ไป (n=32) (n=20) (n=14) (n=10) - ประชาสัมพันธ์การจัดบริการวิชาการ 14 16 11 8 (43.8) (80) (78.6) (80) - วางแผน ออกแบบรูปแบบการจัดบริการ 14 14 7 8 เช่น การประชุมวิชาการ การสัมมนาเชิง (43.8) (70) (50) (80) ปฏิบัติการ การสาธิต การทดสอบ การ ตรวจประเมิน ฯ เป็นต้น - ประสานงานกับหน่วยงานภาครัฐ เอกชน ชุมชน หรือสถานประกอบการ - เขียนโครงการและประเมินผลโครงการ - กาหนดประเด็นเรื่อง/หัวข้อที่จะจัดบริการ - เป็นวิทยากรในการจัดบริการ - ประสานงานติดตามวิทยากร/ผู้ทรงคุณวุฒิ ภายนอกมหาวิทยาลัยฯ - สารวจความต้องการจัดบริการวิชาการกับ หน่วยงานภายนอก - ติดตามผลการใช้ประโยชน์จากการได้รับ บริการภายหลังการจัดบริการกับ ผู้ใช้บริการ หน่วยงานองค์กร ชุมชน และ สถานประกอบการ - ไม่เคยมีส่วนร่วม

11 (34.4) 9 (28.1) 9 (28.1) 8 (25) 8 (25) 5 (15.6) 5 (15.6)

14 (70) 16 (80) 14 (70) 14 (70) 10 (50) 7 (35) 9 (45)

7 (50) 8 (57.1) 7 (50) 8 (57.1) 6 (42.9) 6 (42.9) 4 (28.6)

8 (80) 6 (60) 6 (60) 6 (60) 6 (60) 4 (40) 4 (40)

7 (21.9)

-

1 (7.1)

1 (10)

จากตารางที่ 4 พบว่า กลุ่มตัวอย่างที่มีระยะเวลาปฏิบัติงานในมหาวิทยาลัยฯต่ากว่า 5 ปี มี ส่วนร่วมในกิจกรรมการให้บริการวิชาการแก่สังคมแบบมีรายได้น้อยกว่าเมื่อเปรียบเทียบกับกลุ่มที่มี ระยะเวลาปฏิบัติงานในมหาวิทยาลัยฯ 5-10 ปี 11-15 ปี และ 15 ปีขึ้นไป


82

ตารางที่ 5 จานวนและร้อยละของการมีส่วนร่วมในการจัดบริการวิชาการแก่สังคมแบบมีรายได้ของ กลุ่มตัวอย่างจาแนกตามตาแหน่งที่ปฏิบัติงานในมหาวิทยาลัยฯ ตาแหน่งที่ปฏิบัติงาน กิจกรรมการมีส่วนร่วม ผู้บริหาร อาจารย์ ผู้ช่วยอาจารย์ (n=15) (n=56) (n=5) - ประชาสัมพันธ์การจัดบริการวิชาการ 13 35 1 (86.7) (62.5) (20) - วางแผน ออกแบบรูปแบบการจัดบริการ เช่น 13 29 1 การประชุมวิชาการ การสัมมนาเชิงปฏิบัติการ (86.7) (51.8) (20) การสาธิต การทดสอบ การตรวจประเมิน ฯ เป็นต้น - ประสานงานกับหน่วยงานภาครัฐ เอกชน ชุมชน หรือสถานประกอบการ - เขียนโครงการและประเมินผลโครงการ - กาหนดประเด็นเรื่อง/หัวข้อที่จะจัดบริการ - เป็นวิทยากรในการจัดบริการ - ประสานงานติดตามวิทยากร/ผู้ทรงคุณวุฒิ ภายนอกมหาวิทยาลัยฯ - สารวจความต้องการจัดบริการวิชาการกับ หน่วยงานภายนอก - ติดตามผลการใช้ประโยชน์จากการได้รับบริการ ภายหลังการจัดบริการกับผู้ใช้บริการ หน่วยงาน องค์กร ชุมชน และสถานประกอบการ - ไม่เคยมีส่วนร่วม

14 (93.3) 12 (80) 13 (86.7) 11 (73.3) 13 (86.7) 8 (53.3) 9 (60)

25 (44.6) 26 (46.4) 22 (39.9) 24 (42.9) 16 (28.6) 14 (25) 13 (23.2)

1 (20) 1 (20) 1 (20) 1 (20) 1 (20) -

0

5 (8.9)

4 (80)

-

จากตารางที่ 5 พบว่า กลุ่ มตั ว อย่างที่เป็นผู้ บริห าร มีส่ ว นร่ว มในกิจกรรมการให้ บริการ วิชาการแก่สังคมแบบมีรายได้มากกว่าเมื่อเปรียบเทียบกับกลุ่มตัวอย่างที่เป็นอาจารย์ ขณะที่กลุ่ม ตัวอย่างที่เป็นผู้ช่วยอาจารย์มีส่วนร่วมในกิจกรรมน้อยมาก


83

2.2 ระดับความคิดเห็นเกี่ย วกับการใช้กลยุทธ์ทางการตลาดที่สนับสนุนการจัดบริการ วิชาการแก่สังคมแบบมีรายได้ ตารางที่ 6 ค่ า เฉลี่ ย และส่ ว นเบี่ ย งเบนมาตรฐานระดั บ ความคิ ด เห็ น เกี่ย วกั บ การใช้ ก ลยุ ท ธ์ ท าง การตลาดที่สนับสนุนการจัดบริการวิชาการแก่สังคมแบบมีรายได้ของกลุ่มตัวอย่าง ภาพรวม ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบน ระดับ กลยุทธ์ทางการตลาด อันดับ x̅ มาตรฐาน (S D) ความหมาย ด้านลักษณะทางกายภาพ 4.30 .78 มาก 1 ด้านการส่งเสริมการตลาด 4.29 .88 มาก 2 ด้านผลิตภัณฑ์ 4.24 .78 มาก 3 ด้านช่องทางการจัดจาหน่าย 4.23 .86 มาก 4 ด้านราคา 4.20 .78 มาก 5 ด้านบุคคล 4.08 .86 มาก 6 ด้านกระบวนการ 4.07 .84 มาก 7 ภาพรวม 4.20 .87 มาก จากตารางที่ 6 พบว่า ภาพรวมกลุ่มตัวอย่างเห็นด้วยในระดับมาก (x̅= 4.20, S D = .87) ที่ จะนากลยุทธ์ทางการตลาดมาสนับสนุนการจัดบริการวิชาการแก่สังคมแบบมีรายได้ โดยกลยุทธ์ทาง การตลาดที่กลุ่มตัวอย่างให้ความสาคัญ 3 อันดับแรก คือ ด้านลักษณะทางกายภาพ (x̅= 4.30, S D = .78) ด้านการส่งเสริมการตลาด (x̅= 4.29, S D = .88) และด้านผลิตภัณฑ์ (x̅= 4.24, S D = .78) ตามลาดับ


84

ตารางที่ 7 ค่ า เฉลี่ ย และส่ ว นเบี่ ย งเบนมาตรฐานระดั บ ความคิ ด เห็ น เกี่ย วกั บ การใช้ ก ลยุ ท ธ์ ท าง การตลาดที่สนับสนุนการจัดบริการวิชาการแก่สังคมแบบมีรายได้ของกลุ่มตัวอย่าง ด้านผลิตภัณฑ์ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบน ระดับ กลยุทธ์ด้านผลิตภัณฑ์ อันดับ x̅ มาตรฐาน (S D) ความหมาย - นาเสนอภาพลักษณ์วิทยากรที่มีความ 4.32 .69 มาก 1 เป็นมืออาชีพ - ใช้รูปแบบการจัดบริการที่ผสมผสาน 4.30 .69 มาก 2 เช่น การฝึกปฏิบัติการ การศึกษาดูงาน การประชุมวิชาการ การถอดบทเรียน เป็นต้น - มีหน่วยคะแนนนับจากองค์กรวิชาชีพ 4.27 .80 มาก 3 เพื่อสร้างจุดสนใจ - กาหนดหัวข้อ/ธีม (Theme) ของการ 4.26 .75 มาก 4 จัดบริการที่สร้างสรรค์และทันสมัย สอดคล้องกับสถานการณ์การ เปลี่ยนแปลงขององค์ความรู้ ด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพ - มีการวิเคราะห์กลุ่มเป้าหมายเพื่อนามา 4.25 .71 มาก 5 ออกแบบโครงการบริการวิชาการที่จะ จัดขึ้น - ผู้ใช้บริการมีแนวทางการประยุกต์องค์ 4.17 .73 มาก 6 ความรู้ที่ได้รับจากการจัดบริการไปใช้ ในหน่วยงานที่สังกัด - มีการบูรณาการของความรู้แบบ 4.14 .70 มาก 7 สหสาขาวิชาในการจัดบริการ ภาพรวม 4.24 .78 มาก จากตารางที่ 7 พบว่า ภาพรวม กลุ่มตัวอย่างเห็นด้วยในระดับมาก (x̅= 4.24, S D = .78) เกี่ยวกับการนากลยุทธ์ด้านผลิตภัณฑ์มาใช้ในการสนับสนุนการจัดบริการวิชาการแก่สังคมแบบมี รายได้ โดยเรื่องที่ควรให้ความสาคัญเป็นอันดับแรก คือ การนาเสนอภาพลักษณ์วิทยากรที่มีความเป็น มืออาชีพ (x̅= 4.32, S D = .69)


85

ตารางที่ 8 ค่ า เฉลี่ ย และส่ ว นเบี่ ย งเบนมาตรฐานระดั บ ความคิ ด เห็ น เกี่ย วกั บ การใช้ ก ลยุ ท ธ์ ท าง การตลาดที่สนับสนุนการจัดบริการวิชาการแก่สังคมแบบมีรายได้ของกลุ่มตัวอย่าง ด้านราคา ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบน ระดับ กลยุทธ์ด้านราคา อันดับ x̅ มาตรฐาน (S D) ความหมาย - มีช่องทางการชาระเงินแบบออนไลน์/ 4.38 .74 มาก 1 ดิจิทัลอานวยความสะดวกในการ ชาระเงิน - มีกลยุทธ์สิทธิพิเศษด้านราคา เช่น จ่าย 4.36 .76 มาก 2 ก่อนได้ส่วนลด มาเป็นกลุ่มได้ส่วนลด ศิษย์เก่าได้ส่วนลดเป็นต้น เพื่อดึงดูด ความสนใจ - วิเคราะห์ค่าใช้จ่ายการจัดบริการอย่าง 4.13 .77 มาก 3 คุ้มค่า คุ้มทุน - กาหนดค่าใช้จ่ายการจัดบริการอย่าง 4.09 .85 มาก 4 เหมาะสมโดยเปรียบเทียบราคากับ คู่แข่งขัน - แสดงรายการค่าใช้จ่ายอย่างเปิดเผย 4.04 .87 มาก 5 เพื่อสื่อสารข้อมูลที่ชัดเจนแก่ ผู้ใช้บริการ ภาพรวม 4.20 .78 มาก จากตารางที่ 8 พบว่า ภาพรวม กลุ่มตัวอย่างเห็นด้วยในระดับมาก (x̅= 4.20, S D = .78) เกี่ยวกับการนากลยุทธ์ด้านราคามาใช้ในการสนับสนุนการจัดบริการวิชาการแก่สังคมแบบมีรายได้ โดยเรื่องที่ควรให้ความสาคัญเป็นอันดับแรก คือ มีช่องทางการชาระเงินแบบออนไลน์/ดิจิทัลอานวย ความสะดวกในการชาระเงิน (x̅= 4.38, S D = .74)


86

ตารางที่ 9 ค่ า เฉลี่ ย และส่ ว นเบี่ ย งเบนมาตรฐานระดั บ ความคิ ด เห็ น เกี่ย วกั บ การใช้ ก ลยุ ท ธ์ ท าง การตลาดที่สนับสนุนการจัดบริการวิชาการแก่สังคมแบบมีรายได้ของกลุ่มตัวอย่าง ด้า นช่องทางการ จัดจาหน่าย ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบน ระดับ กลยุทธ์ด้านช่องทางการจัดจาหน่าย อันดับ x̅ มาตรฐาน (S D) ความหมาย - มีเอกสาร/ข้อมูลการจัดบริการที่มี 4.26 .85 มาก 1 รายละเอียด และแสดงถึงเงื่อนไข ข้อตกลงในการใช้บริการอย่างโปร่งใส ชัดเจนแก่ผู้ใช้บริการ - กาหนดผู้รับผิดชอบ และสถานที่ในการ 4.24 .79 มาก 2 ติดต่อประสานงานอย่างชัดเจน - มีการให้ข้อมูลการจัดบริการอย่างทั่วถึง 4.22 .77 มาก 3 แก่กลุ่มเป้าหมาย - วางระบบบริการติดต่อที่มี 4.21 .89 มาก 4 ประสิทธิภาพโดยใช้บริการแบบจุด เดียวเบ็ดเสร็จ (One-Stop-Service) ภาพรวม 4.23 .86 มาก จากตารางที่ 9 พบว่า ภาพรวม กลุ่มตัวอย่างเห็นด้วยในระดับมาก (x̅= 4.23, S D = .86) เกี่ยวกับการนากลยุทธ์ด้านช่องทางการจัดจาหน่ายมาใช้ในการสนับสนุนการจัดบริการวิชาการแก่ สังคมแบบมีรายได้ โดยเรื่องที่ควรให้ความสาคัญเป็นอันดับแรก คือ มีเอกสาร/ข้อมูลการจัดบริการที่ มีรายละเอียดและแสดงถึงเงื่อนไขข้อตกลงในการใช้บริการอย่างโปร่งใสชัดเจนแก่ผู้ใช้บริการ ( x̅= 4.26, S D = .85)


87

ตารางที่ 10 ค่า เฉลี่ ย และส่ ว นเบี่ ย งเบนมาตรฐานระดับความคิ ดเห็ นเกี่ ยวกับการใช้กลยุทธ์ทาง การตลาดที่สนับสนุนการจัดบริการวิชาการแก่สังคมแบบมีรายได้ของกลุ่มตัวอย่าง ด้านการส่งเสริม การตลาด ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบน ระดับ กลยุทธ์ด้านการส่งเสริมการตลาด อันดับ x̅ มาตรฐาน (S D) ความหมาย - สร้างแบรนด์การบริการวิชาการด้าน 4.38 .86 มาก 1 สุขภาพที่เป็นสัญลักษณ์ของ มหาวิทยาลัยฯ - ใช้สื่อออนไลน์ เช่น Facebook Line 4.30 .87 มาก 2 Blog Instargram Youtube เป็น เครื่องดึงดูดความสนใจ - ใช้สื่อบุคคลที่เคยมาใช้บริการเพื่อบอก 4.29 .84 มาก 3 ต่อ (Word of Mouth Marketing) - ใช้เครือข่ายองค์กรสุขภาพที่มีการตกลง 4.28 .86 มาก 4 ความร่วมมืออย่างเป็นทางการและไม่ เป็นทางการเพื่อสื่อสารข้อมูล - ใช้เครือข่ายศิษย์เก่าช่วยสนับสนุน 4.24 .84 มาก 5 ขยายข้อมูล ข่าวสารการจัดบริการ วิชาการ - การจัดทา Website หรือ Blog 4.23 .87 มาก 6 ประชาสัมพันธ์การจัดโครงการ โดยเฉพาะ ภาพรวม 4.29 .88 มาก จากตารางที่ 10 พบว่า ภาพรวม กลุ่มตัวอย่างเห็นด้วยในระดับมาก (x̅= 4.29, S D = .88) เกี่ยวกับการนากลยุทธ์ด้านการส่งเสริมการตลาดมาใช้ในการสนับสนุนการจัดบริการวิชาการแก่สังคม แบบมีรายได้ โดยเรื่องที่ควรให้ความสาคัญเป็นอันดับแรก คือ สร้างแบรนด์การบริการวิชาการด้าน สุขภาพที่เป็นสัญลักษณ์ของมหาวิทยาลัยฯ (x̅= 4.38, S D = .86)


88

ตารางที่ 11 ค่ า เฉลี่ ย และส่ ว นเบี่ ยงเบนมาตรฐานระดับความคิ ดเห็ นเกี่ยวกับการใช้กลยุทธ์ทาง การตลาดที่สนับสนุนการจัดบริการวิชาการแก่สังคมแบบมีรายได้ของกลุ่มตัวอย่าง ด้านบุคคล ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบน ระดับ กลยุทธ์ด้านบุคคล อันดับ x̅ มาตรฐาน (S D) ความหมาย - เปิดโอกาสให้อาจารย์และพนักงาน 4.18 .90 มาก 1 สร้างสรรค์แนวคิดใหม่ๆในการ จัดบริการ - ส่งเสริมแนวคิดการสร้างความประทับใจใน 4.14 .76 มาก 2 การจัดบริการแก่หลักสูตรและคณะวิชา - มอบหมายอาจารย์หรือพนักงานที่ 4.13 .77 มาก 3 รับผิดชอบในการประสานงานการ จัดบริการให้สอดคล้องกับความรู้ ความสามารถ - อาจารย์และพนักงานร่วมกันวิเคราะห์ 4.01 .90 มาก 4 ปัญหาเฉพาะหน้าในการจัดบริการได้ อย่างเหมาะสม - มอบหมายอาจารย์และพนักงานที่มี 3.93 .83 มาก 5 บุคลิกภาพและมนุษยสัมพันธ์ที่ดีในการ จัดบริการวิชาการ ภาพรวม 4.08 .86 มาก จากตารางที่ 11 พบว่า ภาพรวม กลุ่มตัวอย่างเห็นด้วยในระดับมาก (x̅= 4.08, S D = .86) เกี่ยวกับการนากลยุทธ์ด้านบุคคลมาใช้ในการสนับสนุนการจัดบริการวิชาการแก่สังคมแบบมีรายได้ โดยเรื่ องที่ควรให้ ความส าคัญเป็ น อันดับแรก คือ เปิดโอกาสให้ อาจารย์และพนักงานสร้างสรรค์ แนวคิดใหม่ๆในการจัดบริการ (x̅= 4.18, S D = .90)


89

ตารางที่ 12 ค่า เฉลี่ ย และส่ ว นเบี่ ย งเบนมาตรฐานระดับความคิ ดเห็ นเกี่ยวกับการใช้กลยุทธ์ทาง การตลาดที่สนับสนุนการจัดบริการวิชาการแก่สังคมแบบมีรายได้ของกลุ่มตัวอย่าง ด้านลักษณะทาง กายภาพ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบน ระดับ กลยุทธ์ด้านลักษณะทางกายภาพ อันดับ x̅ มาตรฐาน (S D) ความหมาย - จัดการต้อนรับทั้งก่อนและหลังการเข้า 4.35 .75 มาก 1 ร่วมอย่างเป็นระบบเพื่อสร้างความ ประทับใจ - คัดเลือกสถานที่จัดบริการที่เดินทาง 4.30 .77 มาก 2 สะดวกสอดคล้องกับความต้องการของ ผู้ใช้บริการ หน่วยงาน องค์กร และ ชุมชน - สร้างบรรยากาศระหว่างการจัดบริการ 4.28 .75 มาก 3 ด้วยท่าทีที่อบอุ่น เป็นกันเอง และ ความรู้สึกเป็นหนึ่งเดียว - จัดบริการอุปกรณ์สิ่งอานวยความ 4.26 .82 มาก 4 สะดวก เช่น โสตทัศนูปกรณ์ เทคโนโลยีการสื่อสารอย่างมี ประสิทธิภาพ ภาพรวม 4.30 .78 มาก จากตารางที่ 12 พบว่า ภาพรวม กลุ่มตัวอย่างเห็นด้วยในระดับมาก (x̅= 4.30, S D = .78) เกี่ยวกับการนากลยุทธ์ด้านลักษณะทางกายภาพมาใช้ในการสนับสนุนการจัดบริการวิชาการแก่สังคม แบบมีรายได้ โดยเรื่องที่ควรให้ความสาคัญเป็นอันดับแรก คือ จัดการต้อนรับทั้งก่อนและหลังการเข้า ร่วมอย่างเป็นระบบเพื่อสร้างความประทับใจ (x̅= 4.35, S D = .75)


90

ตารางที่ 13 ค่า เฉลี่ ย และส่ ว นเบี่ ย งเบนมาตรฐานระดับความคิ ดเห็ นเกี่ยวกับการใช้กลยุทธ์ทาง การตลาดที่สนับสนุนการจัดบริการวิชาการแก่สังคมแบบมีรายได้ของกลุ่มตัวอย่าง ด้านกระบวนการ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบน ระดับ กลยุทธ์ด้านกระบวนการ อันดับ x̅ มาตรฐาน (S D) ความหมาย - รับฟังความต้องการ ข้อเสนอแนะของ 4.16 .92 มาก 1 ผู้ใช้บริการและติดตามผล ตอบสนอง อย่างเหมาะสมและรวดเร็วเพื่อให้เกิด ความประทับใจต่อผู้ใช้บริการ - มีการปฏิบัติตามระเบียบปฏิบัติการ 4.09 .80 มาก 2 จัดบริการที่มหาวิทยาลัยฯกาหนด - แบ่งภาระหน้าที่รับผิดชอบให้แก่ 4.05 .86 มาก 3 อาจารย์ในการจัดบริการอย่าง เท่าเทียม - ออกแบบและวางแผนงานที่ลดขั้นตอน 4.03 .89 มาก 4 โดยการบูรณาการงานเข้าด้วยกัน - มีแผนหลักและแผนทางเลือกอื่นๆเพื่อ 4.01 .83 มาก 5 ป้องกันความเสี่ยงระหว่างการ จัดบริการวิชาการ ภาพรวม 4.07 .84 มาก จากตารางที่ 13 พบว่า ภาพรวม กลุ่มตัวอย่างเห็นด้วยในระดับมาก (x̅= 4.07, S D = .84) เกี่ยวกับการนากลยุทธ์ด้านกระบวนการมาใช้ในการสนับสนุนการจัดบริการวิชาการแก่สังคมแบบมี รายได้ โดยเรื่ องที่ ควรให้ ความส าคัญ เป็นอันดับ แรก คือ รับฟังความต้องการ ข้อเสนอแนะของ ผู้ ใช้บ ริ การและติดตามผล ตอบสนองอย่างเหมาะสมและรวดเร็ว เพื่อให้ เกิ ดความประทับ ใจต่ อ ผู้ใช้บริการ (x̅= 4.16, S D = .92)


91

2.3 ระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับสภาพปัญหาของการจัดบริการวิชาการแก่สังคมแบบมี รายได้ในเชิงทฤษฎี ตารางที่ 14 ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับสภาพปัญหาของการ จัดบริการวิชาการแก่สังคมแบบมีรายได้ของกลุ่มตัวอย่าง ภาพรวม ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบน ระดับ สภาพปัญหาในเชิงทฤษฎี อันดับ x̅ มาตรฐาน (S D) ความหมาย ด้านการเชื่อมโยงโครงการบริการที่ 2.11 .94 เล็กน้อย 1 บูรณาการกับการจัดเรียนการสอนและ การวิจัย ด้านการพัฒนาคุณภาพกระบวนการ 2.19 .91 เล็กน้อย 2 ให้บริการวิชาการ ด้านการประเมินผลประโยชน์/ 2.26 .98 เล็กน้อย 3 ผลกระทบของการให้บริการวิชาการ ภาพรวม 2.19 .94 เล็กน้อย จากตารางที่ 14 พบว่า ภาพรวมกลุ่ มตัว อย่างมีความเห็ นเกี่ยวกับสภาพปัญหาของการ จัดบริการวิชาการแก่สังคมแบบมีรายได้ในเชิงทฤษฎี อยู่ในระดับเล็กน้อย (x̅= 2.19, S D = .94) โดย เรื่องที่มีความเห็นว่าเป็นปัญหาเล็กน้อยแต่มีค่าเฉลี่ยมากที่สุด คือ ด้านการประเมินผลประโยชน์/ ผลกระทบของการให้บริการวิชาการ (x̅= 2.26, S D = .98)


92

ตารางที่ 15 ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับสภาพปัญหาของการ จัดบริการวิชาการแก่สังคมแบบมีรายได้ของกลุ่มตัวอย่าง ด้านการเชื่อมโยงโครงการบริการที่บูรณา การกับการจัดเรียนการสอนและการวิจัย ด้านการเชื่อมโยงโครงการบริการที่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบน ระดับ บูรณาการกับการจัดเรียนการสอนและ x̅ มาตรฐาน อันดับ ความหมาย การวิจัย (S D) - ความเข้าใจเกี่ยวกับการเชื่อมโยง 2.00 .97 เล็กน้อย 1 เนื้อหาสาระของรายวิชาที่จะใช้ใน การบูรณาการกับการจัดบริการ วิชาการ - กาหนดวัตถุประสงค์ของการบูรณาการ 2.09 .98 เล็กน้อย 2 จัดการเรียนการสอนกับการให้บริการ สอดคล้องกับเนื้อหารายวิชาและสิ่งที่ จะใช้วัดความรู้ ความเข้าใจของ นักศึกษา - สามารถกาหนดกิจกรรมให้นักศึกษา 2.11 .93 เล็กน้อย 3 ร่วมคิด วางแผน และกาหนดบทบาท ตนเองในการจัดบริการวิชาการ - สามารถนาความรู้และประสบการณ์ 2.17 .91 เล็กน้อย 4 จากการบริการวิชาการต่อยอด สร้าง ความรู้ใหม่ผ่านกระบวนการวิจัย - สามารถวิเคราะห์ปัญหา หรือโจทย์ที่ 2.20 .93 เล็กน้อย 5 เป็นประเด็นสาคัญระหว่างการ จัดบริการวิชาการ เพื่อนาไปสู่ การพัฒนาโครงการวิจัย ภาพรวม 2.11 .94 เล็กน้อย จากตารางที่ 15 พบว่า ภาพรวมกลุ่ มตัว อย่างมีความเห็ นเกี่ยวกับสภาพปัญหาของการ จัดบริการวิชาการแก่สังคมแบบมีรายได้ในเชิงทฤษฎี ด้านการเชื่อมโยงโครงการบริการที่บูรณาการ กับ การจั ด เรี ย นการสอนและการวิ จั ย อยู่ ในระดับ เล็ ก น้อ ย (x̅= 2.11, S D = .94) โดยเรื่ อ งที่ มี ความเห็นว่าเป็นปัญหาเล็กน้อยแต่มีค่าเฉลี่ยมากที่สุด คือ สามารถวิเคราะห์ปัญหา หรือโจทย์ที่เป็น ประเด็นสาคัญระหว่างการจัดบริการวิชาการเพื่อนาไปสู่การพัฒนาโครงการวิจัย (x̅= 2.20, S D = .93)


93

ตารางที่ 16 ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานระดั บความคิดเห็นเกี่ยวกับสภาพปัญหาของการ จั ดบริ การวิ ช าการแก่สั งคมแบบมีร ายได้ ของกลุ่ มตัว อย่าง ด้านการพั ฒ นาคุ ณภาพกระบวนการ ให้บริการวิชาการ ด้านการพัฒนาคุณภาพกระบวนการ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบน ระดับ อันดับ ให้บริการวิชาการ x̅ มาตรฐาน (S D) ความหมาย - การจัดบริการวิชาการอย่างมีทิศทาง 1.97 .90 เล็กน้อย 1 ตามเอกลักษณ์ของหลักสูตรโดย ดาเนินงานตามวงจรคุณภาพ (PDCA) - การทางานเป็นทีมร่วมกันในการ 2.01 .94 เล็กน้อย 2 จัดบริการวิชาการ - การสร้างและขยายเครือข่ายการ 2.17 .91 เล็กน้อย 3 ให้บริการวิชาการกับหน่วยงาน องค์กร สถานประกอบการและชุมชน ภายนอกอย่างต่อเนื่อง - การเชื่อมโยงการให้บริการกับ 2.28 .93 เล็กน้อย 4 ศูนย์ความเป็นเลิศของมหาวิทยาลัยฯ - ประเมินความต้องการหรือความจาเป็น 2.25 .95 เล็กน้อย 5 เพื่อให้ได้มาซึ่งกลุ่ม เป้าหมายที่ แน่นอนก่อนการจัดบริการวิชาการของ หลักสูตร คณะวิชา - ความรู้ความเข้าใจอย่างชัดเจนใน 2.43 .88 เล็กน้อย 6 หลักการ และเกณฑ์การประกัน คุณภาพด้านการให้บริการวิชาการแก่ สังคมของ สกอ./สมศ. ภาพรวม 2.19 .91 เล็กน้อย จากตารางที่ 16 พบว่า ภาพรวมกลุ่ มตัว อย่างมีความเห็ นเกี่ยวกับสภาพปัญหาของการ จัดบริการวิชาการแก่สังคมแบบมีรายได้ในเชิงทฤษฎี ด้านการพัฒนาคุณภาพกระบวนการให้บริการ วิชาการ อยู่ในระดับเล็กน้อย (x̅= 2.19, S D = .91) โดยเรื่องที่มีความเห็นว่าเป็นปัญหาเล็กน้อยแต่มี ค่าเฉลี่ยมากที่สุด คือ ความรู้ความเข้าใจอย่างชัดเจนในหลักการและเกณฑ์การประกันคุณภาพด้าน การให้บริการวิชาการแก่สังคมของ สกอ./สมศ. (x̅= 2.43, S D = .88)


94

ตารางที่ 17 ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานระดับความคิด เห็นเกี่ยวกับสภาพปัญหาของการ จัดบริการวิชาการแก่สังคมแบบมีรายได้ของกลุ่มตัวอย่าง ด้านการประเมินผลประโยชน์/ ผลกระทบ ของการให้บริการวิชาการ ด้านการประเมินผลประโยชน์/ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบน ระดับ อันดับ ผลกระทบของการให้บริการวิชาการ x̅ มาตรฐาน (S D) ความหมาย - สามารถใช้เทคนิคต่างๆในการ 2.20 .96 เล็กน้อย 1 ประเมินผลความสาเร็จของการ จัดบริการได้ตรงตามวัตถุประสงค์ - การประเมินตัวเองเกี่ยวกับจุดแข็ง 2.24 .84 เล็กน้อย 2 หรือจุดที่ต้องพัฒนาในการจัดบริการ วิชาการ - การประเมินผลกระทบของผู้ใช้บริการ 2.28 .87 เล็กน้อย 3 ภายหลังจากการจัดบริการและนา ข้อมูลย้อนกลับไปปรับปรุงการ จัดบริการ การทาวิจัย และการจัดการ เรียนการสอน - การนาแนวปฏิบัติที่ดีไปส่งเสริมการ 2.30 .89 เล็กน้อย 4 ดาเนินงานในขั้นตอนการจัดบริการ การจัดการเรียนการสอน และการทา วิจัย - การประเมินผลความสาเร็จของการ 2.31 .98 เล็กน้อย 5 จัดบริการแบบ 360 องศา ทั้งนักศึกษา อาจารย์ และผู้ใช้บริการ ภาพรวม 2.26 .88 เล็กน้อย จากตารางที่ 17 พบว่า ภาพรวมกลุ่ มตัว อย่างมีความเห็ นเกี่ยวกับสภาพปัญหาของการ จัดบริการวิชาการแก่สังคมแบบมีรายได้ในเชิงทฤษฎี ด้านการประเมินผลประโยชน์/ ผลกระทบของ การให้บริการวิชาการอยู่ในระดับเล็กน้อย (x̅= 2.26, S D = .88) โดยเรื่องที่มีความเห็นว่าเป็นปัญหา เล็กน้อยแต่มีค่าเฉลี่ยมากที่สุด คือ การประเมินผลความสาเร็จของการจัดบริการแบบ 360 องศา ทั้ง นักศึกษา อาจารย์ และผู้ใช้บริการ (x̅= 2.31, S D = .98)


95

2.4 ระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับสภาพปัญหาของการจัดบริการวิชาการแก่สังคมแบบมี รายได้จากการบริหารทรัพยากรการดาเนินงาน ตารางที่ 18 ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับสภาพปัญหาของการ จัดบริการวิชาการแก่สังคมแบบมีรายได้ของกลุ่มตัวอย่างจากการบริหารทรัพยากรการดาเนินงาน ภาพรวม ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบน ระดับ การบริหารทรัพยากรการดาเนินงาน อันดับ x̅ มาตรฐาน (S D) ความหมาย ด้านการบริหารทรัพยากร/วัตถุ 2.05 .84 เล็กน้อย 1 ด้านการบริหารงบประมาณ 2.06 .98 เล็กน้อย 2 ด้านการบริหารจัดการ 2.23 .96 เล็กน้อย 3 ด้านการบริหารคน 2.27 .86 เล็กน้อย 4 ภาพรวม 2.15 .86 เล็กน้อย จากตารางที่ 18 พบว่า ภาพรวมกลุ่ มตัว อย่างมีความเห็ นเกี่ยวกับสภาพปัญหาของการ จัดบริการวิชาการแก่สังคมแบบมีรายได้จากการบริหารทรัพยากรการดาเนินงาน อยู่ในระดับเล็กน้อย (x̅= 2.15, S D = .86) โดยเรื่องที่มีความเห็นว่าเป็นปัญหาเล็กน้อยแต่มีค่าเฉลี่ยมากที่สุด คือ ด้าน การบริหารคน (x̅= 2.27, S D = .86)


96

ตารางที่ 19 ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับสภาพปัญหาของการ จัดบริการวิชาการแก่สังคมแบบมีรายได้ของกลุ่มตัวอย่างจากการบริหารทรัพยากรการดาเนินงาน ด้านการบริหารคน ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบน ระดับ ด้านการบริหารคน อันดับ x̅ มาตรฐาน (S D) ความหมาย - ผู้บริหารเปิดโอกาสให้เสนอแนวคิด 2.21 .75 เล็กน้อย 1 และมีการยอมรับฟังความคิดเห็นของ ในการจัดบริการของหลักสูตร - การมอบหมายภาระงานการจัดบริการ 2.22 .74 เล็กน้อย 2 วิชาการให้ผู้รับผิดชอบอย่างเหมาะสม - ได้รับอานาจในการตัดสินใจดาเนินการ 2.25 .78 เล็กน้อย 3 ในการจัดบริการวิชาการ - ผู้บริหารจัดคณะกรรมการดาเนิน 2.30 .89 เล็กน้อย 4 โครงการบริการวิชาการแต่ละโครงการ ได้อย่างเหมาะสม - ผู้บริหารและท่านมีส่วนร่วมแก้ไข 2.37 .96 เล็กน้อย 5 ปัญหาเฉพาะหน้าที่เกิดขึ้นจากการ จัดบริการวิชาการของหลักสูตร ภาพรวม 2.27 .86 เล็กน้อย จากตารางที่ 19 พบว่า ภาพรวมกลุ่ มตัว อย่างมีความเห็ นเกี่ยวกับสภาพปัญหาของการ จัดบริการวิชาการแก่สังคมแบบมีรายได้จากการบริหารทรัพยากรการดาเนินงาน ด้านการบริหารคน อยู่ในระดับเล็กน้อย (x̅= 2.27, S D = .86) โดยเรื่องที่มีความเห็นว่าเป็นปัญหาเล็กน้อยแต่มีค่าเฉลี่ย มากที่สุด คือ ผู้บริหารและท่านมีส่วนร่วมแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าที่เกิดขึ้นจากการจัดบริการวิชาการ ของหลักสูตร (x̅= 2.37, S D = .96)


97

ตารางที่ 20 ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับสภาพปัญหาของการ จัดบริการวิชาการแก่สังคมแบบมีรายได้ของกลุ่มตัวอย่างจากการบริหารทรัพยากรการดาเนินงาน ด้านการบริหารงบประมาณ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบน ระดับ ด้านการบริหารงบประมาณ อันดับ x̅ มาตรฐาน (S D) ความหมาย - การรายงานประเมินผลการใช้จ่าย 1.74 .88 เล็กน้อย 1 งบประมาณได้ถูกต้องตามระเบียบของ มหาวิทยาลัยฯ - การบริหารเงินงบประมาณด้วยความ 1.87 .90 เล็กน้อย 2 โปร่งใส ตรวจสอบได้ - การควบคุมการใช้งบประมาณเพื่อการ 2.17 .84 เล็กน้อย 3 จัดบริการวิชาการอย่างเหมาะสม - การวางแผนงบประมาณครอบคลุม 2.21 .88 เล็กน้อย 4 ค่าใช้จ่าย ทุกหมวดรายการเพื่อ สนับสนุนการจัดบริการอย่างเหมาะสม - ได้รับการอานวยความสะดวกในการ 2.30 .86 เล็กน้อย 5 เบิกจ่ายเงินจากมหาวิทยาลัยฯตาม ระบบ ภาพรวม 2.06 .98 เล็กน้อย จากตารางที่ 20 พบว่า ภาพรวมกลุ่ มตัว อย่างมีความเห็ นเกี่ยวกับสภาพปัญหาของการ จัดบริการวิชาการแก่สังคมแบบมีรายได้จากการบริหารทรัพยากรการดาเนินงาน ด้านการบริหาร งบประมาณ อยู่ในระดับเล็กน้อย (x̅= 2.06, S D = .98) โดยเรื่องที่มีความเห็นว่าเป็นปัญหาเล็กน้อย แต่มีค่าเฉลี่ยมากที่สุด คือ ได้รับการอานวยความสะดวกในการเบิกจ่ายเงินจากมหาวิทยาลัยฯตาม ระบบ (x̅= 2.30, S D = .86)


98

ตารางที่ 21 ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับสภาพปัญหาของการ จัดบริการวิชาการแก่สังคมแบบมีรายได้ของกลุ่มตัวอย่างจากการบริหารทรัพยากรการดาเนินงาน ด้านการบริหารทรัพยากร/วัตถุ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบน ระดับ ด้านการบริหารทรัพยากร/วัตถุ อันดับ x̅ มาตรฐาน (S D) ความหมาย - สามารถใช้วัสดุ อุปกรณ์ สาหรับ 1.83 .87 เล็กน้อย 1 จัดบริการวิชาการได้อย่างคุ้มค่า - การควบคุมการใช้วัสดุ อุปกรณ์สาหรับ 2.00 .84 เล็กน้อย 2 การจัดบริการอย่างเหมาะสม - การรายงานประเมินผลหรือส่งคืนการ 2.03 .92 เล็กน้อย 3 ใช้วัสดุ ทรัพยากรสาหรับการจัดบริการ อย่างเหมาะสม - การวางแผนการใช้วัสดุ ทรัพยากร 2.11 .82 เล็กน้อย 4 ประเภทต่างๆสาหรับการจัดบริการ วิชาการอย่างเหมาะสม - ได้รับการอานวยความสะดวกในการ 2.28 .86 เล็กน้อย 5 เบิกจ่ายวัสดุ ทรัพยากรต่างๆ อย่าง รวดเร็ว ภาพรวม 2.05 .84 เล็กน้อย จากตารางที่ 21 พบว่า ภาพรวมกลุ่ มตัว อย่างมีความเห็ นเกี่ยวกับสภาพปัญหาของการ จัดบริการวิชาการแก่สังคมแบบมีรายได้จากการบริหารทรัพยากรการดาเนินงาน ด้านการบริหาร ทรัพยากร/วัตถุ อยู่ ในระดับเล็กน้อย (x̅= 2.05, S D = .84) โดยเรื่องที่มีความเห็นว่าเป็นปัญหา เล็กน้อยแต่มีค่าเฉลี่ยมากที่สุด คือ ได้รับการอานวยความสะดวกในการเบิกจ่ายวัสดุ ทรัพยากรต่างๆ อย่างรวดเร็ว (x̅= 2.28, S D = .86)


99

ตารางที่ 22 ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับสภาพปัญหาของการ จัดบริการวิชาการแก่สังคมแบบมีรายได้ของกลุ่มตัวอย่างจากการบริหารทรัพยากรการดาเนินงาน ด้านการบริหารจัดการ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบน ระดับ ด้านการบริหารจัดการ อันดับ x̅ มาตรฐาน (S D) ความหมาย - การนาข้อมูลจากการจัดโครงการครั้งที่ 2.13 .96 เล็กน้อย 1 ผ่านมา ไปปรับปรุงการจัดโครงการครั้ง ต่อไป - การกาหนดผู้ประสานงานที่ชัดเจนใน 2.20 .96 เล็กน้อย 2 การจัดบริการวิชาการ - กาหนดรายละเอียดของภาระงานการ 2.25 .94 เล็กน้อย 3 จัดบริการวิชาการให้แก่ผู้รับผิดชอบแต่ ละคนอย่างชัดเจน - มาตรการป้องกันความเสี่ยงจากการ 2.26 .99 เล็กน้อย 4 จัดบริการวิชาการ - การสื่อสารข้อมูลที่ชัดเจนภายใน 2.27 .95 เล็กน้อย 5 หลักสูตรในการจัดบริการวิชาการ - การออกแบบขั้นตอนการปฏิบัติงาน 2.28 .94 เล็กน้อย 6 ของการจัดบริการวิชาการที่ครอบคลุม ทุกภาระงานอย่างชัดเจน ภาพรวม 2.23 .96 เล็กน้อย จากตารางที่ 22 พบว่า ภาพรวมกลุ่ มตัว อย่างมีความเห็ นเกี่ยวกับสภาพปัญหาของการ จัดบริการวิชาการแก่สังคมแบบมีรายได้จากการบริหารทรัพยากรการดาเนินงาน ด้านการบริหาร จัดการ อยู่ในระดับเล็กน้อย (x̅= 2.23, S D = .96) โดยเรื่องที่มีความเห็นว่าเป็นปัญหาเล็กน้อยแต่มี ค่าเฉลี่ยมากที่สุด คือ การออกแบบขั้นตอนการปฏิบัติงานของการจัดบริการวิชาการที่ครอบคลุมทุก ภาระงานอย่างชัดเจน (x̅= 2.28, S D = .94)


100

3. ความสัมพันธ์ระหว่างการวิจัยเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ จากผลการวิจัยจะเห็นได้ว่าเมื่อนาแนวคิดกลยุทธ์การตลาด (7Ps) ซึ่งมีกลยุทธ์ 7 ประการ เรียงลาดับจากค่าเฉลี่ยมากที่สุดไปหาน้อย มาเปรียบเทียบกับผลการวิจัยในเชิงคุณภาพที่ได้จากการ สัมภาษณ์ผู้ให้ข้อมูลหลักจะพบว่า กลยุทธ์การตลาด (7Ps) มีความสัมพันธ์กับกลยุทธ์การตลาดที่ นาเสนอ 5 ประการ กล่าวคือ กลยุ ท ธ์ ด้ า นการส่ ง เสริ ม การตลาด มี ค วามสั ม พั น ธ์ กั บ กลยุ ท ธ์ ก ารสร้ า งแบรนด์ สุ ข ภาพ เนื่องจากการสร้างแบรนด์เป็นเครื่องมือสนับสนุนการสื่อสารการตลาดที่สาคัญไปยังกลุ่มเป้าหมายให้ รับรู้กับภาพลักษณ์การเป็นมหาวิทยาลัยสุขภาพ เกิดการจดจาและเชื่อมั่นในการใช้บริ การ รวมทั้ง สัมพันธ์กับกลยุทธ์การใช้เครือข่ายศิษย์เก่า ซึ่งศิษย์เก่าจะช่วยสนับสนุนการประชาสัมพันธ์โครงการ และเป็นช่องทางการบอกปากต่อปากให้กับมหาวิทยาลัยฯ เพิ่มจานวนผู้เข้าร่วมโครงการให้เป็นไป ตามเป้าหมาย กลยุทธ์ด้านผลิตภัณฑ์ มีความสัมพันธ์กลยุทธ์การจัดโครงการที่เน้นความเป็นสหวิทยาการ นับเป็นการสร้างผลิตภัณฑ์ที่เน้นความแตกต่างน่าสนใจให้แก่กลุ่มเป้าหมาย ด้วยการจัดเนื้อหาการ บริการวิชาการที่บูรณาการกับหลายสาขาวิชา พร้อมกับการนานวัตกรรมทางสุขภาพเข้ามาสนับสนุน กลยุทธ์ด้านช่องทางการจัดจาหน่าย มีความสั มพันธ์กับกลยุท ธ์การเพิ่มความร่ว มมือกับ องค์กรที่มีการตกลงความร่วมมือ ถือเป็นการเพิ่มช่องทางการขยายการจัดโครงการไปยังกลุ่มองค์กรที่ มีการตกลงความร่วมมือ ด้วยการทราบประเด็นความต้องการจัดบริการที่ชัดเจน การจัดทาแผนงานที่ ครอบคลุม และการติดต่อประสานงานกับผู้ที่รับผิดชอบโดยตรงอั นจะทาให้การจัดบริการเป็นไปตาม เป้าหมายที่กาหนด กลยุทธ์ด้านบุคคล มีความสัมพันธ์กับกลยุทธ์การให้บริการที่เป็นเลิศ โดยเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้อง การจัดบริการที่ต้องสร้างบุคคลที่มีส่วนร่วมในการเสริมสร้างบรรยากาศที่ดีในการจัดบริการ การให้ ความสาคัญกับบรรยากาศของงาน การปรับปรุงพัฒนาการให้บริการอย่างต่อเนื่อง ตารางที่ 23 ความสัมพันธ์ระหว่างผลการวิจัยเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ ลาดับ ผลการวิจัยเชิงปริมาณ 1 ด้านลักษณะทางกายภาพ 2 ด้านการส่งเสริมการตลาด 3 4 5 6 7

ผลการวิจัยเชิงคุณภาพ กลยุทธ์การสร้างแบรนด์สุขภาพ กลยุทธ์การใช้เครือข่ายศิษย์เก่า ด้านผลิตภัณฑ์ กลยุทธ์การจัดโครงการที่เน้นสหวิทยาการ ด้านช่องทางการจัดจาหน่าย กลยุทธ์การเพิ่มความร่วมมือกับองค์กรที่มีการตกลง ความร่วมมือ ด้านราคา ด้านบุคคล กลยุทธ์การให้บริการที่เป็นเลิศ ด้านกระบวนการ -


101

นอกจากนี้จากข้อค้นพบในการวิจัย พบว่า จุดแข็งของหลักสูตรด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพ รวมทั้งของมหาวิทยาลัยฯ มีส่วนสาคัญที่จะสนับสนุนกลยุทธ์ทางการตลาดตามแนวคิดกลยุทธ์ทาง การตลาด (7Ps) และกลยุทธ์การตลาดที่นาเสนอ 5 ประการ ได้แก่ (ตารางที่ 24) ตารางที่ 24 ความสัมพันธ์ระหว่างผลการวิจัยเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ กับจุดแข็งของหลักสูตร และมหาวิทยาลัยฯ ลาดับ ผลการวิจัย ผลการวิจัย จุดแข็งของหลักสูตรและ เชิงปริมาณ เชิงคุณภาพ มหาวิทยาลัยฯ 1

ด้านลักษณะทางกายภาพ

2

ด้านการส่งเสริมการตลาด กลยุทธ์การสร้างแบรนด์ สุขภาพ กลยุทธ์การใช้เครือข่าย ศิษย์เก่า ด้านผลิตภัณฑ์ กลยุทธ์การจัดโครงการที่เน้น สหวิทยาการ ด้านช่องทางการจัด กลยุทธ์การเพิม่ ความร่วมมือ จาหน่าย กับองค์กรที่มีการตกลงความ ร่วมมือ ด้านราคา ด้านบุคคล กลยุทธ์การให้บริการที่เป็นเลิศ - ประสบการณ์ ข องคณะวิ ช าในการ จัดบริการและความเชื่อมโยงกับศิษย์เก่า - มีอาจารย์ที่เชี่ยวชาญซึ่งมีความพร้อม ในการให้ บ ริ ก ารวิ ช าการแก่ สั ง คม ครอบคลุมกับปัญหาทางสุขภาพ รวมทั้ง ยังมีก ารเตรี ยมความพร้อ มให้ อาจารย์ เป็นวิทยากร ด้านกระบวนการ - การบริ ห ารจั ด การโครงการที่ มี ประสิทธิภาพโดยยึดหลักการประหยัด สุด ประโยชน์สูง และมีการทางานเป็น ทีม

3 4

5 6

7

-

ค ว า ม พ ร้ อ ม ด้ า น ส ถ า น ที่ ข อ ง มหาวิ ท ยาลั ย ฯ มี ส ถานที่ จั ด บริ ก ารที่ ส นอง กั บ ค วา ม ต้ องก า ร ขอ งกลุ่ ม เป้าหมายในแต่ละพื้นที่ทั้งในวิทยาเขต หลักนครปฐม และกรุงเทพฯ -


102

กลยุ ท ธ์ ด้ า นลั ก ษณะทางกายภาพ มี จุ ด แข็ ง สนั บ สนุ น ด้ า นสถานที่ จั ด บริ ก ารที่ ส ามารถ ตอบสนองกับกลุ่มผู้บริการในเขตพื้นที่ภาคตะวันตกและในกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล จึงเป็น ปัจจัยสาคัญที่จะทาให้ การใช้กลยุทธ์นี้จัดบริการวิชาการแบบมีรายได้ของหลักสูต รด้านวิทยาศาสตร์ สุขภาพอย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้นโดยไม่จาเป็นต้องพึ่งพาสถานที่จัดบริการของภายนอกและลด ภาระค่าใช้จ่ายด้านการเดินทางสาหรับผู้จัดโครงการ กลยุทธ์ด้านบุคคล และกลยุทธ์ให้บริการที่เป็นเลิศ มีจุดแข็งสนับสนุนเกี่ยวกับประสบการณ์ ของหลักสูตร คณะวิชาและเครือข่ายกับศิษย์เก่าที่มีมาอย่างต่อเนื่องเชื่อมแน่นอยู่ในตัวบุคคลและ องค์กร รวมทั้งการมีทรัพยากรได้แก่ อาจารย์ที่มีความเชี่ยวชาญหลากหลายสาขา อีกทั้งยังมีระบบ การเตรียมบุคลากรให้เข้าสู่การเป็นวิทยากรที่เป็นมืออาชีพ จึงเป็นปัจจัยสาคัญที่จะทาให้การใช้ กลยุทธ์นี้จัดบริการวิชาการแบบมีรายได้ของหลักสูตรด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพมีประสิทธิภาพมากขึ้น ทาให้ ผู้ รั บ ผิ ดชอบโครงการใช้ศิษย์เก่าเป็ นเครื่องมือสนับสนุนการจัด บริการวิช าการ และมีคลั ง วิทยากรสามารถตอบโจทย์กับการพัฒนาอบรมในประเด็นต่างๆได้อย่างครอบคลุมความต้องการ กลยุ ท ธ์ ด้ า นกระบวนการ มี จุ ด แข็ ง สนั บ สนุ น เกี่ ย วกั บ การบริ ห ารจั ด การโครงการที่ มี ประสิทธิภาพโดยทุกหลักสูตรยึดหลักการประหยัดสุด ประโยชน์สูง และมีการทางานเป็นทีม จึงเป็น ปัจจัยสาคัญที่จะทาให้การใช้กลยุทธ์นี้จัดบริการวิชาการแบบมีรายได้ของหลักสูตรด้านวิทยาศาสตร์ สุขภาพมีประสิทธิภาพมากขึ้นโดยทาให้การวางแผนงานมีความชัดเจนรัดกุมในด้านการใช้ทรัพยากร และการทางานอย่างประสานสอดคล้องกันของทีมงาน อย่างไรก็ตาม การวิจัยในครั้งนี้ยังพบว่า มีอุปสรรคบางประการที่ส่งผลกระทบต่อกลยุทธ์ ทางการตลาด ซึ่งอาจทาให้การจัดบริการวิชาการแก่สังคมของหลักสูตรด้านวิทยาศาสตร์ไม่สามารถ ดาเนินการไปอย่างมีประสิทธิภาพเท่าที่ควร ได้แก่ การวางแผนการส ารวจความต้องการที่ตรงกลุ่ มเป้าหมายอย่างเป็นระบบ โดยควรมีการ ศึกษาวิจัยที่เป็ นระเบี ยบแบบแผน มีผ ลกระทบต่อกลยุทธ์ด้านผลิตภัณฑ์ เนื่องจากการที่จะสร้าง ผลิตภัณฑ์ที่มีคุณค่าได้นั้นต้องมีกระบวนการศึกษาวิจัย การวิเคราะห์กลุ่มเป้าหมายที่ชัดเจน หากไม่มี การด าเนิ น งานดั ง กล่ า วผลิ ต ภั ณ ฑ์ ที่ ส ร้ า งออกมาอาจไม่ ไ ด้ รั บ ความสนใจจากกลุ่ ม เป้ า หมายได้ เช่นเดียวกันกับข้อจากัดด้านระยะเวลาการให้การรับรองเป็นสถาบันฝึกอบรมของสภาวิชาชีพ มีผล ต่อการจัดทาโครงการเพิ่มรายได้ โดยทาให้เกิดข้อจากัดในการเปิดอบรมหลักสูตระยะสั้นที่สร้าง รายได้สูง นั่นคือ ทาให้หลักสูตรไม่สามารถที่จะสร้างผลิตภัณฑ์ที่แตกต่างจากเดิมได้ อย่างไรก็ตาม จากการวิจัยพบว่า หลักสูตรที่เกี่ยวข้องได้มีการเตรียมความพร้อมที่จะจัดการอบรมหลักสูตรระยะสั้น หากได้รับการรับรองตามเกณฑ์ที่กาหนด รวมทั้งอุปสรรคเกี่ยวกับการนาผลการดาเนินงานในครั้งที่ผ่านมาปรับปรุงการจัดบริการใน ครั้งต่อไป ย่อมมีผลกระทบต่อกลยุทธ์ด้านกระบวนการ ซึ่งทาให้ผู้รับผิดชอบขาดข้อมูล หรือเห็ น ข้อจากัดในอดีตที่จะนามาวางแผน พัฒนาการดาเนินงานให้มีประสิทธิภาพ แก้ไขปัญหากับที่เคย เกิดขึ้นเพื่อทาให้การจัดบริการวิชาการเป็นไปตามวัตถุประสงค์หรือเกิดประสิทธิผลมากยิ่งขึ้น (ตาราง ที่ 25)


103

ตารางที่ 25 ความสัมพันธ์ระหว่างผลการวิจัยเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ กับอุปสรรคของหลั กสูตร และมหาวิทยาลัยฯ ลาดับ ผลการวิจัย ผลการวิจัย อุปสรรคของหลักสูตรและ เชิงปริมาณ เชิงคุณภาพ มหาวิทยาลัยฯ 1 2

3

ด้านลักษณะทางกายภาพ ด้านการส่งเสริมการตลาด กลยุทธ์การสร้างแบรนด์ สุขภาพ กลยุทธ์การใช้เครือข่าย ศิษย์เก่า ด้านผลิตภัณฑ์ กลยุทธ์การจัดโครงการที่เน้น สหวิทยาการ

4

ด้านช่องทางการจัด จาหน่าย

5 6 7

ด้านราคา ด้านบุคคล ด้านกระบวนการ

-

- การวางแผนการสารวจความต้องการที่ ตรงกลุ่มเป้าหมายอย่างเป็นระบบ - ระยะเวลาการให้ ก ารรั บ รองเป็ น สถาบันฝึกอบรมของสภาวิชาชีพมีผลต่อ การจัดทาโครงการเพิ่มรายได้ โดยทาให้ เกิดข้อจากัดในการเปิดอบรมหลักสูต ร ระยะสั้นที่สร้างรายได้สูง -

กลยุทธ์การเพิม่ ความร่วมมือ กับองค์กรที่มีการตกลงความ ร่วมมือ กลยุทธ์การให้บริการที่เป็นเลิศ - การนาผลการดาเนินงานของการจัด โครงการในครั้งที่ ผ่า นมาปรั บปรุ งการ จัดบริการในครั้งต่อไป


104

บทที่ 5 สรุปผลการวิจัย อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ การวิจัยเรื่องกลยุทธ์ทางการตลาดที่สนับสนุนการจัดบริการวิชาการแก่สังคมแบบมีรายได้ ของหลั ก สู ต รด้ า นวิ ท ยาศาสตร์ สุ ข ภาพสั ง กั ด มหาวิ ท ยาลั ย เอกชนแห่ ง หนึ่ ง ในจั ง หวั ด นครปฐม มีวัตถุประสงค์ที่จะวิเคราะห์กลยุทธ์การตลาดที่มีส่วนสนับสนุนการจัดโครงการบริการวิชาการแก่ สังคมแบบมีรายได้ของหลักสูตรด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพ รวมทั้งศึกษาสภาพปัญหา และแนวทางการ ส่งเสริมกลยุทธ์การตลาดการจัดบริการวิชาการแก่สังคมแบบมีรายได้ของหลักสูตรด้านวิทยาศาสตร์ สุ ข ภาพ ใช้ วิ ธี วิ จั ย แบบผสมผสาน (Mix-Method) โดยมี ลั ก ษณะการวิ จั ย แบบแผนคู่ ข นาน (Concurrent or Simultaneous) คือ การใช้วิธีเก็บข้อมูลเชิงปริมาณ และเชิงคุณภาพพร้อมๆกัน เพื่อเสริมเติมเต็มซึ่งกันและกัน ดาเนินการวิจัยระยะเดียว โดยการวิจัยเชิงคุณภาพ (Quantitative Research) ศึกษาด้วยการสัมภาษณ์กลุ่มผู้ให้ข้อมูลสาคัญ (Key Person) และการวิจัยเชิงปริมาณ (Qualitative Research) ศึ ก ษาความคิ ด เห็ น จากกลุ่ ม ตั ว อย่ า งที่ ก าหนด เพื่ อ น ามาวิ เ คราะห์ เปรียบเทียบให้เห็นข้อมูลจุดร่วม และจุดต่างของข้อมูล ประชากร ที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้คื อ กลุ่ม บุคลากร ซึ่งประกอบด้วยผู้บริหาร และอาจารย์ในสังกัดคณะพยาบาลศาสตร์ และคณะวิทยาศาสตร์ สุขภาพ ของมหาวิทยาลัยเอกชนแห่งหนึ่ง แบ่งกลุ่มตัวอย่างที่จะใช้ทาการวิจัยออกเป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มตัวอย่างที่จะทาการศึกษาในเชิงคุณภาพ จานวน คน ในฐานะที่เป็นผู้ให้ข้อมูลสาคัญ (Key Person) และกลุ่มตัวอย่างที่จะทาการศึกษาในเชิงปริมาณ โดยกาหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่างตาม สูตรการคานวณของทาโร ยามาเน (Taro Yamane) ได้กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ จานวน 76 คน เครื่ องมือที่ใช้ในการวิจั ย ประกอบด้วยเครื่องมือ จานวน 2 ชุด คือ แบบสั มภาษณ์ และ แบบสอบถาม ซึ่งได้รับการตรวจสอบคุณภาพ โดยภาพรวมค่าดัชนีความสอดคล้องทุกข้อคาถาม แบบสัมภาษณ์ มีค่าเท่ากับ 1 และแบบสอบถาม มีค่าเท่ากับ 0.92 และมีค่าสัมประสิทธิ์ แอลฟา (Coefficient alpha) ของครอนบาค (Cronbach) โดยมีค่าคะแนนเท่ากับ .965 และ .948 สาหรับ การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ ใช้วิธีการวิเคราะห์สรุปเนื้อหา การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ ใช้การ แจกแจงความถี่ (Frequency) และค่ า ร้ อ ยละ (Percent) ค่ า เฉลี่ ย (Mean) และส่ ว นเบี่ ย งเบน มาตรฐาน (Standard deviation) การวิ จัย ในครั้ ง นี้ มี ร ะยะเวลาด าเนิ น การตั้ง แต่ เ ดื อ นสิ ง หาคม 2562- กรกฎาคม 2563 สรุปผลการวิจัย 1. ข้อมูลพื้นฐานของกลุ่มตัวอย่าง 1.1 ผลการวิจัยเชิงคุณภาพ กลุ่มผู้ให้ข้อมูลหลัก จานวน คน เป็นเพศหญิง 6 คน และ ชาย 1 คน มีตาแหน่งเป็น ผู้บริหารระดับรองคณบดี 2 คน หัวหน้าหลักสูตร 3 คน เลขานุการหลักสูตร 1 คน และอาจารย์ผู้มี ประสบการณ์จัดบริการวิชาการแก่สังคม จานวน 1 คน


105

1.2 ผลการวิจัยเชิงปริมาณ กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง คิดเป็นร้อยละ 88.2 มีอายุระหว่าง 31-40 คิดเป็น ร้อยละ 40.8 เกินครึ่งสาเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท คิดเป็นร้อยละ 2.4 สังกัดคณะพยาบาล ศาสตร์ คิดเป็นร้อยละ 60.5 มีระยะเวลาปฏิบัติงานในมหาวิทยาลัยฯ ต่ากว่า 5 ปี คิดเป็นร้อยละ 42.1 และมีตาแหน่งเป็นอาจารย์ คิดเป็นร้อยละ 3. และพบว่ากลุ่มตัวอย่างมีส่วนร่วมในกิจกรรม การจัดบริการวิชาการแก่สังคมแบบมีรายได้มากที่สุด คือ การมีส่วนร่วมในการประชาสัมพันธ์การ จัดบริการ คิดเป็นร้อยละ 64.5 กิจกรรมการมีส่วนร่วมของกลุ่มตัวอย่างน้อยที่สุด คือ การสารวจ ความต้องการจั ดบริ การวิช าการกับหน่ว ยงานกั บหน่ว ยงานภายนอก และการติดตามผลการใช้ ประโยชน์จากการได้รับบริการภายหลังการจัดบริการกับผู้ใช้บริการ หน่วยงาน องค์กร ชุมชน และ สถานประกอบการ จานวนเท่ากัน คิดเป็นร้อยละ 28.9 2. การวิเคราะห์กลยุทธ์การตลาดที่มีส่วนสนับสนุนการจัดโครงการบริการวิชาการแก่สังคม แบบมีรายได้ของหลักสูตรด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพ 2.1 ผลการวิจัยเชิงคุณภาพ จากการวิจัย พบว่า กลุ่มผู้ให้ข้อมูลหลักได้นาเสนอกลยุทธ์ที่จะนาไปใช้ในการส่งเสริมและ สนับสนุนการจัดบริการวิชาการแก่สังคมแบบมีรายได้ ให้มีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล 5 ด้าน และให้แนวทางการดาเนินงานในแต่ละกลยุทธ์ ดังนี้ 2.1.1 กลยุ ทธ์การใช้เครือข่ายศิษย์เก่า โดยมีแนวทางการดาเนินงาน ได้แก่ การ สร้างความเชื่อมั่นในอาจารย์ ให้แก่ศิษย์เก่า การมอบสิทธิพิเศษให้แก่ศิษย์เก่า การใช้เพจของคณะ วิชาเป็นเครื่องมือสื่อสาร กาหนดให้ศิษย์เก่าช่วยเพิ่มกลุ่มเป้าหมายในการร่วมโครงการ และการ นาเสนอให้ศิษย์เก่ามีส่วนร่วมในการพัฒนาคณะวิชา 2.1.2 กลยุทธ์การเพิ่มความร่วมมือกับองค์กรที่มีการตกลงความร่วมมือ โดยมีแนว ทางการดาเนินงาน ได้แก่ การทราบแผนงานการพัฒนาบุคลากรในองค์กรที่มีการตกลงความร่วมมือ การประสานงานกับบุคคลที่มีนัยสาคัญในองค์กร การนาเสนอการเป็นสถาบันหลักในการฝึกอบรม จากสภาวิช าชีพ การสร้างความเชื่อมั่นในทีมอาจารย์ที่มีประสบการณ์ กาหนดแผนค่าใช้จ่ายที่ ชัดเจน และการพิจารณาประเด็นความต้องการขององค์กรที่มีการตกลงความร่วมมือกับนโยบายของ มหาวิทยาลัยฯ และศักยภาพของคณะวิชา 2.1.3 กลยุทธ์การจัดโครงการที่เน้นสหวิทยาการ โดยมีแนวทางการดาเนินงาน ได้แก่ การออกแบบเนื้อหาการจัดบริการให้เป็นสหวิทยาการ การกาหนดกลุ่มเป้าหมายให้ชัดเจน การดูแลสุขภาพด้วยนวัตกรรม และการทาให้นักศึกษาและอาจารย์ได้ประโยชน์จากการจัดบริการ 2.1.4 กลยุทธ์การให้บริการที่เป็นเลิศ โดยมีแนวทางการดาเนินงาน ได้แก่ การ สร้างทีมผู้ให้บริการที่มี Service Mind การให้ความสาคัญกับบรรยากาศหน้างาน การปรับปรุงแก้ไข ข้อร้องขอหรือความต้องการให้ดีขึ้น และการทาให้เอกสารประกอบการจัดบริการมีคุณค่า 2.1.5 กลยุทธ์การสร้างแบรนด์สุขภาพ โดยมีแนวทางการดาเนินงาน ได้แก่ การนา ศิษย์เก่ามาเสริมสร้างแบรนด์สุขภาพ การสร้างภาพลักษณ์แบรนด์สุขภาพให้สาธารณชนรับรู้ การ เพิ่มการจัดโครงการบริการวิชาการด้านสุขภาพให้มากขึ้น และการเตรียมแผนงานที่ชัดเจน


106

2.2 ผลการวิจัยเชิงปริมาณ จากการวิจัยพบว่า ภาพรวมกลุ่มตัวอย่างเห็นด้วยในระดับมาก (x̅= 4.20, S D = .87) ที่ จะนากลยุทธ์ทางการตลาดทั้ง ด้าน ตามแนวคิดของ Kotler, Philip and Keller Kelvin Lane (2016) มาสนับสนุนการจัดบริการวิชาการแก่สังคมแบบมีรายได้ ทั้งนี้กลยุทธ์ทางการตลาด (7Ps) ที่ กลุ่มตัวอย่างให้ความสาคัญ 3 อันดับแรก คือ ด้านลักษณะทางกายภาพ (x̅= 4.30, S D = .78) ด้าน การส่งเสริมการตลาด (x̅= 4.29, S D = .88) และด้านผลิตภัณฑ์ (x̅= 4.24, S D = .78) ตามลาดับ 3. สภาพปัญหา และแนวทางการส่งเสริมกลยุทธ์การตลาดการจัดบริการวิชาการแก่สังคม แบบมีรายได้ของหลักสูตรด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพ 3.1 ผลการวิจัยเชิงคุณภาพ จากการวิจัย พบว่า ผู้ให้ข้อมูลหลักได้วิเคราะห์ถึงสภาพปัญหาที่เป็นอุปสรรคต่อการจัด โครงการบริการวิชาการแก่สังคมของหลักสูตร ซึ่งจะทาให้ไม่สามารถดาเนินการได้อย่างที่คาดหวังไว้ 2 ประการ พร้อมเสนอแนวทางแก้ไข ดังนี้ 3.1.1 ปัญหาจากการวางแผนการสารวจความต้องการที่ตรงกลุ่มเป้าหมายอย่างเป็น ระบบ ดังนั้น จึงควรมีการศึกษาวิจัยที่เป็นระบบเพื่อให้ได้มาซึ่งแนวทางการดาเนินงานที่ชักดจน และ มีการนาผลการดาเนินงานในครั้งที่ผ่านมาปรับปรุงการจัดบริการในครั้งต่อไป 3.1.2 ปัญหาจากระยะเวลาการให้การรับรองเป็นสถาบันฝึกอบรมของสภาวิชาชีพ มีผลต่อการจัดทาโครงการเพิ่มรายได้ โดยทาให้เกิดข้อจากัดในการเปิดอบรมหลักสูตระยะสั้นที่สร้าง รายได้สูง แต่ได้มีการเตรียมมความพร้อมที่จะจัดการอบรมหลักสูตรระยะสั้นหากได้รับการรับรองตาม เกณฑ์ที่กาหนดแล้ว หลักสูตรด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพได้นาเสนอแนวทางการส่งเสริมกลยุทธ์ทางการตลาด การจั ด บริ ก ารวิ ช าการแก่ สั ง คมแบบมี ร ายได้ คื อ ความต้ อ งการเกี่ ย วกั บ ระบบและกลไกที่ ค วร ดาเนินการเพื่อให้การปฏิบัติงานเกิดประสิทธิภาพ จานวน 5 ประการ ได้แก่ 1) หน่วยงานกลางทา หน้าที่ประสานงานจัดการให้บริ การวิชาการแก่สังคม 2) การสนับสนุนด้านอุปกรณ์ เทคโนโลยีด้าน สุขภาพ 3) การพัฒนาศักยภาพอาจารย์ให้เป็น “นักขาย”ที่ดี 4) การแบ่งปันรายได้จากการให้บริการ สนับสนุนการดาเนินงานของหลักสูตร และ 5)การกาหนดภารกิจการให้บริการวิชาการแก่สังคมเป็น “ภาระงาน”ของอาจารย์อย่างชัดเจน 3.2 ผลการวิจัยเชิงปริมาณ จากการวิจัย พบว่า กลุ่มตัวอย่างมีความคิดเห็นเกี่ยวกับ สภาพปัญหาของการจัดบริการ วิชาการแก่สังคมแบบมีรายได้ในเชิงทฤษฎี พบว่า มีปัญหาอยู่ในระดับเล็กน้อย (x̅= 2.19, S D = .94) โดยเรื่องที่มีความเห็ น ว่าเป็ นปัญหาเล็ กน้อยแต่มีค่าเฉลี่ยมากที่สุ ด คือ ด้านการประเมินผล ประโยชน์/ ผลกระทบของการให้บริการวิชาการ (x̅= 2.26, S D = .98) และปัญหาจากการบริหาร ทรัพยากรการดาเนินงาน พบว่าอยู่ในระดับเล็กน้อย (x̅= 2.15, S D = .86) โดยเรื่องที่มีความเห็นว่า เป็นปัญหาเล็กน้อยแต่มีค่าเฉลี่ยมากที่สุด คือ ด้านการบริหารคน (x̅= 2.27, S D = .86)


107

อภิปรายผล จากการวิจัยพบว่ามีประเด็นสาคัญที่สามารถนามาอภิปรายผล ได้ดังนี้ 1. จากการวิจัย พบว่า กิจกรรมการมีส่วนร่วมในการจัดบริการวิชาการแก่สังคมของกลุ่ม ตัวอย่างน้อยที่สุด คือ การสารวจความต้องการจัดบริการวิชาการกับหน่วยงานกับหน่วยงานภายนอก และการติ ด ตามผลการใช้ ป ระโยชน์ จากการได้ รั บ บริ ก ารภายหลั งการจั ดบริ ก ารกั บ ผู้ ใ ช้บ ริ ก าร หน่วยงาน องค์กร ชุมชน และสถานประกอบการ แสดงให้เห็นว่ามหาวิทยาลัยฯควรส่งเสริมและ สนับสนุนให้อาจารย์ได้มีส่วนร่วมในกิจกรรมดังกล่าวเพิ่มมากขึ้น ดังที่สานักงานคณะกรรมการการ อุดมศึกษา (2560: 125) ได้อธิบายว่า สถาบันอุดมศึกษาต้องให้ความสาคัญกับกระบวนการสารวจ ความต้องการของกลุ่มเป้าหมายเพื่อนามาจั ดทาแผนบริการบริการวิชาการที่ตั้งอยู่บนพื้นฐานของ สภาพปัญหาและความต้องการ เช่นเดียวกับการติดตามประเมินผลประโยชน์/ผลกระทบของการ ให้บริการวิชาการ นับว่าเป็นเรื่องที่มีความสาคัญต่อกระบวนการพัฒนาคุณภาพการจัดบริการวิชาการ อย่างชัดเจน สอดคล้องกับงานวิจัยของจันทิมา องอาจ และคณะ (2561: 273-299) ที่ทาวิจัยเรื่อง การจั ดบริ การวิช าการแก่สั งคมของมหาวิทยาลั ยราชภัฏ สุ ราษฎร์ธ านี ที่พบว่า ปัจจัยหนึ่งที่เป็น อุป สรรคต่อการจั ดบริการวิช าการประการหนึ่งคือ โครงการยังไม่ส ามารถติดตามนาผลกระทบ/ ประโยชน์ที่ได้จากการให้บริการของกลุ่มต่างๆมาใช้ให้เป็นไปตามวงจรคุณภาพ (PDCA) ซึ่งจะช่วยให้ สามารถนาจุดแข็งหรือแนวปฏิบัติที่ดีไปส่งเสริมการดาเนินงานในขั้นตอนของการให้บริการดียิ่งขึ้น (เบญจวรรณ ทิม สุ ว รรณ และกรกนก ลั ท ธนั น ท์, 2556: 2-15) อี ก ทั้ง ยั งสนั บสนุ น แนวคิด ของ Kotler, Philip and Keller Kelvin Lane (2016) ที่อธิบายว่า องค์กรต้องวิเคราะห์ทิศทางหรือมอง ย้อนกลับจากมุมมองผู้ใช้บริการมายังองค์กรด้วย โดยให้ความสาคัญกับคุณค่าที่ผู้บริโภคจะได้รับ (Customers Value) คือ คุณประโยชน์ต่างๆที่จะได้รับเมื่อเปรียบเทียบกับเงินที่จ่ายไป รวมทั้งใน เรื่องการเอาใจใส่ดูแล (Caring) คือ การดูแลตั้งแต่ต้นทางจนถึงขั้นการติดตามหลังการให้บริการเพื่อ นาข้อมูลเหล่านั้นมาปรับปรุงกระบวนการและตอบสนองผู้บริโภคได้ตรงตามความต้องการ 2. จากการวิจัย พบว่า กลยุทธ์ทางการตลาด ( Ps) ทั้ง ด้าน ได้แก่ ด้านผลิตภัณฑ์ ด้าน ราคา ด้านช่องทางการจัดจาหน่าย ด้านการส่งเสริมการตลาด ด้านบุคคล ด้านลักษณะทางกายภาพ และด้านกระบวนการเป็ นเครื่องมือทางการตลาดที่มีความส าคัญต่อการสนับสนุนการจัดบริการ วิชาการแก่สังคมแบบมีร ายได้ของหลักสู ตรด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพอยู่ในระดับมาก ผลการวิจัย ดังกล่าวสอดคล้องกับงานวิจัยของจิตรานุช น้อยสุทธิสกุล (255 : ก) ที่ทาวิจัย เรื่อง ปัจจัยที่มีผลต่อ การให้บริการวิชาการของศูนย์บริการวิชาการแบบจัดหารายได้ พบว่า กลยุทธ์ทางการตลาดทั้ง ประการมีผ ลต่อการตัดสิ นใจเลื อกใช้บริการของศูนย์ฝึ กอบรมอยู่ในระดับมาก และงานวิจัยของ เพลินพิศ จุฬพันธ์ทอง และคณะ (255 : 40-53) ที่วิจัยเรื่อง การพัฒนากลยุทธ์การบริการวิชาการแก่ สังคมของมหาวิทยาลัยราชภัฎภาคเหนือตอนล่าง พบว่า กลยุทธทางการตลาดที่ช่วยให้การจัดบริกา รวิชาการเป็นไปตามเป้าหมายได้นั้น ต้องมีการใช้แนวคิดด้านการตลาดมาปรับปรุงระบบและกลไก อย่างต่อเนื่อง การนาเทคโนโลยีเข้ามาสนับสนุน รวมทั้งการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรที่ให้บริการ อย่ า งมี คุ ณ ภาพ สอดคล้ อ งกั บ แนวคิ ด ของ Kotler, Philip and Keller Kelvin Lane. (2016) ที่ อธิบายว่า องค์กรจะต้องผสมผสานส่วนประสมทางการตลาดให้สามารถตอบสนองความต้องการ และ


108

สร้างแรงจูงใจ ความพึงพอใจให้แก่กลุ่มเป้าหมาย โดยเฉพาะอย่างยิ่งคือการโน้มน้าวให้มีอิทธิพลต่อ ความต้องการใช้ผลิตภัณฑ์ขององค์กร 3. จากการวิจัย พบว่า สภาพปัญหาของการจัดบริการวิชาการแก่สังคมแบบมีรายได้ในเชิง ทฤษฎี ด้านการประเมินผลประโยชน์/ ผลกระทบของการให้บริการวิชาการมีค่าเฉลี่ยสูงสุ ด และ ปัญหาจากการบริ หารทรั พยากรการดาเนินงาน ด้านการบริหารคน มีค่าเฉลี่ ยสู งสุ ด ผลการวิจัย ดังกล่าวสอดคล้องกับแนวคิดของเบญจวรรณ ทิมสุวรรณ และกรกนก ลัทธนันท์ (2556: 2-15) ที่ อธิบายว่า การให้บริการวิชาการที่จะให้เกิดประโยชน์ต่อสังคมได้นั้น ต้องให้บริการที่ตอบสนองความ ต้องการของชุมชน หรือหน่วยงานภาครัฐ เอกชน องค์กร สถานประกอบการ ซึ่งการจะตอบสนองสิ่ง ดังกล่าวได้ ต้องดาเนินการสารวจความต้องการความจาเป็นของชุมชน โดยต้องมีการบริหารโครงการ อย่างเป็นระบบ จะต้องมีการวิเคราะห์สภาพปัจจุบัน ปัญหา และความต้องการก่อนวางแผนโครงการ ซึ่งเป็นลักษณะของการประเมินความต้องการจาเป็น นับว่าเป็นกิจกรรมที่สาคัญที่จะทาให้ได้ทราบ สภาพปัญหา สาเหตุของปัญหา และความต้องการที่แท้จริงในการกาหนดโครงการ สาหรับการบริหาร คนนั บ เป็ น อีก เรื่ อ งที่จ ะต้ องบริ ห ารจัด การให้ เ กิด ความชัด เจนในการบริ ห ารโครงการ ดัง ที่เชาว์ โรจนแสง (2555: 38-39) และนิสิต มโนตั้งวรพันธุ์ (2554: 61-71) ได้อธิบายว่า ผู้บริหารโครงการ จะต้ อ งมี ก ารก าหนดผู้ รั บ ผิ ด ชอบตามทั ก ษะหรื อ ความช านาญ ( Skill) การมอบหมายงาน (Delegation) อย่ า งเหมาะสม และมีการกาหนดระดั บของอานาจหรือกระจายอ านาจแก่ บุคคล รวมทั้งการหาตัวแปรหรือปัจจัยที่มีผลต่อความสาเร็จของงาน เพื่อใช้ติดตามความคืบหน้าของงาน โดยกาหนดระบบการรายงานผลความคืบหน้าของงานให้มีขึ้นเป็นประจา 4. จากการวิจั ย พบว่ า กลุ่ มตัว อย่างได้เสนอแนวทางการส่ งเสริ มกลยุทธ์การตลาดการ จัดบริการวิชาการแก่สังคมแบบมีรายได้ของหลักสูตรด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพ ที่สาคัญได้แก่ การมี หน่วยงานกลางทาหน้าที่ประสานงานจัดการให้บริการวิชาการแก่สังคม การสนับสนุนด้านอุปกรณ์ เทคโนโลยีด้านสุขภาพ การพัฒนาศักยภาพอาจารย์ให้นักการตลาดที่ดี การแบ่งปันรายได้จากการ ให้บริการสนับสนุน การดาเนินงานของหลักสูตร และการกาหนดภารกิจการให้บริการวิชาการแก่ สังคมเป็นภาระงานของอาจารย์อย่างชัดเจน ผลการวิจัยดังกล่าวสอดคล้องกับงานวิจัยของธันยพร อริยะเศรณี (2558: 61-68) ที่ทาวิจัยเรื่อง ความคิดเห็นของบุคลากรที่มีต่อการดาเนินงานด้านบริการ วิชาการแก่สังคมของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ศรีวิชัย พบว่า ปัจจัยการบริหารงานบริการ วิชาการที่สาคัญ คือ การมีหน่วยงานกลางที่กาหนดผู้รับผิดชอบ ขอบเขตและแผนปฏิบัติการที่ชัดเจน เพื่อเชื่อมโยงข้อมูลและการทางานที่ต้องประสานความร่วมมือกันระหว่างคณะวิชาและส่วนกลาง งานวิจัยของรอฮนา ดาคาเฮง และคณะ (2556: 41-50) ที่ทาวิจัยเรื่อง ปัจจัยที่มีผลต่อการบริการ วิชาการแก่สังคมของอาจารย์ในมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา พบว่า ปัจจัยด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ และบุคลากรเป็ นปั จจัย ที่ส่ งผลต่อกลยุทธ์การตลาดของการจัดบริการวิชาการในระดับมาก และ สอดคล้องกับงานวิจัยของนภัทร เสนพงศ์ และคณะ (2561: 1-21) ที่ทาวิจัยเรื่อง กระบวนการสร้าง แรงบั นดาลใจการทางานบริ การวิช าการแก่สั งคมของบุคลากรในมหาวิทยาลั ยศรีนครินทรวิโ รฒ พบว่า การสนั บสนุ นการสร้ างความรู้และประสบการณ์ด้านการให้บริการวิชาการมีผลต่อการทา ภารกิจด้านบริการวิชาการของอาจารย์ รวมทั้งยังสอดรับกับแนวคิดของพิชณิชา นิปุณะ (2561: 1-4) ที่ เ สนอแนวทางการพั ฒ นาบริ ก ารวิ ช าการที่ ก่ อ ให้ เ กิ ด รายได้ ว่ า ต้ อ งมี ก ารสร้ า งแรงจู ง ใจให้ แ ก่


109

ผู้ปฏิบัติงาน เช่น การให้รางวัล การพิจารณาประเมินผลการปฏิบัติงาน รวมทั้งต้องนาเครื่องมือทาง เทคโนโลยี / นวั ต กรรม (Digital Technology/Outsourcing Technique) มาช่ ว ยสนั บ สนุ น การ บริหารจัดการด้วย 5. จากการวิจัย พบว่า ผลการวิจัยเชิงคุณภาพกลุ่มผู้ให้ข้อมูลหลักนาเสนอกลยุทธ์ 5 ด้าน ได้แก่ การใช้เครือข่ายศิษย์เก่า การเพิ่มความร่วมมือกับองค์กรที่มีการตกลงความร่วมมือ การจัด โครงการที่เน้ น สหวิทยาการ การให้ บริ การที่เ ป็นเลิ ศ และการสร้างแบรนด์สุ ข ภาพ ซึ่ง แตกต่า ง ผลการวิจัยเชิงปริมาณตามแนวคิดกลยุทธ์การตลาดของ Kotler, Philip and Keller Kelvin Lane (2016) ที่กาหนดไว้ ประการ ได้แก่ ด้านผลิตภัณฑ์ ด้านราคา ด้านช่องทางการจัดจาหน่าย ด้าน การส่งเสริมการตลาด ด้านบุคคล ด้านลักษณะทางกายภาพ และด้านกระบวนการ ทั้งนี้อาจเป็น เพราะบริบทที่ทาการวิจัยซึ่งเกี่ยวกับการจัดบริการวิชาการของสถาบันอุดมศึกษาแตกต่างจากองค์กร ทางธุรกิจอื่นซึ่งมีเป้าหมาย วิธีการปฏิบัติงาน ทรัพยากรการดาเนินงานที่ต่างกัน แต่หากจะวิเคราะห์ ผลการวิจั ยเชิงคุณภาพนั้นต่างมีส่วนสัมพันธ์หรือเติมเต็มแนวคิดของ Kotler, Philip and Keller Kelvin Lane (2016) ซึ่งสามารถอธิบายได้ว่า การสร้างแบรนด์สุขภาพ และการใช้เครื อข่ายศิษย์เก่า เป็นส่วนหนึ่งของการส่งเสริมการตลาดเพื่อเพิ่มจานวนกลุ่มเป้าหมาย การจัดโครงการที่เน้นความ เป็ น สหวิ ทยาการ นั บ เป็ น การสร้ า งผลิ ต ภัณ ฑ์ที่ เ น้น ความแตกต่ า งน่ าสนใจให้ แ ก่ กลุ่ มเป้า หมาย การเพิ่มความร่วมมือกับองค์กรที่มีการตกลงความร่วมมือถือเป็นการเพิ่มช่องทางการขยายการจัด โครงการไปยังกลุ่มต่างๆ และการให้บริการที่เป็นเลิศเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องการจัดบริการโดยมีบุคคลที่ จะมีส่วนร่วมในการสร้างบรรยากาศที่ดีในการจัดบริการ ดังนั้น ข้อค้นพบระหว่างผลการวิจัยเชิง คุณภาพและเชิงปริมาณจึงช่วยทาให้การนากลยุทธ์ทางการตลาดมีความชัดเจนขึ้น สามารถนาไปใช้ สนับสนุนการจัดบริ การวิชาการแก่สังคมแบบมีรายได้ของหลักสูตรด้านวิทยาศาสตร์สุ ขภาพของ มหาวิทยาลัยเอกชนแห่งหนึ่งในจังหวัดนครปฐมได้อย่างเหมาะสม ข้อเสนอแนะ 1. ข้อเสนอแนะสาหรับการใช้ประโยชน์จากงานวิจัย ข้อค้นพบจากงานวิจัย มีประเด็นสาคัญที่มหาวิทยาลัยฯควรพิจารณาให้การส่งเสริมและ สนับสนุนเพื่อผลักดันการจัดบริการวิชาการแก่สังคมแบบมีรายได้ให้เป็นไปตามเป้าหมาย ดังนี้ 1.1 มหาวิทยาลัยฯควรสนับสนุนให้เกิดระบบและกลไกการจัดบริการวิชาการแก่สังคมแบบมี รายได้ด้วยการจัดให้มีหน่วยงานกลางที่ทาหน้าที่ประสานงานการจัดบริการวิชาการแก่สังคม โดย มุ่งเน้นให้ความสาคัญกับภาระกิจของหน่วยงานนี้ไปที่การทาการสื่อสารการตลาดให้กับการจัดบริการ วิชาการของหลักสูตร รวมทั้งการสนับสนุนด้านการบริหารทรัพยากรการดาเนินงานด้านต่างๆ เพื่อให้ เกิดความร่วมมือ การทางานประสานสอดคล้องกันระหว่างหลักสูตรและหน่วยงานส่วนกลางของ มหาวิทยาลัยฯและเชื่อมโยงข้อมูลไปสู่องค์กรภายนอก 1.2 มหาวิทยาลัยฯ ควรเร่งสร้างแบรนด์ความเป็นมหาวิท ยาลัยส่งเสริมสุขภาพให้เป็นที่รับรู้ จักต่อประชาคมสุขภาพโดยเฉพาะในพื้นที่ภูมิภาคตะวันตก และปริมณฑล โดยเน้นการบูรณาการ พันธกิจอุดมศึกษา 4 ด้าน ได้แก่ การจัดการเรียนการสอน การทาวิจัย การให้บริการวิชาการ และ


110

การทานุบารุงศิลปวัฒนธรรมและสิ่งแวดล้อมให้มีภาพลักษณ์ที่ โดดเด่นมากขึ้น เพื่อใช้เป็นเครื่องมือ สนับสนุนการสื่อสารการตลาดในการจัดบริการวิชาการแก่สังคมแบบมีรายได้ 1.3 มหาวิทยาลัยฯ ควรจัดสรรงบประมาณทั้งจากภายในและภายนอก มาสนับสนุนอุปกรณ์ เทคโนโลยี ด้านสุขภาพที่ทันสมัย เพื่อนามาใช้ในการจัดบริการวิช าการในทุกหลักสูตร ซึ่ งจะช่ว ย เสริมสร้างภาพลักษณ์ที่ดีและเป็นจุดขายสร้างความสนใจให้แก่บุคลากรด้านสุขภาพที่เข้ามาใช้บริการ อีกทั้งยังสามารถใช้เป็นส่วนหนึ่งของการจัดการเรียนการสอนได้อีกทางหนึ่งด้วย 1.4 มหาวิทยาลัยฯ ควรสนับสนุนให้อาจารย์มีความรู้ ทักษะ และมีกลยุทธ์ในการสื่อสาร การตลาดเพื่อให้สามารถจูงใจแก่ผู้ใช้บริการตัดสินใจเลือกใช้บริการของหลักสูตร รวมทั้งควรพัฒนา ระบบการสร้างแรงจูงใจในการจัดบริการวิชาการแก่สังคมแบบมีรายได้ให้แก่อาจารย์ โดยมีการจัดทา ภาระงานขั้นต่า และใช้เป็นผลงานเพื่อพิจารณาความดีความชอบประจาปีการศึกษา 1.5 มหาวิทยาลัยฯ ควรเพิ่มระดับการมีส่วนร่วมให้อาจารย์ติดตามผลการใช้ประโยชน์จาก การบริการวิชาการแก่สังคมโดยเน้นการประเมินผลจากผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกฝ่าย ทั้งนักศึกษา อาจารย์ และกลุ่ มผู้ ใช้ บ ริ การกลุ่ ม ต่างๆ เพื่อ ทาให้ อาจารย์เกิดมุมมอง แนวคิด ใหม่ๆที่ ส ามารถนาผลการ ประเมินมาต่อยอด/ปรับปรุงการพัฒนาคุณภาพการจัดบริการแก่สังคมให้มีประสิทธิผลมากขึ้น ครั้ง ต่อไปได้ 2. ข้อเสนอแนะสาหรับการวิจัยครั้งต่อไป ระหว่า งการทาวิ จั ย และภายหลั ง การท าวิจั ย เสร็ จ สิ้ น ผู้ วิ จั ยค้ น พบประเด็ นที่ ส าคั ญ ซึ่ ง สามารถพัฒนาเป็นโจทย์สาหรับการทาวิจัยเพื่อนาไปพัฒนาคุณภาพของการจัดบริการวิชาการแก่ สังคมแบบมีรายได้ ในครั้งต่อไป ดังนี้ 2.1 ควรมีการศึกษาวิจัยอย่างเป็นระบบเพื่อวิเคราะห์ความต้องการพัฒนาขององค์กรด้าน สุ ข ภาพทั้ง ภาครั ฐ และเอกชนเกี่ ย วกั บ ประเด็ นความรู้ ทั กษะ รู ปแบบของการจัด บริก ารในการ จัดบริการ โดยกาหนดพื้นที่กลุ่มเป้าหมาย ขอบเขตอย่างชัดเจน เช่น พื้นที่บริการสุขภาพเขตที่ 5 กลุ่มองค์กรสุขภาพที่มีการตกลงความร่วมมือทางวิชาการกับมหาวิทยาลัยฯ กลุ่มองค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่น เป็นต้น เพื่อนามากาหนดเป็นชุดโครงการที่สอดคล้ องกับความต้องการของแต่ละกลุ่ม และ นามาวางแผนแม่บทการจัดบริการวิชาการแบบมีรายได้ทั้งในระยะสั้น ระยะยาวได้อย่างมีทิศทาง 2.2 ควรมีการศึกษาวิจั ย เกี่ยวกับการนาผลที่ได้จากการจัดบริการวิช าการแก่สั งคมของ หน่ว ยงานที่เข้ารั บบริการของทุกหลั กสู ตรไปประยุกต์ในการปฏิบัติ วิช าชีพหรือพัฒนางาน ซึ่งจะ สะท้อนถึงคุณค่าที่เกิดขึ้นจากการจัดบริการวิชาการ รวมทั้งเห็นข้อดีและข้อจากัดต่างๆ สามารถนาไป ต่อยอดใช้ในการจัดบริการวิชาการแก่สังคมที่สอดคล้อ งกับความต้องการของกลุ่มเป้าหมายอย่าง ชัดเจน 2.3 ควรมีการศึกษาวิจัยเพื่อพัฒนาโปรแกรมสารสนเทศสาหรับการวิเคราะห์ทางการเงิน เพื่อนามาใช้ในการสนับสนุนการบริหารจัดการด้านวางแผนการเงิน คานวณค่าใช่จ่ายในหมวดต่างๆ การจัดสรรทรัพยากร วิเคราะห์รายได้ที่เกิดขึ้น ต้นทุนค่าเสียโอกาสในแต่ละโครงการซึ่งจะทาให้เห็น ภาพรวมของรายได้จากการให้บริการวิชาการของมหาวิทยาลัยฯ ของแต่ละหลักสูตร และจุดแข็ง รวมทั้งแนวทางที่ควรปรับปรุงของแต่ละโครงการ


111

2.4 ควรมี ก ารศึ ก ษาวิ จั ย เชิ ง ปฏิ บั ติ ก ารเพื่ อ ระดมความคิ ด เห็ น ของทุ ก หลั ก สู ต รด้ า น วิทยาศาสตร์ สุขภาพในการจัดบริ การวิช าการแก่สั งคมที่เน้นความเป็นสหสาขาวิชา เพื่อตกผลึ ก ความคิดในเชิงประเด็นเนื้อหา การออกแบบโครงการ หน้าที่และบทบาทของผู้มีส่วนเกี่ยวข้องแต่ละ หลักสูตร ซึ่งจะส่งผลให้ผู้ใช้บริการได้รับประโยชน์เพิ่มขึ้น อีกทั้งยังสร้างความน่าสนใจ และความ ได้เปรียบในการแข่งขันสาหรับการสื่อสารการตลาดไปยังกลุ่มเป้าหมายด้วย -------------------------------------------------------


112

บรรณานุกรม กฤติกา จิวาลักษณ์. (2555). การจัดการองค์การขององค์การสารสนเทศ.ใน เอกสารการสอน ชุดวิชา การจัดการองค์การสารสนเทศ หน่วยที่ 1- 7 . (พิมพ์ครั้งที่ 2). นนทบุรี : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. เครือวัลย์ อินทรสุข. (2558). การพัฒนาประสิทธิภาพการให้บริการวิชาการของสาขาวิชานิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์. คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์. จันทิมา องอาจ และคณะ. (2561). การบริหารจัดการการบริการวิชาการแก่สังคมของมหาวิทยาลัย ราชภัฏสุราษฎร์ธานี. วารสารราชภัฎสุราษฎร์ธานี, 5(1), 273-298. จิตรานุช น้อยสุทธิสกุล. (2557). ปัจจัยที่มีผลต่อการให้บริการวิชาการของศูนย์บริการวิชาการ แบบจัดหารายได้. นครปฐม : มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์. ชีวัน เจริญสุข. (2557). บทที่ 11 กลยุทธ์การตลาด. ออนไลน์ : สืบค้นเมื่อวันที่ 28 กันยายน 2561 , จาก https://maymayny.wordpress.com/2014/12/05/ เชาว์ โรจนแสง. (2555). การจัดการทรัพยากรมนุษย์ขององค์การสารสนเทศ. ใน เอกสารการสอน ชุดวิชา การจัดการองค์การสารสนเทศ หน่วยที่ 1- 7 . (พิมพ์ครั้งที่ 2). นนทบุรี : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. ณฐาพัชร์ วรพงศ์พัชร์. (2558). กลยุทธ์การตลาดของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลที่มีอิทธิพล ต่อการตัดสินใจเข้าศึกษาในคณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลในเขต กรุงเทพฯ และปริมณฑล. กรุงเทพฯ : คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล พระนคร. ณัฎฐพันธ์ เขจรนันทน์. (2551). พฤติกรรมองค์การ. กรุงเทพฯ : ซีเอ็ดยูเคชั่น. ฐิติรัตน์ จันทร์ดารา. (2560). เทคโนโลยีสารสนเทศกับการเพิ่มประสิทธิภาพ การบริหารงานพัสดุ ของสถาบันอุดมศึกษา. วารสารมหาวิทยาลัยคริสเตียน, 23(2), 322-333. ธันยพร อริยะเศรณี. (2558). ความคิดเห็นของบุคลากรที่มีต่อการดาเนินงานบริการวิชาการแก่สังคม ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย. สงขลา : มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ศรีวิชัย. นภัทร เสนพงศ์. (2561). กระบวนการสร้างแรงบันดาลใจในการทางานบริการวิชาการแก่สังคม ของบุคลากรในมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. วารสารพฤติกรรมศาสตร์เพื่อการพัฒนา, 10(2), 1-21. นิติพล ภูตะโชติ. (2560). พฤติกรรมองค์การ. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. นิสิต มโนตั้งวรพันธุ์. (2554). การมอบหมายงานสาหรับผู้บริหาร. วารสารนักบริหาร, 13(3), 61-71. เบญจวรรณ ทิมสุวรรณ และกรกนก ลัทธนันท์. (2556). บริการวิชาการแก่สังคม : การพัฒนา คุณภาพเพื่อสร้างคุณค่า. วารสารการพยาบาลและการศึกษา, 6(3), 2-15. พิชณิชา นิปุณะ. (2561). แนวทางการพัฒนางานบริการวิชาการที่ก่อให้เกิดรายได้. ออนไลน์ : สืบค้นเมื่อวันที่ 1 ตุลาคม 2561, จาก www.erp.mju.ac.th.


113

เพลินพิศ จุฬพันธ์ทอง และคณะ .(2557). การพัฒนากลยุทธ์การบริการวิชาการแก่สังคมของ มหาวิทยาลัยราชภัฏกลุ่มภาคเหนือตอนล่าง. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร, 16(1), 40-53. ภัทรธิดา วัฒนาพรรณกิตติ. (2558). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อประสิทธิผลการบริการวิชาการแก่สังคม ของมหาวิทยาลัยราชภัฏกลุ่มภาคเหนือ. วารสารวิทยาการจัดการสมัยใหม่, 8(1), 30-46. มานิตย์ ไชยกิจ. (2557). แนวทางการบูรณาการการจัดการเรียนการสอน กับการวิจัยและการบริการ วิชาการแก่สังคมของสถาบันอุดมศึกษา. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร, 16(2), 205-213. มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต. (2562). คู่มือการให้บริการวิชาการแก่สังคม. กรุงเทพฯ : ศูนย์บริการ วิชาการ มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต. มหาวิทยาลัยพายัพ. (2558). คู่มือการให้บริการวิชาการแก่สังคม. เชียงใหม่ : ฝ่ายวิจัยและบริการ วิชาการ มหาวิทยาลัยพายัพ. มหาวิทยาลัยพะเยา. (2561). ระบบและกลไกการให้บริการวิชาการแก่สังคม คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยา. ออนไลน์ : สืบค้นเมื่อวันที่ 26 กันยายน 2561, จาก www.libarts. up.ac.th/data/file_ent/1374121750.pdf. มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม. (2561). คู่มือการบริการวิชาการแก่สังคม. ออนไลน์ : สืบค้นเมื่อ วันที่ 26 กันยายน 2561, จาก humannet.chandra.ac.th/academic_service/ academic/Manual/20Academic.pdf ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง มาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ. 2561. (2561, 17 สิงหาคม). ราชกิจจานุเบกษา. เล่มที่ 135 ตอนพิเศษ 199 ง. หน้า 19-21. ประกาศคณะกรรมการการอุดมศึกษา เรื่อง แนวทางการนามาตรฐานการอุดมศึกษาไปสู่การปฏิบัติ พ.ศ. 2561 รอฮานา ดาคาเฮง และคณะ. (2556). ปัจจัยที่มีผลต่อการบริการวิชาการแก่สังคมของอาจารย์ใน มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา. ยะลา : มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา. ล้วน สายยศ และอังคณา สายยศ. (2548). เทคนิคการวิจัยทางการศึกษา. (พิมพ์ครั้งที่ 9). กรุงเทพฯ : สุวีริยาสาส์น. วรนุช มานะวนิตย์. (2555). การจัดการทรัพยากรการเงินในองค์การสารสนเทศ.ใน เอกสาร การสอนชุดวิชา การจัดการองค์การสารสนเทศ หน่วยที่ 1- 7 . (พิมพ์ครั้งที่ 2). นนทบุรี : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วัลนิกา ฉลากบาง. (2560). การวิจัยแบบผสมผสาน. วารสารมหาวิทยาลัยนครพนม, 7(2), 124-132. ศิริชัย กาญจนวาสี. (2544). ทฤษฎีการประเมิน. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สมชาย วรกิจเกษมสกุล. (2554). ระเบียบวิธีการวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร์และสังคมศาสตร์. อุดรธานี : มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี. สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา. (2560). คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับอุดมศึกษา พ.ศ.2557. กรุงเทพฯ : ภาพพิมพ์.


114

สานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา. (2561). คู่มือการประเมินคุณภาพ ภายนอกรอบสี่ ระดับอุดมศึกษา. กรุงเทพฯ : สานักงานรับรองมาตรฐานและประเมิน คุณภาพการศึกษา. สวัสดิ์ เชาวกุล. (2555). การจัดการงานพัสดุในองค์การสารสนเทศ. ในเอกสารการสอนชุดวิชา การจัดการองค์การสารสนเทศ หน่วยที่ 8-15 . (พิมพ์ครั้งที่ 2). นนทบุรี : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. อภิชาต คณารัตน์วงศ์. (2562). ตัวแบบความไว้วางใจที่มีอิทธิพลต่อการมีส่วนร่วมโครงการระดมทุน เพื่อการกุศล. จุฬาลงกรณ์ธุรกิจปริทัศน์, 41(159) 115-152. Kotler, P., & Keller, K. (2016). Marketing Management. (15th global edition) Edinburgh: Pearson Education.


115

ภาคผนวก


116

ภาคผนวก ก. เครื่องมือวิจัย


117

แบบสอบถามงานวิจัย เรื่อง กลยุทธ์ทางการตลาด (7Ps) ที่สนับสนุนการจัดบริการวิชาการแก่สังคมแบบมีรายได้ของหลักสูตร ด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพ สังกัดมหาวิทยาลัยเอกชนแห่งหนึ่งในจังหวัดนครปฐม เอกสารชี้แจงการเข้าร่วมงานวิจัย เรียน ผู้เข้าร่วมโครงการวิจัย ข้าพเจ้า นายอิทธิพร ขาประเสริฐ หัวหน้าโครงการวิจัย เรื่อง กลยุทธ์ทางการตลาด (7Ps) ที่ สนับสนุนการจัดบริการวิชาการแก่สังคมแบบมีรายได้ของหลักสูตรด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพ สังกัด มหาวิทยาลัยเอกชนแห่งหนึ่งในจังหวัดนครปฐม ขอชี้แจงว่าโครงการวิจัยนี้เป็นพัฒนาสถาบันที่กลุ่ม งานแผน ฝ่ายบริหารทั่วไป สานักงานอธิการบดี ได้รับอนุมัติจากมหาวิทยาลัยฯให้ดาเนินการ มีความ ประสงค์จะขอความร่ว มมือจากท่านให้มีส่วนร่วมในการกรอกข้อมูลความคิดเห็นเกี่ยวกับการนา กลยุ ท ธ์ การตลาดมาใช้ส นั บ สนุ น การให้ บ ริก ารวิ ช าการแก่ สั ง คมแบบมี รายได้ ของหลั กสู ต รด้ า น วิทยาศาสตร์สุขภาพของมหาวิทยาลัยเอกชนแห่งหนึ่ง การวิจัยครั้งนี้ใช้เวลาประมาณ 10 เดือน โดย มีผู้เข้าร่วมวิจัยจาก 2 คณะวิชา ของมหาวิทยาลัยเอกชนแห่งหนึ่ง จานวน 76 คน ตามคุณสมบัติที่ กาหนด ผู้วิจัยจึงขอเรียนเชิญท่านกรอกข้อมูลในแบบสอบถามในฐานะที่ท่านเป็นผู้บริหาร อาจารย์ ของมหาวิทยาลัยฯ ซึ่งจะมีบทบาทสาคัญในการผลักดันการจัดบริการวิชาการแก่สังคมแบบมีรายได้ ของมหาวิ ท ยาลั ย ฯ เพื่ อ น าไปสู่ ก ารเพิ่ ม พู น รายได้ ใ ห้ แ ก่ ห ลั ก สู ต ร คณะวิ ช าและมหาวิ ท ยาลั ย ฯ โดยโครงการวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อวิเคราะห์กลยุทธ์การตลาดที่มีส่วนสนับสนุนการจัด โครงการบริการวิชาการแก่สังคมแบบมีรายได้ของหลักสูตรด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพ รวมทั้งศึกษา สภาพปัญหา และแนวทางการส่งเสริมกลยุทธ์การตลาดการจัดบริการวิชาการแก่สังคมแบบมีรายได้ ของหลักสูตรด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพ ท่ า นมี สิ ท ธิ์ ที่ จ ะตอบรั บ หรื อ ปฏิ เ สธการเข้ า ร่ ว มวิ จั ย เมื่ อ ใดก็ ไ ด้ และจะไม่ มี ผ ลต่ อ สิ ท ธิ ประโยชน์ใดๆ ที่ท่านควรจะได้รับ ตลอดจนข้อมูลของท่านจะถูกเก็บไว้เป็นความลับและเก็บไว้อย่าง มิดชิด การนาข้อมูลไปวิเคราะห์ อภิปราย หรือพิมพ์เผยแพร่จะทาในภาพรวมของผลการวิจัยเท่านั้น และสิทธิประโยชน์อื่นอันจะเกิดจากผลการวิจัยให้เป็นไปตามระเบียบข้อบังคับของมหาวิทยาลั ย คริสเตียน หากท่านมีข้อสงสัยเกี่ยวกับการวิจัย ครั้งนี้สามารถติดต่อกับข้าพเจ้าได้ที่เบอร์โทรศัพท์ 086-722-7519 ขอขอบพระคุณเป็นอย่างสูงที่ให้ความร่วมมือมา ณ โอกาสนี้ นายอิทธิพร ขาประเสริฐ หัวหน้าโครงการวิจัย


118

สิทธิ์ในการเข้าร่วมการวิจัย การเข้าร่วมโครงการวิจัย ขึ้นอยู่กับความสมัครใจของท่าน ท่านสามารถเลือกเข้าร่วม หรือไม่เข้าร่วมการวิจัย หรือถอนตัวออกจากการวิจัยเมื่อใดก็ได้ โดยไม่ต้องแจ้งให้ทราบล่วงหน้า และ การไม่เข้าร่วมการวิจัยหรือถอนตัวออกจากการวิจัยนี้ จะไม่มีผลกระทบต่อการทางานแต่ประการใด หากมีข้อสงสัยเกี่ยวกับ การวิจัยนี้ หรือหากเกิดผลข้างเคียงที่ไม่พึงประสงค์จากการวิจัย ท่านสามารถติดต่อผู้วิจัยคือ นายอิทธิพร ขาประเสริฐ หมายเลขโทรศัพท์ 086-722-7519 การวิจัยนี้ไม่มีค่าตอบแทนแก่ผู้ร่วมการวิจัยและไม่มีค่าใช้จ่ายที่ผู้เข้าร่วมการวิจัยจะต้อง รับผิดชอบหากมีข้อมูลเพิ่มเติมทั้งด้านประโยชน์และโทษที่เกี่ยวข้องกับการวิจัยนี้ ผู้วิจัยจะแจ้งให้ ทราบโดยรวดเร็วและไม่ปิดบัง ข้อมูลส่วนตัวของผู้เข้าร่วมการวิจัย จะถูกเก็บไว้รักษาไว้โดยไม่เปิดเผยต่อสาธารณะเป็น รายบุคคล แต่จะรายงานผลการวิจัยเป็นข้อมูลส่วนรวม ซึ่งจะไม่ระบุข้อมูลรายบุคลข้ อมูลที่ได้จาก งานวิจัยครั้งนี้ จะมีการเผยแพร่ในภาพรวม ไม่ระบุข้อมูลของผู้ให้ข้อมูลเป็นรายบุคคล หรือชื่อของ สถาบัน หากท่านได้รับการปฏิบัติที่ไม่ตรงตามที่ได้ระบุไว้ในเอกสารชี้แจงนี้ ท่านสามารถแจ้งให้ ประธานคณะกรรมการจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ทราบได้ที่ สานักคณะกรรมการจริยธรรมการวิจัย ในมนุษย์ มหาวิทยาลัยคริสเตียน โทรศัพท์ 0-3438-8555 ต่อ 1340 โทรสาร 0-3427-4500 หนังสือแสดงเจตนายินยอมเข้าร่วมการวิจัย (Informed Consent Form) ข้า พเจ้ านาย/ นาง/ นางสาว ........................................................................................ ขอให้ความยินยอมของตนเองที่จะเข้าร่วมการวิจัยเรื่อง กลยุทธ์ทางการตลาด (7Ps) ที่สนับสนุนการ จัดบริการวิชาการแก่สังคมแบบมีรายได้ของหลักสูตรด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพ สังกัดมหาวิทยาลัย เอกชนแห่งหนึ่งในจังหวัดนครปฐม โดยข้าพเจ้ าได้ทราบข้อมูล และคาอธิบายเกี่ยวกับการวิจัยนี้แล้ ว ข้าพเจ้าได้มีโ อกาส ซักถามเกี่ยวกับการวิจัยนี้และได้รับคาตอบเป็นที่พอใจและเข้าใจ ข้าพเจ้ามีเวลาเพียงพอในการอ่าน และทาความเข้าใจกับข้อมูลในเอกสารนี้อย่างถี่ถ้วน และได้รับเวลาเพียงพอในการตัดสินใจเข้าร่ วม การวิจัยครั้งนี้ ข้าพเจ้ าขอลงลายมือชื่อไว้เ ป็นหลั กฐานประกอบการตัดสิ นใจเข้าร่ว มการวิจัยครั้งนี้ โดยการลงลายมือชื่อนี้ ข้าพเจ้าไม่ได้สละสิทธิ์ใดๆ ที่ข้าพเจ้าพึงมีทางกฎหมาย ลายมือชื่อผู้เข้าร่วมวิจัย.....................................................วัน/ เดือน/ ปี........................ (................................................) ลายมือชื่อผู้ให้ข้อมูลการวิจัย...........................................วัน/ เดือน/ ปี.......................... (นายอิทธิพร ขาประเสริฐ)


119

คาชี้แจง แบบสอบถามฉบับ นี้เป็ นส่ วนหนึ่งของการศึกษาวิจัยเรื่อง กลยุทธ์ทางการตลาด (7Ps) ที่ สนับสนุนการจัดบริการวิชาการแก่สังคมเป็นโครงการวิจัยพัฒนาสถาบันที่กลุ่มงานแผน ฝ่ายบริหาร ทั่วไปได้รับอนุมัติจากมหาวิทยาลัยฯให้ดาเนินการ เพื่อให้บุคลากรสังกัดคณะวิชาด้านวิทยาศาสตร์ สุขภาพได้มีส่วนร่วมแสดงความคิดเห็นและให้ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการจัดบริการวิชาการแก่สังคม แบบมีรายได้ ผลที่ได้จากการศึกษาวิจัยจะใช้เป็นข้อมูลป้อนกลับเพื่อนาไปกาหนดนโยบายสนับสนุน และส่งเสริมการจัดบริการวิชาการของคณะวิชาด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพให้เกิดประสิทธิผลสูงสุดแก่ มหาวิทยาลัยฯ ทั้งนี้ ข้อมูลที่ได้จากการศึกษาจะถูกนาไปวิเคราะห์ในภาพรวม และปิดเป็นความลับไม่ มีผลกระทบต่อตัวท่านแต่อย่างใด แบบสอบถามฉบับนี้ แบ่งออกเป็น 5 ตอน ตอนที่ 1 ข้อมูลพื้นฐานของท่าน ตอนที่ 2 ความคิดเห็นเกี่ยวกับกลยุทธ์การตลาดของหลักสูตร คณะวิชาที่สนับสนุนการจัด บริการวิชาการแก่สังคมแบบมีรายได้ ท่านเห็นด้วยมากน้อยระดับใดเกี่ยวกับการใช้ กลยุทธ์การตลาดเหล่านี้เพื่อสนับสนุนการจัดบริการวิชาการแก่สังคมของหลักสูตร และคณะวิชาที่ท่านสังกัด ตอนที่ 3 สภาพปัญหาของการจัดบริการวิชาการแก่สังคมแบบมีรายได้ของหลักสูตร และ คณะวิชาในทางทฤษฎี ท่านมีปัญหามากน้อยในระดับใดเกี่ยวกับการบูรณาการการ จัดการเรียนการสอน และการวิจัยกับการให้บริการวิชาการแก่สังคม การพัฒนา กระบวนการให้บริการ และการประเมินผลกระทบจากการให้บริการวิชาการ ตอนที่ 4 สภาพปัญหาของการจัดบริการวิชาการแก่สังคมแบบรายได้ของหลักสูตร และคณะ วิชาในทางปฏิบัติ ท่านมีปัญหามากน้อยในระดับใดเกี่ยวกับการบริหารคน เงิน วัสดุ อุปกรณ์ และการบริหารจัดการ เพื่อสนับสนุนการจัดบริการวิชาการแก่สังคม แบบมีรายได้ของหลักสูตร และคณะวิชาที่ท่านสังกัด ตอนที่ 5 ท่านมีข้อเสนอแนะอะไรบ้างเพื่อหาแนวทางการส่งเสริมและสนับสนุนการจัดบริการ วิชาการแก่สังคมแบบมีรายได้ ในหลักสูตร คณะวิชาที่ท่านสังกัด


120

ตอนที่ 1 ข้อมูลพื้นฐานของท่าน คาชี้แจง โปรดทาเครื่องหมาย  ในช่องที่ตรงกับข้อมูลของท่าน 1. เพศ  1) ชาย  2) หญิง 2. อายุ..................ปี 3. การศึกษา  1) ปริญญาเอก 4. คณะวิชาที่สังกัด

 2) ปริญญาโท

 1) คณะพยาบาลศาสตร์

5. ระยะเวลาการทางานที่มหาวิทยาลัยฯ  1) น้อยกว่า 5 ปี  2) 5-10 ปี 6. ตาแหน่ง

1) ผู้บริหาร

 3) ปริญญาตรี

 2) คณะวิทยาศาสตร์สุขภาพ  3) 11 – 15 ปี

2) อาจารย์

 4) 15 ปีขึ้นไป

3) ผู้ช่วยอาจารย์

7. กิจกรรมที่เคยมีส่วนร่วมในการจัดบริการวิชาการแก่สังคมของหลักสูตร คณะวิชาที่สังกัด (ตอบได้หลายข้อ)  1) กาหนดประเด็นเรื่อง/หัวข้อที่จะจัดบริการ  2) วางแผน ออกแบบรูปแบบการจัดบริการ เช่น การประชุมวิชาการ การสัมมนาเชิง ปฏิบัติการ การสาธิต การอบรม การทดสอบ การตรวจประเมิน ฯ เป็นต้น  3) เขียนโครงการและประเมินผลโครงการ  4) ประสานงานติดตามวิทยากร/ผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกมหาวิทยาลัยฯ  5) ประสานงานกับหน่วยงานภาครัฐ เอกชน ชุมชน หรือสถานประกอบการ  6) สารวจความต้องการจัดบริการวิชาการกับหน่วยงานภายนอก  7) เป็นวิทยากรในการจัดบริการ  8) ประชาสัมพันธ์การจัดบริการวิชาการ  9) ติดตามผลการใช้ประโยชน์จากการได้รับบริการภายหลังการจัดบริการกับผู้ใช้บริการ หน่วยงาน องค์กร ชุมชน และสถานประกอบการ  10) ไม่เคยมีส่วนร่วม  11) อื่นๆ โปรดระบุ..............................................................................................


121

ตอนที่ 2 ความคิดเห็นเกี่ยวกับกลยุทธ์การตลาดของหลักสูตร และคณะวิชา ที่สนับสนุน การจัดบริการวิชาการแก่สังคมแบบมีรายได้ ท่านเห็น ด้วยมากน้อยระดับใดเกี่ยวกับการใช้กลยุทธ์การตลาดเหล่านี้เพื่อสนับสนุนการ จัดบริการวิชาการแก่สังคมของหลักสูตร และคณะวิชาที่ท่านสังกัด โดยมีเกณฑ์การให้คะแนนและ ความหมาย ดังนี้ การให้คะแนน การแปลความหมาย 5 มีความเห็นด้วยมากที่สุด 4 มีความเห็นด้วยมาก 3 มีความเห็นด้วยปานกลาง 2 มีความเห็นด้วยน้อย 1 ไม่เห็นด้วย ข้อ

กลยุทธ์การตลาด

ด้านผลิตภัณฑ์ 1. กาหนดหัวข้อ/ธีม (Theme) ของการจัดบริการที่ สร้างสรรค์และทันสมัยสอดคล้องกับสถานการณ์ การเปลีย่ นแปลงขององค์ความรู้ดา้ นวิทยาศาสตร์ สุขภาพ 2. มีการบูรณาการของความรู้แบบสหสาขาวิชาใน การจัดบริการ 3. ใช้รูปแบบการจัดบริการทีผ่ สมผสาน เช่น การฝึก ปฏิบัติการ การศึกษาดูงาน การประชุมวิชาการ การถอดบทเรียน เป็นต้น 4. ผู้ใช้บริการมีแนวทางการประยุกต์องค์ความรู้ที่ ได้รับจากการจัดบริการไปใช้ในหน่วยงานที่สังกัด 5. มีการวิเคราะห์กลุ่มเป้าหมายเพื่อนามาออกแบบ โครงการบริการวิชาการที่จะจัดขึน้ 6. มีหน่วยคะแนนนับจากองค์กรวิชาชีพเพื่อสร้างจุด สนใจ 7. นาเสนอภาพลักษณ์วิทยากรที่มีความเป็นมือ อาชีพ ด้านราคา 8. กาหนดค่าใช้จ่ายการจัดบริการอย่างเหมาะสม โดยเปรียบเทียบราคากับคู่แข่งขัน 9. วิเคราะห์ค่าใช้จ่ายการจัดบริการอย่างคุ้มค่า คุ้มทุน 10. แสดงรายการค่าใช้จ่ายอย่างเปิดเผย เพื่อสื่อสาร ข้อมูลที่ชัดเจนแก่ผู้ใช้บริการ

5

ระดับความคิดเห็น 4 3 2

1


122

ข้อ

กลยุทธ์การตลาด

11. มีกลยุทธ์สิทธิพิเศษด้านราคา เช่น จ่ายก่อนได้ ส่วนลด มาเป็นกลุ่มได้ส่วนลด ศิษย์เก่าได้ส่วนลด เป็นต้น เพื่อดึงดูดความสนใจ 12. มีช่องทางการชาระเงินแบบออนไลน์/ดิจิทัล อานวยความสะดวกในการชาระเงิน ด้านช่องทางการจัดจาหน่าย 13. กาหนดผูร้ ับผิดชอบ และสถานที่ในการติดต่อ ประสานงานอย่างชัดเจน 14. วางระบบบริการติดต่อที่มีประสิทธิภาพโดยใช้ บริการแบบจุดเดียวเบ็ดเสร็จ (One-StopService) 15. มีเอกสาร/ข้อมูลการจัดบริการที่มรี ายละเอียด และแสดงถึงเงื่อนไข ข้อตกลงในการใช้บริการ อย่างโปร่งใสชัดเจนแก่ผู้ใช้บริการ 16. มีการให้ข้อมูลการจัดบริการอย่างทั่วถึงแก่ กลุ่มเป้าหมาย ด้านการส่งเสริมการตลาด 17. สร้างแบรนด์การบริการวิชาการด้านสุขภาพที่ เป็นสัญลักษณ์ของมหาวิทยาลัยฯ 18. ใช้สื่อออนไลน์ เช่น Facebook Line Blog Instargram Youtube เป็นเครื่องดึงดูดความ สนใจ 19. ใช้สื่อบุคคลที่เคยมาใช้บริการเพื่อบอกต่อ (Word of Mouth Marketing) 20. ใช้เครือข่ายองค์กรสุขภาพที่มีการตกลงความ ร่วมมืออย่างเป็นทางการและไม่เป็นทางการเพื่อ สื่อสารข้อมูล 21. ใช้เครือข่ายศิษย์เก่าช่วยสนับสนุนขยายข้อมูล ข่าวสารการจัดบริการวิชาการ 22. การจัดทา Website หรือ Blog ประชาสัมพันธ์ การจัดโครงการโดยเฉพาะ ด้านบุคคล 23. มอบหมายอาจารย์หรือพนักงานที่รับผิดชอบใน การประสานงานการจัดบริการให้สอดคล้องกับ ความรู้ความสามารถ 24. ส่งเสริมแนวคิดการสร้างความประทับใจในการจัดบริการ แก่หลักสูตรและคณะวิชา

5

ระดับความคิดเห็น 4 3 2

1


123

ข้อ

กลยุทธ์การตลาด

25. เปิดโอกาสให้อาจารย์และพนักงานสร้างสรรค์ แนวคิดใหม่ๆในการจัดบริการ 26. อาจารย์และพนักงานร่วมกันวิเคราะห์ปัญหา เฉพาะหน้าในการจัดบริการได้อย่างเหมาะสม 27. มอบหมายอาจารย์และพนักงานที่มีบุคลิกภาพ และมนุษยสัมพันธ์ที่ดีในการจัดบริการวิชาการ ด้านลักษณะทางกายภาพ 28. คัดเลือกสถานที่จัดบริการที่เดินทางสะดวก สอดคล้องกับความต้องการของผู้ใช้บริการ หน่วยงาน องค์กร และชุมชน 29. จัดการต้อนรับทั้งก่อนและหลังการเข้าร่วมอย่าง เป็นระบบเพื่อสร้างความประทับใจ 30. สร้างบรรยากาศระหว่างการจัดบริการด้วยท่าทีที่ อบอุ่น เป็นกันเอง และความรูส้ ึกเป็นหนึ่งเดียว 31. จัดบริการอุปกรณ์สิ่งอานวยความสะดวก เช่น โสตทัศนูปกรณ์ เทคโนโลยีการสื่อสารอย่างมี ประสิทธิภาพ ด้านกระบวนการ 32. มีการปฏิบตั ิตามระเบียบปฏิบัติการจัดบริการที่ มหาวิทยาลัยฯกาหนด 33. แบ่งภาระหน้าทีร่ ับผิดชอบให้แก่อาจารย์ในการ จัดบริการอย่างเท่าเทียม 34. ออกแบบและวางแผนงานที่ลดขั้นตอน โดยการบูรณาการงานเข้าด้วยกัน 35. มีแผนหลักและแผนทางเลือกอื่นๆเพื่อป้องกัน ความเสีย่ งระหว่างการจัดบริการวิชาการ 36. รับฟังความต้องการ ข้อเสนอแนะของผู้ใช้บริการ และติดตามผล ตอบสนองอย่างเหมาะสมและ รวดเร็วเพื่อให้เกิดความประทับใจต่อผู้ใช้บริการ

5

ระดับความคิดเห็น 4 3 2

1


124

ตอนที่ 3 สภาพปัญหาของการจัดบริการวิชาการแก่สังคมแบบมีรายได้ของหลักสูตร และ คณะวิชาในทางทฤษฎี ท่านมีปัญหามากน้อยในระดับใดเกี่ยวกับการบูรณาการการจัดการเรียนการสอน และการ วิจัยกับการให้บริการวิชาการแก่สังคม การพัฒนากระบวนการให้บริการ และการประเมินผลกระทบ จากการให้บริการวิชาการ โดยมีเกณฑ์การประเมินสภาพปัญหา ดังนี้ การให้คะแนน การแปลความหมาย 5 มีความเห็นว่ามีปัญหามากที่สุด 4 มีความเห็นว่ามีปัญหามาก 3 มีความเห็นว่าค่อนข้างมีปัญหา 2 มีความเห็นว่าเป็นปัญหาเล็กน้อย 1 ไม่เป็นปัญหา สภาพปัญหา 5 4 3 2 ด้านการบูรณาการการจัดการบริการวิชาการแก่สงั คมกับการจัดการเรียนการสอนและการวิจัย 1. การเชื่อมโยงเนื้อหาสาระของรายวิชาที่จะใช้ ในการบูรณาการกับการจัดบริการวิชาการ 2. สามารถกาหนดกิจกรรมให้นักศึกษาร่วมคิด วางแผน และกาหนดบทบาทตนเองในการ จัดบริการวิชาการ 3. กาหนดวัตถุประสงค์ของการบูรณาการ จัดการเรียนการสอนกับการให้บริการ สอดคล้องกับเนื้อหารายวิชาและสิง่ ที่จะใช้วัด ความรู้ ความเข้าใจของนักศึกษา 4. การวิเคราะห์ปญ ั หา หรือโจทย์ที่เป็นประเด็น สาคัญระหว่างการจัดบริการวิชาการเพื่อ นาไปสู่การพัฒนาโครงการวิจัย 5. สามารถนาความรู้และประสบการณ์จากการ บริการวิชาการต่อยอด สร้างความรู้ใหม่ผ่าน กระบวนการวิจยั ด้านการพัฒนาคุณภาพกระบวนการให้บริการวิชาการ 6. ความรู้ความเข้าใจอย่างชัดเจนในหลักการ และเกณฑ์การประกันคุณภาพด้านการ ให้บริการวิชาการแก่สังคมของ สกอ./สมศ. 7. การประเมินความต้องการหรือความจาเป็น เพื่อให้ได้มาซึ่งกลุ่ม เป้าหมายที่แน่นอนก่อน การจัดบริการวิชาการของหลักสูตร คณะวิชา ข้อ

ปัญหาในทางทฤษฎี

1


125

ข้อ 8.

ปัญหาในทางทฤษฎี

5

การสร้างและขยายเครือข่ายการให้บริการ วิชาการกับหน่วยงาน องค์กร สถาน ประกอบการและชุมชน ภายนอกอย่าง ต่อเนื่อง 9. หลักสูตรมีการเชื่อมโยงการให้บริการกับศูนย์ ความเป็นเลิศของมหาวิทยาลัยฯ 10. การจัดบริการอย่างมีทิศทางตามเอกลักษณ์ ของหลักสูตรโดยดาเนินงานตามวงจรคุณภาพ (PDCA) 11. มีการทางานเป็นทีมร่วมกันในการจัดบริการ วิชาการ ด้านการประเมินผลประโยชน์/ผลกระทบของการจัดบริการวิชาการ 12. การประเมินผลความสาเร็จของการจัดบริการ แบบ 360 องศา ทั้งนักศึกษา อาจารย์ และ ผู้ใช้บริการ 13. สามารถใช้เทคนิคต่างๆในการประเมินผล ความสาเร็จของการจัดบริการได้ตรงตาม วัตถุประสงค์ 14. การประเมินผลกระทบของผู้ใช้บริการ ภายหลังจากการจัดบริการและนาข้อมูล ย้อนกลับไปปรับปรุงการจัดบริการ การทา วิจัย และการจัดการเรียนการสอน 15. การนาแนวปฏิบตั ิที่ดีไปส่งเสริมการ ดาเนินงานในขั้นตอนการจัดบริการ การ จัดการเรียนการสอน และการทาวิจัย 16. การประเมินตัวเองเกี่ยวกับจุดแข็ง หรือจุดที่ ต้องพัฒนาในการจัดบริการวิชาการ

4

สภาพปัญหา 3

2

1


126

ตอนที่ 4 สภาพปัญหาของการจัดบริการวิชาการแก่สังคมแบบรายได้ของหลักสูตร และ คณะวิชาในทางปฏิบัติจากการบริหารทรัพยากรการดาเนินงาน ท่านมีปัญหามากน้อยในระดับใดเกี่ยวกับการบริหารคน เงิน วัสดุ อุปกรณ์ และการบริหาร จัดการ เพื่อสนับสนุนการจัดบริการวิชาการแก่สังคมแบบมีรายได้ของหลักสูตร และคณะวิชาที่ท่าน สังกัดโดยมีเกณฑ์การประเมินสภาพปัญหา ดังนี้ การให้คะแนน การแปลความหมาย 5 มีความเห็นว่ามีปัญหามากที่สุด 4 มีความเห็นว่ามีปัญหามาก 3 มีความเห็นว่าค่อนข้างมีปัญหา 2 มีความเห็นว่าเป็นปัญหาเล็กน้อย 1 ไม่เป็นปัญหา ข้อ

ปัญหาในทางปฏิบัติ

ด้านการบริหารคน 1. การมอบหมายภาระงานการจัดบริการวิชาการ ให้ผู้รับผิดชอบอย่างเหมาะสม 2. ได้รับอานาจในการตัดสินใจดาเนินการในการ จัดบริการวิชาการ 3. ผู้บริหารเปิดโอกาสให้เสนอแนวคิด และมีการ ยอมรับฟังความคิดเห็นของท่านในการ จัดบริการของหลักสูตร 4. ผู้บริหารจัดคณะกรรมการดาเนินโครงการ บริการวิชาการแต่ละโครงการได้อย่างเหมาะสม 5. ผู้บริหารและท่านมีส่วนร่วมแก้ไขปัญหาเฉพาะ หน้าที่เกิดขึ้นจากการจัดบริการวิชาการของ หลักสูตร ด้านการบริหารเงิน 6. การวางแผนงบประมาณครอบคลุมค่าใช้จ่ายทุก หมวดรายการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการอย่าง เหมาะสม 7. การบริหารเงินงบประมาณด้วยความโปร่งใส ตรวจสอบได้ 8. ได้รับการอานวยความสะดวกในการเบิก จ่ายเงินจากมหาวิทยาลัยฯตามระบบ 9. การควบคุมการใช้งบประมาณเพื่อการ จัดบริการวิชาการอย่างเหมาะสม 10. การรายงานประเมินผลการใช้จ่ายงบประมาณ ได้ถูกต้องตามระเบียบของมหาวิทยาลัยฯ

5

สภาพปัญหา 4 3 2

1


127

ข้อ

ปัญหาในทางปฏิบัติ

5

สภาพปัญหา 4 3 2

1

ด้านการบริหารวัสดุ อุปกรณ์ 11. การวางแผนการใช้วัสดุ ทรัพยากรประเภท ต่างๆสาหรับการจัดบริการวิชาการอย่าง เหมาะสม 12. สามารถใช้วัสดุ อุปกรณ์ สาหรับจัดบริการ วิชาการได้อย่างคุม้ ค่า 13. ได้รับการอานวยความสะดวกในการเบิกจ่าย วัสดุ ทรัพยากรต่างๆ อย่างรวดเร็ว 14. การควบคุมการใช้วัสดุ อุปกรณ์สาหรับการ จัดบริการอย่างเหมาะสม 15. การรายงานประเมินผลหรือส่งคืนการใช้วัสดุ ทรัพยากรสาหรับการจัดบริการอย่างเหมาะสม ด้านการบริหารจัดการ 16. การออกแบบขั้นตอนการปฏิบัติงานของการ จัดบริการวิชาการที่ครอบคลุมทุกภาระงาน อย่างชัดเจน 17. กาหนดรายละเอียดของภาระงานการจัดบริการ วิชาการให้แก่ผู้รับผิดชอบแต่ละคนอย่างชัดเจน 18. การกาหนดผู้ประสานงานที่ชัดเจนในการ จัดบริการวิชาการ 19. การสื่อสารข้อมูลที่ชัดเจนภายในหลักสูตรใน การจัดบริการวิชาการ 20. มาตรการป้องกันความเสี่ยงจากการจัดบริการ วิชาการ 21. การนาข้อมูลจากการจัดโครงการครั้งที่ผ่านมา ไปปรับปรุงการจัดโครงการครั้งต่อไป

ตอนที่ 5 ท่านมีข้อเสนอแนะอะไรบ้างเพื่อหาแนวทางการส่งเสริมและสนับสนุนการจัดบริการ วิชาการแก่สังคมแบบมีรายได้ ในหลักสูตร คณะวิชา ที่ท่านสังกัด ............................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... ..... ขอขอบคุณที่ให้ความร่วมมือในการตอบแบบสอบถาม


128

ภาคผนวก ข. ค่าดัชนีความสอดคล้อง Index of congruency : IOC ของเครื่องมือวิจัย


129

ค่าดัชนีความสอดคล้อง Index of congruency : IOC ของเครื่องมือวิจัย ที่ประเมินโดยผู้ทรงคุณวุฒิ จานวน 3 คน 1. ค่าดัชนีความสอดคล้องของความคิดเห็นเกี่ยวกับความคิดเห็นเกี่ยวกับกลยุทธ์การตลาดของหลักสูตร คณะวิชา ที่สนับสนุนการจัดบริการวิชาการแก่สังคมแบบมีรายได้

รายการประเมิน

ด้านผลิตภัณฑ์ 1. กำหนดหัวข้อ/ธีม (Theme) ของกำรจัดบริกำรที่ สร้ำงสรรค์และทันสมัยสอดคล้องกับสถำนกำรณ์กำร เปลี่ยนแปลงขององค์ควำมรู้ด้ำนวิทยำศำสตร์ สุขภำพ 2. มีกำรบูรณำกำรของควำมรู้แบบสหสำขำวิชำในกำร จัดบริกำร 3. ใช้รูปแบบกำรจัดบริกำรทีผ่ สมผสำน เช่น กำรฝึก ปฏิบัติกำร กำรศึกษำดูงำน กำรประชุมวิชำกำร กำรถอดบทเรียน เป็นต้น 4. ผู้ใช้บริกำรมีแนวทำงกำรประยุกต์องค์ควำมรู้ที่ได้รับ จำกกำรจัดบริกำรไปใช้ในหน่วยงำนที่สังกัด 5. มีกำรวิเครำะห์กลุ่มเป้ำหมำยเพื่อนำมำออกแบบ โครงกำรบริกำรวิชำกำรที่จะจัดขึน้ 6. มีหน่วยคะแนนนับจำกองค์กรวิชำชีพเพื่อสร้ำงจุด สนใจ 7. นำเสนอภำพลักษณ์วิทยำกรที่มีควำมเป็นมืออำชีพ ด้านราคา 8. กำหนดค่ำใช้จ่ำยกำรจัดบริกำรอย่ำงเหมำะสมโดย เปรียบเทียบรำคำกับคู่แข่งขัน 9. วิเครำะห์ค่ำใช้จ่ำยกำรจัดบริกำรอย่ำงคุ้มค่ำคุ้มทุน 10. แสดงรำยกำรค่ำใช้จ่ำยอย่ำงเปิดเผย เพื่อสื่อสำร ข้อมูลที่ชัดเจนแก่ผู้ใช้บริกำร 11. มีกลยุทธ์สิทธิพิเศษด้ำนรำคำ เช่น จ่ำยก่อนได้ ส่วนลด มำเป็นกลุ่มได้ส่วนลด ศิษย์เก่ำได้ส่วนลด เป็นต้น เพื่อดึงดูดควำมสนใจ 12. มีช่องทำงกำรชำระเงินแบบออนไลน์/ดิจิทัลอำนวย ควำมสะดวกในกำรชำระเงิน

คะแนนการพิจารณา ของผู้เชี่ยวชาญคนที่

ผลรวม ของ คะแนน ความ คิดเห็น

IOC

แปล ผล

1

2

3

1

1

1

3

1

ใช้ได้

1

1

1

3

1

ใช้ได้

1

1

1

3

1

ใช้ได้

1

1

1

3

1

ใช้ได้

1

1

1

3

1

ใช้ได้

1

1

1

3

1

ใช้ได้

1

0

1

2

0.67

ใช้ได้

1

1

1

3

1

ใช้ได้

1 1

1 1

1 1

3 3

1 1

ใช้ได้ ใช้ได้

1

1

1

3

1

ใช้ได้

1

1

1

3

1

ใช้ได้

ข้อ เสนอ แนะ


130

รายการประเมิน

ด้านช่องทางการจัดจาหน่าย 13. กำหนดผูร้ ับผิดชอบ และสถำนที่ในกำรติดต่อ ประสำนงำนอย่ำงชัดเจน 14. วำงระบบบริกำรติดต่อที่มีประสิทธิภำพโดยใช้ บริกำรแบบจุดเดียวเบ็ดเสร็จ (One-Stop-Service) 15. มีเอกสำร/ข้อมูลกำรจัดบริกำรที่มรี ำยละเอียดและ แสดงถึงเงื่อนไข ข้อตกลงในกำรใช้บริกำรอย่ำง โปร่งใสชัดเจนแก่ผู้ใช้บริกำร 16. มีกำรให้ข้อมูลกำรจัดบริกำรวิชำกำรอย่ำงทั่วถึงแก่ กลุ่มเป้ำหมำย ด้านการส่งเสริมการตลาด 17. สร้ำงแบรนด์กำรบริกำรวิชำกำรด้ำนสุขภำพที่เป็น สัญลักษณ์ของมหำวิทยำลัยฯ 18. ใช้สื่อออนไลน์ เช่น Facebook Line Blog Instargram Youtube เป็นเครื่องดึงดูดควำมสนใจ 19. ใช้สื่อบุคคลที่เคยมำใช้บริกำรเพื่อบอกต่อ (Word of Mouth Marketing) 20. ใช้เครือข่ำยองค์กรสุขภำพที่มีกำรตกลงควำมร่วมมือ อย่ำงเป็นทำงกำรและไม่เป็นทำงกำรเพื่อสื่อสำร ข้อมูล 21. ใช้เครือข่ำยศิษย์เก่ำช่วยสนับสนุนขยำยข้อมูล ข่ำวสำรกำรจัดบริกำรวิชำกำร 22. กำรจัดทำ Website หรือ Blog ประชำสัมพันธ์กำร จัดโครงกำรโดยเฉพำะ ด้านบุคคล 23. มอบหมำยอำจำรย์หรือพนักงำนที่รับผิดชอบในกำร ประสำนงำนกำรจัดบริกำรให้สอดคล้องกับควำมรู้ ควำมสำมำรถ 24. ส่งเสริมแนวคิดกำรสร้ำงควำมประทับใจในกำรจัดบริกำรแก่ หลักสูตรและคณะวิชำ 25. เปิดโอกำสให้อำจำรย์และพนักงำนสร้ำงสรรค์ แนวคิดใหม่ๆในกำรจัดบริกำร 26. อำจำรย์และพนักงำนสำมำรถร่วมกันวิเครำะห์ ปัญหำเฉพำะหน้ำในกำรจัดบริกำรได้อย่ำงเหมำะสม 27. มอบหมำยอำจำรย์และพนักงำนที่มีบุคลิกภำพและ มนุษยสัมพันธ์ที่ดีในกำรจัดบริกำรวิชำกำร

คะแนนการพิจารณา ของผู้เชี่ยวชาญคนที่

ผลรวม ของ คะแนน ความ คิดเห็น

IOC

แปล ผล

1

2

3

1

1

1

3

1

ใช้ได้

1

1

1

3

1

ใช้ได้

1

1

1

3

1

ใช้ได้

0

1

1

2

0.67

ใช้ได้

1

0

1

2

0.67

ใช้ได้

1

1

1

3

1

ใช้ได้

1

1

1

3

1

ใช้ได้

1

0

1

2

0.67

ใช้ได้

1

0

1

2

0.67

ใช้ได้

1

1

1

3

1

ใช้ได้

1

1

0

2

0.67

ใช้ได้

1

1

1

3

1

ใช้ได้

1

1

1

3

1

ใช้ได้

1

0

1

2

0.67

ใช้ได้

1

1

1

3

1

ใช้ได้

ข้อ เสนอ แนะ


131

รายการประเมิน

ด้านลักษณะทางกายภาพ 28. คัดเลือกสถำนที่จัดบริกำรที่เดินทำงสะดวก สอดคล้องกับควำมต้องกำรของผู้ใช้บริกำร หน่วยงำน องค์กร และชุมชน 29. จัดกำรต้อนรับทั้งก่อนและหลังกำรเข้ำร่วมอย่ำงเป็น ระบบเพื่อสร้ำงควำมประทับใจ 30. สร้ำงบรรยำกำศระหว่ำงกำรจัดบริกำรด้วยทำที อบอุ่น เป็นกันเอง และควำมรูส้ ึกเป็นหนึ่งเดียว 31. จัดอุปกรณ์สิ่งอำนวยควำมสะดวก เช่น โสตทัศนูปกรณ์ เทคโนโลยีกำรสื่อสำรอย่ำงมี ประสิทธิภำพ ด้านกระบวนการ 32. มีกำรปฏิบตั ิตำมระเบียบปฏิบัติกำรจัดบริกำรที่ มหำวิทยำลัยฯกำหนด 33. แบ่งภำระหน้ำทีร่ ับผิดชอบให้แก่อำจำรย์ในกำร จัดบริกำรอย่ำงเท่ำเทียม 34. มีกำรออกแบบและวำงแผนงำนกำรจัดบริกำรที่ช่วย ลดขั้นตอน โดยกำรบูรณำกำรงำนเข้ำด้วยกัน 35. มีแผนหลักและกำรแผนทำงเลือกอื่นๆเพื่อป้องกัน ควำมเสีย่ งระหว่ำงกำรจัดบริกำรวิชำกำร 36. รับฟังควำมต้องกำร ข้อเสนอแนะของผู้ใช้บริกำร และติดตำมผล ตอบสนองอย่ำงเหมำะสมและ รวดเร็วเพื่อให้เกิดควำมประทับใจต่อผู้ใช้บริกำร

คะแนนการพิจารณา ของผู้เชี่ยวชาญคนที่

ผลรวม ของ คะแนน ความ คิดเห็น

IOC

แปล ผล

1

2

3

1

1

1

3

1

ใช้ได้

1

1

0

2

0.67

ใช้ได้

1

0

1

2

0.67

ใช้ได้

1

1

1

3

1

ใช้ได้

1

1

1

3

1

ใช้ได้

1

1

1

3

1

ใช้ได้

1

1

0

2

0.67

ใช้ได้

1

1

1

3

1

ใช้ได้

1

1

1

3

1

ใช้ได้

ข้อ เสนอ แนะ

2. ค่าดัชนีความสอดคล้องของความคิดเห็นเกี่ยวกับสภาพปัญหาของการจัดบริการวิชาการแก่สังคมแบบ มีรายได้ของหลักสูตร คณะวิชา ในทางทฤษฎี

รายการประเมิน

คะแนนการพิจารณา ของผู้เชี่ยวชาญคนที่

ผลรวม ของ คะแนน ความ คิดเห็น

1 2 3 ด้านการบูรณาการการจัดการบริการวิชาการแก่สังคมกับการจัดการเรียนการสอนและการวิจัย 1. เข้ำใจเกี่ยวกับกำรเชื่อมโยงเนื้อหำสำระของรำยวิชำ 1 1 1 3 ที่จะใช้ในกำรบูรณำกำรกับกำรจัดบริกำรวิชำกำร

IOC

แปล ผล

1

ใช้ได้

ข้อ เสนอ แนะ


132

รายการประเมิน

2.

คะแนนการพิจารณา ของผู้เชี่ยวชาญคนที่ 1 1

ท่ำนสำมำรถกำหนดกิจกรรมให้นกั ศึกษำร่วมคิด วำงแผน และกำหนดบทบำทตนเองในกำรจัดบริกำร วิชำกำร 3. กำหนดวัตถุประสงค์ของกำรบูรณำกำรจัดกำรเรียน 1 กำรสอนกับกำรให้บริกำรสอดคล้องกับเนื้อหำ รำยวิชำและสิ่งที่จะใช้วัดควำมรู้ ควำมเข้ำใจของ นักศึกษำ 4. สำมำรถวิเครำะห์ปัญหำ หรือโจทย์ที่เป็นประเด็น 1 สำคัญระหว่ำงกำรจัดบริกำรวิชำกำรเพื่อนำไปสู่กำร พัฒนำโครงกำรวิจัย 5. สำมำรถนำควำมรู้และประสบกำรณ์จำกกำรบริกำร 1 วิชำกำรต่อยอด สร้ำงควำมรู้ใหม่ผำ่ น กระบวนกำรวิจยั ด้านการพัฒนาคุณภาพกระบวนการให้บริการวิชาการ 6. มีควำมรู้ควำมเข้ำใจอย่ำงชัดเจนในหลักกำรและ 1 เกณฑ์กำรประกันคุณภำพด้ำนกำรให้บริกำรวิชำกำร แก่สังคมของ สกอ./สมศ. 7. กำรประเมินควำมต้องกำรหรือควำมจำเป็นเพื่อให้ 1 ได้มำซึ่งกลุ่ม เป้ำหมำยที่แน่นอนก่อนกำรจัดบริกำร วิชำกำรของหลักสูตร คณะวิชำ 8. สร้ำงและขยำยเครือข่ำยกำรให้บริกำรวิชำกำรกับ 1 หน่วยงำน องค์กร สถำนประกอบกำรและชุมชน ภำยนอกอย่ำงต่อเนื่อง 9. หลักสูตรทีส่ ังกัดมีกำรเชื่อมโยงกำรให้บริกำรกับศูนย์ 0 ควำมเป็นเลิศของมหำวิทยำลัยฯ 10. หลักสูตรทีส่ ังกัดจัดบริกำรอย่ำงมีทิศทำงตำม 1 เอกลักษณ์ของหลักสูตรโดยดำเนินงำนตำมวรจร คุณภำพ (PDCA) 11. หลักสูตรทีส่ ังกัดมีกำรทำงำนเป็นทีมร่วมกันในกำร 1 จัดบริกำรวิชำกำร ด้านการประเมินผลประโยชน์/ผลกระทบของการจัดบริการวิชาการ 12. หลักสูตรทีส่ ังกัดกำหนดให้มีกำรประเมินผล 0 ควำมสำเร็จของกำรจัดบริกำรแบบ 360 องศำ ทั้ง นักศึกษำ อำจำรย์ และผู้ใช้บริกำร

ผลรวม ของ คะแนน ความ คิดเห็น

IOC

แปล ผล

2

0.67

ใช้ได้

2 1

3 0

1

1

3

1

ใช้ได้

1

1

3

1

ใช้ได้

1

1

3

1

ใช้ได้

1

1

3

1

ใช้ได้

1

1

3

1

ใช้ได้

1

1

3

1

ใช้ได้

1

1

2

0.67

ใช้ได้

1

1

3

1

ใช้ได้

1

1

3

1

ใช้ได้

1

1

2

0.67

ใช้ได้

ข้อ เสนอ แนะ


133

รายการประเมิน

13. สำมำรถใช้เทคนิคต่ำงๆในกำรประเมินผล ควำมสำเร็จของกำรจัดบริกำรได้ตรงตำม วัตถุประสงค์ 14. หลักสูตรทีส่ ังกัดจัดให้มีกำรประเมินผลกระทบของ ผู้ใช้บริกำร ภำยหลังจำกกำรจัดบริกำรและนำข้อมูล ย้อนกลับไปปรับปรุงกำรจัดบริกำร กำรทำวิจัย และ กำรจัดกำรเรียนกำรสอน 15. หลักสูตรทีส่ ังกัดมีกำรนำแนวปฏิบตั ิที่ดีไปส่งเสริม กำรดำเนินงำนในขั้นตอนกำรจัดบริกำร กำรจัดกำรเรียนกำรสอน และกำรทำวิจัย 16. ประเมินตัวเองเกี่ยวกับจุดแข็ง หรือจุดที่ต้องพัฒนำ ในกำรจัดบริกำรวิชำกำร

คะแนนการพิจารณา ของผู้เชี่ยวชาญคนที่

ผลรวม ของ คะแนน ความ คิดเห็น

IOC

แปล ผล

3

1

ใช้ได้

1 1

2 1

3 1

1

1

1

3

1

ใช้ได้

1

1

1

3

1

ใช้ได้

1

1

1

3

1

ใช้ได้

ข้อ เสนอ แนะ

3. ค่าดัชนีความสอดคล้องของความคิดเห็นเกี่ยวกับสภาพปัญหาของการจัดบริการวิชาการแก่สังคมแบบ มีรายได้ของหลักสูตร คณะวิชา ในทางปฏิบัติ

รายการประเมิน

ด้านการบริหารคน 1. มีกำรมอบหมำยภำระงำนกำรจัดบริกำรวิชำกำรให้ ผู้รับผิดชอบอย่ำงเหมำะสม 2. ได้รับอำนำจในกำรตัดสินใจดำเนินกำรในกำร จัดบริกำรวิชำกำร 3. ผู้บริหำรเปิดโอกำสให้สำมำรถเสนอแนวคิด และมี กำรยอมรับฟังควำมคิดเห็นของท่ำนในกำร จัดบริกำรของหลักสูตร 4. ผู้บริหำรจัดคณะกรรมกำรดำเนินโครงกำรบริกำร วิชำกำรแต่ละโครงกำร ได้อย่ำงเหมำะสม 5. ผู้บริหำรและท่ำนมีส่วนร่วมแก้ไขปัญหำเฉพำะ หน้ำที่เกิดขึ้นจำกกำรจัดบริกำรวิชำกำรของ หลักสูตร

คะแนนการพิจารณา ของผู้เชี่ยวชาญคนที่

ผลรวม ของ คะแนน ความ คิดเห็น

IOC

แปล ผล

1

2

3

1

0

1

2

0.67

ใช้ได้

1

0

1

2

0.67

ใช้ได้

1

0

1

2

0.67

ใช้ได้

1

0

1

2

0.67

ใช้ได้

1

0

1

2

0.67

ใช้ได้

ข้อ เสนอ แนะ


134

รายการประเมิน

ด้านการบริหารเงิน 6. หลักสูตรทีส่ ังกัดมีกำรวำงแผนงบประมำณ ครอบคลุมค่ำใช้จ่ำยทุกหมวดรำยกำรเพื่อสนับสนุน กำรจัดบริกำรอย่ำงเหมำะสม 7. หลักสูตรทีส่ ังกัดมีกำรบริหำรเงินงบประมำณด้วย ควำมโปร่งใส ตรวจสอบได้ 8. หลักสูตรทีส่ ังกัดได้รับกำรอำนวยควำมสะดวกใน กำรเบิกจ่ำยเงินจำกมหำวิทยำลัยฯตำมระบบ 9. หลักสูตรทีส่ ังกัดควบคุมกำรใช้งบประมำณเพื่อกำร จัดบริกำรวิชำกำรอย่ำงเหมำะสม 10. หลักสูตรทีส่ ังกัดมีกำรรำยงำนประเมินผลกำรใช้จ่ำย งบประมำณได้ถูกต้องตำมระเบียบของ มหำวิทยำลัยฯ ด้านการบริหารวัสดุ อุปกรณ์ 11. หลักสูตรทีส่ ังกัดวำงแผนกำรใช้วัสดุ ทรัพยำกร ประเภทต่ำงๆสำหรับกำรจัดบริกำรวิชำกำรอย่ำง เหมำะสม 12. หลักสูตรทีส่ ังกัดสำมำรถใช้วัสดุ อุปกรณ์ สำหรับ จัดบริกำรวิชำกำรได้อย่ำงคุ้มค่ำ 13. ได้รับกำรอำนวยควำมสะดวกในกำรเบิกจ่ำยวัสดุ ทรัพยำกรต่ำงๆ อย่ำงรวดเร็ว 14. หลักสูตรทีส่ ังกัดมีกำรควบคุมกำรใช้วัสดุ อุปกรณ์ สำหรับกำรจัดบริกำรอย่ำงเหมำะสม 15. หลักสูตรทีส่ ังกัดมีกำรรำยงำนประเมินผลหรือส่งคืน กำรใช้วสั ดุ ทรัพยำกรสำหรับกำรจัดบริกำรอย่ำง เหมำะสม ด้านการบริหารจัดการ 16. หลักสูตรทีส่ ังกัดมีกำรออกแบบขัน้ ตอนกำร ปฏิบัติงำนของกำรจัดบริกำรวิชำกำรที่ครอบคลุมทุก ภำระงำนอย่ำงชัดเจน 17. หลักสูตรทีส่ ังกัดกำหนดรำยละเอียดของภำระงำน กำรจัดบริกำรวิชำกำรให้แก่ผู้รับผิดชอบแต่ละคน อย่ำงชัดเจน 18. หลักสูตรทีส่ ังกัดมีกำรกำหนด ผู้ประสำนงำนที่จัดเจนในกำรจัดบริกำรวิชำกำร

คะแนนการพิจารณา ของผู้เชี่ยวชาญคนที่

ผลรวม ของ คะแนน ความ คิดเห็น

IOC

แปล ผล

1

2

3

1

1

1

3

1

ใช้ได้

1

1

1

3

1

ใช้ได้

1

1

1

3

1

ใช้ได้

1

1

1

3

1

ใช้ได้

1

1

1

3

1

ใช้ได้

1

1

1

3

1

ใช้ได้

1

1

1

3

1

ใช้ได้

1

1

1

3

1

ใช้ได้

1

1

1

3

1

ใช้ได้

1

1

1

3

1

ใช้ได้

1

1

1

3

1

ใช้ได้

1

1

1

3

1

ใช้ได้

1

1

1

3

1

ใช้ได้

ข้อ เสนอ แนะ


135

รายการประเมิน

19. มีกำรสื่อสำรข้อมูลที่ชัดเจนภำยในหลักสูตรในกำร จัดบริกำรวิชำกำร 20. หลักสูตรทีส่ ังกัดมีมำตรกำรป้องกันควำมเสีย่ งจำก กำรจัดบริกำรวิชำกำร 21. มีกำรนำข้อมูลจำกกำรจัดโครงกำรครั้งที่ผ่ำนมำไป ปรับปรุงกำรจัดโครงกำรครั้งต่อไป

คะแนนการพิจารณา ของผู้เชี่ยวชาญคนที่

ผลรวม ของ คะแนน ความ คิดเห็น

IOC

แปล ผล

3

1

ใช้ได้

ข้อ เสนอ แนะ

1 1

2 1

3 1

1

1

1

3

1

ใช้ได้

1

1

1

3

1

ใช้ได้

IOC

แปล ผล

ข้อ เสนอ แนะ

1

ใช้ได้

-

1

ใช้ได้

-

1

ใช้ได้

-

1

ใช้ได้

-

1

ใช้ได้

-

1

ใช้ได้

-

ค่าเฉลี่ย IOC = (1X56) + (0.67x17)/73 = 67.39/73 = 0.92 4. ค่าดัชนีความสอดคล้องของคาถามที่ใช้ในการสัมภาษณ์

รายการประเมิน

1.

คะแนนการพิจารณา ของผู้เชี่ยวชาญคนที่ 1 1

2 1

3 1

ผลรวม ของ คะแนน ความ คิดเห็น

ท่ำนวิเครำะห์สถำนกำรณ์กำรแข่งขันกำรจัดบริกำร 3 วิชำกำรแก่สังคมของสถำบันอุดมศึกษำแห่งอื่นๆที่มี กำรจัดหลักสูตรเดียวกับหลักสูตรท่ำน เกี่ยวกับ ทิศทำงและรูปแบบกำรจัดบริกำรเป็นอย่ำงไร 2. ท่ำนวิเครำะห์จุดแข็ง และจุดที่ต้องพัฒนำปรับปรุง 1 1 1 3 ของหลักสูตรท่ำนในกำรจัดบริกำรวิชำกำรแก่สังคม แบบมีรำยได้เป็นอย่ำงไร 3. สภำพปัญหำกำรจัดบริกำรวิชำกำรแก่สังคมแบบมีรำยได้ของหลักสูตรที่ท่ำนสังกัด 3.1 ปัญหำในทำงทฤษฎี ประกอบด้วยประเด็นย่อย 3 ประเด็น ได้แก่ 3.1.1 ปัญหำในกำรเชื่อมโยงกำรจัดบริกำร 1 1 1 3 วิชำกำรแก่สังคมกับกำรจัดกำรเรียนกำรสอน และ กำรทำวิจัย 3.1.2 ปัญหำในกำรพัฒนำคุณภำพกระบวนกำร 1 1 1 3 ให้บริกำรวิชำกำรแก่สังคม 3.1.3 ปัญหำเกี่ยวกับกำรประเมินผลกระทบ/ 1 1 1 3 กำรใช้ประโยชน์จำกกำรจัดบริกำรวิชำกำรแก่สังคม 3.2 ปัญหำในทำงปฏิบัติ จำกกำรบริหำรทรัพยำกร ประกอบด้วยประเด็นย่อย 4 ประเด็น ได้แก่ 3.2.1 กำรบริหำรคน 1 1 1 3


136

รายการประเมิน

4. 5. 6.

3.2.2 กำรบริหำรเงิน 3.2.3 กำรบริหำรวัสดุ อุปกรณ์/ทรัพยำกร 3.2.3 กำรบริหำรจัดกำร หลักสูตรของท่ำนมีแผนกำรจัดบริกำรวิชำกำรแก่ สังคมแบบมีรำยได้อย่ำงไรบ้ำงในอนำคต ทั้งในระยะ สั้นและระยะยำว กลยุทธ์ของหลักสูตรที่จะใช้ดำเนินกำรจัดบริกำร วิชำกำรแก่สังคมแบบมีรำยได้ เพือ่ ให้ได้ กลุ่มเป้ำหมำยตำมที่กำหนดไว้เป็นอย่ำงไร หลักสูตรของท่ำนมีควำมต้องกำรปัจจัยสนับสนุน อะไรจำกมหำวิทยำลัยฯเพื่อให้กำรจัดบริกำร วิชำกำรแก่สังคมแบบ มีรำยได้ เป็นไปตำมเป้ำหมำยที่กำหนด

ค่าเฉลี่ย IOC = (1X12)/12 = 12/12 = 1

คะแนนการพิจารณา ของผู้เชี่ยวชาญคนที่

ผลรวม ของ คะแนน ความ คิดเห็น

IOC

แปล ผล

ข้อ เสนอ แนะ

3 3 3 3

1 1 1 1

ใช้ได้ ใช้ได้ ใช้ได้ ใช้ได้

-

1 1 1 1 1

2 1 1 1 1

3 1 1 1 1

1

1

1

3

1

ใช้ได้

-

1

1

1

3

1

ใช้ได้

-


137

ภาคผนวก ค. ค่าความเชื่อมั่นของเครื่องมือวิจัย


138

ค่าความเชื่อมั่นของเครื่องมือวิจัย แสดงค่าสหสัมพันธ์ของคะแนนแต่ละข้อความกับข้อความทั้งหมด (ค่า Corrected Item- Total Correlation และค่า Alpha if Item Deleted ) 1. กลยุทธ์ทางการตลาดที่สนับสนุนการจัดบริการวิชาการแก่สังคมแบบมีรายได้ 1.1 ด้านผลิตภัณฑ์ ข้อ Corrected Item- Cronbach’s Alpha Alpha คาถาม Total Correlation if Item Deleted 1 .649 .759 2 .519 .798 3 .614 .770 4 .549 .792 5 .672 .752 6 .652 .816 7 .752 .824 Reliability Coefficients 5 items Cronbach’s Alpha = .811

1.3 ด้านช่องทางการจัดจาหน่าย ข้อ Corrected Item- Cronbach’s Alpha Alpha คาถาม Total Correlation if Item Deleted 1 .628 .701 2 .656 .729 3 .684 .663 4 .457 .784 Reliability Coefficients 4 items Cronbach’s Alpha = .775

1.5 ด้านบุคคล ข้อ Corrected Item- Cronbach’s Alpha Alpha คาถาม Total Correlation if Item Deleted 1 .715 .905 2 .735 .901 3 .793 .891 4 .875 .871 5 .781 .893 Reliability Coefficients 5 items Cronbach’s Alpha = .912

1.2 ด้านราคา ข้อ Corrected Item- Cronbach’s Alpha Alpha คาถาม Total Correlation if Item Deleted 1 .541 .847 2 .711 .800 3 .684 .807 4 .700 .803 Reliability Coefficients 5 items Cronbach’s Alpha = .846

1.4 ด้านการส่งเสริมการตลาด ข้อ Corrected Item- Cronbach’s Alpha Alpha คาถาม Total Correlation if Item Deleted 1 .605 .857 2 .630 .852 3 .802 .820 4 .645 .852 5 .669 .846 6 .668 .846 Reliability Coefficients 6 items Cronbach’s Alpha = .868

1.6 ด้านลักษณะทางกายภาพ ข้อ Corrected Item- Cronbach’s Alpha Alpha คาถาม Total Correlation if Item Deleted 1 .823 .903 2 .887 .889 3 .844 .898 4 .738 .919 Reliability Coefficients 5 items Cronbach’s Alpha = .924


139

1.7 ด้านกระบวนการ ข้อ Corrected Item- Cronbach’s Alpha Alpha คาถาม Total Correlation if Item Deleted 1 .724 .862 2 .840 .834 3 .723 .861 4 .693 .867 5 .647 .878 Reliability Coefficients 5 items Cronbach’s Alpha = .885

2. สภาพปัญหาของการจัดบริการวิชาการแก่สังคมแบบมีรายได้ในเชิงทฤษฎี 2.1 ด้านการบูรณาการการจัดการบริการวิชาการ ให้บริการวิชาการแก่สังคมกับการจัดการเรียนการสอน และการวิจัย ข้อ Corrected Item- Cronbach’s Alpha Alpha คาถาม Total Correlation if Item Deleted 1 .733 .922 2 .890 .893 3 .923 .884 4 .860 .898 5 .636 .940 Reliability Coefficients 5 items Cronbach’s Alpha = .926

2.2 ด้านการพัฒนาคุณภาพกระบวนการ ข้อ คาถาม 1 2 3 4 5 6

Corrected Item- Cronbach’s Alpha Alpha Total Correlation if Item Deleted .491 .763 .448 .771 .485 .764 .701 .710 .632 .728 .512 .773 Reliability Coefficients 6 items Cronbach’s Alpha = .785

2.3 ด้านการประเมินผลประโยชน์/ผลกระทบของการจัดบริการวิชาการ ข้อ Corrected Item- Cronbach’s Alpha Alpha คาถาม Total Correlation if Item Deleted 1 .923 .952 2 .914 .954 3 .870 .961 4 .918 .953 5 .877 .961 Reliability Coefficients 5 items Cronbach’s Alpha = .965


140

3. สภาพปัญหาของการจัดบริการวิชาการแก่สังคมแบบมีรายได้จากการบริหารทรัพยากรการดาเนินงาน 3.1 ด้านการบริหารคน ข้อ Corrected Item- Cronbach’s Alpha Alpha คาถาม Total Correlation if Item Deleted 1 .849 .920 2 .798 .928 3 .868 .915 4 .912 .907 5 .744 .940 Reliability Coefficients 5 items Cronbach’s Alpha = .937

3.3 ด้านบริหารวัสดุ อุปกรณ์ ข้อ Corrected Item- Cronbach’s Alpha Alpha คาถาม Total Correlation if Item Deleted 1 .751 .899 2 .806 .888 3 .795 .890 4 .806 .888 5 .734 .903 Reliability Coefficients 5 items Cronbach’s Alpha =.913

3.2 ด้านการบริหารเงิน ข้อ Corrected Item- Cronbach’s Alpha Alpha คาถาม Total Correlation if Item Deleted 1 .859 .919 2 .737 .940 3 .891 .913 4 .840 .922 5 .852 .919 Reliability Coefficients 5 items Cronbach’s Alpha = .937

3.4 ด้านการบริหารจัดการ ข้อ Corrected Item- Cronbach’s Alpha Alpha คาถาม Total Correlation if Item Deleted 1 .729 .836 2 .708 .840 3 .746 .833 4 .790 .825 5 .539 .872 6 .522 .871 Reliability Coefficients 6 items Cronbach’s Alpha = 869


141

ภาคผนวก ง. เอกสารรับรองจริยธรรมการทาวิจัยในมนุษย์


142


143

ประวัติผู้วิจัย ชื่อ

นายอิทธิพร

ประวัติการศึกษา ปริญญาโท ปริญญาตรี

ตาแหน่งปัจจุบัน

ขาประเสริฐ

สังคมวิทยาและมานุษยวิทยามหาบัณฑิต (สังคมวิทยา) คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ครุศาสตรบัณฑิต (สังคมศึกษา) คณะครุศาสตร์ สถาบันราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา ศิลปศาสตรบัณฑิต (สารสนเทศศาสตร์) สานักวิชาศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช พนักงานมหาวิทยาลัยฯ สังกัดกลุ่มงานแผน ฝ่ายบริหารทั่วไป สานักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัยคริสเตียน

ผลงานทางวิชาการ สุพิศวง ธรรมพันทา และอิทธิพร ขาประเสริฐ. (2547) บทบาทของศูนย์การค้าต่อการมีส่วน ร่ ว มพั ฒ นาประชาคมกรุ ง เทพมหานคร พ.ศ.2546-2550. ทุ น สนั บ สนุ น จากสถาบั น ราชภั ฏ บ้านสมเด็จเจ้าพระยา. จิราภา วรเสียงสุข และอิทธิพร ขาประเสริฐ. (2551).การศึกษากระบวนการเคลื่อนไหวของ องค์กรชุมชนเพื่อปกป้องสิทธิ์ในการใช้พื้นที่ :กรณีศึกษาชุมชนชั้นกลาง แห่งหนึ่งในย่านเยาวราช. ทุน สนับสนุนจากคณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

Worasiangsuk, J and Khumprasert, I . (2011). How Middle Class Move to Defend Their Space : A Case Study of an Area in Chinatown. Thammasat

Review 2011 Vol. 14 No 1,p131-151 สุภัสสรา วิภากูล, นันทิดา แคน้อย และอิทธิพร ขาประเสริฐ. (2551). ความพึงพอใจของ นั ก ศึ ก ษาชั้ น ปี ที่ 1 มหาวิ ท ยาลั ย คริ ส เตี ย นที่ มี ต่ อ การให้ บ ริ ก ารการศึ ก ษา. ทุ น สนั บ สนุ น จาก มหาวิทยาลัย คริสเตียน. จันทร์จิรา วงษ์ขมทอง, สุภัสสรา วิภากูล, จุฑาทิพย์ ถาวรรัตน์, ชิษณุพงศ์ ทองพวง, อัชฌา ชื่นบุญ, อิทธิพร ขาประเสริฐ และสุจิรา อุ่นศิริ. (2552). โครงการวิจัยปฏิบัติการเพื่อพัฒนา รูปแบบและศักยภาพในการบริการที่เป็นเลิศของอาเภอในสังกัดกรมการปกครอง. ทุนสนับสนุนจาก กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย. ภูริ ทัต สิ ง หเสม, อิทธิ พร ขาประเสริฐ , สุ จิรา อุ่น ศิริ และวาสนา ตริต านนท์. (2552). ความคาดหวังต่อความมั่นคงในชีวิตของนักศึกษาระดับปริญญาตรีชั้นปีสุดท้าย สถาบันอุดมศึกษา ของรัฐ. ทุนสนับสนุนจากบริษัทไทยประกันชีวิต จากัด.


144

สุภัสสรา วิภากูล, นันทิดา แคน้อย และอิทธิพร ขาประเสริฐ. (2553). การศึกษาการมีส่วน ร่วมในการจัดทาแผนปฏิบัติการเชิงกลยุทธ์ประจาปีการศึกษาของบุคลากรมหาวิทยาลัยคริสเตียน. ทุนสนับสนุนจากมหาวิทยาลัยคริสเตียน. สุภัสสรา วิภากูล, นันทิดา แคน้อย, อิทธิพร ขาประเสริฐ, มณีวรรณ แก้มดุ และรัชเกล้า นนทะวงศ์. (2554). การพัฒนาคู่มือวิธีปฏิบัติในการให้บริการที่เป็นเลิศของส่วนงานสนับสนุนวิชาการ มหาวิทยาลัยคริสเตียน. ทุนสนับสนุนจากมหาวิทยาลัยคริสเตียน. อิทธิพร ขาประเสริ ฐ, สุภัสสรา วิภากูล และนันทิดา แคน้อย. (2555). ปัจจัยการเพิ่ม ประสิ ทธิภ าพในการนาแผนกลยุทธ์ไปสู่ การปฏิบัติของมหาวิทยาลัยคริสเตียน. ทุนสนับสนุนจาก มหาวิทยาลัยคริสเตียน. ไพศาล จัน ทรังษี, สุ ภ ไวศยารัทธ์, ชิษณุพงศ์ ทองพวง, อิทธิพร ขาประเสริฐ และสุจิรา อุ่นศิริ. (2555). การวิเคราะห์องค์ประกอบการบริการตามรูปแบบและศักยภาพการให้บริการที่เป็น เลิศของบุคลากรในสังกัดอาเภอ กรมการปกครอง. ทุนสนับสนุนจากมหาวิทยาลัยคริสเตียน. เบ็ ญจวรรณ พุทธิอังกูร , สุ ภัส สรา วิภากูล, นันทิดา แคน้อย และอิทธิพร ขาประเสริ ฐ . (2555). การกาหนดทิศทางของมหาวิทยาลัยคริสเตียนในการจัดการอุดมศึกษาในประชาคมเศรษฐกิจ อาเซียน. ทุนสนับสนุนจากมหาวิทยาลัยคริสเตียน. อิทธิพร ขาประเสริฐ. (2559). เรื่องเล่าจากร้านเอี้ยะเล่งฮึ้ง : ความเป็นมาและการให้บริการ ทางการแพทย์แผนจีนโบราณแห่งหนึ่ง ในอาเภอดาเนินสะดวก จังหวัดราชบุรี. ทุนวิจัยส่วนบุคคล. อิทธิพร ขาประเสริ ฐ , สุ ภัส สรา วิภ ากูล และนันทิดา แคน้อย. (2560). นวัตกรรมการ ให้บริการที่ส่งผลต่อการให้บริการที่เป็นเลิศของมหาวิทยาลัยเอกชนแห่งหนึ่งในจังหวัดนครปฐม. ทุน สนับสนุนจากมหาวิทยาลัยคริสเตียน. สุภัสสรา วิภากูล อิทธิพร ขาประเสริฐ และนันทิดา แคน้อย. (2561). ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ ต่อความสาเร็จในการดาเนินโครงการอย่างมีประสิทธิผลของมหาวิทยาลัยเอกชนแห่งหนึ่งในจังหวัด นครปฐม. ทุนสนับสนุนจากมหาวิทยาลัยคริสเตียน. อิทธิพร ขาประเสริฐ. หลักคิดเบื้องต้นสาหรับการเขียนเอกสารโครงการในสถาบันอุดมศึกษา. วารสารวิชาการ ปขมท. ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 (มกราคม-เมษายน 2563) หน้า 45-56


145

ชื่อ

นางสุภัสสรา

ประวัติการศึกษา ปริญญาโท ปริญญาตรี ตาแหน่งปัจจุบัน

วิภากูล

การจัดการมหาบัณฑิต (การจัดการภาครัฐและเอกชน) บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยคริสเตียน ศิลปศาสตรบัณฑิต (รัฐศาสตร์) คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคาแหง ผู้ช่วยอธิการบดี มหาวิทยาลัยคริสเตียน กากับดูแลกลุ่มงานแผน อาจารย์ประจาหลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาเลขานุการทางการแพทย์ คณะสหวิทยาการ มหาวิทยาลัยคริสเตียน

ผลงานทางวิชาการ สุภัสสรา วิภากูล. (2546). การศึกษาปัญหาการปฏิบัติงานธุรการสารบรรณในมหาวิทยาลัย คริสเตียน ทุนสนับสนุนจากมหาวิทยาลัยคริสเตียน. สุภัสสรา วิภากูล, นันทิดา แคน้อย และอิทธิพร ขาประเสริฐ. (2551). ความพึงพอใจของ นั ก ศึ ก ษาชั้ น ปี ที่ 1 มหาวิ ท ยาลั ย คริ ส เตี ย นที่ มี ต่ อ การให้ บ ริ ก ารการศึ ก ษา . ทุ น สนั บ สนุ น จาก มหาวิทยาลัย คริสเตียน. จันทร์จิรา วงษ์ขมทอง, สุภัสสรา วิภากูล, จุฑาทิพย์ ถาวรรัตน์, ชิษณุพงศ์ ทองพวง, อัชฌา ชื่นบุญ, อิทธิพร ขาประเสริฐ และสุจิรา อุ่นศิริ. (2552). โครงการวิจัยปฏิบัติการเพื่อพัฒนา รูปแบบและศักยภาพในการบริการที่เป็นเลิศของอาเภอในสังกัดกรมการปกครอง. ทุนสนับสนุนจาก กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย. สุภัสสรา วิภากูล, นันทิดา แคน้อย และอิทธิพร ขาประเสริฐ. (2553). การศึกษาการมีส่วน ร่วมในการจัดทาแผนปฏิบัติการเชิงกลยุทธ์ประจาปีการศึกษาของบุคลากรมหาวิทยาลัยคริสเตียน. ทุนสนับสนุนจากมหาวิทยาลัยคริสเตียน. สุภัสสรา วิภากูล, นันทิดา แคน้อย, อิทธิพร ขาประเสริฐ, มณีวรรณ แก้ มดุ และรัชเกล้า นนทะวงศ์. (2554). การพัฒนาคู่มือวิธีปฏิบัติในการให้บริการที่เป็นเลิศของส่วนงานสนับสนุนวิชาการ มหาวิทยาลัยคริสเตียน. ทุนสนับสนุนจากมหาวิทยาลัยคริสเตียน. สุภัสสรา วิภากูล, มณีวรรณ แก้มดุ และรัชเกล้า นนทะวงศ์. (2555). การศึกษาพฤติกรรม การปฏิบัติงานที่มีประสิทธิผ ลของเจ้าหน้าที่สารบรรณ มหาวิทยาลัยคริสเตียน.ทุนสนับสนุนจาก มหาวิทยาลัยคริสเตียน. อิทธิพร ขาประเสริ ฐ, สุภัสสรา วิภากูล และนันทิดา แคน้อย. (2555). ปัจจัยการเพิ่ม ประสิ ทธิภ าพในการนาแผนกลยุทธ์ไปสู่ การปฏิบัติของมหาวิทยาลัยคริสเตีย น. ทุนสนับสนุนจาก มหาวิทยาลัยคริสเตียน.


146

เบ็ ญจวรรณ พุทธิอังกูร , สุ ภัส สรา วิภากูล, นันทิดา แคน้อย และอิทธิพร ขาประเสริฐ . (2555). การกาหนดทิศทางของมหาวิทยาลัยคริสเตียนในการจัดการอุดมศึกษาในประชาคมเศรษฐกิจ อาเซียน. ทุนสนับสนุนจากมหาวิทยาลัยคริสเตียน. อิทธิพร ขาประเสริ ฐ , สุ ภัส สรา วิภ ากูล และนันทิดา แคน้อย. (2560). นวัตกรรมการ ให้บริการที่ส่งผลต่อการให้บริการที่เป็นเลิศของมหาวิทยาลัยเอกชนแห่งหนึ่งในจังหวัดนครปฐม. ทุน สนับสนุนจากมหาวิทยาลัยคริสเตียน. สุภัสสรา วิภากูล อิทธิพร ขาประเสริฐ และนันทิดา แคน้อย. (2561). ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ ต่อความสาเร็จในการดาเนินโครงการอย่างมีประสิทธิผลของมหาวิทยาลัยเอกชนแห่งหนึ่งในจังหวัด นครปฐม. ทุนสนับสนุนจากมหาวิทยาลัยคริสเตียน. สุภัสสรา วิภ ากูล. คุณภาพการให้บริการที่เป็นเลิ ศกับความประทับใจของผู้ ใช้บริการใน สถาบัน อุดมศึกษา. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลั ยศิล ปากร. ปีที่ 16 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคมธันวาคม 2561) หน้า 20-33.


147

ชื่อ

นางสาวนันทิดา แคน้อย

ประวัติการศึกษา ปริญญาโท ปริญญาตรี ตาแหน่งปัจจุบัน

ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (รัฐศาสตร์) คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคาแหง ศิลปศาสตรบัณฑิต (รัฐศาสตร์) คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคาแหง พนักงานมหาวิทยาลัยฯ สังกัดกลุ่มงานแผน ฝ่ายบริหารทั่วไป สานักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัยคริสเตียน

ผลงานทางวิชาการ สุภัสสรา วิภากูล, นันทิดา แคน้อย และอิทธิพร ขาประเสริฐ. (2551). ความพึงพอใจของ นั ก ศึ ก ษาชั้ น ปี ที่ 1 มหาวิ ท ยาลั ย คริ ส เตี ย นที่ มี ต่ อ การให้ บ ริ ก ารการศึ ก ษา . ทุ น สนั บ สนุ น จาก มหาวิทยาลัย คริสเตียน. สุภัสสรา วิภากูล, นันทิดา แคน้อย และอิทธิพร ขาประเสริฐ. (2553). การศึกษาการมีส่วน ร่วมในการจัดทาแผนปฏิบัติการเชิงกลยุทธ์ประจาปีการศึกษาของบุคลากรมหาวิทยาลัยคริสเตียน. ทุนสนับสนุนจากมหาวิทยาลัยคริสเตียน. สุภัสสรา วิภากูล, นันทิดา แคน้อย, อิทธิ พร ขาประเสริฐ, มณีวรรณ แก้มดุ และรัชเกล้า นนทะวงศ์. (2554). การพัฒนาคู่มือวิธีปฏิบัติในการให้บริการที่เป็นเลิศของส่วนงานสนับสนุนวิชาการ มหาวิทยาลัยคริสเตียน. ทุนสนับสนุนจากมหาวิทยาลัยคริสเตียน. อิทธิพร ขาประเสริ ฐ, สุภัสสรา วิภากูล และนันทิดา แคน้อย. (2555). ปัจจัยการเพิ่ม ประสิ ทธิภ าพในการนาแผนกลยุทธ์ไปสู่ การปฏิบัติของมหาวิทยาลัยคริสเตียน. ทุนสนับสนุนจาก มหาวิทยาลัยคริสเตียน. เบ็ ญจวรรณ พุทธิอังกูร , สุ ภัส สรา วิภากูล, นันทิดา แคน้อย และอิทธิพร ขาประเสริฐ . (2555). การกาหนดทิศทางของมหาวิทยาลัยคริสเตียนในการจัดการอุดมศึกษาในประชาคมเศรษฐกิจ อาเซียน. ทุนสนับสนุนจากมหาวิทยาลัยคริสเตียน. อิทธิพร ขาประเสริ ฐ , สุ ภัส สรา วิภ ากูล และนันทิดา แคน้อย. (2560). นวัตกรรมการ ให้บริการที่ส่งผลต่อการให้บริการที่เป็นเลิศของมหาวิทยาลัยเอกชนแห่งหนึ่งในจังหวัดนครปฐม. ทุน สนับสนุนจากมหาวิทยาลัยคริสเตียน. ณพิชา ตัญญาชัย นันทิดา แคน้อย และนางสาวสรัญญา สุวรรณอัตถ์. (2560). ปัจจัยที่มี ความสัมพันธ์กับความสามารถการใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารของบุคลากรมหาวิทยาลัยเอกชน แห่งหนึ่ง ในจังหวัดนครปฐม.ทุนสนับสนุนจากมหาวิทยาลัยคริสเตียน. สุภัสสรา วิภากูล อิทธิพร ขาประเสริฐ และนันทิดา แคน้อย. (2561). ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ ต่อความสาเร็จในการดาเนินโครงการอย่างมีประสิทธิผลของมหาวิทยาลัยเอกชนแห่งหนึ่งในจังหวัด นครปฐม. ทุนสนับสนุนจากมหาวิทยาลัยคริสเตียน.


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.