ศาสนสถานสำคัญริมสองฝั่งคลองดำเนินสะดวก : การสำรวจเบื้องต้น

Page 1

1.

ำสนสถำนสำคัญ ริมสองฝั่งคลองดำเนินสะดวก : การสารวจเบื้องต้น อิทธิพร ขำประเสริฐ พ.ศ. 2561



คํานํา งานสํารวจศาสนสถานสําคัญริมสองฝงคลองดําเนินสะดวก เกิดขึ้นจากความสนใจของ ขา พเจา ที่มีตอคลองดํา เนินสะดวก เนื่องจากคลองสายนี้นับเปนคลองสายประวัติศาสตร ที่มี ความสําคัญในดานเศรษฐกิจ การเมือง สังคมและวัฒนธรรมมาแตอดีต ควรคาแกการศึกษา เรียนรู และประเด็นที่สําคัญไปกวานั้นคือการที่ขาพเจาไดเกิดและใชชีวิตอาศัยอยู ณ ริมคลอง แหง นี้ บริ เวณชุมชนปากคลองสะเดา หลัก 7 จนกระทั่ง เมื่อ 27 ปผานไปจึงไดยา ยมาอยูใน สถานที่แหงใหมริมถนนแทน ขาพเจาจึงมีความคุนเคยกับสถานที่สําคัญที่ตั้งอยูสองฝงคลองจาก การที่เคยไปในสถานที่เหลานั้นในโอกาสตางๆ และเคยสัญจรผานไปมา จึงเปนที่มาของการ แสวงหาขอมูลเกี่ ยวกับสถานที่สําคัญหลายแหงที่ตั้ง อยูริมสองฝงคลอง ซึ่ง ดานหนึ่งเปนการ ตอบสนองความตองการของตัวขาพเจาเอง และอีกดานหนึ่งคาดหวังวาจะเปนการเผยแพรขอมูล ในเรื่องราวเกี่ยวกับคลองดําเนินสะดวกใหแกผูที่สนใจ การสํารวจจึงมุงประเด็นไปที่ศาสนสถานที่สําคัญ ซึ่งถือเปนสัญลักษณหรือภาพสะทอน เรื่องราวของชุมชน ชีวิตทางสังคมและวัฒนธรรมในพื้นที่หลักตางๆ ตั้งแตบริเวณปากคลอง ดําเนินสะดวกดานทิศตะวันออกซึ่งเชื่อมตอกับแมน้ําทาจีนไปจนจรดดานทิศตะวันตกของคลองที่ เชื่อมตอกั บแมน้ํา แมก ลอง การสํารวจไดศึก ษาขอมูลจากแผนที่ภาพถ า ยดาวเทียมผา นทาง เว็บไซตกูเกิล เนื่องจากขอมูลในสื่อดัง กลาวเปนประโยชนอยา งมากในการระบุตําแหนงของ สถานที่และการมีภาพประกอบของศาสนสถานสําคัญแตละแหง รวมทั้งไดศึกษาขอมูลจากสื่อ สังคมออนไลนไดแก เฟสบุค อินสตราแกรม ของผูที่สนใจเผยแพรขอมูลในสถานที่นั้นๆ พรอมกัน นี้ไดมีก ารลงพื้นที่เพื่อสํา รวจศาสนสถานบางแหง ควบคูกั นไปดวยกรณีที่ไมปรากฏในแผนที่ ภาพถายดาวเทียม ขาพเจาไดคัดเลือกภาพที่สําคัญซึ่งเปนเอกลักษณของศาสนสถานแตละแหง และไดสรุปสาระสังเขปเกี่ยวกับศาสนสถานแตละแหงเพื่อเปนขอมูลใหไดศึกษาในเบื้องตนเทานั้น ทั้งนี้อันเนื่องมาจากขอจํากัดในดานเวลาสวนตัวของขาพเจา ข า พเจ า ขอขอบคุ ณ สื่ อ ออนไลน ทุ ก ประเภทที่ นํ า มาใช ใ นการสํ า รวจครั้ ง นี้ และ ขอขอบพระคุณเปนพิเศษสํา หรั บนายจรู ญ และนางอรุ ณี ขํา ประเสริ ฐ ผูเปน บิดามารดาของ ขาพเจาที่ขับรถพาไปยังศาสนสถานตางๆเพื่อเก็บภาพและสืบคนขอมูล ขาพเจาปรารถนาเปน อยางยิ่งวาการสํารวจครั้งนี้จะเปนสวนหนึ่งที่จะชวยแรงบันดาลใจแกผูที่สนใจเกี่ยวกับคลอง ดําเนินสะดวก รวมทั้งหนวยงานภาครัฐของจังหวัดสมุทรสาคร ราชบุรี และสมุทรสงครามที่มี พันธกิ จในการทํา นุบํา รุ ง ศิลปวัฒนธรรมทองถิ่ น รวมทั้ง องคก รชุมชนตา งๆไดชวยกั นขยาย พรมแดนความรู ของชุมชนสองฝง คลองดํา เนินสะดวกโดยเฉพาะการศึก ษาคนควา วิจัยเพื่ อ ประโยชนในทางวิชาการ ซึ่งจะเปนการรวบรวมขอมูลของพื้นที่ในมิติตางๆใหแกชุมชน รวมทั้งคน รุนหลังไดมีความเขาใจในบริบททางสังคมและวัฒนธรรมของพื้นที่แหงนี้อันจะนําไปสูการสราง ความตระหนักในคุณคาและการอนุรักษวิถีชีวิตชุมชนคลองดําเนินสะดวกตอไป


สารบัญ คํานํา………………………………………………………………………………………………………… สารบัญ…………………………………………………………………………………………………….. บทที่ 1

2

บทนํา..................................................................................................... ความสําคัญของคลองดําเนินสะดวก……………………………………………. ลักษณะทางกายภาพของคลองดําเนินสะดวก...................................... วิถีชีวิตทางสังคมและวัฒนธรรมของผูคนริมสองฝงคลอง ดําเนินสะดวก......................................................................................... ศาสนสถานสําคัญริมคลองดําเนินสะดวก : ชวงพื้นที่จังหวัดสมุทรสาคร................................................................. ศาลเจาอามาบางยาง............................................................................ วัดบางยาง............................................................................................. วัดสวนสม.............................................................................................. วัดหลักสองราษฎรบํารุง........................................................................ ศาลเจาแมกวนอิม................................................................................. วัดราษฎรศรัทธากะยาราม..................................................................... วัดธรรมจริยาภิรมย............................................................................... วัดใหมราษฎรนุกุล................................................................................. ศาลเจากิ่วเทียงเนี้ยว............................................................................. ศาลเจาอามาเทียงโหวเซี้ยบอ................................................................ วัดหลักสี่ราษฎรสโมสร.......................................................................... โรงเจไทเอ็กตัว๊ (ศาลเจาพอสําเร็จ)....................................................... ศาลเจาฉือปุยเนี้ย.................................................................................. ศาลเทพเจาแชหมิ่งเจียงคุณ.................................................................. วัดปทุมทองรัตนาราม............................................................................ ศาลเจาหลวงพอไตเสี่ย.......................................................................... ศาลเจาพอเขาตกทั้ง 5 ......................................................................... มูลนิธิแพรศีลธรรมการกุศลสงเคราะห เมงซวงเซี่ยงตั้ว....................... ข

หนา ก ข 1 1 4 7

23 24 25 26 27 28 29 30 31 32 33 34 35 36 37 38 39 40 41


หนา 3

ศาสนสถานสําคัญริมคลองดําเนินสะดวก : ชวงพื้นที่จังหวัดราชบุรี วัดปราสาทสิทธิ.์ .................................................................................... วัดพระแมสายประคํา โรงเรียนวันทามารีอา......................................... มูลนิธิตั้งสกุลการกุศล........................................................................... ศาลเจาเตียสีโจวซือ............................................................................... ศาลเจากิมเซี่ยงกง................................................................................. ศาลเจาพอเหงเจีย (ทีเซียนไตเสี่ย)........................................................ วัดหลักหกรัตนาราม.............................................................................. ศาลเจาพอหลักเมือง............................................................................. ศาลเจาทงเฮงตั๊ว................................................................................... ศาลเจาซิ้มโจวกง................................................................................... วิหารหลวงพอบานแหลม หลวงพอเขาตะเครา.................................... ศาลเจาซือ้ ฮกตั๊ว (ตั๊วแคะ)..................................................................... วัดอุบลวรรณาราม................................................................................ ศาลเจาจิ๋นเซงตั๊ว (วัดกั้ง)...................................................................... ศาลเจาแมธรณี (ตี่บอเนี้ย).................................................................... ศาลเจาฮีฮกตั๊ว....................................................................................... ศาลเจาซําปอกง..................................................................................... ศาลเจาหลวงปูตนไทร........................................................................... ศาลเจาทงจี้ตึ้ง (เจตึ้ง)........................................................................... ศาลเจาแมทับทิม (โผว-โตว) ................................................................ วัดราษฎรเจริญธรรม............................................................................. วัดโชติทายการาม.................................................................................. ศาลเจาพงไลยี่-ฮะอีตั้ว..........................................................................

43 44 45 46 47 48 49 50 51 52 53 54 55 56 57 58 59 60 61 62 63 64 65 66

4

ศาสนสถานสําคัญริมคลองดําเนินสะดวก : ชวงพื้นที่จังหวัดสมุทรสงคราม............................................................ วัดเจริญสุขารามวรวิหาร....................................................................... อาสนวิหารพระแมบังเกิด บางนกแขวก................................................

67 68 69


5

บทสรุปและขอเสนอแนะ......................................................................

หนา 70

บรรณานุกรม.........................................................................................

76


แผนผังแสดงตําแหนงที่ตั้งศาสนสถานสําคัญริมสองฝงคลองดําเนินสะดวกในชวงพื้นที่จังหวัดสมุทรสาคร

คลองสามัคคี ศาลเจาหลวงพอไตเสี่ย 16

วัดปทุมทอง รัตนาราม 15 ศาลเทพเจาแชหมิ่งเจียงคุณ

คลองสองหอง

คลองตัน 5

โรงเจไทเอ็กตั๊ว (ศาลเจาพอสําเร็จ)

ศาลเจา กิ่วเทียงเนี้ยง

ศาลเจาอามา เทียงโหวเซี้ยบอ

ศาลเจา ฉือปุยเนียะ

2

ศาลเจา แมกวนอิม

วัดใหมราษฎรนุกลุ

วัดหลักสองราษฎรบํารุง

12 10

9 1

14 13 7

วัดธรรมจริยาภิรมย มูลนิธแิ พรศีลธรรม การกุศลสงเคราะห เมงซวงเซี่ยงตั้ว 18

คลองออมใหญ

วัดบางยาง

4

8

แมน้ําทาจีน

ศาลเจาพอเขาตกทั้ง 5

17

คลองเจริญยิ่ง

คลองโรงเรียนยง

วัดสวนสม

วัดราษฎรศรัทธากะยาราม

3

ศาลเจา อามาบางยาง

6

วัดหลักสี่ราษฎรสโมสร 11

ศาสนสถานทั้งหมด จํานวน 18 แหง วัดในพระพุทธศาสนา จํานวน 8 แหง ศาลเจา

จํานวน 10 แหง


แผนผังแสดงตําแหนงที่ตั้งศาสนสถานสําคัญริมสองฝงคลองดําเนินสะดวกในชวงพื้นที่จังหวัดราชบุรี

คลองลัดราชบุรี 39

วัดราษฎรเจริญธรรม

41

ศาลเจา พงไลย-ี่ ฮะฮี่ตวั๊

32

คลองฮกเกี้ยน

ศาลเจา แมทับทิม

38

36

ศาลเจา หลวงปู ตนไทร

คลองวัดอุบลฯ

30

ศาลเจา ซําปอกง

วัดหลักหกรัตนาราม

มูลนิธิตั้งสกุลการกุศล

21

25

19 37

22

24

ศาลเจา ฮีฮกตัว๊ วัดโชติทายการาม

คลองแคะ

ศาลเจา 31 ซื้อฮกตัว๊ วัดอุบลวรรณาราม (ตั๊วแคะ)

35

ศาลเจา ทงจี่ตึ้ง (เจตึ้ง)

ศาลเจาจิ๋นเซงตัว๊ (วัดกั้ง)

34

ศาลเจา แมธรณี 33

ศาลเจา วิหารหลวงพอบานแหลม ซิ้มโจวกง หลวงพอเขาตะเครา 29

28

ศาลเจา ทงเฮงตั๊ว

ศาลเจา หลักเมือง

27

26

ศาลเจา เหงเจีย

ศาลเจา กิมเซียงกง 23

วัดปราสาทสิทธิ์ ศาลเจา วัดพระแมประคํา/ เตียสีโจวซือ โรงเรียนวันทามารีอา 20

คลองประชาเจริญ

40

คลองโรงพัก

คลองทงเฮงตัว๊ คลองวัดโชติฯ

คลองศรีสุราษฎร

ศาสนสถานทั้งหมด จํานวน 23 แหง วัดในพระพุทธศาสนา จํานวน 5 แหง ศาลเจา

จํานวน 17 แหง

โบสถคริสต

จํานวน 1 แหง


แผนผังแสดงตําแหนงที่ตั้งศาสนสถานสําคัญริมสองฝงคลองดําเนินสะดวกในชวงพื้นที่จังหวัดสมุทรสงคราม

วัดเจริญสุขาราม

แมน้ําแมกลอง

42

อาสนวิหารพระแมบังเกิด 43

ศาสนสถานทั้งหมด จํานวน 2 แหง วัดในพระพุทธศาสนา จํานวน 1 แหง โบสถคริสต

จํานวน 1 แหง


บทที่ 1 บทนํา ความสําคัญของคลองดําเนินสะดวก คลองดําเนินสะดวก เปนคลองที่ขุดขึ้นจากแนวพระราชดําริของพระบาทสมเด็จ พระจอมเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ 4 ปจจัยสําคัญที่กอใหเกิดการขุดคลองดําเนินสะดวก คือ ผลกระทบจากการขยายตัวทางเศรษฐกิจและการพัฒนาประเทศ โดยเฉพาะอยางยิ่งในชวง สมัยรัต นโกสิน ทรตอนตน จนถึงรั ชสมัยของพระบาทสมเด็จ พระจุล จอมเกลาเจ าอยูหั ว รัชกาลที่ 5 โดยอาจวิเคราะหไดวามีที่มาจากสาเหตุหลายประการ ดังนี้ (พรรณทิพย เปยมพุทธากุล, 2537) ประการแรก หลังจากการทําสนธิสัญญาเบาริ่ง (พ.ศ. 2395) การคาขายของไทย ขยายตัวขึ้นอยางรวดเร็วโดยเฉพาะการคาขาวและน้ําตาล ซึ่งในระยะแรกน้ําตาลถือเปนสิ้น คาสงออกที่สําคัญ ที่เปนผลตอเนื่องมาจากการทําสนธิสัญญาเบอรนี่ในสมัยพระบาทสมเด็จ พระนั่งเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ 3 น้ําตาลเปนสินคาที่ชาวตะวันตกตองการมาก และยังนํา กํ า ไรมาสู ป ระเทศไทยได อ ย า งมากด ว ย ดั ง นั้ น ในสมั ย พระบาทสมเด็ จ พระจอมเกล า เจาอยูหัว รัชกาลที่ 4 จึงทรงโปรดฯใหมีการขุดคลองขึ้นเพื่อเปนเสนทางลําเลียงออยและ น้ําตาลจากแหลงผลิตมาสูตลาดใหสะดวกและรวดเร็วมากยิ่งขึ้น ซึ่งแหลงปลูกออยและ แหล ง ผลิ ต น้ํ า ตาลที่ สํ า คั ญ ของประเทศส ว นหนึ่ ง อยู ท างหั ว เมื อ งฝ า ยตะวั น ตก อันประกอบดวยเมืองนครไชยศรี เมืองราชบุรี และเมืองเพชรบุรี พระบาทสมเด็จพระจอม เกลาเจาอยูหัว จึงทรงสงเสริมใหมีการขุดคลองเพื่อเปนเสนทางคมนาคมเชื่อมโยงแหลง ผลิตน้ําตาลใหักับตลาดสามารถขนสงไดรวดเร็วมากยิ่งขึ้น คลองที่สําคัญ คือ คลองเจดีย บูชา คลองภาษีเจริญ และคลองดําเนินสะดวก โดยเฉพาะคลองภาษีเจริญและคลองดําเนิน สะดวกมีความสัมพันธกันมาก โดยคลองภาษีเจริญเปนคลองที่เชื่อมระหวางแมน้ําทาจีนฝง ตะวันออกกับแมน้ําเจาพระยาฝงตะวันตก แนวคลองทั้งสองเปนเสนตอเนื่องกัน โดยที่มี แมน้ําทาจีนไหลผานกลางซึ่งจะทําการใหเดินทางติดตอกันของชุมชนระหวางหัวเมืองแมน้ํา เจาพระยา แมน้ําทาจีน และแมน้ําแมกลอง ไดแก เมืองราชบุรี สมุทรสงคราม สมุทรสาคร นครไชยศรี และกรุงเทพฯ เปนไปอยางสะดวกและทั่วถึงกันโดยตลอด เหตุผลประการที่สอง คือ การขุดคลองเชื่อมระหวางกรุงเทพมหานครกับหัวเมือง ใกลเคียง สงผลใหอาณาจักรสวนกลางสามารถปกครองหัวเมืองฝงตะวันตกไดอยางทั่วถึง เนื่องจากมีการคมนาคมที่สะดวกขึ้น หัวเมืองที่สําคัญ คือ นนทบุรี นครไชยศรี สมุทรสาคร 1


สมุ ท รสงครามและราชบุ รี นอกจากนี้ ก ารเสด็ จ ประพาสตามหั ว เมื อ งต า งๆของ พระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ 4 และพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา เจาอยูหัว รัชกาลที่ 5 ยังเปนการเขาถึงในชีวิตความเปนอยูของราษฎรตามทองถิ่นตางๆ อันเปนความสัมพันธระหวางสถาบันพระมหากษัตริยกับราษฎรไดอยางใกลชิดดวย

แผนที่แสดงที่ตั้งของคลองสําคัญตางๆ ที่เชื่อมตอระหวางแมน้ําเจาพระยา กับแมน้ําที่อยูหางไปทางดานตะวันตกและตะวันออกของกรุงเทพฯ (สารานุกรมเยาวชนไทย : ออนไลน)

นอกจากนี้ ในภาวการณทางเศรษฐกิจอันสืบเนื่องมาจากสนธิสัญญาเบาริ่ง ทําให การคาขายเปนไปอยางเสรี จึงเปนสิ่งจูงใจใหชาวตะวันตกที่เปนพอคาและหมอสอนศาสนา เขามาคาขายและตั้งถิ่นฐานในประเทศไทยเปนจํานวนมาก ซึ่งการที่ชาวตางประเทศจะเขา มาอยู ใ นเมื อ งไทยนั้ น ต อ งปฏิ บั ติ ต ามสนธิ สั ญ ญา ที่ เ กี่ ย วกั บ เขตของที่ อ ยู อ าศั ย คื อ การกําหนดใหชาวตะวันตกอยูอาศัยไดเฉพาะบริเวณที่อยูหางจากกําแพงพระนครออกไป ราว 200 เสน (8 กิโลเมตร) หรือภายในระยะเวลาเดินทาง 24 ชั่วโมง ซึ่งบริเวณเหลานั้น คือจากกรุงเทพไปถึงเมืองปากน้ํา บางพุทรา ลพบุรี สระบุรี บางขนาก ศรีราชา เพชรบุรี สมุทรสงคราม ราชบุรี และสุพรรณบุรี พระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว จึงทรง จัดการคมนาคมสําหรับชาวตะวันตกที่อยูตามหัวเมืองเหลานั้น ใหสามารถเดินทางมายัง เมืองหลวงไดสะดวกรวดเร็ว เชน คลองมหาสวัสดิ์ตั้งแตนนทบุรีไปยังนครไชยศรี คลองภาษี เจริญจากคลองบางกอกใหญไปตกแมน้ําเมืองนครไชยศรี และคลองดําเนินสะดวกตั้งแต แม น้ํ า บางยางเมื อ งนครไชยศรี ฝ ง ตะวั น ตกออกไปตกคลองบางนกแขวกเมื อ งราชบุ รี (ปยนาถ บุนนาค, 2525) 2


คลองดํ า เนิ น สะดวกเป น คลองที่ ขุ ด เชื่ อมระหว า งแม น้ํ า แมก ลองกั บ แม น้ํ า ท า จี น ครอบคลุมพื้นที่ 3 จังหวัด คือ อําเภอบานแพว จังหวัดสมุทรสาคร อําเภอดําเนินสะดวก จังหวัดราชบุรี และอําเภอบางคนที จังหวัดสมุทรสงคราม เปนคลองที่ชวยยนระยะทางการ เดินไปยังหัวเมืองตะวันตก แตเดิมนั้นการเดินทางตองใชเสนทางกรุงเทพฯผานคลองดาน เขาสู คลองสุนัข หอน ซึ่งใชระยะเวลาในการเดิน ทางเปนเวลานาน การขุดคลองดํ าเนิ น สะดวกมีสมเด็จเจาพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ (ชวง บุนนาค) ผูสําเร็จราชการแผนดิน ในแผนดินพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ 5 ครั้งยังดํารงตําแหนง สมุหพระกลาโหมในบรรดาศักดิ์ เจาพระยาศรีสุริยวงศ เปนแมกองขุดคลองดําเนินสะดวก คาจางขุด คาตอไม สมเด็จเจาพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ (ชวง บุนนาค) ออกเงินคาขุด คลอง 1,000 ชั่ง (80,000 บาท) และ พระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัวพระราชทาน เงินหลวงสมทบในการขุดอีก 400 ชั่ง (32,000 บาท) รวม 1400 ชั่ง (112,000 บาท) จาก “พระราชหัตถเลขาพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว เสด็จประพาสมณฑลราชบุรี ร.ศ. 128 (พ.ศ. 2452)” ระบุวา “การที่เจาพระยาศรีสุริยวงศ ออกเงินคาขุดคลองนั้นไมใชเปน ของทานเอง แตเปนเงินที่พระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว พระราชทานใหสรางวังที่เพชรบุรี โดยเอาเงินจากภาษีน้ําตาลที่ เก็บจากทองถิ่นไปใชจายในการสรางวัง ครั้นพอสรางวังเสร็จทาน ไมสงเงินคืนคลังทานจึงนําเงินสวนนี้มาใชจายในการขุดคลอง โดยอางวาเปนเงินของทานเอง ทานจึงไดรับผลประโยชนอยาง มากในการขุดคลองสายนี้ โดยถือสิทธิ์เปนเจาของที่ดินสองฝง คลองแลวน้ําไปแจกจายที่ดินแกภรรยา พี่นอง บุตรหลาน และคน ซึ่ ง มากฝากตั ว ถ า ผู อื่ น ที่ จ ะมาจั บ จองที่ ดิ น นี้ ต อ งจ า ยเงิ น ให แกทาน เปนคาที่ดินตามความมากนอยของที่ดินที่จับจอง” สอดคลองกับคํากลาวของปยนาถ บุนนาค (2525) จากงานเขียนเรื่อง “คลองใน กรุงเทพฯ : ความเปนมา การเปลี่ยนแปลง และผลกระทบตอกรุงเทพฯ ในรอบ 200 ป (พ.ศ.2394 – 2525)”วา “การที่สมเด็จเจาพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศถือเอาที่ดินทั้งสองฝง คลองมาไวในครอบครอง แลวจําหนายจายแจกแกผูใกลชิดและ บริวาร ถือวาทานมีความกลาและมีอํานาจมากเพราะในชวง 5 ป แรกของสมัยรัชกาลที่ 5 ทานเปนผูกุมอํานาจทางการเมืองสูงสุด ในขณะนั้น โดยปกติแลวพระมหากษัตริยเทานั้นที่จะเปนเจาชีวิต 3


และเจาแผนดิน ซึ่งการยึดถือกรรมสิทธิ์ที่ดินของสามัญชนเพิ่งทํา กันอยางเปนหลักฐานตามกฎหมายในสมัยรัชกาลที่ 5 ” ลักษณะทางกายภาพของคลองดําเนินสะดวก จุดเริ่มตนของคลองดําเนินสะดวก เริ่มจากปากคลองบางยางซึ่งเชื่อมกับแมน้ําทา จีนที่ อําเภอบ านแพว จัง หวั ดสมุ ทรสาคร ไปจนถึง ตําบลบางนกแขวก อํา เภอบางคนที จังหวัดสมุทรสงคราม โดยเริ่มทําการขุดคลองในป พ.ศ. 2409 ใชแรงงานคนในการขุด ซึ่งสวนใหญเปนกรรมกรชาวจีนที่อพยพเขามาอยูในเมืองไทยใหมๆ คนไทยพื้นถิ่น คนเขมร คนมอญเปน ผูรับจางขุด วิธีการขุดคลองดําเนินสะดวกนั้น นับเปนภูมิปญญาของคนไทยใน ระดับทองถิ่น กลาวคือ การขุดดินนั้นจะขุดเปนระยะหนึ่ง เวนระยะหนึ่ง เมื่อถึงเวลาน้ํา หลาก น้ําก็จะกัดเซาะดินสวนที่ไมไดขุดใหพังไปเอง คลองดําเนินสะดวกขุดแลวเสร็จในป พ.ศ. 2411 พระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว ทรงพระราชทานนามวา “คลองดําเนิน สะดวก” และไดทําพิธีเปดเมื่อวันที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ.2411 โดยเจาพระยาศรีสุริยวงศ (ยศในขณะนั้น) ผูสําเร็จราชการแผนดินในสมัยรัชกาลที่ 5

(ตรงใจ หุตางกูร และนัทกฤษ ยอดราช ,2560)

4


คลองดําเนินสะดวกเปนลําคลองที่ตัดไดตรงไมคดเคี้ยว ระยะยาว 895 เสน หรือราว 35.5 กิโลเมตร (หากวัดความยาวจากประตูน้ําบางยางถึงประตูน้ําบางนกแขวกจะมี ระยะทางยาว 840 เสน หรือ 32 กิโลเมตร ) ขนาดของคลองมีความกวาง 6 วา หรือ 12 เมตร ลึก 6 ศอก หรือ 3 เมตร ซึ่งในปจจุบันคลองบางชวงอาจมีความกวางกวางเดิม เพราะน้ํากัดเซาะตลิ่งจนพังทําใหพื้นที่ความกวางของคลอง แตในบางชวงก็อาจมีความแคบ เนื่องจากการรุกล้ําพื้นที่จากตั้งบานเรือนของประชาชน นอกจากนี้ทุกๆระยะ 100 เสน หรือ 4 กิโลเมตร ไดมีการปกเขตเปนหลักเสาหินสี่เหลี่ยมขนาดใหญไวรวม 8 หลัก ซึ่งสาเหตุที่ ตองมีการปกเสาหินตามพื้นที่ตางๆไวบริเวณริมฝงคลองนั้น ตรงใจ หุตางกูร และนันทกฤช ยอดราช (2560) ไดวิเคราะหวา วิถีคลองแตเดิมคนโบราณจะนับคุงน้ําเปนหมุดหมายของ ระยะทางในการสื่อสารสําหรับการเดินทาง แตการขุดคลองดําเนินสะดวกซึ่งขุดใหมเปนการ ขุดคลองผานพื้นที่เกษตรกรรมและปารกซึ่งลําคลองมีลักษณะเปนเสนตรง จึงทําใหการ ลําดับคุงน้ําของคลองเพื่อกําหนดใหเปนหมุดหมายของระยะทางจึงไมสามารถใชได เมื่อเปน เชนนี้การเดินทางในลําคลองที่มีความยาวเปนเสนตรงจําเปนตองมีหมุดหมายบอกระยะทาง ทั้งนี้ลักษณะของเสาหินที่ปกลงเปนหมุดบอกหลักเขตนั้นทําดวยหินแกรนิต มีคําจารึกบอด ระยะทางดวยตัวเลนไทย ตัวเลขโรมัน และตัวเลขจีน นัยของการบอกระยะทางดวยขอมูล ดังกลาวสะทอนใหเห็นวา การขุดคลองดําเนินสะดวกมีวั ตถุประสงคที่จะตองการขยาย เสนทางขนสงสินคาทางเรือลุมแมน้ําเจาพระยา ทาจีน และแมกลอง ซึ่งในสมัยนั้นเริ่มมีชาว จีนและฝรั่งตางพากันเขามาประกอบธุรกิจกันมาก เชน ชาวจีนเขามาจับจองพื้นทีทําการ เกษตรกรรม ขณะที่ฝรั่งเขามาเปนนายทุนตั้งโรงงานน้ําตาลเปนตน การปกหลักเสาหินเพื่อ บอกระยะทางนี้ จึงไดกลายเปนชื่อที่เรียกขานชุมชนตามหลักตางๆ อาทิ หลักหา หลักหก หลังแปด พระครูสิริวรรณวิวัฒน (2544) กลาวถึง การเรียกชื่อหลักเขตตางๆ ทั้ง 8 หลักไว ดังนี้ หลักศูนย มีจุดเริ่มตนที่ปากคลองบางยางออกสูแมน้ําทาจีน อําเภอกระทุมแบน จังหวัดสมุทรสาคร หางจากประตูน้ําบางยางประมาณ 1 กิโลเมตร เศษ จนถึงประตูน้ําบาง ยางไปจนถึงหลักที่หนึ่ง การเรียกชื่อสถานที่นี้ไมเรียกวาหลักศูนย แตผูคนสวนใหญนิยม เรียกกันวาประตูน้ําบางยาง หรือปากคลองบางยาง หลักหนึ่ง ถัดจากหลักศูนย หรือประตูน้ําบางยางเขามาในเขตคลองดําเนินสะดวก หลักหนึ่งนี้อยูในเขตอําเภอบานแพว จังหวัดสมุทรสาคร หลักสอง จุดเริ่มตนจากเสาหินเลข 1 ถึงเสาหินเลข 2 ซึ่งอยูในเขตอําเภอบานแพว จังหวัดสมุทรสาคร หลักสาม จุดเริ่มตนจากเสาหินหลักเลข 2 ถึง เสาหินเลข 3 อยูในเขตอําเภอ บานแพว จังหวัดสมุทรสาคร 5


หลักสี่ จุดเริ่มตนจากระหวางเสาหินเลข 3 ถึงเสาหินเลข 4 อยูในเขตอําเภอ บานแพว จังหวัดสมุทรสาคร หลักหา จุดเริ่มตนจากเสาหินเลข 4 ถึงเสาหินเลข 5 อยูในเขตอําเภอบานแพว จังหวัดสมุทรสาคร หลักหก จุดเริ่มตนจากเสาหินเลข 5 ถึงเสาหินเลข 6 อยูในเขตอําเภอดําเนินสะดวก จังหวัดราชบุรีโดยชาวบานสวนใหญนิยมเรียกกันวา“หลักหา” แทนที่จะเรียกวาหลักหกจน ติดปากมาถึงทุกวันนี้ อยางเชน สถานีตํารวจภูธร ตําบลหลักหาความจริงแลวอยูในเขต หลักหก (ซึ่งอําเภอดําเนินสะดวกไมมีตําบลหลักหา) หลักหาจึงมี 2 ระยะ คืออยูในพื้นที่หลัก หาจริง กับพื้นที่หลักหก หลักเจ็ด จุดเริ่มตนจากเสาหินเลข 6 ถึง เสาหินเลข 7 อยูในเขตอําเภอดําเนิน สะดวก จังหวัดราชบุรี ซึ่งการเรียกนั้นจะเปนทํานองเดียวกับหลักหา กลาวคือ เรียกเปน หลักหก โดยจะเรียกในระยะสั้นประมาณ 50 เสน โดยมีวัดหลักหกรัตนารามเปนหลัก สวนการเรียกวาหลักเจ็ดนั้นสวนใหญไมคอยไดเรียกกัน หลักแปด จุดเริ่มตนจากเสาหินเลขที่ 7 ถึง เลขที่ 8 ซึ่งเปนเขตของอําเภอดําเนิน สะดวกติดตอกับเขตอําเภอบางคนที จังหวัดสมุทรสงคราม การเรียกชื่อหลักแปดนี้มักจะ เรียกกันในชวงตอนปลายของหลักแปด ตอนตนหลักไมคอยจะมีใครเรียกกัน เมื่อหมดเขต หลักเสาหินหลักที่แปดไปแลว ก็จะมีทางน้ํายาวอีกประมาณ 40 เสน เขตอําเภอบางคนที จังหวัดสมุทรสงคราม ซึ่งบริเวณนี้ก็มีการเรียกชื่อวาหลักแปดอยูบาง จนไปสิ้นสุดที่ประตูน้ํา บางนกแขวก ที่ตําบลบางนกแขวก อําเภอบางคนที จังหวัดสมุทรสงคราม

ภาพเสาหินแสดงหลักเขตคลองดําเนินสะดวก (พระครูสิริวรรณวิวัฒน, 2544) 6


คลองดําเนินสะดวกนี้โดยทั่วไปชาวบานมักเรียกวา “คลองใหญ” เพราะเปนลํา คลองสายหลักที่ยังมีคลองเล็กคลองนอยเชื่อมติดตอกันอีก 200 กวาคลอง สําหรับประตูน้ํา ทั้ง 2 แหงที่กลาวถึงนั้น คือ ประตูน้ําบางยางทางดานแมน้ําทาจีนอยูบริเวณปากคลองตัน ในเขตหลักหนึ่ง และประตูน้ําบางนกแขวกซึ่งอยูหางจากแมน้ําแมกลองเขามาประมาณ 1 กิโลเมตร บริเวณหนาวัดเจริญสุขารามวรวิหาร ประตูน้ําทั้ง 2 นี้เริ่มกอสรางเมื่อ พ.ศ.2450 (ร.ศ. 126) สรางเสร็จเมื่อป พ.ศ.2451 (ร.ศ. 127) ทั้งนี้ก็เนื่องมาจากพื้นที่ 3 จังหวัด ประสบปญหาในดานการเกษตรกรรมและการคมนาคม ในชวงฤดูน้ําหลากเกษตรกรประสบ กับปญหาน้ําทวมสวน พืชผลเสียหาย พอถึงในชวงฤดูแลงน้ําในคลองลดระดับลงจนเรือไม สามารถแลนผานได โดยเฉพาะเรือกบรรทุกสินคา ขนาดใหญทําใหเสียเวลาตองรอจนกวา น้ําจะขึ้น นอกจากนี้ยังเปนการระบายน้ําเค็มออกเปดน้ําจืดเขามาเลี้ยงพืชผลแกชวนสวน รวมทั้งเปนการจัดระเบียบเรือเพื่อปองกันความแออัดในการสัญจรไปมาดวย วิถีชีวิตทางสังคมและวัฒนธรรมของผูคนริมสองฝงคลองดําเนินสะดวก สภาพแวดลอมทางภูมิศาสตรของพื้นที่ริมสองฝงคลองดําเนินสะดวก โดยเฉพาะ การตั้งอยูในพื้นที่มีความอุดมสมบูรณของทรัพยากรดินเนื่องจากพื้นที่นี้บริเวณดั้งเดิมแต อดีตเคยเปนทะเลตมมากอน จนเมื่อกาลเวลาผานไปเกิดการสะสมของดินตะกอนลําน้ํา การสะสมของแรธาตุตางๆ พอกพูนกลายเปนแผนดินขึ้นมา และการสรางระบบการจัดการ น้ําโดยการขุดระบบคูคลองที่เชื่อมโยงถึงกัน รวมทั้งลักษณะทางประชากรในพื้นที่ซึ่งมีชาว ไทยเชื้อสายจีนเปนคนกลุมใหญที่อาศัยในพื้นที่รวมทั้งคนไทยพื้นถิ่น และกลุมชาติพันธุที่มี ความเชื่อขนบธรรมเนียมประเพณี และการประกอบอาชีพ ปจจัยทั้งหมดไดหลอหลอมเปน วิถีชีวิตทางสังคมและวัฒนธรรมที่สําคัญของผูคนริมสองฝงคลองดําเนินสะดวก ดังนี้ 1. วิ ถี ชี วิ ต ทางสั ง คมของผู ค นริ ม สองฝ ง คลองดํ า เนิ น สะดวกเป น สั ง คม เกษตรกรรมหรือสังคมชาวสวนที่สําคัญของพื้นที่ภาคกลางตอนลาง สังคมของผูคนริมสองฝงคลองดําเนินสะดวกเปนสังคมเกษตรกรรม เต็มไปดวย เรือกสวนพืชผักผลไมนานาชนิด ทั้งนี้เปนผลมาจากการมีทรัพยากรที่สําคัญอยู 2 ประการ คือ การมีชุดดินที่มีคุณภาพเหมาะแกการเพาะปลูก และระบบโครงขายการระบายน้ําโดยมี คลองดําเนินสะดวกซึ่งเปนคลองสายหลักและคลองซอยตางๆจํานวนมากที่เชื่อมโยงถึงกัน จึง ทํ าให พื้น ที่ ริม สองฝ งคลองดํ าเนิ นสะดวกมี การเพาะปลู กเป นจํ า นวนมาก เป นแหล ง เกษตรกรรมที่สําคัญของประเทศไทยตั้งแตอดีตจนถึงปจจุบัน โดยในอดีตมักจะไดยินวลี

7


โบราณที่วา “สวนในบางกอก สวนนอกบางชาง” ดังที่สุดารา สุจฉายา (2541) ไดกลาว ไววา “ดวยแตโบราณแหลงปลูกผลาหารหรือผลหมากรากไมที่คนไทย บริโภคกันมักปลูกกันมากในสวนสองแหลง คือ สวนใน อันไดแก เรือกสวนตามลําแมน้ําเจาพระยาตั้งแตเมืองนนทบุรี เมืองธนบุรี หรื อ บางกอก ลงไปจนถึ ง เมื อ งพระประแดง และ “สวนนอก” อยูในแถบลําน้ําแมกลอง ซึ่งคนทั่วไปแลวมักคิดวาอยูในเขตตําบล บางช า ง อํ า เภออั ม พวา จั ง หวั ด สมุ ท รสงคราม เพี ย งเท า นั้ น แต เ มื่ อ ได พู ด คุ ย สอบถามกั บ ชาวสวนดํ า เนิ น แล ว ปรากฏว า ผลผลิ ต ที่ ใ นสวนนอกนี้ เ ป น ผลผลิ ต ส ว นใหญ จ ากชาวดํ า เนิ น สะดวกหาใช แ ต ใ นเขตบางช า ง สมุ ท รสงครามแต อ ย า งเดี ย ว เพราะคําวา“บางชาง”ในอดีตครอบคลุมไปถึงเขตคลองดําเนิน สะดวกดวย เนื่องจากแตเดิม จังหวัดสมุทรสงครามเปนแขวงหนึ่ง ที่รวมอยูกับจังหวัดราชบุรี เรียกวา“แขวงบางชาง”ตอมาในปลาย สมัยกรุงศรีอยุธยาตนสมัยธนบุรีจึงไดแยกออกจากแขวงจังหวัด ราชบุรี เรียกวา“เมืองแมกลอง” การทําเกษตรกรรมในพื้นที่ริมสองฝงคลองดําเนินสะดวกนั้นมีชาวไทยเชื้อสายจีน และชาวไทยพื้นถิ่นเปนผูที่มีความเชี่ยวชาญในการเพาะปลูกมีการปรับสภาพแวดลอมใน พื้นที่ใหเปนประโยชนตอการประกอบอาชีพดวยการทําสวนยกรอง โดยในขั้นแรกเกษตรกร จะทําพื้นที่วางใหเปนสวนๆโดยการยกรอง ซึ่งเรียกวา “การเบิกสวน” แลวทําคันลอมรอบ สวนที่เบิกนั้น สวนหนึ่งๆ จะมีพื้นที่โดยทั่วไปประมาณ 10 ไร สามารถแบงเปนรองหรือที่ เรียกวาขนัดสวนไดประมาณ 10–15 รอง ซึ่งนับเปนภูมิปญญาที่ไดมีการสืบทอดกันมา อยางตอเนื่องหลายชั่วอายุคนจนถึงปจจุบัน ระบบสวนยกรองจะเชื่อมตอกับระบบโครงขาย น้ําลําคลองสายรองและสายหลักเพื่อทดน้ําหรือปลอยน้ําออกจากสวน ลักษณะพื้นฐานของ สวนยกรองนั้นชาวสวนจะขุดทองรองสวนใหมีขนาดกวางเพียงพอที่เรือสามารถพายเขา ไปได ชาวสวนสามารถที่จะเก็บผลผลิตและขนสงผลผลิต รวมทั้งการดูแลรักษาพืชผักไดงาย และรวดเร็วขึ้น (วาริกา มังกะลัง, 2556: 146) ลักษณะทั่วไปของสวนในพื้นที่อําเภอดําเนิน สะดวกแบงเปน 2 ประเภทใหญๆ คือ สวนเตี้ย และสวนสูง ซึ่งประเภทของสวนนี้เรียกตาม ความสูง–ต่ําของคันสวนที่ลมรอบรองสวน (ราตรี โตเพงพิพัฒน, 2543)

8


ลักษณะของสวนยกรองในอําเภอดําเนินสะดวก

สวนเตี้ย มีมากในสมัยแรกเริ่มของการบุกเบิกการทําสวนในพื้นที่ริมสองฝงคลอง ดําเนินสะดวกลักษณะของสวนจะมีคันดินที่มีความสูงพอๆกันกับรองสวน สวนประเภทนี้ไม สามารถปลูกพืชในราวเดือน 8 ใกลเทศกาลเขาพรรษา ซึ่งจะเปนฤดูน้ําหลากได จะถูกน้ํา ทวม เพราะไมมีคันดินที่สูงพอเพื่อกั้นน้ํา โดยน้ําจะทวมสวนเตี้ยประมาณ 3–4 เดือน พืช ที่ปลูกสวนใหญไดแกพืชประเภทลมลุกประเภทผัก ซึ่งมีทั้งผักไทยแลผักจีน ที่นิยมมาก เชน พริก หอม กระเทียม แตงโม ผักกาดขาว คะนา ถั่วลิสง ถั่วแดง ถัวเหลือง ถั่วฝกยาว กะหล่ําปลี กะหล่ําดอก ใชเทา ผักชี บวบ ขึ้นฉาย มะเขือตางๆ แฟง แตงกวา แตงราน แตงไทย ฟกทอง ขาวโพด เปนตน การปลูกพืชตางๆ ในสมัยแรกๆ ที่ยังมีน้ําหลากนั้น สามารถเพาะปลูกไดงายเพราะดินเหมาะแกการเพาะปลูก การดูแลลงทุนมีนอย เนื่องจากไม คอยมีวัชพืชและแมลงรบกวน และพื้นดินดีไมตองเสียเงินซื้อปุยเพราะดินนั้นมีแรธาตุที่ชวง น้ําหลากนํ ามาสั่ง สมไวแ ละกํา จัดศั ตรู พืช ไปในตั ว ผลผลิต ที่ไ ดจากสวนก็มีคุ ณภาพและ ปริมาณที่มากตามไปดวย ดังสะทอนจากคําบอกเลาของพระครูสิริวรรณวิวัฒน (2544: 82) ที่เลาถึงการเพาะปลูกและคาขายแตงโมในอดีตวา “สําหรับแตงโมสมั ยนั้น พ.ศ.2480 ข าพเจาจํ าความไดเปลือ ก แตงโมจะมีสีนวล คือสีเขียวนวล หรือเรียกอีกนัยหนึ่งวา แตงโม บางเบิก แตงโมที่นิยมกินกันใหรสหวานในสมัยนั้นตองแตงโมเขต ดอนฟกทอง เขตขุนพิทักษ ซึ่งเปนแดนแตงโมที่หวาน เรียกกันวา แตงโมเนื้ อ ทราย ตลาดนั ด แตงโมที่ ใ หญ ที่ สุ ด ในอํ า เภอดํ า เนิ น สะดวก ก็คือที่บริเวณหนาวัดหลักหกรัตนาราม จะมีเรือคาขาย แตงโมเต็มไปหมด...ในฤดูหนาแตงโม 3 เดือน คือ เดือน12-1-2 จะมีคนนําแตงโมมาขายเต็มไปหมด นํามาถวายพระ หรือเวลา พระพายเรือไปบิณฑบาต... แตงโมสมัยนั้นเก็บไวไดนาน เพราะ

9


ปลูกโดยธรรมชาติ ใสปุยมูลคางคาว เมื่อเก็บจากตนแลวเก็บ เอาไวไดนานประมาณ 3 เดือน ไดอยางสบาย” วิธีการปลูกพืชในพื้นที่ของสวนเตี้ยในรอบปหนึ่งๆจะมีการเพาะปลูก ประมาณ 2 ครั้ง ไดแก ชวงแรก เรียกวา “ปลูกหนาป” คือ การปลูกพืชหลังฤดูน้ําหลาก และ“การปลูก หนาปรัง”ในเดือน 5–8 คือในชวงฤดูฝน พืชที่ปลูกในการปลูกหนาปรังนี้จะเปนพืชลมลุก ตามแตจะมีอายุ ไมเกิน 3 เดือนโดยประมาณ สําหรับสวนเตี้ยในปจจุบันชาวสวนไมนิยมทํา กันแลว โดยไปทําพื้นที่ใหเปนสวนสูงแทน เพราะงายตอการดูแล และปลูกพืชไดตลอดทั้งป (ราตรี โตเพงพัฒน, 2543: 159-161) สําหรับสวนประเภทที่สอง คือ สวนสูง ลักษณะของสวนจะมีคันดินรอบสวนสูงกวา รองหรือขนัดในสวน อันเปนที่ปรากฏมากในพื้นที่อําเภอดําเนินสะดวกในปจจุบัน การทํา สวนประเภทนี้ตองใชเงินทุนมากพอสมควร เพราะการถมคันดินจะตองจางแรงงานหรือรถ แม็ ค โคสํ า หรั บ สร า งฐานดิ น ให คั น สวนใหญ แ ละมั่ น คง ซึ่ ง กว า คั น ดิ น นี้ จ ะอยู ตั ว ต อ งใช เวลานานประมาณ 4 ป นอกจากนี้ยังมีการปลูกตนไมที่มีรากยึดคันไดดีลอมรอบสวนเพื่อ เปนการยึดพื้นดินใหติดกันไมพังทลายงายและคันดินไมพังในเวลาหนาน้ํา ตนไมที่ปลูกกัน สวนใหญ เชน มะมวง มะพราว มะกอก มะรุม เปนตน สําหรับพืชผลที่ปลูกในรองสวน มีทั้งพืชลมลุกและยืนตน สามารถทําการเพาะปลูกไดตลอดทั้งป แตอยางไรก็ดีผลเสียของ การทําสวนสูงก็ประสบปญหาอยูเชนกัน เพราะสวนสูงเปนที่สั่งสมศัตรูพืชตางๆ เนื่องจาก ไมไดถูกน้ําทวม ทําใหเกษตรกรตองหันมาใชยาฆาแมลงกันเปนจํานวนมาก เมื่อมีการใช มากขึ้ น ศั ต รู พื ช ทั้ ง หลายเริ่ ม ดื้ อ ยาต อ งหายาฆ า แมลงชนิ ด ที่ มี ค วามรุ น แรงยิ่ ง ขึ้ น มาใช ปราบอีก เปนเหตุใหคาใชจา ยของเกษตรกรเพิ่มสูงขึ้นอีก นัยหนึ่ง และหากเกษตรกรใช สารเคมีไมถูกตองตามวิธีก็จะเปนอันตรายแกตนเองดวย ในทางตรงกันขามสวนเตี้ยกลับ ไดรับปุยธรรมชาติที่มาในชวงฤดูหนาน้ําอยางอุดมสมบูรณ ดังนั้นการทําสวนสูงทั้งหลาย เกษตรกรจึงหันไปซื้อปุย สารเคมีตางๆ มาบํารุงดิน ทําใหเกิดการสะสมของสารพิษในดินอัน จะสงผลตอระบบนิเวศทั้งผูผลิตหรือเกษตรกร ผูบริโภค และเกิดมลภาวะกับดินและน้ําใน ที่สุ ด ซึ่ ง นั บ วั นเกษตรกรชาวสวนริ ม สองฝ งคลองดํ า เนิ นสะดวกนิ ย มใชกั น เพิ่ ม มากขึ้ น ซึ่งสอดคลองกับกับบอกเลาของพระครูสิริวรรณวิวัตน (2544: 70) ที่กลาวถึงสถานการณ การเพาะปลูกของชาวสวนดําเนินสะดวกไววา “สิ่งที่เปนภาระและหนักใจของชาวสวนดําเนินสะดวก ก็คือ ยาฆา แมลง ซึ่งชาวสวนจะตองซื้อมาใชปหนึ่งๆเปนเงินที่มากอยูไมใช น อ ย พื ช ผั ก ผลไม ข องดํ า เนิ น สะดวก ป จ จุ บั น นี้ ต อ งเอาจาก ทองที่อําเภออื่นมาขาย ซึ่งของดําเนินสะดวกทนจากการลงทุน 10


ดานน้ํายาฆาแมลงไมไหว สําหรับปุยใสแลวยังรูจักพอ แตน้ํายานี้ ไม รู จั ก พอ ชาวสวนเลยไม ก ล า ปลู ก ผัก หั ว หอม หั ว กระเที ย ม แตงโม แตงร า น แตงกวา แป ะ ฉ า ย คะน า ใช เ ท า กะหล่ํ า ปลี กะหล่ํ า ดอก ตั๊ ว ฉายที่ มี ข ายอยู ม ากมายในขณะนี้ ไ ม ใ ช ข อง พื้นเมืองดําเนินสะดวก แตไปเอาจากจังหวัดอื่นๆมาขายเพราะ ของพื้นเมืองบานเราหายไป ไมกลาปลูก” ชวงประมาณป พ.ศ. 2510 การปลูกพืชผักเริ่มลดจํานวนลงเพราะแมลงตางๆเริ่ม เพิ่มจํานวนมากขึ้น เกษตรกรชาวสวนดําเนินไดใชยาฆาแมลงใสปุยบํารุงกันมากจนไมคุมกับ เงินที่ลงทุนไป พืชผลตางๆที่เคยเพาะปลูกกันมาในอดีตอยาง หอม กระเทียม พริก รวมทั้ง แตงโม บางชนิด ตลอดจนผักอื่นๆ เริ่มหายและสูญพันธุไปในที่สุด เกษตรกรชาวสวนใน พื้นที่ดําเนินสะดวก จึงหันมาปลูกพืชจําพวกไมยืนตนที่เปนผลไมแทน เชน องุน มะละกอ พุท รา สม ฝรั่ ง กลว ย น อ ยหน า มะเฟอ ง มะขามหวาน มะขามเทศ มะละกอ มะม ว ง มะพราวน้ําหอม เปนตน พืชผลเหลานี้จะปลูกหมุนเวียนกันไปตามความตองการของตลาด เปนทั้งสินคาที่สงขายภายในและตางประเทศ ซึ่งสรางรายไดใหกับเกษตรกรชาวสวนดําเนิน สะดวกอยางตอเนื่อง (ราตรี โตเพงพัฒน ,2543: 161–162) 2. วิถีชีวิตทางสังคมและวัฒนธรรมของผูคนริมคลองดําเนินสะดวกเปนสังคม หลากหลายชาติพันธุ โดยมีชุมชนชาวไทยเชื้อสายจีนเปนคนกลุมใหญ ชาวไทยเชื้อสายจีนนับเปนคนกลุมใหญที่ตั้งบานเรือนอยูในพื้นที่ริมสองฝงคลอง ดําเนินสะดวกซึ่งการเขามาของชาวจีนนั้นเริ่มจากภายหลังการขุดคลองดําเนินสะดวกเสร็จ แลวประมาณ พ.ศ.2411 โดยสันนิษฐานไดวาชาวจีนกลุมแรกๆนาจะเปนกลุมชาวจีนที่เปน แรงงานขุ ด คลองดํ า เนิ น สะดวกที่ เ ข า มาจั บ จองพื้ น ที่ ริ ม คลองดํ า เนิ น สะดวกตั้ ง ถิ่ น ฐาน บานเรือน โดยในชวงระยะนั้นยังไมมีกรรมสิทธิ์ในที่ดิน จึงตองเชาพื้นที่เพื่ออยูอาศัย และทํา การเกษตร หรือบางกลุมเลือกเชาพื้นที่เพื่อการคาขายและรับจางตอเรือ (วาริกา มังกะลัง, 2556) ในชวงเวลาตอมา พ.ศ.2450 ซึ่งถือไดวาเปนชวงที่ชาวจีนอพยพเขามาในดินแดน ประเทศไทยมากที่สุด ชาวจีนที่เขามาสามารถแบงออกเปน 5 กลุมโดยจําแนกตามภาษาพูด ไดแก ชาวจีนกลุมแตจิ๋ว แคะ ไหหลํา กวางตุง และฮกเกี้ยน ชาวจีนเหลานี้กระจายตัวกัน อยูในเขตอําเภอเมืองราชบุรี อําเภอดําเนินสะดวก และอําเภอบานโปง (William G. Skinner 1957) โดยกลุมชาวจีนแตจิ๋วอาศัยกันอยูมากในพื้นที่อําเภอดําเนินสะดวก สําหรับ สาเหตุที่ชาวจีนไดเลือกพื้นที่อําเภอดําเนินสะดวกเปนแหลงทํากิน และตั้งถิ่นฐาน ปจจัย 11


หลักเปนเพราะพื้นที่ดังกลาวมีชาวจีนที่ไดเขามาอาศัยกอนหนานี้อยูแลวพอสมควรภายหลัง การขุดคลองดําเนินสะดวกและไดชักชวนกลุมเพื่อนชาวจีนเขามาอาศัยอยูดวยกันซึ่งพอจะ นําไปสูลูทางในการทํามาหากินจากการชวยเหลือเกื้อกูลกันได เหตุผลประการตอมาคือการ ที่พื้นที่อําเภอดําเนินสะดวกอยูไมไกลจากกรุงเทพมหานครมากนักสามารถที่จะเดินทางไปมา โดยการสัญจรทางน้ําผานคลองดําเนินสะดวกไดอยางสะดวกในการติดตอทํามาคาขาย ประกอบธุรกิจตางๆ พื้นที่ริมคลองดําเนินสะดวกจึงเปนแหลงดึงดูดใหกลุมชาวจีนเขามาตั้ง ถิ่ น ฐานบ า นเรื อ นกั น อย า งต อ เนื่ อ งเกิ ด เป น ชุ ม ชนชาวไทยเชื้ อ สายจี น ตามย า นต า งๆ หลั ก ฐานที่ ส ะท อ นถึ ง การดํ า รงอยู ข องชุ ม ชนชาวจี น ในพื้ น ที่ อํ า เภอดํ า เนิ น สะดวกก็ คื อ “ศาลเจาจีน”หรือภาษาแตจิ๋วที่เรียกวา“ตั๊ว”ที่มีอยูจํานวนตลอดริมสองฝงคลองดําเนิ น สะดวกโดยเฉพาะในชวงพื้นที่อําเภอดําเนินสะดวกซึ่งปจจุบันมีการจดทะเบียน จํานวน 12 แหง และยังไมไดขึ้นทะเบียนอีก 20 แหง (สํานักประชาสัมพันธจังหวัดราชบุรี : ออนไลน) ศาลเจาจีนเหลานี้ตั้งเรียงรายอยูริมสองฝงคลองดําเนินสะดวก และตามคลองซอยสาย สําคัญๆ ศาลเจาจีนดังกลาวถูกสรางขึ้นดวยความสัมพันธทางสังคมของทองถิ่น ซึ่งใชเปน พื้นที่ประกอบพิธีกรรม ความเชื่อตามขนบธรรมเนียมประเพณีจีน เปนพื้นที่ปฎิสังสรรค พูดคุยของสมาชิกในชุมชนชาวไทยเชื้อสายจีน คนในตระกูลแซเดียวกันหรือศาลเจาบางแหง ใชเปนสถานที่สมาคมของทองถิ่นเดียวกัน โดยคนจีนถือวาจะเปนญาติหรือไมเปนญาติกัน นั้นแตถาเปนคนที่มาจากทองถิ่นเดียวกันมักจะสนิทสนมกัน ดังนั้นคนจีนจึงนิยมใชศาลเจา เปนที่ผูกสานความสัมพันธทางสังคม เชน สรางความรูจักกับเพื่อนสมาชิกใหม เจรจาธุรกิจ หรือแนะนําอาชีพ เปนตน (ตวน ลี่ เซิง, 2543) ศาลเจาจีนยังเปนที่พึงพิงทางจิตใจ และจิต วิญญาณของคนในชุมชน ศาลเจาบางแหงมีการประทับรางทรงเทพเจาตางๆ เชน ไตเสี่ย ฮุดโจว คุณแมยี่เนี่ย เจาแมทับทิม เทพอาเนี้ย เทพโปยเซียน เพื่อเปนที่ใหคําปรึกษาแกคน ในชุมชนเกี่ยวกับสิ่งเหนือธรรมชาติ การบําบัดรักษาโรคภัยไขเจ็บดวยการแนะนําตัวยา สมุนไพรที่ใชรักษาอาการเจ็บปวย และการทําพิธีสะเดาะเคราะหในรูปแบบตางๆ เปนตน ชาวจีนที่อพยพเขามาตั้งถิ่นฐานในพื้นที่อําเภอดําเนินสะดวกไดผสมกลมกลืนใหเปน สวนหนึ่งคนไทยเชื้อสายจีนดวยการแตงงานกับคนไทยในทองถิ่น คนไทยเชื้อสายจีนดวยกัน สืบเชื้อสายมีบุตรหลานรุนตอรุนจํานวนมาก William G. Skinner (1957) ไดวิเคราะหถึง สาเหตุที่คนจีนยังคงอัตลักษณดั้งเดิมและผสมผสานกับคนไทยไดเปนอยางดี เนื่องจากการที่ สังคมจีนและสังคมไทยมีความเชื่อใกลเคียงกัน คือการนับถือพระพุทธศาสนา ความเชื่อ เรื่องสิ่งศักดิ์สิทธิ์ มีภาษาคําโดดเหมือนกัน ซึ่งความยึดมั่นในความคิดแบบจีนยังฝงลึกทําให ชาวจีนถูกกลืนเปนไทยไดยากเพราะชาวจีนยังคงยึดถือประเพณีจีนที่มีมาแตโบราณ และมี อุปนิสัยขยันขันแข็งทํามาหากิน ซื่อสัตย สุจริต และจริงใจโดยเฉพาะความเชื่อเกี่ยวกับ ความกตัญูตอบรรพบุรุษซึ่งเปนตัวเสริมใหจีนเกิดการผสมผสานกับความเชื่อแบบไทย 12


เอกลักษณของชาวไทยจีนสายจีนนอกจากจะสะทอนออกมาจากอุปนิสัยใจคอที่มี ความมุงมั่น ขยันอดทนในการประกอบอาชีพ การรูจักออมแลว ยังปรากฏในดานความเชื่อ ขนบธรรมเนียมประเพณีอีกดวย เชน ประเพณีเกี่ยวกับชีวิตตั้งแตเกิดไปจนตาย ประเพณี ประจําแตละเดือนในแตละปที่ชาวไทยเชื้อสายจีนในอําเภอดําเนินสะดวกปฏิบัติสืบทอดกันมา หลายชั่วอายุคนซึ่งแฝงคติความเชื่อในเรื่องความสัมพันธระหวางมนุษยกับมนุษย สิ่งเหนือ ธรรมชาติ ความเชื่อเกี่ยวกับบรรพบุรุษที่ลวงลับ การทําบุญและการใหทาน อาทิ เทศกาล ชุงเจหรือวันตรุษจีน ตรงกับวันที่ 1 เดือน 1 ตามปฎิทินจีน ซึ่งเปนวันขึ้นปใหมของชาวจีน เทศกาลซางวยซิวซาหรือเช็งเม็งในชวงเดือน 3 ขึ้น 3 ค่ํา เปนการไหวบรรบุรุษที่ลวงลับ ณ สุสานหรือฮวงซุย เทศกาลโหงยเหวยโจย ตรงกับเดือน 5 ขึ้น 5ค่ํา หรือการไหวขนมบะจาง หรื อ ป ก จั่ ง เทศกาลกุ ย โจ ย (ซิ โ กว) หรื อ การทํ า บุ ญ ทิ้ ง กระจาด ในเดื อ น 7 ขึ้ น 7 ค่ํ า เทศกาลตงงวงโจยหรือวันสารทจีน เดือน 7 ขึ้น 15 ค่ํา เทศกาลโปยเซียนหรือการไหวเทพ เซียนทั้ง 8 องค ในเดือน 8 ขึ้น 8 ค่ํา เทศกาลตงชิวโจยหรือการไหวพระจันทรในเดือน 8 ขึ้น 15 ค่ํา เทศกาลเกาโหวยเจหรือกินเจ เริ่มในเดือน 9 ขึ้น 1 ค่ํา เทศกาลขนมบัวลอย เทศกาลเซียเซง พิธีไหวสงเจาขึ้นสวรรคในเดือน 12 ของปฎิทินจีน รวมทั้งการไหวเจา ประจําทุกวันพระจีน หรือชิวอิด จับโหงวที่ชาวไทยเชื้อสายจีนไดปฏิบัติตลอดทั้งป นอกจากชาวไทยเชื้อสายจีนซึ่งเปนคนกลุมใหญในพื้นที่ดําเนินสะดวกแลวในพื้นที่ อําเภอดําเนินสะดวกยังมีกลุมชาวไทยเชื้อสายลาวโซงหรือ “ไทยทรงดํา” หรือ “ผูไทดํา”ซึ่ง เปนชื่อที่คนไทยภาคกลางใชเรียกชาติพันธุกลุมนอยกลุมหนึ่งที่อพยพจากเขตสิบสองจุไทใน ประเทศเวียดนามตอนเหนือที่เขามาตั้งหลักอาศัยในลุมแมน้ําเจาพระยาเมื่อประมาณสอง ศตวรรษเศษที่ผานมา สาเหตุที่ใชชื่อดังกลาวสันนิษฐานกันวาเปนการเรียกตามสีเครื่องแตง กายที่นิยมแตงดวยเสื้อผาสีดํา เปนหลัก กลุมผูไทอพยพเขามาในประเทศไทยหลายครั้งใน ฐานะเชลยศึกสงครามในสมัยธนบุรี และรัตนโกสินทรตอนตน ซึ่งถูกสงใหไปอยูที่จังหวัด เพชรบุรี เนื่องจากพื้นที่ดังกลาวมีลักษณะภูมิประเทศที่คลายคลึงกับบริเวณสิบสองจุไท ทั้งยังอยูใกลกับตัวพระนครทําใหสะดวกแกการควบคุม อยางไรก็ตามภายหลังการออกพระราชบัญญัติการเกณฑทหารและยกเลิกระบบไพร ในสมัยรัชกาลที่ 5 ทําใหควบคุมผานระบบมูลนายยุติลง จึงทําใหชาวลาวบางสวนตัดสินใจ อพยพยายถิ่นฐานเพื่อไปแสวงหาพื้นที่ทํากินแหลงใหม การกลับภูมิลําเนาเดิม หรืออีก สาเหตุหนึ่งที่มีการพยายามอธิบายถึงการอพยพออกจากพื้นที่ ตามที่สุมิตร ปติพัฒน และ เสมอชัย พลูสุวรรณ (2540) ไดวิเคราะหวา การยกเลิกระบบการปกครองไพรโดยมูลนาย เปนชองทางหนึ่งที่ทําใหโครงสรางสังคมตามวัฒนธรรมดั้งเดิมของลาวโซงโดยเฉพาะองคกร ระดับบานไดมีทางที่จะกลับมาแสดงออกไดอีกครั้ง โดยปรากฏไดชัดเจนในชุมชนใหมๆซึ่ง แตกตัวออกไปมากกวาในชุมชนเกา ซึ่งถูกครอบดวยการจัดระเบียบทางสังคมตามระบบมูล 13


นายมาเป นเวลาช านาน ชาวลาวจึง อาศั ยการเดิน เทา จากจังหวัดเพชรบุ รีขึ้น ไปเรื่อยๆ เมื่ อ ถึ ง ฤดู ฝ นจะหยุ ด พั ก เพื่ อ ทํ า นาหาเสบี ย งจนสิ้ น สุ ด ฤดู ฝ นจึ ง เดิ น ทางต อ บางกลุ ม ไม สามารถเดินทางตอไปไดจึงตั้งหลักปกฐานไปตามรายทางเปนแหงๆตามจังหวัดตางๆในเขต ภาคกลางตอนล า งไปจนถึ ง ตอนบน เช น ราชบุ รี นครปฐม สมุ ท รสาคร สุ พ รรณบุ รี กาญจนบุรี พิษณุโลก และพิจิตร เปนตน (มูลนิธิไทยทรงดําแหงประเทศไทย, 2548) สําหรับการอพยพของชาวลาวโซงในพื้นที่ริมสองฝงคลองดําเนินสะดวก ไดเขามาตั้ง ถิ่ น ฐานกระจายตั ว ในตํ า บลดอนคลั ง บั ว งาม และประสาทสิ ท ธิ์ ที่ บ า นดอนข อ ย บานตาลเรียง บานบัวงาม บานโคกหลวง บานโคกกลาง บานดอนคลัง ซึ่งในอดีตนั้นมี อาชี พทํ า นาเปน หลัก เอกลั กษณ ทางวัฒ นธรรมของชาวลาวโซ ง ในพื้ น ที่ดํ า เนิ น สะดวก แลเห็นไดชัดเจนจากวัฒนธรรมการแตงกาย ทรงผม การใชภาษาพูด พิธีกรรมเกี่ยวกับชีวิต สวนตัว เชน พิธีซอนขวัญ เสนแมมด เสนเปาป และการแตงงานแบบดั้งเดิม หรือการกิน หลอง/การกิ น ดอง พิ ธี เ สนเรื อ น พิ ธี ศ พ ซึ่ ง ยึ ด โยงเกี่ ย วกั บ คติ ค วามเชื่ อ ผี บ รรพบุ รุ ษ นอกจากนี้ยังมีการละเลนตางๆ อาทิ การเลนคอนของหนุมสาวชาวลาวโซงซึ่งคลายคลึงกับ การโยนลูกชวง และการรําตามจังหวะเพลง การตอกลอน การลงขวงหรือการทํางานที่ บริ เ วณลานบ า นช ว งกลางคื น ของหนุ ม สาว ได แ ก การป น ฝ า ย การเย็ บ ป ก ถั ก ร อ ย การจักสาน การตําขาว เปนตน ซึ่งการละเลนเหลานี้แทบจะไมปรากฏใหเห็นแลว ยังคง เหลือการรําแคนหรือรําลาว ที่เปนการฟอนรําตามเสียงเพลงของหนุมสาวเพื่อการเกี้ยวพา ราสี แตปจจุบันการละเลนดังกลาวไดถูกประยุกตไปละเลนในเทศกาลงานบุญตางๆสําหรับ คนทุกเพศวัยในชุมชน

การละเลนรําลาวของชาวไทยทรงดํา โคกหลวง วัดปราสาทสิทธิ์

ในพื้นที่ริมคลองดําเนินสะดวก ยังมีชุมชนชาวมอญที่อพยพเขามาตั้งถิ่นฐานอีกกลุม หนึ่งดวย โดยสันนิษฐานวานาจะอพยพเขามาในชวงภายหลังการขุดคลองดําเนินสะดวก เสร็จแลว โดยมีศูนยกลางอยูที่วัดราษฎรศรัทธากะยาราม ที่ชุมชนชาวมอญไดรวมกันสราง วัดดังกลาวขึ้นที่ตําบลหลักสาม อําเภอบานแพว จังหวัดสมุทรสาคร นอกจากนี้ ริมสองฝง คลองดําเนินสะดวกยังมีชุมชนคริสตศาสนิกชน สังกัดนิกายโรมันคาทอลิก สังฆมณฑล 14


ราชบุรี ที่ปรากฏอยูจํานวน 2 แหง ไดแก ชุมชนชาวหลักหา ในตําบลประสาทสิทธิ์ เปน ที่ตั้งของวัดแมพระสายประคํา ในเขตตําบลประสาทสิทธิ์ และยังเปนที่ตั้งของโรงเรียนวันทา มารี อ า และที่ ชุ ม ชนบางนกแขวก บริ เ วณปากคลองดํ า เนิ น สะดวก ด า นทิ ศ ตะวั น ตก เชื่อมตอกับแมน้ําแมกลอง อันเปนที่ตั้งของอานสนวิหาร วัดพระแมบังเกิด อันเปนที่ตั้งของ โรงเรียนดรุณานุเคราะห โรงเรียนนารีวัฒนา ชุมชนทั้งสองแหงมีโบสถเปนศูนยกลางของ คริสตชนและสถานศึกษาที่เปดสอนใหแกบุตรหลานทุกศาสนิกชนของคนในชุมชนละแวก ดังกลาวและพื้นที่ใกลเคียง 3. วิ ถี ชี วิ ต ริ ม สองฝ ง คลองดํ า เนิ น สะดวกเป น ชุ ม ชนที่ มี ก ารตั้ ง ถิ่ น ฐานริ ม น้ํ า คูคลอง สะทอนวิถีชีวิตริมน้ํา และการคาขายริมน้ําหรือ “ตลาดน้ํา” จากการศึกษางานวิจัยหลายชิ้นที่ไดทําการศึกษาเกี่ยวกับการตั้งถิ่นฐานของชุมชน ริมสองฝงคลองดําเนินสะดวก พบวางานสวนใหญจะทําการศึกษาในชวงของพื้นที่อําเภอ ดําเนินสะดวก จังหวัดราชบุรี โดยระบุวากอนมีการขุดคลองดําเนินสะดวกนั้น สันนิษฐานกัน วา นา จะมีก ารตั้ง ชุม ชนอยู บริ เวณแนวคลองแพงพวยและคลองสี่ห มื่น เนื่อ งจากคลอง ดังกลาวสามารถเชื่อมตอไปยังแมน้ําแมกลองซึ่งเปนลําน้ําสายสําคัญในการคมนามคม ลองเรือสินคาไปยังตอนในของพื้นที่คือตัวเมืองราชบุรี เพื่อตัดเขาสูแมน้ําทาจีน และผานเขา สูแมน้ําเจาพระยาเขาถึงกรุงศรีอยุธยาได (องคการคาคุรุสภา, 2542) ชุมชนกอนการขุด คลองดํ า เนิ น สะดวก จึ ง ตั้ ง กระจายตั ว อยู ริ ม แนวคลองทั้ ง สอง โดยมี วั ด โคกหลวงที่ สันนิษฐานวาสรางขึ้นในสมัยอยุธยาสะทอนจากรูปแบบทางสถาปตยกรรมของพระอุโบสถที่ รวมสมัยเดียวกับอยุธยาวัดแหงนี้บริเวณกวางขวางมาก นับเปนวัดที่มีความสําคัญของ ชุมชนในที่ราบลุม และยังมีวัดใหมสี่หมื่นที่ตั้งขึ้นราวป พ.ศ.2337 สมัยรัตนโกสินทรตอนตน โดยประชาชนในพื้ น ที่ ส ว นใหญ ป ระกอบอาชี พ ทํ า นาเป น หลั ก วั ด ทั้ ง สองแห ง จึ ง เป น ศูนยกลางของชุมชนในชวงกอนการขุดคลองดําเนินสะดวก ในชวงเวลาตอมาเมื่อมีการขุด คลองดํ า เนิ น สะดวกจึ ง เกิ ด การระดมทรั พ ยากรต า งๆ โดยเฉพาะผู ค นที่ เ ป น ทั้ ง ชาวจี น ชาวเขมร ชาวมอญ และชาวไทยจํานวนมากเพื่อเขามาเปนแรงงงานในการขุดคลองดําเนิน สะดวก แรงงานเหลานี้จึงเขามาพํานักอาศัยตามแนวการขุดคลอง และเมื่อการขุดคลองแลว เสร็จ เกิดการเขามาจับจองพื้นที่ริมน้ําของผูคนมากมายเปนที่ตั้งถิ่นฐานพัฒนากลายเปน ชุมชนริมคลองตามยานตางๆ

15


วัดโคกหลวง

วัดใหมสี่หมื่น

จากบันทึกพระราชหัตถเลขาของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัวเมื่อคราว เสด็จประพาสมณฑลราชบุรี พ.ศ.2452 ที่บรรยายวา “สภาพริมคลองดําเนินสะดวกมีการ ขยายตัวของชุมชนที่ชัดเจนตั้งแตหลักที่ 1 เปนตนไป มีการเปลี่ยนพื้นที่เดิมที่เปนปาจาก ปาปรง เปนพื้นที่ทางการเกษตรกรรม พาณิชยกรรม มีวัดและชุมชนอยูอาศัย” สอดคลอง กับการศึกษาวิจัยของ Robert Larimore Pendleton (1936 อางถึงในวาริกา มังกะลัง 2556) ไดอธิบายลักษณะการตั้งถิ่นฐานของชุมชนชวงกอนสงครามโลกครั้งที่ 2 ไววา พื้นที่ สองฝงคลองมีการวางลักษณะอาคารบานเรือนที่ใกลชิดกัน คลายเรือนแถวซึ่งกอขึ้นดวยไม สันนิษฐานวาอาจเปนเรือนแถวคาขาย เนื่องจากดานหนาเรือนแถวนั้นมีเรือจอดหลายลํา อี ก ทั้ ง ยั ง ปรากฏการตั้ ง บ า นเดี่ ย วริ ม คลอง ซึ่ ง ด า นหลั ง ของบ า นปลู ก เป น สวนพริ ก ไทย ชาวสวนจะทําการขุดคลองยอยเพื่อชักน้ําเขาสูสวน และสรางสะพานเล็กขามคลองยอย การขยายตัวองชุมชนริมคลองดําเนินสะดวกในพื้นที่อําเภอดําเนินสะดวกจึงเริ่มที่วัดเปน ศูนยกลาง โดยวัดที่สําคัญซึ่งมีการสรางขึ้น คือ วัดปราสาทสิทธิ์ และวัดหลักหกรัตนาราม

เรือนแถวริมคลองดําเนินสะดวกและลําคลองยอยและสวนพริกไทย พ.ศ.2479 Larimore Pendleton 1936 อางถึงในวาริกา มังกะลัง 2556 16


ในช วง พ.ศ.2479 เป นต นมา คลองดํ าเนินสะดวกได ทวีค วามสํ าคัญ มากยิ่ งขึ้ น เนื่องจากเปนเสนทางที่ชวยยนระยะทางจากพระนครไปยังหัวเมืองฝงตะวันตก และใชเปน เสนทางในการลําเลียงสินคานานาชนิดโดยเฉพาะน้ําตาลที่เปนสินคาสงออกสําคัญ ชุมชน ริมคลองจึงริมขยายตัวมากขึ้นมีการสรางเรือนแถว เรือนไมริมน้ํากระจายตามสองฝงคลอง จากการศึกษาวิจัยของพรรณทิพย เปยมพุทธากุล (2537) วิเคราะหวา 40 ปใหหลังการขุด คลองดําเนินสะดวก การตั้งถิ่นฐานเริ่มหนาแนนขึ้น ทําใหเกิดศูนยกลางของชุมชนในคลอง ดําเนินสะดวกที่สําคัญ 2 แหง ไดแก

เรือบรรทุกหอมแดงของชาวสวนจีน (Larimore Pendleton 1936 อางถึงในวาริกา มังกะลัง 2556)

ชุมชนหนาวัดปราสาทสิทธิ์ หรือ ชุมชนคลองโพหัก อยูในบริเวณหลัก 5 โดยมีวัด ปราสาทสิทธิ์เปนแกนกลางของชุมชน วัดนี้สมเด็จเจาพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ (ชวง บุนนาค) ไดสรางขึ้นในป พ.ศ.2398 กอนการขุดคลองอยูหางจากริมคลองประมาณ 500 เมตร เมื่ อคลองตั ดผา นวัด ปราสาทสิทธิ์ จึงเปนแกนกลางที่สํา คัญของชุ มชนในขณะนั้ น ตอมาชุมชนไดขยายใหญขึ้นเมื่อวัดปราสาทสิทธิ์ไดถูกสรางขึ้นใหมตรงบริเวณริมคลอง ดําเนินสะดวก และมีการขุดคลองซอยที่สําคัญ คือ คลองบัวงามมีเสนทางขึ้นไปทางตอน เหนือเชื่อมกับคลองโพหัก ซึ่งแตเดิมมีชุมชนตั้งอยูแลว ความหนาแนนของประชากรตลอด บริเวณชวงนี้จึงเพิ่มขึ้น เกิดตลาดนัดทางน้ําที่ชาวบานเรียกกันวา “ตลาดนัดคลองโพหัก” และกลายเปนยานการคาที่สําคัญแหงหนึ่งของคลองดําเนินสะดวก

17


บริเวณชุมชนริมคลองดําเนินสะดวก หนาวัดปราสาทสิทธิ์

คลองโพหักเปนที่ตั้งของตลาดน้ํา คลองโพหัก

ชุมชนแหงที่สองที่จะกลาวถึง คือ ชุมชนดําเนินสะดวก อยูบริเวณตั้งแตปากคลอง ลัด พลี เ รื่ อ ยไปจนถึ ง ปากคลองทองหลาง ซึ่ง เป น ชุ ม ชนแห ง ใหม หลั ง การขุ ดคลอง โดย จุดสําคัญ คือ การที่คลองลัดพลีเปนคลองที่เชื่อมตอไปยังเมืองราชบุรี จึงมีผูคนสัญจรไปมา อย า งคั บ คั่ ง และตรงบริ เ วณปากคลองนี้ ยั ง เป น ที่ ตั้ ง ของศาลาห า ห อ งหรื อ ศาลาแดง (เนื่องจากหลังคามุงกระเบื้องสีแดง) ที่สรางโดยสมเด็จเจาพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ (ชวง บุนนาค) ไวสําหรับเปนที่พักของคนงานตอนกอนขุดคลองดําเนินสะดวก ตอมาก็กลายเปนที่ พักของผูคนที่เดินทางไปมา และในภายหลังยังไดใชเปนที่วาการอําเภอดําเนินสะดวกดวย ในสวนของคลองทองหลางที่อยูไมไกลมากนักก็เปนเสนทางที่สามารถเชื่อมตอกับคลองบาง นอยซึ่งเปนเสนทางไปยังบางคนที อัมพวาและเมืองแมกลองได บริเวณใกลเคียงนี้ยังมีวัด โชติทายการาม เปนวัดเกาแกที่เปนศูนยกลางของชุมชนอีกนัยหนึ่งดวย ดวยปจจัยทางพื้นที่ ของบริเวณนี้จึงนับเปนจุดที่สําคัญที่บรรดาเกษตรกรจะนําพืชพักผลไมบรรทุกลงเรือมา คาขายแลกเปลี่ยนกัน เกิดศูนยกลางคือตลาดน้ํา ซึ่งชาวบานเรียกวาตลาดนี้วา“ตลาดนัด ศาลาแดงหรือตลาดนัด 5 หอง” นอกจากนี้บริเวณใกลเคียงหางจากชุมชนดําเนินสะดวก ออกไปประมาณ 1 กิโลเมตร ยังมีตลาดนัดศรีสุราษฎรที่บริเวณปากคลองศรีสุราษฎร ซึ่งคลองนี้สามารถลัดไปถึงวัดธรรมาวุธาราม (วัดปงปน) ในเขตจังหวัดสมุทรสงครามได ดวย สําหรับบริเวณชุมชนในเขตจังหวัดสมุทรสงครามนั้น การตั้งถิ่นฐานสันนิษฐานกันวา นา จะมีก ารตั้ง บา นเรื อนกัน อย างหนาแน นในบริเ วณรอบวัด เจริญ สุข ารามเลยไปจนถึ ง บริเวณปากคลองดําเนินสะดวกหรือที่ผูคนมักจะเรียกวาคลองบางนกแขวกที่เชื่อมตอกับ แมน้ําแมกลอง ซึ่งบริเวณดังกลาวมีบานเรือนตั้งอยูริมสองฝากคลอง และมีตลาดน้ําบางนก แขวกเกิดขึ้น ซึ่งผูคนจะเรียกตลาดนัดนี้วา “นัดนอก” หรือนัดปากคลอง และเรียกนัดศาลา แดงหรือศาลาหาหองวา “นัดใน” สําหรับสินคาที่นํามาคาขายกันในนัดนอกนั้นจากมาจาก เมืองแมกลอง แควออมและแถบอัมพวา

18


ตลาดน้ําคลองลัดพลีในอดีต สมศักดิ์ อภิวันทนกุล กลุมวิสาหกิจชุมชนตลาดน้ําปากคลองลัดพลี, 2555 อางถึงในวาริกา มังกะลัง 2556

สําหรับการสัญจรทางน้ํานับเปนเอกลักษณหนึ่งของชุมชนริมคลองดําเนินสะดวกซึ่ง มีการอาศัยเทคโนโลยีที่เขามาเอื้ออํานวยความสะดวกในการสัญจรทางน้ําคือ“เรือยนต”ที่มี อยูหลากหลายรูปแบบ อาทิ เรือแดงซึ่งมีเสนทางเดินเรือตั้งแตประตูน้ําบางยาง จังหวัด สมุทรสาครจนถึงประตูน้ําบางนกแขวก จังหวัดสมุทรสงคราม จุผูโดยสารไดประมาณ 60 คน และเรือแท็กซี่จุผูโดยสารประมาณ 30-40 คน ที่ใหบริการจนถึงป พ.ศ. 2510 เรือหาง ยาว 7 ที่นั่ง จุผูโดยสาร 14 คน ใชกันมาตั้งแต พ.ศ.2502 ใชรับสงผูโดยสารในคลองดําเนิน สะดวก นอกจากนี้ยังมีเรืออีซุซุที่มีหลังคากันแดดอันเปนที่นิยมของผูโดยสาร เรือ 5 ที่นั่ง เรือ 2 ตอน เปนเรือรับจางเหมาไปยังจุดหมายที่ตองการ สวนผูที่จะเดินทางไปยังตัวเมือง ราชบุรี อัมพวา และแมกลองจะมีเรือยนตประจําทางบริการดวยเชนกัน พาหนะที่ใชในการ สัญจรทางน้ําในคลองดําเนินสะดวก ในสมัยนี้จึงสามารถแบงประเภทของเรือตามหนาที่ได คือ เรือสวนตัว ใชเรือพายหรือเรือแจวสวนใหญเปนเรือสําปนซึ่งเหมาะกับการบรรทุกพืชผัก ผลไม จากสวนที่ ก ระจายอยู ต ามคลองเล็ ก คลองน อ ยต า งๆมาค า ขายยั ง ตลาดน้ํ า หรื อ เดินทางไปมาติดตอกัน เรือโดยสาร ใชเรือหางยาววิ่งรับสงผูโดยสารในคลองดําเนินสะดวก โดยในระยะหลั ง นิ ย มใช เ รื อ อี ซุ ซุ กั น มาก รวมทั้ ง ยั ง มี เ รื อ กระแชง เรื อ เอี้ ย มจุ น เรื อ ขางกระดาน เรือมอ ซึ่งอาจใชเรือเมลลากจูง เพื่อใชบรรทุกขนสงสินคา เชน อิฐ หิน ปูน ทราย จากราชบุรี และเรือบรรทุกพืชผักผลไมจากสวนในดําเนินสะดวกและพื้นที่ใกลเคียง 19


โดยผานคลองดําเนินสะดวกไปยังตลาดในกรุงเทพฯและจังหวัดอื่นๆ แตปจจุบันการสัญจร ทางน้ําในเขตพื้นที่อําเภอดําเนินสะดวกลดลงไปมาก เรือประเภทตางๆ ที่กลาวไมมีใหบริการ แลวยังคงปรากฏใหเห็นเฉพาะเรือหางยาวที่ใชรับสงนักทองเที่ยวในบางชวงเวลา และเรือ สวนตัวซึ่งมีทั้งเรือพาย และเรือยนตที่ใชกันอยูบางประปราย เมื่อหันกลับมาพิจารณาการเกิดขึ้นของยานการคาทางน้ําที่เรียกวา“ตลาดน้ํา”ใน แตละชุมชนนั้นเปนปจจัยที่ดึงดูดผูคนใหเขามาทําการคาขายจึงทําใหเกิดความหนาแนนของ การใชพื้นที่มากตามไปดวย ซึ่งปฏิสัมพันธทางสังคมของตลาดน้ําในอดีตนั้นเกิดจากความ ตั้งใจในการจัดหาสินคาและผลผลิตที่ผลิตไดจากครัวเรือนมาแลกเปลี่ยนซื้อขายกัน ตลาดน้ํา จึงเกิดจากเงื่อนไขของการมาคาขายตามเวลาและสถานที่นัด โดยตั้งอยูบนพื้นฐานของการ สัญจรทางน้ํา การหมุนเวียนขึ้นลงของน้ํา และเครือขายเชิงพื้นที่ของวัตถุดิบหรือผลผลิต เกิดเปนเครือขายทางสังคมในการคาขายของตลาดน้ําที่แมคาพอคาและชาวสวนในพื้นที่ สามารถหมุนเวียนเดินทางไปคาขายในทุกวันในตลาดน้ําที่หมุนเวียนติดตลาดในวันจันทรคติ (ลั ก ษณา สั ม มานิ ธิ , 2554) ซึ่ ง มี ค วามแตกต า งจากตลาดน้ํ า ในป จ จุ บั น ที่ เ ปลี่ ย นแปลง บทบาทไปเพื่อการทองเที่ยวเปนหลัก สาเหตุสําคัญที่ทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงดังกลาวเปน เพราะมีการตัดถนนสาย 325 ใน ป พ.ศ.2516 และตามมาดวยการตัดถนนยอยสายตางๆ ทํ า ให เ กิ ด การเปลี่ ย นแปลงรู ป แบบการตั้ ง ถิ่ น ฐานของชุ ม ชนมาอยู ริ ม ถนนมากขึ้ น เกิ ด ศู น ย ก ลางทางการค า ชุ ม ชนการค า แหล ง ใหม บ ริ เ วณตลาดเสรี แ ละตลาดเสริ ม สุ ข มีตึกแถวอาคารพาณิชยเกิดขึ้นจํานวนมากบริเวณสองฝงถนน ตั้งแตบริเวณสะพานขาม คลองดําเนินสะดวกถนนสาย 325 ไปทางทิศเหนือ ซึ่งมีผูประกอบการคาที่อาศัยอยูริมน้ําแต เดิมและผูประกอบการรายใหมเขามาประกอบธุรกิจ เกิดหางราน ธุรกิจรายยอยตางๆ และ ตลาดนัดบกในแตละพื้นที่ขึ้นมากมายตามที่ปรากฏใหเห็นในปจจุบัน ทําใหตลาดน้ําบางแหง ตองปดตัวลง ไดแก ตลาดน้ําคลองโพหัก ตลาดน้ําปากคลองศรีสุราษฎร ขณะที่ตลาดน้ํา ปากคลองลัด พลีได รับผลกระทบจากการถู กคลื่นจากเรื อยนต ที่สัญจรไปมารบกวนการ สัญจรของพอคาแมคา จึงไดยายมาทําการซื้อขายแลกเปลี่ยนที่ตลาดน้ําคลองตนเข็มแทน ซึ่งมีความสะดวกทั้งทางน้ําและทางรถในการขนสงสินคาเนื่องจากมีถนนสุขาภิบาลตัดผาน อีกทั้งตลาดน้ําคลองตนเข็มยังไดรับการสงเสริมใหเปนที่ทองเที่ยวสําคัญจึงกอใหเกิดการ พัฒนาดานตางๆที่จะอํานวยความสะดวกเพื่อรองรับกับนักทองเที่ยวมากขึ้น ตลาดน้ําคลอง ตนเข็มจึงไดเปลี่ยนรูปแบบไปเปนสถานที่ทองเที่ยวที่สรางรายไดใหกับคนในชุมชนแทน สินคาและกิจกรรมตางๆจึงมีความหลากหลายตามไปดวย (วรวุฒิ เพ็งพันธ 2548) โดย สรุปกลาวไดวาพัฒนาการของการตั้งถิ่นฐานของชุมชนริมคลองดําเนินสะดวกจึงสัมพันธกับ การใชสอยพื้นที่ และนโยบายการพัฒนาพื้นที่โดยมีการเปลี่ยนแปลงเปนมาลําดับ สอดคลอง กับการศึกษาวิจัยของวาริกา มังกะลัง (2556) ที่ไดวิเคราะหการตั้งถิ่นฐานของชุมชนริม 20


คลองดําเนินสะดวกออกเปน 3 รูปแบบ ไดแก 1)การตั้งถิ่นฐานแบบริมคลองผสมพื้นที่ เกษตร คือ ลักษณะของชุมชนจะเปนบานเดี่ยวกระจายหางๆกัน หนาบานติดลําคลองสาย หลัก พื้นที่หลังบานเปนพื้นที่เกษตรกรรม เมื่อมีผูคนเขามาตั้งถิ่นฐานมากขึ้นการวางตัวตาม แนวคลองสายหลัก จึงมีการขยายเขาสูคลองสายรอง โดยการตั้งถิ่นฐานนี้จะมีรัศมีอยูใกล กับวัดที่สรางขึ้น 2) การตั้งถิ่นฐานแบบริมคลองที่วัดเปนศูนยกลางและแหลงตลาด จะอยูใน บริเวณที่มีวัดเปนศูนยกลางและมีจุดตัดที่เปนคลองสายหลักกับสายรอง โดยเมื่อมีการขุด คลองสายรองหรือคลองยอยยอมทําใหเกิดความหนาแนนในการสัญจรของเรือมากขึ้น ทําใหเกิดแหลงตลาดที่มีการแลกเปลี่ยนสินคาหรือตลาดน้ําเกิดเรือนแถวไมริมน้ําเปนรานคา ดานหลังอาจเปนพื้นที่เกษตร ซึ่งมีลักษณะแบบกลุม (Cluster Pattern) เชน ชุมชนหนาวัด ปราสาทสิทธิ์หรือบริเวณปากคลองโพหัก ชุมชนปากคลองลัดพลีใกลวัดโชติทายการาม เปนตน และ 3)การตั้งถิ่นฐานแบบริมถนน เปนผลมาจากการพัฒนาระบบโครงขายการ คมนาคม โดยครั ว เรื อ นนั้ น แม ว า จะทํ า การเกษตรแต บ า นวางหั น หลั ง ใหกั บ คลอง หรื อ ครัวเรือนที่ทําการคาจะเปลี่ยนเปนอาคารพาณิชยติดถนน จากเดิมที่เปนเรือนแถวไมริมน้ํา ตลาดน้ําและคลอง

ตลาดน้ําคลองตนเข็มในปจจุบัน

บริเวณปากคลองลัดพลีปจจุบัน

21


22


บทที่ 2 ศาสนสถานสําคัญริมคลองดําเนินสะดวก : ชวงพื้นที่จงั หวัดสมุทรสาคร

23


ศาลเจาอามาบางยาง ตําบลบางยาง อําเภอกระทุมแบน จังหวัดสมุทรสาคร

สาระสังเขป : ศาลเจาอามาบางยาง หรือศาลเจาแมทับทิม ตั้งอยูบริเวณปากคลองดําเนินสะดวก ดานหนาของศาลติดกับแมน้ําทาจีน คนในชุมชนเรียกศาลนี้วา ศาลอามาใหญ หรือศาล อามาบน มีอายุเกาแกกวารอยป แตเดิมปลูกสรางดวยไม แตปจจุบันไดมีการบูรณะขึ้นใหม สรางเปนอาคารสถาปตยกรรมแบบจีน ดานหนามีศาลาไมซึ่งใชสําหรับการแสดงอุปรากรจีน ภายในศาลเจาประดิษฐานเทวรูปอามาเปนองคประธาน และเทวรูปเทพสําคัญองคตางๆ 24


วัดบางยาง ตําบลบางยาง อําเภอกระทุมแบน จังหวัดสมุทรสาคร

สาระสังเขป : วัดบางยาง ดานหนาของวัดติดกับคลองตัน ซึ่งเปนคลองที่เชื่อมตอกับคลองดําเนิน สะดวก วัดแหงนี้มีพระพุทธรูปสําคัญซึ่งเปนที่เคารพศรัทธาในละแวกชุมชนบางยาง คือ หลวงพอศรีธรรมาราช ศาสนสถานสําคัญของวัด ประกอบดวยพระอุโบส ศาลาการเปรียญ วิหาร ศาลาทาน้ํ า และยังมีโรงเรียนในอุปถัมภ ของวัด คือ โรงเรียนบางยางพิ ทยาคาร เปดสอนในระดับอนุบาลจนถึงชั้นประถมศึกษา 25


วัดสวนสม ตําบลสวนสม อําเภอบานแพว จังหวัดสมุทรสาคร

สาระสังเขป : วัดสวนส ม ตั้งชื่ อเรียกตามบริเ วณโดยรอบพื้นที่ วัดซึ่งเป นแหลง ปลูกสมมาแตอดี ต ภายในวั ด มี ศ าสนสถานที่ สํ า คั ญ ได แ ก อุ โ บสถ ศาลาการเปรี ย ญ ศาลาบํ า เพ็ ญ กุ ศ ล หอกลอง หอระฆัง ศาลาทาน้ํา รวมทั้งปูชนียวัตถุที่เปนมรดกทางวัฒนธรรมของวัด คือ “หลวงพออูทอง” สรางดวยศิลาแลง เปนพระประธานประจําอุโบสถ สมัยอยุธยาตอนปลาย ประดิษฐานบนธรรมาสนลงรักปดทอง จารึก พ.ศ. 2411

26


วัดหลักสองราษฎรบํารุง ตําบลหลักสอง อําเภอบานแพว จังหวัดสมุทรสาคร

สาระสังเขป : วัดหลักสองราษฎรบํารุง ตั้งอยูริมคลองดําเนินสะดวกบริเวณหลักสอง มีศาสนสถาน สําคัญภายในวัด เชน พระอุโบสถ วิหาร ศาลาการเปรียญ หอระฆัง โดยมีหลวงพอพุทธ สุโขทัยธรรมราชาประดิษฐานอยูในวิหารจตุรมุขดานหนาพระอุโบสถ เปนพระพุทธรูปสําคัญ ของวัดซึ่งเปนที่เคารพศรัทธาของคนในชุมชนยานหลักสอง

27


ศาลเจาแมกวนอิม ตําบลหลักสอง อําเภอบานแพว จังหวัดสมุทรสาคร

สาระสังเขป : ศาลเจาแมกวนอิม ตั้งอยูดานหลังบริเวณวัดหลักสองใกลกับโรงเรียนวัดหลักสอง ราษฎรบํารุง ศาลเจาสรางเปนอาคารคอนกรีต ภายในประดิษฐานเทวรูปเทพหลายองค เชน พระโพธิสัตวกวนอิม ซําปอหุกโจว พระสังกัจจายน ดานหนาของศาลเจาที่ศาลเทพยดา ฟาดิน และลานโลงสําหรับประกอบพิธีกรรมตางๆ

28


วัดราษฎรศรัทธากะยาราม ตําบลหลักสาม อําเภอบานแพว จังหวัดสมุทรสาคร

สาระสังเขป : วัดราษฎรศรัทธากะยาราม หรือที่ชาวบานเรียกวา “วัดมอญ” เพราะเปนวัดที่ชาวรามัญ สรางขึ้นมาภายหลังการขุดคลองดําเนินสะดวก วัดแหงนี้มีหลวงพอใหญศรีเมืองสมุทร เปน พระพุทธรูปสําคัญ ภายในวัดมีศาสนสถานที่กอสรางดวยรูปแบบศิลปะไทยและศิลปะรามัญ เชน เจดีย เสาหงส รูปปนสัตวตางๆ นอกจากนี้บริเวณวัดซึ่งมีตนไมชนิดตางๆขึ้นจํานวน มากจึงเปนที่อาศัยของนกกาน้ํา นกกระยางขาวใหไดพบเห็นดวย 29


วัดธรรมจริยาภิรมย ตําบลหลักสาม อําเภอบานแพว จังหวัดสมุทรสาคร

สาระสังเขป : วัดธรรมจริยาภิรมย ตั้งอยูติดริมคลองดําเนินสะดวก มีพระมหาธาตุรัตนเจดียเดนเปน สงา และมีหลวงพออูทอง เปนพระพุทธรูปสําคัญของวัด ภายในวัดยังมีวิหาร สถูป เจดีย ศาลาการเปรียญ ศาลาทาน้ํา และศาลเจา นอกจากนี้ยังมีโรงเรียนวัดธรรมจริยาภิรมย ภายใตการอุปถัมภของวัดซึ่งเปดสอนในระดับมัธยมศึกษา 30


วัดใหมราษฎรนุกูล ตําบลบานแพว อําเภอบานแพว จังหวัดสมุทรสาคร

สาระสังเขป : วัดใหมราษฎรนุกูล ตั้งอยูฝงตรงขามกับวัดธรรมจริยาภิรมย เปนวัดที่มีความรมรื่น เนื่องจากมีตนไมจํานวนมากภายในวัด วัดแหงนี้มีหลวงพอสอน เปนที่เคารพของคนในพื้นที่ ภายในวัดยังมีศาสนวัตถุที่สําคัญหลายอยาง เชน พระพุทธนวมงคล ปางพิชิตมาร เจาแม กวนอิ ม พระสั ง กั จ จายน นอกจากนี้ ยั ง มี สํ า นั ก ปฏิ บั ติ ธ รรม ศาลาธรรมสํ า หรั บ พุทธศาสนิกชนที่มาปฏิบัติธรรมที่วัดดวย 31


ศาลเจากิ่วเทียงเนี้ยว ตําบลหนองบัว อําเภอบานแพว จังหวัดสมุทรสาคร

สาระสังเขป : ศาลเจากิ่วเทียงเนี้ยว ตั้งอยูริมคลองดําเนินสะดวกฝงตรงขามกับโรงเรียนบานแพว วิ ท ยา (ตี๋ ง ตง) อาคารสร า งด ว ยคอนกรี ต รู ป แบบตามสถาป ต ยกรรมจี น มี รู ป ปู น ป น การจารึกขอความอักษรจีน ภาพเขียนสี ทั้งภายในและภายนอก มีเทวรูปเทพตั๋วกิ่วเทียง เนี้ย งเปน องค ประธาน ดา นหนาของศาลมี ศาลเทพยดาฟ าดิ น และเป นลานโลง สํา หรั บ ประกอบพิธีกรรมตางๆ 32


ศาลเจาอามาเทียงโหวเซี้ยบอ ตําบลหนองบัว อําเภอบานแพว จังหวัดสมุทรสาคร

สาระสังเขป : ศาลเจาอามาเทียงโหวเซี้ยบอ ตั้งอยูบริเวณปากคลองสองหอง ซึ่งเชื่อมตอกับความ ดําเนินสะดวก เปนศาลเจาไมภายในประดิษฐานเทวรูปอามาเทียงโหวเซียบอ เปนประธาน และเทวรูปเทพองคสําคัญ ที่ประตูทางเขาศาลมีการเขียนภาพทวารบาลและภาพเขียนตาม คติจนี ประดับ ดานหนาของศาลเจามีศาลาไมสําหรับประกอบพิธีกรรมตางๆ

33


วัดหลักสี่ราษฎรสโมสร ตําบลยกกระบัตร อําเภอบานแพว จังหวัดสมุทรสาคร

สาระสังเขป :

วั ด หลั ก สี่ ร าษฎร ส โมสร ตั้ ง อยู ริ ม คลองดํ า เนิ น สะดวก วั ด แห ง นี้ มี ห ลวงพ อ โต ซึ่ ง เป น พระพุทธรูปปางมารวิชั ย สรางดวยหินทรายแดง เปนที่เคารพของผูคนในสายน้ําดําเนินสะดวก ภายในวันมีศาสนวัตถุใหบูชาหลากหลาย ไดแก พระพุทธรูปแกะสลักดวยไมสัก เทพเจาจีน รูปปน พระเกจิอาจารย พระราหู รูปปนรัชกาลที่ 9 ทรงผนวช พรอมเหลาเทวดา รอยพระพุทธบาทจําลอง ในงานประจําปของวัดทุกปบรรดาเหลาศิษยานุศิษยจะมีการอัญเชิญองคหลวงพอโตแหลองไปตาม คลองดําเนินสะดวกเพื่อใหประชาชนริมสองฝงคลองไดสักการะรับความเปนสิริมงคล 34


โรงเจไทเอ็กตั๊ว (ศาลเจาพอสําเร็จ) ตําบลหนองสองหอง อําเภอบานแพว จังหวัดสมุทรสาคร

สาระสังเขป :

โรงเจไทเอ็กตั้วหรือศาลเจาพอสําเร็จ ตั้งอยูถัดเขาไปในคลองเจริญยิ่งซึ่งเชื่อมตอกับคลองดําเนิน สะดวก มีสถาปตยกรรมอาคารปลูกสรางแบบศาลเจาจีนโดยชั้นบนหลังคาของศาลเจาประดิษฐานเทพ กวนอูองคใหญ ชั้นสองของศาล มีเสามังกรสําหรับไหวเทพยดาฟาดิน ดานขวามือชั้นบนดานหนาของ องคเจาพอกวนอูเปนเจาแมกวนอิม ภายในตัวอาคารประดิษฐานองคเจาพอสําเร็จเปนองคประธาน และรายลอมดวยพระพุทธรูป และพระเถราจารยตางๆ เชน หลวงปูทวด, หลวงพอโต (พรหมรังสี) เทพกวนอู พระพิฆเนศ และทวยเทพองคตางๆ นอกจากนี้ภายในศาลยังมีพื้นที่การใหบริการสมุนไพร เพื่อดูแลสุขภาพและเรือนพักสําหรับผูมาปฏิบัติธรรมในชวงเทศกาลตางๆดวย 35


ศาลเจาฉือปุยเนี้ย ตําบลหนองสองหอง อําเภอบานแพว จังหวัดสมุทรสาคร

สาระสังเขป : ศาลเจาฉือปุยเนี้ย ตั้งอยูริมคลองดําเนินสะดวก ศาลเจาสรางดวยอาคารคอนกรีต ภายในประดิษฐานเทวรูปเทพฉือปุยเนี้ยเปนองคประธาน ดานหนาของศาลเจามีศาลเทพย ดา ฟาดิน ศาลาทาน้ํา และมีศาลาไมเพื่อใชประกอบพิธีกรรมตางๆในชวงงานประจําป เชน เทศกาลกินเจ ทิ้งกระจาด และใชเปนสถานที่สําหรับการแสดงอุปรากรจีน

36


ศาลเทพเจาแชหมิ่งเชียงคุณ ตําบลหนองสองหอง อําเภอบานแพว จังหวัดสมุทรสาคร

สาระสังเขป : ศาลเทพเจาแชหมิ่งเชียงคุณ ตั้งอยูบริเวณปากคลองโรงเรียนยงติดกับคลองดําเนิน สะดวก เปนศาลเจาหลังเล็กที่ตั้งอยูในโรงเรียนชุมชนบานดอนไผ ศาลเจากอสรางดวย คอนกรีต ภายในประดิษฐานเทวรูปเทพจีน และตี่จูเอี้ย ดานหนาของศาลมีแทนบูชาเทพยดา ฟาดิน

37


วัดปทุมทองรัตนาราม ตําบลหนองสองหอง อําเภอบานแพว จังหวัดสมุทรสาคร

สาระสังเขป : วั ด ปทุ ม ทองรั ต นาราม ตั้ ง อยู ถั ด เข า ไปจากคลองดํ า เนิ น สะดวกอยู ใ นคลองซอย โรงเรียนยง ภายในวัดมีพระอุโบสถที่สรางดวยไมยกพื้นที่สูงบนฐานคอนกรีต และมีองค หลวงพอขุนดานที่ประดิษฐานอยูในวิหารจตุรมุขติดกับคลองโรงเรียนยงเปนพระพุทธรูปอัน เปนที่เคารพของคนในชุมชน 38


ศาลเจาหลวงพอไตเสี่ย ตําบลหนองสองหอง อําเภอบานแพว จังหวัดสมุทรสาคร

สาระสังเขป : ศาลเจา หลวงพอ ไต เสี่ย ตั้ง อยูถั ดเข าไปในคลองดํา เนิน สะดวก โดยอยู ในคลอง สามัคคี ตั้งอยูไมไกลจากวัดปทุมทองรัตนารามมากนัก อาคารของศาลเจากอสรางดวยไม โดยเปน กลุมของอาคารที่ เชื่อมโยงต อกัน หลายหลังภายในประดิษฐานเทวเทพรู ปองค สําคัญ คือ คุณพอไตเสี่ย มีแทนบูชาเทวรูปสําคัญหลายองคและเกาอี้สําหรับประทับรางทรง ดานหนาของศาลเจามีศาลเทพยดาฟาดิน ศาลาไมและลานโลงสําหรับประกอบพิธีกรรมใน เทศกาลตางๆที่ศาลเจาจัดขึ้น 39


ศาลเจาพอเขาตกทั้ง 5 ตําบลหนองสองหอง อําเภอบานแพว จังหวัดสมุทรสาคร

สาระสังเขป : ศาลเจาพอเขาตกทั้ง 5 เปนศาลเจาที่กอสรางขึ้นใหม อยูบริเวณสามแยกสหกรณผูปลูก มะนาวบานแพว ถัดเขาไปปากจากคลองดําเนินสะดวก อาคารศาลเจาเปนคอนกรีต ภายใน ประดิษฐานเทวรูปเจาพอเขาตกทั้ง 5 ดานหนามีโตะบูชา พรอมกับเกาอี้นั่งสําหรับการประทับ รางทรง หนาของศาลเจามีศาลเทพยดาฟาดิน และลานดินสําหรับประกอบพิธีกรรมตางๆ 40


มูลนิธิแพรศีลธรรมการกุศลสงเคราะห เมงซวงเซี่ยงตัว้ ตําบลโรงเข อําเภอบานแพว จังหวัดสมุทรสาคร

สาระสังเขป :

มูลนิธิแพรศีลธรรมการกุศลสงเคราะห หรือเมงซวงเซี่ยงตั๊ว ตั้งอยูบริเวณปากคลองออมใหญ ซึ่งเปนจุดบรรจบกับคลองดําเนินสะดวก มีวิหารโปยเซียนโจวซือหรืออี่เยี่ยงไท ศาลเปนอาคารคอนกรีต 2 ชั้น รูปแบบสถาปตยกรรมจีน เปนที่ประดิษฐานรูปเคารพเทพเจาหลายองค เชน ซาเสี่ยฮุกโจว โปยเซียนโจวซือ หรือแปดเทพตามคติความเชื่อลัทธิเตาของจีน กิจกรรมสําคัญของ มูลนิธิฯคือการเก็บ ศพไรญาติ การลางปาชา ซึ่งจะจัดพิธีทุกๆ 10 ป นอกจากนี้มูลนิธิฯยังไดเทศกาลประจําปตามปฏิทิน จีน เชน เทศกาลกินเจ พิธีทิ้งกระจาด และกิจกรรมสังคมสังเคราะหตางๆ

41


42


บทที่ 3 ศาสนสถานสําคัญริมคลองดําเนินสะดวก : ชวงพื้นที่จงั หวัดราชบุรี

43


วัดปราสาทสิทธิ์ ตําบลประสาทสิทธิ์ อําเภอดําเนินสะดวก จังหวัดราชบุรี

สาระสังเขป :

วัดปราสาทสิทธิ์ สรางในสมัยรัชกาลที่ 4 โดยสมเด็จเจาพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ (ชวง บุนนาค) มีพระพุทธรู ปที่สํา คัญประดิษฐานอยูในวิหารริ มคลองดํา เนินสะดวก คือ หลวงพอ ไตรรัตนโรจนฤทธิ์ สวนพระอุโบสถของวัดตั้งอยูหางจากริมคลองเขาไป ภายในวัดมีปูชนียสถานที่ สําคัญ ไดแก ศาลสมเด็จเจาพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ ศาลพระพิฆเนศ ทุกปศิษยานุศิษยจะมี การอัญเชิญหลวงพอไตรรัตนฯแหไปตามลําคลองดําเนินสะดวกเพื่อใหคนสองฝงคลองไดสักการะ และสรางความเปนสิริมงคลแกชุมชนสองฝงคลอง 44


วัดพระแมสายประคํา ตําบลประสาทสิทธิ์ อําเภอดําเนินสะดวก จังหวัดราชบุรี

สาระสังเขป :

วัดพระแมสายประคํา สังกัดนิกายคาทอลิก สังฆมณฑลราชบุรี เปนที่ตั้งของโบสถซึ่งกอสราง ดวยสถาปตยกรรมแบบโกธิคและปลลาดิโอ ไดทําพิธีเสกเมื่อ ค.ศ.1954 เปนศูนยกลางคริสตชนยาน หลักหาซึ่งบรรพชนเปนคริสตชนชาวญวณยานสามเสน และคริสตชนชาวจีนจากยานบางนกแขวกและ ยานทาจี นที่ไดอพยพเขา มาอาศัย ภายหลั งการขุด คลองดํา เนินสะดวก ภายในโบสถมีรูปป นพระแม มารีอา รูปปนนักบุญสําคัญ และภาพเขียนสีน้ํามันเหตุการณสําคัญในพระคัมภีรคริสต นอกจากนี้ยังมี โรงเรียนวันทามารีอา ภายใตการอุปถัมภของวัดที่เปดสอนระดับอนุบาล-ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 45


มูลนิธิตั้งสกุลการกุศล ตําบลประสาทสิทธิ์ อําเภอดําเนินสะดวก จังหวัดราชบุรี

สาระสังเขป :

มูลนิธิตั้งสกุลการกุศล ตั้งอยูริมคลองดําเนินสะดวก เปนองคกรการกุศลที่กอตั้งโดยชาวไทย เชื้อสายจีนตระกูลตั้ง มีอายุเกาหลายรอยป สรางเปนอาคารคอนกรีตตามรูปแบบสถาปตยกรรมจีน ภายในมีปายจารึกรายชื่อบรรพชนชาวจีนสกุลตั้งที่อพยพเขามาจากจีนชวงการขุดคลองดําเนิน สะดวก ทุกปคณะกรรมการมูลนิธฯิ จะจัดใหมีงานประจําปเพื่อประกอบพิธีเคารพบรรพชน และเปน การพบปะสังสรรคกันของบรรดาลูกหลานตระกูลตั้ง รวมทั้งการรวมบริจาคเพื่อการกุศล

46


ศาลเจาเตียสีโจวซื้อ ตําบลดอนไผ อําเภอดําเนินสะดวก จังหวัดราชบุรี

สาระสังเขป : ศาลเจ า เตี ย สีโ จ ว ซื้อ เปน ศาลบรรพชนของตระกู ล เตีย ตั้ง อยูถั ด เขา ไปจากคลอง ดําเนินสะดวกโดยอยูในคลองโรงพัก แตเดิมเปนศาลเจาไมขนาดไมใหญมากนัก ปจจุบันมี การสรา งขึ้ น ใหม ลั ก ษณะครึ่ งปู น ครึ่ งไม ท รงประยุก ต ส ถาป ต ยกรรมจี น ด า นหนา มี ศ าล เทพยดาฟาดิน และมีเนื้อที่บริเวณโดยรอบสําหรับประกอบพิธีกรรมตางๆของศาลเจา

47


ศาลเจากิมเซียงกง ตําบลดอนไผ อําเภอดําเนินสะดวก จังหวัดราชบุรี

สาระสังเขป :

ศาลเจา กิ มเซียงกง ตั้ง อยูริ มคลองดําเนินสะดวก เปนศาลเจา หลัง เดียวกอสร างดวย คอนกรีตยกพื้นสูง พื้นศาลเจาดานในปูดวยไม มีเทพประจําศาล คือ อากงกิมเซียงกง รวมทั้ง เทวรูปเทพซําเซียนโตวซือ เจาแมกวนอิม ชางงวนสวน ประดิษฐานอยูภายใน ดานหนาศาลมี ศาลเทพยดาฟาดิน ศาลเจาที่ และโถงกวางหนาศาลโดยมีหลังคาคลุม เพื่อใชประกอบพิธีกรรม ตางๆ 48


ศาลเจาพอเหงเจีย (ทีเซียนไตเสี่ย) ตําบลดอนไผ อําเภอดําเนินสะดวก จังหวัดราชบุรี

สาระสังเขป : ศาลเจาพอเหงเจียหรือศาลทีเซียนไตเสี่ย (ซือเทียงฮกตั๊ว) ตั้งอยูถัดเขาไปจากคลอง ดํ า เนิ น สะดวก โดยอยู ใ นคลองประชาเจริ ญ เป น ศาลเจ า ขนาดเล็ ก อาคารไม ภ ายใน ประดิษฐานเทวรูปทีเซียนไตเสี่ยหรือเจาพอเหงเจีย เปนองคประธาน รวมทั้งมีเทวรูปเทพ สําคัญองคอื่นๆ ดานหนาของศาลมีรูปบั้นของทีเซียนไตเสี่ยยืนโบกธงอยูบนฐานแปดเหลี่ยม เดนเปนสงา และศาลเทพยดาฟาดิน ศาลพระภูมิเจาที่ 49


วัดหลักหกรัตนาราม ตําบลศรีสุราษฎร อําเภอดําเนินสะดวก จังหวัดราชบุรี

สาระสังเขป :

วัดหลักหกรัตนาราม ตั้งอยูริมคลองดําเนินสะดวก เหตุที่ชื่อวัดหลักหกเนื่องจากวัดตั้งอยู ในบริเวณใกลเสาหินหลักที่หก ภายในพระอุโบสถประดิษฐานพระพุทธชินสีหหรือหลวงพอโต เปนที่เคารพของประชาชน ศาสนสถานสําคัญภายในวัดประกอบดวยศาลาการเปรียญ กุฎิสงฆ ศาลาบํา เพ็ญกุ ศล หอระฆัง รวมทั้งยัง มีสํา นักปฏิบัติธรรม ตลอดจนตนไมนานาชนิดซึ่ง เปน บรรยากาศธรรมชาติอันสงบและเต็มไปดวยความรมรื่น 50


ศาลเจาพอหลักเมือง ตําบลศรีสุราษฎร อําเภอดําเนินสะดวก จังหวัดราชบุรี

สาระสังเขป :

ศาลเจา พอ หลัก เมืองตั้ง อยูริ มคลองดํา เนิ นสะดวก ด า นขา งติด ตอกั บคลองทง เฮงตั๊ ว ตัวศาลสรางเปนอาคารคอนกรีตทรงไทยประยุกตหลังเดียว ภายในมีพระพุทธรูปประดิษฐานอยูใน มณฑป มีเสาหลักเมืองวางอยูบนแทนบูชา รวมทั้งมีโตะเกาอี้สําหรับการประทับรางทรง หนาของ ศาลมีศาลเทพยดาฟาดิน และบริเวณดานขางมีอาคารเฉลิมพระเกียรติ 72 พรรษา เพื่อใชเปน สถานประกอบกิจกรรมตางๆของศาล 51


ศาลเจาทงเฮงตั๊ว ตําบลศรีสุราษฎร อําเภอดําเนินสะดวก จังหวัดราชบุรี

สาระสังเขป :

ศาลเจาทงเฮงตั๊ว เริ่มกอตั้งเมื่อ พ.ศ.2434 มีอายุเกาแกมากกวารอยป เดิมศาลเปนอาคาร ไม ปจจุบันไดรับการบูรณะใหสวยงาม สรางดวยคอนกรีตประดับประดาลวดลายปูนปน ภาพเขียน ตามคติจีน ภายในศาลเจาประดิษฐานเทวรูปสําคัญ เชน เตาเลางวนถุง เง็กอวงเทียนจุง กิ๋วอวง ฮุ ด โจ ว ฉื่ อ ปุ ย เนี ย เนี้ ย ยู ไ ลฮุ ด โจ ว น า บั ก แชกุ น อุ ย หู เ ที ย นจู ง จี่ เ ที ย นไต เ สี่ ย ไต เ สี้ ย ฮุ ด โจ ว ปูกุย-บุ นบู ไฉซิ้ งเอี้ย ภายในมีศาลเทพยดาฟาดิน ศาลพระภูมิ ศาลาอเนกประสงค หอประชุ ม โรงครัว และเรือนพักสําหรับผูมาปฎิบัติศาสนกิจในชวงเทศกาลตางๆ 52


ศาลเจาซิ้มโจวกง ตําบลศรีสุราษฎร อําเภอดําเนินสะดวก จังหวัดราชบุรี

สาระสังเขป :

ศาลเจาซิ้มโจวกง ตั้งอยูริมคลองดําเนินสะดวกติดกับศาลเจาทงเฮงตั๊ว เปนศาลเจาของ บรรพชนตระกูลซิ้ม อาคารของศาลเจาสรางดวยไมทั้งหลังตั้งอยูบนพื้นที่โลงมองโดดเดนอยาง เห็ น ได ชั ด เป น ลั ก ษณะของกลุ ม อาคารเรื อ นไม ซึ่ ง ได รั บ การบู ร ณะใหม ใ ห มี ค วามสวยงาม ดานหนามีศาลเทพยดาฟาดิน และลานดินโลงรอบบริเวณศาลเจาสําหรับประกอบพิธีกรรมตาม เทศกาลตางๆที่ศาลเจาจัดขึ้น 53


วิหารหลวงพอบานแหลม หลวงพอเขาตะเครา

ตําบลศรีสุราษฎร อําเภอดําเนินสะดวก จังหวัดราชบุรี

สาระสังเขป :

วิหารหลวงพอบานแหลม หลวงพอเขาตะเครา ตั้งอยูฝงตรงกันขามกับศาลเจาซื้อฮกตั๊ว และตลาดใหมศรีสุราษฎร เปนวิหารขนาดเล็กประดิษฐานองคจําลองหลวงพอบานแหลมแหง จังหวัดสมุทรสงคราม และหลวงพอเขาตะเคราแหงจังหวัดเพชรบุรี สันนิษฐานวานาจะมีการ สรางขึ้นภายหลังการขุดคลองดําเนินสะดวก บริเวณโดยรอบวิหารยังมีศาลไตเสี่ยฮุดโจว ศาลตั๊ว แปะกง ศาลแมชี แมพราหมณ และศาลาไมประกอบพิธีกรรมตางๆ 54


ศาลเจาซื้อฮกตั๊ว (ตั๊วแคะ) ตําบลศรีสุราษฎร อําเภอดําเนินสะดวก จังหวัดราชบุรี

สาระสังเขป :

ศาลเจาซื้อฮกตั๊วอยูริมคลองดําเนินสะดวกติดกับโรงเรียนวัดอุบลวรรณาราม และคลองแคะ ผูคนในชุมชนนิยมเรียกวา “ตั๊วแคะ” เนื่องจากกอสรางโดยชาวจีนแหรือฮากกาที่อาศัยอยูในบริเวณ ดังกลาวในอดีต เปนศาลเจาจีนทีด่ านหนาอาคารมีความสวยงามตามรูปแบบคติความเชื่อจีน มีการ ประดั บ ปู น ป น ภาพเขี ย นสี ภายในประดิ ษ ฐานเทพองค สํ า คั ญ เช น ไต เ สี่ ย ฮุ ด โจ ว โกบ อ เนี้ ย ยูไลฮุดโจว เจาแมกวนอิม ดานหนาศาลมีศาลเทพยดาฟาดิน ศาลาโรงงิ้ว เสามังกรขนาดใหญหลาย ตนซึ่งเปนฐานค้ําหลังคาบริเวณดานหนาที่เปนลานโลงสําหรับประกอบพิธีกรรมตางๆ 55


วัดอุบลวรรณาราม ตําบลศรีสุราษฎร อําเภอดําเนินสะดวก จังหวัดราชบุรี

สาระสังเขป :

วัดอุบลวรรณาราม ตั้งอยูริมคลองดําเนินสะดวก มีศาสนสถานภายในประกอบดวยพระ อุโบสถ ศาลาการเปรี ย ญ กุ ฎิส งฆ พระพุท ธรู ป ปางสมาธิข นาดใหญ วิ หารพระสัง กั จจายน พระพุทธฉายที่ใตตนโพธิ์ มีปูชนียวัตถุที่สําคัญคือ องคหลวงพอแดง พระพุทธรูปศักดิ์สิทธิสราง ดวยศิลาแลงอายุหลายรอยป ประดิษฐานอยูในวิหารจัตุรมุขริมคลองดําเนินสะดวก รวมทั้งองค รูปปนหลวงพอพิณ และศาลปูดําอันเปนที่เคารพศรัทธาของชาวชุมชน 56


ศาลเจาจิ๋นเซงตั๊ว (วัดกั้ง) ตําบลศรีสุราษฎร อําเภอดําเนินสะดวก จังหวัดราชบุรี

สาระสังเขป :

ศาลเจาจิ๋นเซงตั๊ว ตั้งอยูถัดเขาไปในคลองวัดอุบลวรรณารามซึ่งเชื่อมตอกับคลองดําเนินสะดวก เปนศาลเจาเกาแกของชาวจีนดําเนินสะดวก สรางขึ้นเมื่อ พ.ศ.2444 คนในชุมชนนิยมเรียกวา“วัดกั้ง” อาคารของศาลเจาเปนการผสมผสานศิลปะไทยและจีน โดยตัวโครงสรางภายนอกเปนเรือนไทยยกพื้น สูงสรางตามแนวยาว ขณะที่ภายในตบแตงดวยศิลปะตามคติจีน ศาลเจาแหงนี้มีเทพหยูไล ฮุดโจวเปน องคประธาน และมีเทวรูปเทพจีนหลายองคอยูภายในศาลเจา ดานหนาของศาลมีศาลเทพยดาฟาดิน ศาลาอเนกประสงค รวมทั้งเรือนพักสําหรับผูมาปฏิบัติศาสนกิจในชวงเทศกาลตางๆ 57


ศาลเจาแมธรณี (ตี่บอเนีย้ ) ตําบลศรีสุราษฎร อําเภอดําเนินสะดวก จังหวัดราชบุรี

สาระสังเขป :

ศาลเจาแมธรณี ตั้งอยูริมคลองดําเนินสะดวก แตเดิมเปนศาลไม ปจจุบันมีการบูรณะใหม สรางเปนอาคารคอนกรีตดวยสถาปตยกรรมตามคดีจีน มีปูนบั้นประดับ ภาพเขียนสี ภายในศาล เจาประดิษฐานเทวรูปพระแมธรณี (ตี้บอเนี้ย) เปนองคประธาน รวมทั้งมีเทวรูปเจาแมกวนอิม ยูไลฮุดโจว ดานนอกศาลมีศาลเจาแปะกง-แปะมา ศาลเทพยดาฟาดิน และศาลาอเนกประสงค สําหรับประกอบพิธีกรรมตางๆในชวงเทศกาลที่ศาลเจาจัดขึ้น 58


ศาลเจาฮีฮกตั๊ว ตําบลศรีสุราษฎร อําเภอดําเนินสะดวก จังหวัดราชบุรี

สาระสังเขป :

ศาลเจาฮีฮกตั๊วตั้งอยูบริเวณปากคลองศรีสุราษฎร ซึ่งเชื่อมตอกับคลองดําเนินสะดวก เปนกลุมของศาลเจาไมที่ตอเนื่องกัน ภายในศาลเจาแตละหลังประดิษฐานเทวรูปเทพองคสําคัญที่ คนในชุมชนเคารพนับถื อ อาทิ งวนสวนเอี้ย กวนกง ฉื่อปุยเนี่ยเนี้ย ตีบอเนี่ยเนี้ย งวนสวน เลา เอี้ยะ เงียมเจียงกุ นกง ทีตีเปบอ เจา แมกวนอิม เปนตน ภายนอกศาลเจาดานขางมีศาล เทพยดาฟาดิน และโถงศาลาไมเพื่อใชประกอบพิธีกรรมตางๆ

59


ศาลเจาซําปอกง ตําบลศรีสุราษฎร อําเภอดําเนินสะดวก จังหวัดราชบุรี

สาระสังเขป :

ศาลเจาซําปอกงเปนศาลเจาเกาแกของชุมชนยานศรีสุราษฎร ตั้งอยูริมคลองดําเนินสะดวกอยู หางจากปากคลองศรีสุราษฎรไมมากนัก ศาลเจาเปนอาคารคอนกรีตและเปนอาคารไมบางสวนภายในมี พระประธานองคใหญประดิษฐานอยูในกลางศาลเจา และมีเทวรูปเทพเจาสําคัญตามคติจีน รวมทั้งรูป เหลา 18 พระอรหันตปางตางๆ ดานหลังขององคพระประธานมีอาคารเชื่อมตอไปอีกหองซึ่งเปนสถานที่ เก็บอัฐิของบรรพชนชาวไทยเชื้อสายจีน ดานหนาของศาลเจาเปนพื้นที่สําหรับประกอบพิธีกรรมตางๆ มีทั้งในสวนที่เปนหลังคาคลุมและลานโลง รวมทั้งยังมีศาลเจาแปะกงที่อยูดานขางของศาลเจา

60


ศาลเจาหลวงปูตนไทร ตําบลดําเนินสะดวก อําเภอดําเนินสะดวก จังหวัดราชบุรี

สาระสังเขป :

ศาลเจาหลวงปูตนไทร ตั้งอยูถัดเขาไปจากคลองดําเนินสะดวกโดยอยูในคลองฮกเกี้ยน ใกลกับบริเวณสถานที่ขนสงรถโดยสารของอําเภอดําเนินสะดวก แตเดิมเปนศาลเจาไมขนาดเล็ก อยูภ ายใตตน ไทรที่สู ง ใหญ ปจจุ บันไดถู ก สร า งขึ้ นใหมใ หมีข นาดใหญ ขึ้น ประดิ ษฐานเทวรู ป หลวงปูตนไทร เจาแมกวนอิม ภายในตัวศาลมีทางลงเดินไปยังบริเวณดานหลังศาลซึ่งเปนที่ตั้ง ของตนไทร ซึ่งมีศาลพระภูมิเจาที่ใหสักการะ รวมทั้งมีศาลเทพยดาฟาดินอยูบริเวณดานหนา

61


ศาลเจาทงจี้ตึ้ง (เจตึ้ง) ตําบลดําเนินสะดวก อําเภอดําเนินสะดวก จังหวัดราชบุรี

สาระสังเขป :

ศาลเจาทงจี้ตึ้งหรือที่คนในชุมชนมักเรียกสั้นๆวา “เจตึ้ง” ตั้งอยูริมคลองดําเนินสะดวก ศาลเจาเปนอาคารไม ภายในประดิษฐานเทวรูปกิมบอเนี่ยเนี้ย ซึ่งเปนองคประธานของศาลเจา รวมทั้ง ยัง มีเทพองคสํา คัญ เชน ยูไลฮุดโจว กวงอูเสี่ย งตี่ กวงเทียงฮุดโจว ดา นหนา มีหน า เทพยดาฟาดิน ดานขางของศาลเจามีศาลาและลานโลงสําหรับประกอบพิธีกรรมตามเทศกาล ตางๆที่ศาลเจาจัดขึ้น 62


ศาลเจาแมทับทิม (โผว-โตว) ตําบลดําเนินสะดวก อําเภอดําเนินสะดวก จังหวัดราชบุรี

สาระสังเขป :

ศาลเจา แมทับทิม (โผว-โตว ) ตั้ง อยูถั ดเขาไปจากคลองดํา เนินสะดวกโดยอยูในคลอง ลัดราชบุรี ศาลเจาเปนอาคารไมภายในประดิษฐานเทวรูปเจาแมทับทิม ซึ่งเปนองคประธานของ ศาล พรอมกับเทวรูปเทพองคตางๆตามความเชื่อคติจีน ดานหนาของศาลเจามีศาลเทพยดา ฟาดิน ลานโลงสําหรับจัดพิธีกรรมตางๆ ประเพณีอันเปนเอกลักษณของศาลเจาแหงนี้คืองาน ประจําปที่มีการอัญเชิญเทวรูปองคตางๆแหไปตามยานชุมชนดําเนินสะดวก และการประกอบพิธี ลุยไฟ 63


วัดราษฎรเจริญธรรม ตําบลสี่หมืน่ อําเภอดําเนินสะดวก จังหวัดราชบุรี

สาระสังเขป :

วัดราษฎรเจริญธรรม หรือที่ผูคนในทองถิ่นนิยมเรียกวา “วัดสุน” ซึ่งเรียกตามนามสกุล ของไวยาวัจกรผูดําเนินการสรางคือ ขุนชาติ สุนทโรดม วัดแหงนี้ตั้งอยูในคลองลัดราชบุรีซึ่งเปน คลองที่เชื่อมตอกับคลองดําเนินสะดวก มีศาสนสถานที่สําคัญ ประกอบไปดวยพระอุโบสถ ศาลา การเปรียญ กุฏิสงฆ ศาลาอเนกประสงค ศาลาทาน้ํา กุฏิเฉลิมพระเกียรติ มีพระพุทธรูปองค สําคัญที่ชาวชุมชนเคารพศรัทธา คือ หลวงพอโตประดิษฐานอยูในพระอุโบสถ ภายในพระอุโบสถ มีการเขียนภาพจิตรกรรมฝาผนังรวมสมัยเกี่ยวกับไตรภูมิพระรวงและพุทธประวัติที่งดงาม 64


วัดโชติทายการาม ตําบลดําเนินสะดวก อําเภอดําเนินสะดวก จังหวัดราชบุรี

สาระสังเขป :

วัดโชติ ทายการาม ตั้ ง อยูริ มคลองดํา เนิน สะดวก วั ดแหง นี้ รั ช กาลที่ 5 ทรงเคยเสด็ จ ประพาสตนเมื่อป พ.ศ.2447 และรัชกาลที่ 9 เสด็จมาบําเพ็ญพระราชกุศลถวายผาพระกฐินตน เมื่อ พ.ศ.2510 ภายในพระอุโบสถมีหลวงพอลพบุรีราเมศร เปนพระประธาน สรางดวยศิลาแลง ปางมารวิชัย สมัยสุโขทัย ซึ่งแตเดิมเคยอยูที่วัดรางในจังหวัดลพบุรี ภายในวัดมีศาสนสถานที่ สําคัญ ไดแก มณฑปประดิษฐานรอยพระพุทธบาทจําลอง ศาลาการเปรียญ หอสวดมนตร ศาลา ทาน้ํา หอนาฬิกา พิพิธภัณฑประจําวัด และยังเปนสํานักปฏิบัติธรรมของประชาชนดวย 65


ศาลเจาพงไลย-ี่ ฮะอีตั๊ว ตําบลดําเนินสะดวก อําเภอดําเนินสะดวก จังหวัดราชบุรี

สาระสังเขป :

ศาลเจาพงไลยี่-ฮะอีตั๊ว ตั้งอยูริมคลองดําเนินสะดวก ยานหลักแปด เปนศาลเจาไมหลาย หลังที่เชื่อมตอกันภายในประดิษฐานเทพเทวรูปจีนที่สําคัญหลายองค อาทิ เตาบอหงวนกุน พระ หนีเหล็กฮุด เลาโจว เตียเทียงฮวยซือ เจาพอกวนอู เจาแมกวนอิม ดานหนามีศาลเทพยดาฟาดิน และศาลาอเนกประสงคสําหรับประกอบพิธีกรรมตางๆที่ศาลเจาจัดขึ้น

66


บทที่ 4 ศาสนสถานสําคัญริมคลองดําเนินสะดวก : ชวงพื้นที่จงั หวัดสมุทรสงคราม

67


วัดเจริญสุขารามวรวิหาร ตําบลบางนกแขวก อําเภอบางคนที จังหวัดสมุทรสงคราม

สาระสังเขป :

วัดเจริญสุขารามวรวิหาร อยูติดกับประตูน้ําบางนกแขวก วัดแหงนี้มีพระอุโบสถคลายประทุน เรือภายในประดิษฐานหลวงพอโตพระพุทธรูปศิลปะสุโขทัยสรางดวยศิลาแลง มีอาคารโบราณหลาย หลังที่สวยงาม บริเวณหนาวัดยังเปนวังมัจฉาที่ประกอบดวยปลานานาชนิดโดยเฉพาะปลาตะเพียน วัดแหงนี้มีความเกี่ยวโยงกับเหตุการณทิ้งระเบิดสมัยสงครามโลกครั้งที่ 2 ซึ่งยังปรากฏหลักฐานให เห็นอยูในปจจุบัน มีโรงเรียนภายใตการอุปถัมภของวัด คือ โรงเรียนวัดเจริญสุขาราม

68


อาสวิหารพระแมบังเกิด ตําบลบางนกแขวก อําเภอบางคนที จังหวัดสมุทรสงคราม

สาระสังเขป :

อาสนวิหารพระแมบังเกิดหรือโบสถบางนกแขวก นิกายโรมันคาทอลิก ตั้งอยูริมแมน้ําแมกลอง ใกลบริเวณปากคลองดําเนินสะดวก ทําพิธีเสกเมื่อป ค.ศ.1896 สรางดวยสถาปตยกรรมแบบโกธิคที่กอ ดวยอิฐดินเผา และมียอดแหลมที่ดานหนาของอาคาร ภายในประดับตกแตงดวยภาพเขียนกระจกสีจาก ฝรั่งเศส มีรูปปนพระเยซูเปนประธาน รายลอมดวยนักบุญที่สําคัญ ธรรมาสนเทศ อางลางบาป และรูป แกะสลักบรรยายเกร็ดประวัติในพระคัมภีร มีโรงเรียนภายใตการอุปถัมภของวัด คือ โรงเรียนนารีวัฒนา และโรงเรียนดรุณานุเคราะห 69


บทที่ 5 บทสรุปและขอเสนอแนะ การสํารวจศาสนสถานสําคัญริมสองฝงคลองดําเนินสะดวกในครั้งนี้เปนการศึกษา เบื้องตนเกี่ยวกับจํานวนของสิ่งปลูกสรางตามความเชื่อทางศาสนา ลัทธิตางๆของผูคนที่ ตั้งอยูริมคลองดํา เนินสะดวก ซึ่งถือเปน การรวบรวมขอมูลทางวัฒนธรรมของชาวคลอง ดําเนินสะดวกที่สะทอนผานศาสนสถานสําคัญใหมีความชัดเจนมากยิ่งขึ้น การสํารวจเริ่มตน ตั้งแตบริเวณดานทิศตะวันออกของคลองดําเนินสะดวกซึ่งเชื่อมตอกับแมน้ําทาจีนที่ตําบล บางยาง อําเภอกระทุมแบน จังหวัดสมุทรสาคร ไปจดสิ้นสุดปลายคลองดานทิศตะวันตกที่ ตําบลบางนกแขวก อําเภอบางคนที จังหวัดสมุทรสงคราม สําหรับวิธีการที่ใชสํารวจนั้นได ศึ ก ษาและวิ เ คราะห ข อ มู ล จากแผนที่ ภ าพถ า ยดาวเที ย มผ า นเว็ บ ไซต กู ล เกิ ล (www.google.com) เป น หลั ก เนื่ อ งจากเป น แหล ง ข อ มู ล ที่ ร ะบุ ถึ ง ตํ า แหน ง และมี ก าร บันทึกภาพของศาสนสถานสําคัญแตละแหงไวอยางพอสมควร รวมทั้งสํารวจผานเครือขาย สังคมออนไลนดวยเฟสบุค (Facebook) อินสตราแกรม (Instagram) ของผูที่มีความสนใจ และเผยแพร ขอมูล ของศาสนสถานต า งๆ พรอมกั น นี้ไดมีการลงพื้น ที่สํา รวจขอมูล และ บัน ทึกภาพจากสถานที่จ ริงของศาสนสถานที่ไมปรากฏในสื่อออนไลน และการสอบถาม ขอมูลจากคนในแตละชุมชน การสํารวจครั้งนี้ พบศาสนสถานสําคัญที่ตั้งอยูเรียงรายอยูตามสองฝงคลองดําเนิน สะดวกและอยูถัดเขาไปในคลองซอยไมมากนัก จํานวน 43 แหง ตั้งอยูในเขตพื้นที่จังหวัด สมุทรสาคร จํานวน 18 แหง จังหวัดราชบุรี จํานวน 23 แหง และจังหวัดสมุทรสงคราม จํา นวน 2 แหง หากพิจ ารณาจัดกลุมประเภทศาสนสถานที่สํา คัญตามคติความเชื่อทาง ศาสนา และลัทธิ สามารถจําแนกจํานวนเรียงลําดับจากมากไปหานอย ดังนี้ ศาลเจา/โรงเจ จํา นวน 27 แห ง วัดในพระพุท ธศาสนา จํา นวน 14 แหง และโบสถค ริส ตสัง กัดนิกาย โรมันคาทอลิก จํานวน 2 แหง ตามลําดับ การสํารวจครั้งนี้สามารถวิเคราะหใหเห็นถึงความสัมพันธของศาสนสถานตางๆที่มี ตอการตั้งถิ่นฐานของชุมชน วิถีชีวิตทางสังคมและวัฒนธรรมของชาวคลองดําเนินสะดวกได ดังนี้ 1. รูปแบบการตั้งถิ่นฐานของชาวสองฝงคลองดําเนินสะดวก จากการวิเคราะหแผนที่ภาพถายดาวเทียม พบวา ลักษณะของการตั้งถิ่นฐานของ ชุมชนเปนแบบเสนตรง (Line Settlement) กลาวคือ เปนการตั้งบานเรือนที่เรียงรายกันไป ตามเสนทางคมนาคมทางน้ํา โดยการตั้งบานเรือนจะกระจัดกระจายอยูรอบๆยานชุมชนที่ 70


เปนศูนยกลาง เชน วัด โบสถ ศาลเจา โรงเรียนหรือแหลงการคา เปนตน ซึ่งบานเรือน เหลานี้จะตั้งอยูอยางกระจัดกระจายบนพื้นที่เกษตรกรรมของตนเอง เนื่องจากความสะดวก ในการประกอบอาชีพ ดังจะเห็นไดจากความหนาแนนของชุมชนที่แตกตางกันออกไปในแต ละพื้นที่ตามสองฝงคลอง โดยหากพิจารณาในชวงพื้นที่จังหวัดสมุทรสาคร ตั้งแตบริเวณ ปากคลองดําเนินสะดวกที่เชื่อมตอกับแมน้ําทาจีนเปนตนมา บานเรือนชุมชนจะกระจุกตัวอยู กันอยางหนาแนนในพื้นที่ยานบานแพวมากที่สุด เนื่องจากบริเวณดังกลาวเปนศูนยกลาง ทางเศรษฐกิจ การปกครอง การใหบริการดานโครงสรางพื้นฐาน โดยมีตลาดบานแพว โรงพยาบาลบานแพว ที่วาการอําเภอ เปนจุดสําคัญของยานนี้ และมีชุมชนในยานวัดหลักสี่ วัดหลักสอง วัดสวนสม วัดราษฎรศรัทธากะยาราม และวัดบางยางที่มีการตั้งบานเรือนใน ระดับความหนาแนนที่รองลงมา แลเห็นไดจากชวงระยะการตั้งบานเรือนริมคลองที่สลับกับ พื้น ที่ เ กษตรกรรม โดยมีร ะยะหา งกั น พอสมควร บางช ว งพื้ นที่ เ กษตรกรรมประชิ ด กั บ ลําคลอง ในพื้นที่ชวงจังหวัดราชบุรีอาจกลาวไดวามีลักษณะของการตั้งบานเรือนที่หนาแนน ตลอดแนวคลองมากกวาพื้นที่จังหวัดสมุทรสาครและสมุทรสงคราม โดยพิจารณาไดตั้งแต บริเวณยานวัดปราสาทสิทธิ์เรื่อยมาจนถึงเทศบาลศรีดอนไผ และบริเวณชุมชนยานวัดหลัก หกเปนไปตนไปจนถึงวัดโชติทายการาม ซึ่งเปนเพราะบริเวณดังกลาวเปนศูนยกลางการทํา กิจ กรรมของคนในชุ มชนเช น กั น กล า วคื อ ชุ ม ชนย านวั ด ปราสาทสิ ท ธิ์ มี สถานที่ สํ า คั ญ ประกอบไปดวย วัดและสถาบันการศึกษาหลายแหง ไดแก โรงเรียนประสาทรัฐประชากิจ โรงเรียนวันทามารีอา โรงเรียนชุมชนวัดปราสาทสิทธิ์ อีกทั้งยังมีหนวยงานราชการ ไดแก เทศบาลตํ าบลศรีด อนไผ และสถานที่ ตํ ารวจภู ธ รหลั ก ห า ขณะที่ อี ก ศูน ย ก ลางหนึ่ง คื อ บริเวณชุมชนยานวัดหลักหกเปนตนไปจนถึงวัดโชติทายการามมีที่วาการอําเภอ แหลง ทองเที่ยว และที่สําคัญ คือยานตลาดสดดําเนินสะดวก ซึ่งเปนศูนยกลางทางเศรษฐกิจที่ สําคัญของคนในอําเภอดําเนินสะดวก และศูนยรวมของการขนสงรถโดยสารสาธารณะอีก หลายเสนทาง ทั้งสองยานดังที่กลาวมา มีศาสนสถานสําคัญทั้งวัด ศาลเจา ตั้งกระจายอยู ถึง 23 แหง ซึ่งมากที่สุดเมื่อเปรียบเทียบกับพื้นที่จังหวัดอื่นๆ การมีศาสนสถานปรากฏอยู จํานวนมากนี้ยอมสะทอนถึงการมีชุมชนอยูรายลอมรอบตามไปดวยนั่นเอง สําหรับในพื้นที่ชวงจังหวัดสมุทรสงคราม ความหนาแนนในการตั้งถิ่นฐานของชุมชน จะอยูตั้งแตวัดเจริญสุขารามเรื่อยไปจนถึงบริเวณปากคลองดําเนินสะดวกดานทิศตะวันตกที่ เชื่อมตอกับแมน้ําแมกลองโดยมีชุมชนคริสตศาสนิกชนยานบางนกแขวกที่มีวัดพระแมบังเกิด ซึ่งมีสถานบันการศึกษา ไดแก โรงเรียนดรุณานุเคราะห โรงเรียนนารีวัฒนา และวัดเจริญ สุขารามซึ่งมีโรงเรียนวัดเจริญสุขาราม และโรงเรียนเมธีชุณหะวัณวิทยาลัยเปนศูนยกลางที่ สําคัญของชุมชนละแวกนี้ 71


2. การประกอบอาชีพของชาวสองฝงคลองดําเนินสะดวก จากการสํารวจพื้นที่และวิเคราะหขอมูลจากภาพถายดาวเทียม แสดงใหเห็นวาพื้นที่ ตลอดแนวสองฝงคลองดําเนินสะดวกและลึกเขาไปตามคลองซอยตางๆที่มีอยูเปนจํานวน มากยังเปนพื้นที่เกษตรกรรม ซึ่งถือเปนอาชีพหลักของผูคนสองฝงคลอง เนื่องจากเปน อาชีพที่มีการสืบทอดกันมาตั้งแตรุนบรรพบุรุษรุนตอรุน โดยปจจัยสําคัญที่สนับสนุนการทํา เกษตรกรรมของชาวฝงคลองใหสามารถดํารงอยูได คือ การมีคลองดําเนินสะดวกและระบบ ของคลองซอยตางๆ ที่มีแหลงน้ําเขาถึงไดตอนในของทุกพื้นที่สองฝงคลอง เกษตรกรจึง สามารถใช ป ระโยชน จ ากน้ํ า ไปทํ า การเกษตรกรรมได ต ลอดทั้ ง ป จึ ง เป น ที่ ม าของการ เพาะปลูก พื ช ผั ก ผลไมน านาชนิด สร างรายไดใ ห กับ เกษตรกรอย างตอ เนื่อ ง แม วา ใน ปจจุบันการขนถายสินคาเกษตรเพื่อสงออกจัดจําหนายจะไมไดใชเสนทางน้ําเปนหลักเหมือน ในอดีต แตก็มีโครงขายถนนที่สามารถเขาถึงบานเรือนเกษตรกรเกือบทุกหลัง เพื่อใชในการ ลํ า เลี ย งสิ น ค า ไปจํ า หน า ยได อ ย า งสะดวก สํ า หรั บ บทบาทของศาสนสถานที่ มี ต อ การ เกษตรกรรมในพื้ น ที่ ส องฝ ง คลองดํ า เนิ น สะดวกนั้ น อาจกล า วได ว า เป น สิ่ ง ที่ ส ะท อ น ความสัมพันธระหวางมนุษยกับสิ่งเหนือธรรมชาติที่ปรากฏจากความเชื่อของเกษตรกรที่มี ตอสิ่งศักดิส์ ิทธิ์ของวัด ศาลเจา โบสถ ในแตละชุมชนศรัทธานับถือ ในการเปนที่พึงทางจิตใจ เพื่ อ ดลบั น ดาลให ผ ลผลิ ต ที่ ไ ด จ ากการทํ า เกษตรมี ค วามอุ ด มสมบู ร ณ ให ไ ด ผ ลผลิ ต ที่ มี คุณภาพ และสามารถจะจําหนายไดตามที่คาดหวัง ซึ่งดานหนึ่งถือไดวาเปนการสรางกําลัง ขวัญใหแกเกษตรกรในการประกอบอาชีพ เกษตรกรแตละรายจึงมีการทําพิธีบูชา เซนไหว หรือการบนบาลศาลกลาวตอสิ่งศักดิ์ประจําชุมชนกอนการเพาะปลูก และทําการแกบนใน ภายหลังเมื่อธุรกิจการเกษตรประสบผลสําเร็จ 3. วัฒนธรรม และประเพณีของชาวสองฝงคลองดําเนินสะดวก ศาสนสถานทุกแหงที่สํารวจลวนเปนศูนยกลางในการพบปะและรวมทํากิจกรรมทาง ศาสนา ความเชื่อของผูคนในแตละยานสองฝงคลอง วัดในพระพุทธศาสนาและศาลเจาทุก แหงจะมีพระพุทธรูปหรือเทวรูปเคารพที่สําคัญเปนเครื่องยึดเหนี่ยวจิตใจของคนในชุมชน วัดแตละแหงมีการจัดเทศกาลงานบุญตามประเพณีของไทย และที่สําคัญคืองานประจําป ของวัดที่คนในแตละชุมชนตางมีสวนรวม สนับสนุนและสงเสริมวัดตามศรัทธา เอกลักษณ ทางประเพณีที่สําคัญซึ่งอาจกลาวไดวาเปนประเพณีประจําทองถิ่นของชาวคลองดําเนิน สะดวกไปแลว นั่นคือการแหพระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์ไปตามสายน้ําซึ่งจัดขึ้นเปนประจําทุกปของ วัดหลักสี่ราษฎรสโมสร และวัดปราสาทสิทธิ์ ซึ่งมีการอัญเชิญรูปหลอจําลององคหลวงพอโต และหลวงพอไตรรัตนโรจนฤทธิ์ลองไปตามคลองดําเนินสะดวก โดยมีความเชื่อวาจะเปนการ สรางสิริมงคลใหแกผูคนสองฝงคลอง ขณะที่บทบาทของศาลเจาจีนในแตละชุมชนที่ถูกสราง ขึ้นโดยบรรพชนชาวจีนในอดี ตที่อพยพเขามาภายหลังการขุดคลองดําเนินสะดวกในยุ ค 72


บุกเบิกก็มีอิทธิพลตอวิถีชีวิตชาวไทยเชื่อสายจีนในทองถิ่นอยางมิเสื่อมคลาย เปนทั้งที่พึง ทางจิตวิญญาณแกผูคน การสงเสริมการสรางบุญกุศลในโอกาสเทศกาลสําคัญของแตละ ศาลเจา ประเพณสี ะทอนถึงความสัมพันธระหวางคนในชุมชนกับศาลเจาซึ่งเปนปฏิสัมพันธ ทางวัฒนธรรมของชาวไทยเชื้อสายจีนในคลองดําเนินสะดวกคือ เทศกาลถือศีลกินเจ ซึ่งกิน ระยะเวลาเวลาถึง 10 วัน ถือไดวาในพื้นที่อําเภอดําเนินสะดวกมีการจัดกิจกรรมดังกลาว อยางยิ่งใหญในแตละศาลเจา เนื่องจากความเชื่อตอการปฏิบัติศาสนกิจ ชําระลางจิตใจ และความศรัทธาที่มีตอศาลเจา มีผูคนในชุมชนทองถิ่นและทุกทั่วสารทิศตางแวะเวียนเขา รวมกิจกรรมของทุกๆศาลเจาเปนจํานวนมากในทุกป สําหรับชุมชนชาวคริสตศาสนิกชนที่มี อยู 2 แหง คือ ชุมชนชาวคริสตยานหลักหา และยานบางนกแขวก ยังคงรักษาในอัตลักษณ ความเชื่อ ซึ่งแสดงออกในรูปของการจัดกิจกรรมทางศาสนาไวเปนอยางดี ดังจะเห็นไดจาก การจัดงานเทศกาลสําคัญของโบสถในโอกาสตางๆ เชน การฉลองวัด พิธีมิสซา พิธีกรรมที่ เกี่ยวของกับชีวิต และที่สําคัญไปวานั้น คือ การยอมรับหรือการอยูรวมกันบนความแตกตาง ทางศาสนา (Religious toleration) ของคริสตชนในชุมชนดังกลาวผานการจัดการศึกษา ของโรงเรียนที่อยูในความดูแลโดยมีการนํากิจกรรม ประเพณี พิธีกรรม ความเชื่อของตาง ศาสนาเขาไปบูรณาการกับการจัดการเรียนการสอน และการจัดกิจกรรมพัฒนานักเรียนให เปนพลเมืองไทยมีคุณภาพ 4. วิถีทางน้ําของชาวคลองดําเนินสะดวก ระดับความสําคัญของการใชเสนทางสัญจรทางน้ําของผูคนริมสองฝงคลองดําเนิน สะดวกในปจจุบันถูกลดความสําคัญลงเปนลําดับ ทั้งนี้เปนผลมาจากการตัดถนนหลายสาย ที่พาดผานทั่วทั้งพื้นที่ โดยเฉพาะถนนที่ตัดคูขนานไปกับลําคลองดําเนินสะดวกทั้งสองฝง และถนนสายยอยตางๆ การสรางสะพานขามคลองในหลายจุด ทําใหเกิดการคมนาคมทาง บกที่สามารถเชื่อมโยงกันอยางทั่วถึงในการไปยังสถานที่ตางๆ การใหบริการเรือสัญจร เชน เรือหางยาว เรือสองตอนตามยานหลักตางๆในอดีตไดสูญหายไปโดยปริยาย อันเนื่องมาก จากมีระบบรถสาธารณะใหบริการ ถนนจึงเขามามีบทบาทแทนการคมนาคมทางน้ํา และการ ใชชีวิตของผูคนริมสองฝงคลองดําเนินสะดวก ดังจะเห็นไดจากการปลูกสรางบานเรือนใน ปจจุบันที่นิยมหันหนาบานเขาหาถนนมากกวาหันหนาเขาหาลําคลอง บานเรือนริมคลอง หลายหลัง หนาบานไดกลับกลายเปนหลังบาน หลังบานกลับกลายเปนหนาบานแทน ทั้งนี้ เปนเพราะการติดตอสัมพันธระหวางสมาชิกในชุมชนจะมาจากถนนเปนหลัก วิถีทางน้ําที่ยัง ปรากฏใหเห็นอยูจึงยังคงหลงเหลืออยูนอยมาก สวนใหญจะดําเนินไปเพื่อกิจกรรมการ ทองเที่ยวเปนหลัก เชน บริเวณตลาดน้ําคลองตนเข็ม ซึ่งเปนพื้นที่ที่มีการสัญจรทางน้ํา อย างหนาแนน มี ทั้ง เรือ พายจํ าหนา ยสิ นค า เรือ บริ การนั กท องเที่ย วประเภทต างๆ ทั้ ง เรือพาย เรือหางยาวใหบริการลองคลองชมสวนตางๆ ซึ่งการดําเนินกิจกรรมดังกลาวจะ 73


จํากัดอยูในระยะเวลาชวงเชาเทานั้น การสัญจรในคลองดําเนินสะดวก จึงถูกกําหนดจาก ความตองการในกิจกรรมการทองเที่ยวเปนสวนใหญ ขณะที่การใหบริการเรือรับจางที่ยังคง มีอยูในบางจุดชุมชนเทานั้น เมื่อหันกลับมาพิจารณาที่ศาสนสถานที่สําคัญดังที่ไดสํารวจมา จํานวน 40 แหง ลวนมีที่ตั้งอยูริมคลอง ซึ่งในอดีตการเดินทางไปมาของผูคนในแตละชุมชน นั้นยอมใชลําคลองเปนเสนทางหลักเพื่อไปรวมกิจกรรมตางๆที่วัด ศาลเจา โบสถ จัดขึ้น แต จากการสํารวจพบวาในปจจุบันศาสนสถานเกือบทุกแหงมีการตัดถนนหรือเสนทางถนนให สามารถเขาถึงไดอยางสะดวก ทําใหผูคนสามารถขับขี่ยานพาหนะสวนตัวหรือการใชบริการ รถสาธารณะไปยังศาสนสถานตางๆไดโดยงาย ศาสนสถานแตละแหงจึงมีการจัดเตรียม พื้นที่อยางกวางขวางเพื่อรองรับยานพาหนะและการสัญจรทางบกของผูคนที่มาปฏิบั ติ ศาสนกิจของศาสนสถานแตละแหงตามไปดวย ขอเสนอแนะ การสํารวจในครั้งนี้มีขอเสนอแนะเพื่อพัฒนาเปนโจทยสําหรับการศึกษาวิจัยแกผูที่ สนใจและหนวยงานทั้งภาครัฐ องคกรชุมชนไดนําไปกําหนดเปนนโยบายเพื่อสงเสริมและ สนับสนุนใหเกิดปฏิบัติอันจะนําไปสูการดํารงอยูของวิถีชีวิตชาวสองฝงคลองดําเนินสะดวก ดังนี้ 1. การสํารวจในครั้งนี้เปนเพียงการสํารวจขอมูลเบื้องตนเกี่ยวกับศาสนสถานที่ สําคัญริมสองฝงคลองดําเนินสะดวกเทานั้น จึงควรมีการสํารวจศาสนสถานเพิ่มเติมหาก การสํ า รวจในครั้ ง นี้ ยั ง ไม ค รอบคลุ ม ถึ ง และควรมี ก ารจั ด ทํ า ข อ มู ล ประวั ติ ค วามเป น มา รายละเอียดเกี่ยวกับศาสนสถานนั้นๆ เชน ศาสนวัตถุ เทศกาล งานประจําป เพื่อเปนขอมูล ทางวัฒนธรรมใหแกผูสนใจไดเรียนรูในเชิงลึกมากยิ่งขึ้น 2. ควรมีการศึกษาเปนพิเศษเกี่ยวกับบทบาทของศาลเจาจีนริมสองฝงคลองดําเนิน สะดวกในแง มุ ม ต า งๆ เช น ความสั ม พั น ธ กั บ ชุ ม ชน เทศกาลประจํ า ป ลั ก ษณะทาง สถาป ต ยกรรม ซึ่ ง จะเป น ประโยชน อ ย า งยิ่ ง ในเชิ ง วิ ช าการทํ า ให ส ามารถเรี ย นรู ศิลปวัฒนธรรมทองถิ่น ประวัติศาสตรศิลปะจีนในทองถิ่น และการสงเสริมใหคนในชุมชน เห็นคุณคาและมีสวนรวมในการอนุรักษศาสนสถานดังกลาว 3. ควรมีการจัดทําแผนที่ทางวัฒนธรรม (Cultural map) ของคลองดําเนินสะดวก เพื่อ รวบรวมข อมู ลด านศิ ลปวัฒ นธรรมทอ งถิ่น ดา นต างๆ เชน ศาสนสถาน ศิล ปกรรม ประเพณี ความเชื่อ กลุมชาติพันธุ โดยพัฒนาทั้งในรูปสื่อสิ่งพิมพที่เปนลายลักษณอักษร และสื่อดิจิทัล ซึ่งจะยังประโยชนตอสถาบันการศึกษาในชุมชนใหสามารถใชเปนบทเรียน ถายทอดความรูแกเยาวชนและเปนประโยชนสําหรับการทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรม

74


4. ควรมีการศึกษาวิจัยการดํารงอยู การเปลี่ยนแปลง และการปรับตัวในวิถีชีวิต ประเพณี ความเชื่อของกลุมตางๆ เชน กลุมคริสตศาสนิกชนในชุมชนยานหลักหลักและ บางนกแขวก กลุมชาวไทยทรงดําที่บานโคกหลวง หลักหา กลุมคนไทยเชื้อสายมอญยาน วัดราษฎรศรัทธากะยาราม เพื่อบันทึกเรื่องราวทางประวัติศาสตร รวมทั้งสภาพปญหาและ ความตองการของชุมชนในปจจุบัน 5. ควรจัดตั้งศูนยศึกษาประวัติศาสตรและวัฒนธรรมของคลองดําเนินสะดวกซึ่งจะ เปนแหลงรวบรวมสารสนเทศเกี่ยวกับคลองดําเนินสะดวกในทุกมิติ ไดแก ประวัติศาสตร ภู มิ ศ าสตร สั ง คมวิ ท ยา มานุ ษ ยวิ ท ยา รั ฐ ศาสตร ศาสนาและปรั ช ญา เกษตรศาสตร เศรษฐศาสตร อุตสาหกรรมการทองเที่ยว เปนตน ใหเปนหมวดหมูที่ชัดเจนในการเปนแหลง เรียนรูใหแกคนในชุมชนไดเรียนรูเกิดความภาคภูมิใจในทองถิ่นและประชาชนที่สนใจทั่วไป อันจะชวยเติมเต็มความเขาใจเกี่ยวกับวิถีชีวิตชาวสองฝงคลองดําเนินสะดวกทั้งในอดีตและ ปจจุบันไดมากยิ่งขึ้น -------------------------------------------------------------

75


บรรณานุกรม ตรงใจ หุตางกูร และนัทกฤษ ยอดราช. (2560). กลุมจารึกเสาหลักเสนคลองภาษีเจริญดําเนินสะดวก ในจังหวัดสมุทรสาคร. ออนไลน : สืบคนเมื่อวันที่ 24 กรกฎาคม 2561, จาก www.sac.or.th. ตวน ลี่ เซิง. (2543). ประวัติความเปนมาของวัดจีนและศาลเจาจีนในประเทศไทย. กรุงเทพฯ: เรือนแกว. ปยนาถ บุนนาค และคณะ. (2525). คลองในกรุงเทพฯ : ความเปนมา การเปลี่ยนแปลง และผลกระทบตอกรุงเทพฯ ในรอบ 200 ป ( พ.ศ.2325–2525 ) .รายงานวิจัย ฝายวิจัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. ปยนาถ บุนนาค. (2537). “คลองประวัติศาสตรในอดีต” ในอาศรมความคิดเรื่องคลองใน กรุงเทพมหานครและปริมณฑล . กรุงเทพฯ: สถาบันวิจัยสภาวะแวดลอม จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. พรรณทิพย เปยมพุทธากุล. (2537). วิวัฒนาการชุมชนและตลาดน้ําดําเนินสะดวก จังหวัดราชบุรี. วิทยานิพนธการวางแผนภาคและผังเมืองมหาบัณฑิต จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. พระครูสิริวรรณวิวัฒน. (2544). ประวัติคลองดําเนินสะดวก. กรุงเทพฯ: เลี่ยงเชียง จงเจริญ และรุงเรืองสาสนการพิมพ. มูลนิธิไทยทรงดําแหงประเทศไทย. (2548). หนังสือมูลนิธิไทยทรงดําประเทศไทย. นครปฐม: มูลนิธิไทยทรงดําแหงประเทศไทย. ราตรี โตเพงพัฒน. (2543). ตลาดน้ํา: วิถีชีวิตของเกษตรกรภาคกลาง. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร. ลักษณา สัมมานิธิ. (2554). กระบวนการเกิดและการเปลี่ยนแปลงตลาดน้ําในบริบทสวน พื้นที่ดินดอนปากแมน้ําเจาพระยาฝงตะวันตก. วิทยานิพนธการวางแผนภาค และเมืองมหาบัณฑิต จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. วรวุฒิ เพ็งพันธ. (2548). การวิเคราะหคุณคาและบทบาทของตลาดน้ําในฐานะแหลงการ เรียนรูของชุมชน กรณีศึกษาตลาดน้ํา อําเภอดําเนินสะดวก จังหวัดราชุบรี. วิทยานิพนธครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพัฒนศึกษา คณะครุศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.

76


วาริกา มังกะลัง. (2556). ภูมิทัศนวัฒนธรรมชุมชนริมคลองดําเนินสะดวก ชวงหลักที่ 5 ถึงหลักที่ 6 จังหวัดราชบุรีและจังหวัดสมุทรสาคร. วิทยานิพนธการวางแผนภาค และเมืองมหาบัณฑิต จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. สารานุกรมสําหรับเยาวชนไทย. (2561). คลองขุดในประเทศไทย. ออนไลน : สืบคนเมื่อวันที่ 23 กรกฎาคม 2561, จาก http://kanchanapisek.or.th/ สุดารา สุจฉายา. (2541). เพื่อความเขาใจในแผนดินราชบุรี. กรุงเทพฯ: สารคดี. สุมิตร ปติพัฒน และเสมอชัย พลูสุวรรณ. (2540). ลาวโซง : พลวัตของระบบวัฒนธรรม ในรอบสองศตวรรษ. คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร. สํานักประชาสัมพันธ จังหวัดราชบุรี. (2554). อําเภอดําเนินสะดวกมีโรงเจมากที่สุด. ออนไลน : สืบคนเมื่อวันที่ 23 กรกฎาคม 2560 จาก, http://pr.prd.go.th/ ratchaburi/ewt_news.php?nid=893. Skinner, G. William. (1957). Chinese Society in Thailand : An analytical history. New York : Cornell University. -------------------------------------------------

77


เกี่ยวกับผูสํารวจ อิทธิพร ขําประเสริฐ เกิดและเติบโตที่อําเภอดําเนินสะดวก จังหวัดราชบุรี สําเร็จการศึกษา ครุศาสตรบั ณฑิต (วิช าเอกสังคมศึกษา) สถาบันราชภั ฏบานสมเด็จเจาพระยา ศิลปศาสตรบัณฑิ ต (สาขาสารสนเทศศาสตร) มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช สังคมวิทยาและมานุษยวิทยามหาบัณฑิต (สาขาสังคมวิทยา) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ปจจุบันเปนพนักงานมหาวิทยาลัยคริสเตียน สังกัด กลุมงานแผน ฝายบริหารทั่วไป มีผลงานทางวิชาการดานประวัติศาสตร สังคมและวัฒนธรรมทองถิ่น ไดแก โครงการสํารวจ มรดกทางวัฒนธรรมยานฝงธนบุรี,2543 บทบาทของศูนยการคาตอการมีสวนรวมพัฒนาประชาคม กรุงเทพมหานคร พ.ศ.2546-2550 คลองกับชีวิต : ชุมชนริมสองฝงคลองดําเนินสะดวกกับความ เปลี่ยนแปลง,2546 การศึกษากระบวนการเคลื่อนไหวขององคกรชุมชนเพื่อปกปองสิทธิ์ในการใชพื้นที่ : กรณีศึกษาชุมชนชั้นกลาง แหงหนึ่งในยานเยาวราช.,2551 ประวัติศาสตรชุมชนในเขตเมืองเกา : ชุมชนเลื่อนฤทธิ์ เขตสัมพันธวงศ กรุงเทพมหานคร,2554 แนวความคิดและทฤษฎีการศึกษาทาง สังคมวิทยาเมืองเบื้องตน,2554 บรรณนิทัศนงานเขียน งานวิจัยดานธนบุรีคดีศึกษา,2554 กาวยาง ทางสังคม : รวมบทความทางมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร,2558 เรื่องเลาจากรานเอี้ยะเลงฮึ้ง : ความเปนมาและการใหบริการทางการแพทยแผนจีนโบราณแหงหนึ่งในอําเภอดําเนินสะดวก จังหวัด ราชบุรี,2559

78


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.