ปัจจัยการเพิ่มประสิทธิภาพในการนำแผนกลยุทธ์ไปสู่การปฏิบัติของมหาวิทยาลัยคริสเตียน

Page 1


ปจจัยการเพิ่มประสิทธิภาพในการนําแผนกลยุทธไปสูการปฏิบัติของมหาวิทยาลัยคริสเตียน The Efficiency Factors of Applying Strategic Plans into Action at Christian University of Thailand* อิทธิพร ขําประเสริฐ** สุภัสสรา วิภากูล*** นันทิดา แคนอย** บทคัดยอ การวิจัยเรื่อง ปจจัยการเพิ่มประสิทธิภาพในการนําแผนกลยุทธไปสูการปฏิบัติของมหาวิทยาลัยคริสเตียนมี วัตถุประสงคที่จะศึกษาความคิดเห็นและเปรียบเทียบความคิดเห็นเกี่ยวกับปจจัยการเพิ่มประสิทธิภาพในการนําแผน กลยุทธไปสูการปฏิบัติของมหาวิทยาลัยคริสเตียนทั้งในระดับคณะวิชา และฝายสนับสนุนวิชาการของมหาวิทยาลัย คริสเตียน รวมทั้งแสวงหาแนวทางสนับสนุนสงเสริมเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของการนําแผนกลยุทธฯไปสูการปฏิบัติใหเกิด ประสิทธิผล เครื่องมือที่ใชในการวิจัย คือ แบบสอบถาม จํานวน 1 ชุด กลุมตัวอยาง คือ บุคลากรของมหาวิทยาลัย คริสเตียน จํานวน 189 คน ซึ่งกําหนดขนาดของกลุมตัวอยางตามหลักการของเครซซีและมอรแกน (Krejcie and Morgan) สถิติที่ใช ในการประมวลผลขอมูลประกอบดวยคาความถี่ (Frequency) รอยละ (Percentage) คาเฉลี่ ย (Mean) สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) สถิติ T-test และสถิติ F-test (One-way ANOVA) จากการศึกษาพบวา ภาพรวมกลุมตัวอยางมีความคิดเห็นเกี่ยวกับปจจัยที่มีสวนสําคัญตอการเพิ่มประสิทธิภาพ ในการนํ า แผนกลยุ ท ธ ไ ปสู ก ารปฏิ บั ติ ข องมหาวิ ท ยาลั ย คริ ส เตี ย น ได แ ก การจั ด ทํ า แผนปฏิ บั ติ ก ารเชิ ง กลยุ ท ธ การมอบหมายกลยุทธใหผูรับผิดชอบ การสื่อสารภายในองคกร การกําหนดวัตถุประสงคระยะสั้น/ระยะยาว และ วั ฒ นธรรมขององค ก ร ตามลํ า ดั บ ส ว นป จ จั ย ที่ ก ลุ ม ตั ว อย า งเห็ น ว า ควรจะต อ งมี ก ารเพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพ ได แ ก ความสามารถขององคกร การจัดการความขัดแยง และการบริหารการเปลี่ยนแปลงขององคกร และพบวา กลุ ม ตัวอยางที่สังกั ดคณะวิชา ฝา ยสนับสนับสนุ นวิชาการ และมีตําแหนงตา งกันมีความคิ ดเห็นเกี่ยวกับ ปจจัยการเพิ่ ม ประสิทธิภาพในการนําแผนกลยุทธไปสูการปฏิบัติเชิงกลยุทธแตกตางกันที่ระดับนัยสําคัญทางสถิติ .05 Abstract This research was concerned with The Efficiency Factors of Applying Strategic Plans into Action at Christian University of Thailand within both of colleges and academic support sections, as well as to search for the supporting ways to enhance the effectiveness of the application of strategic plan into action. Rating-scale questionnaires were applied as an instrument to collect the data from 189 staff and the numbers of samples were calculated by Krejcie and Morgan’s principle. The statistics used in analyzing the data including frequency, percentage, mean, standard deviation (S.D.),T-test and F-test (One-way ANOVA). *

ไดรับทุนสนับสนุนจากมหาวิทยาลัยคริสเตียน ** เจาหนาที่แผนและพัฒนา งานแผนและพัฒนา สํานักอธิการบดี มหาวิทยาลัยคริสเตียน *** ผูอํานวยการสํานักอธิการบดี มหาวิทยาลัยคริสเตียน 1


The findings revealed that the overall opinions of the sample group on significant factors for increasing the efficiency of the strategic plan implementation into action at Christian University of Thailand are the preparation of strategic action plan, the assignation of strategy to person in charge, the communication in the organization, the determination of objectives in short term and long term, and the culture of the organization respectively. The sample group viewed that it should increase the efficiency of some factors such as the capability of organization, the conflict management and the organizational change management. The findings also revealed that the sample group under the different colleges, academic support divisions and positions gave the different opinions on increasing the efficiency of the strategic plan implementation into action with the statistical significance level of 0.5.

ความเปนมาและความสําคัญของปญหาการวิจัย การวางแผนพัฒนาสถาบันอุดมศึกษานับเปนภารกิจที่มีความสําคัญอยางยิ่งโดยเฉพาะในยุคปจจุบันที่มีความ เปนพลวัตทางเศรษฐกิจ สังคม การเมือง วัฒนธรรมและสิ่งแวดลอม ยิ่งไปกวานั้นคือภาวการณการแขงขันสูงระหวาง สถาบั น อุ ด มศึ ก ษาที่ เ กิ ด ขึ้ น เป น จํ า นวนมาก ดั ง นั้ น การวางแผนพั ฒ นาจึ ง เป น เครื่ อ งมื อ การบริ ห ารที่ สํ า คั ญ ของ สถาบั น อุ ด มศึ กษา ผู บ ริ หาร และผู ป ฏิ บั ติ ง านทั่ ว ทั้ ง สถาบั น อุ ด มศึ ก ษาในการดํ า เนิ น งานและพั ฒ นางานอย า งมี ประสิทธิภาพใหบรรลุเปาหมายทั้งในระยะสั้น ระยะยาวที่กําหนด รวมถึงประโยชนสูงสุดที่จะเกิดขึ้นแกผูใชบริการ นั่น คือ นักศึกษา ในการบริหารงานของสถาบันอุดมศึกษานั้นมีการนําแนวคิดทฤษฎีที่หลากหลายมาใชใหเกิดประโยชน แนวคิดการบริหารเชิงกลยุทธ (Strategic Management) เปนแนวคิดการบริหารจัดการองคกรอีกแนวคิดหนึ่งที่ สามารถนําไปประยุกตใชในสถาบันอุดมศึกษาทําใหสามารถดําเนินงานอยางมีทิศทาง สรางความสอดคลองในการ ปฏิบัติ การกําหนด ตรวจสอบและควบคุม สรางความพรอมใหแกสถาบันอุดมศึกษาที่จะรับมือกับการเปลี่ยนแปลงหรือ ความทาทายในยุคอุตสาหกรรมการศึกษา รวมทั้งยังสรางประสิทธิภาพในการแขงขัน (จินตนา บุญบงการ ณัฎฐพันธ เขจรนันทน 2545:16) การบริหารเชิงกลยุทธ ประกอบดวย 3 ขั้นตอนที่สําคัญ คือ 1)การวางแผนกลยุทธ(Strategic Planning) 2)การนํากลยุทธไปสูการปฏิบัติ (Strategic Implementation) และ3) การควบคุมและประเมินเชิงกลยุทธ (Strategic Control and Evaluation) (ปณรส มาลากุล ณ อยุธยา 2550:1) การนํ า กลยุ ทธ ไปสู การปฏิ บัติ นั บเป นขั้ นตอนของการบริหารเชิ งกลยุ ท ธที่ ดํ าเนิน การหลัง จากที่ผู บ ริหาร สถาบันอุดมศึกษาไดทําการวางแผนและตัดสินใจในกลยุทธที่จะเลือกใชแลวและนํากลยุทธไปสูการปฏิบัติซึ่งเปนความ รับผิดชอบของบุคลากรในสถาบันอุดมศึกษาทุกระดับ และโดยเฉพาะผูบริหารของแตละฝายหรือแตละสวนงานเปนผูน าํ ในการประยุกตใชและบุคลากรทุกคนเปนผูรวมมือ โดยปจจัยที่จะสงผลสําเร็จตอการนําแผนกลยุทธไปสูการปฏิบัตินั้น มีองคประกอบอยูหลายประการ เชน การติดตอสื่อสารภายในสถาบัน โครงสรางสถาบัน วัฒนธรรมของสถาบัน ภาวะ ผูนํา การสามารถอธิบายถึงความเปลี่ยนแปลงตอประชาคมภายในรับทราบอยางชัดเจน รวมทั้งการชักจูงในบุคลากร เห็นพองตอการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้น (พสุ เดชะรินทร 2542:1-18) สําหรับมหาวิทยาลัยคริสเตียน ซึ่งเปนสถาบันอุดมศึกษาเอกชน สังกัดมูลนิธิสภาคริสตจักรในประเทศไทยได นําหลักการบริหารเชิงกลยุทธมาใชในการบริหารงานดานการวางแผนพัฒนามหาวิทยาลัยฯที่เปนระบบชัดเจน มีการ วิเคราะหสภาพแวดลอมภายในและภายนอกองคกร (SWOT Analysis) การวิเคราะหสภาพการแขงขันเชิงธุรกิจ เพื่อใช ประกอบการจัดทําแผนพัฒนามหาวิทยาลัยฯในระยะยาว 3-5 ป การจัดทําแผนกลยุทธการดําเนินพันธกิจอุดมศึกษา รายปการศึกษา และมีการแปลงแผนกลยุทธดังกลาวไปสูแผนปฏิบัติการเชิงกลยุทธทั้งในระดับสวนงาน และระดับ 2


มหาวิทยาลัยฯซึ่งประกอบดวยโครงการและกิจกรรมตางๆที่สอดคลองกับเปาหมายหลักในการพัฒนามหาวิทยาลัยฯ รวมทั้งไดกําหนดใหมีการติดตามผลการดําเนินงานตามแผนกลยุทธ และแผนปฏิบัติการเชิงกลยุทธ โดยมีการรายงาน ผลการดําเนินงานตามตัวบงชี้ในแผนกลยุทธฯ การรายงานผลการดําเนินงานตามแผนปฏิบัติการเชิงกลยุทธในทุกภาค และปการศึกษา นอกจากนี้ยังกําหนดใหมีการรายงานผลการดําเนินโครงการและกิจกรรมประจําเดือนของทุกคณะวิชา และสวนงานสนับสนุนวิชาการโดยจัดใหมีการประชุมควบคุมคุณภาพของแตละสวนงานในทุกสัปดาหและทุกเดือน การดําเนินงานดานการวางแผนพัฒนาของมหาวิทยาลัยฯอยางเปนระบบนี้สะทอนใหเห็นจากขอสรุปที่ตรงกันของ ผูทรงคุณวุฒิจากสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา(สกอ.) ซึ่งเขามาประเมินคุณภาพการศึกษาภายในอยางเปน ทางการของมหาวิทยาลัยฯ ตั้งแตปการศึกษา 2551-2553 ซึ่งระบุจุดแข็งของแผนการดําเนินงานมหาวิทยาลัยฯวาป การศึกษา 2551 “มหาวิทยาลัยฯมีกระบวนการจัดทําแผนกลยุทธ แผนปฏิบัติการอยางเปนระบบและมีการบริหาร จัดการตามแผนที่ กําหนดไว รวมทั้งมีการประเมินผลการดําเนินงานและปรับแผนเปนระยะๆเพื่อใหบรรลุเปาหมาย ตามที่กําหนด” ปการศึกษา 2552 “มหาวิทยาลัยฯมีการทบทวนและมีกระบวนการที่เปนระบบในการพัฒนาแผน กลยุทธ แผนการดําเนินงานและแผนปฏิบัติการประจําปที่มีความสอดคลองกับภารกิจหลักและยุทธศาสตรของสถาบัน รวมทั้งมีการประเมินผลการดําเนินงานตามระยะเวลาที่กําหนด” ปการศึกษา 2553 “มีการกําหนดปรัชญา วิสัยทัศน และวัตถุประสงคที่เหมาะสมกับอัตลักษณและเอกลักษณของมหาวิทยาลัย” (จันทรจิรา วงษขมทอง และคณะ 2552:9 ,2553:5 2554:8) แมวากระบวนการดําเนินงานดานการวางแผนพัฒนามหาวิทยาลัยฯ สามารถที่จะบรรลุวัตถุประสงคตาม เกณฑของสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา รวมทั้งในระดับมหาวิทยาลัยไดในระดับหนึ่ง แตในการนําแผน กลยุทธฯที่วางไวไปสูการปฏิบัติเพื่อใหบรรลุผลการดําเนินงานตามแผนของมหาวิทยาลัยฯที่กําหนดไวยอมพบกับปญหา และอุปสรรคซึ่งทําใหไมสามารถดําเนินการตามเปาหมายหรือเกณฑที่คาดหวังไวได ดังเชนผลการประเมินตามตัวบงชีใ้ น แผนกลยุทธการดําเนินพันธกิจอุดมศึกษาระดับมหาวิทยาลัยฯ และผลการดําเนินงานตามแผนปฏิบัติการเชิงกลยุทธ ระดับมหาวิทยาลัยฯในบางปการศึกษาบรรลุวัตถุประสงคไมถึงเกณฑที่กําหนดไว ซึ่งเกิดขึ้นจากองคประกอบหลายดาน ได แ ก การรั บ นั ก ศึ ก ษาในบางสาขาวิ ช ายั ง ไม ถึ ง เป า หมายการรั บ การดํ า เนิ น โครงการบริ ก ารวิ ช าการแก สั ง คม โครงการวิจัยที่เนนการบูรณาการกับการเรียนการสอนยังมีจํานวนนอย การดํารงตําแหนงทางวิชาการของคณาจารยยัง ไมเปนไปตามเกณฑ ความเขมขนในการเสริมสรางบรรยากาศความเปนนานาชาติ โครงการและกิจกรรมแลกเปลี่ยน ความรูทางวิชาการ นักศึกษา คณาจารยกับสถาบันที่มีการตกลงความรวมมือในตางประเทศยังมีจํานวนนอย ปญหา และอุปสรรคในการนํากลยุทธไปสูการปฏิบัติของสวนงานตางๆภายในมหาวิทยาลัยฯนี้ยังสะทอนใหเห็นจากขอคนพบ ในงานวิจัยของงานแผนและพัฒนา สํานักอธิการบดี (2553) ที่ศึกษาการมีสวนรวมในการจัดทําแผนปฏิบัติการประจําป การศึกษาของบุคลากรมหาวิทยาลัยฯทั้งในดานการเตรียมวางแผน การจัดทําแผน การปฏิบัติตามแผนฯ และการ ติ ด ตามการประเมิ น ผลการดํ า เนิ น งานตามแผน พบว า ภาพรวมบุ ค ลากรยั ง มี ส ว นร ว มอยู ใ นระดั บ ปานกลาง หากวิเคราะหเปรียบเทียบระหวางตําแหนงของบุคลากร พบวา ผูบริหาร นักวิชาการจะมีสวนรวมมากกวาคณาจารย และเจาหนาที่ งานวิจัยชิ้นดังกลาวยังไดสรุปถึงปญหาและอุปสรรคในการดําเนินงานจัดทําแผนฯวา บุคลากรยังขาด ความรู ค วามเข า ใจในการจั ด ทํ า แผนปฏิ บั ติ ก ารฯ การมี ร ะยะเวลาที่ จํ า กั ด ในการจั ด ทํ า แผน ป ญ หาการกํ า หนด เปาประสงค การกําหนดตัวชี้วัด การไมไดกําหนดงบประมาณไว การกําหนดผูรับผิดชอบที่ชัดเจน และขาดการนํา ปญหาที่เกิดขึ้นจากการประเมินผลมาใชเปนขอมูลในการทบทวนจัดทําแผน

3


จากปรากฏการณที่เกิดขึ้นทําใหเห็นวาการนํากลยุทธที่มหาวิทยาลัยฯกําหนดไวในแผนกลยุทธฯไปสูก ารปฏิบตั ิ สามารถดําเนินการใหมีประสิทธิภาพเกิดประสิทธิผลไดในระดับหนึ่ง และในทํานองเดียวกันอาจกลาวไดวาการนําแผน กลยุทธไปสูการปฏิบัติของมหาวิทยาลัยฯยังตองมีการพัฒนา ปรับปรุงเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการดําเนินงานมากยิ่งขึ้น คณะผู วิ จั ย ในฐานะผู ที่ มี หน า ที่ หลั กในการเป น ผู ป ระสานงานด า นการวางแผนและพั ฒ นา สั ง กั ด ฝ า ยบริ หารของ มหาวิทยาลัยฯจึงมีความสนใจที่จะศึกษาและคนหาคําตอบจากความคิดเห็นของบุคลากรของมหาวิทยาลัยฯวามีปจจัย หรือองคประกอบใดบางที่สงผลใหการเพิ่มประสิทธิภาพของการนําแผนกลยุทธไปสูการปฏิบัติเกิดประสิทธิผลเพื่อที่จะ ไดแนวทางที่ ชัดเจนสําหรับการดําเนินงานในการพัฒ นามหาวิทยาลัยฯใหประสบผลสําเร็จตามวิสัย ทั ศน ปรัชญา วัตถุประสงคที่วางไว วัตถุประสงคการวิจัย ศึกษาระดับความคิดเห็นและเปรียบเทียบความคิดเห็นเกี่ยวกับปจจัยการเพิ่มประสิทธิภาพในการนําแผน กลยุทธสูการปฏิบัติของบุคลากรในระดับคณะวิชา และฝายสนับสนุนวิชาการของมหาวิทยาลัยคริสเตียน รวมทั้ง แสวงหาแนวทางสนับสนุนสงเสริมเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของการนําแผนกลยุทธฯไปสูการปฏิบัติใหเกิดประสิทธิผลยิง่ ขึน้ ขอบเขตการวิจัย การศึกษาวิจัยในครั้งนี้ มุงศึกษาถึงความคิดเห็นและเปรียบเทียบความคิดเห็นเกี่ยวกับปจจัยการประสิทธิภาพ ในการนําแผนกลยุทธสูการปฏิบัติในระดับคณะวิชา และสวนงานสนับสนุนวิชาการของมหาวิทยาลัยคริสเตียน ซึ่ง ครอบคลุม 8 ประเด็น ไดแก ความสามารถขององคกร การกําหนดวัตถุประสงคระยะสั้น/ยาว การมอบหมายกลยุทธ ใหผูรับผิดชอบ การจัดทําแผนปฏิบัติการฯ การบริหารการเปลี่ยนแปลง วัฒนธรรมขององคกร การสื่อสารภายในองคกร และการจัดการความขัดแยง ประชากรที่ใชในการศึกษา คือ ผูบริหาร คณาจารย เจาหนาที่ ของมหาวิทยาลัยคริสเตียน มีระยะเวลาดําเนินการตั้งแตเดือนตุลาคม 2554 – พฤษภาคม 2555 โดยกําหนดเปนกรอบแนวคิดการวิจัย ดังนี้ - ความสามารถขององคกร - การกําหนดวัตถุประสงคระยะสั้น/ยาว - การมอบหมายกลยุทธใหผูรับผิดชอบ - การจัดทําแผนปฏิบัติการฯ - การบริหารการเปลี่ยนแปลง - วัฒนธรรมขององคกร - การสื่อสารภายในองคกร - การจัดการความขัดแยง

ปจจัยการเพิ่มประสิทธิภาพ ในการนําแผนกลยุทธฯไปสูการปฏิบัติ ของคณะวิชาและฝายสนับสนุนวิชาการ

สมมุติฐานการวิจัย สมมุติฐานที่ 1 ความคิดเห็นระหวางบุคลากรมหาวิทยาลัยคริสเตียนในสังกัดคณะวิชากับฝายสนับสนุนวิชาการ เกี่ยวกับปจจัยการเพิ่มประสิทธิภาพในการนําแผนกลยุทธไปสูการปฏิบัติแตกตางกัน สมมุติฐานที่ 2 ความคิดเห็นเกี่ยวกับปจจัยการเพิ่มประสิทธิภาพในการนําแผนกลยุทธไปสูการปฏิบัติ ของ บุคลากรมหาวิทยาลัยคริสเตียนในสังกัดคณะวิชาที่ตางกันมีความแตกตางกัน 4


สมมุติฐานที่ 3 ความคิดเห็นเกี่ยวกับปจจัยการเพิ่มประสิทธิภาพในการนําแผนกลยุทธไปสูการปฏิบัติ ของ บุคลากรมหาวิทยาลัยคริสเตียนในสังกัดฝายสนับสนุนวิชาการที่ตางกันมีความแตกตางกัน สมมุติฐานที่ 4 ความคิดเห็นเกี่ยวกับปจจัยการเพิ่มประสิทธิภาพในการนําแผนกลยุทธไปสูการปฏิบัติ ของ บุคลากรมหาวิทยาลัยคริสเตียนที่มีตําแหนงตางกันมีความแตกตางกัน แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวของ ความหมายของการนํากลยุทธไปสูการปฏิบัติ เฟร็ด และโรบิน (Pearec and Robinson 2548:335) ใหความหมายของคําวาการนํากลยุทธไปปฏิบัติ หมายถึง การแปรเปลี่ยนความคิดดานกลยุทธออกมาในรูปของการปฏิบัติงานขององคกรโดยมีคําที่สําคัญ 2 คํา คือ wall-worn phrase มาจากการเปลี่ยนแปลงการวางแผนงานที่จะทํามาเปน (Planning their work) การทํางานตาม แผนที่ไดวางเอาไว (Working their plan) จินตนา บุญบงการ และณัฎฐพันธ เขจรนันทน (2548:167) ใหความหมายของคําวาการนํากลยุทธไปปฏิบัติ หมายถึง ขั้นตอนตอเนื่องจากการกําหนดกลยุทธที่ใหความสําคัญกับการวางแผนและการดําเนินงานเพื่อใหกลยุทธเกิด ประโยชนแกองคกรอยางเปนรูปธรรมและมีประสิทธิภาพ เปนขั้นตอนที่ตองอาศัยบุคคลที่สามารถดูแลการปรับเปลี่ยน ความคิดใหเปนความจริง จากความหมายของการนํ า กลยุ ท ธ ไ ปสู ก ารปฏิ บั ติ ขา งต น สรุ ป ได ว า การนํ า กลยุ ท ธ ไ ปปฏิ บั ติ หมายถึ ง การแปลงกลยุทธขององคกรที่ไดกําหนดไวในแผนกลยุทธสูการปฏิบัติที่เปนรูปธรรมดวยการพัฒนาแผนปฏิบัติการที่ ตอบสนองตอกลยุทธอยางมีประสิทธิภาพ ความสัมพันธของการวางแผนกลยุทธและการนําแผนกลยุทธไปสูการปฏิบัติ สุพาณี สฤษฎวานิช (2544:272) กลาววา องคกรแตละแหงควรพิจารณาการวางแผนกลยุทธพรอมๆกับการ นํากลยุทธไปสูการปฏิบัติดวยมุมมองที่หลากหลาย แสดงไดจากแผนภูมิ การวางแผนกลยุทธ เหมาะสม ไมเหมาะสม

มีความพรอม

1 การบริหารกลยุทธ จะประสบความสําเร็จ

2 มีโอกาสลมเหลว หรือสําเร็จได

3 จะเกิดความยุงยาก ในการดําเนินงาน

4 การบริหารกลยุทธ จะลมเหลว

การนําแผนกลยุทธไปปฏิบัติ ไมไดเตรียมพรอม

ภาพที่ 1 แสดงความสัมพันธระหวางการวางแผนกลยุทธและการนําแผนกลยุทธไปปฏิบตั ิ ที่มา : สุพาณี สฤษฎวานิช 2554 :272 5


จากแผนภูมิแสดงอธิบายไดวาหากมีการวางแผนกลยุทธอยางดี ถูกตองและเหมาะสมแลว และในขั้นตอนของ การนําแผนกลยุทธไปปฏิบัติมีความพรอม การบริหารกลยุทธใหประสบความสําเร็จจะเกิดขึ้นไดไมยาก ในทางตรงกัน กันหากพิจารณาในชองที่ 4 แสดงใหเห็นวา การวางแผนกลยุทธเปนอยางดีแตขาดความพรอมในการนําแผนกลยุทธไป ปฏิบัติ การบริหารกลยุทธใหเกิดผลสําเร็จจึงเปนไปไดยาก และแมวาผูบริหารจะใหความสําคัญกับการวางแผนกลยุทธ มากแตละเลยความสําคัญของการนําแผนกลยุทธไปปฏิบัติในชองที่ 2 ยอมจะสงผลใหเกิดปญหาในดานความยุงยากใน การไม ย อมรั บ ในแผน หรื ออาจะเกิ ด การต อ ต า นขึ้ น มาได สํ า หรั บ ในช อ งที่ 3 นั้ น จะเห็ น ได ว า ผู บ ริ ห ารไม ไ ด ใ ห ความสําคัญหรือเตรียมความพรอมในตัวแผนกลยุทธ แตใหความสําคัญในขั้นตอนของการนําแผนกลยุทธไปปฏิบัติ ซึ่งอาจทําใหสามารถแกไขแผนกลยุทธหรือปรับแผนนั้นใหเหมาะสมขึ้นมาได หรืออยางนอยจะทําใหผูบริการไดรับทราบ ปญหาที่เกิดขึ้นเพื่อดําเนินการแกไขและปรับวิธีการดําเนินการในการวางแผนครั้งตอไป ขั้นตอนการนํากลยุทธไปสูการปฏิบัติ จินตนา บุญบงการ และณัฎฐพันธ เขจรนันทน (2548:168-169) กลาววา การนํากลยุทธไปปฏิบัติเปนขั้นตอน ที่ดําเนินงานตอจากการกําหนดกลยุทธเพื่อใหกลยุทธที่กําหนดขึ้นเปนความจริงและประสบความสําเร็จตามตองการ โดยองคกรตองสามารถตอบคําถาม 3 ขอดังตอไปนี้ 1. ใครจะเปนผูนําแผนกลยุทธไปปฏิบัติ (Who implements strategy) ขึ้นอยูกับโครงสรางองคกร ผูท ที่ าํ การ ดําเนินกลยุทธอาจกระจายไปสูหลายคน 2. อะไรเปนสิ่งที่ตองกระทํา (What must be done ?) ผูจัดการแผนกหรือผูบริหารในระดับหนาที่จะปฏิบัติ ตามแนวทางของโครงการ คาใชจาย และกระบวนการในการดําเนินงานตามกลยุทธที่กําหนดไว 3. ผูปฏิบัติควรตองการดําเนินการอยางไร (How are they going to do ?) การที่จะนําแผนไปปฏิบัติไดจริง นั้น องคกรตองจัดระเบียบของแผนไวอยางเหมาะสม และควรมีพนักงานในการปฏิบัติตามแผนอยางเพียงพอ กิจกรรม แตละกิจกรรมที่จัดใหมีขึ้นควรเหมาะสมกับจุดประสงคของแผน สําหรับในการนํากลยุทธไปปฏิบัตินั้นควรปฏิบัติตามขั้นตอนดังตอไปนี้ 1. ทําความเขาใจกลยุทธ (Understanding strategy) เปนขั้นตอนสําคัญสําหรับผูนํากลยุทธไปปฏิบัติ 2. กําหนดแผนปฏิบัติการ (Planning the action plan) การนํากลยุทธไปดําเนินงานอยางมีประสิทธิภาพไม สามารถดําเนินงานโดยบุคคลเพียงคนเดียวที่รับทราบวิสัยทัศนแลวนําไปปฏิบัติ การทํางานเปนทีมในลักษณะของ โครงการเฉพาะที่รวมกันวางแผนปฏิบัติเปนรูปแบบที่นิยมในการนํากลยุทธไปปฏิบัติ โดยหัวหนาทีมปฏิบัติการจะตอง วางแผนโครงการ โดยใหความสําคัญกับงบประมาณ กําลังคน และระยะเวลา ทีส่ ําคัญทีมงานตองระดมความคิดในการ วางปฏิบัติการที่เปนรูปธรรม โดยกําหนดรายละเอียดของขั้นตอนการดําเนินงานเพื่อใหบรรลุเปาประสงคอยางชัดเจน ตลอดจนกําหนดแนวทางในการประเมินและตรวจสอบความสําเร็จในการดําเนินงานและการนํากลยุทธไปปฏิบัติ 3. ดําเนินงานตามแผน (Plan execution) ผูบริหารโครงการตองตรวจสอบความพรอมของโครงการและเริ่ม ดําเนินงานตามขั้นตอนที่กําหนด ตรวจสอบผลการดําเนินงานตามแผน ตลอดจนตองตื่นตัวกับปญหาหรือสถานการณที่ ไมคาดคิดวาจะเกิดขึ้น เพื่อที่จะไดแกไขหรือตัดสินใจดําเนินงานอยางรวดเร็วและทันตอสถานการณ นอกจากนี้หัวหนา โครงการตองตรวจสอบความแตกตางระหวางความตองการของแผนงานกับสิ่งที่เกิดขึ้นจริงในสถานการณจริง และ ความสอดคลองในการประสานงานระหวางสวนประกอบเชิงกลยุทธขององคกร

6


ศึกษา

วางแผนปฏิบัติการ

ดําเนินโครงการ

ประเมินโครงการ ภาพที่ 2 แสดงขั้นตอนการนํากลยุทธไปปฏิบัติ ที่มา : จินตนา บุญบงการ และณัฎฐพันธ เขจรนันทน 2548:177 4) การประเมินโครงการ (Project evaluation) ผูบริหารโครงการตองติดตามและตรวจสอบผลลัพธจาก ขั้นตอนการดําเนินงานเพื่อนําขอมูลจากการดําเนินงานมาวิเคราะหและประเมินวา การดําเนินงานบรรลุจุดประสงคที่ กําหนดเพียงใด มีปญหาหรืออุปสรรคในการดําเนินงานอยางไร และเพราะเหตุใด เพื่อกําหนดแนวทางแกปญหาและ พัฒนาใหการดําเนินงานมีประสิทธิภาพขึ้น ระเบียบวิธีวิจัย การวิจัยในครั้งนี้เปนการวิจัยเชิงพรรณนา (Descriptive research) ประชากรที่ใชในการศึกษาครั้งนี้ คือ บุคลากรมหาวิทยาลัยคริสเตียน ซึ่งมีจํานวน 362 คน โดยกําหนดขนาดของกลุมตัวอยางตามหลักการของ มอรแกน และเครซซี (Krejcie and Morgan 1970 : 607-610 อางในสุจิตรา บุณยรัตพันธ 2534:176-177) ไดกลุมตัวอยางที่ ใชในการศึกษาครั้งนี้อยางนอย จํานวน 186 คน เครื่องมือที่ใชในการศึกษา คือ แบบสอบถาม แบงออกเปน 3 ตอน คือ ตอนที่ 1 ขอมูลทั่วไปของผูตอบ แบบสอบถาม ตอนที่ 2 เปนคําถามวัดระดับความคิดเห็นตอการเพิ่มประสิทธิภาพของการนําแผนกลยุทธฯไปสูการ ปฏิบัติ ซึ่งประยุกตจากงานวิจัยของทวีวรรณ อินคา (2552:183-187) โดยไดสรางเปนมาตรวัดแบบลิเครท (Likert’s rating Scale) วัดระดับความคิดเห็น ออกเปน 5 ระดับ ประกอบดวย 8 ดาน ไดแก ความสามารถขององคกร การ กําหนดวัตถุประสงคระยะสั้น/ยาว การมอบหมายกลยุทธใหผูรับผิดชอบ การจัดทําแผนปฏิบัติการฯ การบริหารการ เปลี่ยนแปลง วัฒนธรรมขององคกร การสื่อสารภายในองคกร และการจัดการความขัดแยง และตอนที่ 3 เปนขอ คําถามปลายเปดเพื่อใหแสดงความคิดเห็น คณะผูวิจัยไดทําการตรวจสอบคุณภาพของมาตรวัด โดยการทดสอบความ แมนตรง (Validity) จากการพิจารณาของผูทรงคุณวุฒิ และหาคาความเชื่อถือได (Reliability) โดยการคํานวณหาคา สัมประสิทธิ์อัลฟา (Coefficient Alpha) ของครอนบาค (Cronbach) ภาพรวมไดคาสัมประสิทธิ์อัลฟา (alpha) =.9829 ซึ่งเปนคาที่สูงพอจึงสามารถนํามาใชในการศึกษาได คณะผูวิจัยดําเนินการเก็บรวบรวมขอมูลโดยทําหนังถือผูบริหารคณะวิชาและฝายสนับสนุนวิชาการเพื่อขอ ความรวมมือบุคลากรในการกรอกแบบสอบถาม สําหรับการวิเคราะหขอมูลประกอบดวย 2 สวน คือ การวิเคราะห ขอมูลเชิงปริมาณ กําหนดสถิติที่ใชศึกษา ไดแก การแจกแจงความถี่ (frequency) คารอยละ (Percent) คาเฉลี่ย (Mean) และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) T-test F-test (One-way ANOVA) และทดสอบความ 7


แตกตางเปนรายคูโดยใชวิธี Least Significant Difference (LSD) และการวิเคราะหขอมูลเชิงคุณภาพ ใชวิธีการ วิเคราะหเนื้อหา (Content Analysis) ผลการวิจัย กลุมตัวอยางจํานวนเกินครึ่งเปนเพศหญิง รอยละ 82.3 ที่เหลือเปนเพศชาย รอยละ 17.7 กลุมตัวอยางจํานวน มากที่สุดมีอายุระหวาง 25-35 ป รอยละ 45.2 สําเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี รอยละ 47.3 เกินครึ่งสังกัดฝาย สนับสนุนวิชาการ รอยละ 56.5 ที่เหลือสังกัดคณะวิชา รอยละ 43.5 โดยกลุมตัวอยางจํานวนมากที่สุดมีตําแหนงเปน เจาหนาที่ รอยละ 40.9 มีระยะเวลาการปฏิบัติงานในมหาวิทยาลัยคริสเตียนระยะเวลา 5–20 ป รอยละ 41.9 ภาพรวมกลุมตัวอยางที่สังกัดคณะวิชาและฝายสนับสนุนวิชาการมีความคิดเห็นตอปจจัยการเพิ่มประสิทธิภาพ ในการนํ าแผนกลยุท ธไ ปสู การปฏิบั ติของมหาวิ ทยาลัย คริ สเตีย น มีค าคะแนนเฉลี่ย ความคิด เห็ น อยูใ นระดั บ ดี เมื่อพิจารณาแยกตามสวนงานพบวา คณะวิชาอยูในระดับดีทุกคณะ ยกเว นคณะบัญชี ธุรกิจและมัลติมีเดียที่ มีค า คะแนนเฉลี่ยความคิดเห็นอยูในระดับพอใช สวนฝายสนับสนุนวิชาการอยูในระดับดีทุกฝาย ยกเวนฝายพัฒนานักศึกษา และสื่อสารการตลาดที่มีคาคะแนนเฉลี่ยความคิดเห็นอยูในระดับพอใช ตารางที่ 1 คาระดับคะแนนเฉลี่ยความคิดเห็นของกลุมตัวอยางตอปจจัยการเพิ่มประสิทธิภาพในการนําแผนกลยุทธ ไปสูการปฏิบัติของมหาวิทยาลัยคริสเตียน แยกตามคณะวิชา และฝายสนับสนุนวิชาการ ปจจัยการเพิ่มประสิทธิภาพของการนํา แผนกลยุทธไปสูก ารปฏิบัติฯ - ความสามารถขององคกร - การกําหนดวัตถุประสงคระยะสัน้ /ยาว - การมอบหมายกลยุทธใหผูรับผิดชอบ - การจัดทําแผนปฏิบัติการฯ - การบริหารการเปลี่ยนแปลง - วัฒนธรรมขององคกร - การสื่อสารภายในองคกร - การจัดการความขัดแยง รวมคณะวิชา/ฝายสนับสนุนวิชาการ ภาพรวม

คาระดับคะแนนเฉลี่ยความคิดเห็น คณะวิชา ฝายสนับสนุนวิชาการ บัณฑิต วิทยาลัย

คณะ พยาบาล ศาสตร

คณะ สหเวช ศาสตร

คณะบัญชี ธุรกิจและ มัลติมีเดีย

ฝาย บริหาร

ฝายวิชาการ วิจัย และ ประกันคุณภาพ การศึกษา

ฝายพัฒนา นักศึกษา และสื่อสาร การตลาด

3.86 3.89 3.92 4.05 3.81 4.06 4.12 4.03 3.96

3.68 3.79 3.90 3.93 3.45 3.65 3.75 3.50 3.71

3.49 3.77 3.80 3.94 3.47 3.83 3.93 3.57 3.72

3.33 3.42 3.60 3.65 3.35 3.46 3.50 3.40 3.46

3.55 3.67 3.83 3.87 3.48 3.64 3.70 3.41 3.65

3.63 3.80 3.81 3.81 3.42 3.48 3.57 3.33 3.60 3.57

3.45 3.52 3.58 3.42 3.30 3.38 3.51 3.31 3.46

3.71

จากตารางที่ 1 พบวาคาระดับคะแนนเฉลี่ยความคิดเห็นของบุคลากรเกี่ยวกับปจจัยการเพิ่มประสิทธิภาพใน การนําแผนกลยุทธไปสูการปฏิบัติของคณะวิชาสูงสุดอยูที่บัณฑิตวิทยาลัย เรื่องการสื่อสารภายในองคกร ( x = 4.12) สวนคณะวิชาอื่นๆคาระดับคะแนนเฉลี่ยความคิดเห็นสูงสุดอยูในเรื่อง การจัดทําแผนปฏิบัติการเชิงกลยุทธ ไดแ ก คณะสหเวชศาสตร ( x = 3.94) คณะพยาบาลศาสตร ( x = 3.93) และคณะบัญชี ธุรกิจ และมัลติมีเดีย ( x = 3.65) ตามลํ า ดั บ เช น เดี ย วกั บ ฝ า ยสนั บ สนุ น วิ ช าการที่ มี ค า ระดั บ คะแนนเฉลี่ ย ความคิ ด เห็ น สู ง สุ ด อยู ใ นเรื่ องการจั ด ทํ า 8


แผนปฏิบัติการฯ ยกเวนฝายพัฒนานักศึกษาและสื่อสารการตลาด ที่มีคาระดับคะแนนเฉลี่ยสูงสุดในเรื่องการมอบหมาย กลยุทธใหผูรับผิดชอบ จากการทดสอบสมมุติฐาน พบวา 1. กลุมตัวอยางที่สังกัดคณะวิชาและฝายสนับสนุนวิชาการมีความคิดเห็นตอการเพิ่มประสิทธิภาพในการนํา แผนกลยุทธไปสูการปฏิบัติไมแตกตางกัน 2. กลุมตัวอยางที่สังกัดคณะวิชาตางกันมีความคิดเห็นตอการเพิ่มประสิทธิภาพในการนําแผนกลยุทธไปสูการ ปฏิบัติในภาพรวม และเปนรายดานทั้ง 8 ดาน ไดแก ความสามารถของสวนงาน การกําหนดวัตถุประสงคในระยะสั้น ระยะยาว การมอบหมายกลยุทธใหผูรับผิดชอบ การจัดทําแผนปฏิบัติการประจําป การบริหารการเปลี่ยนแปลง วัฒนธรรมของสวนงาน การสื่อสารภายในสวนงาน และการจัดการความขัดแยงแตกตางกัน 3. กลุมตัวอยางที่สังกัดฝายสนับสนุนวิชาการตางกันมีความคิดเห็นตอการเพิ่มประสิทธิภาพในการนําแผน กลยุทธไปสูการปฏิบัติในภาพรวม และเปนรายดาน 5 ดาน ไดแก ความสามารถของสวนงาน การกําหนดวัตถุประสงค ในระยะสั้น ระยะยาว การมอบหมายกลยุทธใหผูรับผิดชอบ การบริหารการเปลี่ยนแปลง และการจัดการความขัดแยง แตกตางกัน อภิปรายผล การศึ กษาวิ จัย เรื่อง การเพิ่ม ประสิ ทธิภ าพของการนํากลยุทธ ไปสู การปฏิบัติ ของมหาวิท ยาลั ยคริส เตีย น มีประเด็นสําคัญที่สามารถนํามาอภิปรายผลไดดังนี้ 1. ดานความสามารถขององคกร จากการศึกษาพบวา บุคลากรที่เปนกลุมตัวอยางมีเจตคติที่ดีตอการนํากลยุทธที่มหาวิทยาลัยกําหนดไปปฏิบัติ ซึ่งมีคาคะแนนเฉลี่ยอยูในระดับดี ผลการศึกษาดังกลาวสอดคลองกับขอเท็จจริงในการดําเนินนโยบายของผูบริหาร มหาวิทยาลัยฯทุกระดับที่ไดสรางความเขาใจในการนําแผนกลยุทธไปสูการปฏิบัติในทุกภาคและปการศึกษาในที่ประชุม ตางๆอยางตอเนื่อง เชนเดียวกับการมีระบบวัดและประเมินผลการดําเนินงานที่สอดคลองกับกลยุทธซึ่งมีคาคะแนน เฉลี่ยในระดับดี ซึ่งเห็นไดจากขอคําถามที่ใชประเมินผลการปฏิบัติงานของบุคลากรตามตําแหนงตางๆที่มีการนําพันธกิจ อุดศึกษาและตั วบง ชี้ที่กําหนดไว ในแผนกลยุท ธ ฯมาเป นเครื่ องมื อวัด ประสิทธิ ผลที่ เกิด ขึ้นจากการดํ าเนิ นงานของ บุคลากรแตละบุคคลตามตําแหนงหนาที่ นอกจากนี้ในเรื่องของการนําระบบการปฏิบัติงานที่ดีและทันสมัยมาใชเพื่อ สนับสนุนการนําแผนกลยุทธฯไปปฏิบัติที่พบวามีคาคะแนนเฉลี่ยอยูในระดับดี สอดคลองกับการที่มหาวิทยาลัยฯไดมี การนําระบบบริหารจัดการสมัยใหมมาประยุกตในการบริหารจัดการของมหาวิทยาลัยฯ เชน ระบบบริหารคุณภาพ ไอเอสโอ 9001:2008 ระบบบริหารงานคุณภาพสิ่งแวดลอมไอเอสโอ 14001:2004 และระบบบริหารความเสี่ยง (Risk Management) ซึ่งระบบดังกลาวไดรับการรับรองมาตรฐานจากหนวยงานภายนอกอยางตอเนื่อง 2. ดานการกําหนดวัตถุประสงคระยะสั้น/ระยะยาว จากการศึกษาพบวา บุคลากรที่เปนกลุมตัวอยางมีค วามคิดเห็นตอการเพิ่มประสิทธิภาพของการนําแผน กลยุทธไปสูการปฏิบัติของมหาวิทยาลัยคริสเตียนดานการกําหนดวัตถุประสงคระยะสั้น/ระยะยาวมีคาคะแนนเฉลี่ยอยู ในระดับดี โดยเฉพาะการกําหนดวัตถุประสงคของหนาที่ในงานแตละงาน การกําหนดวัตถุประสงคระยะสั้น/ระยะยาว ที่สามารถกําหนดตัวชี้วัดความสําเร็จ เวลาในการทํางาน การดําเนินโครงการและกิจกรรม เปนตน ผลจากการศึกษา ดังกลาวสอดคลองกับแนวคิดของลุกซ ริชารด และเดวิดส คอลลิส (Luecke Richard and David J Collies 9


2548:130) ที่ระบุวา การดําเนินกลยุทธใหประสบผลสําเร็จจะเกิดขึ้นไดจากการที่แผนปฏิบัติการไดระบุเปาหมายหลัก เชิงกลยุทธหรือวัตถุประสงคในแตละขั้นการดําเนินงานใหชัดเจน รวมทั้งความกาวหนาในแตละชวงเวลาของโครงการ และกิ จ กรรม ทั้ ง นี้ เพื่ อที่ จ ะนํ า ไปสู การสร า งความมั่ น ใจได ว า บุ ค ลากรผู ป ฏิ บั ติ ง านจะมี ท รั พ ยากรหรื อ ป จ จั ย การ ดําเนินงานที่จําเปนเพียงพอ และสามารถปฏิบัติงานใหบรรลุเปาหมายไดตามที่กําหนดไวในแผน และจากการศึกษายัง พบวา ในเรื่อง การเปดโอกาสใหบุคลากรมีสวนรวมในการกําหนดวัตถุประสงคระยะสั้น/ระยะยาวที่มีคาคะแนนเฉลีย่ อยู ในระดับดี ผลการศึกษาดังกลาวแตกตางจากงานศึกษาวิจัยของงานแผนและพัฒนา สํานักอธิการบดี มหาวิทยาลัย คริสเตียน (2553) กอนหนานี้ที่พบวา บุคลากรยังมีสวนรวมในการกําหนดวัตถุประสงค เปาหมายของสวนงานที่สังกัด ใหชัดเจนในแตละปการศึกษาอยูในระดับปานกลาง ขอคนพบดังกลาวสะทอนถึงการที่มหาวิทยาลัยฯไดสนับสนุนให บุคลากรที่สังกัดในแตละสวนงานมีสวนรวมในการกําหนดวัตถุประสงคในการดําเนินงานเพิ่มมากขึ้นจากเดิม 3. ดานการมอบหมายกลยุทธใหผูรับผิดชอบ จากการศึกษาพบวา บุคลากรที่เปนกลุมตัวอยางมีค วามคิดเห็นตอการเพิ่มประสิทธิภาพของการนําแผน กลยุทธไปสูการปฏิบัติของมหาวิทยาลัยคริสเตียนดานการมอบหมายกลยุทธใหผูรับผิดชอบมีคาคะแนนเฉลี่ยอยูในระดับ ดี โดยเฉพาะเรื่องการทบทวนแผนกลยุทธทุกปการศึกษา การรายงานความคืบหนาในการนํากลยุทธไปปฏิบัติตอที่ ประชุม และการกําหนดบทบาทหน าที่ของผูรับผิ ดชอบนํ ากลยุท ธไปปฏิบั ติไว เปนลายลักษณอักษร ผลการศึกษา ดังกลาวสอดคลองกับขอเท็จจริงในการดําเนินนโยบายของมหาวิทยาลัยฯที่กําหนดใหมีการทบทวนแผนกลยุทธฯในทุก ภาคและป การศึ กษา มี การนํ า ผลจากการดํ า เนิ น งานในแต ล ะภาคการศึ กษาและสิ้ น ป การศึ กษามาใช เป น ข อมู ล ประกอบการพิจารณาทบทวนแผนกลยุทธฯและปรับเปลี่ยนแผนกลยุทธฯใหมใหตั้งอยูบนพื้นฐานของการปฏิบัติที่มี ความเปนไปไดจริง ผลการศึกษาดังกลาวยังสอดคลองกับแนวคิดของบุญเกียรติ ชีวตระกูลกิจ (2548:172-177) ที่ระบุ วา องค ป ระกอบสํ า คั ญของการนํ ากลยุ ทธ ไ ปสูการปฏิ บั ติ คื อ การมอบหมายกลยุ ท ธ ให ผู รั บผิ ด ชอบ (host) หรื อ ผูรับผิดชอบในการนํากลยุทธไปปฏิบัติซึ่งแตละกลยุทธจะมีผูรับผิดชอบมากกวาหนึ่งคน โดยเจาภาพหลักจะมีอํานาจใน การเรียกผูรับผิดชอบรวมมาประชุมเพื่อแบงงานบริหารกลยุทธ ตลอดจนติดตามการปฏิบัติงาน รายงานความคืบหนา ของการนํากลยุทธไปปฏิบัติ ตอที่ประชุมตามเวลาที่กําหนด เชนเดียวกับการกําหนดบทบาทหนาที่ของผูรับผิดชอบการ นํากลยุทธไ ปปฏิบัติไวเปนลายลักษณอักษร มหาวิทยาลัย ฯไดกําหนดใหมีการระบุชื่อของส วนงาน ผูบ ริหาร ที่จ ะ รับผิดชอบอยางชัดเจนทั้งในเอกสารแผนกลยุทธฯ แผนปฏิบัติการฯ รวมไปถึงการดําเนินโครงการและกิจกรรม รวมทั้ง มีการจัดทําประกาศ คําสั่งที่เกี่ยวของเพื่อตอบสนองตอการนําแผนกลยุทธฯที่กําหนดไวไปสูการปฏิบัติอยางเปนรูปธรรม 4. ดานการจัดทําแผนปฏิบัติการ จากการศึกษาพบวา บุคลากรที่เปนกลุมตัวอยางมีค วามคิดเห็นตอการเพิ่มประสิทธิภาพของการนําแผน กลยุ ท ธ ไ ปสู การปฏิ บั ติ ของมหาวิ ท ยาลั ย คริ ส เตี ย นด า นการจั ด ทํ า แผนปฏิ บั ติ ก ารมี ค า คะแนนเฉลี่ ย อยู ใ นระดั บ ดี โดยเฉพาะในเรื่องความมีประสิทธิภาพในการแปลงแผนกลยุทธฯที่มหาวิทยาลัยฯกําหนดไวไปสูการปฏิบัติซึ่งปรากฏใน รูปของแผนปฏิบัติการเชิงกลยุทธที่ประกอบดวยโครงการและกิจกรรม วัตถุประสงค ตัวบงชี้ความสําเร็จที่สอดคลอง กับกลยุทธ การกําหนดผูรับผิดชอบ รายละเอียดขั้นตอน เงื่อนเวลาที่ชัดเจนในการดําเนินงาน และมีการระดมความ คิดเห็นจากทุ กสว น ผลการศึกษาดั งกล าวสอดคลองกับ แนวคิดของจิ นตนา บุ ญบงการ และณัฎ พันธ เขจรนั นทน (2548:168-169) ที่กลาวไววาการจัดทําแผนปฏิบัติการที่ดีจะตองมีการระดมความคิดเห็นจากทุกฝาย โดยกําหนด รายละเอี ย ดของขั้ น ตอน ระยะเวลา งบประมาณ กํ า ลั ง คน ทรั พ ยากรสํ า หรั บ ใช ใ นการดํ า เนิ น งานเพื่ อให บ รรลุ วั ต ถุ ป ระสงค อย า งชั ด เจน ตลอดจนกํ า หนดแนวทางในการประเมิ น ความสํ า เร็ จ ในการนํ า กลยุ ท ธ ไ ปปฏิ บั ติ และ 10


สอดคลองกับขอเท็จจริงในการดําเนินนโยบายของมหาวิทยาลัยฯที่กําหนดใหทุกสวนงานมีการจัดทําแผนปฏิบัติการ อยางเปนระบบและเนนการมีสวนรวมจากบุคลากรทุกคนดังที่ปรากฏเอกสารคูมือการจัดทําแผนปฏิบัติการเชิงกลยุทธ ของมหาวิทยาลัยฯ รวมทั้งยังจัดใหมีการประชุมนําเสนอแผนปฏิบัติการฯของทุกสวนงานในที่ประชุมคณะผูบริหารเพื่อ รวมกันพิจารณาใหขอเสนอแนะแผนปฏิบัติการฯของทุกสวนงานกอนนําไปสูการปฏิบัติ 5. ดานการบริหารการเปลี่ยนแปลง จากการศึกษาพบวา บุคลากรที่เปนกลุมตัวอยางมีค วามคิดเห็นตอการเพิ่มประสิทธิภาพของการนําแผน กลยุทธไปสูการปฏิบัติของมหาวิทยาลัยคริสเตียนดานการบริหารการเปลี่ยนแปลงมีคาคะแนนเฉลี่ยอยูในระดับพอใช โดยเฉพาะการจัดโอกาสใหบุคลากรแสดงความคิดเห็นในขั้นตอนการเปลี่ยนแปลงเพื่อทําใหเปนสวนหนึ่งของการ เปลี่ ย นแปลง ผลการศึ กษาดั งกล า วแตกตา งจากงานศึ กษาของป ยะธิ ด า อิ น ทรโชติ (2553) ที่ ศึ กษาบทบาทของ กระบวนการทํางานในการบริหารการเปลี่ยนแปลงและวัฒนธรรมองคกรในการบริหารการเปลี่ยนแปลงของวิสาหกิจ ขนาดเล็กและขนาดยอม ที่พบวา องคกรในกลุมธุรกิจ วิสากิจขนาดกลางและขนาดยอมมีการประยุกตแนวความคิดการ บริหารการเปลี่ยนแปลงไดคอนขางสําเร็จดี โดยเฉพาะในดานการกําหนดเปาหมาย การจัดทําแผนปฏิบัติการ การ สื่อสารการเปลี่ยนแปลง หรือการวางแผนใหบุคลากรมีสวนรวมในการเปลี่ยนแปลง ดังนั้น การทําใหบุคลากรมีสว นรวม (Participation) อยางกวางขวางในฐานะผูที่ไดรับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงไดมีสวนรวมตั้งแตเริ่มตนดวยวิธีการ ในรูปแบบตางๆจะสามารถชวยลดแรงตานลงและปองกันผลกระทบตอการบริหารการเปลี่ยนของมหาวิทยาลัยฯที่จะ เกิดขึ้นตามมา ดังที่ทศพร ศิริสัมพันธ (2548:65-67) ไดระบุไววา หากการเปลี่ยนแปลงเริ่มตนดวยความไมชัดเจน ไม สามารถสรางการรับรูและความเขาใจใหเกิดขึ้นสิ่งที่จะเกิดขึ้น คือ ความสับสนไมมั่นใจนําไปสูการสรางมุมมองหรือ ทัศนคติที่ไมถูกตองตอการเปลี่ยนแปลงที่กําลังจะเกิดขึ้น เกิดความรูสึกตอตานไมสนับสนุนการเปลี่ยนแปลงและอาจ นํามาซึ่งการยกเลิก เพิกเฉยตอการเปลี่ยนแปลงในทายที่สุด 6. ดานวัฒนธรรมองคกร จากการศึกษาพบวา บุคลากรที่เปนกลุมตัวอยางมีค วามคิดเห็นตอการเพิ่มประสิทธิภาพของการนําแผน กลยุทธไปสูการปฏิบัติของมหาวิทยาลัยคริสเตียนดานวัฒนธรรมองคกรมีคาคะแนนเฉลี่ยอยูในระดับดี โดยเฉพาะการที่ ผู นํ า ให ค วามสํ า คั ญ คอยติ ด ตามกํ า กั บ ดู แ ล และสนั บ สนุ น การนํ า กลยุ ท ธ ไ ปปฏิ บั ติ การที่ มี ที ม ผู บ ริ หารที่ มี ค วามรู ความสามารถในการนํากลยุทธไปปฏิบัติ และมีการประชุมชี้แจงถึงความจําเปนในการที่จะตองปรับเปลี่ยนวัฒนธรรม การทํางานใหม ผลการศึกษาดังกลาวสอดคลองกับงานศึกษาของกาญจนา บุญยัง (2549) ที่ศึกษาประสิทธิผลการ บริหารงานขององคกรในมหาวิทยาลัยเชียงใหม พบวา บุคลากรมี ทัศนคติที่ดีต อการดําเนิ นงานของผู บริหารและ คณาจารย ทีมงานที่มีประสิทธิภาพซึ่งมีความชัดเจนในแนวทางการปฏิบัติงานการควบคุม การกํากับปฏิบัติงาน และยัง สอดคลองกับขอคนพบที่ตรงกันในงานศึกษาของนันทิยา นอยจันทร (2550) ที่ศึกษาวัฒนธรรมองคกรกับประสิทธิภาพ การบริหารอุดมศึกษา งานของทิพยสุดา ศิลปะ (2550) ที่ศึกษาประสิทธิภาพและประสิทธิผลของระบบประกันคุณภาพ ของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย และงานของมณี ชินณรงค (2554) ที่ศึกษาประสิทธิผลการบริหาร จัดการคณะวิทยาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏ พบวา ปจจัยซึ่งเปนตัวแปรสําคัญที่สงผลตอการนํากลยุทธไปสูการปฏิบัติ คือ การมีทีมผูบริหารและบุคลากรที่มีความรูความสามารถและมีประสิทธิภาพในการผลักดันกลยุทธ นอกจากนี้ยัง สอดคล องกั บ ข อเท็ จ จริ ง ในการดํ า เนิ น นโยบายของมหาวิ ท ยาลั ย ฯที่ กํา หนดให มี การประชุ ม ควบคุ ม คุ ณ ภาพการ ดําเนินงานทุกสัปดาห และประจําทุกเดือน เพื่อติดตามการดําเนินงาน และใหมีการรายงานความกาวหนาในการนํา กลยุทธไปปฏิบัติ รวมทั้งการสรางความเขาใจ ชี้แจงในเรื่องตางๆที่มหาวิทยาลัยฯจะตองดําเนินการในที่ประชุมตางๆ 11


7. ดานการสื่อสารภายในองคกร จากการศึกษาพบวา บุคลากรที่เปนกลุมตัวอยางมีค วามคิดเห็นตอการเพิ่มประสิทธิภาพของการนําแผน กลยุทธไปสูการปฏิบัติของมหาวิทยาลัยคริสเตียนดานการสื่อสารภายในองคกรมีคาคะแนนเฉลี่ยอยูในระดับดี ทัง้ ภายใน และภายนอกมหาวิทยาลัยฯ โดยมีการประชุมชี้แจงกลยุทธใหบุคลากรไดเกิดความเขาใจ การประชุมปรึกษาหารือเมื่อ เกิดปญหา การรับสงขอมูลระหวางกันแบบสองทาง รวมทั้งการติดตั้งระบบขอมูลขาวสารสนับสนุนการนํากลยุทธไปสู การปฏิบัติ ผลจากการศึกษาดังกลาวสอดคลองกับขอคนพบในงานศึกษาของนิลุบล แหยมอุบล (2552) ที่ศึกษาปญหา การสื่อสารภายในองคกรของคณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ซึ่งพบวา การสื่อสารโดย ภาพรวมมีปญหาในระดับนอย และงานศึกษาของฐิติพร หลิมไชยกุล (2550) ที่ศึกษาการสื่อสารภายในองคกรกับการ ยอมรับระบบบริหารคุณภาพ ISO9001:2000 ของมหาวิทยาลัยราชภัฏ พบวา บุคลากรมีการสื่อสารแบบสองทางทั้งที่ เปนทางการโดยการใชบันทึกขอความ คําสั่ง ประกาศและการสื่อสารแบบไมเปนทางการโดยใชการพูดคุยแลกเปลี่ยน ความคิดเห็นควบคูกันไป และสอดคลองกับการศึกษาของพรวิน จันทรแชมชอย (2544) ที่ศึกษาการสื่อสารภายใน องคกร กรณีศึกษาสํานักหอสมุดกลาง สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง ซึ่งพบวา พนักงานที่ ปฏิบัติงานมีความพึงพอใจตอการติดตอสื่อสารภายในองคกรระดับมาก และพบวาความพึงพอใจตอการติดตอสื่อสาร ภายในองคกรมีความสัมพันธตอการเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานดวย รวมทั้งยังสอดคลองกับขอเท็จจริงในการ ดําเนินนโยบายของมหาวิทยาลัยฯที่มุงเนนการนําระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการที่ทันสมัยมา สนั บ สนุ น การนํ า กลยุ ท ธ ไ ปสู ก ารปฏิ บั ติ เช น การจั ด ให มี ร ะบบการติ ด ต อ สื่ อ สารภายในมหาวิ ท ยาลั ย ฯผ า นทาง อินเทอรเน็ต (Management Information System : MIS) การนําโปรแกรมสํานักงานประเภทตางๆเชื่อมโยงถึงกัน การเพิ่ ม ระบบความเร็ ว ของอิ น เทอร เ น็ ต การพั ฒ นาระบบการจั ด การความรู ข องมหาวิ ท ยาลั ย ฯ (Knowledge Management) ดวยการสนับสนุนการจัดตั้งชุมชนแหงการปฏิบัติ เปนตน 8. ดานการจัดการความขัดแยง จากการศึกษาพบวา บุคลากรที่เปนกลุมตัวอยางมีค วามคิดเห็นตอการเพิ่มประสิทธิภาพของการนําแผน กลยุทธไปสูการปฏิบัติของมหาวิทยาลัยคริสเตียนดานการจัดการความขัดแยงมีคาคะแนนเฉลี่ยอยูในระดับพอใชทั้งใน เรื่องการจัดการความขัดแยงดวยวิธีประนีประนอม การจัดการความเขาใจระหวางผูกําหนดกลยุทธใหมีความสอดคลอง กับผูปฏิบัติงาน การจัดการความขัดแยงโดยใชวิธีเสียงสวนใหญ ผลจากการศึกษาดังกลาวสอดคลองกับขอคนพบใน งานศึกษาของสุกัญญา สุขวุฒิ (2541) ที่ศึกษาวิธีการจัดการความขัดแยงของบุคลากรมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช พบวา บุคลากรมีวิธีการจัดการความขัดแยงแบบประนีประนอมอยูในระดับปานกลาง ทั้งนี้อาจเปนเพราะมหาวิทยาลัย ฯยังไมไดมีการสรางความรูความเขาใจเกี่ยวกับการจัดการความขัดแยงในการปฏิบัติงานใหแกบุคลากรหรือมีกรณี ตัว อย า งซึ่ ง เป น รูป ธรรมที่ ใ ช กลไกการจัด การความขั ด แยง ในการแก ไ ขปญ หา จึง เป น เหตุ ใ ห บุ คลากรซึ่ งมี ภู มิ หลั ง ประสบการณ มุมมอง ความคิดที่แตกตางกัน เกิดการตีความประเด็นตางๆที่เกิดขึ้นในการปฏิบัติงานตามมุมมองตาม การรับรู ซึ่งอาจสงผลใหเกิดปญหาในการปฏิบัติงานตามมา ซึ่งในเรื่องนี้สามารถดําเนินการแกไขและใชความขัดแยงให เปนประโยชนไดตอองคกรได ดังที่ปราณี รามสูต (2548) ไดกลาววาไว ความขัดแยงสามารถบริหารจัดการใหเกิด ประโยชนแกองคกรไดเพราะความขัดแยงหลายลักษณะชวยใหงานเพิ่มประสิทธิภาพขึ้นได โดยใชวิธีผอนปรนยอมรับ แนวคิดของทุกคนวานั้นคือความคิดของแตละคนที่มีความแตกตางกัน และใชวิธีการสรางความเขาใจรวมกันใหมเพื่อลด การรับรูที่คลาดเคลื่อน

12


9. การทดสอบสมมุติฐาน 9.1 จากการศึกษาพบวา กลุมตัวอยางที่สังกัดคณะวิชาและฝายสนับสนุนวิชาการมีความคิดเห็น เกี่ยวกับปจจัยการเพิ่มประสิทธิภาพในการนําแผนกลยุทธไปสูการปฏิบัติของมหาวิทยาลัยคริสเตียน ไมแตกตางกัน ผลจากการศึกษาดังกลาวแสดงถึงความคิดเห็นเกี่ยวกับปจจัยการเพิ่มประสิทธิภาพของการนําแผนกลยุทธฯไปสูการ ปฏิบัติที่เปนไปในทิศทางเดียวกันของคณะวิชาและฝายสนับสนุนวิชาการ นั่นหมายความวา ปจจัยที่มีสวนสําคัญตอการ นํ า แผนกลยุ ท ธ ฯ ไปสู การปฏิ บั ติ ข องมหาวิ ท ยาลั ย ฯ ได แ ก การจั ด ทํ า แผนปฏิ บั ติ ก าร การมอบหมายกลยุ ท ธ ใ ห ผูรับผิดชอบ การสื่อสารภายในองคกร การกําหนดวัตถุประสงคระยะสั้น/ระยะยาว และวัฒนธรรมองคกรซึ่งมีคา คะแนนเฉลี่ยความคิดเห็นอยูในระดับดี แตปจจัยที่ควรเพิ่มประสิทธิภาพซึ่งจะสงผลใหการนําแผนกลยุทธไปสูก ารปฏิบตั ิ ที่ เ กิ ด ประสิ ท ธิ ผ ลมากขึ้ น จากเดิ ม คื อ ความสามารถขององค ก ร การจั ด การความขั ด แย ง และการบริ ห ารการ เปลี่ยนแปลงซึ่งยังมีคาคะแนนเฉลี่ยความคิดเห็นอยูในระดับพอใช 9.2 กลุมตัวอยางที่สังกัดคณะวิชาตางกันมีความคิดเห็นเกี่ยวกับปจจัยการเพิ่มประสิทธิภาพของการ นําแผนกลยุทธฯไปสูการปฏิบัติของมหาวิทยาลัยคริสเตียนแตกตางกัน โดยภาพรวมบัณฑิตวิทยาลัย คณะพยาบาล ศาสตร และคณะสหเวชศาสตรมีความคิดเห็นตางจากคณะบัญชี ธุรกิจ และมัลติมีเดีย ผลการศึกษาดังกลาวสะทอน ความคิดเห็นตอการดําเนินงานนําแผนกลยุทธฯไปสูการปฏิบัติของคณะวิชาซึ่งมีความแตกตางกันออกไป หากพิจารณา จากคาคะแนนเฉลี่ยความคิดเห็นภาพรวมของ 3 คณะวิชาแรกพบวามีคาคะแนนเฉลี่ยความคิดเห็นอยูในระดับดี ขณะที่ คณะบัญชี ธุรกิจ และมัลติมีเดียมีคาคะแนนเฉลี่ยความคิดเห็นอยูในระดับพอใช จึงอาจอธิบายไดวา การนําแผนกลยุทธ ไปสูการปฏิบัติของคณะบัญชี ธุรกิจ และมัลติมีเดียยังตองมีการเพิ่มประสิทธิภาพในทั้ง 8 ดาน คือความสามารถของ องค กร การกํ า หนดวั ต ถุ ป ระสงค ร ะยะสั้ น และระยะยาว การมอบหมายกลยุ ท ธ ใ หผู รั บ ผิ ด ชอบ การจั ด ทํ า แผน ปฏิบัติการ การบริหารการเปลี่ยนแปลง วัฒนธรรมองคการ การสื่อสารกายในองคกร และการจัดการความขัดแยง มากยิ่งขึ้น 9.3 กลุ ม ตั ว อย า งที่ สั ง กั ด ฝ า ยสนั บ สนุ น วิ ช าการต า งกั น มี ค วามคิ ด เห็ น เกี่ ย วกั บ ป จ จั ย การเพิ่ ม ประสิทธิภาพของการนําแผนกลยุทธไปสูการปฏิบัติของมหาวิทยาลัยคริสเตียนแตกตางกัน โดยภาพรวมฝายบริหาร ฝายวิ ชาการ วิ จัยและประกัน คุณภาพการศึกษามีค วามคิดเห็ นตา งจากฝายพัฒนานักศึ กษาและสื่ อสารการตลาด ผลการศึกษาดังกลาวสะทอนความคิดเห็นตอการดําเนินงานนํากลยุทธไปสูการปฏิบัติของฝายสนับสนุนวิชาการซึ่งมี ความแตกตางกันออกไป หากพิจารณาจากคาคะแนนเฉลี่ยความคิดเห็นภาพรวมของ 2 ฝายสนับสนุนวิชาการ 2 ฝาย แรกพบวามีคาคะแนนเฉลี่ยความคิดเห็นอยูในระดับดี ขณะที่ฝายพัฒนานักศึกษาและสื่อสารการตลาดมีคาคะแนนเฉลีย่ ความคิดเห็นอยูในระดับพอใช จึงอาจอธิบายไดวา การนําแผนกลยุทธไปสูการปฏิบัติของฝายพัฒนานักศึกษาและ สื่อสารการตลาด ยังตองมีการเพิ่มประสิทธิภาพใน 5 ดาน คือความสามารถขององคกร การกําหนดวัตถุประสงคระยะ สั้นและระยะยาว การมอบหมายกลยุทธใหผูรับผิดชอบ การบริหารการเปลี่ยนแปลง และการจัดการความขัดแยงมาก ยิ่งขึ้น 9.4 กลุมตัวอยางที่มีตําแหนงแตกตางกันมีความคิดเห็นเกี่ยวกับปจจัยการเพิ่มประสิทธิภาพในการนํา แผนกลยุทธไปสูการปฏิบัติแตกตางกัน โดยภาพรวมผูบริหารมีความคิดเห็นตางจากคณาจารย ทั้งนี้อาจเปนเพราะการมี ตําแหนงเปนผูบริหารเปนผูที่ไดมีโอกาสเรียนรูงาน ประสบการณที่ไดศึกษา รวมทั้งการติดตอประสานงานกับสวนงาน ตางๆภายในและภายนอกมหาวิทยาลัยฯ จึงทําใหเห็นภาพรวมของการดําเนินงานของสวนงาน และของมหาวิทยาลัยฯ ขณะที่คณาจารยซึ่งมีภารกิจที่มุงเนนในดานการจัดการเรียนการสอนเปนหลักจึงอาจสงผลตอมุมมอง ความคิดทําให 13


เห็นปจจัยในการเพิ่มประสิทธิภาพของการนําแผนกลยุทธไปสูการปฏิบัติตางกัน ผลการศึกษานี้สอดคลองกับงานวิจัย ของมาลัยพร โพธิ์พันธุ (2544) ที่ศึกษาความคิดเห็นของผูบริหาร อาจารย และเจาหนาที่ ของมหาวิทยาลัยรามคําแหงที่ มีตอการบริหารมหาวิทยาลัยในกํากับของรัฐ กลาววา ผูบริหารเปนผูกําหนดนโยบายทางดานวิชาการ ควบคุมดูแล กิจการทางวิชาการ การสอน การวิจัย การบริการวิชาการและกํากับดูแลมาตรฐานและคุณภาพทางวิชาการ อาจารยทํา หนาที่ในการสอนและพัฒนาการเรียนการสอน ผูบริหารและอาจารยจึงมีบทบาทในตําแหนงและภาระหนาที่ในลักษณะ ที่แตกตางกัน ขอเสนอแนะ ขอเสนอแนะสําหรับการศึกษาครั้งตอไป 1. การศึกษาในครั้งนี้ไดทําการศึกษาตัวแปรที่มีผลตอการเพิ่มประสิทธิภาพในการนําแผนกลยุทธไปสูการ ปฏิบัติ จํานวน 8 ตัวแปร ไดแก ความสามารถขององคกร การกําหนดวัตถุประสงคระยะสั้น/ระยะยาว การมอบหมาย กลยุทธใหผูรับผิดชอบ การจัดทําแผนปฏิบัติการ การบริหารการเปลี่ยนแปลง วัฒนธรรมองคการ การสื่อสารกายใน องคกร และการจัดการความขัดแยง ดังนั้นในการศึกษาครั้งตอไปจึงควรมีการศึกษาแนวคิด ทฤษฎีที่เกี่ยวของเพิ่มเติม เพื่อคนหาตัวแปรอื่นๆ เชน นโยบาย ภาวะผูนํา การจูงใจ ทรัพยากร ฯ มาใชประกอบการศึกษาเพื่อสรางคําอธิบาย ของปรากฏการณใหมีความรอบดาน และหลากหลายมากยิ่งขึ้น 2. การศึกษาในครั้งนี้เปนการศึกษาโดยอาศัยระเบียบวิธีวิจัยในเชิงปริมาณ (Quantitative method) เปน หลั ก จึ ง ให คํ า ตอบของปรากฏการณ เพี ย งด า นเดี ย ว ดั ง นั้ น ในการศึ กษาครั้ ง ต อไปควรมี การศึ กษาในเชิ ง คุ ณ ภาพ (Qualitative Research) เพิ่มเติมโดยใชการศึกษาและวิเคราะหขอมูลจากเอกสารสําคัญที่สะทอนถึงประสิทธิภาพและ ประสิทธิผลการดําเนินงาน เชน แผนปฏิบัติการเชิงกลยุทธ รายงานประเมินผลการดําเนินงานตามแผนปฏิบัติการเชิง กลยุทธ รายงานผลการดําเนินงานประจําป รายงานการประเมินคุณภาพการดําเนินงาน (QSAR) รายงานสรุปการใช จายงบประมาณของแตละสวนงาน รวมทั้งจากการสัมภาษณผูบริหาร คณาจารยและบุคลากรที่เกี่ยวของ 3. ควรมีการหยิบยกคณะวิชาและฝายสนับสนุนวิชาการมาเปนกรณีตัวอยางในการศึกษาอยางละเอียดโดยมี การศึกษาทั้งในเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ เพื่อคนหาแนวปฏิบัติที่ดีในการดําเนินงานโดยศึกษาในแงมุมตางๆ ซึ่งขอ คนพบที่ไดสามารถใหแตละสวนงานไดใชเปนเครื่องมือในการเรียนรูและทําความเขาใจและนําไปประยุกตในการปฏิบัติ เพื่อใหเกิดความสําเร็จในการดําเนินงานตอไป ขอเสนอแนะในการใชประโยชนจากงานวิจัย 1. มหาวิทยาลัยฯ ควรกําหนดเปนนโยบายใหแตละคณะวิชา และฝายสนับสนุนวิชาการดําเนินการจัดทํา ฐานขอมูล/แฟมขอมูลมีอยูใหเปนปจจุบัน และใหสามารถเชื่อมโยงฐานขอมูล/แฟมขอมูลของสวนงานตางๆถึงกันเพื่อให ทุกสวนงานไดใชเปนขอมูลสนับสนุนการตัดสินใจเรื่องตางๆไดอยางมีประสิทธิภาพ 2. มหาวิทยาลัยฯควรจัดใหมีการวางแผนพัฒนาบุคลากรในดานตางๆที่สอดคลองกับเปาหมายในแผนกลยุทธ ของมหาวิทยาลัยฯ เชน การสนับสนุนการศึกษาตอ การเพิ่มตําแหนงทางวิชาการ การอบรมพัฒนาเพิ่มพูนความรูและ ทักษะในการปฏิบัติงานดานตางๆใหแกบุคลากรทั้งในคณะวิชาและฝายสนับสนุนวิชาการใหเกิดขึ้นอยางตอเนื่อง 3. มหาวิทยาลัยฯ ควรจัดใหมีการทบทวนระเบียบปฏิบัติ ประกาศตางๆที่เปนอุปสรรคตอการสั่งการและ ดําเนินที่มีขั้นตอนซับซอน ใหมีความกระชับ และการมอบหมายอํานาจในการสั่งการใหกับผูบริหารในระดับปฏิบัติการ เพื่อใหเกิดประสิทธิภาพในการดําเนินงานมีความคลองตัวและรวดเร็วในการนําไปปฏิบัติ 14


4. ผูบริหารคณะวิชาและฝายสนับสนุนวิชาการ ควรเพิ่มบทบาทในการสรางความเชื่อมั่น และสรางความ เข า ใจ การชี้ แ จงประเด็ น ป ญ หา ความสํ า คั ญ ของการเปลี่ ย นแปลงที่ จ ะเป น ประโยชน โ ดยรวมต อมหาวิ ท ยาลั ย ฯ การเปลี่ยนแปลงรูปแบบการบริหารงานใหแกบุคลากรทุกคน รวมทั้งการสรางความรวมแรงรวมใจในการเรียนรูการ ทํางานเปนทีมเพิ่มมากขึ้น 5. มหาวิทยาลัยฯ ควรจัดพื้นที่หรือชองทางในรูปแบบตางๆ เชน เวทีแลกเปลี่ยนความคิดเห็นใหบุคลากรมี สวนรวมในการแสดงความคิดเห็นตอการเปลี่ยนแปลงการดําเนินงานของมหาวิทยาลัยฯเพื่อสรางความรูสึกรวมของการ เปนผูรับผิดชอบตอองคกรรวมกัน 6. มหาวิทยาลัยฯ ควรเพิ่มพูนความรูความเขาใจเกี่ยวกับการจัดการความขัดแยงใหแกบุคลากรเพื่อนํามา ประยุกตในการเผชิญกับปญหาความขัดแยงในการปฏิบัติงาน และเรียนรูแนวทางแกไขการจัดการกับปญหาการจัดการ ความขัดแยงในการทํางานโดยอาจใหความรูในชวงปฐมนิเทศกอนการปฏิบัติงาน บรรณานุกรม กาญจนา บุญยัง. (2549). ประสิทธิผลการบริหารงานขององคกรในมหาวิทยาลัยเชียงใหม กรณีศึกษาคณะพยาบาลศาสตร.วิทยานิพนธหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเชียงใหม. งานแผนและพัฒนา สํานักอธิการบดี.(2553). รายงานวิจัยเรื่อง การมีสวนรวมในการจัดทําแผนปฏิบัติการ เชิงกลยุทธ ประจําปการศึกษาของบุคลากรมหาวิทยาลัยคริสเตียน. นครปฐม: มหาวิทยาลัยคริสเตียน. จันทรจิรา วงษขมทอง และคณะ.(2552). รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษามหาวิทยาลัย คริสเตียน ปการศึกษา 2551. นครปฐม : มหาวิทยาลัยคริสเตียน. -------------. (2553). รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษามหาวิทยาลัยคริสเตียน ปการศึกษา 2552. นครปฐม : มหาวิทยาลัยคริสเตียน. -------------. (2554). รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษามหาวิทยาลัย คริสเตียน ปการศึกษา 2553. นครปฐม : มหาวิทยาลัยคริสเตียน. จินตนา บุญบงการและณัฎพันธ เขจรนันทน (2548) .การจัดการเชิงกลยุทธ. กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่น. ฐิติพร หลิมไชยกุล.(2550).การสื่อสารภายในองคกรกับการยอมรับระบบบริหารคุณภาพ ISO 9001 :2000 : ศึกษา กรณีมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิตและมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา. วิทยานิพนธหลักสูตร วารสารศาสตรมหาบัณฑิต (สื่อสารมวลชน) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร. ทิพยสุดา ศิลปะ.(2550). ประสิทธิภาพและประสิทธิผลการประกันคุณภาพการศึกษามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ ราชวิทยาลัย.วิทยานิพนธหลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (สาขาสารสนเทศศึกษา) มหาวิทยาลัยเชียงใหม. ทศพร ศิริสัมพันธ. (2548). การบริหารราชการแนวใหม บริบทและเทคนิควิธี. กรุงเทพฯ : วิชั่น พริ้นท แอนด มีเดีย ทวีวรรณ อินคา.(2552). การพัฒนารูปแบบที่มีประสิทธิภาพของการนํากลยุทธไปปฏิบัติในสถาบันอุดมศึกษา. วิทยานิพนธปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (การบริหารการศึกษา) มหาวิทยาลัยศิลปากร. นันทิยา นอยจันทร. (2550). วัฒนธรรมองคกรกับประสิทธิภาพการบริหารอุดมศึกษา.วิทยานิพนธปรัชญาดุษฎี บัณฑิต (การบริหารอุดมศึกษา) มหาวิทยาลัยศิลปากร.

15


นิลุบล แหยมอุบล. (2552). การศึกษาพฤติกรรมและปญหาการสื่อสารภายในองคกรของผูบริหาร อาจารย และ เจาหนาที่ในคณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี. วิทยานิพนธครุศาสตร อุตสาหกรรมมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี. บุญเกียรติ ชีวะตรกูลกิจ. (2548). การจัดการเชิงยุทธศาสตรสําหรับ CEO. กรุงเทพฯ: สุขุมและบุตร. ปภาวรินท บุญมาก.(2553). กลยุทธการจัดการตอการเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของบุคลากรมหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลลานนา ลําปาง. วิทยานิพนธหลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. ปราณี รามสูต. (2548). ศาสตรแหงการตัดสินใจและการจัดการความขัดแยงมิตินามองของนักบริหาร. ในวารสารลานปญญา ปที่ 5 ฉบับที่ 2 ธ.ค.47-มิ.ย.48 น.37-45. ปณรส มาลากุล ณ อยุธยา.(2550). การจัดการเชิงกลยุทธ. ในวารสารประกันคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยขอนแกน. ปที่ 8 ฉบับที่ 1 ม.ค.-มิ.ย.50 หนา1-6. ปยะธิดา อินทรโชติ .(2553).บทบาทของกระบวนการทํางานในการบริหารการเปลี่ยนแปลงและวัฒนธรรมองคกรใน การบริหารการเปลี่ยนแปลงของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม.วิทยานิพนธหลักสูตรบริหารธุรกิจ มหาบัณฑิต (สาขาการจัดการสําหรับการเปนผูประกอบการ) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี. พรวริน จันทรแชมชอย. (2544). การสื่อสารภายในองคกร กรณีศึกษาสํานักหอสมุดกลาง สถาบันเทคโนโลยี พระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง.วิทยานิพนธหลักสูตรวารสารศาสตรมหาบัณฑิต (การบริหารสื่อสารมวลชน) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร. พสุ เดชะรินทร. (2545). การจัดการเชิงกลยุทธและนโยบายธุรกิจ. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. มาลัยพร โพธิ์พันธุ. (2544). ความคิดเห็นของผูบริหาร อาจารย และเจาหนาที่ ของมหาวิทยาลัย รามคําแหงที่มีตอการบริหารมหาวิทยาลัยในกํากับของรัฐ.วิทยานิพนธศึกษา ศาสตรมหาบัณฑิต (การอุดมศึกษา) มหาวิทยาลัยรามคําแหง. ลุกซ ริชารด และเดวิด คอลลิส. (2548). กลยุทธ : การสรางและการนําไปปฏิบัต.ิ กรุงเทพ : เอ็กซเปอรเน็ท. สุพานี สฤษฎวานิช. (2544). การบริหารเชิงกลยุทธ. กรุงเทพฯ:มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร. สุกัญญา สุขวุฒิ.(2541). วิธีการจัดการความขัดแยงของบุคลากรมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิทยานิพนธบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย. David, Fred R. (1997). Strategic management. 6th ed. New Jersey : Prentice-Hall,inc. Pearce, John A. and Richard Robinson.(2005). Strategic Management. 10th ed. New York: McGraw-Hill.

16


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.