/Anan

Page 1

ประวัติและผลงานของนายกรัฐมนตรีคนที่ 18 นายอานันท ปนยารชุน ภูมิหลัง วัยเยาว นายอานันท ปนยารชุนกําเนิด วันที่ 9 สิงหาคม พ.ศ. 2475 ในตระกูลขุนนาง เปนบุต รคนที่ 12 ของมหาอํามาตยต รีพ ระยา ปรีชานุสาสน (เสริญ ปนยารชุน) และคุณหญิงปรีชานุสาสน (ปฤกษ โชติกเสถียร) การทํางานและการอบรมบุตรธิดาของมหาอํามาตยต รี พระยาปรีชานุสาสน มีอิทธิพลอยางยิ่งตอความเปนนายอานันท1 ในปที่นายอานันทถือกําเนิดนั้นไดเกิดการเปลี่ยนแปลงทางการเมืองครั้งสําคัญยิ่งในประวัติศาสตรการเมืองไทย ซึ่งนับไดวาเปน ปฐมบทแหงประชาธิปไตยของสยาม นั่นคือการเปลี่ยนแปลงจากระบอบสบูรณาญาสิทธิราชยมาเปนประชาธิปไตย โดยคณะราษฎร การ เปลี่ยนแปลงการปกครองดังกลา วไดสงผลกระทบตอครอบครัวปนยารชุนไมนอย เนื่องดว ยการเปลี่ยนแปลงการปกครองทํ าใหเ กิ ด ชองวางระหวางคณะผูเปลี่ยนแปลงการปกครองกับ ขาราชการประจํา จึงทําใหเจาคุณปรีชานุสารผูเปนบิดาไดลาออกจากตําแหนงปลัด ทูลฉลอง กระทรวงธรรมการ อันเปนตําแหนงสูงสุดของขาราชการประจําในขณะนั้น ทั้งนี้ทานไดผันตัวเองออกมาทํากิจการหนังสือพิมพ รายวัน การทําหนังสือพิมพรายวันของบิดานี้ ไดกอและบมเพาะอุป นิสัยรักการอานใหกับ ตัวของนายอานันท ดังจะเห็นไดจากคํากลาว ของนายอานันทวา “ผมเรียนรูจากโรงพิมพ ทั้งการฝกฝนภาษาอังกฤษและเรียนความรูรอบตัวไดกวางขวางกวาที่โรงเรียนเสียอีก”2 โรงพิมพจึงเปนเสมือนโรงเรียนหลังสําคัญที่ทําใหนายอานันทเปนผูที่รูรอบ และรูกวางในเวลาตอมา ประวัติการศึกษา ชีวิตนักเรียนอังกฤษ ชีวิตการเปนนักเรียนของนายอานันทเริ่มตนที่โรงเรียนอํานวยศิลป ตอดวยกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัย โดยธรรมดาการเรียนตอ มัธยมศึกษาปที่ 7 มักถือหลักวาใครไดคะแนนดีเกิน 70% จะเลือกเรียนแผนกสายวิทยาศาสตร แตสําหรับ นายอานันทซึ่ง ไดคะแนนกวา 80% ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 กลับ เลือกเรียนแผนกอักษรศาสตร แตก็ตองยายแผนกเปนสายวิทยาศาสตรแทน หลังจากที่สอบมัธยมศึกษา ปที่ 7 ได ชวงเวลาดังกลาวนี้ถือวาเปนชวงรอยตอชีวิตนักเรียนของนายอานันทก็วาได เนื่องจากผูเปนบิด าไดสงนายอานันท ไปเรียนที่ โรงเรียนดัลวิช (Dulwich College)3 ประเทศอังกฤษ ตั้งแตป พ.ศ. 2491 เปนตนมาชีวิตนักเรียนอังกฤษก็เริ่มตนขึ้น การเรียนที่อังกฤษนั้นกลาวไดวานายอานันทเรียนไดดี และมีความเชื่อมั่นในตัวเองทําใหนายอานันทไ ดรับ แตงตั้งใหเ ปนหัวหนา นักเรี ยนในบาน (House Prefect) ในขณะเดี ยวกั นที่โ รงเรีย น นายอานั นทยั งไดรั บ แตงตั้งใหเ ปนหั วหน านักเรียนของโรงเรียนดว ย เช น กั น 4 นายอานัน ท ไ ด ใ ช ชี วิ ต ในโรงเรี ย นดั ล ลิ ช เปน เวลาสี่ ป หลั ง จากที่ สํ า เร็ จ การศึก ษาจากโรงเรีย นดั ง กล า วนายอานั นท ก็ไ ด เตรียมพรอมในการที่จะใชชีวิตของการเปนนักศึกษาแหงมหาวิทยาลัยเคมบริดจ (Cambridge University) นายอานันทเริ่มใชชีวิตนักศึกษาที่ตรินิตี้คอลเลจ (Trinity College) ตั้งแตป พ.ศ. 2495-24985 เปนเวลาสี่ป สถาบันแหงนี้เปน สถาบันใหญที่สุดของมหาวิทยาลัยเคมบริดจ กลาวไดวาการเรียนการสอนที่อังกฤษไดสงเสริมใหตัวของนักศึกษาสนใจความรูรอบดาน พรอมทั้งสงเสริมใหเกิดการแลกเปลี่ยนทางความคิดตางวิชา ตางสาขา ซึ่งเสมือนเปนเวทีฝกหัดพูดและอภิปรายของนักศึกษา

1

ประสาร มฤคพิท ักษ์ และคณะ, อานั น ท์ ปั น ยารชุน : ชี วิต ความคิ ดและการงานของอดีตนายกรั ฐมนตรี สองสมั ย (กรุ งเทพฯ: สํานักพิมพ์อมริ นทร์ , 2541), หน้ า 11-12. 2 เรื องเดียวกัน, หน้ า 17. 3 เรื องเดียวกัน, หน้ า 19. 4 เรื องเดียวกัน, หน้ า 21. 5 เรื องเดียวกัน, หน้ า 23.


อาจจะกลาวไดวา ชีวิตการเรียนและการใชชีวิต ณ ประเทศอังกฤษ ไดหลอหลอมบุคลิ กภาพ ทัศนคติ ความเชื่อมั่น ความ รับ ผิดชอบ ความเปนตัวของตัวเอง ความคิดในเชิงวิเคราะหแยกแยะเชิงเหตุผลอยางเปนระบบใหนายอานันท ในเวลาตอมานายอานันท จบการศึกษาปริญญาตรีทางกฎหมาย (เกียรตินิยม) หนึ่งปหลังจากจบการศึกษาอานันท ก็สมรสกับ ม.ร.ว. สดศรี สุ ริยา จักรพันธุ ในวันที่ 4 พฤษภาคม 2499 และใหกําเนิดบุตรสาวสองคนในเวลาตอมา6 ประวติการทํางานในราชการ นายอานันทเริ่มตนชีวิตในเมืองไทยหลังจากจบศึกษาจากอังกฤษ โดยการเปนขาราชการกระทรวงบัวแกว เริ่มแรกไดบ รรจุเขา เปนขาราชการชั้นโทในป พ.ศ. 2498 หลังจากทํางานที่กองกลางไดระยะหนึง่ แลว นายอานันทก็ถูกโอนยายมาอยูที่หนวยพิเศษซึ่งหนวย นี้ตั้งขึ้นโดยกรมหมื่นนราธิปพงศประพันธ7 รัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศเปนผูตั้งหนวยงานดังกลาวนี้ขึ้น การที่นายอานันท ไดโอนยายมาทําหนาที่ในหนวยงานพิเศษ ทําใหนายอานันทไดฝกการใชภาษาในทางการทูตที่แปลกไปจากภาษาอังกฤษในชีวิต ประจําวัน เนื่องจากภาษาทางการทูตเปนภาษาทางเทคนิคที่ตองเรียนรูใหมเกือบหมด รวมถึงตองนําความรูดานกฏหมายมาประยุกตใ ชในการแปล คดีความที่เกิดขึ้นกับชาวตางประเทศ โดยหนาที่ของกระทรวงแลว นายอานันทตองแปลเอกสารสํานวนการดําเนินคดีสงไปยังสถานทูต ตางๆ รวมถึงการรางสุนทรพจนและการพูดสุนทรพจนทั้งของรัฐมนตรีและของตนเอง หนาที่หลักของนายอานันทในฐานะที่ทํางานในกระทรวงการตางประเทศนั้นสวนใหญแลวลวนเกี่ยวของกับ ตางประเทศเปน หลัก ผลงานที่สําคัญคือ การประชุมซีโต (องคการสนธิสัญญาปองกันประเทศเอเชียตะวันออกเฉียงใต (ส.ป.อ.) Southeast Asia Treaty Organization / SEATO)8 การประชุมดังกลาวเกิดขึ้นทามกลางภาวะการณหลังสงครามโลกครั้งที่สองไดยุติลง 9 การเมืองของโลกถูก แบงออกเปนสองขั้วอํานาจอยางชัดเจน เขาสูยุคที่เรียกวาสงครามเย็นโดยมีสหรัฐอเมริกาเปนผูนําในโลกเสรี และมีสหภาพโซเวียตและ สาธารณรัฐประชาชนจีนเปนผูนําโลกฝายสังคมนิยม ในป พ.ศ. 2496 เปนปที่ทําใหโลกเสรีสั่นคลอนเนื่องจากพรรคชาตินิยมเวียดนาม ของโฮจิมินหมีชัยชนะเหนือกองทัพฝรั่งเศสที่เดียนเบียนฟู ปรากฏการณดังกลาวยิ่งสงผลทําใหไทยเองตองตระหนักเรื่องภัยคอมมิวนิสต มากยิ่งขึ้น ดวยเหตุ นี้ รัฐบาลไทยจึงลงมติใหไ ทยเขารว มเปนสมาชิกของซีโ ต โดยลงนามกันที่ กรุงมะนิล า ประเทศฟลิป ปนส ซึ่งมี 8 ประเทศที่เปนสมาชิกคือ ออสเตรเลีย ฝรั่งเศส นิวซีแลนด ปากีสถาน ฟลิปปนส ไทย สหราชอาณาจักร และสหรัฐอเมริกา อยางไรก็ตาม กระทรวงการตางประเทศของไทยเองไดตั้งกองซีโตขึ้นในป พ.ศ. 249910 ซึ่งนายอานันทไดรับ มอบหมายงานเปนผูเตรียมการจัดการ ประชุมคณะมนตรีขององคกรซีโต ซึ่งประเทศไทยเปนเจาภาพ ในเวลาตอมา ประเทศไทยมีการเปลี่ยนแปลงทางการเมืองขึ้นคือ ในวันที่ 20 ตุลาคม พ.ศ. 2501 พลเอกถนอม กิตติขจร ได ลาออกจากตําแหนงนายกรัฐมนตรี ภาวการณดังกลาวถือวาเปนการเปด ทางใหค ณะปฏิวัติเ ขา ยึด อํานาจ คณะปฏิวัติอา งถึง เหตุผ ลใน การเขา ยึด อํ า นาจในครั ้ง นี ้ว า “คณะปฏิว ัติ ซึ ่ง ประกอบดว ยทหารบก ทหารเรือ ทหารอากาศ ตํ า รวจ และพลเรื อ น มีจ อม พลสฤษดิ์ ธนะรัชต เปนหัวหนาไดทําการยึด อํา นาจปกครองประเทศในนามของประชาชน โดยไดรับ ความยินยอมสนับ สนุน จาก รัฐบาลชุดที่ลาออก การยึดอํานาจครั้งนี้ เนื่องจากภัยคอมมิวนิสต ไดคุกคามประเทศไทยอยา งรุนแรงมาก ไมสามารถหลีกเลี่ย งไป ใชวิธีใดได”11

6

เรื องเดียวกัน, หน้ า 28. เรื องเดียวกัน, หน้ า 33. 8 เรื องเดียวกัน, หน้ า 42. 9 เรื องเดียวกัน, หน้ า 35-36. 10 เรื องเดียวกัน, หน้ า 43-44. 11 เรืองเดียวกัน, หน้ า 38. 7


ดวยนโยบายเบื้องตนนี้ เห็นไดวารัฐบาลชุด ใหมนี้มีสายสัมพันธที่แนบแนนกับ สหรัฐ อเมริกา ทํา ใหไ ทยในยุคนั้นมุง เนนไป ที่ความมั่นคง สหรัฐอเมริกาไดสนับ สนุนทั้งแบบเปดเผยและลับ หลายครั้ง ที่ห นา ฉากได แสดงใหเ ห็น ถึง ความสัม พันธอันแนนแฟน กับ สหรัฐอเมริกา แตหลังฉากคือการถ ว งดุ ลและต อรอง ในช วงของจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัช ต เป นนายกรัฐมนตรี ได มีการชักชวนใหนายอานั นท ให มาดํารงตําแหนง เป นเลขานุการ รัฐมนตรี ซึ่งนับ เปนการเปลี่ยนแปลงในชีวิตครั้งสําคัญ อีกครั้ง กลาวกันวาการที่นายอานันทถูกเลือกใหเปนเลขานุการรัฐมนตรีนั้นสืบ เนื่องมาจากคุณสมบัติที่นายอานันทมีอันเปนความคิดเห็นจาก พ.อ. ถนัด คอมันตร รัฐมนตรีวาการกระทรวงตางประเทศวา “นายอานันทจบการศึกษาจากมหาวิทยาลัยที่ดีและมีชอื่ เสียงทั่วโลกสามารถสรางการยอมรับ ไดงายในเวทีระหวาง ประเทศ นอกจากนี้แลวความคลองตัวรวมถึงการเปนผูที่จบการศึกษาจากตางประเทศซึ่งนาจะมีมุมมองและวิธีการ ที่เปนสากลเพราะกระทรวงการตางประเทศตองทํางานที่สัมพันธกับนานาประเทศ จึงจําเปนตองใชคนที่คุนเคยกับ ระบบและวัฒนธรรมระดับโลก”12 เพราะฉะนั้นจึงไมแปลกที่นายอานันทจะไดรับ การคัดเลือกใหมาดํารงตําแหนงดังกลาว นอกจากการดํารงตําแหนงเลขานุการรัฐมนตรีแลวนั้น หนาที่หลักอีกประการของนายอานันทคือ การตางประเทศ ดังเชนกรณี ปญหาระหวางประเทศ คือ กรณีลาว-ไทย-สหรัฐอเมริกา ซึ่งนายอานันทไดเขาไปมีสวนในการสรางความรวมมือ ขอตกลง และไกลเกลี่ย ในกรณีของประเทศลาว ปญหาที่เกิดขึ้นไดสืบเนื่องจากสงครามกลางเมืองในประเทศลาวเอง โดยเกิดขึ้นในป พ.ศ. 2502 เกิด การแยงชิงอํานาจในลาว ซึ่งแบงเปน 3 ฝาย คือ ลาวฝายซายโดยมีจีน โซเวียต และเวียดนามเปนผูสนับ สนุน ฝายที่สองคือลาวฝายกลาง และสุด ท ายคื อลาวฝา ยขวา ฝายนี้มีส หรัฐ อเมริกาและประเทศไทยเปนผู สนับ สนุน 13 การสู รบดั งกล าวไดสงผลใหเ กิด การรุ กล้ํา ของ ประชาชนลาวเขามายังฝงไทย นับวาเหตุการณครั้งนี้ไดสงผลใหนายอานันทไดเรียนรูและสังเกตุการณในการแกไขปญ หาระหวางประเทศ อันเปนประโยชนในการทํางานทางการเมืองในเวลาตอมา อาจจะกลาวไดวา เมื่อเกิดการเปลี่ยนแปลงการปกครองครั้งใด ชีวิตของนายอานันท จําตองเกิด การเปลี่ยนแปลงแทบทุกครั้ง ไป และในครั้งนี้ก็เชนเดียวกัน ภายหลังจากการอสัญกรรมกระทันหันของจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชตในเดือนธันวาคม พ.ศ. 2506 จอมพล ถนอม กิตติขจรกาวมาดํารงตําแหนงนายกรัฐมนตรี ในขณะนั้นนายอานันทไดรับ คําสั่งใหพนจากการเปนเลขานุการรัฐมนตรี ในเวลา ตอมาไดรับตําแหนงผูแทนถาวรไทยประจําสหประชาชาติเมื่อป พ.ศ. 2507 ซึ่งตองปฏิบัติหนาที่ในฐานะเอกอัครราชทูตผูแทนถาวรของ ไทยประจําสหประชาชาติ ณ กรุงนิวยอรกเปนเวลา 10 ป ดวยกัน ตอมาในป พ.ศ. 2510 นายอานันท ไดดํารงตําแหนงเอกอัครราชทูต รักษาการผูแทนถาวรประจําสหประชาชาติ ในขณะเดียวกันก็ดํารงตําแหนงเปนเอกอัครราชทูตไทยประจําแคนาดาไป ในสี่ปถัด มาคือ ป พ.ศ. 2515 ไดรับ การแตงตั้งเปนเอกอัครราชทูตไทยประจําสหรัฐอเมริกาและผูแทนถาวรไทยประจําสหประชาชาติ14 ในชวงเวลาดังกลาวประธานธิดีริชารด นิกสัน ประธานาธิบ ดีสหรัฐอเมริกาไดป ระกาศลดบทบาทของสหรัฐอเมริกาในภูมิภาค ตางๆ ของตัวเองลง การประกาศดังกลาวไดนําไปสูการถอนทหารสหรัฐอเมริกาในภูมิภาคตางๆ ซึ่งรวมถึงเวียดนามใต ในชวงปเดียวกันนี้ เอง ประธานาธิบ ดีสหรัฐอเมริ กาไดเดิน ทางไปเยื อนสาธารณรัฐ ประชาชนจี นอันถือเป นการเปด ฉากความสัมพั นธอย างเปนทางการ นอกจากนี้ยังมีการเชื่อมความสัมพันธใ หกระชับ มากขึ้นโดยการสงนักปงปองเพื่อเขารวมแขงขันเชื่อมสัมพั นธระหวางสหรัฐอเมริกากับ สาธารณรัฐ ประชาชนจี น15 ปรากฏการณดั งกลา วส งผลใหเ กิด ความผอนคลายความตึ งเครี ยดระหว างสหรัฐ อเมริ กากับ สาธารณรั ฐ ประชาชนจีนลง 12

เรืองเดียวกัน, หน้ า 32. เรืองเดียวกัน, หน้ า 42. 14 เรืองเดียวกัน, หน้ า 47-48. 15 เรืองเดียวกัน, หน้ า 48. 13


นโยบายใหมดังกลาวนี้ ไดสงผลมายังประเทศไทยในการกําหนดและทบทวนทาทีตอสาธารณรัฐประชาชนจีน ซึ่งเดิมนั้นในชวง สมัยจอมพล ป. พิบ ูลยสงครามไดประกาศไมยอมรับ การมีชัยชนะของพรรคคอมมิวนิสตจีนเหนือพรรค กก มิน ตั๋ง และทางไทยเองยัง ดําเนินนโยบายเปนปฏิป กษตอชาวจีนโดยการเอาพระราชบัญ ญัติป องกันการกระทําอันเปนคอมมิวนิสต พ.ศ. 2495 มาบังคับใช16 พรอม กันนั้นทางรัฐบาลไทยเองยังมีการควบคุมชาวจีนที่อยูในประเทศไทยอยางเขมงวด โดยการปดหนังสือพิมพจีน ตรวจคนโรงเรียนจีน หาม สอนภาษาจี น เป นต น ตอ มาในสมั ยรั ฐ บาลของจอมพลสฤษดิ์ ยั ง ได ออกประกาศคณะปฏิวั ติ ฉบั บ ที่ 5317 หา มมีก ารค า ขายกับ จี น นอกจากนี้ ยังมีการห ามจั ดตั้งสหภาพกรรมกร รวมถึงการเกิด กองอํา นวยการกลางรักษาความปลอดภั ยแหง ชาติ โดยมีห น าที่ใ นการ ปองกันและปราบปรามคอมมิวนิสต ทั้งนี้กิจกรรมดังกลาวไดรับการสนับสนุนจากสหรัฐอเมริกาโดยตรง ซึ่งรวมไปถึงการหามเดินทางไป สหภาพโซเวี ยตและสาธารณรัฐประชาชนจีน สภาพการณดัง กลาวจึงมีผ ลกระทบโดยตรงตอประเทศไทยในการดําเนินนโยบายทาง การเมืองใหสอดคลองกับการเมืองโลก การเปดความสัมพันธกับสาธารณรัฐประชาชนจีน และเชนเดียวกันที่เมื่อโลกเกิดการเปลี่ยนแปลงโดยการเปดการเจรจากับสาธารณรัฐประชาชนจีน อันเปนการทําลายนโยบายที่ แข็งกราวของสหรัฐอเมริกาที่มีตอกลุมประเทศคอมมิวนิสตลง ประเทศไทยก็ตองกําหนดทาทีตอสถานการณดังกลาว โดยการโอนออน ผอนตาม แตหารูไมวากอนหนาที่สหรัฐอเมริกาจะมีการประกาศนโยบายการสรางสัมพันธกับ สาธารณรัฐประชาชนจีนนั้น ทางนักการทูต ไทยคนสํ าคัญ ที่นายอานันทใ ห การยกย อ งว าท านเป น เสมือ นครูส อนวิ ชาการทู ต ให ท านผูนั้ นคือ พ.อ. ถนัด คอมั นตร 18 ท านผูนี้ไ ด ตระหนักมากอนหนาที่สหรัฐอเมริกาประกาศนโยบายดังกลาว ทานมองวาการที่จะสกัดกั้นบทบาทของพรรคอมมิวนิสตได ประเทศไทย จําเปนที่จะตองดําเนินนโยบายสรางสัมพันธที่ดีและเปดสัมพันธกับรัฐบาลจีน ผลงานทางการทูตที่สําคัญคือการเปดการพูดคุยกับผูแทนถาวรของจีนประจําสหประชาชาติ ในวันที่ 5 ตุลาคม 2515 จอมพล ถนอม กิตติขจร หัวหนาการปฏิวัตอิ ยูในขณะนั้น ชวงเวลาดังกลาวไดมีการประชุมสมัชชาสหประชาชาติสมัยที่ 27 นายอานันทไ ดเ ขา พบกับ นายเฉากวงหัว รัฐมนตรีวาการกระทรวงการตา งประเทศของสาธารณรัฐ ประชาชนจีน และไดสนทนากันในปญ หาที่ทั้งสอง ฝายมีความสนใจเชน ปญ หาเรื่องของเวียดนาม ปญ หาทหาร กก มิน ตั๋งในไทย ปญ หาผูกอการรายคอมมิวนิสต และตกลงจะยุติการ โจมตีทางวาจาตอกัน19 นับ แตป พ.ศ. 2515 เปนตนมา ทางรัฐบาลไทยไดมีการพยายามเปดความสัมพันธและกําหนดความสัมพันธกับ จีนเสียใหม ดัง จะเห็นไดจากการที่นายอานันทใ นฐานะที่เปนเอกอัครราชทูต ประจําสหประชาชาติไดเปด การสนทนากับ ผูแทนถาวรของสาธารณรัฐ ประชาชนจีนประจําสหประชาชาติ ในเรื่องของความพยายามคลี่คลายปญ หาการสนับ สนุนผูกอการรายของจีนในประเทศไทย ในเวลา ตอมาการเจรจาปรากฏผลใหเห็นในทางที่ดีคือ จีนเพิ่มจุดติดตอกับ ไทยโดยผานเอกอัครราชทูตไทยประจํากรุงเฮก ซึ่งทางจีนเองไดยืนยัน วาตองการติดตอกับ ไทยใหมากขึ้น นอกจากนี้แลวการเชื่อมความสัมพันธระหวางประเทศไทยกับ สาธารณรัฐประชาชนจีนไดป รากฏในทางรูป ธรรมระหวางสอง ประเทศอยางชัดเจนนั่นคือ รัฐมนตรีวาการกระทรวงพาณิชยไดนําคณะปงปองไทยไปเยือนสาธารณรัฐประชาชนจีนและไดมีการเจรจา ตกลงกับ ทางการจีนสามขอดวยกันคือ ออกพระราชกําหนดจัดตั้งองคกรการคาแหงรัฐ ประการที่สองคือ ออกพระราชบัญ ญัติดําเนินการ คาโดยรัฐ ประการสุดทายคือ การออกพระราชบัญญัติแกไขประกาศคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 5320 การทําหนาที่เปนขาราชการและเปน “คนของรัฐบาล” ในสมั ยของจอมพลถนอม กิต ติขจรเปนนายกรัฐมนตรี ในชวงเวลา ดังกลาวนี้ ไดรับฉายาวาเปน “ผูนํารัฐบาลเผด็จการทหาร” ขบวนการนักศึกษาไดลุกขึ้นตอตานรัฐบาลเผด็จการทหาร ดวยการตอตาน 16

เรืองเดียวกัน, หน้ า 49. เรืองเดียวกัน 18 เรืองเดียวกัน, หน้ า 50. 19 เรืองเดียวกัน, หน้ า 51. 20 เรืองเดียวกัน 17


ครั้งนี้สงผลใหจอมพลถนอม กิตติขจร ตองเดินทางออกนอกประเทศไปยังสหรัฐอเมริกา โดยมีคําสั่งใหเอกอัครราชทูต ไทยประจํา กรุ ง วอชิง ตั น ดี . ซี ในขณะนั้ นคื อ นายอานั นท ไ ปต อนรั บ การมาของจอมพลถนอมดังกลาว ทํา ให นัก เรี ย นไทยจํา นวนหนึ่ ง ไม พ อใจที่ นายอานันทตอนรับจอมพลถนอม จึงนําไปสูการตั้งฉายาใหกับ นายอานันทวาเปน “สมุทรราช” รับ ใชผูนําเผด็จการทหาร รวมถึง “ทูต อานันทรับใชทรราช”21 ความสัมพันธไทย-สหรัฐอเมริกาในกรณีเรือมายาเกซ อยางไรก็ต าม บทบาททางการเมืองระหวางประเทศของนายอานันทยังไมจ บสิ้นลง ภาระกิ จยังคงดําเนินต อไป ภาระกิจที่ สําคัญอันหนึ่งคือ ในชวงเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2518 เรือมายาเกซ (Mayaquez) ของสหรัฐอเมริกาไดแลนผานนานน้ําประเทศกัมพูชา เพื่อนํายุทธปจจัยสงครามเขาไปยังสมรภูมิสงครามอินโดจีน22 ในเวลาตอมาเรือปนของกัมพูชาไดยิงเรือมายาเกซ และยึด เรือดังกลาวไว ได การยึดเรือมายาเกซทําใหกองเรือของสหรัฐอเมริกาสงเรือรบเดินทางผานนานน้ําสากลเขามายังอาวไทย ทั้งนี้สหรัฐอเมริกาตองการ กดดันใหกัมพูชาคืนเรือมายาเกซ นอกจากนี้แลวตอสหรัฐอเมริกาไดสงทหารจากฐานทัพโอกินาวาในญี่ป ุนเคลื่อนพลเขามายังฐานทัพเรือ อูตะเภาอยางลับ ๆ เหตุการณดังกลาวนี้ บรรดานักศึกษาตางออกมาประทวง และรวมตัวเพื่อแสดงทาทีตอตานสหรัฐอเมริกา รวมถึง เรียกรองใหสหรัฐอเมริกาขอขมาตอคนไทยเนื่องจากมาลุกล้ําอธิป ไตยของประเทศไทย นอกจากนี้ยังทําลายธงชาติของสหรัฐอเมริกาทํา ใหรัฐบาลและประชาชนอเมริกันไมพอใจ ดวยภาวะการณดังกลาว นายอานันทในฐานะที่เปนเอกอัครราชทูตไทยประจําสหรัฐอเมริกาจึงตองทําหนาที่ในการสรางความ เขาใจตอสหรัฐอเมริกาถึงสาเหตุที่เกิดการตอตานของนักศึกษา และประชาชนชาวไทยตอกรณีดังกลาว รวมถึงวิพ ากษถึงการเขามาของ เรือมายาเกซในเขตแดนไทยอยางไมถูกตอง อันถือไดวาเปนการลุกล้ําอธิป ไตยของประเทศไทย ดังคํากลาวชี้แจงของนายอานันทตอ รัฐบาลและประชาชนสหรัฐอเมริกา ณ สถานีโทรทัศนที่กรุงวอชิงตัน ดี.ซี. วา “ไทยเราเปนประเทศเอกราชเชนเดียวกันสหรัฐอเมริกา และเราเปนมิตร ตางฝายตางชวยเหลือกันและกัน เราไม อยากจะมีเรื่องที่กระทบกระเทือนใจกัน ถามีใครมาลุกล้ําอธิปไตยของสหรัฐอเมริกา ชาวอเมริกันคงไมพ อใจ กรณี มายาเกซที่มีการยกทหารเขามาในประเทศไทย ถาเราเคารพบูรณภาพเหนือดินแดนกัน จริง เราจะตองบอกกลาวกัน กอน บานของใครใครก็รัก และไมอยากใหเกิดเหตุการณแบบนี้ ผมหวังวาชาวอเมริกัน คงจะเขาใจในความรูสึกของ ประชาชนไทย”23 ในวันที่ 19 พฤษภาคม 2518 อุป ทูตสหรัฐอเมริกาประจําประเทศไทย ไดเขาพบรัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศของ ไทย พรอมยื่นสารแสดงความเสียใจจากรัฐบาลสหรัฐอเมริกาตอรัฐบาลและประชาชนชาวไทย24 กลาวไดวาประเทศไทยมีความตองการที่จะเปด ความสัมพันธกับ สาธารณรัฐประชาชนจีน ซึ่งในชวงเวลาดังกลาว พลตรีชาติ ชาย ชุณหะวัณ ดํารงตําแหนงรัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศ ทานไดมอบหมายภารกิจอันสําคัญ ยิ่งใหกับ นายอานันท นั่นคือ การหาทางการเปด ความสั มพั นธท างการทูต กับ สาธารณรัฐประชาชนจี น ซึ่ งในเวลาไม นานนายอานั นทไ ดเ ขามาดํ ารงตํ า แหนง เป น ปลัดกระทรวงการตางประเทศในป พ.ศ. 251925 ซึ่งหนาที่หลักคือ การสรางความสัมพันธกับ จีนเปนอันดับ แรกแตก็ยังไมไดคืบ หนาไป มากนักก็ตองสะดุดลงเนื่องจากเกิดเหตุการณไมสงบในไทย ดวยภาระหนาที่ของนายอานันทในการเปด ความสัมพันธกับ จีนนี้เอง ทําให นายอานันทถูกกลาวหาวาเปนสนับ สนุนคอมมิวนิสตในเวลาตอมา 21

เรืองเดียวกัน, หน้ า 52-53. เรืองเดียวกัน, หน้ า 54. 23 เรืองเดียวกัน, หน้ า 55. 24 เรืองเดียวกัน 25 เรืองเดียวกัน, หน้ า 56. 22


สงครามกลางเมือง ขอกลาวหาวาสนับสนุนคอมมิวนิสต และการสิ้นสุดชีวิตขาราชการ เหตุการณในวันที่ 6 ตุลาคม พ.ศ. 2519 เปนประวัติศาสตรที่เจ็บ ปวดของไทยนั่นคือ “ไทยฆ าไทย” ดวยขอกลาววา “ฆ า คอมมิวนิสตไมผิด” ซึ่งการตายของนักศึกษาและประชาชนจํานวนหนึ่งเกิดมาจากขอกลาวหาดังกลาว อันเนื่องมาจากการเอาเรื่องของ ภัยคอมมิวนิสตมาเปนประเด็นทางการเมือง ภาวะการณดังกลาวไดสงผลกระทบตอชีวิตของนายอานันทเนื่องมาจากนายอานันทมีหนาที่ รับ ผิดชอบโดยตรงในการเปดสัมพันธท างการทูต กับ สาธารณรัฐประชาชนจีนตามนโยบายของรัฐบาล และยังเปดสัมพันธภาพกับ กลุม ประเทศอินโดจีนตั้งแตครั้งยังดํารงตําแหนงทูตที่สหรัฐอเมริกา และตอเนื่องมาจนถึงดํารงตําแหนงเปนปลัดกระทรวงการตางประเทศ จึง ทําใหขบวนการฝายอนุรักษเพงเล็งไปในทางทีเ่ ห็นวานายอานันทและภาระกิจดังกลาวเกื้อหนุนตอการขยายตัวของฝายคอมมิวนิสต ดวย เหตุนคี้ ณะปฏิรูปการปกครองมีคําสั่งใหนายอานันทพักราชการในเวลาตอมาดวยขอกลาววาเปด เผยความลับ ทางราชการใหกับ ศูนยนิสิต นักศึกษา และมีการกระทําอันเปนคอมมิวนิสตโดยฝกใฝและสงเสริมการเปดสัมพันธไมตรีกับประเทศคอมมิวนิสต26 ในเวลาครึ่ ง ปเ ศษ คณะกรรมการสอบสวนกรณี ขอ กลา วหาฯ ได ป ระกาศผลว านายอานัน ท เอกอัครราชทูต พิเ ศษประจํ า กระทรวงเป นผู บ ริ สุท ธิ์ จ ากข อกลา วหาว า เป น ผู ส นั บ สนุ น คอมมิ ว นิ ส ต และในเวลาต อ มา นายอานั นทไ ด รั บ โปรดเกล า ฯ ให เ ป น เอกอัครราชทูตไทยประจํากรุงบอนน สหพันธสาธารณรัฐเยอรมันเปนเวลาหนึ่งป หลังจากสิ้นสุด ภาระกิจในการเปนเอกอัครราชทูต ไทย ณ กรุงบอนน นายอานันทไดลาออกจากราชการหลังจากที่รับ ราชการเปนเวลา 23 ป ประวัติการทํางานทางธุรกิจ การกาวสูวงการธุรกิจ หลัง จากสิ้ นสุ ด การเปนข าราชการนายอานันทไ ดก าวเข าสู วงการธุร กิจ โดยทํา งานกั บ กลุมสหยูเ นี่ยน นายอานั นทมีค วาม ความเห็นวาระบบการคาเสรีเปนสิ่งที่เอื้อปรโยชนตอระบบเศรษฐกิจและสามารถเอื้อตอการออกไปสูสากล ทั้งนี้เนื่องจากมองวาโลกใน อนาคตจะตองติดตอกันอยางไรพรมแดน สําหรับประเทศไทยแมวาจะอยูในสภาพขาดดุลอยางหนักและมีหนี้สินตางประเทศจํานวนมาก แตก็มีพื้นฐานทางเศรษฐกิจที่มั่นคงพอที่จะมุงไปสูการผลิตเพื่อการสงออกไดอยางมีอนาคตซึ่งเปนทัศนะของนายอานันทที่มองในระบบ ภาคธุรกิจของไทย บทบาทที่สําคัญคือ การรวมกลุมภายในอาเซียนดวยกันควรจะผลักดันใหเ กิด ขึ้น โดยในการประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่สามที่ป ระเทศฟลิปปนสกอนที่นายอานันทจะพนจากวาระของการเปนประธานคณะมนตรีการคาและอุตสาหกรรมอาเซียน ในชวง ของพลเอกชาติชาย ชุณหะวัณเปนนายกรัฐมนตรี นายอานันทมองวา “ผมไมเชื่อวาเขตการคาเสรีอาเซียนจะเกิดขึ้น ไดจริงตราบเทาที่ทุกฝายยังคงตองการรวมมือกันอยางหลวมๆ เพื่อ ผลประโยชนทางการเมือง โดยมองไมเห็นคุณคาของการสรางอํานาจตอรองทางเศรษฐกิจของภูมิภาคอาเซียน”27 ในการประชุมอาเซียนทั้ง 3 ครั้ง นายอานันทไดเสนอมุมมองตางๆ ในสวนของภาคธุรกิจนี้ การประชุมครั้งแรกที่บ าหลีในป พ.ศ. 2518 (ชวงนั้นยังดํารงตําแหนงเปนขาราชการกระทรวงการตางประเทศ) ครั้งที่สองประชุมที่ฟลิป ปนสในป พ.ศ. 253128 ในฐานะที่ เปนองคมนตรีการคาและอุตสาหกรรมอาเซียน ครั้งที่สามประชุมที่สิงคโปร ในฐานะที่เปนายกรัฐมนตรี นอกจากนี้ แลว ในป พ.ศ. 2540 นายอานันท ป นยารชุน ยัง ไดรั บ รางวัลรามอน แมกไซไซ สาขาบริหารรัฐกิจ ไดรั บ การ ประกาศเกียรติคุณตางๆ รวมทั้งปริญ ญากิตติมศักดิ์จากสถาบันศึกษาหลายแหงทั้งในประเทศและตางประเทศรวม 20 สถาบัน นาย อานันทไดรับ พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ เหรียญรัตนาภรณ (ชั้น 3) มหาวชิรมงกุฎ ทุติยจุลจอมเกลาวิเศษ และมหาปรมาภรณ ชางเผือก ทั้งได รับ เครื่อราชอิสริ ยาภรณ จากประเทศอิต าลี เกาหลี อินโดนีเซีย เบลเยี่ ยม ญี่ปุน และในกรณีของอังกฤษนั้ น ไดรับ 26

เรืองเดียวกัน, หน้ า 64. เรืองเดียวกัน, หน้ า 92. 28 เรืองเดียวกัน, หน้ า 93. 27


Honorary Knight Commander of the Civil Division of the Most Excellent Order of the British Empire (KBE) ซึ่งถาเปน คนสัญ ชาติสหราชอาณาจักร ก็จะมีตําแหนงเปน Sir29 ประวัติการทํางานการเมือง นายอานันท ปนยารชุนไดกาวเขามาดํารงตําแหนงนายกรัฐมนตรีคนที 18 ของประเทศไทยในป พ.ศ. 2534 นั้นเนื่องมาจาก “อุบัติเหตุท างการเมือ ง” ดวยสภาพการณกอนการยึดอํา นาจรัฐบาลพลเอกชาติชาย ชุณ หะวัน เปนนายกรัฐมนตรี โดยที่รัฐบาลนี้ มี นโยบายแปรอินโดจีนจาก “สนามรบใหเปนสนามการคา” ภาพทางเศรษฐกิจของประเทศกลาวไดวาเติบ โตในอัตราปละกวา 12%30 ในชวงป พ.ศ. 2531-2533 ราคาหุนที่พุงสูง ราคาที่ดินขยับ ตัวเร็ว จนมีคําพูดติดปากคนในยุคนั้นวา “คนจนเลนหวย คนรวยเลนหุน นายทุนเลนที่ ” ดวยสภาพทางเศษฐกิจที่ เติบ โตอยางรวดเร็ว สภาพดังกลาวนี้ ถูกเรียกโดยนักวิชาการว า “ยุคเศรษฐกิจฟองสบู” อั น หมายถึงสภาวะที่คนมีความเชื่อรวมกันวา สินคาประเภทที่ดิน บาน หุน จะมีมูลคาเพิ่มที่รวดเร็ว ทําใหผูคนหันมาเลนหุนและที่ดินอยาง ขนานใหญ สภาพการณ ดังกลาวไดกอใหเกิ ดความแตกตางระหวางรายไดของประชาชนสูงขึ้น และในภาวะการณแหงการเติบ โตทาง เศรษฐกิจนี้เอง ในชวงนี้เกิดกระแสขาวไมดีในเรื่องของการคอรัปชั่นเกิดขึ้นกับ โครงการใหญๆ นักการเมืองของรัฐบาลพลเอกชาติชาย ถูก มองวาเขาไปมีสวนเกี่ยวของกอใหเกิดความไมโปรงใส เชนโครงการโทรศัพ ท 3 ลานเลขหมาย โครงการดอนเมืองโทลลเวย โครงการโฮป เลลเปนตน กรณีการ “คอรัป ชั่น” ของนักการเมืองดังกลาวนี้ จึงเปนการเปดโอกาสใหคณะรสช เขายึดอํานาจเมื่อ วันที่ 23 กุมภาพันธ พ.ศ. 2534 โดยอา งเหตุผ ลของการยึด อํานาจครั้ งนี้วา “รัฐบาลชุดนี้เปนบุ ฟเฟต คาบิ เนต”31 การยึดอํานาจครั้งนี้ พลเอกสุจิ นดา ครา ประยูรเปนผูนํา และไดออกมาแถลงการถายโอนการยึดอํานาจใหรั ฐบาลพลเรือนโดยเร็ว ยิ่งทําใหป ระชาชนยินยอมใหโอกาสในแกการ เปลี่ยนแปลงทางการเมืองในครั้งนี้ การเขาสูตําแหนงนายกรัฐมนตรี ประธานสภารสช. คือพลเอกสุนทร คงสมพงษและพลเอกสุจินดาไดป รึกษาวาใครที่จะเหมาะสมในการเปนายกฯครั้งนี้ ผลที่ ออกมาคือนายอานันท ปนยารชุนเปนผูที่ไดรับการคัดเลือกใหเปนนายกรัฐมนตรี การตัด สินใจดังกลาวเกิดขึ้นในเวลาไมนานหลังจากที่ นายอานันทไดรับ การทาบทามจากพลเอกสุจินดา คราประยูร ทั้งนี้เนื่องจากทาง คณะรสช. ตองการคําตอบอยางเรงดวน เพียงแคหนึ่งวันหลังจากที่พลเอกสุจินดาโทรศัพททาบทามใหนายอานันทเปนนายกรัฐมนตรี เชาวันตอมาก็มีโทรศัพทถึงนาย อานันทวาขอคําตอบเนื่องจากวาในตอนเย็น คณะรสช. ตองเขาเฝาฯ ในเวลาไมนานนักนายอานันทจึงตอบตกลงแตมีขอแมวาจะตองคุย เจรจาตกลงกันในหลายประเด็นดวยกัน ชวงเริ่มตนเปนนายกรัฐมนตรีนั้น นายอานันทไ ดเริ่มตนจากการพูดคุย เพื่อสรางความเขาใจในขอตกลงใน 5 ประเด็นหลักๆ คือ ประเด็นแรกคือ เรื่องของความไวใจกันในการทํางานรวมกันระหวางทีมงานของคณะรสช และของพลเรือน ประเด็นที่สองคือ การสรางความเขาใจและตกลงในเรื่องของการยกเลิกกฏอัยการศึกเพราะฉะนั้นนายกอานันทจึงของให ยกเลิก ไมควรปลอยใหเนินนานเกินไปเพราะจะมีสวนทําใหความไมนาเชื่อถือตอรัฐบาลชุดนี้ได ประเด็นที่สามคือ คณะรสช จะตองปลอยพลเอกชาติชาย ชุณหะวันอยางไมมีเงื่อนไข ไมใชเปน การปลอยในลักษณะของ การเนรเทศ ประเด็น ที่สี่คื อ มาตรา 27 นายกอานัน ทกลาววาไมชอบมาตรานี้ แตถ าปรากฏในรัฐธรรมนู ญชั่ วคราวแลวท า นก็ ตอ ง เคารพมาตรานี้เปนกฏหมาย แตเรื่องของการนํามาตรานี้มาใชนั้นทานไมเห็นดวย

29

http://www.anandp.in.th/ เรืองเดียวกัน, หน้ า 102. 31 เรืองเดียวกัน 30


ประเด็นที่หาคือ คณะรัฐมนตรีนี้นายกฯ อานัน ททานของเลือกคัดสรรเอง นอกจากนี้ทานยังกลาวเสริมวาคณะรสช มีสิทธิ เสนอชื่อคนเขามาใหนายกพิจารณาพรอมกันไปดวยได32 จากขอเสนอทั้งหาประเด็นดังกลาวนี้ นายกอานันทไดเสนอเงื่อนไขดังกลาวตอคณะรสชและการประกาศชัดตอสาธารณชน อัน เปนการสะทอนใหเห็นถึงความเปนอิสระจากการตกอยูใตอํานาจของคณะ รสช นอกจากนี้แลวขอเสนอดังกลาวนี้ถือไดวาเปนขอตกลง ทั้งสามฝายคือ ฝายรสช ฝายรัฐบาล และฝายประชาชน ที่พึงยึด ถือเปนสัญ ญาประชาคมรวมกันอีกดวย วิธีที่จะสรางความเขาใจกับ ประชาชนดวยการสื่อสาร ทําใหป ระชาชนมีสวนรวม และรับ รูนโยบายการบริหารประเทศของรัฐบาล ซึ่งจะนําไปสูการสรางความเชื่อมั่น ใหกับประชาชนที่มีตอรัฐบาล การดําเนินการดังกลาวนี้นายกอานันทมองวาการที่เปนนายกรัฐมนตรีที่ไ มไดมาจากการเลือกตั้งของประชาชน อีกทั้งฐานของ พรรคการเมืองไมมี ขาราชการประจํา รวมถึงฝายทหารทานก็มีสัมพันธที่เหินหาง เพราะฉะนั้นวิธีการที่จะทํางานตอไปไดคือการสราง การยอมรับใหเกิดขึ้นกับ ประชาชนในวงกวาง และกลุมผูรวมงาน วิธีการทํางานแบบ “โปรงใส” วิธีการทํางานของนายกอานันทในชวงแรกๆ คือต องการสรางความมั่ นใจให กับประชาชนและนานาประเทศนั้นคื อ การ พยายามเลือกการสื่อสารกับสาธารณชน ดวยการพูดและการกระทําอยางโปรงใสที่สามารถตรวจสอบได (ในเวลาตอมากลายเปนคําขวัญ ของรัฐบาลชุดนี้) นายกอานันททานเห็นวาการกระทําดังกลาวจะชวยสรางพลังสนับสนุนจากประชาชนขึ้นมาอยางเปนธรรมชาติ ดังจะเห็นได จากคํากลาวของนายกอานันทในการประกาศในสโมสรผูสื่อขาวตางประเทศแหงประเทศไทยวา “รัฐบาลจะอยูในตําแหนงไมเกินหวงเวลาที่กําหนดไว โดยไมขยายเวลาตออายุรัฐบาลแมแตเ พียงวันเดียว การใหคํามั่น วา จะต องมี การลื อกตั้ ง ในเวลาที่ กํา หนดอยา งแน น อนการประกาศความไว วางใจในกัน และกั นกั บ รสช การกํา หนด นโยบายเศรษฐกิจเสรีนิยมที่จะเปดโอกาสใหการแขงขัน ดวยความตั้งใจที่เด็ดเดี่ยว จึงสามารถเรียกขวัญ ของสาธารณชน ใหหันมาไววางใจรัฐบาลได”33 ถาจะใหคํานิยามที่เ หมาะสมกับ รัฐบาลของนายกฯ อานันท ปนยารชุนไดเ ปนอยางดี “โปรงใสและตรวจสอบได” คํานิยาม ดังกลาวเกิดขึ้นมาเนื่องจากนายกอานันทมีหลักการในการดําเนินนโยบายของรัฐบาลอยางเดนชัดในการแสดงความจํานงใหป ระชาชน รับ รูความเคลื่อนไหว และสามารถตรวจสอบรัฐบาลได อันจะเปนผลดีตอการสงเสริมใหป ระชาชนมีสวนรวมในทางการเมืองอยางเปน รูป ธรรม หลักการดําเนินงานดังกลาวประกอบดวย 4 ขอหลักๆ คือ 1. ตองใหขอมูลสม่ําเสมอ 2. ตองใหรูถึงกระบวนการการตัดสินใจ หรือกระบวนการพิจารณา 3. ตองใหรูวาความคิดความอานของรัฐบาลเปนอยางไร 4. ตองใหประชาชนมีโอกาสตรวจสอบได34 ดวยหลักการทํางานเปนเชนดั งกล าวนี้ จึงทํ าใหรัฐบาลนายกฯ อานันทสื่อ สารถึงประชาชนตลอดระยะเวลาของการดํารง ตําแหนงดังจะเห็นไดคํากลาวอําลาประชาชนของนายอานันท เมื่อวันที่ 12 มีนาคม พ.ศ. 2535 ดังนี้ “การทํางานของผม (นายกฯ อานันท ปนยารชุน) และรัฐบาลยึดหลักความ “โปรงใส” ซึ่งหลายคนอาจหัวเราะวาเปน คําฮิตหรืออยางไร แตผมคิดวาเปนคําไทยที่ดีมาก... ผมย้ําอยูเสมอวา กระบวนการพิจารณา หรือกระบวนการตัดสินใจ ของรัฐบาลจะตองเปนกระบวนการที่เปดเผยไดและที่สําคัญที่สุดคือ จะตองเปดเผยได...” 32

เรืองเดียวกัน, หน้ า 108-109. เรืองเดียวกัน, หน้ า 111-112. 34 เรืองเดียวกัน, หน้ า 112. 33


อยางไรก็ต ามนอกจากวิ ธีป ฏิบ ัติต ามหลัก “โปรงใส” จะทําใหป ระชาชนรับ ทราบขอมูลหรือรายละเอียดในการทํางานของ รัฐบาลแลว หลักการในการทํางานบริหารประเทศของนายกฯ อานันท และพลพรรครัฐบาลโปรงใสนั้นตองรวมถึงองคป ระกอบหลัก 4 ขอใหญๆ คือ และประการแรก โปรงใส ประการที่สอง บริสุทธิใจ ประการสาม ทําเพื่อผลประโยชนตอสวนรวมในระยะยาว และ ประการที่สี่ ไมมีอคติ ซื่อสัตยสุจริต สิ่งเหลานี้คือจริยธรรมของนักการเมือง นอกจากนี้นายกอานันทยังกลาวแสดงความคิด เห็นในพิธีเปด สัมมนาเรื่อง “ทิศทางเศรษฐกิจไทย ป 2535” ที่ศูนยการประชุมแหงชาติสิริกิติยวา “รัฐบาลนี้ตอง “โปรงใส” คําวา “โปรงใส” หมายความวาอยางไร คําวา “โปรงใส” นั้น หมายความวา ทุกคนที่ มองอยูขา งนอก ทุก คนที่อ ยู น อกรัฐบาล เมื่ อมองมาที่รั ฐ บาลแล วจะตองรูว ารัฐ บาลกํ าลั งทํา อะไรอยู มี แนวคิ ด อยางไร กําหนดนโยบายโดยวิธีการใด กระบวนการพิจารณาเปน อยางไร ขั้น ตอนเปนอยางไร สิท ธิของประชาชน ชาวไทยที่จะตองรูสิ่งเหลานี้ ที่จะตองรูกระบวนการตัดสิน ใจ และสิทธิที่จะตองไดรับ ขอมูลที่ถูกตอง และสมบูรณ จากรัฐบาลและจากหนวยราชการ เปนสิทธิของประชาชนในระบบประชาธิปไตยอยางแทจริง”35 อยางไรก็ตาม ในมุมมองและวิธีการทํางานของนายกฯ อานันทมองวา กระบวนการทํางานอยางโปรงใสคือการเคารพในสิท ธิที่ จะรูของประชาชนในฐานะที่เปนเจาของประเทศอยางแทจริง การรูทําใหเกิดการมีสวนรวมดวยการวิพากษวิจ ารณและเสนอแนะ ที่ ประชาชนสามารถจะมีตอรัฐบาลได โดยความเปนจริงแลว “โปรงใส” คือ กระบวนการแหงระบอบประชาธิปไตย36 นอกจากนี้แลว นายกฯ อานันทยังกําชับใหทุกกระทรวง ทบวง กรม เปดเผยใหสื่อมวลชนและประชาชนสามารถติดตาม และขอดูเอกสารได ทั้งนี้เนื่องมาจากการที่รัฐบาลอานันทตั้งขึ้นมาจากการรัฐประหาร ไมใชมาจากการเลือกตั้งของประชาชน เทากับ วา ที่มาของรัฐบาลชุดนี้ขาดความชอบธรรมตามระบอบประชาธิป ไตย ดวยเหตุนี้รัฐบาลจึงตองหาวิธีการสรางการยอมรับ จากประชาชน ซึ่ง วิธีที่ดีที่สุด คือการทํางานอยางโปรงใสบริสุทธิ์ เพื่อแสดงใหเห็นโดยเปดเผยวา งานทุกอยางที่ทําลงไป ไมมีอะไรที่เปนผลประโยชนของ ตนเองหรือหมูคณะ หากแตมุงไปที่ป ระโยชนของประเทศชาติเปนสําคัญ จะโดยตั้งใจหรือไมก็ตามวิธีการเชนนี้เ ปนกระบวนการสราง ความเชื่อถือใหเกิดขึ้นอยางเปนธรรมชาติในความรูสึกนึกคิดของประชาชนทั่วไป อยางไรก็ตาม ในชวงเวลาเดียวกันนี้ที่นายกอานันทตองเรงสรรหาทีมงานในคณะรัฐบาล ทานมองวาในเวลาที่ มีอยูอยางจํากัด เพราะฉะนั้น การเลือกรัฐมนตรีจึงตองสอดคลองกับ สภาพความเปนไปของบานเมือง ดังนั้นทีมรัฐมนตรีของรัฐบาลอานันทมีทั้งสิ้น 37 ทาน ซึ่งผสมระหวางฝายรสช และพลเรือน กรณีของพลเรือนเองนายกอานันท ไดเลือกบุคคลที่อยูในแวดวงหรือถนัด ในการบริหารสาขา นั่นๆ เขารวมคณะรัฐบาล37 หลังจากที่รัฐบาลอานันทมีคณะผูทํางานครบครันแลวนั้น จึงเริ่มตนดวยการประกาศนโยบาย 6 ประการเปนสัญ ญาประชาคม เพื่อเปนการกําหนดทาทีและนโยบายของรัฐบาลชุดนี้ นโยบายดังกลาวตอสาธารณะชนมีเนื้อหาดังนี้ ประการแรก ทางดานเศรษฐกิจ เราไดใหภาคเอกชนเปนผูนําและผูที่มีบ ทบาทในเรื่องของการผลิต การคา และการลงทุน รัฐบาลทําหนาที่เปนเพียงผูสงเสริมและฟนฟูสนับ สนุน เปลี่ยนบทบาทจากการควบคุมในอดีตมาเปนเพียงการกํากับ ดูแล ประการที่สอง มุงแกไ ขความเหลื่อมล้ํ าของรายไดและความเจริญ ระหวางส วนกลางและส วนภูมิภาค โดยเฉพาะอยางยิ่ ง เกษตรกรที่ยกจนในชนบท

35

สํานักนายกรัฐมนตรี , แนวคิดและการบริ หารงานของนายอานันท์ ปั นยารชุน (เล่ม 1) (กรุ งเทพฯ: สํานักนายกรั ฐมนตรี , 2534), หน้ า 109. 36 เรืองเดียวกัน 37 ประสาร มฤคพิทักษ์และคณะ, อานันท์ ปั นยารชุน: ชีวิต ความคิดและการงานของอดีตนายกรัฐมนตรี สองสมัย , หน้ า 111-118.


ประการที่สาม ดําเนินการใหระบบเศรษฐกิจมีการแขงขันอยางเปน ธรรม และรัฐบาลจะไมเขาไปกอ หรือสนับ สนุนใหเ กิด ระบบผูกขาด ประการที่สี่ จัดระบบการเก็บภาษีใหเปนธรรม ไมเปนตนทุนหรือภาระ มีความงายและสะดวกมากขึ้นตอผูเสียภาษี ประการที่หา สรางเสริมใหงานการผลิตตางๆ มีประสิทธิภาพสูง สามารถแขงขัน ในตลาดโลกได รัฐตองสนับ สนุนใหมีการ ลงทุนในดานสิ่งอํานวยความสะดวกขั้นพื้นฐานใหเพียงพอ สรางขีดความสามารถทางเทคโนโลยี โดยสนับ สนุนการคนควาและวิจัย และ เพิ่มการพัฒนาทรัพยากรบุคคลใหมีคุณภาพ ประการที่หก คํานึงถึงความสําคัญของสิ่งแวดลอมและคุณภาพชีวิตของคนไทยโดยทั่วไป นอกจากเศรษฐกิจแลว เราก็ไ ดให เวลากับทางดานสังคมเปนอยางมาก ไดมีการตวจสอบระบบการศึกษา การอบรม ใหมีการจัดตั้งคณะกรรมการดูแลปญ หาเหลานี้ และมี รายงานแผนงานเรียบรอยแลว ในขั้นตอไปคือขั้นปฏิบ ัติ ซึ่งตองใชเวลานาน ผมก็มีความหวังสวนตัววา รัฐบาลไทยในอนาคตจะไดเหลียว แลเรื่องการศึกษา เรื่องการอบรมใหคนไทยมีศีลธรรม มีคุณภาพ มีจริยธรรมมากขึ้น และควรที่จะกําหนดแนวทิศทางการศึกษาใหดีกวา เทามีในอดีต38 การประกาศนโยบายและทิศทางของรัฐบาลตอสาธารณะชนทั้งในประเทศและนานาประเทศ ไดสรางความเชื่อมั่นใหกับ นานา ประเทศที่มีตอรัฐบาลอานันท นอกจากนี้แลว รัฐบาลชุดนี้ยังไดเริ่มเปลี่ยนแปลงและเริ่มปรับปรุงระบบทางเศรษฐกิจใหชัดเจนขึ้นเพื่อให สอดคลองกับ นโยบายที่ป ระการออกมา ดังจะเห็นได จากการประกาศใช ภาษีมูลคาเพิ่ ม การปรับ โครงสรางภาษี การแกป ญ หาภาษี ซ้ําซอน และการปองกันการหลบเลี่ยงภาษีเปนตน ผลงานภายในประเทศ การจัดการเปลี่ยนแปลงระบบภาษี รัฐบาลชุดนีเ้ ห็นวาจากความเปลี่ยนแปลงของระบบเศรษฐกิจทั่วโลก จึงมีความจําเปนที่ตองมีการปรับ ปรุงโครงสรางทางดาน เศรษฐกิจ ซึ่งนายอานันทเห็นวา สิ่งแรกที่ควรปรับปรุงคือเรื่องของภาษี ทานไดกลาวตอสภานิติบัต ญัติแหงชาติ โอกาสที่สภานิติบัญ ญัติ แหงชาติ ไดผานรางพระราชบัญญัติงบประมาณรายจายประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2535 วา “การปรับปรุงโครงสรางภาษีถือวาเปนเครื่องมืออันหนึ่งที่จะนําไปปรับปรุงโครงสรางอุตสาหกรรม เปนเครื่องมืออันหนึ่ง ที่กอใหเกิดความยุติธรรม ใหเกิดความชอบธรรมและใหเกิดความเชื่อมั่นที่วา ประชาชนคนไทยสวนใหญ พรอมที่จะเสีย ภาษีในระบบนั้น เปนการสรางระบบภาษีที่จะเปนการสงเสริมการออมทรัพยดวย เปนการสรางระบบภาษีที่จะให เกิด ความคลองตัว ใหเปนสิ่งจูงใจใหอุตสาหกรรมตางประเทศเขาลงทุนในปะเทศไทยมากขึ้น ใหระบบการเงินและการคลั่ง เสรีอยูในฐานะที่แขงขันได”39 นายกฯอานันทไดเปลี่ยนแปลงการเก็บ ภาษีใหม โดยที่รัฐบาลไดป ระกาศนําภาษีมูลคาเพิ่มมาใชแทนภาษีการคาอยางเปน ทางการ ซึ่งเปนการปรับระบบภาษีเขาสูมาตรฐานสากล โดยมีเนื้อหาดังตอไปนี้คือ จัดเก็บภาษีอัตรารอยละ 7 สําหรับ ผูที่มีรายได เกินกวาปละหกแสนบาทขึ้นไป โดยยึดหลัก “ใครบริโภคคนนั้นจายภาษี”40 ไมวาใครเปนผูซื้อ คนนั้นจะตองมีภาระที่จะตองจายรอยละ 7 ของราคาสิน คา ยกเวนสินคาที่จําเปนต อการครองชี พ เชน ผัก ผลไม อาหาร และสิ นคาทางการศึกษา เชน หนังสือ สมุด ไมตอ ง เขาเกณฑภาษีมู ลคาเพิ่ม หลัก การดังกลาวนี้ ถือไดวาภาษีมี กลไกในการเก็ บ และปองกันการหลี กเลี่ยงภาษีที่แนนอน ในระยะแรกเริ่ ม 38

เรืองเดียวกัน, หน้ า 119-120. สํานักนายกรัฐมนตรี , แนวคิดและการบริ หารงานของนายอานันท์ ปั นยารชุน (เล่ ม 1), หน้ า 95. 40 ประสาร มฤคพิทักษ์ และคณะ, อานันท์ ปั นยารชุน: ชีวิต ความคิดและการงานของอดีตนายกรัฐมนตรี สองสมัย , หน้ า 121, จิตติม า คุป ตานนท์, ภาษี อากรในยุครั ฐบาลนายอานัน ท์ ปั นยารชุน(กรุ งเทพฯ: โรงพิมพ์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ , 2535), หน้ า 36. 39


อาจจะทําใหรัฐบาลขาดรายไดจากภาษีการคาที่เคยเก็บไป แตในระยะยาวแลวเปนการยกระดับ รายไดภาษีอากรรัฐบาลอยางเปนน้ําเปน เนื้อ ในทัศนะของนายกฯอานันท ทานมองวาผลที่ไดจากการปรับปรุงระบบภาษีวา ประการแรก เป น การปลอยใหก ลไกของตลาดทํางานเต็ มที่ ลดการบิดเบือนการจัด รูป องคก รธุรกิจ เพื่ อเหลี่กเลี่ยงภาษี เพราะตองถูกควบคุมดวยใบกํากับภาษีมูลคาเพิ่ม ลดการจัดเก็บ ภาษีซ้ําซอน ซึ่งจะเปนผลดีตอประสิทธิภาพการผลิตของประเทศในระยะ ยาว ประการที่สอง เปน การลดเงื่ อนไขการกีดกั น ทางการคาระหว างประเทศลงไป เพราะอารยปะเทศใชภ าษีมู ลค าเพิ่ มกั น หมดแลว เทากับเปนการกระตุนการสงออก ประการที่สาม ภาษีมูลคาเพิ่ม ทําใหสินคาประเภททุนไดรับ การยกเวนภาษีโดยไมเลือกปฏิบัติ ผูป ระกอบการไดป ระโยชน เต็มที่ ประการที่สี่ ภาษีมูลคาเพิ่มยอมใหหักตนทุนในการผลิตสินคาและบริการที่ใชในการผลิต ดังนั้นตนทุนของสินคาจะลดลง ทํา ใหราคาสินคาโดยรวมไมสูงขึ้น ประการที่หา การกระจายรายไดดีขึ้น เพราะภาษีมูลคาเพิ่มยกเวนใหแกสินคาและบริการที่จําเปนตอการกินการอยู เทากับ ลด ภาระคนยากคนจนผูมีรายไดนอยในขณะที่สินคานรวยจะถูกเก็บ ภาษีสรรพสามิตเสริมเขามา41 ในขณะเดียวกันกับ การประกาศภาษีมูลคาเพิ่มนั้น รัฐบาลไดปรับลดภาษีเงินไดสวนบุคคลลงมา โดยใหเสียภาษีในอัตรารอย ละ 5 ถึงรอยละ 37 ตามรายได โครงสรางภาษีใหมนี้ จะเห็นไดวาผูที่มีรายไดนอยจะไดรับประโยชนจากการหักคาลดหยอนมากกวาเดิม โดยเฉลี่ยแลวทุกวันในสังคมจะไดรับประโยชนจากโครงสรางใหมนอกจากนี้แลวการตัดสินใจในเรื่องภาษีมูลคา เพิ่มของรัฐบาลชุดนี้สงผล ในระยะยาวใหแกระบบโครงสรางภาษีอากรของประเทศไทย ผลงานที่สําคัญ ของรัฐบาลชุดนี้อีกผลงานหนึ่งคือ การนํานโยบายประการแรกมาปฏิบัติใชคือ ประเด็นทางดานเศรษฐกิ จ ปรับใหภาคเอกชนเปนผูนําและผูที่มีบทบาทในเรื่องของการผลิต การคา และการลงทุน สวนรัฐบาลเองทําหนาที่เปน เพียงผูสงเสริม และฟนฟูสนับ สนุน เปลี่ยนบทบาทจากการควบคุมในอดีตมาเปน เพี ยงการกํากับดูแล เพราะตองการใหเปน ไปตามระบบการค า แบบเสรี นายกฯอานันทเปนผูหนึ่งที่เชื่อมั่นในระบบการคาแบบเสรี42 เพราะทานชี้วาระบบการคาดังกลาวจะนําไปสูการแขงขัน การ แขงขันจะยังประโยชนตอผูบ ริโภค ดังคํากลาวใหสัมภาษณวา “ผมเปนคนที่เชื่อมั่นระบบการคาแบบเสรี เชื่อมั่นในระบบที่ตองมีการแขงขัน เพราะถาเผื่อไมมีเรื่องของการแขงขันแลว พอคาจะรูสึกสบายใจทําอะไรสบายไปหมด ยิ่งถาเปนระบการคาหรือทําธุรกิจ หรืออุตสาหกรรมอะไรที่มีการผูก ขาด ก็ สบายใจใหญ จะไมมีใครคิดถึงผูบ ริโภคเลย”43 นอกจากนี้แลว ระบบการคาแบบเสรียังสงผลใหประเทศไทยสามารถออกไปสูในตลาดโลกได ดังปรากฏในการสัมภาษณวา “ถาเผื่อเรายังเปนเศรษฐกิจที่นําโดยการสงออกพอถึงการสงออกแลวนี่ คุณจะอยูแตในบานไมไดแลว คุณตองออกไปขาง นอกดวย คุณเขาเวทีตางประเทศแลว ประเทศที่เขาพัฒนาแลว แลวเราไปรองปาวๆ วาเขาเอาเปรียบเรา หรือเราไมเห็น

41

เรืองเดียวกัน, หน้ า 122. เรื องเดียวกัน, หน้ า 124-125, และ สํานักนายกรัฐมนตรี, แนวคิดและการบริ หารงานของนายอานันท์ ปั นยารชุน (เล่ ม 1) (กรุ งเทพฯ: สํานักนายกรัฐมนตรี , 2534), หน้ า 29-30. 43 ประสาร มฤคพิทักษ์และคณะ, อานันท์ ปั นยารชุน : ชีวิต ความคิดและการงานของอดีตนายกรัฐมนตรี สองสมัย , หน้ า 124-125. 42


ดวยกับ เขา พูดไมไดแลว ก็คุณเอาเศรษฐกิจเขาไปผูกพันแลวนี่... ถาเผื่อคุณไมหันไปเลนเกมที่ฝรั่งเขาเขียนไว คุณก็ต าย ...”44 การปรับปรุงระบบราชการ นอกจากนี้ แล ว รัฐบาลอานั นทยังทํ าการปรั บ ปรุง ระบบราชการ ในทัศนะของนายกฯอานันท มองว าระบบราชการไทยที่ แข็งแกรงใหญโตนี้มีปญหา ทานมองวา “ระบบราชการไทยในอดีต เปนระบบของการควบคุม เป นระบบของการเปนนายของประชาชน แทนที่จะเปนผูใหบ ริการ ประชาชน... ผมวาระบบราชการมีไขมันมากเกินไป ตองพยายามตัดไขมันออกเหลือแตเนื้อจริงๆ โดยเฉพาะใหเหลือแตเนื้อแดงๆ ไดยิ่งดี ... มันเปนกรรมของเมืองไทย ที่คนระดับอธิการบดียังตองมานั่งปวดหัวกับ ระเบียบบานเชาของทางราชการ แทนที่จะไปใชสมองคิดใน เรื่องอื่น”45 จากทัศนะดังกลาวสะทอนใหเห็นวาปญหาในระบบราชการเปนปญหาเรื้อรังเปนปญหาระบบเจาขุน มูลนาย ปญหาคนลน งาน และปญหาการใชคนไมถูกกับงาน ที่ทําใหราชการไทยเปนระบบที่ลาหลัง ภาระกิจที่เห็นไดชัด คือ การกําหนดมาตรการะลอการ กําหนดตําแหนงเพิ่มใหม โดยใหระงับการขอตําแหนงเพิ่ม ใหชะลอการบรรจุแตงตั้ง ใหเกลี่ยอัตรากําลังระหวางสวนราชการในระดับ และ ในกรมกองเดียวกัน นอกจากนี้แลว แกป ญหาสมองไหล สําหรับวิชาชีพที่ขาดแคลน โดยปรับ โครงสรางบัญ ชีเ งินเดือนขาราชการใหม ซึ่ง สูงกวาปญชีเดิมประมาณรอยละ 2346 การจัดการเรื่องของทรัพยากรสิ่งแวดลอม นอกจากเรื่องระบบราชการที่รัฐบาลอานันทป รับปรุงแลวนั้น ยังมีเรื่องของสิ่งแวดลอมและทรัพยากรธรรมชาติที่รัฐบาลชุด นี้ให ความสําคัญไมยิ่งหยอนไปกวาเรื่องของการเมือง เศรษฐกิจ และสังคม จากการที่รัฐบาลขยายตัวไปอยางรวดเร็ว โรงงานอุต สาหกรรมที่ เกิดขึ้นอยางมากมาย การขยายตัวของชุมชนและเมืองรวมถึงการบุกรุกทําลายทรัพยากรธรรมชาติ ผลที่ต ามมาคือปญ หาสภาพแวดลอม และการทําลายทรัพยากรธรรมชาติ นอกจากนี้ การขาดการวางแผนที่ดีระบบการขจัดน้ําเสียและสิ่งปฏิกูลจากโรงงานและที่อยูอาศัยยัง ขาดประสิทธิภาพ ยิ่งทําใหปญหานี้ทวีความรุนแรงมากยิ่งขึ้น47 ดวยเหตุนี้ รัฐบาลเล็งเห็นวาควรจะมีการเริ่มตนในการจัดการสิ่งแวดลอมและทรัพยากรธรรมชาติ โดยการสรางมาตรฐาน ในการเริ่มตนเพื่อการสานตอในอนาคต เชนสนับสนุนใหใชน้ํามันไรสารตะกั่ว การบังคับ ใหรถยนตที่จดทะเบียนใหมตองเครื่องกรองไอ เสีย การบังคับใหโรงงานอุตสาหกรรมและโรงพยาบาลตองมีการบําบัดของเสียซึ่งเกิดจากการประกอบกิจการของตน กอนจะทิ้งของเสีย ออกสูภายนอก การนําวัสดุที่ใชแลวกลับมาใชใหม รวมถึงการจัด ทําแผนแมบ ทเพื่อพัฒนาการปาไม 48 นอกจากนี้มีการจัด การกับ ปญ หา ชายเลน เพื่อปองกันการบุกรุก การปลูกปาชายเลนเพื่อฟนฟูสภาพใหม การตั้งศูนยเ มล็ดพันธุไมปาชายเลน และยังมีการอนุรักษปาเขา ใหญ จัดใหมีบ านพักเจาหนาที่ เพื่อรักษาสภาพธรรมชาติและสัตวป าเอาไว รวมทั้งกําจัดขยะมูลฝอยไปในตัวดวย นายอานันทยังเสนอวา “สิ่งแวดลอมหรือทรัพยากรธรรมชาติ เปนฐานสําคัญของการผลิต ดังนั้นสิ่งที่ควรจะตามมาคือ การพัฒนาที่ยั่งยืนซึ่งเปนวิญญาณ สําคัญของการพัฒนา”49 การแกไขสัญญาโทรศัพทสามลานเลขหมาย 44

เรืองเดียวกัน, หน้ า 125. เรืองเดียวกัน, หน้ า 139. 46 เรืองเดียวกัน 47 สํานักนายกรัฐมนตรี , แนวคิดและการบริ หารงานของนายอานันท์ ปั นยารชุน (เล่ ม 1), หน้ า 43. 48 เรืองเดียวกัน, หน้ า 144-145. 49 เรืองเดียวกัน, หน้ า 146. 45


ประเด็นหนึ่งที่นาสนใจของสังคมในเวลานั้นคือเรื่องของกรณีการแกไขสัญ ญาโทรศัพทสามลานเลขหมายเหตุการณดังกลาวนี้ นายกฯอานันทเขามาเกี่ยวของในการแกไขปญหา เนื้อหาของขอตกลงสัญญาโทรศัพทเดิมกอนการแกไขมีดังตอไปนี้คือ ประการแรก งานในความรับผิดชอบบริษัทไมมีความแนนอนบริษัทสามารถปรับแผนไดตลอดเวลา รวมถึงการเปลี่ยนแปลงการ ติดตั้งจํานวนหมายเลขโทรศัพท ในเขตกรุงเทพฯ 2 ลานเลขหมายและภูมิภาค 1 ลานหมายเลข ภายใตเ งื่อนไขที่เปด โอกาสไวในราง สัญญาซึ่งทําใหมีความไมแนนอนวาประชาชนจะไดรับ บริการอะไร ที่ไหน เมื่อไหร ในมาตรฐานระดับไหน ประการที่สอง บริษัทจะผูกขาดระบบโทรศัพทของไทยตลอดระยะเวลาสัมปทาน 25 ป อํานาจและสิท ธิผูกขาดของรัฐโดย ทศท.จะตกเปนของบริษัท เปลี่ยนจากรัฐผูกขาดมาเปนเอกชนรายเดียวเขาผูกขาดตลอดระยะเวลา 25 ป ซึ่งรัฐไมไดป ระโยชนเพราะเงื่อ ไขสัญญาเกี่ยวกับ การใชทรัพยสนิ การใหการบริการ ตลอดจนอํานาจการตัดสินใจเรื่องโทรศัพทตกเปนของบริษัท ประการที่สาม การแบงประโยชนระหวางบริษัทกับ ทศท. ไมเปนธรรม การแบงผลประโยชนมีหลักเกณฑที่อยูบ นพื้นฐานที่ ยอมรับ ไมไดทําใหทศท. ตองรับภาระความเสี่ยงจากสวนแบงรายไดที่อาจไมคุม ทําใหทศท. ตองกลายเปนรัฐวิสาหกิจที่ขาดทุนและจะกอ ภาระใหกับประชาชน ประการที่สี่ การคัดเลือกบริษัทไมเปนไปตามเงื่อนไขที่ป ระกาศ ประการที่หา บริษัทเลี่ยงความเสี่ยงที่ควรจะเปนภาระของผูลงทุนโดยมีขอจํากัด หรือขอยกเวนอยางกวางขวาง รวมทั้ง ทศท. ตองมีภาระสนับสนุนบริษัทมาก ซึ่งยังไมสามารถกําหนดขอบเขตไดใน ขณะนี้ทั้งการบริการใหบ ริการแกบ ริษัท การใหใชท รัพ ยสินที่มีอยู ตลอดรวมทุนปรับระบบเดิมของ ทศท. ใหเขากับ ระบบของบริษัทและ ทศท.ยังตองรับ ผิด ชอบดําเนินการและบํารุงรักษาอีกหลายสวน ดวย โดยไมสามารถกําหนดขอบเขตการใหจายไดและอาจจะทําใหทศท.ขาดทุน ประการที่ หก ร างสั ญ ญาเดิมไมได ระบุ ชัด เจนเกี่ ยวกั บ การขอสิ ท ธิป ระโยชนด านการขอรับ การสง เสริ มการลงทุนในสวนที่ เกี่ยวกับสิทธิป ระโยชนดานภาษีอากรจากรัฐ ประการที่เจ็ด บริษัทมีโอกาสแกเงื่อนไขสัญญาเพื่อผลประโยชนของตนเองและมีสิทธิพิเศษกอนผูแขงขันรายอื่น ซึ่งสัญ ญาปด โอกาสไมใหผูอื่นรวมทั้งทศท.มาแขงขันใหบริการหลังจากมีการลงนาม50 แตเมือ่ มีการเจรจาเพื่อแกไขหลักการเกิดขอตกลงใหมดังตอไปคือ ประการแรก ประชาชนจะตองไดรับบริการที่ดี รวดเร็ว ในราคาที่เปนธรรม ซึ่งบริษัทรับจะติดตั้งโทรศัพทจํานวน 2 ลานเลข หมายในเขตโทรศัพท นครหลวงใหแลวเสร็จภายใน 5 ป โดยคิดอัตราบริการตามอัตราและมีมาตรฐานตามเกณฑที่ทางการกําหนด ประการที่สอง ไมใหมีการผูกขาดทั้งทางนิตินัยและพฤตินัยในเชิงเศรษฐกิจและโทคโนโลยี ซึ่งบริษัทจะไดรับ อนุญ าตใหเปน ผูขยายและติดตั้งโทรศัพท 2 ลานเลขหมายในเขตนครหลวง โดยบริษัทจะสละสิทธิในการประมูล การแขงขันหรือการรวมทุนในการ ขยายหมายเลขโทรศัพทในเขตภูมิภาคและนครหลวงในระยะหนึ่ง ประการที่สาม รัฐจะตองไดรับผลประโยชนตอบแทนที่เปนธรรมจากการใหสัมปทาน ประการที่สี่ จะตองมีการลงทุนที่แทจริง โดยบริษัทที่มีประสบการณและนาเชื่อถือ ประการที่หา ผูลงทุนตองรับภาระความเสี่ยงที่เกิดขึ้นจากการลงทุนและการดําเนินกิจการ ประการที่หก รัฐจะใหความคุมครองชวงเวลาหนึ่งและอนุญาตใหจัดหาผลประโยชนอีกชวงหนึ่ง51 อาจะกลาวไดวาเปนผลงานที่สามารถเรียกคะแนนเสียง และความชื่นชมของประชาชน รวมถึงบรรดานักการเมืองดวยกัน เอง สิ่งเหลานี้สะทอนใหเห็นถึงการที่รฐั บาลนายกฯอานันท แสดงความจริงใจในการแกไขปญหาที่เกี่ยวพันกับ เรื่องของผลประโยชนมหาศาล ทาทีเชนนี้นําไปสูการสรางแมแบบของการเปนนายกรัฐมนตรี และรัฐบาลที่ควรเปนใหกับสังคมไทย ซึ่งมีลักษณะของการทํางานที่ฉับ ไว ไมเ ลือกขาง ปฏิบ ัติห นาที่ อย างตรงไปตรงมา และที่ สําคั ญ คือ การเป ด เผยและสื่ อสารกับ ประชาชนให ท ราบความเปนมาเปนไปใน กิจกรรมของรัฐบาล นอกจากนี้ นายกฯ อานันทยังเห็นวาการที่มีเอกชนเขามามีสวนในการดําเนินการดานโทรศัพ ทในประเทศไทยนั้น 50 51

เรืองเดียวกัน, หน้ า 171-191. เรืองเดียวกัน


เป นผลดี และมีความยิ นดีที่ เอกชนเข ามาดํ า เนิ นธุ รกิ จ ดา นโทรศั พ ท ขั้นพื้น ฐาน ทํ า ใหระบบโทรศั พ ทข องประเทศไทยมี การแขง ขั น เปรียบเทียบกันไดทั้งในดานของตนทุน การบริหาร และการใหบ ริการแกป ระชาชน ซึ่งนายกฯ อานันทเ ห็นวา ท านเชื่อวาจะเปนวิธีที่ ประชาชนโดยสวนรวมและธุรกิจทั่วไปจะไดประโยชนสูงสุด52 ผลงานตางประเทศ การเมืองระหวางประเทศ: เขตการคาเสรีอาเซียน นอกจากภาระหนาที่ภายในประเทศแลวนั้น ผลงานที่สําคัญอีกสวนหนึ่งคือ ภาระกิจในเรื่องที่เกี่ยวของกับ ตางประเทศ ผลงาน เดนคือเรื่องเขตการค าเสรีอาเซียน กลาวคือ การประชุมสุด ยอดอาเซียนป พ.ศ. 2535 ณ ประเทศสิงคโปร เปนการเปดยุคใหมของ การคาในกลุมประเทศอาเซียนเมื่อผูนําทั้ง 6 ประเทศอาเซียนพรอมใจกันลงนามใ “ปฏิญ ญาสิงคโปร 1992” อันเปนขอตกลงใหมีการ จัด ตั้งเขตการคาเสรีอาเซียน (The ASEAN Free Trade Area-AFTA) ภายในเวลา 15 ป ซึ่งนับ ตั้งแต 1 มกราคม 2536 โดยใช มาตรการกําหนดอัตราภาษีรวม (Common Effective Preferential-CEPT) เปนกลไกหลัก สาระสําคัญ ของขอตกลงเบื้องตนคือผลงาน ที่สําคัญทางดานเศรษฐกิจของรัฐบาลอานันท อันเปนผูที่เสนอแนวคิดกอตั้งเขตการคาเสรีอาเซียนตอประเทศสมาชิกทั้ง 6 ประเทศ และ ผลักดันจนเกิดผลสําเร็จ53 แนวความคิดการจัดตั้งเขตการคาเสรีเกิดขึ้นมาก็เพื่อที่จะเปนเสมือนเกราะปองกันตัวเองและเปน อํานาจในการตอรองกับ เขตเศรษฐกิจอื่นๆ นอกจากนี้แลว เพื่อเผชิญกับการแขงขันทางเศรษฐกิจในเวทีโลก ไมใชเพื่อตอบโตกลุมเศรษฐกิจอื่นใด แตเพื่อผนึก กําลังพึ่งพากันเองใหมากขึ้นในกลุมอาเซียนนั่นเอง ในทัศนะของนายกฯ อานันทมองประเด็นดังกลาววา ในอดีต กลุมอาเซียนเปรียบ เหมือนเรือลํานอยที่ลองลอยอยูในมหาสมุทรโดยปราศจากทิศทาง แตป จจุบันรัฐบาลของทุกประเทศไดเริ่มตระหนักถึงความจําเปนใน การผนึกรวมกันเพื่อตอสูกับ มรสุมการคาโลก การจัดระเบียบใหมทางการคาโลก โดยเฉพาะกรอบขอตกลงทั่วไปวาดวยภาษีศุลกากรและ การคา หรือที่เรียกวา แกต (GATT) 54 และเขตการคาเสรีแหงอเมริกาเหนือ ความรวมมือเหลานี้แรงกระตุนอยางสําคัญ ตออาเซียนใหหัน มาสนใจที่จะเปลี่ยนทาทีจากการแขงขันกัน มาเปนความรวมมือกัน อาจจะกลาวไดวา การจัดตั้งเขตการคาเสรีอาเซียนชวยใหประเทศสมาชิกสามารถจะปรับปรุงประสิ ทธิภาพการผลิตให ผลิตสินคาที่มีคุณภาพ มีตนทุนต่ํา และมีราคาที่สามารถแขงขันกับสินคาจากแหลงอื่นๆ ได โดยอาศัยขนาดของกําลังการผลิตเปนขอ ไดเปรียบ นอกจากนี้อาเซียนเองก็ยังสามารถจะสรางอํานาจตอรองทางเศรษฐกิจกับ กลุมประเทศอื่นๆ ในเวทีการคาโลกไดดวยเชนกัน โดยอาศั ยวิธีการใชระบบอัตราภาษีศุลกากรรวมเท ากันคือใหป ระเทศสมาชิกลดภาษีนําเขาสินคาใหอ ยูในอัต ราเดีย วกันทั้ง หมดและ กําหนดใหอาเซียนเปนเขตการคาเสรีภายใน 15 ป55 รัฐบาลอานันทไดทําการประกาศลดภาษีศุลกากร 15 รายการของรัฐบาลไทย56 ทําไดโดยสะดวกเปนเพราะรัฐบาลอานันท ไมมีผลประโยชนผูกพันทางธุรกิจกับกลุมธุรกิจใด ซึ่งคาดการณไดวาจะตองเกิด ผลกระทบกับ อุต สาหกรรมบางประเภทที่ผูกขาดมานาน หรือธุรกิจที่พึ่งพิงการอุมชูของรัฐบาลมาตลอดไดรับ ผลกระทบอยางแนนอน สภาพการณดังกลาวนายกฯอานันท มองวา “การคาได เปลี่ยนไป นักธุรกิจไทยตองออกมาจากเปลือกหอยไดแลว ไมใชใหรัฐบาลคอยเปนเปลือกคุมครองอยู”57 การเจรจาในการประชุมสุด ยอด 52

สํานักนายกรัฐมนตรี , แนวคิดและการบริ หารงานของนายอานันท์ ปั นยารชุน (เล่ม 2) (กรุ งเทพฯ: สํานักนายกรั ฐมนตรี , 2534), หน้ า 76. 53 ประสาร มฤคพิทักษ์และคณะ, อานันท์ ปั นยารชุน: ชีวิต ความคิดและการงานของอดีตนายกรัฐมนตรี สองสมัย , หน้ า 128. 54 เรืองเดียวกัน 55 เรืองเดียวกัน, หน้ า 130. 56 เรืองเดียวกัน, หน้ า 131 57 เรืองเดียวกัน


ผูนํ าอาเซี ยนในครั้ ง นี้ ที่สิ งคโปร นับ ว าเป นการเปด มิ ติ ความสัมพั นธร ะหวา งชาติ อ าเซี ย นในทางการเมื องจากเดิ มที่ เ ป นการตอ ตา น คอมมิวนิสตมาเปนการสรางความมั่นคงทางเศรษฐกิจภายในภูมิภาค นอกจากนี้แลวนายกฯอานันทไดเสนอเรื่อง AFTA ขอเสนอดังกลาว เปนการเปลี่ยนแปลงโครงสรางทางธุรกิจของไทยอยางถึงรากถึงโคน เปนการเปลี่ยนแปลงในทางยุทธศาสตรที่พลิกโฉมหนาทางเศรษฐกิจ ของไทย การแกไขปญหาชายแดนระหวางประเทศไทยกับเพื่อนบาน นอกจากเรื่องการจัดตั้งเขตการคาเสรีอาเซียนแลวนั้น รัฐบาลอานันทยังไดเขาไปแกไขปญ หาความขัด แยงในบริเวณชายแดนที่ ติด กั บ ประเทศไทยซึ่ ง ในทั ศนะของทานมองวา เปนป ญ หาที่ สํ าคั ญ ที่ค วรเรงแกไ ขทั้ ง ลาว พมา กั มพูชา และเวียดนาม เชนป ญ หา กระทบกระทั่งบริเวณชายแดนปญ หาความไมไววางใจกันในอดีตที่ยังคงอยู ปญหาผูอ พยพจากอินโดจีนที่เขามาในประเทศไทย สิ่งที่เ ห็ น เปนรูปธรรมในการจัดการปญหาดังกลาวคือ ในกรณีของประเทศกัมพูชาซึ่งเปนการแกปญหาโดยทําใหกัมพูชากาวไปสูการตกลงกันอยาง สันติ ในการกลาวคําขอบคุณของนายกฯ อานันท ตอสภานิติบัญ ญัตินั้นไดกลาวถึงนโยบายของรัฐบาลในสวนของการตางประเทศ ทานมองวาโลกในปจจุบันไดมีการเปลี่ยนแปลงไปอย างมาก การเปลี่ยนแปลงที่ เกิดขึ้นนี้เปนการเปลี่ยนแปลงในทางที่จะสรางสรรค สันติภาพและความเขาใจระหวางประเทศ ทางรัฐบาลเองดําเนินนโยบายใหสอดคลองกับ สถานการณของโลกโดยทั่วไป และภูมิภาค โดยเฉพาะไดมีการสรางภาพพจนและกอใหเกิดความเชื่อถือของนานาชาติที่มีตอประเทศไทย รัฐบาลไดพ ยายามสรางความสัมพันธและ รักษาประโยชนทางเศรษฐกิจของไทย ใหความสําคัญตอสัมพันธภาพทีมีอยูกับประเทศเพื่อนบานที่จะนําไปสูความรวมมืออยางใกลชิดทั้ง ทางดานการเมือง เศรษฐกิจ วัฒนธรรมและอื่นๆ เมื่อรัฐบาลอานันทเขามาทํางานในหกเดือนแรกนั้นไดพยายามแกไขปญหาความสัมพันธไทย-ลาว ที่สั่น คลอนมายาวนาน กวา 10 ป โดยที่ฯพณฯ พูน สีประเสิด รองนายกฯ รัฐมนตรี และรัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศลาว ไดมาเยือนเมืองไทย มีการประชุมคณะกรรมาธิการรวมไทย-ลาว เมื่อเดือนสิงหาคม 2534 สองครั้งดวยกัน การเจรจาความรวมมือดานตางๆ ลุลวงไป58 นอกจากนี้ทางไทยเองก็เดินทางไปเยือนลาวเปนประเทศแรก เกิดขอตกลงความรวมมือไทย-ลาว ในดานการฝกอบรมสัมมนาแลกเปลี่ยน ประสบการณกับไทยทุกระดับ ความบาดหมางในอดีตเปลี่ยนเปนความสัมพันธที่ดีตอกัน กลาวกันวารัฐบาลนายกฯ อานันททําไดจัด สรร งบประมาณพิเศษ 200 ลานบาท เพื่อใหทุนการศึกษา ฝกอบรมสัมมนาสําหรับลาว พมา เวีดนาม และกัมพูชา โดยมีจุดมุงหมายเพื่อผูก ความสัมพันธตอเนื่องในระยะยาวกับ ประเทศตางๆ เหลานั้น ทราบวาปจจุบันนี้มีนักศึกษาและขาราชการมาดูง านในไทยเปนจํานวน มาก59 ปญหาดานพรมแดน รวมถึงความสัมพันธระหวางไทยกับเพื่อนบานมีการกระทบกระทั้งกันอยูเสมอไมวาจะเปนไทย-พมา ไทยกัมพูชา และไทย-ลาว ในกรณีปญหาเรื่องความขัดแยงระหวางไทย-ลาวนี้ ในมุมมองของนายกฯ อานันทเองมองปญ หาดังกลาววา “ปญหามีมากมายสถานการณการเมืองปญหาความสัมพันธที่ไมคอยดีนัก ปญหาบางครั้งชาวไทยเราเอาเปรียบลาว ปญหา รสพ ปญหาคนไทยที่ทําตัวเปนพี่ในทางอายุ แตไมทําตัวเปนพี่ในทางจิตใจ ปญหาของประเทศไทยหรือของ รัฐ รัฐ บาลไทยในยุค เกา ๆ ที่ มองเห็ นลาวเปนประเทศที่เล็กกวา มีพลเมืองน อยกวา มีพื้นที่ นอยกวา และเป น ประเทศที่เราอาจจะตักตวงผลประโยชนทุกดานจากลาวได ในขณะเดียวกันทางดานลาวนั้น ก็มีความใจนอยและ อาจจะเกิดปมดอยดวย ที่ทุกครั้งที่ถูกพี่ใหญรังแกแทนที่จะพยายามพูดใหเขาใจซี่งกัน และกัน ความมีปมดอยก็ดี 58 59

93.

เรืองเดียวกัน, หน้ า 133. เรืองเดียวกัน, หน้ า 134 และสํานักนายกรัฐมนตรี , แนวคิดและการบริ หารงานของนายอานันท์ ปั นยารชุ น (เล่ม 1), หน้ า


หรือความที่มีลักษณะที่ละเอียดออนก็ดี ทําใหปญหาตาง ๆ ระหวางประเทศของเราทั้งสองนั้น แทนที่จะแกไขไดดี ๆ นั้นกลายเปนปญหาที่หนักมากขึน้ ๆ และถาจะดูจากประวัติศาสตรไทย ระหวางไทยกับลาวนั้น เรามีปญหากันมา ชานานทั้ง ๆ ที่เราเปนประเทศบานใกลเรือนเคียง เปนประเทศบานพี่เมืองนอง แตความสัมพันธในอดีตไมไดเปนผล สะทอนของคําพังเพยที่ผมพูดมา เราผานยุคหลายยุคหลายสมัย และเราผานหลายยุคหลายรัฐบาล รัฐบาลที่ทหาร ปกครองในเมืองไทย รัฐบาลที่มีอุดมการณขัดแยงกันระหวางไทยกับลาว ในขณะเดียวกัน ประเทศมหาอํานาจก็เขา มายุงเกี่ยวในกิจการภายในของประเทศในภูมิภาคนี้ดวย โดยเหตุผลทางประวัติศาสตร การลาอาณานิคมก็ดี หรือ การตอสูสิทธิทางการเมืองก็ดีมีเหตุพัวพันทําใหไทยเรานั้น ตกอยูในสภาพที่ไมสามารถกําหนดนโยบายกับ ลาวดวย ความอิสระ และลาวเองก็ไมไดอยูในฐานะที่จะกําหนดนโยบายของประเทศตัวเองดวยความอิสระ ปญหาตาง ๆ เหลานี้ที่ผมพูดมาเปนภูมิหลัง ทําใหผมมีความรูสึกวา เหตุไฉนประเทศของเราทั้งสองประชาชนทั้งสองซึ่งมีเชื้อสาย เชื้อชาติเดียวกัน มีความรวมกัน ในทางดานวัฒนธรรม ทางดานประวัติศาสตร ทางดานศาสนา ทําไมเรายังอยูกัน ไมได ในฐานะพี่นองและในฐานะเพื่อนบาน”60 นายกฯอานันทเห็นวาถาประเทศไทยสามารถที่จะฟนฟูความสัมพันธใหอยูบนพื้นฐานของความทัด เทียมกันอยูบ นพื้นฐานของ ความจริงใจ และอยูบนพื้นฐานของความเปนพี่นองที่แทจริงที่มีสายเลือดเดียวกัน ประโยชนที่เ ราจะไดรับ นั้น จะเปนประโยชนที่จะตก กับ ประชาชนไทย-ลาวทุกคน นโยบายที่รัฐบาลไดตั้งไวเกี่ยวกับ การตางประเทศที่ชวยสนับ สนุนสงเสริมใหมีการแกไขปญ หากัมพูชา ซึ่ง รัฐบาลเองมีความ คาดหมายวาสัญ ญาเกี่ยวกับ สันติภาพของกัมพูชานั้น จะลงนามได ณ กรุงปารีส ในปลายเดือนตุลาคม ปญหาความขัดแยงของฝาย ตางๆ ในกัมพูชา การแทรกแซงของตางชาติในกัมพูชา การสูรบระหวางฝายเขมรแดง กับฝายฮุนเซน ชาวกัมพูชาอพยพยายถิ่นมา อยูในดินแดนไทย เปนปญหาไมเฉพาะสําหรับประเทศไทยเทานั้น ซึ่งเปน ปญหาของสหประชาชาติดวย ทั้งนี้โดยการประสานงาน ของกระทรวงการตางประเทศของไทย ทําใหสามารถเชิญผูแทนของกัมพูชาทั้ง 4 ฝาย มารวมประชุมกันในเดือนมิถุนายนป พ.ศ. 2534 เรียกวา การประชุมคณะมนตรีสูงสุดแหงชาติกัมพูชา ประกอบดวยเจาสีหนุ ซอนซาน ฮุนเซน และเขมรแดง การประชุมทั้งสอง ครั้งสามารถขจัดปญหาขอขัดแยงตางๆ ได สวนเรื่องของการจัดระบบการเลือกตั้งในกัมพูชาในที่สุดก็สามารถหาขอยุติปญ หาดังกลาวได ในเดือนตุลาคม61 ในการประชุมคณะมนตรีสูงสุดแหงชาติกัมพูชานั้น จะมีการเตรียมการที่จะนําไปสูการประชุมระหวางประเทศที่กรุงปารีส วา ดวยกัมพูชาเปนการประชุมทั้งระดับ เจาหนาที่อาวุโส และการประชุมระดับ รัฐมนตรี โดยรัฐบาลฝรั่งเศสเปนผูจั ด ประชุม ซึ่งรัฐบาล ฝรั่งเศสเปนผูจัดประชุม โดยความสนับ สนุนขององคการสหประชาชาตินอกจากผูแทนของกัมพูชา 4 ฝายแลว ยังมีผูแทนของประเทศ สมาชิกถาวรของคณะมนตรีความมั่นคงแหงสหประชาชาติทั้ง 5 ประเทศ รวมถึงรัฐมนตรีวาการตางประเทศของไทยเขาประชุม การ ประชุมดังกลาวไดมีการแกไขเอกสารสําคัญ 4 ฉบับ คือ 1. ความตกลงวาดวยการยุติปญหากัมพูชาดวยวิถีทางทางการเมืองอยางสมบูรณแบบ 2. ความตกลงวาดวยอธิปไตย เอกราช บูรณภาพแหงดินแดน และการละเมิดมิได ความเปนกลาง และความเปน เอกภาพ แหงชาติกัมพูชา 3. ปฏิญญาวาดวยการบูรณะฟนฟูกัมพูชา 4. เอกสารความตกลงขั้นสุดทาย62 60

http://www.anandp.in.th/

61

เรืองเดียวกัน, หน้ า 135. เรืองเดียวกัน, หน้ า 136.

62


อาจจะกลาวไดวา การลงนามในขอตกลงสันติภาพกัมพูชาในครั้งนี้ ถือเปนการเริ่มศักราชใหมของความมั่นคงในภูมิภาคเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต ซึ่งทางรัฐบาลไทยก็ไ ดใหคํามั่นที่จะใหการสนับ สนุนกัมพูชาภายใต การนําของเจาสีหนุ และใหการสนับ สนุนตอแผน สันติภาพกัมพู ชา พรอมทั้งจะให ความชวยเหลือตอการดํ าเนิน งานของสหประชาชาติใ นการส งชาวกัมพูชากลับ คื นสูถิ่นฐานเดิมตาม แผนการของสหประชาชาติ รวมทั้งการชวยเหลือในการบูรณะฟนฟูกัมพูชาเพื่อใหกัมพูชาและประเทศอื่นๆ ในภูมิภ าคเอเชียตะวันออก เฉียงใตสามารถพัฒนาไปพรอมกัน อย า งไรก็ดี การประชุ มสัน ติ ภาพดั งกลาวยั ง ได กําหนดใหมี การเลือกตั้ง ทั่ว ไปในกั ม พู ชาภายใตก ารดูแ ลขององคก าร สหประชาชาติ หลัง จากที่ไ ดมีก ารทํ าขอ ตกลงสัน ติภาพกรุง ปารีส เจา สีห นุไ ดแ สดงการรับ รู ถ ึง บทบาทสรา งสรรคข องไทย ใหกับนานาประเทศไดรับทราบดวยการเชิญ รัฐมนตรีวาการตางประเทศของไทยไปเยือนกรุงพนมเปญ สิ่งเหลานี้สะทอนใหเห็นถึง บทบาทของรัฐบาลไทยในการเกื้อหนุนสันติภาพในกัมพูชา กระชับความสัมพันธใหแนบแนนยิ่งขึ้น63 นอกจากนี้แลวยังมีการจัดตั้งคณะกรรมการรวมวาดวยความรวมมือทางเศรษฐกิจ และวิชาการกับ เวียดนาม เสริมความเขาใจ อัน ดี กั บ รัฐบาลและประชาชนพม า ดั งในกรณี ของมาเลเซี ยและเวี ยดนามนั้น รั ฐบาลแก ไ ขป ญ หาเรื่อ งของการประมงซึ่ง มี ป ญ หา กระทบกระทั่งกันบอยครั้งทําใหรัฐบาลไทยไดรับความไววางใจดวยดีจากประเทศเพื่อนบานเหลานั้น รัฐบาลอานันทสมัยที่สอง: การเปนนายกรัฐมนตรีครั้งที่สอง การเปนนายกรัฐมนตรีครั้งที่ส องของนายอานันทป นยารชุนเกิด ขึ้นมาทามกลางบริบ ททางการเมืองคลายๆ กันกับ การเป น นายกรัฐมนตรีชว งกอ นหน านั้ น สภาพการณท างการเมือ งในช ว งเวลาขณะนี้ มี ความแตกต างจากสภาพการณครั้ ง กอ น เหตุ การณ พฤษภาคม 2535 จบลงดวยการที่ทหารจํานวนหนึ่งถูกสั่งการใหปราบปรามประชาชนที่รวมตัวประทวงอยู ณ ถนนราชดําเนินหลังจาก นั้นผูนําทั้งสองฝายคือพลตรีจําลอง ศรีเมือง และพลเอกสุจินดา คราประยูร เขาเฝารับ พระราชดํารัสจากพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ทรงมีพระราชประสงคใหทุกฝายเลิกเปนอริตอกัน เลิกเอาชนะตอกัน เพราะจะทําใหป ระชาชนเปนฝายแพ ไมกี่วันตอมาพลเอกสุจินดา ไดป ระกาศลาออกจากการดํารงตําแหนงนายกรัฐมนตรี โดยมีรัฐบาลชุดนี้มีอายุเพียง 47 วัน64 ในวันที่ 10 มิถุนายน 2535 มีพระบรมราชโองการโปรดเกลาแตงตั้งนายอานันท ปนยารชุนเปนนายกรัฐมนตรี ดังตอไปนี้ “โดยที่พลเอกสุจินดา คราประยูร ไดลาออกจากตําแหนงนายกรัฐมนตรีความเปนนายกรัฐมนตรีของพลเอกสุจินดา ครา ประยูร เปนอันสิ้นสุดลง และประธานสภาผูแทนราษฏรไดนําความกราบบังคมทูลพระกรุณาวา ไดดําเนินการตามวิถีท าง ในระบอบประชาธิปไตยแลว จึงทรงมีพระราชดําริวา นายอานันท ปนยารชุน เปนผูสมัครควรไววางพระราชหฤทัยให ดํารงตําแหนงนายกรัฐมนตรี”65 อยางไรก็ดี การเสนอชื่อนายอานันท ปนยารชุนเปนนายกรัฐมนตรีครั้งที่สองนี้เนื่องจากเห็นวานายอานันทจะสามารถแกไข สถานการณ และฟนฟูสภาพการณที่วุนวายเหลานี้ใหผานพนไปได ดังคํากลาวของนายอาทิตย อุไรรัต น ประธานสภาผูแทนราษฏร ได ออกคําแถลงการณดังนี้ “ฝายที่ประพฤติปฏิบัติตามกฏเกณฑมีเสียงขางมากถูกกลาวหาวาขาดความชอบธรรมทางการเมือง ในขณะที่อีกฝายที่ ถือวาตนเองมีความชอบธรรมทางการเมืองก็ไมสามารถสรางเสียงขางมากในกระบวนการรัฐสภาได ภายใตภาวะการณ เช นนี้ สถาบันรัฐ สภาจํา ตองยึ ดถื อทางออกตามกระบวนการรั ฐสภา นั่น คือมุง หาวิ ธีการในการคื นอํา นาจกลับ ไปให ประชาชนเพื่อการตัดสินใจใหมอีกครั้งหนึ่ง ซึ่งในการดําเนินกรรมวิธีเชนนี้ จําเปนจะตองมีรัฐบาลรักษาการชั่วคราว เพื่อ จัดการเลือกตั้ง และเพื่อคงความเปนกลางทางการเมืองเอาไวใหไดดีที่สุด ไมเพียงการสรรหาตัวบุคคลที่ไมไดสังกัด พรรค 63

เรืองเดียวกัน, หน้ า 137. เรืองเดียวกัน, หน้ า 193. 65 เรืองเดียวกัน, หน้ า 195. 64


การเมืองใด ยังรวมไปถึงความเปนกลางที่ ไมต กอยูภายใตอํานาจอิท ธิพลการเมืองนอกรูปแบบอื่ นๆ อีกดวย ดวยเหตุ นี้ กระผมจึงไดตัดสินใจกราบบังคมทูลเสนอชื่อ คุณอานันท ปนยารชุน เขามารับตําแหนงนายกรัฐมนตรี เพื่อใชอํานาจหนาที่ใน ฐานะประมุขฝายบริหารดําเนินการจัดตั้งรัฐบาลรักษาการ เพื่อที่จะผลักดันใหกระบวนการทางรัฐสภาไดดําเนินตอไปอยาง เปนกลางที่สุด”66 นอกจากนี้แลว เกิดการเรียกรองใหรัฐบาลอานันทสองจัดการหรื อมีมาตรการจัดการกับ กลุมทหารคนสําคัญ ที่เ กี ่ยวของกั บ เหตุการณ นองเลือดในเดือนพฤษภาคมที่ ผานมา นอกจากนี้ ยังมีการเร งรัดใหรัฐ บาลจัดการแกปญ หา รวมถึงบรรดาญาติ วีรชนเดือน พฤษภาก็รองเรียนหาผูที่จะมารับผิดชอบกับ ผูคนที่เสียชีวิต ในขณะที่สื่อมวลชนเองตั้งคําถามเกี่ยวกับ มารการจัดการกับ ผูนํา รสช ที่มี บทบาททําใหเกิดกรณีนองเลือดดังกลาว ในการแกไขปญ หาครั้งนี้ รัฐบาลอานันทไ ดถูกตั้งขอสังเกตุจากประชาชนทั่วไปวานิ่งเฉยหรือ เพิกเฉยตอขอเรียกรองตางๆ แตในเวลาลวงมา 51 วันหลังจากไดเปนรัฐบาล ไดมีป ระกาศสํานักนายกรัฐมนตรีเรื่อง “ใหนายทหารรับ ราชการ” โดยมีนายกรัฐมนตรีเปนผูลงนามรับ สนองพระบรมราชโองการ นายทหารระดับสูงที่มีบทบาทใน รสช ถูกเปลี่ยนแปลงบทบาท และตําแหนงจากการเปนฝายที่คุมกําลัง มาเปนฝายที่ไมคุมกองกําลัง อาจจะกลาวไดวา การประกาศดังกลาวเปนการปลดชนวนทาง ทหารครั้ งใหญที่ทํ าให นายทหารที่เ กี่ยวของกับ เหตุ การณนองเลื อดถู กถอดถอน อี กทั้งยัง ชวยเรีย กความเชื่อ มั่ นของประชาชน และ สื่อมวลชนที่มีตอรัฐบาลอานันทกลับคืนมาอีกครั้ง67 อยางไรก็ต าม การจัดการกับ บรรดานายทหารที่เกี่ยวของกับ เหตุการณดังกลาวนี้ ถือเปนการแสดงความกลาหาญในแงของ จริยธรรมที่กลาเผชิญ กับ กลุมอํานาจที่เขมแข็ง ดังคํากลาวของนายกฯ อานันทกลาววา “เราไมควรประนีป ระนอมในเรื่องของควาชอบ ธรรมและไมชอบธรรม ความถูกต องและความไมถูกตอง แตเราอาจมีขอคิด อยูวา ประนี ป ระนอมได ในเรื่องของวิธ ีการและเรื่องของ จังหวะเวลา”68 รัฐบาลอานันทหนึ่งก็แสดงบทบาทในการดําเนินนโยบาย “โปรงใส” ในหลายกรณีดังที่ไดกลาวมาแลวขางตน และในการเปน รัฐบาลอานันทสองยังคงนโยบายเชนเดิมดังจะเห็นไดจาก กรณีโรงกลั่นเหลาซึ่งขอเท็จจริงของการซื้อขายโรงกลั่นเหลาเปนกระบวนการ สืบ เนื่ องมาตั้งแตป พ.ศ. 2522 มี ค วามเกี่ยวพั นกั บ หน วยงานต างๆ หลายแหง ทั้ ง ในและต างประเทศ จนกระทั้ ง สามารถสรุ ป การ สอบสวนของ ปปป. ออกมายืนยันอยางชัดเจนถึงสองดวยกันวา โครงการดังกลาวของรัฐบาลอานันทซึ่งในครั้งนี้ไมป รากฏการทุจริ ต หรือ ดําเนินการใดๆ ที่สอเคาถึงความไมโปรงใส ในเวลาไมนานนัก รัฐบาลอานันทสองไดหมดวาระลงพรอมกับ การจัดการเลือกตั้งครั้งใหมขึ้นมา ผลปรากฏวานายชวน หลีกภัย ไดเขามาดํารงตําแหนงนายกรัฐมนตรีตอนายอานันท นับเปนการสิ้นสุดการบริหารงานของคณะรัฐบาลที่ไดฉายาทั้งสองสมัยการปกครอง วา “รัฐบาลโปรงใส” ภายใตการนําของนายอานันท ปนยารชุนเปนนายกรัฐมนตรี อาจจะกลาวไดวานายกฯ อานันทมีลักษณะที่เห็นไดชัดเจนในการทํางาน การวางตัวอยู 9 ประการดวยกันคือ 1. การเปนผูมีวิสัยทัศน 2. เปนคนตรงไปตรงมา 3. ทํางานโดยมุงสูผล เนนไปที่ผลงานเปนสําคัญ 4. กลาตัดสินใจ 5. เปนคนประณีประนอม 6. เนนการทํางานเปนทีม 7. มีความเปนผูนําสูง 66

เรืองเดียวกัน, หน้ า 195-196. เรืองเดียวกัน, หน้ า 199. 68 เรืองเดียวกัน, หน้ า 202. 67


8. โปรงใส 9. เปนคนที่ทํางานแบบมียุทธวิธ69 ี ทั้ง 9 ประการนี้ลวนแลวแตเปนคุณลักษณะของนายกฯ อานันทที่ปรากฏใหเห็นในการเปนผูนําคณะรัฐบาลทั้งสองสมัยซึ่งเห็น ไดอยางชัดเจนจากผลงานที่รัฐบาลไดสรางไว การดําเนินนโยบายขอรัฐบาลอานันทในชุด ที่สองนี้มีนโยบายที่ดําเนินสอดคลองกับ นโยบายรัฐบาลอานันทชุดที่ หนึ่ง ดังคํ า กลาวสุนทรพจนที่นายกฯ อานันทกลาวไวในการสัมมนาเรื่อง “ฟนฟูเศรษฐกิจไทยอยางไร” ณ ศูนยการประชุมแหงชาติสิริกิติ์วา “... ผมทบทวนสั้นๆ วารัฐบาลชุดที่แลวของผมไดทําอะไรไปบาง เพราะในวันนี้พวกทานทั้งหลายจะตองสานตอ นโยบายและแนวทางที่รัฐบาลของผชุดกอนไดวางไว นโยบายหลักที่รัฐบาลจของผม (นายกฯ อานันท) ในชุดที่แลว ไดวางไวมีหลายประการ ประการแรกในดานเศรษฐกิจ โดยใหเอกชนเปนผูนํา และเปน ผูที่มีบ ทบาทในเรื่องของการ ผลิต การคา การเงิน และการลงทุน ภาครัฐบาลทําหนาที่เปนแตผูสงเสริมและผูสนับสนุน เปลี่ยนบทบาทจากการ ควบคุมในอดีตมาเปนการกํากับดูแล ประการที่สองมุงแกไขเรื่องความเหลื่อมล้ําของรายได และความเจริญระหวาง สวนกลางกับสวนภูมิภาค โดยเฉพาะอยางยิ่งเกษตรกรยากจนในชนบท ประการที่สามดําเนิน การใหระบบเศรษฐกิจ มีการแขงขันอยางเปนธรรมโดยรัฐบาลจะไมเขาไปกอหรือสนับสนุนใหเกิดระบบผูกขาด ประการที่สี่ จัดระบบการ จัดเก็บภาษีใหเปนธรรม มีความงายและความสะดวกมากขึ้น ตอผูเสียภาษี ประการที่หา เสริมสรางใหฐานการผลิต ตางๆ มีประสิทธิภาพสูง สามารถแขงขันกับตลาดโลกได ภาครัฐบาลตองสนับสนุน ใหมีการลงทุนในดานสิ่งอํานวย ความสะดวกขั้ น พื้ น ฐานให เ พี ย งพอ ประการสุ ด ท า ย เรื่ อ งของสิ่ ง แวดล อ ม และคุ ณ ภาพชี วิ ต ของคนไทย โดยทั่วไป”70 ความสัมพันธกับสถาบันพระมหากษัตริย รัฐบาลอานันททั้งสองสมัยนั้นนโยบายสวนใหญเปนไปในทางการเมือง เศรษฐกิจ เปนสวนใหญ อยางไรก็ตามนายกฯ อานันท กลาวเสมอวา รัฐบาลจะตองตอบแทนและจงรักษภักดิ์ดีตอ พระมหากษัต ริ ยอยางมั่นคงอั นเนื่องมาจากการสั่งสอนจากเจาคุณปรีชานุ สาสนผูเปนบิดาวา “ทุกสิ่งทุกอยางที่ไดมีอยูในปจจุบันก็เนื่องมาจากในหลวงทั้งนั้น”71 ทั้งนี้สืบ เนื่องมาจากตระกูลของนายกฯ อานันท เป นขุ นนางทํ างานในสมั ยรัช กาลที่ 6 เปนตน มาจนถึง ยุคเปลี่ ยนแปลงการปกครอง สิ่ง เหล านี้ สะทอ นให เห็ นถึงความซื่อสัต ยและ จงรักภักดีของตระกูลปนยารชุนที่มีตอพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ภาพที่นายกฯ อานันทมองเห็นมาตลอดคือการที่ผูเปนบิดาอุทิศ ตัวรับใชพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวรัชกาลที่ 7 ดวยการบุกปาฝาดงไปบุกเบิกกอตั้งโรงเรียนมหาดเล็กหลวงที่เชียงใหม จนทําใหผูเปน บิดาปวยเปนไขมาลาเรียเรื้อรัง ปลูกฝงความรูสึกอุทิศตนเพื่อผลประโยชน ของการศึก ษา ชาติ นอกจากนี้ แ ล ว การที่รั ช กาลที่ 6 ได พระราชทานนามสกุ ล “ป น ยารชุน ”72 ที่ ผู เปนบิดาระลึกถึงพระมหากรุณาธิคุณเสมอ ไดสรางความรูสึกจงรักภักดีอยางสูงตอสถาบัน พระมหากษัตริย อยางไรก็ตาม เมื่อพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวรัชกาลที่ 9 เสด็จพระราชดําเนินเยือนสหรัฐอเมริกา นายกฯ อานันทในขณะ นั้นเปนเอกอัครราชทูตไทยประจําสหรัฐอเมริกาไดถวายการรับ ใชตอพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวนับตั้งแตวันแรกของการเสด็จพระราช 69

เรืองเดียวกัน, หน้ า 267-269. สํานักนายกรัฐมนตรี , แนวคิดและการบริ หารงานของนายอานันท์ ปั นยารชุน (เล่ม 2), หน้ า 30. 71 ประสาร มฤคพิทักษ์และคณะ, อานันท์ ปั นยารชุน: ชีวิต ความคิดและการงานของอดีตนายกรัฐมนตรี สองสมัย , หน้ า 70

11. 72

เรืองเดียวกัน, หน้ า 10.


ดําเนินฯ จนกระทั้งเสด็จฯ กลับ แมแตกระทั้งไดเขามาดํารงตําแหนงทางการเมืองในฐานะนายกรัฐมนตรี นายกฯ อานันทกลาวเสมอวา การบริหารบานเมืองที่ดีก็เ ทากับ วาเปนการกระทําที่ชวยชาติบานเมืองและแสดงถึงความจงรักภักดีตอพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว อยางดีที่สุด73 สุนทรพจนของนายกรัฐมนตรีอานันท ปนยารชุน การสร างใหระบอบประชาธิป ไตยใหเขม แข็งนั้นนายกฯอานันทมองวา วิธีก ารทํา งานที่ เปดเผยตอ สังคมจะชวยเปด ทางให ประชาชนไดเขามารวมกันวิพากษวิจารณ รวมกันชี้แนะ รวมถึงการรวมการพัฒนาประเทศไปดวยกัน ไมใชแคเปนเพียงหนาที่ของคนไมกี่ คน ไมกี่กลุมเทานั้นที่สามารถพัฒ นาประเทศ การเปนรัฐบาลถึงสองครั้งสองครานี้แนวคิด ตางๆของนายกอานันทที่เกี่ยวของกับ สังคม การเมือง เศรษฐกิจนั้นเปนที่นาสนใจดังจะเห็นไดจาก แนวคิดและวาทะทางการเมืองเรื่องการทํางานของรัฐบาล รัฐบาลอานันทมีชื่อวาเปนรัฐบาลที่มีวิธีการทํางานแบบโปรงใส สามารถตรวจสอบได จนสื่อมวลชนเรียกขานรัฐ บาลชุด นี้วา “รัฐบาลโปรงใส” “ในสังคมสมัยใหม การไดขาวสาร การไดขอมูล การเปด โอกาสใหมีการติเ ตียนวิจารณ เปนสิ่งที่เปนประโยชนแกสังคม ในระยะสั่นเราอาจจะมองเห็นวาเราไมไดรับ ความเปนธรรม หรือมีการปายสี ทําใหภาพพจนเราเสีย แตเ ปนเรื่องที่เ รา จะตองยอมรับ เพราะเปนสวนหนึ่งของการพัฒนาระบอบประชาธิปไตย”74 “รัฐบาลนี้เปนรัฐบาลโปรงใส จะทําอะไรตองใหรับ รูกันทั่ว ไมใชนายกรัฐมนตรีสั่งตูมแลวจะได”75 แนวคิดและวาทะเรื่องการเมือง เกี่ยวกับนักการเมือง ดังจะเห็นไดจากการวิพ ากษการเมืองและนักการเมือง ทานมองวาการซื้อเสียงหรือการคดโกงในการเลือกตั้งนั้น สวนใหญมา จากเจาหนาที่ทั้งของราชการ และทั้งของพรรคการเมือง นอกจากนี้แลวนั้น ในสวนของการระบบปกครองที่ป ระเทศไทยกลาวอางวา ดําเนินตามแบบประชาธิปไตยนั้น ทานก็ยังแสดงมุมมองตอเรื่องดังกลาวไววา “ในการปกครองตามระบอบประชาธิปไตย จําเปนที่จะใหความเชื่อมั่นแกบ ุคคลรุนหนุมสาว ใหคนเหลานี้ ซึ่งมี ความรู มี คุณธรรม มีความชอบธรรม เขามาอยูใ นวงการเมืองมากขึ้ น เปนอาชีพที่ถาวรซึ่งสามารถวางแผนชีวิตไดในเรื่องของ การเมือง โอกาสที่จะไดคนดีมาอยูในวงการเมืองก็ไดมากขึ้น”76 “ถาคนมีความเชื่อถือในรัฐบาล เชื่อถือในสภาแลว โอกาสที่ใครก็ตามจะมีอาวุธหรือไมมีอาวุธจะมากาวกายนอยมาก”77 “การเลือกตั้งไมไดอยูที่กฏหมายอยางเดียวแตอยูที่จิตสํานึกของประชาชนดวย”78 แนวคิดและวาทะของนายกฯ อานันท เกี่ยวกับอาชีพนักการเมือง 73

เรืองเดียวกัน, หน้ า 48. 74 นักข่าวอาวุโส, การบริ หารสไตล์โปร่งใสของนายอานันท์ ปั น ยารชุน (กรุ งเทพฯ: บริ ษัท สารมวลชนจํากัด , 2535), หน้ า 60. 75

เรืองเดียวกัน, หน้ า 44. เรืองเดียวกัน, หน้ า 21. 77 เรืองเดียวกัน, หน้ า 23. 78 เรืองเดียวกัน, หน้ า 24. 76


ในทัศนะของนายกอานันทเห็นวาการเปดโอกาสใหกับ คนรุนใหมเขามามีสวนรวมในการเมืองการปกครองโดยมองวาการเขามาใน ตําแหนงนั กการเมื องนั้ นเป น “อาชีพ” ไมใชเข ามาเพื่อ “เลนการเมือง” การเปนอาชีพนั่ นก็หมายถึงการมี ความรู ความสามารถ รวมถึงการมี จรรยาบรรณ และจริยธรรมของอาชีพนักการเมืองดวยเชนกัน วา “ถาจะเสริมสรา งระบอบประชาธิป ไตย ก็ตอ งคิด วาจะทําอยางไรใหคนหนุมสาวมีความสนใจและเลือ กการเมืองเป น อาชีพ มีคนเคารพและนิยมมากขึ้น”79 “ถาตองการรัฐบาลที่ดีมีคุณภาพ ตองเลือก ส.ส. ที่ดีมีคุณภาพดวย”80 “ถาเราสรางระบบใหดีกวานี้ ความจําเปนที่จะตองเลือก ส.ส. ที่มีคุณภาพ ไมโกงกิน เลือก ส.ส. ที่หวังผลประโยชนของ ชาติเปนใหญ ไมใชประโยชนสวนตัว อันนี้เปนสิ่งที่เราทุกคนไมวาจะเปนรัฐบาล สื่อมวลชนและกระบวนการตางๆ ตอง เขารวม”81 แนวคิดและวาทะของนายกฯ อานันท เกี่ยวกับการเลือกผูที่มาทําหนาที่เปนผูแทนราษฎร นายอานันทมองวาการเลือกผูที่มาทําหนาที่ในการเปนตัวแทนใหกับ ประชาชนนั้น นายกฯ อานันทยังมองวา ถาประเทศไทย สรางระบบใหดีกวานี้ ความจําเปนที่จะตองเลือกส.ส.ที่มีคุณภาพ ไมโกงกิน เลือกส.ส.ที่หวังผลประโยชนของชาติเปนใหญ ไมใชประโยชน สวนตัว ซึ่งสิ่งเหลานี้เปนสิ่งที่คนไทยทุกคนไมวาจะเปนรัฐบาล สื่อมวลชนและกระบวนการตางๆ ตองเข ามารวมบอยครั้งที่จะเห็นคํา กลาวของทานเชน “การเลือกตั้งไมไดอยูที่กฏหมายอยางเดียว แตอยูที่จิตสํานึกของปะชาชนดวย”82 “ถาคนไทยยังเลือกส.ส.ไมดี ก็อยาโทษใครตองโทษตัวเอง ส.ส.ที่ดีนั้นยังมีอีกมาก และบุคคลที่มาเลนการเมืองใหมๆ ก็มี มาก คนไทยก็นาสงเสริมระบบพรรคการเมือง และระบอบประชาธิปไตยใหยั่งยืนถึงอนาคต”83 แนวคิดและวาทะของนายกอานันทเกี่ยวกับเศรษฐกิจ ทิศทางของการบริหารประเทศในดานเศรษฐกิจที่เห็นไดชัดเจนคือ ระบบการคาเสรีที่นายกฯ อานันทพยายามผลักดั นใหเ กิด โดยการปรับปรุงในแงของระบบภาษีอากร สงผลใหสอดคลองกับ ความรวมมือในภูมิภาคในเรื่องเขตการคาเสรีอาเซียน ซึ่งจะสามารถ รวมกลุมในการตอรองกับภูมิภาคอื่นๆ ได “ระบบเศรษฐกิจเสรี ระบบเศรษฐกิจที่รัฐมีบ ทบาทนอยลงไป ระบบเศรษฐกิจที่เปด ระบบเศรษฐกิจที่แขงขัน ระบบ เศรษฐกิจที่ไมมีการผูกขาด ระบบเศรษฐกิจที่มีการตรวจตราได ระบบเศรษฐกิจที่มีกระบวนการตัด สินใจที่แนชัดและ โปร งแจ ง และระบบเศรษฐกิจ ที่เอกชนเป นผูนํ าและเปนแกนนํ านั้ นเป นระบบเศรษฐกิ จที่ ดีที่สุด และจะเปนระบบ เศรษฐกิจที่นําผลประโยชนใหกับรัฐใหกับ ประชาชนมากที่สุด และระบบเศรษฐกิจนี้ไมวาจะมีเ รื่องการเมือง หรือสะดุง

79

เรืองเดียวกัน, หน้ า 23. เรืองเดียวกัน 81 เรืองเดียวกัน, หน้ า 25. 82 เรืองเดียวกัน, หน้ า 24. 83 เรืองเดียวกัน, หน้ า 22. 80


เรื่องอะไรตออะไร ระบบเศรษฐกิจนี้ไมวาจะมีเรื่องการเมือง หรือสะดุงเรื่องอะไรตออะไร ระบบเศรษฐกิจนี้จะตองอยู ตลอดไป เพราะถาเราไมมีระบบเศรษฐกิจนี้แลว เราจะไมมีเงินไปแกปญหาสังคม”84 “การแขงขันโดยเสรีก็ดี การไมมีสิทธิผูกขาดก็ดี เปนการกระทําเพื่อผลประโยชนของผูบ ริโภคของสังคมไทย โดยเฉพาะ ผูบ ริโภคของสังคมไทยคือใคร คือประชาชนสวนใหญ”85 “การจัดระบบแขงขันเสรีเปนการเตรียมการใหสังคมไทยนําไปสูสังคมทันสมัย และเปนธรรมมากขึ้น สามารถแขงขั นกับ ตางประเทศได”86 แนวคิดและวาทะของนายกอานันท เกี่ยวกับเรื่องการทําหนาที่เปนนายกรัฐมนตรี นายกฯ อานัน ท ไ ด กล าวเป ด ใจว า การที่ตนเองไดดํารงตําแหนงนายกรัฐมนตรีนี้ไมใชเ รื่องงาย โดยเฉพาะการเปนนายกฯ ไทย ในขณะเดียวกันก็ไ มใชเรื่องที่นาภาคภูมิใจ มากมายนักเพราะวาอาชีพของทานไมใชเปนนักการเมือง ซึ่งทานกลาววา “นายกฯไมใชคนวิเศษ นายกฯ ไมจําเปนตองรูทุกเรื่อง นายกฯ แกปญหาทุกเรื่องไมได ไมอยางนั้นจะมีรัฐมนตรีอื่นๆ ไว ทําไม มีขาราชการประจําอีกมากมาย อธิบดีตั้งอีก 200 เอาไวทําไม”87 “คุณไมนาสนใจวาผมเปนรัฐบาลที่ไมชอบธรรม คุณนาจะสนใจวาสิ่งที่ผมทํามา... มีอะไรบางที่ไมชอบธรรม”88 “การเปนนายกรัฐมนตรีไมใชของงายโดยเฉพาะการเปนนายกฯ ไทย”89 “ขอใหทุกทานอยามองผมวาเปนนายกฯ แตขอใหมองผมเปนนายอานันท อานันท หรือคุณอานันท จะทําใหผมมีความ ภูมิใจ และความสัมพันธจะยั่งยืนกวาการเปนนายกรัฐมนตรี เพราะตําแหนงนายกรัฐมนตรี เปนอุบ ัติเ หตุทางการเมือง และไมใชอาชีพของผม”90 สิ่งเหลานี้แสดงใหเห็นถึงความตองการที่พยายามชี้ใหสังคมเปลี่ยนทาทีในการมองและวิพ ากษรัฐบาล โดยเนนใหวิเคราะหจาก ผลงานที่ปรากฏเปนสําคัญ เอกสารแนะนําใหอานเพิ่มเติม เอกสารที่เกี่ยวของกับชีวิต การทํางานของนายอานันท ปนยารชุนที่นาสนใจสามารถแบงออกเปน 4 กลุมดวยกันคือ เอกสารกลุมที่หนึ่งคือ เอกสารเรื่องชีวิต ความคิด และการงานของนายอานันท ปนยารชุนดังเชน หนังสือเรื่ อง อานันท ปนยา รชุน: ชีวิต ความคิดและการงานของอดีต นายกรัฐมนตรีสองสมัย โดยประสาร มฤคพิทักษและคณะ ในเลมนี้ไดกลาวถึงความเปนมา 84

เรืองเดียวกัน, หน้ า 54. 85 เรืองเดียวกัน, หน้ า 55. 86 เรืองเดียวกัน, หน้ า 50-51. 87 เรืองเดียวกัน, หน้ า 167. 88 เรืองเดียวกัน, หน้ า 166. 89 เรืองเดียวกัน, หน้ า 167. 90 เรืองเดียวกัน, หน้ า 164.


ของครวบครัวปนยารชุน รวมถึงชีวิตในวัยเด็ก การศึกษา ทัศนคติในการใชชีวิต การมองโลก รวมถึงการกาวสูวงการตางประเทศ ธุรกิจ และการเมืองในเวลาตอมา นอกจากนี้ยังไดกลาวถึงบริบ ทที่ผลักดนใหนายอานันท ปนยารชุนเปนนายกรัฐมนตรีของไทยถึงสองสมัยไว อยางละเอียด เอกสารกลุมที่สองคือ สุนทรพจนของนายกฯอานันทที่มีตอสาธารณะ รวมถึงหนังสือพิมพตางๆ อาทิ คมวาทะนายอานันท ปน ยารชุ น: คนดีที่สัง คมยั งตองการ โดยไพโรจน อยูมนเฑียร เปนผูรวบรวมวาะตางๆ ของนายอานันทโดยที่แบง วาทะตางๆ ออกเป น หมวดหมูอยางนาสนใจ เชน วาทะเรื่องการเมือง เศรษฐกิจ ระบบราชการ ระบอบประชาธิป ไตย การศึกษา เปนตน ซึ่งไดสะทอนทัศนะ ของนายอานันทในทุกแงมุมไดเปนอยางดี เอกสารกลุมที่สามคือ เปนเอกสารที่กลาวถึงวิธีการทํางานของรัฐบาลอานันท รวมถึงนโยบายและผลงานตางๆ ของรัฐบาล อานันทไดดําเนินการไวอยางละเอียดซึ่งสามารถอานรวมกับ เอกสารชุด ที่หนึ่ง แตจะแตกตางกันตรงประเด็นเกี่ยวที่เอกสารชุด ที่สามนี้ เนนในเรื่องของการบริหารงานของนายกฯ อานันทและรัฐบาลเปนสําคัญ อาทิ เรื่องการบริหารสไตลโปรงใสของนายอานันท ปนยารชุน ของนักขาวอาวุโส และ แนวคิดและการบริหารงานของนายอานันท ปนยารชุนทั้งเลมที่ 1 และ 2 โดยสํานักนายกรัฐมนตรี เอกสารกลุมที่สี่คือ ขอมูลจากอินเตอรเน็ต เปนเว็บไซดที่เกี่ยวกับนายอานันท ปนยารชุน เนื่อหาในเว็บ ไซดดังกลาวคือ ประวัติ ครอบครัวปนยารชุน รวมถึงประวัติของนายอานันทและครอบครัว ประวัติการศึกษา บทบาทและกิจกรรมทั้งวงการธุรกิจ และการเมือง นอกจากนี้ยังมีการรวบรวมปาถกฏาในโอกาสตางๆ ของนายอานันทไวดวยเชนกัน เว็บ ไซดดังกลาวคือ http://www.anandp.in.th/ รายชื่อหนังสือเพิ่มเติม จิตติมา คุปตานนท. ภาษีอากรในยุครัฐบาลนายอานันท ปนยารชุน. กรุงเทพฯ: โรงพิมพมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, 2535 จิต ติม า คุ ป ตานนท แ ละคณะ. รัฐ วิสาหกิ จในยุ ค รัฐ บาลอานันท ป นยารชุน . รั ฐวิ สาหกิจดา นการขนส ง และการคมนาคม. กรุงเทพฯ: โรงพิมพมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, 2535 นักขาวอาวุโส. การบริหารสไตลโปรงใสของนายอานันท ปนยารชุน. กรุงเทพฯ: บริษัทสารมวลชนจํากัด, 2535 ประสาร มฤคพิทักษและคณะ. อานันท ปนยารชุน: ชีวิต ความคิดและการงานของอดีต นายกรัฐมนตรีสองสมัย. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพอมรินทร, 2541 ไพโรจน อยูมณเฑียร. คมวาทะนายอานันท ปนยารชุน: คนดีที่สังคมยังตองการ. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพแสงดาว วิมลรัตน สุขเจริญ. ภาครัฐบาลในยุครัฐบาลนายอานันท ปนยารชุน. กรุงเทพฯ: โรงพิมพมหวิทยาลัยธรรมศาสตร, 2536 สํานักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี. งานรัฐบาลอานันท ปนยารชุ (เลมที่ 1). กรุงเทพฯ: เจ.ฟลม โปรเซส, 2535 สํานักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี. งานรัฐบาลอานันท ปนยารชุ (เลมที่ 2). กรุงเทพฯ: เจ.ฟลม โปรเซส, 2535 สํ า นั ก เลขาธิ การนายกรั ฐมนตรี . แนวคิ ด และการบริ หารงานของนายอานั น ท ปน ยารชุ น (เล ม 1). กรุ ง เทพฯ: สํ า นั ก นายกรัฐมนตรี, 2534. สํ า นั ก เลขาธิ การนายกรั ฐมนตรี . แนวคิ ด และการบริ หารงานของนายอานั น ท ปน ยารชุ น (เล ม 2). กรุ ง เทพฯ: สํ า นั ก นายกรัฐมนตรี, 2534. สํานักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี. ภาพลอในหนังสือพิมพรัฐบาลอานันท ปนยารชุน. กรุงเทพฯ: โรงพิมพกรุงเทพ, 2535 สําเริง คําพะอุ. วิกฤตตุลาการ. กรุงเทพฯ: ยูโรปาเพรส, 2536 สุลักษณ ศิวรักษ. วิพากษ รสช. ลอกคราบนายอานันท ปนยารชุน. กรุงเทพฯ: ธีรพงศการพิมพ, 2535 อาริยา สินธุจริยวัตร. อานันท ปนยารชุน. กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิช, 2545


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.