ผลงาน ปี พ.ศ. ๒๕๕๐ - ๒๕๕๓ บริษัท หยกทองทวี จำ�กัด
1
หยกงาม อันเหล่าสัตบุรุษทั้งหลายใช้ เปรียบคุณลักษณะของบุคคล อบอุ่นนุ่มนวล คือ เมตตาธรรม เข้มแข็งแกร่งกร้าวหากถือหลักเหตุผล คือปัญญารอบรู้ ยืนหยัดไม่ระย่อ คือ คุณธรรม มีขอบคม แต่ไม่ทำ�ร้ายผู้คน คือ ความประพฤติที่ชอบ ยอมหักไม่ยอมงอ คือ หาญกล้า มีตำ�หนิที่มองเห็นได้ ไม่ปิดบังซ่อนเร้น คือ สัตย์ซื่อ เมื่อกระทบ เสียงสดใสดังกังวาน ก้องไปไกล ต่อหยุดยั้ง ชะงักหายในทันใด คือวาจาเอื้อนเอ่ยอันเป็นเอก จากตำ�ราฝ่าสิง ว่าด้วยการกำ�หนดกฎเกณฑ์ โดยสวินจื่อ “When I think of a wise man, he seems like jade. Wise men have seen in jade all different virtues. It is soft, smooth and shining like kindness. It is hard, fine and strong like intelligence. It edges seem sharp but do not cut, like justice. It hangs down to the ground like humility. When struck, it gives a clear, ringing sound, like music. The stains in it, which are not hidden and which add to its beauty, are like thoughtfulness. Its brightness is like heaven while its firm substance, born of the mountains and the waters, is like the earth. That is why wise men love jade.” Quoted by Joan M. Hartman, in Chinese Jade of Five Centuries, from the Shih-ching (Book of Poetry), c. AD 800
2
3
ติดต่อ Address บ.หยกทองทวี จำ�กัด
สาขาใหญ่ : 17-17/1 ถ.พหลโยธิน อ.แม่สาย จ.เชียงราย 57130 Main Branch :17-17/1 Paholyothin Rd. Maesai Chiangrai Thailand 57130 Contact : 053-731-013 , 053-732-022 Mobile : 081-530-4457 โรงงาน : 33 หมู่ 9 บ้านจ้องซอย 4 ถ.พหลโยธิน บ้านจ้อง ต.โป่งผา อ.แม่สาย จ.เชียงราย 57130 Contact : 053-647-041 สาขา กทม. : ห้อง 303 ชั้น 3 อาคาร จีเวลรี่เทรดเซนเตอร์ 919/1 ถ.สีลม แขวงสีลม เขตบางรัก กทม. 10500 Bangkok Branch : Room 303 3rd Floor Jewelry Trade Center Silom Rd. Bangruk Thailand 10500 Contact : 02-630-1810 ext. 303 Mobile : 0831-483-4761 Email Address :
thongtavee@hotmail.com thongtavee@gmail.com
สารบัญ Content เกริ่นนำ� Preface
หยก เนฟไฟร์ท หยกขาว อาลาบาสเตอร์ White Jade Alabastor Nephrite
หยก เจดไดท์ Jadeite
วัตถุดิบอื่นๆ Other Materials 4
สร้างสรรค์ ด้วย ศรัทธา Creation with Faith 5
6
7
ขั้นตอนการทำ�งานแกะสลัก Steps of Working 8
9
ขั้นตอนการทำ�งานต้นแบบ Prototype Working
การทำ�งานขึ้นต้นแบบจาก ดินเหนียว หรือ ดินน้ำ�มัน โดยช่างปั้น เพื่อให้ลูกค้าทำ�การตรวจสอบความถูกต้อง หลังจากนั้นจะทำ�การแบบสำ�หรับหล่อเรซิ่น เพื่อใช้เป็นต้นแบบ ในการวัดขนาดเท่าจริง หรือ ย่อ ขยาย เพื่อหลีก เลี่ยงความผิดพลาด ก่อนจะเริ่มทำ�การการแกะสลักจริง
10
11
12
13
ขั้นตอนการแกะสลัก Carving Steps
การแกะสลักแบ่งเป็น สามขั้นตอนหลัก ขั้นตอนตัด หลังจากวัดขนาดตรงตามต้นแบบแล้ว จะทำ�การตัดใหญ่ และตัด ย่อย ตามส่วนต่างๆ หลังจากนั้นจะเป็น ขั้นตอนเจียรหยาบ ละเอียด และเก็บ รายละเอียด เช่นเดียวกันกับ การขัดเงา ขัดเงาหยาบ เป็นการเตรียมพื้นผิว ให้ เรียบ และขัดเงาละเอียด ให้เนียนเหมาะแก่การ ขัดชักเงาซึ่งแบ่งเป็นอีกสามขั้น ตอนย่อยเช่นเดียวกันคือ ชักเงาหยาบ ละเอียด และเก็บงาน ในท้ายสุด
14
15
ความเป็ พนั กงานนมา และ ทีมงาน Working ของ บ.หยกทองทวี Staff
16
แม่สายอำ�เภอเล็กๆ เหนือสุดของประเทศไทย มีพรมแดนเชื่อมต่อกับประเทศสหภาพพม่า ด้วยเพียง ลำ�น้ำ�สายคั่นระหว่างกัน ทำ�ให้แม่สายเป็นเมืองสำ�หรับ ติดต่อค้าขายชายแดน ที่คึกคักมาเนิ่นนาน โดยเฉพาะ อัญมณีมีค่าทุกชนิดจากพม่า ไม่ว่าจะเป็น ทับทิม ไพลิน และหยกพม่าซึ่งเป็นแหล่งเดียวในโลก ก็ถูกส่งผ่านไป จาก อำ�เภอแม่สายนี้เอง จากการเป็นเส้นทางผ่านของอัญมณี เมื่อ 40 ปี ที่ผ่านมาจึงเกิดโรงงานเล็กๆ ที่ใช้ชื่อว่า ร้านทองทวี โดย มี คุณบุญทอง โยธาวุธ เป็นเจ้าของกิจการ แรกเริ่มก็เพียงแต่ รับตัดหยกก้อน (หยก ธรรมชาติ จะมีลักษณะเหมือนหินทั่วไป) ต่อมาก็มีความ คิดที่จะจัดตั้ง โรงงานขึ้น จึงได้เดินทางไปฮ่องกง เพื่อ ศึกษาวิชาแกะสลักหยกเป็นเวลาเกือบหนึ่งปีและกลับมา ตั้งโรงงาน ในปี 2516 นับจากนั้นมาช่างท้องถิ่นก็ได้มีการพัฒนาทั้งรูป แบบและ กรรมวิธีใน การแกะสลักแต่ทั้งหมดก็ยังอยู่บน พื้นฐานของ การลอกเลียน รูปแบบจากผลงานของช่าง ชาวจีนทั้งสิ้น ก้าวที่สำ�คัญอีกก้าวหนึ่งก็คือ การริเริ่มแกะสลัก พระพุทธรูปในรูปแบบต่างๆ จากหยกพม่า โดยเริ่มจาก ขนาดเล็ก เมื่อมีความชำ�นาญก็ได้เพิ่มขนาดขึ้นเรื่อย ๆ จนปัจจุบัน สามารถดำ�เนินการแกะสลักพระประธาน ขนาดใหญ่ๆได้ ทำ�ให้รูปแบบการ แกะสลักหยก ในบ้าน เรามีลักษณะเฉพาะตัว และจากการพัฒนาต่อเนื่องมากว่า ๓๐ปี ทำ�ให้ ได้รับ ความนิยมแพร่หลาย ที่แม้แต่ช่างชาวจีน ก็ พยายามที่จะเลียนแบบ ปัจจุบันทางโรงงานได้จัดตั้งเป็นบริษัท หยกทอง ทวี โดยมีพนักงานทั้งสิ้นกว่า 30 คน มีคุณบุญทอง โยธา วุธ เป็นประธาน ผลงานที่ผ่านมามีนับไม่ถ้วนแต่ทุกผลงาน จะมี การตรวจสอบ อย่างละเอียดทุกขั้นตอน ไม่ว่าจะเป็นการ จัดหาวัตถุดิบ การแกะสลักให้ได้สัดส่วนและงดงาม ถูก ต้องตามพุทธลักษณะ หรือต้นแบบตลอดจนการขัดเงาที่ จะให้ ความเงางามคงทน ตลอดไป รวมถึงการบริการหลังเสร็จสิ้นการผลิต โดย ควบคุมการจัดส่งให้ตรงเวลา และให้คำ�แนะนำ� ชี้แนะใน การดูแลบำ�รุงรักษา ทั้งหมดนี้เป็นเครื่องรับประกันและ ยืนยัน ถึงผลงาน ที่ผ่านมาและต่อไปในอนาคตได้
17
หยก กับ อารยะธรรม จีน Jade in Chinese Civilization หลายประเทศบนโลกมีวัฒนธรรมการใช้เครื่องหยก แต่คงไม่มีชาติไหนผูกพันลึกซึ้งกับหยกได้เท่ากับชาวจีนอีกแล้ว ชาวมังกรนิยมมอบเครื่องหยกให้กันมาตั้งแต่ครั้งโบราณ โดย ให้ความสำ�คัญในฐานะเป็นสัญลักษณ์ของความดีงามในสังคม เราลองมาย้อนดูความเป็นมาของของขวัญล้ำ�ค่าชิ้นนี้กัน... ตั้งแต่ครั้งโบราณ ชาวมังกรมีตำ�นานเล่ากันมาว่า เมื่อ ผา นกู่ ผู้บุกเบิกฟ้าดินสิ้นชีพลง ลมหายใจของผานกู่ได้กลายเป็น สายลมและหมู่เมฆ ในขณะที่เนื้อหนังกลายเป็นดิน ไขกระดูก กลายเป็นหยกและไข่มุก ดังนั้น จึงมีความเชื่อว่าหยกมีคุณค่า เทียบได้กับคุณธรรมของมนุษย์ ทั้งความงดงามและ ความ คงทน ข้อมูลทางประวัติศาสตร์ทำ�ให้เราทราบว่า จีนมีการนำ� หินมีค่าชนิดนี้มาเป็นเครื่องใช้ เครื่องประดับตั้งแต่ยุคหินใหม่ ในกว่า 10,000 ปีที่แล้ว โดยมีการขุดพบหยกรูปทรงเหมือน งู อายุมากถึง 12,000 ปีในถ้ำ�เซียนโกว เมืองไห่เฉิง มณฑลเห ลียวหนิง ตลอดจนหยกสำ�หรับแขวน อายุ 7,000 ปี ในเมือง เหอหมู่ตู้ มณฑลเจ้อเจียง ซึ่งเครื่องหยกที่พบในยุคดังกล่าว ส่วนใหญ่นำ�มาเป็นเครื่องประดับส่วนตัว ทักษะการผลิตหยกเริ่มพัฒนาอย่างชัดเจนในยุคราชวงศ์ ซาง (1,600-1,100 ปีก่อนคริสตกาล) มีการใช้หยกทั้งเป็น เครื่องมือในการผลิตอาวุธ เครื่องใช้ประจำ�วัน เครื่องประดับ และภาชนะ รวมถึงเริ่มใช้เครื่องมือโลหะแกะสลักหยก ทำ�ให้ เครื่องหยกที่มีทรงกลมเพิ่มมากขึ้น พร้อมกับกลายเป็นสิ่งของ ที่มอบให้แก่กัน แต่ในยุคต่อมา คือยุคราชวงศ์โจว (1,066-256 ปีก่อน คริสตกาล) ชนชั้นปกครองเริ่มให้คุณค่าหยกในฐานะตัวแทน ของความเมตตากรุณา ความถูกต้อง ศีลธรรมจรรยา ความ ซื่อสัตย์ ความฉลาดเฉลียว และความกล้าหาญ ดังนั้น หยกจึง ไม่มีค่าเป็นเพียงหินสวยงามอีกต่อไป แต่ยังเป็นสัญลักษณ์ของ ความดีงามในสังคม และมีบทบาทสำ�คัญต่อความรู้สึกนึกคิด และวัฒนธรรมของชาวจีนมาตั้งแต่ยุคนั้น เทคนิคการแกะสลักหยกพัฒนาขึ้นอย่างรวดเร็วในยุคชุน ชิว (770 -221 ก่อนคริสตกาล) ซึ่งทำ�ให้ยุคสมัยนี้เป็นที่รู้จัก จากผลงานวิจิตรเหล่านี้ ไม่ว่าจะเป็นลวดลายมังกร(?)และนก ฟินิกซ์(?) ที่ปรากฏอยู่งานฝีมือยุคนั้น จนตกทอดมาเป็นสมบัติ ล้ำ�ค่าจนทุกวันนี้ ในช่วงยุคราชวงศ์ฉิน (221 -206 ปีก่อนคริสตกาล) และ ราชวงศ์ฮั่น (206 ปีก่อนคริสตกาล-ค.ศ. 206) เครื่องหยกที่เคย จำ�กัดวงไว้เฉพาะชนชั้นขุนนาง ก็เริ่มนิยมในคนทั่วไป นอกจาก นั้น รูปทรงของหยกก็ได้รับการดัดแปลงและสร้างสรรค์มากขึ้น
18
จนเม็ดหยกที่เป็นทรงกลมกลายเป็นสิ่งล้าสมัย ในยุคนั้น ชาวจีนเริ่มมีความเชื่อว่าพลังของหยกจะช่วยให้ อายุของพวกเขายืนยาวขึ้น หรือแม้กระทั่งจะเป็นอมตะเหมือน เทพยดาหากได้มีไว้ในครอบครอง ดังนั้น การฝังหินมีค่าชนิดนี้ กับผู้เสียชีวิตจึงเริ่มกลายเป็นสิ่งปกติในสังคม ซึ่งก็มีการขุดพบ เครื่องหยกและชุดหยกที่เย็บด้วยด้ายทองคำ�ในหลุมศพในสมัย ฮั่น อย่างไรก็ตาม ในยุคสามก๊ก (ค.ศ.220-280) จนถึงสมัยซ่ง และหยวน (ค.ศ.960-1368) พัฒนาการด้านเครื่องหยกของจีน ไม่ได้เคลื่อนไหวมากนัก เนื่องจากประเทศกลับเข้าสู่ภาวะศึก สงคราม จนมาถึงราชวงศ์หมิง(ค.ศ.1368-1644) จึงเริ่มเกิดช่าง ฝีมือที่เก่งกาจ ซึ่งสืบค้นได้จากการขุดพบแจกันหยกขาวและ ถ้วยหยกขาวพร้อมฝาปิดทำ�ด้วยทองคำ� ในสุสานราชวงศ์หมิง อันเป็นตัวสะท้อนถึงระดับของการแกะสลักหยกในยุคนั้น เทคนิคการแกะสลักหยกมาถึงจุดสูงสุดในราชวงศ์ถัง (ค.ศ. 1466-1911) ซึ่งเป็นยุคศิลปะเฟื่องฟูที่สุดของจีน รูปแบบของ การแกะสลักเริ่มหลากหลายมากขึ้น โดยเฉพาะค้างคาวกับน้ำ� เต้า ที่มีการประดิดประดอยจนมากกว่า 100 รูปแบบ เนื่องจาก คำ�ว่าค้างคาว (เปียนฝู) พ้องเสียงกับคำ�ว่า ฝู ที่แปลว่าโชคดี เช่น เดียวกับน้ำ�เต้าที่เรียกว่า หูหลู่ พ้องกับคำ�ว่า ฝูลู่ ที่แปลว่าโชค ลาภวาสนา ดังเช่น เมื่อแกะสลักค้างคาวไว้บนเงิน ก็จะมีความหมาย ว่าโชคลาภกำ�ลังอยู่ในมือ ค้างคาวคู่อยู่บนลูกท้อวันเกิด มีความ หมายถึงโชคดีและอายุยืนยาวนาน เช่นเดียวกับกวางดาว นก เป็ดน้ำ� ที่ต่างก็เป็นสัญลักษณ์แห่งความโชคดีด้วย เหล่านี้ล้วน เป็น ตัวสะท้อนให้เห็นว่าชาวจีนในสมัยโบราณมีความปรารถนา ต่อชีวิตที่เป็นสุข ตลอดจนเป็นผู้มีอารยธรรม แต่รูปทรงที่ได้รับความนิยมมากที่สุดหลังราชวงศ์ชิงมา จนถึงยุคปัจจุบัน นั่นคือ การแกะสลักเป็นรูปเจ้าแม่กวนอิม อัน เป็นตัวบอกเล่าถึงความเชื่อในศาสนาพุทธได้เป็นอย่างดีเช่นกัน ทั้งนี้ หยกบนแผ่นดินจีนสามารถแบ่งออกเป็น 2 ชนิด ใหญ่ๆ นั่นคือ หยกแข็งและหยกอ่อน อันเป็นตัวแบ่งจากธาตุที่ ประกอบอยู่ในเนื้อหิน คือธาตุเจไดต์และเนไฟรต์ ซึ่งหยกที่มีธาตุ เจไดต์อยู่มากจะมีเนื้อแข็ง สีใสกึ่งโปร่งแสง ในขณะที่หยกที่มี ธาตุเนไฟร์ตมากจะมีเนื้ออ่อนกว่า สำ�หรับสีของหยกนั้นมีหลากหลาย ตั้งแต่ขาว ไปจนถึง เขียว น้ำ�ตาล แดงและดำ� ซึ่งชาวจีนจะให้ความสำ�คัญกับหยกสี เขียวมรกตมากที่สุด ปัจจุบันแหล่งผลิตหยกที่สำ�คัญในแผ่นดินใหญ่ คือปักกิ่ง เซี่ยงไฮ้ กว่างโจวในมณฑลกว่างตง หยังโจวในมณฑลเจ้อเจียง และในมณฑลเหลียวหนิง ซึ่งรูปลักษณ์ของหยกที่ผลิตได้จาก แหล่งเหล่านี้ก็แตกต่างกันไป เช่น เครื่องหยกที่ผลิตจากปักกิ่ง จะมีความเด่น หรูหรา สง่างาม ในขณะที่งานหยกจากเซี่ยงไฮ้ มักจะเลียนแบบศิลปะเครื่องเงินยุคโบราณ ด้านกว่างโจวจะ เป็นงานที่ได้รับอิทธิพลจากเทคนิคตะวันตก มีลักษณะเด่นคือมี ความเป็นอิสระ ไม่ยึดติดกรอบ
19
ประเภท ของ หยก Type of Jade ในปัจจุบันเราสามารถแบ่ง หยก ออกเป็นสอง ประเภท โดยกำ�หนดจาก แหล่งที่มาหรือแหล่งกำ�เนิด ประเภทที่ 1 หยกเนื้ออ่อน หรือ เนฟไฟรท์ (Nephrite) มีแหล่งกำ�เนิดในประเทศจีน มณฑลซินเกียง และ ชายแดนต่อเนื่องกับ ประเทศรัสเซีย,ใต้หวัน นิวซีแลนด์ และ แคนาดา ซึ่งถือเป็นแหล่งใหญ่ที่สุดใน ปัจจุบัน คุณสมบัติ มีความ เหนียวและทน ไฟ มีสีค่อนข้างจำ�กัดเพียง เขียว ขาว เทา และ ดำ� เท่านั้น มีประวัติศาสตร์ยาวนาน ย้อนหลังไปหลายพันปี ผูกพัน ลึกซึ้งกับชน ชาวจีน ในปัจจุบันใช้หยกประเภทนี้ ในการ แกะสลัก เท่านั้น ประเภทที่ 2 หยกเนื้อแข็ง หรือ เจดไดท์ (Jadeite) มีแหล่งกำ�เนิดใหญ่แห่งเดียวใน โลก คือประเทศพม่าและพบ เพียงเล็ก น้อยบริเวณทวีปอเมริกากลาง ถูกนำ�เข้าไป ใน ราชสำ�นักจีน ในสมัยราชวงศ์ชิงหรือ ประมาณ 200 ปี มานี้เอง แต่ก็ได้รับความ นิยมอย่างรวดเร็ว และสามารถเข้าไป แทนที่ หยก เนื้ออ่อน ได้ในที่สุดโดยเฉพาะ จุดเด่นของหยกประเภทนี้ อยู่ที่ ความ หลากหลายของสีสัน ซึ่งมีบันทึกไว้ว่ามีด้วย กันถึง 9 สี คือ เขียว ขาว ม่วง แดง น้ำ�ตาล เหลือง เทา ดำ�และ น้ำ�เงิน อีกอย่าง ก็คือ คุณสมบัติที่สามารถคงความมันวาวเมื่อ สวมใส่ ในรูปของ เครื่องประดับ ปัจจุบันเมื่อเราพูดถึง หยก โดย เฉพาะอัญมณีเราจะ หมายถึง หยกเนื้อแข็ง หรือ เจดไดท์เท่านั้น
20
หยกแคนาดา Nephrite Jade of the West
21
22
Jade Buddha for Universal Peace Bendigo, Victoria, Australia Material : Nephrite (Polar Pride) Gross Weight : 19 tons
Buddha with Lotus Base Dimensions : Width 1.80 m. Height 2.50 m. Depth 1.00 m. Weight : 3,622 kgs.
White Alabastor Throne Dimensions : Width 2.90 m. Height 1.70 m. Depth 1.90 m. Weight : 28,912 kgs.
พระพุทธศานติธรรม
ประดิษฐานที่ สถูปแห่งสันติ เมืองเบนดิโก รัฐวิคตอเรีย ประเทศออสเตรเลีย วัตถุดิบ : หยกแคนาดา (เนฟไฟร์ท) นน.สุทธิ : ๑๙ ตัน
ขนาดองค์พระตั้งแต่ฐานบัว ถึงรัศมี :
กว้าง ๑.๘๐ ม. สูง ๒.๕๐ ม. หนา ๑.๐๐ ม. นน.รวม : ๓,๖๒๒ กก.
ฐานหยกขาว อาลาบาสเตอร์ :
กว้าง ๒.๙๐ ม. สูง ๑.๗๐ ม. หนา ๑.๙๐ ม. นน.รวม : ๒๘,๙๑๒ กก.
23
พระพุทธศานติธรรม Jade Buddha for Universal Peace 24
25
พิธีพุทธาภิเศก เนื่องในงานแสดงมุทิตาจิต ครูบาเจ้าบุญชุ่ม ญาณสังวโร ที่ ดอยนางแก้ว สามเหลี่ยมทองคำ� เชียงราย
26
27
28
29
30
31
ขั้นตอนการทำ�งาน พระพุทธศานติธรรม Working Process
32
นำ�ต้นแแบบแสดงต่อสาธารณะเป็นครั้งแรกที่ ประเทศสิงคโปร์ และตรวจสอบ ให้คำ�ชี้แนะโดย ลามะ โซ ปา องค์อุปถัมภ์ โครงการสร้างพระพุทธศานติธรรม และ สถูปแห่งสันติ โดยมีองค์พระพุทธเมตตา ที่พุทธคยา ประเทศอินเดีย เป็นองค์ต้นแบบ
33
ขั้นตอนการทำ�ต้นแบบ Prototype Working Steps
34
35
ขั้นตอนการแกะสลัก Carving Working Steps
36
37
40
41
ปฐมสมโภช เมืองดานัง เวียดนาม First Openning Ceremony Danung Vi
42
ietnam
43
เจ้าแม่กวนอิม 1000 กร QuanYin 1000 Hands
QuanTeAm Temple Danung Vietnam
44
45
สมเด็จรัชมังคลาจารย์ ได้เมตตา ทำ�พิธีพุทธาภิเศก เบิกเนตร องค์เจ้าแม่กวนอิม 1000 กร ณ บริเวณลาน พิธี พระบรมธาตุเจ้าดอยตุง ห้วยไคร้ เชียงราย โดยมีคณะ ศิษยานุศิษย์ จากวัดกวนเตอาม (QuanTeAm) เมืองดานัง ประเทศเวียดนาม เข้าร่วมพิธีเป็นจำ�นวนมาก
46
47
พระคุรุปัทมสมภพ Kuru Rinposhe
48
พระนางตาราเขียว หรือ พระนางศยามโพธิสัตว์ Green Tara 49
50
หยกขาว อาลาบาสเตอร์ White Jade Alabastor
51
พระพุทธชินราชจำ�ลอง Chinaraj Buddha
52
53
องค์พระพุทธชินราช ระหว่างการติดตั้งในอาคาร บนขั้นที่สอง ก่อนทำ�การปิด หลังคาและ ก่อสร้างผนังด้านในอาคาร
54
55
56
57
องค์ประกอบของ พระพุทธชินราชจำ�ลอง ประกอบด้วย ซุ้มนาคจำ�ลอง ฐานสิงห์ และ ยักษี ยักษา บริเวณด้านข้างฐาน
58
59
พระพุทธชินสีห์จำ�ลอง Chindsih Buddha
60
61
ขั้นตอนการทำ�งาน Buddha Working Steps
62
63
พระพุทธปรินิพพาน Nirvana Buddha
64
65
พระพุทธรูป (เฉลิมชัย) Buddha (Chalermchai Style)
66
67
กวนอิม อวโลกิเตศวร QuanYin Avalokitesavara 68
69
70
71
ไฉ่ซิงเอี้ย เทพเจ้าแห่งโชคลาภ Chai Ching Eia God of Fortune
72
73
74
75
76
หยกพม่า เจดไดท์ Jadeite Burma
77
78
79
80
81
82
83
84
85
86
87
88
วัตถุดิบอื่นๆ Other Materials
89
พระพุทธสิหิงค์จำ�ลอง Singha Buddha (Green Granite)
90
91
92
93
หลวงปู่ทวด วัดช้างไห้ Carving Working Steps (Khong River Granite)
94
95
พระอวโลกิเตศวร Avalokitesvara (Black Africa Granite)
96
97
ขั้นตอนการทำ�งาน พระอวโลกิเตศวร Steps of Working
98
99
กวนอิมพันมือ (ซอยไซต์) QuanYin 1000 Hands (Zoizite)
100
101
วัดพระธาตุดอยเวา DoiVao Temple Maesai Chiangrai
ประวัติพระธาตุดอยเวา
พระธาตุดอยเวา สร้างในพ.ศ. 296 ในรัชสมัยพระองค์ เวา รัชกาลที่ 10 แห่งราชวงศ์สิงหนวัติ ผู้ครองนครโยนก นาคพันธุ์ โดยชื่อนั้นได้นำ�มาจากพระนามของพระองค์ เวา ต่อมาพระธาตุเจดีย์ได้พังลงตามกาลเวลา นายบุญยืน ศรีสมุทร คฤหบดีอำ�เภอแม่สาย ได้ร่วมกับ พระภิกษุดวง แสง รัตนมณี พร้อมด้วย ข้าราชการ พ่อค้า ประชาชน ผู้มีจิตศรัทธา และ กรมศิลปากร ร่วมกันจัดสร้างขึ้น ขึ้นใหม่ ในการขุดแต่งครั้งนี้ พบผอบหินสีดำ� ภายใน บรรจุพระบรมสารีริกธาตุ 5 พระองค์ จึงได้อัญเชิญขึ้น ประดิษฐานในองค์พระธาตุดังเดิม มีการวางศิลาฤกษ์ใน วันที่ 8 เมษายน พ.ศ. 2494 และสร้างเสร็จพร้อมฉลอง สมโภชพระธาตุในวันที่ 20 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2498 โดยมี พุทธบริษัททั้งสองประเทศ ร่วมงานอย่างคับคั่ง
102
103
104