ระบบคอมพิวเตอร์

Page 1



ระบบ (System) คือกลุ่มขององค์ประกอบที่มีความสัมพันธ์ กันและทางานร่วมกัน ซึ่งระบบคอมพิวเตอร์จะมีองค์ประกอบที่ สาคัญ 3 ส่วน คือ • ฮาร์ดแวร์ (Hardware) • ซอฟต์แวร์ (Software) • บุคลากร (Peopleware)


ฮาร์ดแวร์ หมายถึง อุปกรณ์ต่าง ๆ ที่เป็นตัวเครื่อง คอมพิวเตอร์ แบ่งออกเป็นส่วนประกอบ ดังนี้ 1.หน่วยรับข้อมูล (Input unit) เป็นอุปกรณ์รับเข้า

ทาหน้าที่รับ

โปรแกรมและข้อมูลเข้าสู่เครื่องคอมพิวเตอร์ 2.

หน่วยประมวลผล (Central Processing Unit) หรือเรียก โดยทั่ว ๆ ไปว่า CPU ซึ่งถือว่าเป็นสมองของระบบคอมพิวเตอร์ มี ส่วนประกอบที่สาคัญ 2 ส่วน คือ หน่วยควบคุม หน่วยคานวณ


 หน่วยควบคุม (Control Unit หรือ CU) ทาหน้าที่

ควบคุมลาดับขั้นตอนการทางานของหน่วยรับข้อมูล หน่วย แสดงผล หน่วยคานวณและหน่วยตรรก หน่วยความจาและ แปลคาสั่ง  หน่วยคานวณ (Arithmetic and Logic Unit หรือ ALU) ทาหน้าที่ในการคานวณหาตัวเลข เช่น การ บวก ลบ การเปรียบเทียบ


หน่วยความจาภายใน (Primary Storage Section หรือ Memory) เป็นหน่วยความจาที่อยู่ภายในเครื่องคอมพิวเตอร์ ที่สามารถติดต่อกับหน่วยงานอื่น ๆ ได้โดยตรง แบ่งออกเป็น 2 ประเภท 1. หน่วยความจาภายใน  หน่วยความจาแบบแรม (Random Access Memory หรือ Ram) 

หน่วยความจาแบบรอม (Read Only Memory หรือ Rom)


หน่วยความจาสารอง ได้แก่ เทปแม่เหล็ก จานแม่เหล็ก แผ่นดิสก์ (Diskett) CD-ROM แผ่นดิสก์หรือสเกต

เป็นจานแม่เหล็กขนาดเล็ก ชนิดอ่อน จัดเก็บ ข้อมูลโดยใช้อานาจแม่เหล็ก การใช้งานจะต้องมี Disk Drive เพื่อใช้เป็นอุปกรณ์ในการขับเคลือ่ นแผ่นดิสก์ โดยแบ่งตาแหน่ง พื้นผิวออกเป็น แทร็คและเซ็คเตอร์ แบ่งออกเป็น 3 ขนาด คือ


 แผ่นดิสก์ขนาด 8

นิ้ว ปัจจุบันไม่นิยมใช้  แผ่นดิสก์ขนาด 5.25 นิ้ว แบ่งออกเป็น DD สามรถบันทึก ข้อมูลได้ประมาณ 360 KB และ HD สามารถบันทึกข้อมูลได้ 1.2 MB

 แผ่นดิสก์ขนาด 3.5 นิ้ว แบ่งออกเป็น DD สามารถบันทึกข้อมูล ได้ประมาณ 720 KB และ HD สามารถบันทึกข้อมูลได้ 1.44 MB นิยมใช้กันมากในปัจจุบัน


ขนาด 5.25 นิว้

ขนาด 1.44 MB


8 Bit

1 Byte

1 Byte

1 ตัวอักษร

1 KB

1,024 Byte

1 MB

1,024 KB

1 GB

1,024 MB

1 TB

1,024 GB


หน่วยความจาต่าสุด คือ บิต หน่วยที่ใหญ่ขึ้นมาอีก หน่วย คือ กิโลไบต์ (Kilobyte) โดยที่ 1 กิโลไบต์ มีค่า เท่ากับ 2 10 ไบต์ หรือ 1,024 ไบต์ หน่วยความจาที่ใหญ่ ขึ้นไปอีก เรียกว่า เมกะไบต์ กิกะไบต์ และเทระไบต์


ฮาร์ดดิสก์ ( Hard Disk ) เป็นจานแม่เหล็กชนิดแข็ง ชนิดติดแน่นไม่มีการเคลื่อนที่ สามารถบรรจุข้อมูลได้จานวนมาก เป็น 2 ขนาด คือ 1. ขนาด 5.25 นิ้ว (ปัจจุบันเลิกใช้แล้ว) 2. ขนาด 3.5 นิ้ว ทั้ง 2 ขนาดจะมีความจุ ตั้งแต่ 10,20,40,80,120,300,400 MB1 GB,2 GB ฯลฯ ปัจจุบันนิยมใช้ตั้งแต่ 10 GB ขึ้นไป



Data Rate

หมายถึง ความเร็วในการอ่านข้อมูลจากดิสก์ไปสู่ สมองของเครื่องคอมพิวเตอร์ (หรือมีความเร็วในการนาข้อมูลมาจาก สมองเครื่องไปบันทึกลงบนดิสก์) มีหน่วยวัดเป็น จานวนไบต์ต่อ วินาที ( Bytes Per Second หรือ bps )


ซีดีรอม (CD-Rom)เป็นจานแสงชนิดหนึ่ง ใช้เก็บข้อมูลที่มีความเร็ว ในการใช้งานสูง มี คุณสมบัติดังนี้  เป็นสื่อที่สามารถเก็บข้อมูลได้เป็นจานวนมาก โดยจะมีความจุสูง ถึง 2 GB (2 พันล้านไบต์)  มีขนาดเล็ก สามารถเคลื่อนย้ายได้สะดวก  ใช้เทคโนโลยีของแสงเลเซอร์ในการอ่านเขียนข้อมูล  เป็นจานแสงชนิดอ่านได้อย่างเดียว (Read Only Memory) ไม่สามารถเขียนหรือลบข้อมูลได้



3.

หน่วยแสดงผล (Output Unit) ทาหน้าที่แสดงผลลัพธ์ที่ได้ จากการประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ หรือใช้เก็บผลลัพธ์เพื่อ นาไปใช้ภายหลัง ได้แก่ จอภาพ (Monitor) เป็นอุปกรณ์ส่งออก มากที่สุด เครื่องพิมพ์ (Printer)


ซอฟแวร์ (Software) หมายถึง โปรแกรมชุดคาสั่งที่เขียนให้เครื่อง คอมพิวเตอร์ปฏิบัตติ าม ซึ่งมี 2ประเภท คือ 1.ซอฟแวร์ควบคุมระบบ (System Software) คือ ชุดคาสั่งหรือ โปรแกรมที่ควบคุมการทางานของคอมพิวเตอร์ 2.ซอฟแวร์ประยุกต์ (Application Software) คือ ชุดคาสั่งหรือ โปรแกรมที่เขียนขึ้นมาเพื่อให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทางานตามที่ผู้ใช้ ต้องการได้แก่ โปรแกรมสาเร็จรูปต่าง ๆ


บุคลากร (Peopleware)

หมายถึง บุคลากรทางคอมพิวเตอร์ที่ ทาหน้าที่ในการใช้และดูแลเครื่องคอมพิวเตอร์ เช่น นักเขียนโปรแกรม (Programmer) นักวิเคราะห์ระบบ (System Analyst) เป็นต้น ผู้ใช้คอมพิวเตอร์ (computer user) แบ่งได้เป็นหลายระดับ เพราะผู้ใช้คอมพิวเตอร์บางส่วนก็ทางานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์ เท่านั้น ผู้เชี่ยวชาญทางด้านคอมพิวเตอร์ (computer professional) หมายถึงผู้ที่ได้ศึกษาวิชาการทางด้านคอมพิวเตอร์ ทั้งในระดับกลาง และระดับสูง


ลักษณะคอมพิวเตอร์ ระบบคอมพิวเตอร์นั้น ถ้ามองในด้านลักษณะคอมพิวเตอร์ จะสามารถแบ่งออกได้ 3 ประเภทใหญ่ๆ ดั้งนี้ คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล (Personal Computer)เป็น ระบบคอมพิวเตอร์ที่มีเครื่องคอมพิวเตอร์เพียงเครื่องเดียว และไม่ได้ทา การติดต่อกับเครื่องคอมพิวเตอร์อื่นๆ


ลักษณะแบบ (Time-sharing)เป็นลักษณะที่มีเครื่อง คอมพิวเตอร์หลายๆ เครื่องมาต่อกับเครื่องคอมพิวเตอร์ศูนย์กลางโดย คอมพิวเตอร์เหล่านั้นเรียกว่า Terminal ทุกเครื่องจะส่งคาสั่งที่ ต้องการมาประมวลผลที่เครื่องคอมพิวเตอร์ศูนย์กลาง ลักษณะแบบ (Client/Server)เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์เครื่อง หนึ่งที่ทาหน้าที่เป็น Server คอยดูแลจัดทรัพยากรของระบบทั้งหมด และมีเครื่อง Clients ต่อเข้าเครื่อง Server โดยใช้ทรัพยากรต่าง ๆ ที่ เครื่อง Server มีอยู่ ตามสิทธิของผู้ใช้แต่ละคน


ในการเขียนโปรแกรมนั้น ผู้ใช้จะต้องใช้ภาษาคอมพิวเตอร์เขียน โปรแกรมเรียกว่าซอฟต์แวร์ขึ้นมา ภาษาคอมพิวเตอร์นั้นจะมีตั้งแต่ละดับ ภาษาของเครื่องขึ้นมาจนถึงภาษาธรรมชาติ


ภาษาเครื่อง (Machine Languages) ภาษาที่เครื่อง คอมพิวเตอร์เข้าใจมากที่สุด ซึ่งจะเป็นลักษณะแบบเลขฐานสอง คือ 0 กับ 1

ภาษาสัญลักษณ์ (Symbolic Languages) เมื่อคอมพิวเตอร์ได้ พัฒนาขึ้นมาเรื่อยๆและมีผู้ใช้มากขึ้น จึงมีคนมองเห็นว่าการที่จะเขียน โปรแกรมควบคุมคอมพิวเตอร์ดว้ ยภาษาเครื่องนั้น จะทาให้การพัฒนา ทางด้านซอฟต์แวร์เป็นไปได้ช้า จึงได้มีการพัฒนาภาษาสัญลักษณ์ขึ้นเพื่อให้ การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์สะดวกยิ่งขึ้น แต่การที่นาโปรแกรมนั้นไปใช้ จะต้องทาการเปลี่ยนภาษาสัญลักษณ์เป็นภาษาเครื่องก่อนเสมอ


ภาษาระดับสูง (High-Level Languages) เป็นภาษาที่พัฒนามา จากภาษาสัญลักษณ์อีกทีหนึ่ง แต่จะมีลักษณะที่คล้ายกับภาษามนุษย์มาก ยิ่งขึ้น การแปลงภาษาระดับให้เป็นภาษาเครื่องนั้นจะมีวิธีการเรียกว่าคอม ไฟล์ ภาษาระดับได้แก่ FORTRAN COBOL และ ภาษาC ภาษาธรรมชาติ (Natural Languages) ภาษาธรรมชาติก็คือ ภาษาที่มนุษย์พูดกัน เช่น ภาษาอังกฤษ ภาษาจีน เป็นต้น ซึ่งเครื่อง คอมพิวเตอร์นั้นไม่สามารถที่จะเข้าใจได้เลย ในปัจจุบันยังไม่มีคนนิยมใช้กัน มากนัก


ในการพัฒนาโปรแกรมขึ้นมาซักโปรแกรมหนึ่งนั้น ไม่ใช่มาถึงจะ เขียนโปรแกรมได้เลย การพัฒนานั้นจะมีขั้นตอนที่เรียกว่า System Development Life Cycle 1.หาความต้องการของระบบ (System Requirements)

คือ การศึกษาและเก็บความต้องการของผู้ใช้โปรแกรม ว่ามีความต้องการ อะไรบ้าง 2.วิเคราะห์ (Analysis) คือ การนาเอาความต้องการของผู้ใช้ โปรแกรมมาวิเคราะห์ว่าจะพัฒนาเป็นโปรแกรมตามที่ผู้ใช้ต้องการได้ หรือไม่ถ้าทาได้จะทาได้มากน้อยเพียงใด


3.ออกแบบ (Design) คือ โปรแกรมที่จะสร้างมีลักษณะใดขั้นตอนต่อมาคือ การออกแบบการทางานของโปรแกรมให้เป็นไปตามความต้องการที่ วิเคราะห์ไว้การออกแบบอาจจะออกแบบเป็นผังงานก็ได้ 4.เขียนโปรแกรม (Code) คือ เมื่อได้ผังงานแล้ว ต่อมาก็เป็นการเขียน โปรแกรมตามผังงานออกแบบไว้


5.ทดสอบ (System Test) คือเมื่อเขียนโปรแกรมเสร็จแล้ว จะต้องมี การทดสอบเพื่อหาข้อผิดพลาดต่างๆ เช่น ตรงตามที่ผู้ใช้ต้องการหรือไม่ ถ้าพบข้อผิดพลาดก็กลับไปทาออกแบบอีกครั้ง

6.ดูแล (Maintenance) เมื่อโปรแกรมผ่านการทดสอบแล้ว และผู้ใช้ได้ นาโปรแกรมดังกล่าวไปใช้ ผู้พัฒนาจะต้องคอยดูแล เนื่องจากอาจมี ข้อผิดพลาดที่หาไม่พบในขั้นตอนการทดสอบโปรแกรม


ระบบคอมพิวเตอร์ประกอบด้วยองค์ประกอบสาคัญ

คือ

5 ส่วนด้วยกัน


ในการทางานต่าง ๆ จะต้องมีข้อมูลเกิดขึ้นตลอดเวลา ข้อมูลที่ เกี่ยวข้องกับงานที่ถูกเก็บรวบรวมมาประมวลผล เพื่อให้ได้สารสนเทศ ที่เป็นประโยชน์ต่อผู้ใช้ ซึ้งในปัจจุบันมีการนาเอาระบบคอมพิวเตอร์มา เป็นข้อมูลในการดัดแปลงข้อมูลให้ได้ประสิทธิภาพโดยแตกต่างๆ ระหว่าง ข้อมูล และ สารสนเทศ คือ ข้อมูล คือ ได้จากการสารวจจริง แต่ สารสนเทศ คือ ได้จากข้อมูลไม่ ผ่านกระบวนการหนึ่งก่อน


สารสนเทศ เป็นสิ่งที่ผู้บริหารนาไปใช้ช่วยในการตัดสินใจ โดยที่ สารสนเทศที่มีประโยชน์นั้นจะมีคุณสมบัติ ดังตาราง มีความสัมพันธ์กัน (relevant)

สามารถนามาประยุกต์ใช้ได้อย่างเหมาะสมกับสถานการณ์ปัจจุบัน

มีความทันสมัย (timely)

ต้องมีความทันสมัยและพร้อมที่จะใช้งานได้ทันทีเมื่อต้องการ

เมื่อป้อนข้อมูลเข้าสู่คอมพิวเตอร์และผลลัพธ์ที่ได้จะต้องถูกต้องในทุก มีความถูกต้องแม่นยา (accurate) ส่วน มีความกระชับรัดกุม (concise)

ข้อมูลจะต้องถูกย่นให้มีความยาวที่พอเหมาะ

มีความสมบูรณ์ในตัวเอง (complete)

ต้องรวบรวมข้อมูลที่สาคัญไว้อย่างครบถ้วน



กระบวนการทางานหรือโพรซีเยอร์ หมายถึง ขั้นตอนที่ผู้ใช้จะต้องทา ตาม เพื่อให้ได้งานเฉพาะอย่างจากคอมพิวเตอร์ซึ่งผู้ใช้คอมพิวเตอร์ทุกคน ต้องรู้การทางานพื้นฐานของเครื่องคอมพิวเตอร์ เพื่อที่จะสามารถใช้งานได้ อย่างถูกต้อง ตัวอย่างเช่น การใช้เครื่อง ฝาก-ถอนเงินอัตโนมัติ ถ้าต้องการ ถอนเงินจะต้องผ่านกระบวนการต่าง ๆ ดังนี้


- จอภาพแสดงข้อความเตรียมพร้อมที่จะทางาน - สอดบัตร และพิมพ์รหัสผู้ใช้ - เลือกรายการ - ใส่จานวนเงินที่ต้องการ - รับเงิน - รับใบบันทึกรายการ และบัตร การใช้คอมพิวเตอร์ปฏิบัติงานในส่วนต่าง ๆ นั้นมักจะมีขั้นตอนที่ สลับซับซ้อน และเกี่ยวข้องกับช่วงเวลาต่าง ๆ ในการปฏิบัติงานด้วย จึง ต้องมีคู่มือการปฏิบัติงานที่ชัดเจน


ที่มา/แหล่งข้อมูล http://www.chandra.ac.th/office/ict/document/it/it01/com_06.htm สืบค้นวันที่ 9สิงหาคม255 http://itd.htc.ac.th/st_it50/it5016/nidz/Web_C/unit1.html สืบค้นวันที่ 9 สิงหาคม255 http://www.lks.ac.th/kuanjit/it002_1.htm


จบการนาเสนอค่ะ


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.