คู่มือพรรณไม้ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

Page 1

¤Ù‹Á×Í

¾ÃóäÁŒ à¾×èÍ»ÅÙ¡»†Ò»‡Í§¡Ñ¹ÍØ·¡ÀÑ àÅ×Í¡ª¹Ô´

ÀÒ¤μÐÇѹÍÍ¡à©Õ§à˹×Í

กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

SW 6455-COVER+BACK-G8.indd 1

10/15/56 BE 10:05 PM


¤Ù‹Á×Í

¾ÃóäÁŒ à¾×èÍ»ÅÙ¡»†Ò»‡Í§¡Ñ¹ÍØ·¡ÀÑ àÅ×Í¡ª¹Ô´

ÀÒ¤μÐÇѹÍÍ¡à©Õ§à˹×Í

สํานักงานหอพรรณไม กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

SW 6455-p new-G8.indd 1

10/15/56 BE 7:28 PM


¤íÒ¹íÒ ในป พ.ศ. 2555 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช ไดจัดพิมพหนังสือ “คูมือเลือก ชนิดพรรณไมเพือ่ ปลูกปาปองกันอุทกภัย” สําหรับพืน้ ทีล่ มุ น้าํ เจาพระยาใหญ โดยคัดเลือกจากไมทอ งถิน่ ทัง้ ไมโตเร็วทีเ่ ปนไมเนือ้ ออน และไมโตชาทีเ่ ปนไมเนือ้ แข็ง ตามแนวพระราชดําริของพระบาทสมเด็จ พระเจาอยูห วั ฯ เนือ่ งจากเกิดเหตุการณมหาอุทกภัยขึน้ ในพืน้ ทีภ่ าคเหนือและภาคกลางทีส่ ง ผลเสียหาย อยางรุนแรงตอทุกภาคสวนของประเทศ รัฐบาลไดกําหนดมาตรการบริหารจัดการทรัพยากรน้ําทั้ง ระบบอยางบูรณาการ ทั่วประเทศ เพื่อปองกันหรือลดความเสียหายจากปญหาอุทกภัยที่อาจเกิด ไดอีก มาตรการที่สําคัญอยางหนึ่งซึ่งถือวาเปนมาตรการในระยะยาวที่สามารถลดความสูญเสีย อยางยัง่ ยืน คือ การปลูกฟน ฟูสภาพปา ซึง่ ปรากฎวาไดรบั เสียงตอบรับดวยดีโดยเฉพาะจากหนวยงาน ที่มีหนาที่โดยตรงในการเพาะชํากลาไม ทําใหสามารถเลือกชนิดไมในพื้นที่รับผิดชอบของตน ตรงตามลักษณะพื้นที่ที่รับผิดชอบ ไดชื่อวิทยาศาสตรตรงกับกลาไม ตลอดจนสามารถนําความรู ดานอืน่ ๆ ทีจ่ ะใชอธิบายใหแกหนวยงานอืน่ ๆ หรือชาวบาน ทีส่ นใจจะฟน ฟูสภาพปาดวยการปลูกปา ใหเขาใจลักษณะวิสัยและนิสัยของพรรณไมที่จะปลูก เพื่อใหไดผลตามวัตถุประสงคในการฟนฟู สภาพปา โดยเนนเพื่อการปองกันและลดความเสียหายท่ีเกิดจากอุทกภัยในพื้นที่ นอกจากนี้ยังมี หนวยงานอื่น ๆ นอกพื้นที่ลุมน้ําเจาพระยาสามารถนําไปปรับใชกับสภาพพื้นที่ที่มีลักษณะ นิเวศวิทยาใกลเคียงกันหรือมีสงั คมพืชทีค่ ลาย ๆ กัน ได แตอาจมีขอ จํากัดในการเลือกชนิดพรรณไม เนือ่ งจากไมใชพรรณไมทพ่ี บเห็นและหาไดในทองถิน่ ดังนัน้ กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพ ชื จึงไดจัดทําคูมือเลือกชนิดพรรณไมเพื่อปลูกปาปองกันอุทกภัยในพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เพิม่ เติม โดยมีรปู แบบและเนือ้ หาในแนวเดียวกับของลุม น้าํ เจาพระยาซึง่ ครอบคลุมพืน้ ทีภ่ าคเหนือและ ภาคกลางเปนสวนใหญ ในขณะทีค่ มู อื เลมนีค้ รอบคลุมพืน้ ทีล่ มุ น้าํ หลักทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ทั้งตอนลางและตอนบน 3 ลุมน้ํา ไดแก ลุมน้ําโขง ลุมน้ําชี และลุมน้ํามูล กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพ ชื หวังวาหนังสือคูม อื นีจ้ ะสามารถนําไปใชปฏิบตั ิ เพือ่ ฟนฟูสภาพปาในภาคตะวันออกเฉียงเหนือที่เสื่อมโทรมใหกลับมาสมบูรณดังเดิม เพื่อลดความ เสียหายที่เกิดจากอุทกภัยไดในระดับหนึ่ง

(นายมโนพัศ หัวเมืองแกว) อธิบดีกรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช

SW 6455-p new-G8.indd 3

10/29/56 BE 3:37 PM


ÊÒúÑÞ บทนํา ขอมูลพื้นฐานของลุมน้ําในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ลักษณะสังคมพืช หลักเกณฑการคัดเลือกชนิดไม รายละเอียดคําบรรยายทางพฤกษศาสตรของพรรณไมแตละชนิด

1 4 10 17 18

ª¹Ô´¾ÃóäÁŒ·ÕèàËÁÒÐÊÁà¾×èÍ»ÅÙ¡»†Ò ไมโตเร็ว กรวย Horsfieldia irya (Gaertn.) Warb. กระทุมเนิน Mitragyna rotundifolia (Roxb.) Kuntze กราง Ficus altissima Blume กะอาม Crypteronia paniculata Blume กัลปพฤกษ Cassia bakeriana Craib คาง Albizia lebbeckoides (DC.) Benth. แคนา Dolichandrone serrulata (Wall. ex DC.) Seem. แคหางคาง Fernandoa adenophylla (Wall. ex G. Don) Steenis ไครมันปลา Glochidion sphaerogynum (Müll. Arg.) Kurz งิ้วดอกขาว Bombax anceps Pierre งิ้วดอกแดง Bombax ceiba L. ซอหิน Gmelina racemosa (Lour.) Merr. ตะแบกเกรียบ Lagerstroenmia cochinchinensis Pierre ตะแบกแดง Lagerstroemia calyculata Kurz ตาตุมบก Falconeria insignis Royle ทองหลางปา Erythrina subumbrans (Hassk.) Merr. ทัน Phoebe tavoyana (Meisn.) Hook. f. ทุมหมู Neonauclea pallida (Reinw. ex Havil.) Bakh. f. ปอตูบฝาย Sterculia hypochra Pierre ปอหู Hibiscus macrophyllus Roxb. ex Hornem. ปบ Millingtonia hortensis L. f. เปลาใหญ Croton persimilis Müll. Arg. พลับพลา Microcos tomentosa Sm.

SW 6455-p new-G8.indd 5

22 23 24 25 26 27 28 29 30 31 32 33 34 35 36 37 38 39 40 41 42 43 44

10/29/56 BE 3:35 PM


พังแหรใหญ Trema orientalis (L.) Blume โพขี้นก Ficus rumphii Blume มะกล่ําตน Adenanthera microsperma Teijsm. & Binn. มะกัก Spondias bipinnata Airy Shaw & Forman มะเดื่อปลอง Ficus hispida L. f. มะฝอ Mallotus nudiflorus (L.) Kulju & Welzen มะยมปา Ailanthus triphysa (Dennst.) Alston ยมหิน Chukrasia tabularis A. Juss. เลี่ยน Azadirachta indica A. Juss. สนสองใบ Pinus merkusii Jungh. & de Vriese สมกบ Hymenodictyon orixense (Roxb.) Mabb. สมพง Tetrameles nudiflora R. Br. สอยดาว Mallotus paniculatus (Lam.) Müll. Arg. สะแกนา Combretum quadrangulare Kurz สําโรง Sterculia foetida L. เสลาเปลือกบาง Lagerstroemia venusta Wall. หนอนขี้ควาย Gironniera subaequalis Planch. อินทนิลบก Lagerstroemia macrocarpa Wall.

45 46 47 48 49 50 51 52 53 54 55 56 57 58 59 60 61 62

ไมโตชา กรวยปา Casearia grewiifolia Vent. กระบกกราย Hopea helferi (Dyer) Brandis กระเบาใหญ Hydnocarpus anthelminthicus Pierre ex Laness. กอแพะ Quercus kerrii Craib กอมขม Picrasma javanica Blume กะเจียน Polyalthia cerasoides (Roxb.) Benth. & Hook. f. ex Bedd. กัดลิ้น Walsura trichostemon Miq. กันเกรา Fagraea fragrans Roxb. กาสามปก Vitex peduncularis Wall. ex Schauer กุก Lannea coromandelica (Houtt.) Merr. เก็ดดํา Dalbergia cultrata Graham ex Benth. ขอย Streblus asper Lour. ขันทองพยาบาท Suregada multiflora (A. Juss.) Baill.

SW 6455-p new-G8.indd 6

64 65 66 67 68 69 70 71 72 73 74 75 76

10/29/56 BE 3:35 PM


ขางหัวหมู Miliusa velutina (Dunal) Hook. f. & Thomson เขลง Dialium cochinchinense Pierre คอแลน Nephelium hypoleucum Kurz คํามอกหลวง Gardenia sootepensis Hutch. แคปา Markhamia stipulata (Wall.) Seem. ชะมวง Garcinia cowa Roxb. ex DC. ชิงชัน Dalbergia oliveri Gamble ชุมแสง Xanthophyllum lanceatum (Miq.) J. J. Sm. ตะเกราน้ํา Eriobotrya bengalensis (Roxb.) Hook. f. ตะคร้ํา Garuga pinnata Roxb. ตะเคียนใบใหญ Hopea thorelii Pierre ตะเคียนหิน Hopea ferrea Laness. ตับเตาตน Diospyros ehretioides Wall. ex G. Don ติ้วเกลี้ยง Cratoxylum cochinchinense (Lour.) Blume ตีนนก Vitex pinnata L. เต็ง Shorea obtusa Wall. ex Blume เต็งหนาม Bridelia retusa (L.) A. Juss. ประคําไก Putranjiva roxburghii Wall. ผาเสี้ยน Vitex canescens Kurz พะบาง Mischocarpus pentapetalus (Roxb.) Radlk. พะวา Garcinia speciosa Wall. พันจํา Vatica odorata (Griff.) Symington มะกอกเกลื้อน Canarium subulatum Guillaumin มะกายคัด Mallotus philippensis (Lam.) Müll. Arg. มะเกลือ Diospyros mollis Griff. มะดัน Garcinia schomburgkiana Pierre มะดูก Siphonodon celastrineus Griff. มะแฟน Protium serratum (Wall. ex Colebr.) Engl. มะมวงปา Mangifera caloneura Kurz มะมวงหัวแมงวัน Buchanania lanzan Spreng. มะมุน Elaeocarpus serratus L. มะหวด Lepisanthes rubiginosa (Roxb.) Leenh. เมาชาง Antidesma bunius (L.) Spreng. var. bunius

SW 6455-p new-G8.indd 7

77 78 79 80 81 82 83 84 85 86 87 88 89 90 91 92 93 94 95 96 97 98 99 100 101 102 103 104 105 106 107 108 109

10/29/56 BE 3:35 PM


โมกมัน Wrightia arborea (Dennst.) Mabb. ยอเถื่อน Morinda elliptica Ridl. ยางกราด Dipterocarpus intricatus Dyer ยางพลวง Dipterocarpus tuberculatus Roxb. ยางเหียง Dipterocarpus obtusifolius Teijsm. ex Miq. รักใหญ Gluta usitata (Wall.) Ding Hou รัง Shorea siamensis Miq. ราชพฤกษ Cassia fistula L. ลาย Microcos paniculata L. ลําดวน Melodorum fruticosum Lour. ล่ําตาควาย Diospyros coaetanea H. R. Fletcher สาธร Millettia leucantha Kurz สีเสียดน้ํา Mallotus plicatus (Müll. Arg.) Airy Shaw หวาหิน Syzygium claviflorum (Roxb.) A. M. Cowan & Cowan เหมือดโลด Aporosa villosa (Wall. ex Lindl.) Baill. แหว Syzygium ripicola (Craib) Merr. & L. M. Perry อีโด Diospyros bejaudii Lecomte

110 111 112 113 114 115 116 117 118 119 120 121 122 123 124 125 126

บรรณานุกรม รายชื่อวงศและชื่อพฤกษศาสตร ดัชนีชื่อพฤกษศาสตร

127 131 134

SW 6455-p edit-G8.indd 8

10/29/56 BE 4:49 PM


º·¹Ó ปจจุบนั ทรัพยากรปาไมของประเทศไทยมีพนื้ ทีล่ ดลง ในระยะเวลาอันรวดเร็ว และเหลืออยูน อ ยมากเมือ่ เทียบกับ พื้นที่ทั้งหมดของประเทศ โดยเฉพาะประเภทปาไมผลัดใบ ปาบนภูเขาสูง เนื่องจากประชาชนไดบุกรุกแผวถาง ตัดไม ทําลายปา เพื่อใชประโยชนดานเกษตรกรรม อุตสาหกรรม ทีท่ าํ กินและทีอ่ ยูอ าศัย รวมถึงการทําไรเลือ่ นลอยของชาวเขา ในพืน้ ทีอ่ นุรกั ษจนเหลือแตพนื้ ทีเ่ ตียนโลง ซึง่ นับวาเปนการ ทําลายพื้นที่ปาไมและความหลากหลายทางชีวภาพเปน อยางมาก และในป พ.ศ. 2554 ที่ผานมา ประเทศไทยเกิด เหตุการณมหาอุทกภัยขึน้ อันประกอบดวยลุม น้าํ สาขาตาง ๆ เหตุการณดังกลาวสงผลความเสียหายอยางรุนแรงตอทุก ภาคสวนของประเทศ ซึง่ มีสาเหตุหลักมาจากปริมาณน้าํ ฝน ที่ตกมากกวาปกติรอยละ 40 ขาดการบูรณาการบริหาร จัดการน้าํ เหนือเขือ่ นและใตเขือ่ น และผลกระทบจากสภาพ

ปาที่ลดลงอยางรวดเร็ว จากสาเหตุดังกลาวขางตน รัฐบาล ไดเล็งเห็นความสําคัญตอการแกไขปญหาอุทกภัยที่นับวัน จะรุนแรงและเกิดบอยครั้งมากขึ้น มีความจําเปนเรงดวนที่ ตองกําหนดมาตรการบริหารจัดการทรัพยากรน้ําทั้งระบบ อยางบูรณาการประกอบดวย ชวงตนน้ํา กลางน้ํา และ ปลายน้ํา โดยในสวนของชวงตนน้ําตองสงเสริมการดูแล พื้นที่ตนน้ําดวยการปลูกฟนฟูปาไมใหกลับมาทําหนาที่ ดูดซับน้ําฝนและปองกันการพังทลายอยางมีประสิทธิภาพ แมแตสว นของกลางน้าํ และปลายน้าํ สภาพปาพืน้ ทีร่ าบลุม ยังจะสามารถชวยบรรเทาความเสียหายของอุทกภัยไดใน ระดับหนึง่ ดังนัน้ การปลูกฟน ฟูสภาพปาควรตองดําเนินการ ครอบคลุมพื้นที่ลุมน้ําในภาพรวม ทั้งพื้นที่ตนน้ํา กลางน้ํา และปลายน้ํา

พระบาทสมเด็จพระเจาอยูห วั ฯ ทรงมีพระราชดําริเมือ่ วันที่ 24 กุมภาพันธ 2555 เกีย่ วกับ การตัดไมทําลายปาและแนวทางการปลูกปาฟนฟูพื้นที่ตนน้ํา กับคณะกรรมการยุทธศาสตร เพื่อการฟนฟูและสรางอนาคตประเทศ (กยอ.) และคณะกรรมการยุทธศาสตรเพื่อวางระบบ บริหารจัดการทรัพยากรนํา (กยน.) มีสาระสําคัญวา การปลูกปาควรจะปลูกไมเนื้อออนและ ไมเนื้อแข็งผสมผสานกันไป โดยเฉพาะทางภาคเหนือ สําหรับไมเนื้อออน ขึ้นเร็ว ใชงานและ ขายไดสวนหนึ่ง ทั้งยังปกปองไมเนื้อแข็งโตชา การปลูกไมผสมผสานดวยกันหลายชนิดเพื่อ การปองกันการทําลายและปองกันการตัดไมชนิดทีม่ รี าคาแพง ซึง่ แนวทางตามพระราชดํารินี้ สามารถนําไปประยุกตใชไดกับพื้นที่ภาคอื่น ๆ ทั่วประเทศ โดยการเลือกชนิดพรรณไมให เหมาะสมกับสภาพพืน้ ทีแ่ ละระบบนิเวศทีแ่ ตกตางกันไปในแตละภูมภิ าค กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพ  ชื เปนหนวยงานหลักหนวยงานหนึง่ ทีม่ ภี ารกิจดูแลและฟน ฟูพนื้ ทีป่ า ตนน้าํ ทัง้ หมดของประเทศ ไดรบั มอบหมายใหจดั ทําโครงการใหสอดคลองกับแผนบริหารจัดการน้าํ ของ กยน. พรอมทัง้ นอมนําแนวพระราชดําริทพ ่ี ระบาทสมเด็จพระเจาอยูห วั ฯ ไดพระราชทานมาเปน แนวทางปฏิบตั ใิ หสมั ฤทธิผ์ ลตอการฟน ฟูระบบนิเวศตนน้าํ ในพืน้ ทีล่ มุ น้าํ หลัก การจัดทําหนังสือ คูม ือในการเลือกชนิดพรรณไมที่เหมาะสมสําหรับการฟน ฟูปาเพือ่ ปองกันอุทกภัยในพืน้ ทีล่ มุ น้าํ ตาง ๆ ซึง่ ไดดาํ เนินการไปแลวในพืน้ ทีล่ มุ น้าํ เจาพระยาใหญ (สํานักงานหอพรรณไม, 2555) ทีค่ รอบคลุมภาคเหนือและภาคกลาง ในสวนของพืน้ ที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ซึง่ เปนพื้นที่ หนึ่งที่ไดรับผลกระทบจากการเกิดอุทกภัยบอยครั้ง แมจะไมรุนแรงเทาทางภาคเหนือและ ภาคกลาง แตยังคงนําพาใหเกิดความเสียหายในวงกวาง จึงเปนที่มาของการจัดทําหนังสือ คูม อื เลือกชนิดพรรณไมเพือ่ ปลูกปาปองกันอุทกภัยในพืน้ ทีภ่ าคตะวันออกเฉียงเหนือ ซึง่ ภาค ตะวันออกเฉียงเหนือมีพน้ื ทีล่ มุ น้าํ ทีส่ าํ คัญ 3 ลุม น้าํ หลัก ไดแก ลุม น้าํ โขง ลุม น้าํ ชี และลุม น้าํ มูล 1 SW 6455-p new-G8.indd p1

10/29/56 BE 3:41 PM


การจัดทําหนังสือคูมือนี้ เปนสวนหนึ่งของกิจกรรม เพือ่ รองรับโครงการฟน ฟูสภาพปาทางภาคตะวันออกเฉียง เหนื อ เพื่ อ เป น แนวทางให แ ก ผู ป ฏิ บั ติ ง านภาคสนาม ประกอบการตัดสินใจเลือกชนิดพรรณไมทเี่ หมาะสมตอการ ปลูกปาในแตละพืน้ ที่ โดยคณะผูจ ดั ทําไดรวบรวมขอมูลจาก การคนควางานวิจัยดานปาไมที่ผานมาประกอบกับขอมูล ขอมูลประสบการณของนักพฤกษศาสตรและนักนิเวศวิทยา ปาไมของสํานักวิจยั การอนุรกั ษปา ไมและพันธุพ ชื นําเสนอ ขอมูลตาง ๆ ที่เปนประโยชนตอผูปฏิบัติงานภาคสนาม ภาครัฐสวนอื่น ๆ ภาคเอกชนและประชาชนทั่วไปสามารถ นําคูมือดังกลาวไปใชเปนขอมูลทางวิชาการการประยุกต การดําเนินการปลูกปาในพื้นที่รับผิดชอบของตนเองได ซึ่ง รูปแบบการฟนฟูสภาพปาที่เคยดําเนินการมาในพื้นทาง ภาคเหนือ (FORRU, 2000) สามารถนําแปนแนวทางในการ ปฏิบตั ใิ นพืน้ ทีภ่ าคตะวันออกเฉียงเหนือไดเชนเดียวกัน ซึง่ มีแนวคิดตามการคัดเลือกชนิดพรรณไมที่เปนไมโครงสราง (framework speciers) ของ Blakesleya et al. (2002) ที่สวน ใหญเปนไมโตเร็วและหาไดงา ยในพืน้ ที่ เพือ่ ปลูกฟน ฟูสภาพ ปาในระยะแรก ๆ ซึ่งจะปรากฏในหัวขอ “ขอแนะนํา” โดย เนนการการผสมผสานปลูกฟน ฟูสภาพปาในเชิงระบบนิเวศ เดิมของพื้นที่ เพื่อใหมีโอกาสประสบผลสําเร็จในการฟนฟู สภาพปามากหรือเร็วยิ่งขึ้น บัญชีรายชือ่ พรรณไมทนี่ าํ เสนอโดยการคัดเลือกจาก พรรณไมทพี่ บเห็นในพืน้ ทีท่ างภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ทัง้ ไมโตเร็วและไมโตชา ครอบคลุมทั้ง 7 ชนิดปา ไดแก ปา เบญจพรรณ ปาเต็งรัง ปาดิบแลง ปาดิบเขา ปาไมกอ -ไมสน ปาละเมาะเขาต่ํา และปาบึงน้ําจืดหรือปาบุง-ปาทาม ทั้งนี้

หลักการเลือกชนิดไมจากคูมือเลมนี้มีความจําเปนที่ตอง รูจักสังคมพืชหรือระบบนิเวศของพื้นที่ที่ตองการฟนฟูวา สภาพพืน้ ทีเ่ ดิมเปนปาชนิดใด ลักษณะภูมปิ ระเทศเปนแบบ ใด โดยเฉพาะความสู ง ของพื้ น ที่ จ ากระดั บ น้ํ า ทะเล ปานกลาง จึงจะสามารถตัดสินใจเลือกชนิดพรรณไมที่ เหมาะสมในเบือ้ งตนเพือ่ ฟน ฟูสภาพปาใหกลับมาใกลเคียง กับสภาพเดิม และสามารถบรรเทาผลกระทบจากการเกิด อุทกภัยในระยะยาวได

การจัดทําคูมือนี้มีขอจํากัดดานเวลาและ การคนควาเอกสาร ดังนั้นขอมูลบางสวนอาจมี นอยรวมถึงชนิดพรรณไมยังไมครอบคลุมทั่วทั้ง ระบบนิ เวศของลุ ม น้ํ า ที่ มี ข นาดใหญ รวมทั้ ง สัดสวนของชนิดพรรณไมทโี่ ตเร็วมีนอ ยกวาชนิด พรรณไมทโ่ี ตชา แตในเบือ้ งตนนีเ้ ปนชนิดพรรณไม ที่พบไดทั่วไป และงายตอการจัดหาเมล็ดหรือ กลาไม พรอมทั้งสภาพถิ่นที่อยูที่เหมาะสมตอ การเจริญเติบโต มีขอ มูลดานการขยายพันธุแ ละ การเจริญเติบโต และขอแนะนําเพิ่มเติมของ แตละชนิดในเบื้องตน ซึ่งสามารถสอบถามผูมี ประสบการณดานการเพาะชํากลาไมและการ ปลูกปาของกรมปาไม และกรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพ  ชื หรือการคนควาเอกสารอืน่ เพิม่ เติมดวยตนเอง จะชวยใหการเพาะขยายพันธุ และการปลูกปาประสบความสําเร็จมากยิ่งขึ้น

2 SW 6455-p new-G8.indd p2

10/29/56 BE 3:41 PM


ภาพที่ 1 ปาเสื่อมโทรมบริเวณกวาง รอบ ๆ อุทยานแหงชาติภูเรือ จังหวัดเลย ซึ่งเปนปาดิบแลง

3 SW 6455-p new-G8.indd p3

10/15/56 BE 7:39 PM


¢ŒÍÁÙž×é¹°Ò¹¢Í§ÅØ‹Á¹íéÒã¹ÀÒ¤μÐÇѹÍÍ¡à©Õ§à˹×Í

พื้นที่เปาหมายเพื่อวางแผนการจัดการปองกันการ เกิดอุทกภัย ในเขตพื้นที่ลุมน้ําภาคตะวันออกเฉียงเหนือ อันประกอบดวยลุมน้ําสาขาหลักจํานวน 3 ลุม น้าํ ไดแก ลุม น้ําโขง ลุม น้าํ ชี และลุม น้าํ มูล ขนาดพืน้ ที่ ขอบเขต และทีต่ ง้ั แสดงในภาพที่ 2 และตารางที่ 1 ครอบคลุมพื้นที่จังหวัด ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือทัง้ หมด 19 จังหวัด ซึง่ ขอมูล การแบงภาคเปนภาคตะวันออกเฉียงเหนือในที่นี้รวมถึง ภาคตะวันออก ตามการแบงเขตภูมศิ าสาตรการกระจายพันธุ ของ เต็ม สมิตนิ นั ทน (Smitinand, 1989) ทีใ่ ชในหนังสือพรรณ พฤกษชาติของประเทศไทย ที่ใชมาอยางยาวนาน แตจาก ขอมูลการศึกษาพรรณพฤกษชาติของประเทศไทยมาอยาง ยาวนาน มีขอสังเกตวาสังคมพืชของเขตภูมิศาสตรภาค ตะวันออกและภาคตะวันออกเฉียงเหนือตามหนังสือพรรณ

พฤกษชาติของประเทศไทยมีลักษณะทับซอนกัน บางสวน มีความคลายคลึงกับสังคมพืชภาคเหนือ และบางสวนมี ความคลายคลึงกับสังคมพืชภาคกลางไปจนถึงสังคมพืช ภาคตะวันตกเฉียงใต ทัง้ สภาพภูมปิ ระเทศและชนิดพรรณไม ซึ่งทางผูศึกษาวิจัยในเรื่ อ งนี้ จ ะได ตี พิ ม พ เ ผยแพร ต อ ไป ดังนัน้ เขตภูมศิ าสตรพชื พรรณทีก่ ลาวในหนังสือเลมนี้ เปน ไปตามเขตการปกครอง และครอบคลุมสังคมพืชที่หลาก หลายมากกวาภาคอื่น ๆ ทําใหมีขอมูลของพรรณไมบาง ชนิดทีเ่ คยกลาวไปแลวใน “คูม อื เลือกชนิดพรรณไมเพือ่ ปลูก ปาปองกันอุทกภัย” สําหรับพื้นที่ลุมน้ําเจาพระยาใหญ สามารถใชเปนขอมูลสําหรับการบริหารจัดการในการปลูก ปาในพืน้ ทีภ่ าคตะวันออกเฉียงเหนือในบางสวนได ตามราย ชื่อที่ปรากฎในหนา 19–20

ภาพที่ 2 ขอบเขตลุมน้ําและพื้นที่ปาไมป พ.ศ. 2543 ของลุมน้ําหลักภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 3 ลุมน้ํา ที่มา: สวนภูมิสารสนเทศ สํานักฟนฟูและพัฒนาพื้นที่อนุรักษ และสํานักอนุรักษและจัดการตนน้ํา กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช

4 SW 6455-p new-G8.indd p4

10/29/56 BE 3:42 PM


ÅØ‹Á¹íéÒ⢧

แมนา้ํ โขงเปนแมนา้ํ นานาชาติทมี่ ตี น กําเนิดมาจากที่ ราบสูงทิ​ิเบต ไหลผานตอนใตของประเทศจีน ตะวันออก ของพมา ภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือของไทย ลาว และกัมพูชา กอนที่จะไหลลงสูทะเลจีนใตทางภาคใต ของเวียดนาม แมน้ําโขงจัดเปนแมน้ําสายที่ยาวที่สุดใน เอเชียตะวันออกเฉียงใต โดยมีความยาวทั้งสิ้น 4,173 กิโลเมตร แบงเปนแมน้ําโขงตอนบน มีความยาวประมาณ 1,800 กิโลเมตร และแมน้ําโขงตอนลาง ซึ่งมีความยาว ประมาณ 2,373 กิโลเมตร มีพื้นที่ลุมน้ําแมน้ําโขงตอนลาง 10,216.90 ตารางกิโลเมตร ประกอบดวยลุมน้ํากก ลุมน้ํา โตนเลสาป ลุมน้ําโขง (เหนือ) ลุมน้ําโขง (ตะวันออกเฉียงเหนือ) ลุมน้ํามูล และลุมน้ําชี เปนพื้นที่ลุมน้ําในประเทศ ลาว 195,060 ตารางกิโลเมตร ในประเทศกัมพูชา 152,440

ตารางกิโลเมตร และในประเทศเวียดนาม 65,420 ตารางกิโลเมตร ในทีน่ ี้ จะกลาวถึงเฉพาะลุม น้าํ โขงทางภาคตะวันออก เฉียงเหนือ ที่อยูในประเทศไทย แมน้ําโขงไหลจากประเทศ ลาวเขาสูพรมแดนไทยลาวที่อําเภอเชียงคาน จังหวัดเลย เรือ่ ยไปจนไปถึงอําเภอโขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานี โดยมี พืน้ ทีล่ มุ น้าํ ทัง้ หมดรวมประมาณ 14,176.93 ตารางกิโลเมตร พื้นที่ลุมน้ําสวนใหญครอบคลุมพืน้ ทีจ่ งั หวัดเลย หนองคาย อุดรธานี หนองบัวลําภู สกลนคร นครพนม มุกดาหาร อํานาจเจริญ และอุบลราชธานีสภาพภูมปิ ระเทศของลุม น้าํ โดย ทัว่ ไปจัดเปนพืน้ ทีร่ าบสูง มีระดับอยูเ หนือระดับน้าํ ทะเลปาน กลางระหวาง 100–200 เมตร มีเทือกเขาทางดานทิศใตและ

ภาพที่ 3 พื้นที่ลุมน้ําโขง ทิศตะวันตกของลุม น้าํ เทือกเขาทีส่ าํ คัญ คือ เทือกเขาเพชรบูรณ ดงพญาเย็น ภูพาน และพนมดงรัก ทําใหพนื้ ทีข่ องลุม น้าํ ดาน ทิศตะวันตก และทิศใตมีแนวเขาเปนตัวแบงเขต ลาดเทจาก ทิศใตไปทิศเหนือ เปนแหลงกําเนิดของแมน้ําที่สําคัญ คือ แมนาํ้ เลย น้าํ โมง น้าํ สวย หวยหลวง แมนาํ้ สงคราม หวยน้าํ ก่าํ เปนตน มีอาณาเขตติดกับประเทศลาวทางทิศเหนือ ทิศใตตดิ กับลุม น้าํ ปาสัก ลุม น้าํ ชี ลุม น้าํ มูล ทิศตะวันออกติดกับประเทศ ลาว ทิศตะวันตกติดกับลุมน้ํานาน (ภาพที่ 3) ภาพที่ 4 ปาบุง-ปาทาม รอบ ๆ แมน้ําสงคราม 5 SW 6455-p edit-G8.indd p5

10/29/56 BE 4:52 PM


ÅØ‹Á¹íéÒªÕ ลุ ม น้ํ า ชี ตั้ ง อยู ใ นภาคตะวั น ออกเฉี ย งเหนื อ ของ ประเทศไทย มีพื้นที่ลุมน้ํารวมทั้งสิ้น 49,131.92 ตาราง กิโลเมตร หรือ 30,707,453 ไร มีพื้นที่สวนใหญอยูในเขต 14 จังหวัด ไดแก ชัยภูมิ ขอนแกน หนองบัวลําภู อุดรธานี มหาสารคาม นครราชสีมา เลย เพชรบูรณ กาฬสินธุ รอยเอ็ด ยโสธร อุบลราชธานี ศรีสะเกษ และมุกดาหาร ทิศเหนือติดกับลุม น้าํ โขง ทิศใตตดิ กับลุม น้าํ มูล ทิศตะวันออก ติดกับลุม น้าํ โขงและลุม น้าํ มูล ทิศตะวันตกติดกับลุม น้าํ ปาสัก สภาพภูมิประเทศของลุมน้ําชีประกอบไปดวยเทือกเขาสูง ทางทิ ศ ตะวั น ออกและทิ ศ เหนื อ คื อ เทื อ กเขาภู พ าน ทิศตะวันตกคือ เทือกเขาดงพญาเย็นซึง่ เปนตนกําเนิดของ แมนํ้าชีและแมนํ้าสาขาที่สําคัญหลายสาย สวนพื้นที่ตอน กลางเปนทีร่ าบถึงลูกคลืน่ ลอนและมีเนินเล็กนอยทางตอน ใตของลุมน้ํา ลําน้ําสายหลัก คือ แมน้ําชี ลําน้ําสาขาที่ สําคัญ คือ น้ําพรม น้ําพอง น้ําเชิญ ลําปาว และน้ํายัง

แมน้ําชี มีตนกําเนิดมาจากยอดเขาในแนวเทือกเขา เพชรบูรณ ในเขตอําเภอเกษตรสมบูรณ จังหวัดชัยภูมิ ไหล ลงมาทางทิ ศ ตะวั น ออกเฉี ย งใต ผ า นอํ า เภอจั ตุ รั ส และ อําเภอเมืองชัยภูมิ แลวไหลยอนขึ้นไปทางทิศตะวันออก เฉียงเหนือผานอําเภอคอนสวรรค จังหวัดชัยภูมิ อําเภอ มัญจาคีรี อําเภอเมืองขอนแกน และวกลงมาทางทิศตะวัน ตกเฉียงใตผานอําเภอโกสุมพิสยั อําเภอเมืองมหาสารคาม อําเภอเสลภูมิ อําเภอพนมไพร จังหวัดรอยเอ็ด อําเภอเมือง ยโสธร อําเภอมหาชนะชัย จังหวัดยโสธร และอําเภอเขือ่ งใน จังหวัดอุบลราชธานี ไหลลงมาบรรจบกับแมนา้ํ มูลทีอ่ าํ เภอ เมื อ ง จั ง หวั ด อุ บ ลราชธานี ความยาวประมาณ 830 กิโลเมตร (ภาพที่ 5)

ภาพที่ 5 พื้นที่ลุมน้ําชี

6 SW 6455-p new-G8.indd p6

10/29/56 BE 3:43 PM


ÅØ‹Á¹íéÒÁÙÅ ลุมน้ํามูลตั้งอยูในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีพื้นที่ ประมาณ 71,060 ตารางกิ โ ลเมตร หรื อ ประมาณ 44,412,479 ไร พืน้ ทีส่ ว นใหญครอบคลุม 10 จังหวัด ในภาค ตะวันออกเฉียงเหนือตอนลาง และบางสวนของภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนกลาง มีอาณาเขตติดตอ ดังนี้ ทิศเหนือ ติดกับลุมน้ําชีและลุมน้ําโขงอีสาน ทิศใต ติดกับลุมน้ํา ปราจีนบุรี ลุม น้าํ โตนเลสาปและประเทศกัมพูชา ทิศตะวันออก ติดกับลุมน้ําโขงและประเทศลาว และทิศตะวันตก ติดกับ ลุมน้ําปาสักและลุมน้ําบางปะกง

ต่าํ ลงมาทางทิศเหนือสูแ มนา้ํ มูล มีระดับความสูงจากระดับ น้ําทะเลปานกลางประมาณ 100–150 เมตร สําหรับทาง ดานทิศเหนือเปนเนินเขาระดับไมสงู มากนัก มีระดับความสูง จากระดับน้ําทะเลปานกลาง 150–250 เมตร จากนั้นพื้นที่ คอย ๆ ลาดต่ําลงมาทางทิศใตสูแมน้ํามูลเชนกัน สวนทาง ตอนลางของลุมน้ํา สภาพภูมิประเทศสวนใหญยังคงเปน ที่ราบสูง มีทิวเขาพนมดงรักเปนแนวยาวทางตอนใต พื้นที่ จะค อ ยๆ ลาดลงไปทางด า นตะวั น ออกในเขตจั ง หวั ด ศรี ส ะเกษ มี ที่ ร าบสลั บ เนิ น เขา ส ว นในเขตจั ง หวั ด อุบลราชธานี ยโสธร และอํานาจเจริญ สวนใหญเปนที่ ทางตอนบนของลุมน้ํามีสภาพภูมิประเทศสวนใหญ ราบลุมสลับลูกคลื่นลอนลาดถึงลูกคลื่นลอนชัน ความสูง เปนพื้นที่ราบสูง มีเทือกเขาบรรทัดและพนมดงรักเปนแนว ของพื้นที่จากระดับน้ําทะเลปานกลางโดยเฉลี่ย 200 เมตร ยาวอยูทางทิศใต มีระดับความสูงจากระดับน้ําทะเลปาน (ภาพที่ 6) กลางประมาณ 300–1,350 เมตร ซึ่งเปนตนกําเนิดของ แมน้ํามูลและลําน้ําสาขาตาง ๆ จากนั้นพื้นที่คอยๆ ลาด

ภาพที่ 6 พื้นที่ลุมน้ํามูล

7 SW 6455-p new-G8.indd p7

10/29/56 BE 3:43 PM


8. ลําเสียวใหญ มีตนกําเนิดจากที่ราบสูงสันปนน้ํา ลุม น้าํ มูล แบงตามสภาพภูมปิ ระเทศออกเปน 2 สวน คือ ลุม น้าํ มูลตอนบนและลุม น้าํ มูลตอนลาง มีแมนาํ้ ทีส่ าํ คัญ ระหวางลุมน้ํามูลและลุมน้ําชี มีลําน้ําสาขา คือ ลําเตา คือ แมนาํ้ มูล เปนแมนาํ้ สายหลัก นอกจากนีย้ งั มีลาํ น้าํ สาขา ลําเสียวใหญ และลํ าเสียวนอย ไหลมาบรรจบกั นเปน ลําเสียวใหญท่ีอําเภอสุวรรณภูมิ จังหวัดรอยเอ็ด แลวมา ตาง ๆ อีกหลายสาย ลําน้ําสาขา ที่สําคัญ ๆ มีดังนี้ บรรจบกั บ ห ว ยก า กว า กเป น ลํ า เสี ย วไหลลงแม น้ํ า มู ล 1. ลํ า ตะคอง มี ต น กํ า เนิ ด บริ เวณสั น ป น น้ํ า ของ ที่อําเภอราษีไศล จังหวัดศรีสะเกษ มีพื้นที่ลุมน้ําประมาณ ลุม น้าํ มูล ลุม น้าํ ปาสัก และลุม น้าํ นครนายก ไหลผานอําเภอ 4,381 ตารางกิโลเมตร ปากชอง อําเภอสูงเนิน จังหวัดนครราชสีมา และบรรจบกับ 9. หวยสําราญ มีตน กําเนิดจากเทือกเขาดานใตของ แมนํา้ มูลทายน้ํา อําเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา มีการ สรางเขื่อนกั้นน้ําลําตะคอง มีพื้นที่ลุมน้ําประมาณ 3,318 อําเภอขุขันธ จังหวัดศรีสะเกษ ไหลบรรจบกับหวยแฮดที่ อําเภอเมือง จังหวัดศรีสะเกษ กอนที่จะไหลลงแมน้ํามูล มี ตารางกิโลเมตร ความยาวลําน้ําประมาณ 180 กิโลเมตร มีปริมาณพื้นที่ 2. ลําพระเพลิง มีตนกําเนิดจากเทือกเขาสันปนน้ํา ลุมน้ําประมาณ 3,549 ตารางกิโลเมตร ระหวางลุมน้ํามูลและลุมน้ํานครนายก ไหลผานอําเภอ 10. หวยขยุง มีตนกําเนิดจากเทือกเขาดานใตของ ปกธงชัย จังหวัดนครราชสีมา และบรรจบแมน้ํามูลบริเวณ อํ า เภอโชคชั ย จั ง หวั ด นครราชสี ม า มี ก ารสร า งเขื่ อ น จังหวัดศรีสะเกษ ไหลผานอําเภอกันทรลักษ ไปบรรจบกับ ลําพระเพลิงเพื่อการชลประทาน มีพื้นที่ลุมน้ําประมาณ แม น้ํ า มู ล ก อ นถึ ง สบชี - มู ล เล็ ก น อ ย มี ค วามยาวลํ า น้ํ า ประมาณ 175 กิโลเมตร โดยมีหวยทาเปนลําน้ําสาขามี 2,324 ตารางกิโลเมตร ความยาวประมาณ 160 กิโลเมตร พื้นที่ลุมน้ําประมาณ 3. ลําปลายมาศ มีตนกําเนิดจากบริเวณเทือกเขา 3,356 ตารางกิโลเมตร พรมแดนติดตอกับประเทศกัมพูชาประชาธิปไตย ไหลผาน 11. ลําโดมใหญ มีตน กําเนิดจากเทือกเขาดานใตของ อําเภอลําปลายมาศ จังหวัดบุรีรัมย และบรรจบแมน้ํามูลที่ อําเภอชุมพวง จังหวัดนครราชสีมา มีพื้นที่ลุมน้ําประมาณ อําเภอน้าํ ยืน จังหวัดอุบลราชธานี ไหลผานอําเภอเดชอุดม จังหวัดอุบลราชธานี ไปบรรจบกับแมนา้ํ มูลทีด่ า นเหนือของ 3,941 ตารางกิโลเมตร อําเภอพิบูลมังสาหาร จังหวัดอุบลราชธานี มีความยาว 4. ลําชี มีตนกําเนิดจากเทือกเขาบริเวณ อําเภอ ลําน้ําประมาณ 220 กิโลเมตร พื้นที่ลุมน้ําประมาณ 4,909 บานกรวด จังหวัดบุรีรัมย ไหลผานอําเภอประโคนชัย ตารางกิโลเมตร จังหวัดบุรีรัมย อําเภอเมือง จังหวัดสุรินทร และบรรจบ 12. ลําโดมนอย มีตนกําเนิดจากเทือกเขาชายแดน แมน้ํามูลบริเวณเหนือน้ํา อําเภอทาตูม จังหวัดสุรินทรเล็ก ประเทศกัมพูชาไหลผานอําเภอบุณฑริก จังหวัดอุบลราชธานี นอย มีพื้นที่ลุมน้ําประมาณ 5,061 ตารางกิโลเมตร และไปบรรจบกั บ แม นํ้ า มู ล ที่ อํ า เภอโขงเจี ย ม จั ง หวั ด 5. หวยทับทัน มีตนกําเนิดจากเทือกเขาบริเวณ อุบลราชธานี มีการกอสรางเขื่อนสิรินธร เพื่อผลิตกระแสอําเภอสังขะ จังหวัดสุรินทร ไหลผานอําเภอสําโรงทาบ ไฟฟาและชลประทาน มีความยาวลําน้ําประมาณ 127 จังหวัดสุรินทร อําเภอหวยทับทัน จังหวัดศรีสะเกษ และ กิโลเมตร พื้นที่ลุมน้ําประมาณ 2,197 ตารางกิโลเมตร บรรจบแมนา้ํ มูลที่ อําเภอราษีไศล จังหวัดศรีสะเกษ มีพนื้ ที่ 13. ลําเซบาย มีตนกําเนิดจากสันปนน้ําของลุมน้ํา ลุมน้ําประมาณ 3,680 ตารางกิโลเมตร เซบายและลุม น้าํ หวยบังอี ไหลผานอําเภอเลิงนกทา จังหวัด 6. ลําเชิงไกร มีตนกําเนิดจากเทือกเขาสันปนน้ํา ยโสธร อําเภอมวงสามสิบ จังหวัดอุบลราชธานี บรรจบกับ ระหว า งลุ ม น้ํ า มู ล และลุ ม น้ํ า ป า สั ก ไหลผ า นอํ า เภอ แมนา้ํ มูลกอนถึง อําเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานีเล็กนอย ดานขุนทด อําเภอโนนสูง จังหวัดนครราชสีมา และไหลลง พื้นที่ลุมน้ําประมาณ 3,132 ตารางกิโลเมตร บรรจบแมน้ํามูลกอนถึง อําเภอพิมาย จังหวัดนครราชสีมา 14. ลํ า เซบก มี ต น กํ า เนิ ด จากที่ บ ริ เวณจั ง หวั ด มีพื้นที่ลุมน้ําประมาณ 2,958 ตารางกิโลเมตร อํ า นาจเจริ ญ ไหลผ า นอํ า เภอตระการพื ช ผล จั ง หวั ด 7. ลําสะแทด มีตนกําเนิดจากที่ราบสูงสันปนน้ํา อุบลราชธานี ไหลไปบรรจบกับแมน้ํามูลกอนถึงอําเภอ ระหวางลุม น้าํ มูลและลุม น้าํ ชี ไหลผานอําเภอปะทาย จังหวัด พิบลู มังสาหาร พืน้ ทีล่ มุ น้าํ ประมาณ 3,665 ตารางกิโลเมตร นครราชสีมา ลงแมนาํ้ มูลตอนใตของอําเภอพุทไธสง จังหวัด บุรีรัมย มีพื้นที่ลุมน้ําประมาณ 3,192 ตารางกิโลเมตร 8 SW 6455-p new-G8.indd p8

10/29/56 BE 3:47 PM


9

SW 6455-p edit-G8.indd p9

10/29/56 BE 4:53 PM

319,502.97 149.69

รวมทั้งหมด

4,700,790.59

2,827,537.74 5,194,158.70

1,241,753.99

1,143,943.87

2,705,663.13

102,797.71

2,808,460.84

ปาเต็งรัง

45,009.37

9,968.32

9,968.32

ปาบุง-ปา ทาม

361,587.88 158,949.18

173,625.42 103,971.48

128,297.47

46,485.32

13,179.68

59,664.99

ปาที่พื้นฟู ตามธรรมชาติ ปาไผ

8,593.20

ปาสนเขา

7,508,865.54 248,585.37 102,641.84

512.91

5,553.01 102,128.93

435,763.70 112,138.23

2,011,829.21

2,855,036.10 122,300.92

2,206,236.53

5,061,272.63 130,894.13

ปา เบญจพรรณ

พื้นที่ปา ป พ.ศ.2543

หมายเหตุ 1. คํานวณหาเนื้อที่ดวยโปรแกรม ArcGIS ในระบบพิกัด WGS1984 โซน 47 2. ขอมูลขอบเขตลุมน้ํา ; สํานักอนุรักษและจัดการตนน้ํา 3. ขอมูลการใชประโยชนที่ดินปาไม ป พ.ศ. 2543; สวนภูมิสารสนเทศ, สํานักฟนฟูและพัฒนาพื้นที่อนุรักษ

149.69

605 มูล

1,462,499.96

400,258.56

โขง (ตอน 173,756.06 ลาง)

24,028.88

10,494.34

โขง (ตอน 121,718.02 บน)

604 ชี

410,752.90

295,474.09

ปาดิบแลง

602 โขง

ปาดิบ ชื้น

ปาดิบเขา

รหัส ชื่อลุมน้ํา ลุม น้ํา

ตารางที่ 1 ขอมูลพื้นที่ปาจําแนกตามพื้นที่ปาและพื้นที่ลุมนํา ป พ.ศ. 2543

390,646.75

159,999.62

172,604.33

54,763.79

3,279.02

58,042.81

สวนยูคา ลิปตัส

5,131,513.80

5,174,743.82

6,385,560.51

2,475,022.81

8,860,583.31

(ไร)

180,962.41 19,166,840.94

76,061.02

78,848.79

17,328.30

8,724.30

26,052.61

สวนสัก

รวมทั้งหมด

30,666.95

8,210.42

8,279.59

10,216.90

3,960.04

14,176.93

(ตาราง กิโลเมตร)

รวมทั้งหมด


ÅѡɳÐÊѧ¤Á¾×ª ภาคตะวั น ออกเฉี ย งเหนื อ ตั้ ง อยู บ นแอ ง โคราช และแองสกลนคร มีแมน้ําโขงกั้นเขตทางตอนเหนือและ ตะวันออกของภาค ทางดานใตจรดชายแดนกัมพูชา ทาง ตะวันตกมีเทือกเขาเพชรบูรณและเทือกเขาดงพญาเย็น เปนแนวกัน้ แยกจากภาคเหนือและภาคกลาง นับวามีเนือ้ ที่ มากทีส่ ดุ ของประเทศ คือ ประมาณ 155,400 ตารางกิโลเมตร หรือรอยละ 33.17 เทียบไดหนึ่งในสามของพื้นที่ทั้งหมด ของประเทศไทย เทือกเขาที่สูงที่สุดคือ ยอดภูหลวง ภูพาน และภูกระดึง ซึ่งเปนตนกําเนิดของแมน้ําสายสําคัญ ไดแก แมนาํ้ ชี ลําตะคอง แมนาํ้ พอง แมนาํ้ เลย แมนาํ้ พรม แมนาํ้ มูล และแมน้ําสงคราม พื้นที่ลุมน้ําภาคตะวันออกเฉียงเหนือมี พื้นที่ปาไมประมาณรอยละ 17 ของพื้นที่ทั้งหมด ประกอบ ไปดวยเทือกเขาและภูเขาสูงกระจายทั่วพื้นที่ คือ มีทิวเขา เลยอยูทางดานทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ทิวเขาเพชรบูรณ ทิวเขาดงพระยาเย็น และทิวเขาสันกําแพงอยูทางดานทิศ ตะวันตก ทิวเขาพนมดงรักอยูทางดานทิศใต มีภูเกาและ ภูพานอยูทางดานทิศเหนือ และเชื่อมตอกับทิวเขาเลยมา

พบทิวเขาพนมดงรัก สําหรับพืน้ ทีร่ าบลุม โดยทัว่ ไปสูงเหนือ ระดับน้าํ ทะเลปานกลาง 140–200 เมตร ลักษณะเปนลูกคลืน่ เนือ้ ดินเปนดินปนทราย และแทบจะไมมดี นิ ตะกอนอยูเ ลย ปริมาณน้ําฝนกวารอยละ 80 ตกในชวงฤดูฝน โดยเฉพาะ ในเดือนสิงหาคมและกันยายน จึงทําใหสังคมพืชสวนใหญ เปนปาผลัดใบ (deciduous forest) ไดแก ปาผลัดใบผสม หรื อ ป า เบญจพรรณ และป า เต็ ง รั ง ส ว นป า ไม ผ ลั ด ใบ (evergreen forest) ไดแก ปาดิบแลง จะพบไดตามหุบเขา หรือชายน้าํ หรือพืน้ ทีท่ มี่ ดี นิ ลึกอุดมสมบูรณ และปาดิบเขา (montane forest) จะพบตามภูเขาสูง กวา 1,000 เมตร ขึน้ ไป ซึ่งสภาพภูมิประเทศ ดิน หิน และการรบกวนจากกิจกรรม ของมนุษยเปนปจจัยรองทีท่ าํ ใหพนื้ ทีล่ มุ น้าํ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีสังคมพืชที่หลากหลายและซับซอน และบาง พื้นที่มีลักษณะของสังคมพืชเปนการเฉพาะ ลักษณะสังคม พืชของภาคตะวันออกเฉียงเหนือสามารถแบงไดเปน 7 สภาพปา โดยใชชื่อชนิดปาตาม ธวัชชัย (2549) ไดแก

1. ปาผสมผลัดใบ (mixed deciduous forest) หรือเรียกอีกชื่อวา “ปาเบญจพรรณ” เปนปาโปรง ผลัดใบในชวงฤดูแลงระหวางเดือนมกราคม–เมษายน ดิน เปนดินรวนปนทราย ปริมาณน้าํ ฝนเฉลีย่ รายปไมเกิน 1,400 มิลลิเมตร พบที่ระดับความสูงไมเกิน 1,000 เมตร และมัก จะมีไฟปาเกิดขึ้นเปนประจําเกือบทุกป ที่เปนปจจัยจํากัด ใหไมทไี่ มทนไฟและไมผลัดใบไมสามารถเขามาได มักพบไผ ชนิดตาง ๆ หลายชนิด ซึ่งเปนพืชดัชนีชี้วาเปนปาผลัดใบ ผสม และบงชี้ความอุดมสมบูรณของปาไดดี ปาที่มีไผขึ้น หนาแนน บงบอกวาเคยถูกรบกวนมากมากอน โดยจากไฟ ปา ความหลากหลายของชนิดพันธุม ไี มมากนักแตมจี าํ นวน ประชากรในแตละชนิดมาก ทั้งไมพุมและไมตนมีประมาณ 100–150 ชนิด เฉพาะไมตนมี 20–40 ชนิด ในขนาดพื้นที่ 1 เฮกแตร (6.25 ไร) โครงสรางเรือนยอดปาแบงเปน 4 ชั้น เรือนยอดระดับบนสุดสูงประมาณ 25–35 เมตร พรรณไม เดน ไดแก ประดู แดง มะคาโมง ตะแบก เสลา รกฟา พฤกษ ถอน สําโรง ปอตอก งิ้วปา ขวาว ตะเคียนหนู กระทุมเนิน มะกอก ประดูป า แคหิน แคหางคาง แคหัวหมู ตะคร้าํ สมกบ กระเชา ยมหิน ขานาง มะคาโมง ซอ เปนตน ปาผลัดใบ ผสมที่ชื้นมากและอยูในระดับสูงมักพบ กางหลวง ปอมืน เลียงฝาย ปอตูบหูชาง ทองหลาง ปาผลัดใบผสมตามพื้นที่ ราบมีดินลึกหรือใกลชายน้ํา มักพบ ตะแบกแดง ตะแบกนา เสลาขาว สมอพิเภก ทองเดือนหา ปนแถ ยางแดง เปนตน พื้นที่แหงแลงจะพบไผรวกและไผไร พื้นที่ชื้นปานกลางมัก

พบไผซางและไผบง พื้นที่ชื้นมากอยูตามที่ดอนหรืออยูใน ระดับสูงมักพบไผหก ไผบงดํา ไผบงใหญ ไผเปาะ และไผผาก ส ว นพื้ น ที่ ที่ ชื้ น มากตามที่ ร าบชายน้ํ า มั ก พบไผ ป า หรื อ ไผหนาม และไผลํามะลอ ในสวนไมเบิกนําของปาผลัดใบ ผสม ไมสามารถจําแนกไดชัดเจน เนื่องจากเกือบทุกชนิด ตองการแสงมาก และยังเปนพืชทนไฟ สามารถแตกหนอ ไดดีหลังปาถูกไฟปาเผาหรือถูกตัดฟน ไมที่เปนไมเบิกนํา และโตเร็ว มีนอ ยชนิด เชน สัก แคหางคาง แคหัวหมู แคหิน มะกอก ติ้ว พฤกษ ปนแถ กางหลวง มะหาด ทองหลาง กระทุม ตะแบก เสลา ปอ เลียง ยอปา งิว้ ปา ขวาว ตะเคียนหนู อะราง ยาบขี้ไก หมีเหม็น เสี้ยวดอกขาว ขานาง สะแกแสง มะกล่ําตน ซอ และไผชนิดตาง ๆ เปนตน (ภาพที่ 7)

10 SW 6455-p new-G8.indd p10

10/29/56 BE 3:48 PM


ภาพที่ 7 ปาเบญจพรรณ ในทองที่จังหวัดบุรีรัมย

2. ปาเต็งรัง (deciduous dipterocarp forest) หรือที่เรียกกันวาปาแดง ปาแพะ ปาโคก ลักษณะ ทัว่ ไปเปนปาโปรง ตามพืน้ ปามักจะมีโจด ตนปรง และหญา เพ็ก พื้นที่แหงแลงดินรวนปนทราย หรือกรวด ลูกรัง พบ ทัว่ ไปในทีร่ าบและทีภ่ เู ขา ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือสวน มากขึ้นอยูบนเขาที่มีดินตื้นและแหงแลงมาก ตามเนินเขา หรือทีร่ าบดินทราย มีสภาพปาโปรงมากกวาปาผลัดใบผสม พืน้ ลางมีหญาปกคลุมหนาแนน ผลัดใบในชวงฤดูแลง สภาพ อากาศคลายกับปาผลัดใบผสม ระดับความสูงไมเกิน 800 เมตร มั ก มี ไ ฟป า เกิ ด ขึ้ น เป น ประจํ า เกื อ บทุ ก ป ป จ จั ย แวดลอมทัว่ ไปคลายปาผสมผลัดใบ แตมดี นิ เปนลูกรัง มีหนิ และกรวดปะปนกับดินเหนียวหรือดินปนทราย ธาตุอาหาร ต่ําหรือมีธาตุอาหารบางอยางสูงเกินไปทําใหพืชสวนใหญ เจริญเติบโตไมได ความหลากหลายของพรรณไมมีไมมาก มีไมพุมและไมตนทั้งหมดไมเกิน 100 ชนิด เฉพาะไมตนมี ประมาณ 15–30 ชนิดในขนาดพื้นที่ 1 เฮกแตร โครงสราง

ชั้นเรือนยอดแบงออกเปน 3 ชั้นเรือนยอดสูง 10–30 เมตร ไม เ ด น ที่ เ ป น ดั ช นี ข องป า ชนิ ด นี้ จ ะเป น ไม ว งศ ย าง (Dipterocarpaceae) ที่ผลัดใบ 5 ชนิด อยางนอยจะขึ้น ปรากฏรวมกัน 2 ชนิดขึน้ ไป คือ เต็ง รัง ยางเหียง ยางพลวง กราด ไมเดนอืน่ ๆ มีหลายชนิดเหมือนกับทีพ่ บในปาผลัดใบผสม บางครั้งอาจพบสนสองใบ ที่ระดับความสูง 200–1,200 เมตร หรือ สนสามใบ ที่ระดับความสูง 1,000–1,700 เมตร ไมปา เต็งรังชอบแสงแดด ปาทีถ่ กู ทําลายใหม ๆ จะเห็นตนไม เกาแตกหนอขึ้นมาจากรากและตอไมเดิมอยางหนาแนน ปาที่กําลังทดแทนจะมีตนไมขึ้นหนาแนนมากและมีตน ขนาดเล็ก ไมพนื้ ลางเบาบาง การปลูกฟน ฟูปา เต็งรังทีไ่ มถกู รบกวนมากจึงไมมีความจําเปน (ภาพที่ 8–9)

ภาพที่ 8 ปาเต็งรังผสมสน 2 ใบ ที่โขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานี ในระดับความสูง ประมาณ 200 เมตร

11 SW 6455-p new-G8.indd p11

10/29/56 BE 3:48 PM


ภาพที่ 9 ปาเต็งรังในที่ราบลุม สอง ขางทางนครราชสีมา-ศรีสะเกษ ใน ระดับความสูงประมาณ 100 เมตร

3. ปาดิบแลง (dry evergreen forest) เปนปาไมผลัดใบ มองเห็นเรือนยอดปาเปนสีเขียว ตลอดป แตมีไมตนผลัดใบขึ้นผสมอยูประมาณไมเกินครึ่ง หนึ่ ง ขึ้ น แทรกกระจายมากหรื อ น อ ยขึ้ น กั บ สภาพลมฟ า อากาศและความชุมชื้นในดิน พบในพื้นที่ที่มีชั้นดินลึก เก็บความชุมชื้นไดนาน มีปริมาณน้ําฝนมากแตยังคงมีชวง ฤดูแลงที่ชัดเจน มักพบอยูตามหุบเขา รองหวย ริมลําธาร หรือในพื้นที่ราบเชิงเขา ไหลเขา สูงประมาณ 700–1,000 เมตร มีลักษณะเปนปาดิบแลงกึ่งปาดิบเขา หรือปาดิบแลง กึ่ ง ป า ผสมผลั ด ใบ ซึ่ ง มี ก ารผสมกั น ของพรรณไม ทั้ ง 3 ประเภทปา คือ ปาดิบแลง ปาดิบเขา และปาผลัดใบผสม เนือ่ งจากเปนชวงทีเ่ ริม่ มีฝนบนภูเขามากขึน้ ทําใหปา ในชวง ระดับความสูงนี้มีความหลากหลายของพรรณไมมาก มัก พบยางปายเปนพันธุไ มเดน ในปาผลัดใบทีม่ ลี าํ น้าํ สายใหญ

มีน้ําไหลหรือความชุม ชืน้ ตลอดป บริเวณสองฟากริมฝง น้าํ จะเปลี่ยนเปนปาดิบแลงริมฝงหรือ gallery forest ประกอบ ดวยไมตน ขึน้ เปนกลุม ๆ เพียงไมกช่ี นิด เชน ยางนา ยางแดง ตะเคียนทอง ประดูสม ทองหลางปา และยมหอม เปนตน ความหลากหลายของชนิดไมมีมากกวาปาผลัดใบแตนอย กวาปาดิบเขา แตละพืน้ ทีอ่ าจมีไมพมุ และไมตน มากถึง 300 ชนิด เฉพาะไมตน ประมาณวามี 40–70 ชนิด ในขนาดพืน้ ที่ 1 เฮกแตร โครงสรางชั้นเรือนยอดแบงออกเปน 4 ชั้นเรือน ยอด เรือนยอดปาสูง 20–50 เมตร พรรณไมเดน ไดแก ไมใน วงศยาง (Dipterocarpaceae) เชน ยางแดง ยางแข็ง ยางปาย พันจํา กระบาก ชามวง ไมเดนชนิดอื่น ๆ ไดแก กางหลวง มะแฟน มะยมปา ยมหิน ตามพืน้ ทีร่ าบใกลนาํ้ มักพบ ยมหอม ตาเสือ ตะแบก เสลา สัตบรรณ โพบาย ยางนา ตะเคียนทอง สะเดาชาง เฉียงพรานางแอ สมอพิเภก สมพง ปออีเกง มะมือ สารผักหละ หัวกา ยางนอง เปนตน พรรณไมเดน รองลงมา ไดแก มะคาโมง กระเบากลัก ลําไยปา คอแลน ยางโอน พญารากดํา มะปวน รักขาว พะวา เปนตน ไมเบิกนํา ของปาดิบแลงมีหลายชนิด อีกทัง้ ไมเบิกนําในปาผสมผลัดใบ สามารถเปนไมเบิกนําของปาดิบแลงไดเชนกัน เชน มะหาด ขนุนปา ลําปาง สะเตา สัตบรรณ ตองแตบ สอยดาว ตองเตา ลําพูปา พังแหรใหญ โพบาย สมพง ปออีเกง กระทุมบก มะยมปา มะเดือ่ ปลอง เดือ่ ปลองหิน สักขีไ้ ก ซอแมว ชาแปน เพกา แคฝอย ปอกระสา หมอนหลวง คาหด แหลบุก และ ไผ เปนตน (ภาพที่ 10–11)

ภาพที่ 10 ปาดิบแลงบริเวณที่ราบลุมแมน้ําโขงตอนบน ที่เขตรักษาพันธุสัตวปาภูวัว จังหวัดบึงกาฬ ในระดับความสูง ประมาณ 200 เมตร

12 SW 6455-p new-G8.indd p12

10/29/56 BE 3:49 PM


ภาพที่ 11 ปาดิบแลงบริเวณดานลางของเขตรักษาพันธุสัตวปาภูหลวง จังหวัดเลย

4. ปาดิบเขา (montane forest) เปนปาไมผลัดใบ พรรณไมเกือบทัง้ หมดไมผลัดใบ ขึน้ อยูท ร่ี ะดับความสูงมากกวา 1,000 เมตร จากระดับน้าํ ทะเล ปานกลาง มีสภาพอากาศที่เย็นและชุมชื้น สภาพปามี เรือนยอดแนนทึบ ไมพื้นลางหนาแนนคลายกับปาดิบชื้น และปาดิบแลงบนที่ต่ํา แตแตกตางกันในองคประกอบของ พรรณไม ปาดิบเขาต่ําประกอบดวยพรรณไมเขตอบอุน (temperate species) และพรรณไมภเู ขา (montane species) ทีต่ อ งการอากาศคอนขางหนาวเย็นตลอดป สวนใหญไดแก ไมกอ เนื่องจากระดับความสูงของพื้นที่และมีฝนภูเขาเกิด ขึ้นเปนประจํา อุณหภูมิในฤดูรอนมักจะไมเกิน 25 องศา เซลเซียส ตามลําตนและกิ่งของตนไมจะมีมอสและเฟรน เกาะเปนจํานวนมาก ตนไมที่อยูตามสันหรือยอดเขามักมี ลําตนแคระแกรน กิง่ กานบิดงอเนือ่ งจากแรงลมและมีดนิ ตืน้ พรรณไมมกี ารผสมผสานระหวางเขตรอน (tropical) กับเขต อบอุน (temperate) และเขตภูเขา (montane) ทีก่ ระจายมาจาก แนวเทือกเขาหิมาลัย และประเทศจีนตอนใต ปาดิบเขา สามารถแบงออกเปน 2 ประเภทตามระดับความสูงและ ลักษณะองคประกอบสังคมพืช คือ ปาดิบเขาระดับต่าํ พบที่ ระดับความสูง 1,000–1,900 เมตร และปาดิบเขาระดับสูง พบที่ระดับความสูงมากกวา 1,900 เมตร ปาชนิดนี้มีความ หลากหลายของพรรณไมมากกวาปาดิบแลงและปาผลัดใบ อืน่ ๆ อาจมีไมพมุ และไมตน มากถึง 400 ชนิด เฉพาะไมตน คาดว า มี 50–100 ชนิ ด ในขนาดพื้ น ที่ 1 เฮกแตร

โครงสร า งชั้ น เรื อ นยอดแบ ง ออกเป น 4 ชั้ น เรื อ นยอด เรือนยอดปาสูง 20–35 เมตร ซึ่งความสูงของเรือนยอดจะ ลดลงตามระดับความสูงที่เพิ่มขึ้น ปจจุบันปาดิบเขาต่ําที่ สมบูรณเหลืออยูนอยมาก สวนใหญจะถูกชาวเขาแผวถาง ทําไรเลือ่ นลอย พืน้ ทีป่ า ดิบเขาตามธรรมชาติ เมือ่ ถูกทําลาย แลวทิ้งรางไวนาน ๆ จะเปลี่ยนสภาพไปเปนปาดิบเขาต่ํา รุน สอง เชน ปาไมกอ หรือปาไมกอ -ไมสน พืน้ ทีป่ า ดิบเขาต่าํ ดั้งเดิมในปจจุบัน พบเหลือเปนหยอม ๆ บนภูเขาสูง บน ภูเขาหินทรายทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เชน ภูหลวง จังหวัดเลย พรรณไมเดนเปนไมวงศกอ (Fagaceae) เชน กอเดือย กอหรั่ง กอแปน กอหนาม กอใบเลื่อม กอผัวะ กอหมน กอพวง กอดาง กอตลับ กอสีเสียด ตางๆ กลุมพืช เมล็ดเปลือย เชน สนสามใบ มะขามปอมดง พญามะขาม ปอม พญาไม ขุนไม พรรณไมเดนชนิดอื่น ๆ เชน จําป จําปาปา มณฑา กวม ไมในวงศชา (Theaceae) เชน ทะโล ไกแดง เมี่ยงผี ปลายสาน แมงเมานก ไมในวงศอบเชย (Lauraceae) เชน ทัง แหน สะทิบ เทพธาโร วงศจําป-จําปา (Magnoliaceae) เชน จําปหลวง แกวมหาวัน จําปปา วงศหวา (Myrtaceae) เชน หวาหิน มะหา หวานา หวาเสม็ด และ แหว เปนตน สําหรับปาดิบเขาระดับสูง จะไมพบพรรณไม เขตรอนขึ้นอยูไดเลย เชน ไมวงศไทร (Moraceae) วงศถั่ว (Fabaceae) วงศ ต าเสื อ (Meliaceae) วงศ ก ระดั ง งา (Annonaceae) ไมเบิกนําของปาดิบเขา ไดแก กอแปน

13 SW 6455-p new-G8.indd p13

10/29/56 BE 3:49 PM


ก อ เดื อ ย ก อ หยุ ม ก อ สี เ สี ย ด ทะโล จํ า ป ห ลวง ปาดิบเขาผสมสนสามใบ จัดเปนสังคมพืชปาดิบเขาทุตยิ ภูมิ จุมป สนสามใบ จันทรทอง กําลังเสือโครง กอสรอย เนาใน (secondary) ไมตนเนื้อออนจําพวกสนเขา (conifer) ไดแก กลวยษี มะแขวน ทัง และตะไครตน เปนตน มะขามป อ มดง พญาไม และขุ น ไม ปาล ม ที่ พ บขึ้ น กระจัดกระจาย ไดแก เตาราง เขือง และคอ เปนตน พื้นที่ปาดิบเขาที่ถูกแผวถางและที่รกราง ตอมาจะมี (ภาพที่ 12) สนสามใบขึ้นปะปนกับพรรณไมดั้งเดิมของปาดิบเขา หรือ ภาพที่ 12 ปาดิบเขา ที่มีไมสนสามพันปเปนไมเดน บนเขาเขียว อุทยานแหงชาติเขาใหญ ในเขตจังหวัด ปราจีนบุรี ในระดับความสูงประมาณ 1,400 เมตร

5. ปาไมกอ-ไมสน (lower montane pine-oak forest) เกิดจากปาไมกอที่ถูกรบกวนบอยๆ เชน การแผว ถางปา ตัดไม เลี้ยงสัตว ฯลฯ ปจจัยที่สําคัญ คือ ไฟปาใน ฤดูแลง ทําใหเกิดชองวางในปาชนิดนี้ สนเขาโดยเฉพาะ สนสามใบจึงแพรพนั ธุไ ดดใี นปาไมกอ พืน้ ทีป่ า บางตอนเปดโลง มากจากการถูกทําลาย จะพบสนสามใบขึน้ เปนกลุม (stand) หนาแนน บางครั้งจะพบสนสามใบขึ้นเกือบเปนกลุมเดียว ลวน ๆ โดยเฉพาะพื้นที่ตามสันเขาและไหลเขาที่คอนขาง ลาดชันเนื่องจากการพังทลาย ดังนั้น จํานวนของไมสนใน ปาไมกอ จึงขึ้น อยูกับอัตราการถูกรบกวน การพังทลาย ของดินตามไหลเขา-สันเขา สภาพภูมปิ ระเทศและสภาพดิน ที่มีความชื้นในดินคอนขางนอยเฉพาะดินปนกรวดหรือ ดินทราย นอกจากสนสามใบแลว ปาไมกอ -ไมสนบางพืน้ ที่ อาจมี ส นสองใบขึ้ น แทรกห า ง ๆ โดยเฉพาะบนภู เขา หินทรายทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เชน ภูกระดึง และ ภูหลวง จ. เลย จะพบกลุม สนสองใบและสนสามใบขึน้ เกือบ

เปนกลุมเดียวลวน ๆ แทรกดวยไมใบกวาง เพียงไมกี่ตน พื้นที่ปาเปดโลง มีพืชพื้นลางพวกหญา–กกขึ้นหนาแนน สภาพภูมิประเทศดูคลายปาไมสน (pine savanna) ของเขต อบอุน ปาไมกอ-ไมสนแตกตางจากปาเต็งรัง-สนเขา (pinedeciduous dipterocarp forest) อยางชัดเจน ทางภาคใต และภาคตะวันออกเฉียงใตที่มีฝนชุก จะไมพบปาไมกอไมสนหรือปาสนเขาตามธรรมชาติ บนภูเขาหินปูนทั่วไปก็ จะไมพบไมสน (pine) เชนกัน ถึงแมวาจะอยูในชวงระดับ ความสูงทีไ่ มสนขึน้ ไดเนือ่ งจากไมสนชอบสภาพดินทีเ่ ปนกรด (calcifuge) ปาไมสนเขาเปนปาไมทมี่ กี ลุม ไมเนือ้ ออนจําพวก conifer ขึ้นบนที่ราบสูงของภูเขาหินทรายยอดตัดทางภาค ตะวันออกเฉียงเหนือตัง้ แตระดับความสูงประมาณ 1,100– 1,300 เมตร เชน ภูหลวง ภูกระดึงพื้นดินเปนดินทรายถึง ประมาณรอยละ 65–90 โครงสรางของปาดั้งเดิมตาม ธรรมชาติ มีไมสนเขาขนาดใหญ ไดแก แปกลม ขึ้นเปน 14

SW 6455-p new-G8.indd p14

10/29/56 BE 3:50 PM


ไมเดนของเรือนยอดชั้นบน มีความสูงตั้งแต 25–33 เมตร แปกลมบางตนสูงถึง 48 เมตร ขนาดเสนผานศูนยกลาง 70–95 เซนติเมตร แตพบแปกลมในปาสนเขาบนภูหลวง เทานั้น ไมสนเขาชนิดอื่นในปาไมสนเขา ไดแก พญาไม สนใบพาย และสนสามพันป ไมสนเขาที่มขี นาดรองลงมา ได แ ก ซางจี น และขุ น ไม พรรณไม ด อกอื่ น ๆ ที่ เ ป น องคประกอบของปาไมสนเขา ไดแก กอตลับ กอพวง เข็มปา และมะหา พืน้ ทีต่ ามสันเขาบางแหงทีเ่ ปนดินทราย ทางภาคใต ตอนลาง จะพบกลุม สนสามพันป ถึงระดับความสูงประมาณ 1,500 เมตร (ภาพที่ 13) ภาพที่ 13 ปาไมกอ-ไมสน เขตรักษาพันธุสัตวปา ภูหลวง จังหวัดเลย

6. ปาละเมาะเขาต่ํา (lower montane scrub) ปาละเมาะเขาต่ํา พบเปนหยอมเล็ก ๆ ตามลานหิน บนภูเขาหินทรายยอดตัดทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เชน ภู ก ระดึ ง และภู ห ลวง จ.เลย ที่ ร ะดั บ ความสู ง ระหว า ง 1,000–1,500 เมตร พื้นที่ลาดเล็กนอยสวนใหญเปนชั้นดิน ทรายตื้นๆ มีหินทรายโผล สภาพปาโลง มีไฟปารบกวน เปนครั้งคราว ไมตนมีความสูงจํากัด ตนไมมีลักษณะคดงอ แคระแกร็น สูงระหวาง 2–8 เมตร สลับกับไมพุมเตี้ย นานาพรรณ ความสูงระหวาง 0.30–5 เมตร ปาไดรับ แสงแดดตลอดเวลาที่ ไ ม มี เ มฆหมอกปกคลุ ม และได รั บ อิทธิพลจากกระแสลมแรงพัดผาน พรรณไมทพี่ บทัว่ ไป เชน กอเตีย้ หรือกอดํา กอพวง กุหลาบขาวกุหลาบแดง ชอไขมกุ

สมป สมแปะ เหงาน้ําทิพย สะเม็ก สายฝน กุหลาบหิน สารภีดอย ทะโล ไกแดง ชมพูภูพาน พวงตุมหู เข็มเขา เหมือดคนตัวผู สนทราย อาหลวง เอ็นอา เอ็นอานอย มือพระนารายณ งวนภู ปดเขา อินทวา กูดเกีย๊ ะ ปาละเมาะ เขาต่ําพบบางตามพื้นที่เปนหินปูนระหวาง 1,000–1,700 เมตร มักจะพบเปนหยอมเล็กตามภูเขาหินปูนที่ไมปรากฏ ชั้นดินชัดเจน มีแคโขดหินระเกะระกะ พรรณไมขึ้นอยูได ตามซอกหรือแองหินปูนทีม่ กี ารทับถม ของซากอินทรียวัตถุ พรรณไมสวนใหญมีใบหนาอุมน้ํา หรือลําตนและกิ่งกาน มีหนามแหลม เชน สลัดไดปา จันทนผา หรือจันทนแดง (ภาพที่ 14)

ภาพที่ 14 ปาละเมาะเขาต่ํา เขตรักษาพันธุสัตวปา ภูหลวง จังหวัดเลย

15 SW 6455-p edit-G8.indd p15

10/29/56 BE 4:54 PM


7. ปาบึงน้ําจืดหรือปาบุง-ปาทาม (freshwater swamp forest) ปาบึงน้าํ จืดหรือปาบุง -ทาม แตกตางจากปาพรุอยาง สําคัญ กลาวคือ ปาพรุเกิดบนพื้นที่เปนแองรูปกระทะ ที่มี การสะสมอย า งถาวรของซากพื ช หรื อ อิ น ทรี ย วั ต ถุ ที่ ไมผสุ ลาย แชอยูใ นน้าํ จืดทีไ่ ดรบั จากฝนเปนสวนใหญในฤดู น้ําหลากปริมาณน้ําสวนเกินในพรุจะเออลนไหลลงสูทะเล หรือแมนาํ้ ลําคลอง โดยทีช่ น้ั อินทรียวัตถุ ไมไดรบั ความกระทบ กระเทือน สวนปาบึงน้าํ จืดเกิดตามบริเวณสองฝง แมนา้ํ และ ลําน้ําสายใหญทางภาคใต เชน แมน้ําตาป, ภาคกลาง เชน แมน้ําเจาพระยา แมน้ําสะแกกรัง, ปาบึงน้ําจืด ในภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ เชน แมน้ํามูล ชี เรียกวาปาบุง-ทาม พืน้ ทีเ่ ปนแองมีนา้ํ ขังเรียกวาบุง พืน้ ทีด่ อนมีตน ไมใหญนอ ย เรียกทาม ปาบึงน้ําจืดได รับน้ําจืด ที่เออลนตลิ่งลําน้ําใน ฤดูนา้ํ หลาก บนพืน้ ปาไมมกี ารสะสมของอินทรียวัตถุอยาง ถาวร เนือ่ งจากซากพืชถูกน้าํ พัดพาไปกับกระแสน้าํ หลากที่ แปรปรวนอยูเ สมอ ปจจุบนั ปาบึงน้าํ จืดไดถกู ทําลายไปมาก เพื่อเปลี่ยนเปนที่ตั้งชุมชน พื้นที่เกษตรกรรม เชน สวน ยางพารา สวนปาลมน้าํ มัน สวนผลไม นาขาว ฯลฯ นอกจาก นีย้ งั พบปาบึงน้าํ จืดขนาดเล็ก ในบริเวณทีม่ ตี าน้าํ ใตดนิ หรือ

แหลงน้ําซับ ตามพื้นที่เขาหินปูนทางภาคกลางและภาคใต ลักษณะโครงสรางของปาบึงน้ําจืดในแตละทองที่จะแตก ต า งกั น ไปอย า งมากขึ้ น อยู กั บ ภู มิ ป ระเทศริ ม ฝ ง แม น้ํ า ปริมาณน้าํ ในฤดูนา้ํ หลากและสภาพของดิน ปาบึงน้าํ จืดบน ฝง ทีเ่ ปนทีร่ าบในฤดูนา้ํ หลากระดับน้าํ คอนขางสูง จะมีตน ไม ปกคลุม พืน้ ทีเ่ ปนกลุม ๆ กระจัดกระจายและตนไมมคี วาม สูงไมมากนัก พืน้ ลางเปนพืชจําพวกหญาและกก สวนพืน้ ที่ ดอนทีน่ าํ้ ทวมถึงเปนครัง้ คราวในระยะเวลาสัน้ ๆ จะพบกลุม ไมตน ขนาดกลาง-ใหญปกคลุมพืน้ ทีห่ นาแนน ติดตอกันเปน ผืนใหญไมตนที่พบทั่วไปในปาบึงน้ําจืด เชน กรวยสวน กันเกรา สีเสื้อน้ํา กระเบาใหญ ตะขบน้ํา จิกสวน สักน้ํา ชุมแสง สะแก มะมวงปาน กระทุม บก กระทุม หรือกระทุม น้าํ เงาะหนู กระทุม นา กระทุม น้าํ เฉียงพรานางแอ อินทนิลน้าํ พิกุลพรุ นาวน้ํา กลึงกลอม ชะมวงกวาง สานน้ํา ระกําปา คาง หวา แฟบน้ํา สําเภา ตังหนใบเล็ก มะดัน ขอย บริเวณ พื้นที่โลงเปนที่ดอนมีไมพุมออกเปนกอหนาแนน ไดแก กางปลาขาว เสียวนอย เสียวใหญ ไผที่พบมากออกเปน กอใหญ ไดแก ไผปา หรือไผหนาม (ภาพที่ 15)

ภาพที่ 15 ปาบุง-ปาทาม บริเวณแมน้ําสงคราม จังหวัดนครพนม

16 SW 6455-p new-G8.indd p16

10/29/56 BE 3:50 PM


ËÅѡࡳ± ¡ÒäѴàÅ×Í¡ª¹Ô´äÁŒ หลักเกณฑการคัดเลือกชนิดพรรณไมสําหรับพื้นที่ ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ใชหลักเกณฑเดียวกับใน “คูมือเลือกชนิดพรรณไมเพื่อปลูกปองกันอุทกภัย” ตาม แนวทางพระราชดํารัสของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวฯ เกี่ยวกับการปลูกไมโตเร็ว-ไมโตชา และประโยชนจากการ ปลูกไมทงั้ สองผสมผสานกันนัน้ และเปนไมพนื้ เมืองทีม่ ถี นิ่ อาศัยตามธรรมชาติอยูใ นประเทศไทย โดยเฉพาะทางภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ เนื่องจากการเลือกไมทองถิ่นที่ขึ้น ใกลพนื้ ทีป่ ลูกปายอมเปนการยืนยันไดวา จะสามารถขึน้ และ เจริญเติบโตไดดี เนื่องจากมีระบบนิเวศใกลเคียงกัน หา เมล็ดไดงาย และยังเกื้อหนุนสัตวปาที่เปนสัตวทองถิ่นใน การแพรขยายพันธุหรืออพยพมาอาศัยอยูไดเปนอยางดี นอกจากนัน้ ยังควรคํานึงถึงการใชประโยชนใชสอยแกชมุ ชน ใกลพนื้ ทีป่ ลูกปา เพือ่ สรางความมีสว นรวมในการดูแลรักษา อยางไรก็ตาม นิยามคุณสมบัตขิ องไมโตเร็วและโตชาอาจมี ความเหลื่อมล้ํากันบางไปตามสภาพพื้นที่หรือภูมิประเทศ ทีเ่ หมาะสมตอการเจริญเติบโต อาจโตอยางรวดเร็วในพืน้ ที่ หนึ่งแตอาจโตชาในพื้นที่หนึ่ง ซึ่งตางจากพรรณไมเบิกนํา ทุ ก ชนิ ด ที่ ถื อ ว า เป น ไม โ ตเร็ ว และมั ก จะถู ก แทนที่ ด ว ย ไมโตชาในที่สุด ดังทีไ่ ดกลาวมาแลวในหนังสือ “คูม อื เลือกชนิดพรรณไม เพื่อปลูกปาปองกันอุทกภัย” เลมแรก วาผลสําเร็จในการ ปลูกฟนฟูปา สิ่งสําคัญอันดับแรกขึ้นอยูกับการเลือกชนิด พรรณไมทเี่ หมาะสมตอพืน้ ทีป่ ลูก เพราะพรรณไมเหลานัน้ จะเจริญเติบโตและปรับปรุงสภาพปาใหดีขึ้นได สิ่งสําคัญ ตอไปคือ วิธกี ารปลูก ขัน้ ตอนการเตรียมกลา การปลูก และ การดูแลรักษา ตามลําดับ ขัน้ ตอนจํานวนมากเหลานีจ้ าํ เปน อย า งยิ่ ง ที่ ผู ป ลู ก จะต อ งใช ค วามรู ค วามชํ า นาญและ ประสบการณ ตลอดจนความเอาใสดแู ลตอในแตละขัน้ ตอน หลักพิจารณาการเลือกชนิดพรรณไมในเบือ้ งตนสําหรับการ ปลูกปาเพือ่ ปองกันอุทกภัยในพืน้ ทีภ่ าคตะวันออกเฉียงเหนือ มีลกั ษณะเดียวกัน ในขัน้ ตอนแรกเปนการสํารวจพืน้ ทีแ่ ปลง ปลูกปาเดิมเปนระบบนิเวศปาชนิดใดและประกอบดวย

พรรณไมชนิดใดบาง ซึง่ โดยภาพรวมของสภาพปาทางภาค ตะวันออกเฉียงเหนือสวนใหญเปนปาเต็งรังและปาดิบแลง และมีสภาพเปนหินทราย ดังนัน้ ควรเลือกชนิดไมใหตรงกับ ชนิดปาตามระดับความสูงจากระดับน้ําทะเล และสภาพ พื้นที่หรือนิเวศวิทยา สําหรับจํานวนชนิดพรรณไมตอพื้นที่ ปลูกขึ้นอยูกับความหลากหลายของพรรณไมในปาดั้งเดิม พรรณไมทเี่ หลืออยูใ นพืน้ ที่ และระดับความเสือ่ มโทรมของ พืน้ ทีป่ ลูก และขอควรคํานึงถึงสัดสวนของไมโตเร็วตอไมโตชา ในเบื้ อ งต น ยั ง คงใช จํ า นวนต น ของไม โ ตเร็ ว อย า งน อ ย รอยละ 50–70 และปลูกไมโตชาเพิ่มลงไปในปที่ 2–6 ใน พื้นที่ปาดิบแลง สวนปาผลัดใบผสมและปาเต็งรัง ควรปลูก พรรณไมทั้งสองประเภทในปแรกพรอมกัน หากตองการ เลือกปลูกไผในปาผสมผลัดใบไมควรปลูกเกินรอยละ 10 เพราะไผเปนไมโตเร็ว อายุยนื และแผพมุ กวางมาก อยางไร ก็ตามไผถอื วามีระบบรากฝอยทีห่ นาแนนเหมาะสมตอการ ปลูกเพื่อปองการพังทลายของดินตามตลิ่งและไหลทาง อยางยิ่ง ดวยการระบุไมเบิกนําทีเ่ ปนไมโตเร็วอาจไมชดั เจนนัก โดยเฉพาะในสภาพปาเบญจพรรณและปาดิบแลงทางภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ ทําใหสดั สวนทีค่ วรปลูกไมโตเร็วอยาง นอยรอยละ 50–70 ทําไดยาก เนื่องจากชนิดพรรณไมที่ แนะนํามีสัดสวนของไมโตชามากกวา อยางไรก็ตาม พื้นที่ เสื่อมโทรมมักมีสภาพตนไมดั้งเดิมที่มีทั้งไมเบิกนํา โตเร็ว หรือไมโตชา หลงเหลืออยูจ าํ นวนหนึง่ ในแทบทุกสภาพพืน้ ที่ การเก็บรักษาไมเบิกนําเหลานี้ไวนับวาเปนการชวยใหเพิ่ม สัดสวนของไมโตเร็วมากยิ่งขึ้น โดยเฉพาะชนิดที่ถูกระบุวา มีการสืบตอพันธุตามธรรมชาติดี นอกจากนี้ มีพรรณไม หลายชนิดที่มีใบกวางและตองการแสงมาก สามารถปลูก รวมกับไมเบิกนําหรือไมโตเร็วได ถึงแมวา จะโตคอนขางชา แตนับวามีประโยชนเชนเดียวกับไมที่โตเร็ว มากกวาที่เปน ชนิดพรรณไมทคี่ อ นขางจะโตชามาก ๆ ทีต่ อ งปลูกใตรม เงา ในปตอ ๆ มา

17 SW 6455-p new-G8.indd p17

10/29/56 BE 3:51 PM


รายละเอี ย ดของพรรณไม แ ต ล ะชนิ ด ที่ แ นะนํ า ว า เหมาะสมตอการปลูกปาในพืน้ ทีภ่ าคตะวันออกเฉียงเหนือ จํานวน 105 ชนิด แบงเปนไมโตเร็ว 43 ชนิด และไมโตชา 62 ชนิด เปนไมทองถิ่นที่สามารถพบไดในภาคตะวันออก เฉียงเหนือหรือใกลเคียง โดยเฉพาะในพื้นที่ลุมน้ําทั้งสาม โดยเรียงตามลําดับอักษรชื่อที่เรียกในภาษาไทยในแตละ ประเภท มีชื่อไทยที่เปนชื่อทางการตามหนังสือ รายชื่อ พรรณไม แ ห ง ประเทศไทย เต็ ม สมิ ติ นั น ทน (ส ว น พฤกษศาสตรปาไม, 2544) และชื่ออื่นที่เปนชื่อทองถิ่นซึ่ง ใชเรียกเฉพาะทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคกลาง หรือ ภาคตะวันออกเฉียงใตที่เปนพื้นที่ใกลเคียง และยังรวมถึง ชือ่ พืน้ เมืองทองถิน่ ทีเ่ ปนภาษาเขมร ภาษาสวย หรืออืน่ ๆ ทีใ่ ช เรียกในจังหวัดตาง ๆ ของภาคดังกลาว นอกจากนีย้ งั มีดชั นี ชื่อวงศ เพื่อความสะดวกและรวดเร็วในการสืบคนมากขึ้น

บางสวนไดรบั ความอนุเคราะหจากหนวยงานทีเ่ กีย่ วของกับ การเพาะชํ า กล า ไม ห รื อ ปลู ก ป า ตลอดจนภู มิ ป ญ ญา ชาวบานในการปฏิบัติงานจริงในพื้นที่ นอกจากนี้ ยังไดรับ ขอมูลจากโครงการวิจยั ดานการเพาะชํากลาไมและการปลูกปา ของประเทศเพือ่ นบานทีม่ พี น้ื ทีใ่ กลกบั ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และมีชนิดพรรณไมคลายคลึงกันหลายชนิด ไดแก ลาวและ กัมพูชา ซึง่ โครงการดังกลาว ไดแก Cambodian Tree Species และ Lao Tree Seed Project ซึง่ สามารถสืบคนไดทางระบบ อินเตอรเน็ต ซึง่ ยังมีขอ มูลจากแหลงอืน่ ๆ บนอินเตอรเน็ต ประกอบตามที่ปรากฏแนบทายในหัวขอ “ขอมูลเพิ่มเติม” และขอมูลที่มีประโยชนอยางมากในหนังสือของ Plant Resources of South-East Asia หรือ PROSEA หลายเลม ทําใหไดขอมูลเบื้องตนที่นาเชื่อถือ แตอาจไมครบถวน ทุกชนิด เนือ่ งจากมีพรรณไมหลายชนิดไมเปนทีน่ ยิ มในการ เพาะชําหรือใชในการปลูกปา ทางคณะผูจ ดั ทํายินดีทจี่ ะรับ สําหรับขอมูลดานการเพาะชํา การปฏิบัติตอเมล็ด ขอเสนอแนะเพิ่มเติมจากผูมีประสบการณ ที่อาจมีขอมูล กอนนําไปเพาะ อัตราการเจริญเติบโต หรือความตองการแสง เพิม่ เติมของพรรณไมดงั กลาว เพือ่ จะไดนาํ ไปแกไขปรับปรุง สวนหนึง่ ไดมาจากการคนควาจากเอกสารงานวิจยั บางสวน ในโอกาสตอไป จึ งไดขอมูลมาจากประสบการณของคณะผูจัดทํา และ

ÃÒÂÅÐàÍÕ´¤íÒºÃÃÂÒ·ҧ¾Ä¡ÉÈÒÊμà ¢Í§¾ÃóäÁŒáμ‹ÅЪ¹Ô´ รายละเอียดลักษณะทางพฤกษศาสตรรวมทั้งเขต การกระจายพันธุท งั้ ในตางประเทศและในประเทศไทย เชน เดียวกับในหนังสือ “คูมือเลือกชนิดพรรณไมเพื่อปลูกปา ปองกันอุทกภัย” เลมแรก ที่สวนมากอางอิงจากหนังสือ พรรณพฤกษชาติ (flora) ของประเทศไทย และประเทศ ใกล เ คี ย ง ซึ่ ง ผู อ า นสามารถค น คว า เพิ่ ม เติ ม เพื่ อ ให ไ ด รายละเอียดเพิ่มขึ้น สวนการใชประโยชน จะปรากฏตาม เอกสารอางอิง ในพรรณไมแตละชนิดประกอบไปดวยขอมูล แยกตามหัวขอ ดังตอไปนี้

ทราบรูปรางและขนาดพอสังเขป และเปนลักษณะที่สําคัญ ในการใชจําแนกชนิดพรรณไมนั้น ๆ

เขตการกระจายพันธุ อธิบายการกระจายพันธุใ นตาง ประเทศ โดยเรี ย งลํ า ดั บ จากประเทศทางทวี ป อเมริ ก า แอฟริกา เอเชีย และออสเตรเลีย การเรียงประเทศในทวีป เอเชีย เรียงลําดับจากทางตะวันตกสูทางตะวันออก และ ทางตอนใต บางเขตการกระจายพันธุระบุในระดับภูมิภาค ไดแก อินโดจีน ที่ครอบคลุมประเทศลาว กัมพูชา และ เวียดนาม และภูมภิ าคมาเลเซีย ครอบคลุมคาบสมุทรมลายู ลักษณะวิสัย อธิบายเกี่ยวกับวิ​ิสัยตามธรรมชาติของ ชวา สุมาตรา บอรเนียว และเกาะเล็กเกาะนอย ขนาดตนไมแบงเปน ไมตน ขนาดเล็ก (สูง 5–10 เมตร) ไมตน การกระจายพั น ธุ แ ละนิ เวศวิ ท ยาในประเทศไทย ขนาดกลาง (สูง 10–20 เมตร) ไมตน ขนาดใหญ (สูงมากกวา อธิบายแหลงที่พบในธรรมชาติตามภาคหรือจังหวัดตาง ๆ 20 เมตร) และไมพุม (แตกกิ่งต่ํา สูง 2–5 เมตร) ลักษณะ หรือระบบนิเวศทีข่ นึ้ เฉพาะเจาะจง เชน พืน้ ทีโ่ ลง ริมน้าํ บน เปลือกนอก เปลือกใน เนื้อไม กิ่งกานรวมถึงสิ่งปกคลุม เขาหินปูนหรือหินทราย เปนตน ตลอดจนชวงเวลาการ ตลอดจนน้ํายางหรือชัน ถามี นอกจากนี้ยังระบุวาเปน ออกดอกและผล โดยเนนเฉพาะในชวงที่ติดผลและเมล็ด พรรณไมที่มีดอกแยกเพศหรือไม ถาแยกเพศจะระบุวาอยู แก ตามหนังสือเอกสารอางอิง และฐานขอมูลตัวอยาง รวมตน (monoecious) หรือแยกตน (dioecious) ซึ่งถือวา พรรณไมแหงของหอพรรณไม กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา เปนลักษณะวิสัยอยางหนึ่ง และพั น ธุ พื ช สํ า หรั บ ใช ใ นการวางแผนเก็ บ เมล็ ด ให มี ลักษณะทางพฤกษศาสตรที่สําคัญ บรรยายลักษณะ ประสิทธิภาพ ซึ่งอาจมีขอควรคํานึง คือ ผลผลิตของเมล็ด ที่เดนของชนิดพืช ที่สามารถจําแนกในภาคสนามไดงาย ไมในแตละพื้นที่หรือในแตละปจะมีความผันแปรไปตาม ลั กษณะเดนจะแสดงด วยตัวอักษรเขม ครอบคลุมสวน แตละชนิด หรือสภาพภูมิประเทศที่แตกตางกัน สําคัญ ๆ แตไมลงรายละเอียดลึกลงไปมากนัก เพียงให 18 SW 6455-p new-G8.indd p18

10/29/56 BE 3:51 PM


ประโยชน นําเสนอขอมูลการใชประโยชนดานอื่น ๆ เดียวกันได เนื่องจากมีลักษณะของเมล็ดที่คลายกัน นอกจากการปลูกปา ครอบคลุมการใชประโยชนจากเนือ้ ไม ขอแนะนํา อธิบายขอมูลเพิ่มเติมที่ชวยพิจารณาใน พื ช กิ น ได เป น พิ ษ และสรรพคุ ณ ด า นสมุ น ไพร ทั้ ง ใน การนํากลาไมไปปลูกตามสภาพพื้นที่ ถิ่นที่อยูเดิมของ ประเทศไทยและประเทศอื่น ๆ ที่พบการกระจายพันธุของ พรรณไม อัตราการเจริญเติบโต ประโยชนทคี่ าดวาจะไดรบั พรรณไมชนิดนั้น ๆ ตามเอกสารอางอิง ในเชิงพืน้ ทีห่ รือเชิงนิเวศวิทยาของพรรณไมชนิดนัน้ ๆ ตลอด การขยายพันธุ อธิบายวิธีการขยายพันธุซึ่งจะเนนที่ จนขอแนะนําในการการปลูกผสมผสานระหวางไมโตเร็ว การเก็บเมล็ด การเพาะเมล็ด การปฏิบัติตอเมล็ดกอนนํา และไมโตชา และการดูแลรักษาไดอยางเหมาะสมยิ่งขึ้น ไปเพาะ ของพรรณไมแตละชนิดหรือแตละกลุม ทีม่ ลี กั ษณะ ขอมูลเพิม่ เติม เอกสารทีส่ ามารถคนควารายละเอียด ใกลเคียงกัน นอกจากนีย้ งั มีขอ มูลดานเก็บรักษาเมล็ด อัตรา เพิ่มเติมได โดยเฉพาะรายละเอียดทางพฤกษศาสตร การ การงอก การรอดตาย การดูแลรักษา ตลอดจนโรคและแมลง ขยายพันธุ การดูแลรักษา และการใชประโยชน โดยมีขอ มูล ทีอ่ าจทําลายเมล็ดหรือกลาไมได ซึง่ ขอมูลสวนใหญมาจาก บางส ว นสามารถสื บ ค น ได อ ย า งสะดวกผ า นทางระบบ เอกสารอางอิง และประสบการณของผูที่เกี่ยวของ ซึ่งบาง อินเตอรเน็ต ชนิดอาจใชขอมูลของชนิดพรรณไมที่อยูในสกุลหรือวงศ หมายเหตุ ชนิดพรรณไมที่เคยไดรับการพิมพเผยแพรแลว ในหนังสือคูมือเลือกชนิดพรรณไมเพื่อปลูกปาปองกัน อุทกภัยในพื้นที่ลุมน้ําเจาพระยาใหญ และมีการกระจายพันธุในพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือดวย สามารถเลือกใชใน การปลูกปาปองกันอุทกภัยทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือไดเชนกัน ซึ่งชนิดพรรณไมเหลานี้ไดแก กระโดน Careya sphaerica Roxb. วงศ Lecythidaceae กุมน้ํา Crateva magna (Lour.) DC. วงศ Capparaceae พะยูง Dalbergia cochinchinensis Pierre วงศ Fabaceae (Leguminosae - Papilionoideae) คงคาเดือด Arfeuillea arborescens Pierre ex Radlk. วงศ Sapindaceae ซอ Gmelina arborea Roxb. วงศ Lamiaceae (Labiatae) ติ้วขาว Cratoxylum formosum (Jack) Dyer วงศ Clusiaceae (Guttiferae) มะมือ Choerospondias axillaris (Roxb.) B. L. Burtt & A. W. Hill วงศ Anacardiaceae มะกอกปา Spondias pinnata (L. f.) Kurz วงศ Anacardiaceae สะแกแสง Cananga latifolia (Hook. f. & Thomson) Finet & Gagnep. วงศ Annonaceae สัตบรรณ Alstonia scholaris (L.) R. Br. วงศ Apocynaceae ตะเคียนหนู Anogeissus acuminata (Roxb. ex DC.) Wall. ex Guillem. & Perr. วงศ Combretaceae กระบาก Anisoptera costata Korth. วงศ Dipterocarpaceae ยางนา Dipterocarpus alatus Roxb. ex G. Don วงศ Dipterocarpaceae โพบาย Balakata baccata (Roxb.) Esser วงศ Euphorbiaceae ประดูสม Bischofia javanica Blume วงศ Euphorbiaceae ตองแตบ Macaranga denticulata (Blume) Müll. Arg. วงศ Euphorbiaceae

19 SW 6455-p new-G8.indd p19

10/29/56 BE 3:51 PM


มะคาโมง Afzelia xylocarpa (Kurz) Craib วงศ Fabaceae (Leguminosae-Caesalpinioideae) อะราง Peltophorum dasyrachis (Miq.) Kurz วงศ Fabaceae (Leguminosae-Caesalpinioideae) ปนแถ Albizia lucidior (Steud.) I. C. Nielsen วงศ Fabaceae (Leguminosae-Mimosoideae) ทิ้งถอน Albizia procera (Roxb.) Benth. วงศ Fabaceae (Leguminosae-Mimosoideae) ทองเดือนหา Erythrina stricta Roxb. วงศ Fabaceae (Leguminosae-Papilionoideae) ลําพูปา Duabanga grandiflora (Roxb. ex DC.) Walp. วงศ Lythraceae ตะแบกนา Lagerstroemia floribunda Jack วงศ Lythraceae เฉียงพรานางแอ Carallia brachiata (Lour.) Merr. วงศ Rhizophoraceae กระทุม Anthocephalus chinensis (Lam.) A. Rich. ex Walp. วงศ Rubiaceae ขวาว Haldina cordifolia (Roxb.) Ridsdale วงศ Rubiaceae กระทุมนา Mitragyna diversifolia (Wall. ex G. Don) Havil. วงศ Rubiaceae กานเหลือง Nauclea orientalis (L.) L. วงศ Rubiaceae สนุน Salix tetrasperma Roxb. วงศ Salicaceae ปออีเกง Pterocymbium tinctorium (Blanco) Merr. วงศ Sterculiaceae ลําปาง Pterospermum diversifolium Blume วงศ Sterculiaceae ทะโล Schima wallichii (DC.) Korth. วงศ Theaceae กระเชา Holoptelea integrifolia Planch. วงศ Ulmaceae

SW 6455-p new-G8.indd p20

10/29/56 BE 3:52 PM


¤Ù‹Á×ÍàÅ×Í¡ª¹Ô´¾ÃóäÁŒ à¾×èÍ»ÅÙ¡»†Ò»‡Í§¡Ñ¹ÍØ·¡ÀÑ ÀÒ¤μÐÇѹÍÍ¡à©Õ§à˹×Í

SW 6455-p new-G8.indd p21

äÁŒâμàÃçÇ

10/15/56 BE 7:49 PM


กรวย

Horsfieldia irya (Gaertn.) Warb. วงศ MYRISTICACEAE

ชื่ออื่น รูจักกันดีในชื่อ กรวยน้ํา กรวยบาน หรือกรวยสวน (ทั่วไป) ลักษณะวิสัย ไมตน ขนาดเล็กถึงขนาดใหญ ไมผลัดใบ อาจสูงไดถึง 40 ม. โคนตนมักมีพูพอนหรือรากค้ํายัน กิ่งมักมีริ้ว

เปนสัน มีขนประปราย ดอกแยกเพศตางตน ลักษณะทางพฤกษศาสตรที่สําคัญ ใบเรียงสลับในระนาบเดียวกัน รูปขอบขนานหรือรูปใบหอก ยาว 10–35 ซม. เสน แขนงใบขางละ 10–20 เสน ไมชดั เจน ชอดอกแบบชอแยกแขนง ออกตามซอกใบ ชอดอกเพศผูย าวกวาชอดอกเพศเมีย ดอกขนาด เล็กจํานวนมาก ดอกเพศผูขนาดเล็กกวาดอกเพศเมีย ออกเปนกระจุก 3–10 ดอก กลีบรวม 2 กลีบ ยาว 1–1.3 มม. แฉกลึก ประมาณกึ่งหนึ่ง เกสรเพศผูเชื่อมติดกันเปนเสาเกสร ยาวประมาณ 1 มม. มีอับเรณู 6–10 อัน ดอกเพศเมียยาว 1.5–2.3 มม. รังไขเกลี้ยง ผลสด กลม ๆ เสนผานศูนยกลาง 1.5–2.2 ซม. เปลือกหนา แตกเปน 2 ซีก เกลี้ยง แหงสีน้ําตาลอมดํา เมล็ดขนาด ใหญ มีเมล็ดเดียว เสนผานศูนยกลางประมาณ 1 ซม. เมล็ดมีเยื่อหุม เขตการกระจายพันธุ อินเดีย ศรีลังกา พมา ไทย เวียดนาม ภูมิภาคมาเลเซีย ปาปวนิวกินี การกระจายพันธุและนิเวศวิทยาในประเทศไทย พบทางภาคกลาง ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงใต และภาคใต ขึน้ ตามชายน้าํ ในปาดิบแลงและปาดิบชืน้ ระดับความสูงไมเกิน 300 เมตร ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือมักพบตาม ที่ราบลุมที่น้ําทวมถึงและปาบุง-ปาทาม ของลุมน้ําชี-มูล การขยายพันธุ เพาะเมล็ด ไมมขี อมูลการปฏิบตั ติ อเมล็ดกอนนําไปเพาะ เมล็ดมีชองอากาศ ในธรรมชาติอาศัยน้าํ เปนตัวชวย ในการกระจายพันธุ ประโยชน เนื้อไมออน ใชในการกอสรางในรม ผลรับประทานได

ขอแนะนํา เปนไมคอนขางโตเร็ว ชอบขึ้นตามที่โลงริมลําธารหรือที่ราบลุมที่มีน้ําทวม ทนน้ําทวม มีราก

ค้ํายัน ยึดเกาะชายตลิ่งไดดี เหมาะสําหรับปลูกเปนไมเบิกนําเพื่อปองกันการพังทลายของดินในที่ราบลุมระดับ ต่ํา ๆ ทรงพุมกวางหนาแนน ใหรมเงาแกไมโตชา ขอมูลเพิ่มเติม Flora of Thailand 7(4) (2002)

22 SW 6455-p new-G8.indd p22

10/29/56 BE 3:58 PM


กระทุมเนิน

Mitragyna rotundifolia (Roxb.) Kuntze วงศ RUBIACEAE

ชื่ออื่น – ลักษณะวิสัย ไมตนขนาดกลางถึงขนาดใหญ ผลัดใบ สูงไดประมาณ 30 ม. เรือนยอดโปรง แตกกิ่งกานเปนระเบียบ กิ่งมัก

เปนเหลี่ยม

ลักษณะทางพฤกษศาสตรที่สําคัญ หูใบรวมติดระหวางโคนกานใบ รูปรี ยาวไดเกือบ 5 ซม. ชวงโคนมีสันนูน ใบเรียง

ตรงขามสลับตั้งฉาก รูปรีกวางหรือรูปไข ยาว 11–25 ซม. ตนออนใบมีขนาดใหญกวานี้มาก ปลายใบมนหรือกลม โคนใบกลมหรือ เวารูปหัวใจ แผนใบดานลางมีขนสั้นนุมสีเทา เสนแขนงใบขางละ 5–7 เสน กานใบยาว 1–6 ซม. ชอดอกแบบชอกระจุกแนน ออกตามปลายกิง่ แยกแขนงหรือคลายชอซีร่ ม ชอดอกเสนผานศูนยกลาง 1.5–2 ซม. ใบประดับคลายใบ ดอกจํานวนมาก ไรกา น กลีบเลี้ยงปลายแยกเปน 5 หยัก ตื้น ๆ ติดทน กลีบดอกสีครีมอมเหลือง เชื่อมติดกันเปนหลอด ยาว 2–3 มม. มีขนยาวดานใน ปลายแยกเปน 5 กลีบ เรียวแคบ ยาว 4–5 มม. เกสรเพศผู 5 อัน ติดรอบปากหลอดกลีบดอก ชอผลเสนผานศูนยกลาง 1–1.6 ซม. ผลยอยแหงแตก ยาว 3–5 มม. เมล็ดจํานวนมาก ยาวประมาณ 1 มม. มีปกที่ปลายทั้งสองดาน เขตการกระจายพันธุ อินเดีย บังกลาเทศ จีนตอนใต พมา ไทย ลาว การกระจายพันธุแ ละนิเวศวิทยาในประเทศไทย พบมากทางภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ขึน้ ทัว่ ไปตามพืน้ ที่ โลง ปาเบญจพรรณและปาเต็งรัง โดยเฉพาะริมลําธาร ระดับความสูงจนถึงประมาณ 500 เมตร ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ พบทั่วพื้นที่ทั้ง 3 ลุมน้ํา การขยายพันธุ เพาะเมล็ด ยังไมมีขอมูลการปฏิบัติตอเมล็ดกอนนําไปเพาะ ประโยชน เนื้อไมคอนขางแข็ง ใชในการกอสราง เฟอรนิเจอร เปลือก รักษาบาดแผลที่เชื้อ แกแผลคุดทะราด แกบิดมูกเลือด แกพยาธิ โรคมะเร็ง โรคผิวหนังทุกชนิด ใบ แกทองรวง ปวดมวน แกบิด

ขอแนะนํา เปนไมโตเร็ว ตองการแสงมาก ขึ้นไดดีในที่โลงที่มีความชุมชื้นหรือริมลําธาร ใบคอนขางใหญ

ใหรมเงาแกไมโตชาไดดี สามารถปลูกรวมกับไมโตเร็วและไมเบิกนําชนิดอื่น ๆ ได ขอมูลเพิ่มเติม Flora of China Vol. 19 (2011); ตนไมยานารู (ธงชัย และนิวัตร, 2554)

23 SW 6455-p new-G8.indd p23

10/29/56 BE 3:58 PM


กราง

Ficus altissima Blume วงศ MORACEAE

ชื่ออื่น – ลักษณะวิสัย ไทรพันขนาดใหญ ไมผลัดใบ สูง 30–40 ม. มีรากอากาศและรากค้ํายัน เปลือกสีน้ําตาลปนเทา สวนตาง ๆ มีน้ํา

ยางสีขาว ดอกแยกเพศรวมตน

ลักษณะทางพฤกษศาสตรที่สําคัญ หูใบยาว 2–4 ซม. มักมีขนละเอียดหนาแนน ใบเรียงเวียน รูปรี รูปไข หรือรูปขอบ ขนาน ยาว 6–38 ซม. แผนใบหนา เกลี้ยงทั้งสองดาน เสนแขนงใบสวนมากมี 5–10 เสน เสนใบคูลางยาวประมาณหนึ่งในสาม หรือสี่ของความยาวใบ ชอดอกออกเปนคูหรือออกเดี่ยว ๆ ตามซอกใบ ไรกาน ที่โคนมีใบประดับ 3 ใบ ยาว 1–3 มม. เชื่อมติด กัน ปลายมีรูเปด ไมมีขน มีใบประดับคอนขางหนา 3 ใบ ดอกขนาดเล็กจํานวนมากอยูภายในฐานรองดอกที่ขยายใหญและอวบ น้ํา รูปรีคอนขางกลม เสนผานศูนยกลาง 1–2.5 ซม. สีเหลืองอมสม สุกสีแดงอมมวง ทิ้งแผลนูนไวบนกิ่งเมื่อรวง เขตการกระจายพันธุ อินเดีย ภูฏาน บังกลาเทศ จีนตอนใต พมา ไทย ภูมิภาคอินโดจีนและมาเลเซีย ฟลิปปนส การกระจายพันธุและนิเวศวิทยาในประเทศไทย พบทั่วประเทศ ขึ้นตามปาดิบแลงและปาดิบชื้น ระดับความสูงจนถึง ประมาณ 1,100 เมตร ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือสวนมากพบในปาดิบแลงทั่วทั้งพื้นที่ทั้ง 3 ลุมน้ํา การขยายพันธุ เพาะเมล็ด ตอนกิ่ง ปกชํากิ่ง เชนเดียวกับพรรณไมสกุลไทรอื่น ๆ ใหเปดผลขูดเอาเมล็ดแชน้ํา คัดเอาเมล็ดที่ จมน้ําผึ่งใหแหงแลวนําไปเพาะ ดินที่เพาะควรผสมทรายครึ่งหนึ่ง อัตราการงอกสูง ขอควรระวัง กลาไมเปนโรคโคนเนาจากเชื้อรา ไดงาย ประโยชน รากอากาศเหนียวใชทําเชือก เปลือกชัน้ ในใชทํากระดาษ ตนใชเลีย้ งครัง่ ไดดี ทรงพุม แผกวางใหรม เงา นิยมปลูกเปน ไมประดับตามสวนสาธารณะ

ขอแนะนํา แมวาจะเปนไทรพันแตสามารถขึ้นบนดินได โตเร็ว ใบมีขนาดใหญ ตองการแสงมาก ระบบราก

แผกวางและมีรากค้ํายัน ชวยปองกันการพังทลายของดิน ทนแลง สามารถปลูกไดทั้งที่ราบลุมและที่ลาดชัน ผลดึงดูดสัตวปาใหเขามาในพื้นที่

ขอมูลเพิ่มเติม Flora of Thailand 10(4) (2011); ปลูกใหเปนปา แนวคิดและแนวปฏิบัติสําหรับการฟนฟูปาเขตรอน (หนวยวิจัย

การฟนฟูปา, 2549)

24 SW 6455-p new-G8.indd p24

10/29/56 BE 3:59 PM


กะอาม

Crypteronia paniculata Blume วงศ CRYPTERONIACEAE

ชื่ออื่น กะอามเปนชื่อที่เรียกทางแถบจังหวัดอุดรธานี สวนทางภาคตะวันออกเรียก กระทงลอย หรือสีดาปา ลักษณะวิสัย ไมตนผลัดใบ ขนาดกลางถึงใหญ สูงถึง 35 ม. โตคอนขางเร็ว เปลือกนอกสีน้ําตาลเทา เปลือกในสีมวง กิ่งออน

เปนสันเหลี่ยม บางครั้งดอกแยกเพศตางตน ลักษณะทางพฤกษศาสตรที่สําคัญ ใบเรียงตรงขาม รูปไขหรือรูปขอบขนาน ยาว 6–22 ซม. ปลายเรียวแหลม แผนใบมีขน หรือเกลี้ยงทั้งสองดาน กานใบคอนขางยาว ชอดอกแบบชอกระจะแยกแขนง ออกที่ซอกใบหรือปลายกิ่ง ยาว 7–30 ซม. ชอดอกยอยมี 2–4 ชอ ยาว 7–20 ซม. ดอกจํานวนมาก กลีบเลี้ยงโคนเชื่อมติดกันเปนหลอด ยาว 2–3 มม. ปลายแยกเปน 5 แฉก ตื้น ๆ มีขนสั้นนุม ไมมีกลีบดอก เกสรเพศผู 5 อัน ติดทน เปนหมันในดอกเพศเมีย ผลแหงแลวแตกเปน 2 ซีก รูปทรงกลม แบนดานขาง ยาว 2–5 มม. มีขนละเอียดตามรองผล เมล็ดขนาดเล็กจํานวนมาก เขตการกระจายพันธุ อินเดีย บังกลาเทศ พมา ไทย ภูมิภาคอินโดจีน คาบสมุทรมลายู สุมาตรา ชวา บอรเนียว ฟลิปปนส

การกระจายพันธุและนิเวศวิทยาในประเทศไทย พบทั่วทุกภาคของประเทศ ตามปารุนสองที่มีการทดแทน ทั้งปาผลัดใบ และไมผลัดใบ ระดับความสูงจนถึงประมาณ 1,200 เมตร ออกดอกพรอมผลิใบใหมเดือนธันวาคมถึงกุมภาพันธ เปนผลเดือน กุมภาพันธถึงเมษายน ภาคตะวันออกเฉียงเหนือพบทั่วพื้นที่ทั้ง 3 ลุมน้ํา การขยายพันธุ เพาะเมล็ด ไมมีขอมูลการปฏิบัติตอเมล็ดกอนนําไปเพาะ ประโยชน เนื้อไมละเอียด คอนขางออน ตกแตงและขัดชักเงาไดงาย ใชในการกอสรางในที่รม

ขอแนะนํา เปนไมโตคอนขางเร็ว ตองการแสงมาก เมล็ดมีขนาดเล็กและถูกทําลายไดงายจากไฟปา แตกลา

ไมทนความแหงแลงไดดี เหมาะสําหรับปลูกเปนไมโตเร็วในระยะแรก โดยเฉพาะในพืน้ ทีท่ เ่ี ปนปาดิบแลงเดิม

ขอมูลเพิ่มเติม Flora of Thailand 5(4) (1992); Flora of China Vol. 13 (2007); ตนไมเมืองเหนือ (ไซมอน และคณะ, 2543);

ไมปายืนตนของไทย 1 (เอื้อมพร และปณิธาน, 2547)

25 SW 6455-p new-G8.indd p25

10/29/56 BE 3:59 PM


กัลปพฤกษ

Cassia bakeriana Craib วงศ FABACEAE (LEGUMINOSAE-CAESALPINIOIDEAE)

ชื่ออื่น เรียกในภาษาเขมรแถบจังหวัดสุรินทรวา กานล ลักษณะวิสัย ไมตนขนาดเล็กถึงขนาดกลาง ผลัดใบ อาจสูงไดถึง 20 ม. กิ่งออนมีขนสั้นนุมหนาแนน ลักษณะทางพฤกษศาสตรที่สําคัญ มีขนสั้นนุมหรือขนกํามะหยี่หนาแนนตามกิ่งออน แผนใบ กานและแกนกลางใบ

ชอดอก กานดอก ใบประดับ กลีบเลี้ยง และฝก ใบประกอบแบบขนนกปลายคู ยาว 17–45 ซม. ใบยอยมี 5–8 คู เรียงตรงขาม ปลายใบและโคนใบกลม ปลายใบมีติ่งแหลมเล็กๆ กานใบยอยสั้น ชอดอกแบบชอกระจะ ออกตามกิ่งพรอมใบออน ยาว 5–12 ซม. ดอกจํานวนมาก สีชมพูเปลี่ยนเปนสีขาว กานดอกยาว 3–6 ซม. กลีบเลี้ยง 5 กลีบ ยาว 0.9–1.2 ซม. กลีบดอก 5 กลีบ รูปใบหอกแกมรูปไข ยาว 3.5–4.5 ซม. เกสรเพศผู 10 อัน อันยาว 3 อัน กานชูอบั เรณูยาว 3.5–5 ซม. อันสัน้ 4 อัน กานชูอบั เรณู ยาวประมาณ 2 ซม. ลดรูป 3 อัน กานชูอับเรณูยาว 1–1.5 ซม. รังไขยาว 4 ซม. มีกานยาว 1–1.5 ซม. ผลเปนฝกทรงกระบอก ยาว 30–40 ซม. เสนผานศูนยกลาง 1–1.5 ซม. มี 30–40 เมล็ด เมล็ดกลม สีน้ําตาลเปนมัน มีผนังบางกั้น เขตการกระจายพันธุ พมา ไทย การกระจายพันธุและนิเวศวิทยาในประเทศไทย พบทางภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคตะวันออก และภาค กลาง ขึ้นในปาเบญจพรรณ และเขาหินปูน ระดับความสูง 300–1,000 เมตร ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือพบเฉพาะทาง ตอนลางบริเวณตนน้ําของลุมน้ํามูล ประโยชน เนื้อไมคอนขางแข็ง ใชทําฟน เปลือกมีสารฝาดใชฟอกหนัง ฝกมีฤทธิ์เปนยาระบาย บํารุงดิน ดอกสวยงาม นิยม ปลูกเปนไมประดับและเปนไมมงคล การขยายพันธุ เพาะเมล็ด ตัดปลายเมล็ดหรือแชกรดเขมขนกอนนําไปเพาะเชนเดียวกับราชพฤกษ หรือขอมูลจากภูมิปญญา ชาวบาน จังหวัดยโสธร ใหขลิบเมล็ดใหเกิดแผล แชน้ํา 1–3 วัน นําขึ้นหอกระสอบปาน รดน้ําพอชุม 2–3 วัน เมล็ดงอกแลวยาย ลงถุง เชนเดียวกับมะกล่ําตนและราชพฤกษ

ขอแนะนํา เปนไมโตเร็ว โดยเฉพาะในชวงกลาไม ขึ้นไดดีในที่แหงแลง ใบหนาแนน เหมาะสําหรับปลูก

ปรับปรุงดินในพื้นที่ปาเบญจพรรณที่เสื่อมโทรมและแหงแลง

ขอมูลเพิ่มเติม Flora of Thailand Vol 4(1) (1984); การจัดการเพาะชํากลาไมคุณภาพ (กรมปาไม, 2542); ตนไมเมืองเหนือ

(ไซมอน และคณะ, 2543); อนุกรมวิธานพืช อักษร ก. (ราชบัณฑิตยสถาน, 2538)

26 SW 6455-p new-G8.indd p26

10/29/56 BE 4:01 PM


คาง

Albizia lebbeckoides (DC.) Benth. วงศ FABACEAE (LEGUMINOSAE-MIMOSOIDEAE) ชื่ออื่น – ลักษณะวิสัย ไมตนขนาดเล็กถึงขนาดกลาง ผลัดใบ สูงได

ถึง 15 ม. เปลือกสีน้ําตาลอมเทา แตกเปนรองตื้น ๆ ตามยาว กิ่งเกลี้ยง ลักษณะทางพฤกษศาสตรที่สําคัญ ใบประกอบแบบ ขนนก 2 ชั้น แกนกลางใบประกอบยาว 5–13 ซม. มีตอมบน โคนกานใบระหวางใบประกอบยอย ใบประกอบยอยมี 3–4 คู ยาว 6–11 ซม. ใบยอยมี 15–25 คู รูปขอบขนาน ยาว 0.7–2 ซม. เบี้ยว ไรกาน ชอดอกแบบชอกระจุกแนน แยกแขนง ออกตามซอกใบ ยาวไดถึง 15 ซม. แตละชอกระจุกแนนมีดอก 10–15 ดอก ไรกาน กลีบเลี้ยงขนาดเล็ก 5 กลีบ กลีบดอกเชื่อม ติดกันเปนหลอด ยาว 4–5 มม. ปลายแยกเปน 5 กลีบ กลีบ ยาวประมาณ 1 มม. เกสรเพศผูจ าํ นวนมาก กานชูอบั เรณูเชือ่ ม ติดกันที่โคน ยาวกวาหลอดกลีบดอก รังไขเกลี้ยง ฝกแบน ยาว 7–20 ซม. เมล็ด มีประมาณ 12 เมล็ด เมล็ดรูปรีกวาง ยาว ประมาณ 7 มม. เขตการกระจายพันธุ ไทย ภูมิภาคอินโดจีน ชวา ติมอร ฟลิปปนส สุลาเวสี ปาปวนิวกินี การกระจายพันธุและนิเวศวิทยาในประเทศไทย พบ แทบทุกภาค ยกเวนทางภาคใต ขึ้นในปาเบญจพรรณและ ปาดิบแลง ระดับความสูงจนถึงประมาณ 800 เมตร ทางภาค ตะวั น ออกเฉี ย งเหนื อ ตอนล า งของลุ ม น้ํ า มู ล ติ ด ผลเดื อ น เมษายน–ตุลาคม ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนลางและ ตอนบนของลุมน้ํามูล การขยายพันธุ เพาะเมล็ด การปฏิบตั ติ อ เมล็ดนาจะเหมือน กับพืชวงศถวั่ อืน่ ๆ หลายชนิด โดยเฉพาะการนําเมล็ดไปแชนา้ํ กอนนําไปเพาะ ประโยชน เนื้อไมออน ใชทําฟน ตนใชเลี้ยงครั่ง เปลือก ในอินโดนีเซีย ใชยอมแห ในฟลิปปนส ใชผสมเครื่องดื่มที่หมัก จากออย

ขอแนะนํา เปนไมโตเร็ว ใบขนาดเล็ก ควรปลูกรวมกับไมโตเร็วที่ใบกวาง โดยเฉพาะพื้นที่ที่แหงแลงและมี

สภาพดินที่เสื่อมโทรม ชวยบํารุงดิน

ขอมูลเพิ่มเติม Flora of Thailand 4(2) (1985); PROSEA 3 (1992); National History Bulletin Siam Society 45 (1997)

27 SW 6455-p new-G8.indd p27

10/29/56 BE 4:01 PM


แคนา

Dolichandrone serrulata (Wall. ex DC.) Seem. วงศ BIGNONIACEAE

ชื่ออื่น แถบจังหวัดปราจีนบุรีเรียก แคยาวหรือแคอาว ลักษณะวิสัย ไมตนขนาดเล็กถึงขนาดกลาง ผลัดใบชวงสั้น ๆ สูง 7–20 ม. เปลือกแตกเปนรองตามยาว ลักษณะทางพฤกษศาสตรที่สําคัญ ใบประกอบแบบขนนก ยาว 12–35 ซม. มีใบยอย 3–5 คู ไมมีหูใบเทียมคลายใบ ใบ

ยอยรูปรีหรือรูปไขกลับ ยาว 5–14 ซม. ปลายใบแหลมหรือแหลมยาว โคนใบเบี้ยว แผนใบคอนขางบาง มีตอมขนาดใหญตาม เสนกลางใบ ชอดอกแบบชอกระจะ ออกสั้น ๆ ที่ปลายกิ่ง ยาว 2–3 ซม. กานดอกยาว 1.8–3.8 ซม. กลีบเลี้ยงคลายกาบ ยาว 3–5 ซม. หลอดกลีบดอกยาว 11–19 ซม. เรียวแคบ บานออกชวงบน รูปกรวย ปลายแยกเปน 5 กลีบ ยาว 5–8 ซม. สีขาว เกสร เพศผูอยูภายในหลอดกลีบดอก ผลเปนฝก เรียวยาว บิดงอ ยาวไดถึง 85 ซม. เมล็ดรูปรี บาง ยาว 2.2–2.8 ซม. รวมปก เขตการกระจายพันธุ พมา ไทย ลาว เวียดนาม การกระจายพันธุและนิเวศวิทยาในประเทศไทย พบทางภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคตะวันออก ขึ้น ตามปาเบญจพรรณและปาเต็งรัง ทีล่ มุ ต่าํ ทองไรทอ งนา ออกดอกออกผลเดือนมกราคมถึงเดือนกรกฎาคม ผลแกเดือนมิถนุ ายน– สิงหาคม ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือพบกระจายทั้งพื้นที่ทุกลุมน้ําโดยเฉพาะตามปาริมน้ํา ประโยชน เนื้อไมคอนขางออนและมีเสี้ยนมาก เหมาะสําหรับใชทําฟนและเผาถาน ดอกรับประทานได ใบหนาแนน เหมาะ สําหรับปลูกปนไมประดับสองขางถนน และใหรมเงาแกพืชเกษตร การขยายพันธุ เพาะเมล็ด อัตราการงอกสูง เนื่องจากเมล็ดเบาและมีปก ควรกลบดวยทรายบาง ๆ เพื่อปองกันเมล็ดกระเด็น หรืออาจใชรากปกชําไดเชนเดียวกัน

ขอแนะนํา เปนไมคอนขางโตเร็ว ขึ้นไดดีในที่ราบลุมและมีน้ําขัง เหมาะสําหรับปลูกเพื่อปองกันการกัดเซาะ

ริมตลิ่ง และปองกันการชะลางหนาดินจากน้ําฝน เนื่องจากมีใบที่หนาแนน โดยเฉพาะพื้นที่ที่มีน้ําทวม เชน ตามปาบุง-ปาทาม ที่เสื่อมโทรม ขอมูลเพิ่มเติม Flora of Thailand 5(1) (1987); ไมเอนกประสงคกินได (สํานักคณะกรรมการการวิจัยแหงชาติ, 2540)

28 SW 6455-p new-G8.indd p28

10/29/56 BE 4:01 PM


แคหางคาง

Fernandoa adenophylla (Wall. ex G. Don) Steenis วงศ BIGNONIACEAE

ชื่ออื่น ทางจังหวัดเลยเรียก แคราวหรือแคลาว แถบจังหวัดจันทบุรีเรียก แฮงปา ลักษณะวิสัย ไมตนขนาดเล็กถึงขนาดกลาง ผลัดใบ สูง 5–20 ม. เปลือกหนา แตกเปนรองตามยาว ลักษณะทางพฤกษศาสตรที่สําคัญ ใบประกอบแบบขนนก ยาว 20–50 ซม. มีใบยอย 2–4 คู ใบยอยรูปรี รูปไขกลับ หรือ

รูปขอบขนาน ยาว 10–24 ซม. แผนใบดานลางมีขนสั้นนุม ชอดอกแบบชอกระจุกแยกแขนง ตั้งตรง ยาว 16–23 ซม. กลีบเลี้ยง รูประฆัง ปลายแยก 5 แฉก ยาว 2.7–4.5 ซม. ติดทน มีขนสั้นนุมหนาแนนสีน้ําตาล กลีบดอกสีเหลืองอมน้ําตาลหรือแกมเขียว ดานนอกมีขนสั้นนุมหนาแนน หลอดกลีบดอกชวงโคนยาว 1.7–2.2 ซม. ชวงปลายยาว 3–5 ซม. กวาง 4–5 ซม. รังไขมีขนรูปดาว สั้นหนานุม ผลเปนฝก มี 5 รอง ตามยาว บิดงอ ยาว 35–70 ซม. เสนผานศูนยกลาง 1.5–2.5 ซม. มีขนสีน้ําตาลหนานุมปกคลุม เขตการกระจายพันธุ อินเดีย ปากีสถาน บังกลาเทศ พมา หมูเกาะในทะเลอันดามัน ไทย ภูมิภาคอินโดจีนและมาเลเซีย การกระจายพันธุและนิเวศวิทยาในประเทศไทย พบทั่วประเทศ ขึ้นตามปาเบญจพรรณ ทุงหญา และปาที่ถูกทดแทนใน พื้นที่ราบลุม ออกดอกออกผลเกือบตลอดป ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือพบทั่วพื้นที่โดยเฉพาะทางตอนลางลุมน้ํามูล ประโยชน เนื้อไมคอนขางออนแตเหนียว ใชทําเฟอรนิเจอร ไมฟน เปลือกนํามาตมอาบเปนสมุนไพร ใบหนาแนน ดอกขนาด ใหญ เหมาะสําหรับปลูกเปนไมสองขางถนน การขยายพันธุ เพาะเมล็ด อัตราการงอกสูง เนื่องจากเมล็ดเบาและมีปก ควรกลบดวยทรายบาง ๆ เพื่อปองกันเมล็ดกระเด็น

ขอแนะนํา เปนไมคอนขางโตเร็ว ขึ้นไดดีในที่แหงแลงในที่ราบลุม เหมาะสําหรับการปลูกเปนไมเบิกนําเพื่อ

ใหรมเงาแกไมโตชาเพื่อฟนฟูสภาพปาดิบแลงในระดับต่ําที่เสื่อมโทรม ขอมูลเพิ่มเติม Flora of Thailand 5(1) (1987)

29 SW 6455-p new-G8.indd p29

10/29/56 BE 4:02 PM


ไครมันปลา

Glochidion sphaerogynum (Müll. Arg.) Kurz วงศ EUPHORBIACEAE

ชื่ออื่น – ลักษณะวิสัย ไมตนขนาดเล็ก สูงไดถึง 15 ม. เปลือกสีน้ําตาลอมเทา แตกเปนรองตามยาว เปลือกในสีชมพูหรืออมมวง ดอก

แยกเพศรวมตน

ลักษณะทางพฤกษศาสตรที่สําคัญ ใบเรียงเวียน รูปขอบขนานแกมรูปไข ยาว 6–17 ซม. ปลายใบมักเปนติง่ แหลม โคนใบเบีย้ ว

แผนใบดานลางมีนวลคลายขี้ผึ้ง ชอดอกแบบชอกระจุก ออกสั้น ๆ ตามซอกใบหรือตามขอ ไมมีกลีบดอกและจานฐานดอก กลีบเลี้ยง 6 กลีบ ขนาดเล็ก สีเหลืองแกมเขียว เกลี้ยง ยาวไมเทากัน ดอกเพศผูกานดอกยาว 0.6–1.3 ซม. ดอกเพศเมียกานยาว ไมเกิน 3 มม. เกสรเพศผู 3 อัน โคนเชื่อมติดกัน ยอดเกสรเพศเมียเชื่อมติดกัน จักเปนสามเหลี่ยม ติดทน ผลแบบผลแหงแตก สีแดง กวางประมาณ 1 ซม. สูงประมาณ 4 มม. สวนมากมี 6 พู เปลือกบาง เมล็ดรูปรี สีแดงอมสม ยาวประมาณ 4 มม. เขตการกระจายพันธุ อินเดีย ภูฏาน จีนตอนใต พมา ไทย เวียดนาม

การกระจายพันธุแ ละนิเวศวิทยาในประเทศไทย พบกระจายทัว่ ไปทางภาคเหนือ กระจายหาง ๆ ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคตะวันออก ขึน้ ในปาเต็งรัง ปาเบญจพรรณ และปาดิบแลง โดยเฉพาะตามชายปาและทีโ่ ลงในปาเสือ่ มโทรม ระดับความสูง 500–1,200 เมตร ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือพบทางตอนบนคอนไปทางภาคเหนือ บริเวณลุมน้ําโขงและบริเวณตนน้ํา ของลุมน้ําชี ประโยชน เนื้อไมออนคอนขางแข็ง ขนาดเล็ก เหมาะสําหรับทําฟน ในประเทศจีน เปลือกและเนื้อไม ใชเปนยาสมุนไพร การขยายพันธุ เพาะเมล็ด คัดเมล็ดที่เสียทิ้งดวยการนําไปลอยน้ํา กลาไมคอนขางโตชา

ขอแนะนํา เปนไมโตคอนขางเร็ว ตองการแสงมาก คลายไมเบิกนํา ทนความแหงแลงและไฟปาไดดี เหมาะ

สําหรับปลูกฟนฟูสภาพปาในพื้นที่สูงพรอมไมโตเร็วและไมเบิกนําชนิดอื่น ๆ ได ขอมูลเพิ่มเติม Flora of Thailand 8(2) (2007)

30 SW 6455-p new-G8.indd p30

10/29/56 BE 4:02 PM


งิ้วดอกขาว

Bombax anceps Pierre วงศ MALVACEAE

ชื่ออื่น – ลักษณะวิสัย ไมตนขนาดกลางถึงขนาดใหญ ผลัดใบ สูงไดถึง 30 ม. ลําตนและกิ่งมีหนามแข็ง ลักษณะทางพฤกษศาสตรที่สําคัญ ใบประกอบแบบนิ้วมือ เรียงเวียน ออกหนาแนนชวงปลายกิ่ง กานใบยาว 10–20 ซม.

ใบยอย 5–7 ใบ ขนาดไมเทากัน รูปรีหรือรูปไขกลับ ยาว 8–18 ซม. กานใบยอยยาว 1–1.5 ซม. ดอกสีขาวอมเขียวหรือชมพู ออก เดี่ยว ๆ หรือเปนกระจุก 2–3 ดอก ตามปลายกิ่ง กานดอกยาวประมาณ 1 ซม. กลีบเลี้ยงเชื่อมติดกันเปนรูประฆัง ยาว 3–4 ซม. ปลายแยกเปน 3–5 กลีบ กลีบดอก 5 กลีบ รูปไขกลับ ยาว 7–9 ซม. มีขนสั้นนุมทั้งสองดาน เกสรเพศผูจํานวนมาก เชื่อมติดกัน ที่โคน มี 5 กลุม ติดรอบรังไขและฐานกานชูยอดเกสรเพศเมีย ยาว 6–7 ซม. รังไขมีขนสั้นนุม มีสันตามยาว 5 สัน ผลแหงแลว แตก รูปขอบขนาน เปนสันตามยาว ยาว 10–18 ซม. ขางในมีขนปุย เมล็ดจํานวนมาก เขตการกระจายพันธุ พมา ไทย กัมพูชา

การกระจายพันธุแ ละนิเวศวิทยาในประเทศไทย พบกระจายทางภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนลาง ภาคตะวัน ตกเฉียงใต และภาคตะวันออกเฉียงใต ขึ้นในปาเบญจพรรณ ปาเต็งรัง และเขาหินปูน ระดับความสูง 100–900 เมตร ออกดอก ออกผลเดือนพฤศจิกายนถึงเดือนกุมภาพันธ การสืบตอพันธุตามธรรมชาติดี ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือพบเฉพาะทาง ตอนลางบริเวณลุมน้ํามูล ประโยชน เนื้อไมออน ใชทําของเลนหรือเครื่องใชภายในรม ปุยนุนใชเปนไสในเครื่องนอน หมอน การขยายพันธุ เพาะเมล็ด เมล็ดหางาย ไมมีขอมูลการปฏิบัติตอเมล็ดกอนนําไปเพาะ

ขอแนะนํา เปนไมเบิกนําและโตเร็ว ทนแลงและทนไฟ เหมาะสําหรับปลูกฟนฟูสภาพปาเบญจพรรณหรือ

ปาดิบแลงที่เสื่อมโทรม โดยเฉพาะพื้นที่ที่มีประดูและตะแบก ขึ้นเปนไมเดน อยางไรก็ตาม เปนไมที่มีทรงพุม กวาง ตองการแสงมาก ไมควรปลูกชิดกับไมอื่น ๆ เกินไป ควรควบคุมวัชพืชและไฟปาในระยะกลาไม ขอมูลเพิ่มเติม Flora of Thailand 9(1) (2005)

31 SW 6455-p new-G8.indd p31

10/29/56 BE 4:02 PM


งิ้วดอกแดง

Bombax ceiba L. วงศ MALVACEAE

ชื่ออื่น ภาษาชองแถบจังหวัดจันทบุรีเรียกวา งิ้วปง งิ้วปงแดง หรือสะเนมระกา ลักษณะวิสัย ไมตนขนาดกลางถึงขนาดใหญ สูงไดถึง 30 ม. ลําตนมีหนามแข็ง ลักษณะทางพฤกษศาสตรที่สําคัญ ใบประกอบแบบนิ้วมือ เรียงเวียน ออกที่ปลายกิ่ง กานใบยาว 12–18 ซม. ใบยอย 5–7

ใบ รูปรี ขนาดไมเทากัน ยาว 8–15 ซม. กานใบยอยยาว 0.5–2 ซม. ดอกออกเดี่ยว ๆ ที่ปลายกิ่ง กานดอกยาว 0.5–1 ซม. กลีบ เลี้ยงเชื่อมติดกันเปนรูปถวย ยาว 2–4.5 ซม. ปลายแยกเปน 3–5 กลีบ ยาวประมาณ 1.5 ซม. ดานในมีขน กลีบดอก 5 กลีบ สี แดง สีสมแก หรือเหลืองออน มีขนสั้นนุมทั้งสองดาน กลีบรูปไขกลับหรือรูปขอบขนาน ยาว 5–8 ซม. เกสรเพศผูจํานวนมาก เชือ่ มติดกันทีโ่ คนเปนเสาเกสรผูส น้ั ๆ มี 10 กลุม ติดรอบรังไขและฐานกานชูยอดเกสรเพศเมีย ยาว 3.5–7 ซม. รังไขกลม ๆ เกลี้ยง มีรองตามยาว 5 รอง ผลแหงแลวแตก รูปขอบขนาน ไมมีสัน ยาว 8–10 .ซม. ขางในมีขนปุย เมล็ดจํานวนมาก เขตการกระจายพันธุ อินเดีย ศรีลังกา เนปาล จีนตอนใต พมา ไทย ลาว กัมพูชา ภูมิภาคมาเลเซี​ีย นิวกินี ฟลิปปนส

การกระจายพันธุแ ละนิเวศวิทยาในประเทศไทย สวนใหญเปนไมปลูกพบทัว่ ประเทศ ในธรรมชาติขนึ้ ตามปาเบญจพรรณ และปาดิบแลง จนถึงระดับความสูงประมาณ 1,300 เมตร ออกดอกออกผลเดือนพฤศจิกายนถึงเดือนกุมภาพันธ ทางภาคตะวัน ออกเฉียงเหนือพบกระจายทั่วพื้นที่ในปาเบญจพรรณที่แหงแลงทั้ง 3 ลุมน้ํา ประโยชน เนื้อไมออน ใชทําของเลน หรือเครื่องใชภายในรม ขนปุยจากฝกแกใชเปนไสในของเครื่องนอน หมอน ผลออนและ ดอกใชบริโภคได การขยายพันธุ เพาะเมล็ด ไมมีขอมูลการปฏิบัติตอเมล็ดกอนนําไปเพาะ

ขอแนะนํา เปนไมเบิกนําและโตเร็วเชนเดียวกับ งิ้วดอกขาว ทนแลงและทนไฟ แตมักพบตามที่ราบลุม และ

ทนน้ําทวมขัง จึงเหมาะสมสําหรับพื้นที่ชุมชื้นไดดีกวางิ้วดอกขาว และเปนไมที่มีทรงพุมกวาง ตองการแสงมาก จึงไมควรปลูกชิดกับไมอื่น ๆ เกินไป ขอมูลเพิ่มเติม Flora of Thailand 9(1) (2005)

32 SW 6455-p new-G8.indd p32

10/29/56 BE 4:02 PM


ซอหิน

Gmelina racemosa (Lour.) Merr. วงศ LAMIACEAE (LABIATAE)

ชื่ออื่น – ลักษณะวิสัย ไมตนขนาดกลาง สูงไดประมาณ 25 ม. เปลือกเรียบ สีน้ําตาลออน ลักษณะทางพฤกษศาสตรที่สําคัญ ใบเรียงตรงขามสลับฉาก รูปไข ยาว 9–20 ซม. แผนใบดานลางมีนวลและขนสั้นนุม

เสนแขนงใบ 3–6 คู ออกจากโคน 1 คู กานใบยาว 3–7 ซม ชอดอกแบบชอกระจุกแยกแขนงสั้นๆ ออกตามปลายกิ่ง ยาวได ประมาณ 15 ซม. กลีบเลี้ยงและกลีบดอกมีจํานวนอยางละ 5 กลีบ กลีบเลี้ยงรูประฆัง ยาว 0.8–1 ซม. ปลายตัด ดานนอกมีขน ติดทนและขยายในผล กลีบดอกรูปปากแตรโปงดานเดียว ยาว 3–5 ซม. ปลายแยกเปน 5 กลีบ ขนาดเทาๆ กัน ดานนอก สีขาวอมมวง ดานในสีมวง มีขนสั้นนุมทั้งสองดาน กลีบบน 2 กลีบ กลีบลาง 3 กลีบ กลีบกลางใหญกวาเล็กนอย กลีบปากมี สีเหลืองเขมดานใน เกสรเพศผู สั้น 2 อัน ยาว 2 อัน ยอดเกสรเพศเมียมี 2 แฉก ผลแบบเมล็ดเดียวแข็ง สุกสีเหลือง รูปไข ยาว 2.5–4 ซม. เขตการกระจายพันธุ จีนตอนใต ไทย ลาว เวียดนาม การกระจายพันธุและนิเวศวิทยาในประเทศไทย พบเฉพาะทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน บริเวณลุมน้ําโขง ทีเ่ ขตรักษาพันธุส ตั วปา ภูววั จังหวัดบึงกาฬ ขึน้ หางๆ ในปาดิบแลง ระดับความสูงประมาณ 200 เมตร การสืบตอพันธุต ามธรรมชาติ ไมคอยดีนัก พบกลาไมนอย ประโยชน เปนไมเนื้อออน ใชประโยชนเชนเดียวกับซอ (Gmelina arborea Roxb.) การขยายพันธุ เพาะเมล็ด การปฏิบตั ติ อ เมล็ดเชนเดียวกับซอ ขอควรระวัง เนือ่ งจากเปนไมเนือ้ ออน กลาไมอาจถูกเจาะทําลาย ไดงาย

ขอแนะนํา เปนไมโตเร็ว คอนขางหายาก เหมาะสําหรับปลูกเปนทางเลือกเพื่อเปนการขยายพันธุพืชที่

หายากของไทย และฟนฟูสภาพปาดิบแลงในพื้นที่ราบทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบนที่มีความชุมชื้น สามารถปลูกรวมกับไมวงศยางที่ไมผลัดใบหลายชนิด เชน ยางนา ยางแดง ยางปาย และซีดง เปนตน ขอมูลเพิ่มเติม Flora of China Vol. 17 (Verbenaceae - Gmelina lecomtei Dop) (1994); คูมือเลือกชนิดพรรณไมเพื่อปลูก

ปาปองกันอุทกภัย (ซอ – Gmelina arborea Roxb.) (สํานักงานหอพรรณไม, 2555)

33 SW 6455-p new-G8.indd p33

10/29/56 BE 4:03 PM


ตะแบกเกรียบ

Lagerstroemia cochinchinensis Pierre วงศ LYTHRACEAE

ชื่ออื่น – ลักษณะวิสัย ไมพุม ไมตนขนาดเล็กถึงขนาดกลาง ผลัดใบ สูง 2–25 ม. เปลือกบาง สีน้ําตาล แตกเปนแผน ปลายกิ่งขาง ๆ

มักแปรสภาพเปนหนาม

ลักษณะทางพฤกษศาสตรที่สําคัญ มีขนกระจุกสั้นนุมสีน้ําตาลแดงตามแผนใบ และชอดอก ใบเรียงตรงขาม รูปรีหรือ

รูปขอบขนาน ยาว 4–19 ซม. ใบแกมีขนสั้น ๆ ตามเสนแขนงใบดานลาง ชอดอกออกที่ปลายกิ่ง ยาว 3–30 ซม. มีกานดอกเทียม ยาวประมาณ 2 มม. ปลายดอกตูมมีติ่งนูน ยาวประมาณ 2 มม. กลีบเลี้ยงรูปถวย ยาว 0.7–1 ซม. มีขนสั้นนุม มีสัน 6 สัน ปลาย สวนเวามีติ่งยาวประมาณ 4 มม. แผนกลีบยาว 3–4 มม. มีขนสวนปลายกลีบดานบน ดอกสีมวงหรืออมชมพู เปลี่ยนเปนสีออน เกือบขาว แผนกลีบรูปไข ยาว1.5–3 ซม. รวมกานกลีบ ขอบเรียบหรือเปนคลื่น เกสรเพศผูจํานวนมาก มี 6–7 อัน ดานนอกยาว กวาอันอื่น ๆ รังไขมีขนปกคลุม ผลแหงแตก 5–6 ซีก เรียบ สวนปลายผลมักมีขนยาวสีขาว เกลี้ยง ยาว 1.4–1.7 ซม. กานผลเทียม ยาว 2–6 มม. เขตการกระจายพันธุ ไทย ภูมิภาคอินโดจีน การกระจายพันธุแ ละนิเวศวิทยาในประเทศไทย พบแทบทุกภาค ยกเวนภาคใต ขึน้ ในปาเบญจพรรณและปาดิบแลง จนถึง ระดับความสูงประมาณ 1,000 เมตร ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือพบทั่วพื้นที่ทั้ง 3 ลุมน้ํา การขยายพันธุ เพาะเมล็ด เมล็ดเบา มีปก ควรใชทรายกลบเพื่อปองกันเมล็ดกระเด็น ไมมีขอมูลการปฏิบัติตอเมล็ดกอนนํา ไปเพาะ ประโยชน เนื้อไมคอนขางแข็ง ใชในการกอสราง ไมปารเกต ดามเครื่องมือทางการเกษตร เครื่องเรือน

ขอแนะนํา เปนไมโตคอนขางเร็ว ระยะกลาไมตองการแสงมาก ทนแลงและทนไฟ เหมาะสําหรับฟนฟู

สภาพปาเบญจพรรณหรือปาดิบแลงที่เสื่อมโทรมรวมกับไมโตชาไดพรอมกัน ขอมูลเพิ่มเติม The Gardens’ Bulletin, Singapore 24 (Furtado, 1969)

34 SW 6455-p edit-G8.indd p34

10/29/56 BE 4:56 PM


ตะแบกแดง

Lagerstroemia calyculata Kurz วงศ LYTHRACEAE

ชื่ออื่น ทางภาคตะวันออกเรียก ตะแบกขาวใหญหรือตะแบกหนัง ในจังหวัดนครราชสีมาเรียก ตะแบกใหญหรือเปลือยดง ลักษณะวิสัย ไมตนขนาดกลางถึงขนาดใหญ ผลัดใบ สูง 10–40 ม. ลําตนสวนมากกลวง โคนตนมีพูพอน เปลือกสีเทา แตก

ลอนเปนแผน ทิ้งรอยแผลเปนวง เปลือกในสีมวง ลักษณะทางพฤกษศาสตรที่สําคัญ มีขนกระจุกสั้นนุมตามแผนใบดานลาง ชอดอก และกลีบเลี้ยงดานนอก ใบเรียง ตรงขาม รูปขอบขนานหรือรูปใบหอก ยาว 6–20 ซม. ปลายใบแหลมหรือเรียวแหลม โคนใบมนหรือกลม เสนแขนงใบขางละ 8–12 เสน เสนแขนงใบยอยแบบขั้นบันได กานใบยาว 0.5–1 ซม. ชอดอกแบบชอแยกแขนง ออกตามปลายกิ่ง ยาว 10–30 ซม. ดอก เล็กสีขาวหรืออมมวงออน ๆ ไรกานหรือเกือบไรกาน ปลายดอกตูมเปนตุม กลีบเลี้ยงรูปถวย มีสันไมชัดเจน ยาว 5–6 มม. ปลายแยกเปน 6 แฉก ยาวประมาณ 2 มม. กลีบดอก 6 กลีบ รูปไขกลับ ยาว 0.5–1 ซม. รวมกานกลีบที่ยาว 2–3 มม. ขอบกลีบ เปนคลื่น เกสรเพศผูจํานวนมาก ยาวเทา ๆ กัน รังไขมีขน ผลแหงแตก 5–6 ซีก รูปรี ยาวประมาณ 1 ซม. กานผลเทียมยาว ประมาณ 1 มม. เมล็ดจํานวนมาก มีปก เขตการกระจายพันธุ พมา ไทย ภูมิภาคอินโดจีน การกระจายพันธุและนิเวศวิทยาในประเทศไทย พบแทบทุกภาคของประเทศยกเวนภาคเหนือตอนบน ขึ้นในปา เบญจพรรณและปาดิบแลง ระดับความสูง 100–400 เมตร ผลแกจัดประมาณเดือนพฤศจิกายน ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ พบทั่วพื้นที่ทั้ง 3 ลุมน้ํา ประโยชน เนื้อไมคอนขางแข็ง ใชในการกอสราง ไมปารเกต ดามเครื่องมือทางการเกษตร เครื่องเรือน เปลือก แกบิด มูกเลือด การขยายพันธุ เพาะเมล็ด ควรใชทรายกลบแปลงเพาะ และเพาะในทีม่ แี สงรําไร ไมมขี อ มูลการปฏิบตั ติ อ เมล็ดกอนนําไปเพาะ

ขอแนะนํา เปนไมคอนขางโตเร็วแตมีเนื้อแข็ง กลาไมตองการแสงมาก ระบบรากลึก ทนแลงและทนไฟ

ทรงพุมแนนเร็ว เหมาะสําหรับฟนฟูสภาพปาเบญจพรรณที่เสื่อมโทรมรวมกับไมโตชาไดพรอมกัน แตควรเวน ระยะหางพอสมควร สามารถปลูกรวมกับสนสองใบในพื้นที่ปาเต็งรังที่คอนขางมีความชุมชื้นสูงบริเวณลุมน้ําโขง หรือลุมน้ํามูลตอนลาง ขอมูลเพิ่มเติม The Gardens’ Bulletin, Singapore 24 (Furtado, 1969) 35 SW 6455-p new-G8.indd p35

10/29/56 BE 4:03 PM


ตาตุมบก

Falconeria insignis Royle วงศ EUPHORBIACEAE

ชื่ออื่น ภาคตะวันออกเรียก ตังตาบอดหรือตีนเปดปา สวนภาคกลางบางครั้งเรียก ตาตุมน้ํา ลักษณะวิสัย ไมตนผลัดใบ สูงไดถึง 40 ม. มีน้ํายางสีขาว กิ่งกานออน เบาคลายฟองน้ํา ดอกแยกเพศรวมตน ลักษณะทางพฤกษศาสตรที่สําคัญ ใบเรียงเวียน เรียงหนาแนนชวงปลายกิ่ง รูปรีหรือรูปขอบขนาน ยาว 8–33 ซม. ปลาย

ใบแหลมยาว ขอบใบจักฟนเลื่อย มีตอมตามขอบจัก กานใบยาวไดประมาณ 6 ซม. โคนมีตอม 1 คู ชอดอกแบบชอกระจุกแยก แขนง ยาวไดประมาณ 17 ซม. ดอกไมมีกลีบดอกและจานฐานดอก ชอดอกเพศผูมีใบประดับขนาดเล็ก มีตอม 2 ตอม ดอกออก เปนกระจุกบนแกนชอ กลีบเลี้ยง 2 กลีบ ยาวประมาณ 1 มม. เกสรเพศผู 2 อัน ดอกเพศเมียแตละชอกระจุกมีดอกเดียว กลีบเลี้ยงมี 3 พู ยาวประมาณ 2 มม. กานเกสรเพศเมียสั้น มี 2–3 อัน ยอดเกสรไมแยกเปนแฉก ผลแหงแตก รูปรี ยาวประมาณ 7 มม. มี 1 เมล็ดในแตละชอง รูปรีเกือบกลม ยาวประมาณ 5 มม. มีเยื่อหุมบางๆ สีขาว เขตการกระจายพันธุ อินเดีย ศรีลังกา ภูฏาน เนปาล จีนตอนใต พมา ไทย ภูมิภาคอินโดจีน คาบสมุทรมลายู

การกระจายพันธุและนิเวศวิทยาในประเทศไทย พบกระจายทุกภาค ขึ้นในปาดิบแลง ที่เปดโลง เขาหินปูน ระดับความ สูง 100–900 เมตร ออกดอกและติดผลเมือ่ ทิง้ ใบหมด ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือพบกระจายหาง ๆ ในปาดิบแลงทัง้ 3 ลุม น้าํ ประโยชน เนื้อไมออน ใชในงานกอสรางชั่วคราว ดามเครื่องมือขนาดเล็ก ไมอัด และไมฟน น้ํายางสีขาวทําใหระคายเคืองตอ ผิวหนัง หากเขาตาทําใหตาบอด การขยายพันธุ โดยการเพาะเมล็ด หรือตัดใหแตกกอ ไมมีขอมูลการปฏิบัติตอเมล็ดกอนนําไปเพาะ

ขอแนะนํา เปนไมโตเร็ว ขึ้นไดดีทั้งในที่แหงแลงและลุมน้ํา ใบมีขนาดคอนขางใหญ เหมาะสําหรับการปลูก

ฟนฟูสภาพพื้นที่รอยตอพื้นที่เสื่อมโทรมและปาธรรมชาติ

หมายเหตุ เดิมมีชื่อพฤกษศาสตรวา Sapium insigne (Royle) Trim. ขอมูลเพิ่มเติม PROSEA 5(3) (1998); Flora of Thailand 8(1) (2005)

36 SW 6455-p new-G8.indd p36

10/29/56 BE 4:09 PM


ทองหลางปา

Erythrina subumbrans (Hassk.) Merr. วงศ FABACEAE (LEGUMINOSAE-PAPILIONOIDEAE)

ชื่ออื่น – ลักษณะวิสัย ไมตนขนาดเล็กถึงขนาดกลาง ผลัดใบ สูงไดถึง 25 ม. ลําตนมีหนามแข็ง ลักษณะทางพฤกษศาสตรที่สําคัญ ใบประกอบแบบมี 3 ใบยอย เรียงเวียน กานใบยาว 10–12 ซม. ใบยอยรูปสามเหลี่ยม

ยาว 10–15 ซม. โคนใบรูปลิ่มกวางหรือกลม ชอดอกแบบชอกระจะ ออกสั้น ๆ ที่ปลายกิ่ง ตั้งขึ้น ดอกจํานวนมาก สีสมแดง กลีบเลี้ยงรูประฆัง มี 2 กลีบ มีขนยาวคลายไหม กลีบดอกรูปดอกถั่ว กลีบกลางรูปรีกวาง ยาว 5–6 ซม. ปลายกลีบมน มีกาน กลีบสั้น ๆ กลีบคูขางรูปไขกลับสั้นกวากลีบกลาง กลีบคูลางยาวเทา ๆ กลีบขาง เกสรเพศผูเชื่อมติด 2 กลุม 9 อัน และ 1 อัน รังไข เกลี้ยง ผลเปนฝกรูปทรงกระบอกเรียวยาว ยาวประมาณ 15 ซม. โคนฝกลีบ ปลายฝกบวมพอง เมล็ดมี 1–3 เมล็ด สีดํา เขตการกระจายพันธุ อินเดีย ศรีลังกา จีนตอนใต พมา ไทย ภูมิภาคอินโดจีนและมาเลเซีย ฟลิปปนส การกระจายพันธุและนิเวศวิทยาในประเทศไทย พบทุกภาค ขึ้นในปาเบญจพรรณ ปาดิบแลง ชายปาดิบชื้น ระดับ ความสูง 300–600 เมตร การสืบตอพันธุตามธรรมชาติสูง ผลแกเดือน มีนาคม–เมษายน ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือคอนไป ทางภาคเหนือบริเวณตนน้ําของลุมน้ําชีและลุมน้ําโขง ประโยชน เนื้อไมคอนขางออน สีขาวนวล ใชทําเปนของเลน ดอกใหสีแดงใชยอมผา ใบ บดทาแกโรคบวมตามขอ รมควันชุบ สุราปดแผลดูดหนอง น้ําคั้นจากใบสดแกตาอักเสบ แกน แกฝในทอง ราก แกรอนใน กระหายน้ํา ปลูกเปนไมประดับได การขยายพันธุ เพาะเมล็ด ปกชํากิ่ง นําเมล็ดแชน้ํา 1 คืน คัดเมล็ดที่ลอยน้ําทิ้ง สามารถเพาะลงถุงโดยตรงได อัตราการงอก ปานกลาง ใชเวลาการงอกประมาณ 2 อาทิตย ขอควรระวัง มีศัตรูพืชพวกหนอนมวนใบเขาทําลายไดงาย

ขอแนะนํา เปนไมโตเร็ว กลาไมตองการแสงเต็มที่ แตเปราะบาง หักโคนและถูกแมลงเจาะทําลายไดงาย

ดอกสีสดดึงดูดนก เหมาะสําหรับปลูกเปนไมเบิกนํารวมกับไมเบิกนําและไมโตเร็วชนิดอื่น ๆ ในพื้นที่ราบใกล แหลงน้ํา ชวยบํารุงดิน ขอมูลเพิ่มเติม Flora of China Vol. 10 (2010); ปลูกใหเปนปา แนวคิดและแนวปฏิบัติสําหรับการฟนฟูปาเขตรอน (หนวยวิจัย

การฟนฟูปา, 2549); ตนไมเมืองเหนือ (ไซมอน และคณะ, 2543); พืชกินไดในปาสะแกราช เลม 1 (สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและ เทคโนโลยีแหงประเทศไทย, 2551)

37 SW 6455-p new-G8.indd p37

10/29/56 BE 4:09 PM


ทัน

Phoebe tavoyana (Meisn.) Hook. f. วงศ LAURACEAE

ชื่ออื่น ทางจังหวัดเลย เรียก กอหิน ลักษณะวิสัย ไมตนขนาดเล็ก สูงไดถึง 15 ม. เปลือกสีน้ําตาลอมเทา มีชองอากาศทั่วไป กิ่งออนมีขนสั้นหนานุม ลักษณะทางพฤกษศาสตรที่สําคัญ ใบเดี่ยว เรียงเวียนชิดกันดูคลายเรียงเปนวงรอบ รูปรี รูปขอบขนาน หรือรูปใบหอก ยาว

11–21 ซม. ปลายใบเรียวแหลม โคนใบรูปลิ่ม ขอบใบเรียบ แผนใบคอนขางหนา ใบออนมีขนสั้นนุมดานลาง เสนกลางใบดานบน นูนชัดเจน เสนแขนงใบขางละ 8–10 เสน กานใบยาว 0.6–2 ซม. ชอดอกแบบชอแยกแขนง ออกตามซอกใบ ยาวไดถึง 12 ซม. วงกลีบรวมเปนหลอดสั้น ปลายแยกเปน 6 กลีบ มีขนหนาแนน 3 กลีบนอกสั้นกวา ติดทน ขยายใหญและตั้งตรงเมื่อเปนผล เกสรเพศผู 9 อัน เรียงเปน 3 แถว 2 แถวแรก อับเรณูหันเขาหากัน แถวที่ 3 อับเรณูหันออก มีตอม 2 ตอมที่กานชูอับเรณู เกสรเพศผูที่เปนหมันมีกาน รังไขมี 1 ชอง มีออวุล 1 เม็ด ผลคลายผลสดมีหลายเมล็ด รูปไข ยาว 1–1.2 ซม. อยูบนวงกลีบรวม รูปถวยที่ติดทน เขตการกระจายพันธุ จีนตอนใต พมา ภูมิภาคอินโดจีน มาเลเซีย อินโดนีเซีย การกระจายพันธุแ ละนิเวศวิทยาในประเทศไทย พบทุกภาค ขึน้ ตามปาดิบแลงและปาดิบเขา ระดับความสูงจนถึงประมาณ 1,700 เมตร เปนผลเดือนมีนาคมถึงมิถุนายน ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือกระจายหาง ๆ ทั้ง 3 ลุมน้ํา ประโยชน เนื้อไมคอนขางออน มีกลิ่นหอม ใชทําธูปหรือทําฟน การขยายพันธุ เพาะเมล็ด ไมมีขอมูลการปฏิบัติตอเมล็ดกอนนําไปเพาะ

ขอแนะนํา เปนไมคอนขางโตเร็ว ตองการแสงมาก คลายไมเบิกนํา เหมาะสําหรับปลูกเปนไมโตเร็วใหรมเงา

แกไมโตชา โดยเฉพาะในพื้นที่สูง หรือปาดิบเขาที่เสื่อมโทรม ขอมูลเพิ่มเติม Tree Flora of Malaya 4 (Kochummen, 1898)

38 SW 6455-p new-G8.indd p38

10/29/56 BE 4:10 PM


ทุมหมู

Neonauclea pallida (Reinw. ex Havil.) Bakh. f. วงศ RUBIACEAE

ชื่ออื่น – ลักษณะวิสัย ไมตนขนาดเล็ก ไมผลัดใบ สูง 5–15 ม. เปลือกสีน้ําตาล กิ่งมีชองอากาศ ลักษณะทางพฤกษศาสตรทสี่ าํ คัญ หูใบรวมอยูร ะหวางโคนกานใบ คอนขางมีขนาดใหญ ใบเรียงตรงขาม รูปรี ยาว 10–20

ซม. ปลายใบแหลมหรือมน โคนใบเรียวสอบ สวนมากเบี้ยว แผนใบเกลี้ยงทั้งสองดาน กานใบยาวประมาณ 1 ซม. ชอดอกแบบ ชอกระจุกกลม ออกที่ปลายกิ่ง 1–3 ชอ เสนผานศูนยกลางประมาณ 2 ซม. ชอออนมีใบประดับ 1 คูคลายหูใบรองรับที่โคน ดอกจํานวนมาก ไรกาน กลีบเลี้ยงโคนเชื่อมติดกันเปนหลอด ปลายแยก 5 แฉก กลีบดอกรูปดอกเข็ม ปลายแยกเปน 5 กลีบ สี ขาว เกสรเพศผู 5 อัน กานชูอับเรณูสั้น ปลายอับเรณูยื่นพนปากหลอดกลีบดอก ผลยอยแหงแลวแตกตามแนวตะเข็บ รูปไข เมล็ดขนาดเล็ก จํานวนมาก มีปกสั้น ๆ ทั้งสองดาน เขตการกระจายพันธุ พมา ไทย เวียดนาม คาบสมุทรมลายู

การกระจายพันธุและนิเวศวิทยาในประเทศไทย พบมากทางภาคใต ขึน้ ตามชายปาดิบแลง และปาเบญจพรรณระดับต่าํ ๆ เปนผลเดือนสิงหาคม–กันยายน ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือพบทางตอนลางบริเวณตนน้ําของลุมน้ํามูล ประโยชน ไมเนื้อออน ใชทํากลอง ราก แกเบาหวาน แกน ตมน้ําดื่มบํารุงเลือด ผลออน แกอาเจียน ผลสุกขับระดู ขับลม ใบ ตําพอกฆาเหา การขยายพันธุ เพาะเมล็ด ไมมีขอมูลการปฏิบัติตอเมล็ดกอนนําไปเพาะ

ขอแนะนํา เปนไมโตเร็ว ตองการแสงมาก เหมาะสําหรับปลูกในที่ราบลุมใกลแหลงน้ํา ทนน้ําทวม ใบหนา

แนน ใหรมเงาแกไมโตชา

ขอมูลเพิ่มเติม Blumea 12 (van Den Brink, 1963)

39 SW 6455-p new-G8.indd p39

10/29/56 BE 4:10 PM


ปอตูบฝาย

Sterculia hypochra Pierre วงศ MALVACEAE

ชื่ออื่น ทางภาคตะวันออกเฉียงใตเรียก ปอแดง ลักษณะวิสัย ไมตนขนาดเล็กถึงขนาดกลาง ผลัดใบ สูงไดประมาณ 20 ม. เปลือกเรียบสีน้ําตาลเทา กิ่งอวบสั้นมีขน มีรอยแผล

ใบชัดเจน

ลักษณะทางพฤกษศาสตรที่สําคัญ หูใบรูปใบหอก รวงงาย ใบเดี่ยวรูปฝามือ ขนาดกวางยาว 20–30 ซม. มี 5–7 แฉก

แฉกลึกประมาณหนึ่งสวนสามของความยาว แผนใบดานบนมีขนสาก ดานลางมีขนยาว ปลายใบเปนติ่งเรียวแหลม โคนใบเวา ลึกรูปหัวใจ กานใบยาว 20–30 ซม. ชอดอกออกที่ปลายกิ่งเหนือรอยแผลใบ ดอกมีเพศเดียว กานดอกยาวประมาณ 5 มม. กลีบเลี้ยงเชื่อมติดกันรูปคนโท ยาว 4–6 มม. ปลายแยกเปนแฉกรูปสามเหลี่ยมตื้น ๆ 5 แฉก แฉกลึกประมาณกึ่งหนึ่ง ไมมีกลีบ ดอก เกสรเพศผู 10 อัน ติดที่ปลายเสาเกสรรูปกลม อับเรณูไรกาน รังไขมี 5 คารเพล แยกกัน เกสรเพศเมีย 5 อัน แยกกัน ผล แบบผลแหงแตกแนวเดียว มี 3–5 ผลยอย ยาวประมาณ 5 ซม. สีแดงอมสม ผิวคลายแผนหนัง มีขนสั้นนุม มี 3–5 เมล็ด รูปไข ยาวประมาณ 1.5 ซม. เขตการกระจายพันธุ พมา ไทย เวียดนาม มาเลเซีย การกระจายพันธุและนิเวศวิทยาในประเทศไทย พบมากทางภาคเหนือและภาคตะวันตกเฉียงใต ขึ้นในปาเบญจพรรณ และปาดิบแลง บางครั้งพบบนเขาหินปูนในที่สูง ระดับความสูง 300–2,000 เมตร ผลแกเดือนมีนาคม–มิถุนายน ทางภาค ตะวันออกเฉียงเหนือพบทั่วพื้นที่ทั้ง 3 ลุมน้ํา การขยายพันธุ เพาะเมล็ด เมล็ดเก็บไวไดนานมากกวา 1 ป ไมมีขอมูลการปฏิบัติตอเมล็ดกอนนําไปเพาะ ประโยชน เนื้อไมออน เหมาะสําหรับการกอสรางภายใน

ขอแนะนํา เปนไมโตเร็วโดยเฉพาะในระยะกลาไม แตตองการรมเงาในระยะแรก เหมาะสําหรับปลูกฟนฟู

สภาพปาเบญจพรรณหรือปาดิบแลงที่เสื่อมโทรม ทั้งที่ราบลุมและที่ลาดชัน ทนแลงและทนไฟไดดี ขอมูลเพิ่มเติม Flora of Thailand 7(3) (2001); ตนไมเมืองเหนือ (ไซมอน และคณะ, 2543)

40 SW 6455-p new-G8.indd p40

10/29/56 BE 4:11 PM


ปอหู

Hibiscus macrophyllus Roxb. ex Hornem. วงศ MALVACEAE

ชื่ออื่น ทางจังหวัดชัยภูมิเรียก ขี้เถา แถบจังหวัดชลบุรีเรียก ปอเปด ลักษณะวิสัย ไมตนขนาดเล็ก ไมผลัดใบ สูงไดถึง 15 ม. โตเร็ว เปลือกนอกสีครีมออน ผิวมักมีรอยแตกตื้น ๆ และมีชองอากาศ

ขนาดใหญ เปลือกในสีน้ําตาลอมชมพูเปนเสนใย ลักษณะทางพฤกษศาสตรที่สําคัญ หูใบขนาดใหญ รวงงาย ใบเรียงเวียน รูปหัวใจ ยาว 15–35 ซม. แผนใบดานบนมีตอม ยาว 0.3–2 ซม. ดอกสีเหลืองมีแตมสีมวงตรงกลาง เปลี่ยนเปนสีแดงกอนหลุดรวง ยาว 5–7.5 ซม. มีริ้วประดับ 10–12 อัน กลีบเลี้ยงเชื่อมติดกันเปนหลอด ปลายแยกเปน 5 แฉก มีหนามเล็ก ๆ ดานนอก ดานในมีขน กลีบดอก 5 กลีบ บิดคลายกรวย กานเกสรเพศผูเชื่อมติดกันเปนเสาเกสร อับเรณูติดตามความยาวของหลอดเกสรเพศผู ผลแบบผลแหงแตก มีขนแข็ง ๆ สีขาว ดานนอก เมล็ดจํานวนมาก รูปรางคลายไต มีขนปกคลุม เขตการกระจายพันธุ อินเดีย บังกลาเทศ จีนตอนใต พมา ไทย ภูมิภาคอินโดจีน คาบสมุทรมลายู ชวา สุมาตรา

การกระจายพันธุและนิเวศวิทยาในประเทศไทย พบกระจายหาง ๆ ทางภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ พบมาก ทางภาคใต ขึ้นตามปารุนสอง ชายปา และปาดิบชื้น ระดับความสูงจนถึงประมาณ 1,000 เมตร การสืบตอพันธุตามธรรมชาติสูง ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือพบเฉพาะทางตอนลางชวงตนน้ําของลุมน้ํามูล ขึ้นในปาดิบแลงในระดับสูง ประโยชน เนื้อไมใชทําสิ่งกอสรางภายใน เสนใยจากเปลือกใชทําเชือก ปลูกเปนไมประดับ การขยายพันธุ เพาะเมล็ด ไมมีขอมูลการปฏิบัติตอเมล็ดกอนนําไปเพาะ

ขอแนะนํา เปนไมเบิกนํา โตเร็ว เหมาะสําหรับปลูกฟนฟูพื้นที่เสื่อมโทรมใกลชายปาดิบแลง เนื่องจาก

ตองการความชื้นคอนขางสูง มีใบคอนขางดก ใหรมเงากับไมโตชาไดดี

ขอมูลเพิ่มเติม ตนไมเมืองเหนือ (ไซมอน และคณะ, 2543); Tree Flora of Sabah and Sarawak Vol. 2 (1996)

41 SW 6455-p new-G8.indd p41

10/29/56 BE 4:11 PM


ปบ

Millingtonia hortensis L. f. วงศ BIGNONIACEAE

ชื่ออื่น – ลักษณะวิสัย ไมตนขนาดกลาง สูงถึง 20 ม. เปลือกหนาคลายคอรก สีน้ําตาลแกมเหลือง ลักษณะทางพฤกษศาสตรที่สําคัญ ใบประกอบแบบขนนก 2–3 ชั้น เรียงตรงขาม ใบยอยรูปไขหรือแกมรูปใบหอก ยาว

3–7 ซม. ปลายใบแหลมยาว โคนใบกลม เบี้ยว แผนใบบาง มีขนตามเสนแขนงใบดานลาง ชอดอกแบบชอกระจุกแยกแขนง ออก ที่ปลายกิ่ง ดอกสีขาว มีกลิ่นหอม กลีบเลี้ยงเชื่อมรูประฆัง ยาว 2–4 มม. ปลายแยกเปน 5 แฉก ตื้น ๆ หลอดกลีบดอกชวงโคน ยาว 5.5–8 ซม. ปลายหลอดขยายเปนรูปกรวย ปลายแยกเปน 5 แฉก รูปขอบขนานแกมรูปไข ยาว 1–2 ซม. มี 2 แฉกเชื่อมติด กัน ขอบมีขน เกสรเพศผู 5 อัน สมบูรณ 4 อัน สั้น 2 อัน ยาว 2 อัน รังไขมีตอมขนาดเล็กปกคลุม ฐานดอกเปนวงรูปถวย ผลแหงแลวแตก แบน รูปแถบ ยาว 20–25 ซม. เมล็ดจํานวนมาก มีปก เขตการกระจายพันธุ พมา จีนตอนใต ไทย ภูมิภาคอินโดจีน การกระจายพันธุและนิเวศวิทยาในประเทศไทย พบทุกภาค ขึ้นกระจายในปาเบญจพรรณ ปาดิบแลง ชายปา และปา เสือ่ มโทรมระดับต่าํ ๆ ออกดอกเดือนสิงหาคมถึงเดือนธันวาคม ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือสวนมากพบทางตอนลางบริเวณ ลุมน้ําชีและลุมน้ํามูล ประโยชน เนื้อไมคอนขางออน เปราะ ใชทําเฟอรนิเจอรที่ไมตองการความทนทานมากนัก นิยมปลูกเปนไมประดับทั่วไปตาม สองขางถนน ดอกบานใชหั่นรวมกับยาเสนทําใหมีกลิ่นหอม เปลือก บรรเทาอาการไข ราก รักษาวัณโรคในปอด แกไอ และโรคทาง เดินหายใจ การขยายพันธุ เพาะเมล็ด เนื่องจากเมล็ดเบาและมีปก ควรกลบดวยทรายบาง ๆ เพื่อปองกันเมล็ดกระเด็น ไมมีขอมูลการ ปฏิบัติตอเมล็ดกอนนําไปเพาะ

ขอแนะนํา เปนไมคอนขางโตเร็ว ขึ้นงาย ทนแลง ตองการแสงมาก คลายไมเบิกนํา พุมใบแนน เหมาะ

สําหรับปลูกปองกันการพังทลายของหนาดิน ปลูกพรอมไมโตเร็วหรือไมเบิกนําอื่น ๆ ได ขอมูลเพิ่มเติม ตนไมเมืองเหนือ (ไซมอน และคณะ, 2543); Flora of Thailand 5(1) (1987)

42 SW 6455-p edit-G8.indd p42

10/29/56 BE 4:58 PM


เปลาใหญ

Croton persimilis Müll. Arg. วงศ EUPHORBIACEAE

ชื่ออื่น โดยทั่วไปมักเรียกสั้น ๆ วา เปลา ลักษณะวิสัย ไมพุมหรือไมตนขนาดเล็ก ผลัดใบ สูง 10–15 ม. เปลือกเรียบหรือแตกเปนสะเก็ด กิ่งออนมีขนสั้นนุมหนาแนน

และเกล็ดรังแคทั่วไป ดอกแยกเพศรวมตน ลักษณะทางพฤกษศาสตรที่สําคัญ ใบเรียงเวียน รูปขอบขนาน ยาว 10–32 ซม. ขอบใบจักฟนเลื่อย มีตอมที่โคนดาน ลางขนาดประมาณ 1 มม. ไมมีตอมที่ขอบใบ ชอดอกแบบชอกระจุกแยกแขนง ออกที่ปลายกิ่ง ยาว 9–36 ซม. โคนชอมีขน สั้นนุม ดอกจํานวนมากสีขาวอมเขียว ดอกเพศเมียมีนอยกวาดอกเพศผู ใบประดับมักมีตอมที่โคน 1 ตอม กานดอกยาว 2–5 มม. กลีบเลี้ยงและกลีบดอกมีจํานวนอยางละ 5 กลีบ ในดอกเพศเมียมักไมมีกลีบดอก มีขนสั้นนุม กลีบเลี้ยงยาว 2.5–3 มม. เกสรเพศผู 10–12 อัน รังไขมีขนสั้นนุม เกสรเพศเมีย มี 3 อัน ยาว 3–4 มม. ปลายแยก 2 แฉก ผลแหงแตกเปนรองตามยาว รูปรีเกือบกลม ยาว 6–7 มม. ผนังผลหนา มีขนสั้นนุมหนาแนน เมล็ดยาวประมาณ 6 มม. มีจุกขั้วเล็ก ๆ เขตการกระจายพันธุ อินเดีย เนปาล ภูฏาน บังกลาเทศ พมา ไทย ภูมิภาคอินโดจีน การกระจายพันธุและนิเวศวิทยาในประเทศไทย พบกระจายแทบทุกภาค ยกเวนภาคใต ขึ้นในปาเต็งรัง ปาเบญจพรรณ ปาดิบแลง โดยเฉพาะตามชายปา ระดับความสูงจนถึงประมาณ 1,000 เมตร เปนผลเดือนมกราคม–เมษายน ทางภาคตะวันออก เฉียงเหนือพบทุกพื้นที่ทั้ง 3 ลุมน้ํา ประโยชน เนื้อไมคอนขางแข็ง แตมีขนาดเล็ก ใชทําฟน ชาวเขาเผาอีกอใชใบตําละเอียด เปนยาไลแมลง ใบนํามาตมใหสตรี อาบหลังคลอดบุตร น้ํามันหอมระเหยที่ไดจากการตมใบ แกไขหวัด น้ํามันจากเมล็ด เปนยาระบาย การขยายพันธุ เพาะเมล็ด ไมมีขอมูลการปฏิบัติตอเมล็ดกอนนําไปเพาะ

ขอแนะนํา เปนไมคอนขางโตเร็ว โดยเฉพาะในระยะกลาไม คลายไมเบิกนํา ตองการแสงมาก เหมาะสําหรับ

ปลูกเพื่อคลุมดินใหมีความชุมชื้นในระยะแรก สามารถปลูกพรอมไมโตเร็วหรือไมเบิกนําอื่น ๆ ได หมายเหตุ ชื่อพองและเปนที่รูจักกันมานาน คือ Croton roxburghii N. P. Balakr. ขอมูลเพิ่มเติม Flora of Thailand 8(1) (2005)

43 SW 6455-p new-G8.indd p43

10/29/56 BE 4:11 PM


พลับพลา

Microcos tomentosa Sm. วงศ MALVACEAE

ชื่ออื่น เรียกคลาย ๆ กับ ลาย (Microcos paniculata L.) เชน ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือเรียก คอมสมหรือกอมสม พลองสม

และ คอมเกลี้ยง ภาคตะวันออกเฉียงใตเรียก มลาย ภาคกลางเรียก พลับพลา และขี้เถา ลักษณะวิสัย ไมตนขนาดกลาง ผลัดใบ สูงไดประมาณ 20 ม. โคนตนมีพูพอน เปลือกสีน้ําตาลเทาแตกลอนเปนแผนสะเก็ด บาง ๆ ลักษณะทางพฤกษศาสตรที่สําคัญ ใบเรียงสลับในระนาบเดียวกัน รูปไขกลับ ยาว 8–17 ซม. ปลายใบเปนติ่งแหลม โคนใบ กลม ขอบใบจักฟนเลื่อย แผนใบมีขนทั้ง 2 ดาน เสนโคนใบ 3 เสน เสนแขนงใบขางละ 4–6 เสน เสนแขนงใบยอยแบบขั้นบันได ชอดอกออกที่ซอกใบใกลปลายกิ่ง ยาว 3–15 ซม. ดอกสีเหลือง กลีบเลี้ยงคลายรูปชอน ยาว 5–8 มม. กลีบดอกรูปสามเหลี่ยม ยาวประมาณ 2 ซม. เกสรเพศผูเกลี้ยง รังไขรูปไข ยาวประมาณ 2 มม. มีขน ผลแบบผลผนังชั้นในแข็ง รูปรี ยาว 1–1.5 ซม. ผิวคลายแผนหนัง มีขนปกคลุม เขตการกระจายพันธุ อินเดีย ไทย ภูมิภาคอินโดจีนและมาเลเซีย ฟลิปปนส การกระจายพันธุและนิเวศวิทยาในประเทศไทย พบทั่วทุกภาคของประเทศ ขึ้นในปาเบญจพรรณ ปาดิบแลง และปาดิบ ชื้น ระดับความสูง 50–800 เมตร ออกดอกและผลแกเดือนพฤษภาคม–กันยายน ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือพบทุกพื้นที่ทั้ง 3 ลุมน้ํา ประโยชน เนื้อไมคอนขางออน ใชทําเฟอรนิเจอร ไมฟน ผลสุกรับประทานได การขยายพันธุ เพาะเมล็ด ไมมีขอมูลการปฏิบัติตอเมล็ดกอนนําไปเพาะ

ขอแนะนํา เปนไมโตคอนขางเร็ว กลาไมตองการแสงมาก ขึ้นไดดีทั้งในสภาพพื้นที่แหงแลงและมีน้ําทวมขัง

ผลสุกดึงดูดสัตวปาใหเขามาในพื้นที่ได

ขอมูลเพิ่มเติม Blumea Volume 56(3) (Chung and Soepadmo, 2011); Flora of Thailand 6(1) (1993)

44 SW 6455-p new-G8.indd p44

10/29/56 BE 4:11 PM


พังแหรใหญ

Trema orientalis (L.) Blume วงศ CANNABACEAE

ชื่ออื่น ภาคกลางเรียก ตะคาย ลักษณะวิสยั ไมตน ขนาดเล็กถึงขนาดกลาง ผลัดใบ สูงไดประมาณ 20 ม. เปลือกเรียบสีเทาออน มีชอ งอากาศกระจาย เปลือก

แตกเปนรองตามยาวในตนขนาดใหญ กิ่งออนมีขนปกคลุม ดอกแยกเพศรวมตน ลักษณะทางพฤกษศาสตรที่สําคัญ หูใบรูปลิ่ม ยาวประมาณ 1 ซม. รวงงาย ใบเรียงสลับตามกิ่งที่หอยลง แผนใบรูปขอบ ขนาน รูปใบหอก หรือแกมรูปไข ยาว 7–20 ซม. โคนใบรูปหัวใจ เบี้ยว ขอบใบจักฟนเลื่อยถี่ ๆ แผนใบดานบนสาก ดานลาง มีขนสัน้ นุม หนาแนน เสนโคนใบ 3 เสน เสนแขนงใบขางละ 4–6 เสน ชอดอกออกเปนกระจุกสัน้ ๆ ตามซอกใบ ขนาดเล็ก สีเขียวออน เสนผานศูนยกลาง 1.5–2 มม. ดอกเพศผูมักอยูชวงโคนชอและมีมากกวาดอกเพศเมีย กลีบรวม 4–5 กลีบ ติดทน ผลแบบผล ผนังชั้นในแข็ง รูปรีเกือบกลม ยาว 3–6 มม. ผิวยน สุกสีดํา มีเมล็ดเดียว เขตการกระจายพันธุ แอฟริกา อินเดีย เนปาล ศรีลังกา จีน ญี่ปุน พมา ไทย ภูมิภาคอินโดจีนและมาเลเซีย ประเทศหมูเกาะ ในมหาสมุทรแปซิฟก ออสเตรเลีย การกระจายพันธุและนิเวศวิทยาในประเทศไทย พบกระจายทั่วไปทุกภาค ขึ้นตามที่โลงและตามชายปาที่มีความชุมชื้น ระดับความสูงจนถึงประมาณ 1,500 เมตร ออกดอกและติดผลเดือนมิถนุ ายน–สิงหาคม ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือสวนมาก พบทางตอนลางตามชายปาดิบแลงของลุมน้ํามูล ประโยชน เนือ้ ไมออ น สีชมพู มีความละเอียดสูง ใชทาํ เครือ่ งประดับ เปลือกใหเสนใย ใชทาํ กระดาษได ราก เปนยาแกรอ นใน กระหายน้ํา เปลือก เปนยาแกปากเปอย ทรงพุมหนาแนน เหมาะสําหรับปลูกใหรมเงาพืชเกษตรไดดี การขยายพันธุ เพาะเมล็ดและปกชํา แตกหนอไดดี เมล็ดควรนําไปจุมในฮอรโมนพืชพวกกรดจิบเบอเรลลิน (giberrellic acid -GA3) กอนนําไปเพาะ เพื่อชวยเรงการงอก และเมล็ดตองการแสงเพื่อชวยในการงอกสูง

ขอแนะนํา เปนไมเบิกนําและโตเร็ว ขึ้นไดดีในที่โลงโดยเฉพาะริมลําธาร แตไมทนแลงและไฟ เหมาะสําหรับ

ปลูกฟนฟูสภาพพื้นที่ใกลแหลงน้ําและมีความชุมชื้นสูง เพื่อชวยปกคลุมพื้นที่ที่เสื่อมโทรมในเบื้องตนเพื่อ ปองกันการพังทลายของดินตามชายฝงแมน้ํา หมายเหตุ เดิมถูกจัดใหอยูภายใตวงศ Ulmaceae ขอมูลเพิ่มเติม Flora of China Vol. 5 (2003). Website: AgroForestryTree Database 45 SW 6455-p new-G8.indd p45

10/29/56 BE 4:12 PM


โพขี้นก

Ficus rumphii Blume วงศ MORACEAE

ชื่ออื่น ทางภาคกลางเรียก โพตัวผูหรือโพประสาท ลักษณะวิสัย ไทรขึ้นบนพื้นดินหรือเกาะพันตนไมอื่น ขนาดเล็กถึงขนาดกลาง ผลัดใบ สูงไดถึง 20 ม. เปลือกสีเทาปนน้ําตาล

ดอกแยกเพศรวมตน

ลักษณะทางพฤกษศาสตรที่สําคัญ หูใบยาว 1–3.5 ซม. รวงงาย ใบเรียงเวียน รูปรีหรือรูปไข ยาว 3–16 ซม. ปลายใบยาว

คลายหาง โคนใบรูปลิ่มกวาง ตัด หรือรูปหัวใจตื้น ๆ แผนใบเกลี้ยงทั้งสองดาน เสนแขนงใบขางละ 6–8 เสน มีตอมไขที่โคนเสน กลางใบ กานใบยาว 2.5–9 ซม. ดอกขนาดเล็กอยูภายในฐานดอกที่ขยายใหญและอวบน้ํา ออกเปนคูหรือเดี่ยว ๆ ตามซอกใบ หรือตามกิ่ง มีใบประดับขนาดเล็กที่โคน 2–3 ใบ ยาว 1–2 มม. ไรกาน รูปรางคอนขางกลม เสนผานศูนยกลาง 1.5–2 ซม. สีชมพู หรืออมมวง สุกสีดํา รูเปดเสนผานศูนยกลาง 2–2.5 มม. ดานในไมมีขน เมล็ดขนาดเล็ก การกระจายพันธุ ปากีสถาน อินเดีย เนปาล ภูฏาน บังกลาเทศ พมา ไทย ภูมิภาคอินโดจีนและมาเลเซีย

การกระจายพันธุและนิเวศวิทยาในประเทศไทย พบกระจายหาง ทุกภาค ขึ้นในปาเบญจพรรณ ปาดิบแลง และปาดิบ ระดับต่ําความสูงไมมากนัก ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือพบทั่วพื้นที่ทั้ง 3 ลุมน้ํา ประโยชน เนื้อไมคอนขางออน ใบและกิ่งออนเปนอาหารของสัตวเลี้ยง เปลือกและใบ ใชละลายเสมหะ ยางผสมกับน้ําตาล มะพราว ขับพยาธิในลําไส ปลูกเปนไมประดับใหรมเงา การขยายพันธุ เพาะเมล็ด ตอนกิ่ง หรือปกชํากิ่ง การปฏิบัติตอเมล็ดกอนนําไปเพาะเชนเดียวกับกราง

ขอแนะนํา เปนไมพวกไทรที่ขึ้นบนพื้นดิน โตคอนขางเร็ว โดยเฉพาะชวงกลาไม ระบบรากแนน ชวยปองกัน

การพังทลายของดิน ทนแลง สามารถปลูกไดทง้ั ทีร่ าบลุม และทีล่ าดชัน เปนแหลงอาหารของสัตวปา หลายชนิด

ขอมูลเพิ่มเติม Flora of Thailand 10(4) (2011); ตนไมเมืองเหนือ (ไซมอน และคณะ, 2543); ไมปา ยืนตนของไทย 1 (เอือ้ มพร

และปณิธาณ, 2547); ปลูกใหเปนปา แนวคิดและแนวปฏิบัติสําหรับการฟนฟูปาเขตรอน (หนวยวิจัยการฟนฟูปา, 2549)

46 SW 6455-p new-G8.indd p46

10/29/56 BE 4:12 PM


มะกล่ําตน

Adenanthera microsperma Teijsm. & Binn. วงศ FABACEAE (LEGUMINOSAE-MIMOSOIDEAE)

ชื่ออื่น บางครั้งเรียกวามะกล่ําตาไกหรือมะกล่ําตาชาง ลักษณะวิสัย ไมตนขนาดเล็กถึงขนาดกลาง ผลัดใบชวงสั้นๆ สูง 10–20 ม. กิ่งสีน้ําตาลเขม เกลี้ยงหรือมีขนละเอียด ลักษณะทางพฤกษศาสตรที่สําคัญ ใบประกอบแบบขนนกสองชั้น เรียงสลับ กานใบยาว 3–13 ซม. แกนกลางยาวไดกวา

40 ซม. ใบประกอบยอยมี 1–6 คู กานใบและแกนกลางใบประกอบไมมีตอม ใบยอยมี 4–7 คู เรียงสลับ รูปรีหรือรูปไข ยาว 2.5–4 ซม. ปลายใบแหลมหรือกลม โคนใบมนหรือกลม แผนใบมีขนละเอียดทัง้ สองดาน ชอดอกแบบชอกระจะเรียวยาวคลาย ชอเชิงลด ดอกจํานวนมาก กลีบเลี้ยงรูปถวย ยาวประมาณ 1 มม. ปลายจักไมชัดเจน 5 จัก กลีบดอก 5 กลีบ รูปใบหอก ยาว 3–4.5 มม. เกสรเพศผู 10 อัน แยกกัน ยาวเทา ๆ กลีบดอก รังไขมีขนยาว กานเกสรเพศเมียเรียวยาว ยาวเทา ๆ เกสรเพศผู ผล เปนฝกแบน ๆ ยาว 12–20 ซม. คอดตามเมล็ด แหงแลวแตกบิดงอ เมล็ดสีแดง รูปรีเกือบกลม ยาว 5–8 มม. เขตการกระจายพันธุ จีนตอนใต พมา ไทย ภูมิภาคอินโดจีนและมาเลเซีย การกระจายพันธุแ ละนิเวศวิทยาในประเทศไทย พบกระจายทุกภาค ขึน้ ในปาเบญจพรรณ หรือชายปาดิบแลงและปาดิบชืน้ ระดับความสูงจนถึงประมาณ 400 เมตร ผลแกเดือนมิถุนายน–สิงหาคม ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือพบทางตอนบนคอน ไปทางภาคเหนือ และตอนลางชวงตนน้ําของลุมน้ํามูล ประโยชน เปนไมเนื้อออนคอนขางแข็ง ทนมอดและแมลง ใชในกอสราง ทําเฟอรนิเจอร ทําไมฟนคุณภาพดี เมล็ดสีแดงสด ใชทําเครื่องประดับ ทรงพุมสวยงามแนน ปลูกใหรมเงาแกไมอื่น ๆ ชวยบํารุงดิน การขยายพันธุ เพาะเมล็ด ขอมูลจากภูมิปญญาชาวบาน จังหวัดยโสธร ใหขลิบเมล็ดใหเกิดแผล แชน้ํา 1–3 วัน นําขึ้น หอกระสอบปาน รดน้ําพอชุม 2–3 วัน เมล็ดงอกแลวยายลงถุง เชนเดียวกับราชพฤกษและกัลปพฤกษ

ขอแนะนํา เปนไมคอนขางโตเร็ว ตองการแสงมาก แตในระยะกลาไมตองการรมเงา ระบบรากลึก พุมใบ

กวาง เหมาะสําหรับปลูกฟนฟูสภาพพื้นที่ราบลุมเพื่อยึดเกาะดิน และชวยปรับปรุงดิน ขอมูลเพิ่มเติม Flora of Thailand 4(2) (1985); Flora of China Vol. 10 (2010)

47 SW 6455-p new-G8.indd p47

10/29/56 BE 4:12 PM


มะกัก

Spondias bipinnata Airy Shaw & Forman วงศ ANACARDIACEAE

ชื่ออื่น บางครั้งเรียกเปนภาษาทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือวา หมักกัก แถบจังหวัดนครราชสีมาเรียก มะกอกปา ลักษณะวิสัย ไมตนขนาดเล็กถึงขนาดกลาง สูง 10–25 ม. เปลือกสีเทาอมน้ําตาล แตกเปนรองตื้น ๆ ตามยาว กิ่งออนมี

ขนสั้นนุมหนาแนน

ลักษณะทางพฤกษศาสตรที่สําคัญ ใบประกอบแบบขนนก 2 ชั้น กานใบยาว 4.5–11 ซม. ใบประกอบยอยเรียงตรงขาม

มี 3–5 คู รูปรีหรือรูปไข ยาว 1.2–3.2 ซม. โคนใบเบี้ยว แผนใบมีขนทั้งสองดาน เสนแขนงใบขางละ 6–9 เสน ชอดอกแบบชอแยก แขนง ออกตามปลายกิ่ง ดอกจํานวนมาก กลีบเลี้ยง 4 กลีบ รูปไข ยาวประมาณ 1 มม. กลีบดอก 4 กลีบ รูปรี ยาวประมาณ 4 มม. เกสรเพศผู 10 อัน จานฐานดอกหนา หยักเปนพู ผลแบบผลผนังชั้นในแข็ง รูปรีหรือรูปขอบขนาน ยาวประมาณ 4.5 ซม. สวนมากมีเมล็ดเดียว เขตการกระจายพันธุ พืชถิ่นเดียวของไทย

การกระจายพันธุและนิเวศวิทยาในประเทศไทย พบทางภาคเหนือตอนลาง ภาคกลาง ภาคตะวันออกเฉียงเหนือแถบ จังหวัดนครราชสีมา และภาคตะวันตกเฉียงใต ขึน้ ตามทีโ่ ลงหรือบนเขาหินปูนเตีย้ ๆ ระดับความสูงไมเกิน 300 เมตร ติดผลเดือน พฤษภาคม–ตุลาคม ประโยชน เนื้อไมออน คลายๆ กับไมมะมือ Choerospondias axillaris (Roxb.) B. L. Burtt & A. W. Hill การขยายพันธุ เพาะเมล็ด การปฏิบตั ติ อ เมล็ดกอนนําไปเพาะใชวธิ เี ดียวกับมะมือได คือ นําเมล็ดแชนา้ํ จนนิม่ แกะเอาเนือ้ ออก ตากใหแหง เก็บไวในภาชนะปดประมาณ 1 เดือนกอนนําไปเพาะ

ขอแนะนํา เปนไมเบิกนําและโตเร็ว ทนความแหงแลงและไฟปา เหมาะสําหรับปลูกในพื้นที่แหงแลงใกล

เขาหินปูนทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนลาง คอนมาทางภาคกลาง เพื่อใหเกิดความชุมชื้นและเปนรมเงา ในการปลูกไมโตชา และนาจะทดลองปลูกในพื้นที่ที่แหงแลงในสวนอื่น ๆ ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือได โดยเฉพาะพื้นที่ที่เปนหินปูน ขอมูลเพิ่มเติม Flora of Thailand 10(3) (2010); คูมือเลือกชนิดพรรณไมเพื่อปลูกปาปองกันอุทกภัย (มะมือ) (สํานักงาน

หอพรรณไม, 2555)

48 SW 6455-p new-G8.indd p48

10/29/56 BE 4:12 PM


มะเดื่อปลอง Ficus hispida L. f. วงศ MORACEAE

ชื่ออื่น – ลักษณะวิสัย ไทรขนาดเล็ก ไมผลัดใบ สูง 10–15 ม. เปลือกสีน้ําตาล มีรอยแผลใบรอบลําตน ตนออนมักกลวง ดอกแยกเพศ

รวมตน

ลักษณะทางพฤกษศาสตรที่สําคัญ หูใบยาว 1–2.5 ซม. มีขนยาว รวงงาย ใบเรียงตรงขาม เกือบตรงขาม หรือเรียงเวียน รูป

ขอบขนาน รูปรี หรือรูปไขกลับ ยาว 5–25 ซม. ตนกลาอาจยาวไดถึง 35 ซม. ปลายใบแหลมยาว โคนใบรูปลิ่มหรือเวาตื้น ๆ คลาย รูปหัวใจ แผนใบมีขนทั้งสองดาน เสนแขนงใบขางละ 4–10 เสน กานใบยาว 1–6.5 ซม. หรือเกือบ 10 ซม. ในตนออน ดอกขนาด เล็กอยูภายในฐานรองดอกที่ขยายใหญและอวบน้ํา ออกตามซอกใบ ลําตน และกิ่งใหญ ๆ กานยาว 0.5–3.5 ซม. มีใบประดับที่ โคน 3 ใบ ยาว 0.5–2.5 มม. คอนขางกลม ผลสดเสนผานศูนยกลางอาจโตไดถึง 3.5 ซม. ผลแหง 1.5–2.5 ซม. มีขนสั้นนุมและ เกล็ดปกคลุมหาง ๆ สุกสีเหลืองออน รูเปดเสนผานศูนยกลาง 2–4 มม. ดานในไมมีขน รอบ ๆ มีใบประดับ 5–6 ใบ เขตการกระจายพันธุ ปากีสถาน อินเดีย ศรีลังกา เนปาล ภูฏาน บังกลาเทศ จีนตอนใต พมา ไทย ภูมิภาคอินโดจีนและ มาเลเซีย ฟลิปปนส นิวกีนี ออสเตรเลีย การกระจายพันธุและนิเวศวิทยาในประเทศไทย พบทั่วทุกภาคของประเทศ ขึ้นในปาเบญจพรรรณ ปาดิบแลง ปาดิบชื้น และปาดิบเขา สวนมากพบตามชายปา จนถึงระดับความสูงจนถึง 1,600 เมตร ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือพบทั่วพื้นที่ทั้ง 3 ลุมน้ํา ประโยชน เนื้อไมออน ไมมีการนําไปใชประโยชนมากนัก รากและเปลือกตน แกพิษในกระดูก แกเม็ดฝ การขยายพันธุ เพาะเมล็ด ปกชํากิ่ง การปฏิบัติตอเมล็ดกอนนําไปเพาะเชนเดียวกับกราง

ขอแนะนํา เปนไมคอนขางโตเร็ว เชนเดียวกับพรรณไมพวกไทร แตมะเดื่อปลองชอบความชุมชื้น สามารถ

ปลูกไดทง้ั ทีร่ าบลุม ทีม่ นี าํ้ ขัง ชวยปองกันการพังทลายของดิน ผลเปนแหลงอาหารของสัตวปา หลายชนิด

ขอมูลเพิ่มเติม Flora of Thailand 10(4) (2001); ตนไมเมืองเหนือ (ไซมอน และคณะ, 2543); ปลูกใหเปนปา แนวคิดและแนว ปฏิบัติสําหรับการฟนฟูปาเขตรอน (หนวยวิจัยการฟนฟูปา, 2549); สมุนไพรไมพื้นบาน (3) (นันทวัน และคณะ, 2542)

49 SW 6455-p new-G8.indd p49

10/29/56 BE 4:12 PM


มะฝอ

Mallotus nudiflorus (L.) Kulju & Welzen วงศ EUPHORBIACEAE

ชื่ออื่น – ลักษณะวิสัย ไมตนขนาดกลางถึงขนาดใหญ ผลัดใบ สูงไดถึง 30 ม. มักมีพูพอน เปลือกเรียบ บาง สีเทาถึงสีน้ําตาล ดอกแยก

เพศตางตน

ลักษณะทางพฤกษศาสตรที่สําคัญ ใบเรียงตรงขาม รูปไขหรือรูปขอบขนาน ปลายใบเรียวแหลม โคนใบเวารูปหัวใจหรือมน มีตอม 2–5 ตอมที่โคนใบ ขอบใบมักมีตอม เสนโคนใบ 3–5 เสน แผนใบดานลางมักมีขนหรือขนกระจุก กานใบยาว 5–12 ซม. ชอดอกแบบชอกระจะ ออกตามซอกใบ ไมมีกลีบดอกและจานฐานดอก ชอดอกเพศผูออกเปนกระจุก 1–3 ชอ ยาวไดประมาณ 30 ซม. ดอกออกเปนกระจุกประมาณ 3 ดอก กลีบเลี้ยง 2–4 กลีบ ยาว 4–6 มม. เกสรเพศผูจํานวนมาก ชอดอกเพศเมียยาวถึง 10.5 ซม. ดอกเพศเมียออกเดี่ยว ๆ บนแกนชอ กลีบเลี้ยง 3–5 กลีบ ยาวเทา ๆ ดอกเพศผู รังไขรูปไข มี 3–5 ชอง มีขนหนาแนน กานเกสรเพศเมียมี 3–5 กาน ยอดเกสรเพศเมียมีปุมเล็กแตกแขนง ผลสด ไมแตก คอนขางกลม เสนผานศูนยกลาง 2–3.5 ซม. เมล็ด มี 8–12 เมล็ด รูปไข ยาว 0.7–1 ซม. เขตการกระจายพันธุ อินเดีย ศรีลังกา เนปาล ภูฏาน จีนตอนใต พมา ภูมิภาคอินโดจีนและมาเลเซีย ฟลิปปนส การกระจายพันธุแ ละนิเวศวิทยาในประเทศไทย พบกระจายทัว่ ไปทุกภาค ขึน้ ตามปาเบญจพรรณ ปาดิบแลง และปาดิบชืน้ ชายปา ที่โลงแจง โดยเฉพาะริมลําธาร จนถึงระดับความสูงประมาณ 1,200 เมตร ติดผลเดือนพฤษภาคม–กันยายน ทางภาค ตะวันออกเฉียงเหนือพบกระจายหาง ๆ ทั้ง 3 ลุมน้ํา ประโยชน ไมเนื้อออน ไมยืดหยุน เนื้อไมใชในงานกอสรางชั่วคราว กานไมขีด กลองใสของ และไมเคลือบผิว (veneer) เมล็ด ใหน้ํามัน ผลเปนอาหารของสัตวปา การขยายพันธุ เพาะเมล็ด นําเมล็ดแชน้ํา 48 ชั่วโมง ชวยใหงอกไดรอยละ 70–80 ใชเวลาในการงอก 10–14 วัน

ขอแนะนํา เปนไมโตเร็ว ชอบแสงและความชุมชื้น เหมาะสําหรับปลูกเปนไมเบิกนําบริเวณใกลลําธารในที่สูง

เพื่อคลุมดินและปองกันการพังทลายของดิน ผลดึงดูดสัตวปาเขามาในพื้นที่ หมายเหตุ เดิมมีชื่อพฤกษศาสตรวา Trewia nudiflora L. ขอมูลเพิ่มเติม PROSEA 5(3) (1998); Flora of Thailand 8(2) (2007) 50 SW 6455-p new-G8.indd p50

10/29/56 BE 4:13 PM


มะยมปา

Ailanthus triphysa (Dennst.) Alston วงศ SIMAROUBACEAE

ชื่ออื่น – ลักษณะวิสัย ไมตนขนาดใหญ สูงไดถึง 45 ม. กิ่งมีรอยแผลใบขนาดใหญชัดเจน ดอกแยกเพศตางตน ลักษณะทางพฤกษศาสตรที่สําคัญ ใบประกอบแบบขนนก ยาว 20–70 ซม. มีใบยอย 3–15 คู ใบยอยรูปขอบขนาน รูปใบ

หอก หรือแกมรูปไข เบี้ยว ยาว 9–26 ซม. ปลายใบแหลมยาว ปลายเสนกลางใบดานลางมีขนตอม ทําใหปลายของปลายใบ ดูมนหรือเวาตื้น ชอดอกแบบชอแยกแขนง ออกตามซอกใบ ยาว 20–60 ซม. ดอกจํานวนมาก กลีบเลี้ยงและกลีบดอกสวนมาก มี 5 กลีบ กลีบเลี้ยงยาวไมเกิน 1 มม. มีขน กลีบดอกรูปขอบขนาน ยาว 3–5 มม. เกสรเพศผู 10 อัน เปนหมันในดอกเพศเมีย คารเพล 2–4 แยกกัน กานเกสรเพศเมีย 2–5 อัน แยกกัน ยอดเกสรหยักเปนพู ผลมีปกเดียว มี 1–4 ผลยอยเรียวยาว ยาว 4.5–8 ซม. กานผลยาว 0.8–2 ซม. เขตการกระจายพันธุ อินเดีย ศรีลังกา พมา ไทย เวียดนาม ชวา บอรเนียว ออสเตรเลีย การกระจายพันธุและนิเวศวิทยาในประเทศไทย พบกระจายหาง ๆ แทบทุกภาค ขึ้นในปาดิบแลง และปาดิบชื้น โดย เฉพาะตามชายปา ที่โลง จนถึงระดับความสูงประมาณ 600 เมตร ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือพบกระจายหาง ๆ ทั้งทาง ตอนลางและตอนบน การขยายพันธุ เพาะเมล็ดในแปลงเพาะหรือโดยการหยอดเมล็ดลงหลุมในแปลงปลูกไดโดยตรง แตไมมีขอมูลการปฏิบัติตอ เมล็ดกอนนําไปเพาะ ประโยชน เนื้อไมออน ใชทํากลอง กลองไมขีด ไมอัด ทุนลอยน้ํา มีชันใชทําธูปหอม

ขอแนะนํา เปนไมโตคอนขางเร็วมาก ตองการแสงมาก โดยเฉพาะในระยะกลาไม ควรควบคุมวัชพืช

เหมาะสําหรับปลูกฟนฟูปาดิบแลงที่เสื่อมโทรม แตมีความชุมชื้นสูง ลําตนสูงใหญ กลายเปนไมชั้นเรือนยอด ชั้นบนไดเร็ว และใหรมเงาแกไมโตชาไดดี สามารถปลูกในพื้นที่สูงไดมากกวา 1,000 เมตร ขอมูลเพิ่มเติม Flora of Thailand 2(4) (1981). Website: AgroForestryTree Database

51 SW 6455-p edit-G8.indd p51

10/29/56 BE 5:00 PM


ยมหิน

Chukrasia tabularis A. Juss. วงศ MELIACEAE

ชื่ออื่น ภาคกลางเรียก มะเฟองชาง สะเดาชาง หรือสะเดาหิน ภาคตะวันออกเรียก ฝกดาบหรือเสียดกา ลักษณะวิสัย ไมตนขนาดกลางถึงขนาดใหญ ผลัดใบ สูงถึง 40 ม. โตคอนขางชา เปลือกนอกสีน้ําตาลเขม แตกเปนรองหาง ๆ

ตามยาว เปลือกในสีน้ําตาลแดงหรือสีชมพู

ลักษณะทางพฤกษศาสตรที่สําคัญ ใบประกอบแบบขนนกปลายคู เรียงเวียน ยาว 30–85 ซม. ใบยอยรูปไขหรือรูป

ขอบขนาน เบี้ยว ยาว 5.5–15 ซม. ขอบใบจักในตนออน ชอดอกแบบชอกระจุกแยกแขนง กลีบเลี้ยงและกลีบดอกมีอยางละ 4–5 กลีบ กลีบดอกสีเขียวครีมอมเหลือง ปลายกลีบโคงพับลง เกสรเพศผูมี 10 อัน กานชูอับเรณูเชื่อมติดกันเปนหลอด ผลแบบ ผลแหงแตกเปน 3–5 ซีก รูปรีหรือรูปไข ยาว 3–5 ซม. ผิวมีชองอากาศ มี 60–100 เมล็ดในแตละผล ยาวประมาณ 1 ซม. รวมปก เขตการกระจายพันธุ ศรีลังกา อินเดีย เนปาล จีนตอนใต พมา ไทย ภูมิภาคอินโดจีนและมาเลเซีย ปลูกเปนไมสวนปา ในหลายประเทศโดยเฉพาะในแอฟริกา การกระจายพันธุและนิเวศวิทยาในประเทศไทย พบทั่วทุกภาคของประเทศ ขึ้นตามปาเบญจพรรณ ปาเต็งรัง และปา ดิบแลง ในระดับต่ํา ๆ บางครั้งพบบนเขาหินปูนในระดับความสูงถึงประมาณ 1,700 เมตร ผลแกเดือนมกราคม–มีนาคม การ สืบตอพันธุตามธรรมชาติสูง แตกหนอไดดี ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือพบทั่วพื้นที่ทั้ง 3 ลุมน้ํา ประโยชน เนื้อไมคอนขางออน แตมีแกนแข็ง ใชทําตู ไมอัด หรือกอสรางทั่วไปที่ไมตองการความแข็งแรงมากนัก กิ่งเล็กใชเปน เชื้อเพลิง ปลูกใหรมเงาแกพืชเกษตรไดดี การขยายพันธุ เพาะเมล็ด และปกชํา ไมควรนําเมล็ดตากแดด เพาะงาย อัตราการงอกต่ําหรือสูงอยูที่คุณภาพของเมล็ดแหลง เมล็ดพันธุ ใชเวลาการงอกประมาณ 2 สัปดาห เก็บไวไดนานในอุณภูมิต่ําที่ประมาณ 4 องศาเซลเซียส แตมีอัตราการงอกที่ลดลง

ขอแนะนํา เปนไมคอนขางโตเร็วมาก โดยเฉพาะในระยะกลาไม เหมาะสําหรับปลูกเปนไมโตเร็วใหรมเงา

แกไมอื่นโดยเฉพาะในที่ราบลุมที่แหงแลง อยางไรก็ตาม ควรมีการตัดสางขยายระยะเพื่อเปดแสงเนื่องจาก พุมใบคอนขางกวางและหนาแนน

ขอมูลเพิ่มเติม ความผันแปรของการเติบโตและลักษณะทางกายภาพบางประการของไมสกุลยมหินจากถิ่นกําเนิดตาง ๆ

(วิโรจน, 2546); Website: AgroForestryTree Database

52 SW 6455-p new-G8.indd p52

10/29/56 BE 4:18 PM


เลี่ยน

Azadirachta indica A. Juss. วงศ MELIACEAE ชื่ออื่น สะเดาอินเดีย ลักษณะวิสัย ไมตนขนาดกลาง ไมผลัดใบ สูง 20–30 ม. เปลือก

แตกเปนรองตามยาว เปลือกในสีชมพูสลับขาว มียางเหนียว ลักษณะทางพฤกษศาสตรที่สําคัญ ใบประกอบแบบขนนก สองชั้น เรียงเวียน ยาว 20–40 ซม. ใบประกอบยอยเรียงตรงขาม 1–4 คู ใบยอยเรียงตรงขามหรือเกือบตรงขาม รูปรีแกมรูปขอบขนาน ยาว 3–10 ซม. โคนใบมักเบี้ยว ชอดอกแบบชอกระจุกแยกแขนง ออกตามซอกใบใกลปลายกิ่ง ยาว 10–30 ซม. กลีบเลี้ยงและกลีบ ดอกมีอยางละ 5 กลีบ กลีบดอกแยกกัน รูปใบหอกแกมรูปไข ยาว 1–1.3 ซม. มีขนละเอียดทั้งสองดาน เกสรเพศผูเชื่อมติดกันเปน เสาเกสร ยาว 7–8 มม. ปลายเสาเกสรจักเปนพู มีอับเรณู 10 อัน ติดดานในพู ยอดเกสรเพศเมียมี 5 แฉก ผลแบบผลผนังชั้นในแข็ง กลม ๆ เสนผานศูนยกลาง 1–3 ซม. มี 1–2 เมล็ด เขตการกระจายพันธุ ปากีสถาน อินเดีย เนปาล ศรีลังกา จีน พมา ไทย ภูมภิ าคอินโดจีนและมาเลเซีย ฟลปิ ปนส ประเทศหมูเ กาะ ในมหาสมุทรแปซิฟก ออสเตรเลีย การกระจายพันธุและนิเวศวิทยาในประเทศไทย พบทุก ภาคของประเทศ ขึ้นในปาเบญจพรรณ ปาดิบแลง และปาดิบชื้นใน ระดับต่าํ ๆ ปลูกเปนไมประดับและสวนปาทัว่ ไป ผลแกเดือนตุลาคม– พฤศจิ ก ายน สามารถเก็ บ ข า มป ไ ปถึ ง เดื อ นเมษายน ทางภาค ตะวันออกเฉียงเหนือสวนมากพบทางตอนลาง ประโยชน เนื้อไมออน ใชบุผนัง ทําไมอัด ใบออนและดอกออน นํามาลวกน้าํ รอนเปนเครือ่ งเคียง ใบใชยอ มผาใหสเี ขียว มีสรรพคุณดานสมุนไพรตานเชือ้ ราและแบคทีเรียหลายชนิด เมล็ดใหนา้ํ มัน มีประสิทธิภาพในการรักษาโรคผิวหนังไดดี การขยายพันธุ เพาะเมล็ด ใชไหลหรือรากปกชํา เก็บผลแกทรี่ ว ง ตากแดดใหแหง แกะเอาเนือ้ หุม ออกและผึง่ ใหแหง ดินทีเ่ พาะ ควรผสมทรายประมาณครึง่ หนึง่ เพือ่ ปองกันโรคโคนเนา กอนนํากลาไมไปปลูกควรวางไวกลางแดดและงดใหนา้ํ ประมาณ 6 สัปดาห ในระยะกลาไมควรระวังศัตรูพืชพวกหนอนกินใบ

ขอแนะนํา เปนไมโตคอนขางเร็วและตองการแสงมาก ระบบรากแผกวาง ทรงพุมกวางทําใหควบคุมวัชพืช

และปองกันการชะลางหนาดินไดดี ดอกหอมดึงดูดแมลง ผลเปนอาหารของสัตวปาหลายชนิด ทนแลงและ ทนไฟ เหมาะสําหรับปลูกเปนไมใหรมเงาแกไมโตชา

หมายเหตุ ชื่อพองคือ Melia azedarach L. ขอมูลเพิ่มเติม Cambodian Tree Species (DANIDA, 2004); Flora of China Vol. 11 (2008); ปลูกใหเปนปา แนวคิดและแนว

ปฏิบัติสําหรับการฟนฟูปาเขตรอน (หนวยวิจัยการฟนฟูปา, 2549). Websites: AgroForestryTree Database, Cambodian Tree Seeds Project

53 SW 6455-p new-G8.indd p53

10/29/56 BE 4:19 PM


สนสองใบ

Pinus merkusii Jungh. & de Vriese วงศ PINACEAE

ชื่ออื่น ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือเรียกคลายกับทางภาคเหนือ วา จวง ลักษณะวิสัย ไมตน ขนาดใหญ ไมผลัดใบ สูง 30–50 ม. ลําตนเปลาตรง เปลือกหนา แตกเปนรองลึก ลักษณะทางพฤกษศาสตรที่สําคัญ ใบคลายเข็ม ออกเปนกระจุกรอบกิ่ง แตละกระจุกมี 2 ใบ ยาว 15–25 ซม. โคนมี

กาบ ติดทน โคนเพศผูออกเปนกระจุกตามซอกใบของกิ่งในปแรก คลายชอเชิงลดไรกาน โคนเพศเมียออกเดี่ยว ๆ หรือเปนคู รูปรีหรือรูปไข โคนแกเรียวยาวขึ้น ยาว 4.5–11 ซม. ปลายแหลมมน ดานโคนกลม เกล็ดเมล็ดรูปคลายสี่เหลี่ยมขาวหลามตัด ปลายหนา เปนสันนูน มีติ่งรูปกรวย เมล็ดติดที่โคนเกล็ด ขนาดเล็ก รูปไข แบน ยาว 5–7.5 มม. มีปกบาง ๆ ยาว 1–2 ซม.

เขตการกระจายพันธุ ไทย ภูมิภาคอินโดจีน สุมาตรา ฟลิปปนส การกระจายพันธุและนิเวศวิทยาในประเทศไทย พบแทบทุกภาค ยกเวนภาคใตและภาคตะวันออกเฉียงใต ขึ้นกระจาย

หาง ๆ หรือเปนกลุมหนาแนน ในปาเต็งรังผสมสนหรือปาดิบแลงผสมสน โดยเฉพาะดินที่มีสภาพเปนกรดสูง (pH ประมาณ 4.5) ระดับความสูงจนถึงประมาณ 1,200 เมตร ในระดับความสูงมากกวานี้สวนใหญจะเปนสนสามใบ โคนแกสามารถเก็บเมล็ดได ประมาณเดือน ตุลาคม–พฤศจิกายน ในปถัดจากปที่เริ่มออกโคน ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือสวนมากพบทางตอนลางของ ลุมน้ําโขงและลุมน้ํามูล โดยเฉพาะปาผสมไมกอและเต็งรังในระดับต่ํา ๆ แถบจังหวัดสุรินทร ศรีสะเกษ และอุบลราชธานี การขยายพันธุ เพาะเมล็ด เก็บโคนแก ตากแดดใหแตก เมล็ดเพาะงาย อัตราการงอกสูงกวารอยละ 90 โดยเฉพาะถาเอาปก ออก เมล็ดงอกภายใน 1–2 สัปดาห เมล็ดเก็บไวไดนานในที่แหง กลาไมมีระยะ grass stage นิยมผลิตเปนเหงา ดินที่ใชควรมีดิน ในสภาพปาสนเดิมผสมดวย ประโยชน เนื้อไมออน มีน้ําหนักมากเนื่องจากมีน้ํามัน ใชในการกอสราง เฟอรนิเจอร กลองไมขีด ใหชันคุณภาพสูง ใชใน อุตสาหกรรมหลายอยาง

ขอแนะนํา เปนไมเบิกนําและโตเร็ว กลาไมโตคอนขางชาในชวง 5 ป แรก ตองการแสงมาก ทนแลง

ไมใหญทนไฟ ชวยลดการการพังทลายของหนาดิน เหมาะสําหรับปลูกฟนฟูสภาพปาดิบแลงที่มีไมกอและ รอยตอกับปาเต็งรังในระดับต่ํา ๆ ขอมูลเพิ่มเติม Websites: The Gymnosperm Database, Cambodian Tree Seeds Project 54 SW 6455-p new-G8.indd p54

10/29/56 BE 4:19 PM


สมกบ

Hymenodictyon orixense (Roxb.) Mabb. วงศ RUBIACEAE

ชื่ออื่น – ลักษณะวิสัย ไมตนขนาดเล็กถึงขนาดกลาง ผลัดใบ สูงไดประมาณ 25 ม. เรือนยอดแผเปนพุมกวาง โปรง เปลือกเรียบสีเทา

กิ่งออนมักมีขนละเอียดหรือขนยาวหนาแนน ลักษณะทางพฤกษศาสตรที่สําคัญ หูใบรวมติดระหวางโคนกานใบ รูปสามเหลี่ยมกวาง ยาว 0.5–2 ซม. มีขน ขอบมีตอม สีดํา ปลายแหลมหรือแฉกลึก ใบเรียงตรงขามสลับตั้งฉาก ออกหนาแนนที่ปลายกิ่ง รูปรี รูปไขกลับ หรือแกมรูปใบหอก ยาว 9–22 ซม. แผนใบคอนขางบาง มีขนสั้นนุมทั้งสองดาน เสนแขนงใบขางละ 7–10 เสน กานใบยาว 2–17 ซม. ชอดอกแบบ ชอเชิงลด ออกตามซอกใบและปลายกิ่ง หอยลง ยาว 15–20 ซม. บางครั้งแยกแขนง มีขนหนาแนน ใบประดับ 2–4 ใบ รูปรีหรือ ขอบขนาน ยาว 9–17 ซม. มีขนยาว กานใบประดับยาว 3–8 ซม. ติดทน ดอกขนาดเล็ก จํานวนมาก กลีบเลี้ยง 5 กลีบ ยาว 1–1.5 มม. กลีบดอกเชื่อมติดกันเปนหลอด ยาว 2.5–3.5 มม. ปลายแยกเปน 5 กลีบ รูปใบหอก ยาว 2–2.5 มม. เกสรเพศผู 5 อัน ติดใตปากหลอดกลีบดอก กานชูอับเรณูสั้น กานเกสรเพศเมียยื่นพนปากหลอดกลีบดอก ผลแหงแตกกลางพู รูปรี ยาว 1–3 ซม. เปลือกแข็งและบาง มีชองอากาศ ปลายผลยอยชี้ไปทางโคนกานชอ เมล็ดจํานวนมาก แบน ยาว 7–8 มม. รวมปกบางๆ เขตการกระจายพันธุ อินเดีย เนปาล จีนตอนใต พมา ไทย ภูมิภาคอินโดจีน คาบสมุทรมลายู ชวา ฟลิปปนส การกระจายพันธุและนิเวศวิทยาในประเทศไทย พบทุกภาค ขึ้นตามปาเบญจพรรณ และปาดิบแลง พบมากตาม ที่โลงแจงหรือบนเขาหินปูนทางภาคใต สวนมากพบในระดับความสูงไมเกิน 600 เมตร ติดผลเดือนธันวาคม–กุมภาพันธ ทางภาค ตะวันออกเฉียงเหนือพบกระจายหาง ๆ ทั้งทางตอนบนและตอนลางของชวงตนน้ําของลุมน้ํามูลและลุมน้ําชี ประโยชน เนื้อไมออน ใชสําหรับการกอสรางภายใน ทํากลอง ของเลนเด็ก เปลือกมีรสขม แกรอนใน กระหายน้ํา การขยายพันธุ เพาะเมล็ด เมล็ดมีขนาดเล็ก เบา ทําใหถูกพัดพาไดงาย อัตราการงอกสูง เก็บไวไดนานกวา 1 ป กลาไมที่ นําไปปลูกควรมีอายุ 1–2 ป ตองการแสงมาก และควรควบคุมวัชพืชไมใหปกคลุม

ขอแนะนํา เปนไมโตเร็ว กลาไมโตชาในระยะแรก ขึ้นไดดีในที่โลงและแหงแลง แตไมทนไฟ เหมาะสําหรับ

ปลูกรวมกับไมโตเร็วชนิดอื่น ๆ ในพื้นที่ที่คอนขางแหงแลง

ขอมูลเพิ่มเติม PROSEA 5(3) (1998); Flora of China Vol. 19 (2011) 55 SW 6455-p new-G8.indd p55

10/29/56 BE 4:19 PM


สมพง

Tetrameles nudiflora R. Br. วงศ DATISCACEAE

ชื่ออื่น ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือสวนมากเรียก สมพุง สะพุง หรืออีพุง สวนทางจังหวัดปราจีนบุรีเรียก สมิงคําราม ลักษณะวิสัย ไมตนขนาดใหญ ผลัดใบ โตเร็ว สูงถึง 45 ม. พูพอนสูงถึง 5 ม. เรือนยอดโปรง ลําตนเปลาตรง เปลือกเรียบ

เปนมันวาวสีนา้ํ ตาลเทา เปลือกในสีขาว มีเสนใยสานเปนรางแห กิง่ ออนอวบอวน คอนขางเปราะมีรอยหลุดรวงของแผลใบชัดเจน ดอกแยกเพศตางตน ลักษณะทางพฤกษศาสตรที่สําคัญ มีขนตามแผนใบ กานใบ และตายอด ใบรูปหัวใจหรือรูปหาเหลี่ยม กวาง 9–12 ซม. ขอบใบจักละเอียด แผนใบบาง เสนโคนใบ 5–7 เสน เสนแขนงใบยอยแบบขั้นบันได กานใบยาว 5–10 ซม. มีตอมหูดกระจาย 8–12 ตอม ชอดอกแบบชอเชิงลด แยกแขนง ยาว 15–30 ซม. ดอกออกเปนกระจุกละ 4 ดอก ขนาดเล็ก กลีบเลี้ยงเชื่อมติดกัน เปนหลอด ปลายแยกเปน 4 แฉก ไมมีกลีบดอก ดอกเพศผูยาว 1.5–2 มม. กานดอกยาวประมาณ 1 มม. เกสรเพศผู 4 อัน ดอก เพศเมียยาว 3.5–5 มม. ไรกาน กานเกสรเพศเมียมี 4–5 อัน ผลแหงแลวแตก รูปคนโท ยาว 4–5 มม. มีเสนตามยาว 8–10 เสน เมล็ดจํานวนมาก รูปกระสวย ยาวประมาณ 1 มม. มีปกทั้งสองดาน เขตการกระจายพันธุ อินเดีย ศรีลังกา พมา ไทย ภูมิภาคอินโดจีนและมาเลเซีย ออสเตรเลีย การกระจายพันธุแ ละนิเวศวิทยาในประเทศไทย พบทัว่ ประเทศ โดยเฉพาะตามปาเสือ่ มโทรมทีค่ อ นขางชืน้ หรือปาริมน้าํ ระดับความสูงจนถึงประมาณ 800 เมตร ออกดอกชวงทิ้งใบ เดือนธันวาคม–กุมภาพันธ ติดผลเดือนกุมภาพันธ–พฤษภาคม ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือสวนมากพบทางตอนลางชวงตนน้ําของลุมน้ํามูล การขยายพันธุ เพาะเมล็ด ขอควรระวัง เนื่องจากเมล็ดขนาดเล็กและมีปกทําใหถูกชะลางไดงาย อยางไรก็ตาม ยังไมมีขอมูล การปฏิบัติตอเมล็ดกอนนําไปเพาะ ประโยชน เนื้อไมคอนขางออน ไมทนทานตอปลวกและเชื้อรา ใชในงานกอสรางชั่วคราว ทําลัง กลองและกานไมขีด กระดาษ ประดิษฐของเลน ในนิวกินีใชทําเรือแคนนู

ขอแนะนํา เปนไมเบิกนําและโตเร็ว เหมาะสําหรับปลูกตามพืน้ ทีร่ าบใกลรมิ น้าํ สําหรับยึดเกาะดินในระยะแรก

อยางไรก็ตาม เนือ่ งจากเปนตนไมขนาดใหญ กิง่ เปราะบาง อาจโคนลมไดงา ย และมีระบบรากทีร่ กุ รานพืชอืน่ ๆ จึงไมควรปลูกในจํานวนที่มีสัดสวนมากกวาไมโตเร็วชนิดอื่น ๆ ขอมูลเพิ่มเติม Flora of Thailand 9(1) (2005). Website: Australian Tropical Rainforest Plants 56 SW 6455-p new-G8.indd p56

10/29/56 BE 4:20 PM


สอยดาว

Mallotus paniculatus (Lam.) Müll. Arg. EUPHORBIACEAE

ชื่ออื่น แถบจังหวัดเลยเรียก สตีตน ทางภาคตะวันออกบางครั้งเรียก สลัดปาง ลักษณะวิสัย ไมพุมหรือไมตนขนาดเล็ก บางครั้งสูงไดเกือบ 20 ม. มีขนรูปดาวหนาแนนทั่วไป กิ่งมักมีตอมเปนเกล็ดสีสม

ปกคลุม ดอกแยกเพศตางตน

ลักษณะทางพฤกษศาสตรที่สําคัญ ใบเรียงเวียนหรือติดตรงขาม รูปไขกวาง ยาว 3.5–20 ซม. ปลายใบยาวคลายหาง ขอบ

ใบบางครั้งจักซี่ฟน หรือจักเปนพูตื้น ๆ ดานบนมีตอม 2 ตอมที่โคน แผนใบดานลางมีขนและตอมเกล็ดสีขาวกระจาย กาน ใบติดเกือบคลายกนปด ชอดอกแบบชอกระจุกแยกแขนงสั้น ๆ ออกที่ปลายกิ่ง มักแตกแขนง ชอดอกเพศผูยาวเกือบ 60 ซม. ชอแขนงยาวไดถึง 40 ซม. ดอกออกเปนกระจุกประมาณ 10 ดอกบนแกนชอ ไมมีกลีบดอก กลีบเลี้ยง 3–5 กลีบ สีเหลืองออน ยาว 2–3 มม. เกสรเพศผูจํานวนมาก ชอดอกเพศเมียสั้นกวา มักหอยลง กลีบเลี้ยง 4–5 กลีบ ขนาดเล็กกวาดอกเพศผูเล็กนอย รังไขมีหนาม กานเกสรเพศเมียแยก 3 แฉก ยอดเกสรเพศเมียมีปุมยาวทั่วไป ผลแหงแตกเปนพู ยาว 5.5–6 มม. มีขนสั้นนุม มีหนาม10–20 อัน เมล็ดกลม ๆ ยาว 2.8–3.5 มม. สีดําเปนมัน เขตการกระจายพันธุ จีนตอนใต ไตหวัน พมา ไทย ภูมิภาคอินโดจีนและมาเลเซีย ออสเตรเลีย การกระจายพันธุแ ละนิเวศวิทยาในประเทศไทย พบกระจายทัว่ ไปทุกภาค ขึน้ ตามชายปาทุกประเภท ทีโ่ ลงแจง ริมลําธาร จนถึงระดับความสูงประมาณ 1,500 เมตร ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือพบทั่วพื้นที่ทั้ง 3 ลุมน้ํา โดยเฉพาะตามปาริมน้ํา ประโยชน เนื้อไมคอนขางออน ใชทําฟน การขยายพันธุ เพาะเมล็ด เมล็ดแหงน้ําหนักเบา อายุเมล็ดนาจะนานเทา ๆ กับ มะกายคัด คือ ประมาณ 6 เดือน เนื่องจาก เปนพืชกลุมเดียวกัน ไมมีขอมูลการปฏิบัติตอเมล็ดกอนนําไปเพาะ

ขอแนะนํา เปนไมโตเร็วและเปนไมเบิกนํา ตองการแสงมาก ทรงพุม หนาแนน ปองกันการชะลางหนาดินไดดี

เหมาะสําหรับปลูกฟนฟูสภาพพื้นที่ราบลุมใกลแหลงน้ํา

ขอมูลเพิ่มเติม PROSEA 5(3) (1998); Flora of Thailand 8(2) (2007). Website: Australian Tropical Rainforest Plants

57 SW 6455-p new-G8.indd p57

10/29/56 BE 4:20 PM


สะแกนา

Combretum quadrangulare Kurz วงศ COMBRETACEAE

ชื่ออื่น ภาคตะวันออกเฉียงเหนือเรียก แก ภาษาเขมรเรียก ซังแก ลักษณะวิสัย ไมตนขนาดกลาง ไมผลัดใบ สูงไดประมาณ 20 ม. เปลือกนอกสีขาวเทา เรียบหรือแตกเปนรองเล็กนอย ตนที่ยัง

ไมโตเต็มที่กิ่งลําตนลดรูปคลายหนาม กิ่งออนเปนสี่เหลี่ยม มีขนเกล็ดปกคลุม ลักษณะทางพฤกษศาสตรทสี่ าํ คัญ ใบเรียงตรงขามสลับตัง้ ฉาก รูปรีหรือรูปขอบขนาน ยาว 5–19 ซม. ปลายใบแหลมหรือ เรียวแหลม แผนใบดานลางมีนวลมีเกล็ดปกคลุม ใบแกกอนรวงสีเหลือง เสนแขนงใบขางละ 8–10 เสน ชอดอกแบบชอเชิงลด ยาว 6–10 ซม. ดอกสีขาวหรือเหลืองออน ขนาดเล็กจํานวนมาก ดอกบานเสนผานศูนยกลาง 3–4 มม. กลีบเลี้ยง 4 กลีบ รูป สามเหลี่ยม กลีบดอก 4 กลีบ รูปไขกลับ ยาว 1–2 มม. รวงเร็ว เกสรเพศผู 8 อัน ยาว 3–4 มม. ผลแบบแหงไมแตก ทรงกลม มี ปก 4 ปก กวางเทา ๆ ผล ผลแกสีน้ําตาลอมเหลือง เขตการกระจายพันธุ พมา ไทย ภูมิภาคอินโดจีน

การกระจายพันธุและนิเวศวิทยาในประเทศไทย พบทุกภาคของประเทศ ขึ้นเปนไมเบิกนําตามที่เปดโลงโดยเฉพาะพื้นที่ ที่มีน้ําทวมขังเปนครั้งคราว จนถึงระดับความสูง 300 เมตร ออกดอกเดือนมีนาคม–กรกฎาคม เปนผลเดือนพฤษภาคม–สิงหาคม ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือพบทุกพื้นที่ทั้ง 3 ลุมน้ํา การขยายพันธุ เพาะเมล็ด แกะเมล็ดออก นําไปแชน้ํากอนเพาะ เมล็ดสดอาจเพาะลงถุงไดทันที (ขอมูลสําหรับพืชในสกุล Combretum) ประโยชน เนื้อไมแข็งแตไมทนทาน ใชในงานกอสรางที่ไมตองการความแข็งแรงมากนัก ทําดามเครื่องมือ เผาถาน มีสรรพคุณ ดานสมุนไพร แกไข รักษาบาดแผล ทองเสีย เมล็ดขับพยาธิ รากและเปลือกรักษากามโรค อาเจียน น้ําเหลืองเสีย ผลแหงนํามา ประดิษฐงานฝมือ

ขอแนะนํา เปนไมโตเร็ว ตองการแสงมาก ทนแลงและทนน้ําทวม เหมาะสําหรับปลูกตามที่ราบลุมใกล

แหลงน้ํา ปองกันการพังทลายของดิน

ขอมูลเพิ่มเติม Medicinal Plants in Thailand Volume 1 (Saralamp et al., 1996); ไมปายืนตนของไทย 1 (เอื้อมพร และ

ปณิธาน, 2547)

58 SW 6455-p new-G8.indd p58

10/29/56 BE 4:20 PM


สําโรง

Sterculia foetida L. วงศ MALVACEAE

ชื่ออื่น – ลักษณะวิสัย ไมตนขนาดใหญ ผลัดใบ อาจสูงไดถึง 40 ม. ลําตนเปลาตรง เปลือกนอกเรียบสีน้ําตาลเทา กิ่งอวบสั้นมีขน

สั้นนุม มีรอยแผลใบชัดเจน

ลักษณะทางพฤกษศาสตรที่สาํ คัญ หูใบรูปลิ่มแคบ รวงงาย ใบประกอบรูปนิ้วมือ มี 5–9 ใบ กานใบยาว 13–20 ซม.

ใบยอยรูปรีหรือรูปขอบขนาน ยาว 10–20 ซม. ปลายใบแหลมหรือเปนติ่งแหลม แผนใบคอนขางหนา เสนแขนงใบเรียงจรดกัน ชอดอกออกทีป่ ลายกิง่ เหนือรอยแผลใบ ยาว 10–30 ซม. ดอกมีเพศเดียว กานดอกยาว 1–5 ซม. กลีบเลีย้ ง 5 กลีบ ยาวประมาณ 1 ซม. ปลายกลีบมีขน ไมมกี ลีบดอก เกสรเพศผู 14–15 อัน ติดทีป่ ลายเสาเกสรรูปกลม รังไขมี 5 คารเพล แยกกัน เกสรเพศเมีย 5 อัน แยกกัน ผลแบบผลแหงแตกแนวเดียว มี 3–5 ผลยอย รูปไต ยาว 8–10 ซม. เปลือกแข็ง สีแดงเขม มี 10–20 เมล็ด สีดํา รูปทรงกระบอก ยาว 1.5–2.5 ซม. มีเยื่อหุมที่ลดรูปสีเหลือง เขตการกระจายพันธุ แอฟริกา อินเดีย ศรีลังกา พมา ไทย กัมพูชา เวียดนาม ภูมิภาคมาเลเซีย ฟลิปปนส ออสเตรเลีย การกระจายพันธุและนิเวศวิทยาในประเทศไทย พบกระจายทางภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนลาง ภาค ตะวันออกเฉียงใต พบมากตามชายฝงทะเลทางภาคใต ขึ้นตามชายปาดิบแลงและปาดิบชื้น ระดับความสูงไมเกิน 300 เมตร ผลแกเดือนธันวาคม–เมษายน พบนอยทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนลางใกล ๆ กับภาคตะวันออกเฉียงใต การขยายพันธุ เพาะเมล็ด เพาะงาย ไมมีเทคนิคพิเศษ เมล็ดเก็บไวไดนาน กลาไมคอนขางโตเร็ว มีรากยาว ประโยชน เนื้อไมคอนขางออนแตมีความทนทานมากกวาพรรณไมอื่น ๆ ในสกุล Sterculia เหมาะสําหรับการกอสรางภายใน ทํากลอง ไมจมิ้ ฟน เมล็ดสดนําไปเผารับประทานได กลิน่ คลาย hazel nut หรือ almond ตามชือ่ สามัญ hazel sterculia, wild almond tree น้ํามันในเมล็ดใชประกอบเปนอาหารและเปนเชื้อเพลิงใหแสงสวาง

ขอแนะนํา เปนไมโตเร็วมาก โดยเฉพาะในระยะแรก ตองการแสงและพื้นที่มาก ดังนั้นควรปลูกในระยะ

เริ่มแรกรวมกับไมเบิกนําชนิดอื่น ๆ โดยใหมีระยะหางพอสมควร

ขอมูลเพิ่มเติม PROSEA 5(2) (1995), Flora of Thailand 7(3) (2001); Flora of China Vol. 12 (2007); ตนไมเมืองเหนือ

(ไซมอน และคณะ, 2543). Website: AgroForestryTree Database

59 SW 6455-p new-G8.indd p59

10/29/56 BE 4:20 PM


เสลาเปลือกบาง

Lagerstroemia venusta Wall. วงศ LYTHRACEAE

ชื่ออื่น ทางจังหวัดนครพนมเรียก เปอยขี้หมู ลักษณะวิสัย ไมตนขนาดเล็กถึงขนาดกลาง ผลัดใบ สูง 8–20 ม. เปลือกหนา สีน้ําตาลหรือเทาดํา แตกเปนรองลึก ตามยาว ลักษณะทางพฤกษศาสตรที่สําคัญ ใบเรียงตรงขาม รูปรีหรือรูปขอบขนาน ยาว 8–15 ซม. ปลายใบมนหรือกลม โคนใบมัก

เบี้ยว แผนใบดานลางมีขนสั้น ๆ ตามเสนแขนงใบ เสนแขนงใบขางละ 8–12 เสน กานใบยาว 0.3–1 ซม. ชอดอกออกที่ปลายกิ่ง ยาวไดประมาณ 30 ซม. มีขนสั้นคลายไหมหนาแนน กานดอกเทียมยาว 1–4 มม. กลีบเลี้ยงรูปถวย ยาวประมาณ 5 มม. มีขน สั้นนุม มี 6 สัน ปลายสวนเวามีติ่งยาวประมาณ 4 มม. กลีบยาวประมาณ 4 มม. ดานในเกลี้ยง ดอกสีมวงหรือชมพู รูปไข ยาว ประมาณ 7 มม. รวมกานกลีบสั้น ๆ ขอบเปนคลื่น เกสรเพศผูจํานวนมาก มี 6–7 อัน ดานนอกยาวกวาอันดานใน รังไขเกลี้ยง ผลแหงแตก 4–5 ซีก มีริ้ว เกลี้ยง ยาว 2–2.5 ซม. หลอดกลีบเปนสัน สวนเวาเปนติ่งติดทน กานผลเทียมยาว 2–4 มม. เขตการกระจายพันธุ จีนตอนใต พมา ไทย ลาว กัมพูชา การกระจายพันธุแ ละนิเวศวิทยาในประเทศไทย พบทางภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนลาง ๆ ภาคตะวันออก เฉียงใต และภาคตะวันตกเฉียงใต ขึ้นในปาเบญจพรรณและปาดิบแลง จนถึงระดับความสูงประมาณ 700 เมตร ทางภาค ตะวันออกเฉียงเหนือพบเฉพาะทางตอนลางบริเวณลุมน้ํามูล ประโยชน เนื้อไมคอนขางแข็ง ใชในการกอสราง ไมปารเกต ดามเครื่องมือทางการเกษตร เครื่องเรือน การขยายพันธุ เพาะเมล็ด ควรใชทรายกลบแปลงเพาะ และเพาะในที่มีแสงรําไร

ขอแนะนํา เปนไมโตคอนขางเร็ว กลาไมตองการแสงมาก ทนแลงและไฟปา เหมาะสําหรับฟนฟูสภาพ

ปาเบญจพรรณที่เสื่อมโทรมรวมกับไมโตชาไดพรอมกัน เชนเดียวกับตะแบกแดง ขอมูลเพิ่มเติม The Gardens’ Bulletin, Singapore 24 (Furtado, 1969)

60 SW 6455-p new-G8.indd p60

10/29/56 BE 4:24 PM


หนอนขี้ควาย

Gironniera subaequalis Planch. วงศ CANNABACEAE

ชื่ออื่น – ลักษณะวิสัย ไมตนขนาดเล็กถึงขนาดกลาง ไมผลัดใบ สูงไดประมาณ 20 ม. เปลือกเรียบสีเทาอมน้ําตาล มีเสนใย กิ่งมีขนยาว

ปกคลุม ดอกแยกเพศตางตน

ลักษณะทางพฤกษศาสตรที่สําคัญ หูใบ 2 อัน ติดตรงขาม เชื่อมติดกันที่โคน รูปใบหอก ยาว 1–2.7 ซม. ใบเรียงเวียน รูปไขแกมขอบขนาน ยาว 5–25 ซม. ปลายใบเรียวแหลม ปลายเปนติ่งแหลม โคนใบเบี้ยว ขอบใบจักฟนเลื่อย แผนใบคอนขาง หนา ดานลางสาก มีขนตามเสนแขนงใบ เสนแขนงใบขางละ 8–12 เสน โคงจรดกัน ชอดอกแบบชอกระจะ ออกเปนชอสั้นๆ ทีซ่ อกใบใกลปลายกิง่ ดอกขนาดเล็ก สีเขียวอมขาว เสนผานศูนยกลางประมาณ 2 มม. กลีบรวม 5 กลีบ เรียงซอนเหลือ่ ม ติดทน เกสรเพศผู 5 อัน รังไขเปนหมันในดอกเพศผู ในดอกเพศเมียไรกา น กานเกสรเพศเมียสัน้ ยอดเกสรแยกเปน 2 แฉก ติดทน ผลแบบ ผลผนังชั้นในแข็ง สีเขียวอมเหลือง รูปไข ยาว 5–7 มม. ปลายแหลม มีเมล็ดเดียว เขตการกระจายพันธุ จีนตอนใต พมา ไทย ลาว เวียดนาม คาบสมุทรมลายู การกระจายพันธุและนิเวศวิทยาในประเทศไทย พบกระจายทั่วไปทางภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคตะวัน

ตก และภาคตะวันออก ขึ้นในปาดิบแลงและปาดิบเขา ระดับความสูง 500–1,200 เมตร ออกดอกเดือนกุมภาพันธ–เมษายน ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือพบทั้งตอนลางและตอนบน ประโยชน เนื้อไมคอนขางแข็ง ใชทําเฟอรนิเจอร เสนใยจากเปลือกใชในในอุตสาหกรรมสิ่งทอ ใบมีสรรพคุณดานสมุนไพร การขยายพันธุ เพาะเมล็ด ไมมีขอมูลการปฏิบัติตอเมล็ดกอนนําไปเพาะ

ขอแนะนํา เปนไมโตเร็วและไมเบิกนําในพื้นที่สูง ทนแลง เหมาะสําหรับปลูกเปนไมโตเร็วสําหรับพื้นที่ลาด

ชันในระดับความสูงมากกวา 500 เมตร โดยเฉพาะภูเขาหินทรายที่เปนปาดิบแลงทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ หมายเหตุ เดิมถูกจัดใหอยูภายใตวงศ Ulmaceae ขอมูลเพิ่มเติม Flora of China Vol. 5 (2003)

61 SW 6455-p new-G8.indd p61

10/29/56 BE 4:24 PM


อินทนิลบก

Lagerstroemia macrocarpa Wall. วงศ LYTHRACEAE

ชื่ออื่น ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือเรียกหลายชื่อ เชน กากะเลา กาเสลา และ กาเสา ลักษณะวิสัย ไมตนขนาดเล็กถึงขนาดกลาง ผลัดใบ สูง 8–20 ม. เปลือกนอกสีเทาออนหรือสีน้ําตาล ลอกเปนแผนหรือสะเก็ด

เล็กนอย เปลือกในสีแดงออน มีเสนใยใส

ลักษณะทางพฤกษศาสตรที่สําคัญ ใบเรียงตรงขามหรือเกือบตรงขาม รูปรี รูปขอบขนาน หรือรูปไขกลับ ยาว 20–35 ซม. ปลายใบมักบิด เสนแขนงใบขางละ 7–12 เสน ชอดอกแบบแยกแขนง ออกตามปลายกิ่งหรือซอกใบใกลปลายกิ่ง ยาวไดถึง 25 ซม. กานดอกเทียมยาว 4–8 มม. ปลายดอกตูมมีรอยบุม กลีบเลี้ยงรูปถวย ยาว 5–8 มม. มี 10–12 รอง เปนสันแคบ ๆ ระหวางรอง ปลายแยกเปน 6 แฉก ยาวประมาณ 1 ซม. กลีบดอก 6 กลีบ สีชมพู ถึงสีมวง เปลี่ยนเปนสีมวงออนหรือขาวกอน หลุดรวง รูปรีกวางเกือบกลม ยาว 4–5.5 ซม. รวมกานกลีบ ขอบกลีบเปนคลื่น แผนกลีบยน เกสรเพศผูจํานวนมาก กานเกสร เพศเมียเรียวยาว รังไขเกลีย้ ง ผลแบบผลแหงแตก 5–6 ซีก รูปรี ยาว 3–4 ซม. กานผลเทียมยาว 1–2.5 ซม. เมล็ดจํานวนมาก มีปก เขตการกระจายพันธุ อินเดีย พมา ไทย ลาว การกระจายพันธุแ ละนิเวศวิทยาในประเทศไทย พบกระจายแทบทุกภาค ยกเวนภาคใต ขึน้ ตามปาเต็งรัง ปาเบญจพรรณ และปาดิบแลง ระดับความสูง 100–800 เมตร เปนผลเดือนมีนาคม–ธันวาคม ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบนบริเวณ ลุมน้ําโขงและตอนลางบริเวณลุมน้ํามูล ประโยชน เนื้อไมออนหรือคอนขางแข็ง แตไมทนทานมากนัก ใชในการกอสรางชั่วคราว เครื่องเรือน เครื่องมือกสิกรรม ดอก ขนาดใหญ นิยมปลูกเปนไมประดับ การขยายพันธุ เพาะเมล็ด ควรใชทรายกลบแปลงเพาะ และเพาะในทีม่ แี สงรําไร กลาไมทเี่ หมาะสมในการนําไปปลูกควรมีอายุ มากกวา 4 เดือน

ขอแนะนํา เปนไมโตคอนขางเร็ว กลาไมตองการแสงมาก ทนแลงและไฟปา เหมาะสําหรับฟนฟูสภาพ

ปาเบญจพรรณและปาเต็งรังทั่วพื้นที่ทั้ง 3 ลุมน้ํา

ขอมูลเพิ่มเติ่ม The Gardens’ Bulletin, Singapore 24 (Furtado, 1969); ลักษณะทางสัณฐานวิทยาของกลาไมขนาดเหมาะสม

ตอการปลูกปา (อําไพ, 2544)

62 SW 6455-p new-G8.indd p62

10/29/56 BE 4:25 PM


¤Ù‹Á×ÍàÅ×Í¡ª¹Ô´¾ÃóäÁŒ à¾×èÍ»ÅÙ¡»†Ò»‡Í§¡Ñ¹ÍØ·¡ÀÑ ÀÒ¤μÐÇѹÍÍ¡à©Õ§à˹×Í

SW 6455-p new-G8.indd p63

äÁŒâμªŒÒ

10/15/56 BE 8:09 PM


กรวยปา

Casearia grewiifolia Vent. วงศ SALICACEAE

ชื่ออื่น ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีชื่อเรียกอีกหลายชื่อ ไดแก ขุนเหยิง บุนเหยิง (สกลนคร) คอแลน (นครราชสีมา) ผาสาม

(นครพนม อุดรธานี) ภาษาเขมรในจังหวัดสุรินทรเรียก จะรวย ลักษณะวิสัย ไมตน ขนาดเล็ก ผลัดใบ สูง 5–15 ม. เปลือกเรียบถึงแตกเปนสะเก็ดเล็ก ๆ สีเทาปนน้ําตาล กิ่งออนมีชองอากาศ และขนสีน้ําตาลแดงทั่วไป ดอกแยกเพศรวมตน ลักษณะทางพฤกษศาสตรที่สําคัญ หูใบขนาดเล็ก รวงงาย ใบเรียงเวียน รูปขอบขนานหรือแกมรูปไข ยาว 8–13 ซม. เมื่อ สองแผนใบกับแสงจะเห็นขีดใส ๆ กระจายอยูทั่วไป ชอดอกแบบชอกระจุกออกตามซอกใบ กลีบเลี้ยง 5 กลีบ แยกเปนอิสระ สีเขียวออนถึงเขียวอมเหลือง ดานนอกมีขน ไมมีกลีบดอก จานฐานดอกรูปถวย ขอบจักเปนพู เกสรเพศผู 8 อัน ติดบนขอบ จานฐานดอก ผลสด รูปรีหรือรูปไข ยาว 2.5–5 ซม. สุกสีเหลือง แตกเปน 3 ซีก เมล็ดมี 3 เมล็ด มีเยื่อหุมสดสีสม เขตการกระจายพันธุ ไทย ภูมิภาคอินโดจีนและมาเลเซีย

การกระจายพันธุและนิเวศวิทยาในประเทศไทย พบทุกภาค ขึ้นในปาเต็งรัง ปาเบญจพรรณ ปาดิบแลง และปาดิบชื้น แตพบมากในปาเบญจพรรณ ระดับความสูงจนถึงประมาณ 800 เมตร ติดผลเดือน มกราคม–ตุลาคม ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ พบทั่วพื้นที่ แตพบนอยแถบลุมน้ําโขง ประโยชน เนื้อไมแข็ง ใชทําเครื่องมือตาง ๆ ราก แกทองรวง บํารุงตับ เปลือก บํารุงธาตุ สมานแผล ใบและดอก แกพิษกาฬ แกโรคผิวหนัง ผดผื่นคัน ผล ฟอกโลหิต แกเลือดออกตามไรฟน เมล็ด ใชเบื่อปลา น้ํามันจากเมล็ดใชรักษาโรคผิวหนัง การขยายพันธุ เพาะเมล็ด แกะเอาเยื่อหุมเมล็ดออกกอนนําไปเพาะ ยังไมมีขอมูลการปฏิบัติตอเมล็ดเพิ่มเติม

ขอแนะนํา เปนไมขนาดเล็ก โตชา ใบกวาง ตองการแสงในระยะแรก ทนความแหงแลงและไฟไดดี เหมาะ

สําหรับปลูกเสริมเพื่อใหเปนไมชั้นรอง สามารถปลูกรวมกับไมเบิกนําหรือไมโตเร็วได

หมายเหตุ เดิมถูกจัดใหอยูภายใตวงศ Flacourtiaceae ขอมูลเพิ่มเติม ตนไมเมืองเหนือ (ไซมอน และคณะ, 2543); ตนไมยานารู (ธงชัย และนิวัตร, 2544)

64 SW 6455-p new-G8.indd p64

10/29/56 BE 4:25 PM


กระบกกราย

Hopea helferi (Dyer) Brandis วงศ DIPTEROCARPACEAE

ชื่ออื่น ภาคกลางบางครั้งเรียก ตะเคียนหนู ภาคตะวันออกเฉียงใตเรียกพะนองแดง หรือพนองหิน ลักษณะวิสัย ไมตนขนาดเล็ก ขนาดกลาง หรือขนาดใหญ ไมผลัดใบ อาจสูงไดถึง 40 ม. โคนตนมักมีพูพอน เปลือกเรียบ ลอก

เปนแผน เปลือกในสีชมพูอมน้ําตาล

ลักษณะทางพฤกษศาสตรทสี่ าํ คัญ มีขนกระจุกรูปดาวกระจายตามกิง่ ออน หูใบ และชอดอก ใบเรียงเวียน รูปขอบขนาน รูปใบหอก หรือแกมรูปไข ยาว 6–18 ซม. โคนใบเบี้ยวเล็กนอย แผนใบดานลางมีเกล็ดสีเงินละเอียด เสนแขนงใบขางละ 12–20 เสน เสนแขนงใบยอยแบบขั้นบันได กานใบยาว 0.7–1.5 ซม. ชอดอกแบบชอแยกแขนง ยาว 5–15 ซม. กลีบเลี้ยง 5 กลีบ รูปสามเหลี่ยม ยาว 1–2 มม. กลีบดอกสีครีมอมเหลือง รูปใบหอกแกมรูปไข ยาว 3–4 มม. ขอบเปนชายครุย เกือบไรกาน เกสรเพศผู 15 อัน ปลายอับเรณูมรี ยางคยาวกวาอับเรณูเล็กนอย รังไขและฐานกานยอดเกสรเพศเมียรูปผลแพร ยาวประมาณ 1.5 มม. ผลมีกลีบเลี้ยงขยายเปนปกยาว 2 ปก ยาว 5–6 ซม. ปกสั้น 3 ปก ยาวประมาณ 3 มม. ผลรูปไข ยาวประมาณ 8 มม. ปลายมีติ่งแหลม เขตการกระจายพันธุ อินเดีย พมาตอนลาง ไทย กัมพูชา คาบสมุทรมลายูตอนบน การกระจายพันธุแ ละนิเวศวิทยาในประเทศไทย พบกระจายหาง ๆ ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงใต ภาคตะวันตกเฉียงใต และภาคใต ขึ้นในปาดิบแลงและปาดิบชื้น ระดับความสูงไมเกิน 400 เมตร การสืบตอพันธุตามธรรมชาติ คอนขางสูงในบางพื้นที่ ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือพบเฉพาะทางตอนลางบริเวณตนน้ําของลุมน้ํามูลแถบจังหวัด นครราชสีมา และบริเวณลุมน้ําโขงตอนบนแถบจังหวัดหนองคาย ประโยชน ไมเนื้อแข็ง ทนทาน ใชในการกอสราง เครื่องมือการเกษตร ชันใชทําไต การขยายพันธุ เพาะเมล็ด เมล็ดที่รวงหลนถูกแมลงทําลายไดงาย ควรเก็บเมล็ดแกบนตน เด็ดปกออกกอนนําไปเพาะ เมล็ด สูญเสียการงอกเร็ว

ขอแนะนํา เปนไมโตชา กลาไมตอ งการรมเงาและความชุม ชืน้ เหมาะสําหรับฟน ฟูสภาพปาดิบแลงในทีร่ าบลุม

โดยเฉพาะริมลําธาร ปลูกเปนไมโตชาหลังจากปลูกไมโตเร็วหรือไมเบิกนําแลว เปนไมทางเลือกที่ตองการขยาย พันธุไมหายากใกลสูญพันธุชนิดหนึ่ง จากสภาพถิ่นที่อยูเปลี่ยนไป ประเทศกัมพูชามีการปลูกในพื้นที่ลุมน้ําโขง ตอนลางใกล ๆ ปากแมน้ํา ขอมูลเพิ่มเติม Website: Cambodian Tree Species

SW 6455-p new-G8.indd p65

65 10/29/56 BE 4:25 PM


กระเบาใหญ

Hydnocarpus anthelminthicus Pierre ex Laness. วงศ ACHARIACEAE

ชื่ออื่น ภาษาเขมรแถบจังหวัดทางภาคตะวันออก เรียก กระเบาตึก ลักษณะวิสัย ไมเนื้อแข็ง ไมผลัดใบ ไมตน สูง 10–20 ม. เรือนยอดเปนพุมทึบ เปลือกคอนขางเรียบสีดําอมเทา มีชองระบาย

อากาศกระจาย ดอกแยกเพศตางตน

ลักษณะทางพฤกษศาสตรที่สําคัญ ใบเรียงเวียน รูปขอบขนานหรือรูปใบหอกแกมรูปไข ยาว 10–33 ซม. โคนใบเบี้ยว

แผนใบคอนขางหนา เกลี้ยงทั้งสองดาน ดอกออกตามซอกใบ สีชมพู มีกลิ่นหอม ดอกเพศผูออกเปนดอกเดี่ยว ๆ ดอกเพศเมีย ออกเปนชอกระจุกสั้น ๆ กลีบดอก 5 กลีบ เกสรเพศผู 5 อัน ดอกเพศเมียเกสรเพศผูที่เปนหมันรูปกระสวย ผลสดแบบมีเนื้อ หลายเมล็ด รูปกลม เสนผานศูนยกลาง 8–12 ซม. เปลือกแข็ง หนา มีขนหรือเกล็ดสีนา้ํ ตาลแดงปกคลุม เมล็ดจํานวนมาก ประมาณ 30–50 เมล็ด รูปไข แบน ๆ เบี้ยว ยาวประมาณ 1.5 ซม. เขตการกระจายพันธุ พมา ไทย ภูมิภาคอินโดจีน มาเลเซีย

การกระจายพันธุและนิเวศวิทยาในประเทศไทย พบทางภาคเหนือ ภาตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคใต ขึ้นตาม ริมลําธารหรือที่ลุมในปาดิบแลงและปาดิบชื้น ระดับความสูงจนถึงประมาณ 300 เมตร ติดผลเดือนมกราคม–กรกฎาคม ทางภาค ตะวันออกเฉียงเหนือตอนลางของลุมแมน้ํามูล ประโยชน เนื้อไมแข็ง ใชในการกอสราง ทําฟน ผลสุกมีเนื้อแปงสีขาวอมเหลือง รับประทานเปนของหวาน ในประเทศจีน เปน 1 ใน 50 สมุนไพรพื้นฐาน น้ํามันจากเมล็ด ใชรักษาโรคเรื้อน โรคผิวหนัง ยาถายพยาธิ ผสมน้ํามันใสผมรักษาโรคบนหนังศีรษะ เปนตน การขยายพันธุ เพาะเมล็ด ยังไมมีขอมูลการปฏิบัติตอเมล็ดกอนนําไปเพาะ

ขอแนะนํา เปนไมโตชา เหมาะสําหรับปลูกฟนฟูสภาพปาที่เสื่อมโทรมที่ใกลแหลงน้ํา

หมายเหตุ เดิมถูกจัดใหอยูภายใตวงศ Flacourtiaceae ขอมูลเพิ่มเติม PROSEA 12(1) (1999), 5(3) (1998); ตนไมยานารู (ธงชัย และนิวตั ร, 2544); ไมปา ยืนตนของไทย 1 (เอือ้ มพร

และปณิธาน, 2547)

66 SW 6455-p new-G8.indd p66

10/29/56 BE 4:25 PM


กอแพะ

Quercus kerrii Craib วงศ FAGACEAE

ชื่ออื่น – ลักษณะวิสัย ไมตนขนาดเล็กถึงขนาดใหญ สูงไดถึง 40 ม. เปลือกสีน้ําตาลแกมดําเรื่อ แตกเปนรองลึกตามยาว ดอกแยกเพศ

รวมตน

ลักษณะทางพฤกษศาสตรที่สําคัญ ใบเรียงเวียน รูปขอบขนานหรือรูปใบหอกแกมรูปไข ยาว ขอบใบจักฟนเลื่อย แผนใบ

คอนขางหนา ดานลางมีขนตามเสนกลางใบและเสนแขนงใบ เสนแขนงใบขางละ 15–17 เสน ชอดอกตามซอกใบหรือเหนือรอย แผลใบ ชอดอกเพศผูแบบหางกระรอก หอยลง ดอกขนาดเล็กติดเปนกระจุก 3 หรือ 5 หรือ 7 ดอก กลีบรวมรูปถวย ปลายแยก เปน 6 แฉก มีขนนุมทางดานนอก เกสรเพศผู 6–8 อัน ชอดอกเพศเมียไมแยกแขนง ตั้งขึ้น มีขนสีน้ําตาลแดง ดอกคลายดอก เพศผู มักมีเกสรเพศผูเปนหมัน 6 อัน รังไขมีขนหรือเกล็ดปกคลุม กานยอดเกสรเพศเมียแยกเปน 5 แฉก ผลรูปกรวยหงาย กาบ ไมเชื่อมติดกัน ไมแยกในผลแก กาบหุมสูงเทา ๆ ความยาวตัวผลแตไมมิด ผิวกาบเปนเกล็ดมีขนปกคลุม เรียงตัวเปนวง 5–10 วง แตละกาบมีผล 1 ผล ดานบนแบนหรือบุมเล็กนอย เขตการกระจายพันธุ พมา ไทย ภูมิภาคอินโดจีน การกระจายพันธุแ ละนิเวศวิทยาในประเทศไทย พบแทบทุกภาค ขึน้ ตามปาเบญจพรรณ ปาดิบแลง ปาดิบเขา และปาดิบชืน้ จนถึงระดับความสูงประมาณ 900 เมตร ติดผลเดือนมิถุนายน–กันยายน ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือพบทั่วพื้นที่ทั้ง 3 ลุมน้ํา ประโยชน เนื้อไมแข็ง ใชทําถังหมักเหลาหรือไวน การขยายพันธุ เพาะเมล็ด แกะกาบหุม ออกกอนนําไปเพาะ แชนา้ํ ประมาณ 24 ชั่วโมง ขอควรระวัง เมล็ดถูกแมลงทําลายหรือ ถูกสัตวปากัดกินไดงาย

ขอแนะนํา เปนไมโตชา ตองการรมในระยะกลาไม เปลือกหนา ทนแลงและทนไฟ เหมาะสําหรับฟนฟู

สภาพพื้นที่ที่แหงแลง ที่ลาดชัน ในระดับความสูงมากกวา 500 เมตร มีการแตกหนอไดดี สามารถเจริญเติบโต ไดดีหลังจากถูกตัดฟนหรือจากไฟปา ผลดึงดูดสัตวปาใหเขามาในพื้นที่ ขอมูลเพิ่มเติม พรรณไมวงศไมกอของไทย (จําลอง และคณะ, 2549); ตนไมเมืองเหนือ (ไซมอน และคณะ, 2543)

67 SW 6455-p new-G8.indd p67

10/29/56 BE 4:25 PM


กอมขม

Picrasma javanica Blume วงศ SIMAROUBACEAE

ชื่ออื่น – ลักษณะวิสัย ไมยืนตน ขนาดเล็กถึงขนาดกลาง ไมผลัดใบ สูงถึง 20 ม. ลําตนมักคดงอ เปลือกบาง เรียบหรือแตกเปนรอง

เล็กนอย สีเทาหรือเทาอมน้ําตาล ดอกแยกเพศรวมตน ลักษณะทางพฤกษศาสตรที่สําคัญ หูใบเปนแผนกลมกวาง ขนาดกวาง 0.5–2 ซม. ยาว 0.7–2.5 ซม. รวงงาย ทิ้งแผล ขนาดใหญ ใบประกอบแบบขนนกปลายคี่ มีใบยอยขางละ 2–4 คู เรียงตรงขาม รูปรีแกมรูปขอบขนาน ยาว 7–13 ซม. ปลายใบ เปนติ่งแหลม แผนใบบาง เรียบเปนมัน เสนแขนงใบขางละ 3–8 เสน ปลายโคงขึ้น ชอดอกแบบชอกระจุก ออกตามซอกใบ ยาว 5–20 ซม. สีเหลืองออน กลีบเลี้ยง 4 กลีบ รูปสามเหลี่ยมขนาดเล็ก กลีบดอก 4 กลีบ รูปไขแกมรูปขอบขนาน ดอกเพศเมีย ขนาดใหญกวาดอกเพศผูเล็กนอย ติดทนและในดอกเพศเมียขยายในผล เกสรเพศผู 4 อัน ยาวกวากลีบดอก จานฐานดอกหยัก 4 พู มีขน มี 4 คารเพล เกสรเพศเมียปลายจรดกัน ผลสดแบบผนังชั้นในแข็ง กลม ๆ มี 1–4 ผล เสนผานศูนยกลางประมาณ 1 ซม. ผลแกสีดํา ติดอยูบนจานฐานดอกที่ขยายในผล แตละผลมี 1 เมล็ด เขตการกระจายพันธุ อินเดีย พมา ไทย ภูมิภาคอินโดจีนและมาเลเซีย การกระจายพันธุและนิเวศวิทยาในประเทศไทย พบทุกภาค ขึ้นกระจายหาง ๆ ตามปาดิบแลง ปาดิบเขา และปาดิบชื้น โดยเฉพาะริมลําธาร ระดับความสูงจนถึงประมาณ 1,400 เมตร เปนผลเดือนพฤษภาคม–สิงหาคม ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ พบทางตอนบนแถบจังหวัดเลยในพื้นที่ลุมน้ําโขงตอนบน และทางตอนลางแถบจังหวัดนครราชสีมาบริเวณตนน้ําของ ลุมน้ํามูล ประโยชน ไมเนื้อแข็ง แตไมมีการนําไปใชประโยชน เปลือกมีรสขม แกไขและไขมาเลเรีย การขยายพันธุ เพาะเมล็ด เมล็ดเปลือกคอนขางแข็ง ยังไมมีขอมูลการปฏิบัติตอเมล็ดกอนนําไปเพาะ

ขอแนะนํา เปนไมโตชา กลาไมตองการความชุมชื้นและรมเงาในระยะแรก เหมาะสําหรับปลูกเปนไมชั้นรอง

พรอมไมโตเร็วในพื้นที่ใกลลําธารในที่สูง

ขอมูลเพิ่มเติม Flora of Thailand 2(4) (1981); ตนไมเมืองเหนือ (ไซมอน และคณะ, 2543); ไมปายืนตนของไทย 1 (เอื้อมพร

และปณิธาน, 2547)

68 SW 6455-p new-G8.indd p68

10/29/56 BE 4:26 PM


กะเจียน

Polyalthia cerasoides (Roxb.) Benth. & Hook. f. ex Bedd. วงศ ANNONACEAE

ชื่ออื่น ทางภาคตะวันออกเฉียงใตแถบจังหวัดชลบุรี เรียก พญารากดํา ระยองเรียก โมดดง (ระยอง) ลักษณะวิสัย ไมตนขนาดเล็ก ผลัดใบ สูง 5–15 ม. เปลือกเรียบ สีเทาหรือน้ําตาลออน กิ่งแตกเกือบตั้งฉากกับลําตน ลําตน

และกิ่งมีชองระบายอากาศ กิ่งออนมีขนสั้นนุม ลักษณะทางพฤกษศาสตรที่สําคัญ ใบเรียงเวียน รูปขอบขนานหรือรูปใบหอก ยาว 6–19 ซม. โคนใบมนหรือกลม แผนใบ บาง มีขนสั้นนุมดานลาง เสนแขนงใบขางละ 7–8 เสน กานใบสั้น ดอกออกเดี่ยว ๆ หรือเปนกระจุก 2–3 ดอก ออกตามซอกใบ ดอกสีเขียวออนถึงเหลือง ดอกบานเสนผานศูนยกลาง 1–2 ซม. กานดอกยาว 1–2 ซม. มีใบประดับคลายใบ 1–2 ใบ ติดใตจุด กึ่งกลางกานดอก กลีบเลี้ยง 3 กลีบ ยาว 8–9 มม. กลีบดอก 6 กลีบ เรียง 2 ชั้น ๆ ละ 3 กลีบ กลีบชั้นในใหญและยาวกวา กลีบชั้นนอกเล็กนอย รูปไข ยาวเทา ๆ กลีบเลี้ยง เกสรเพศผูจํานวนมาก คารเพลมีขน ผลกลุม มี 20–30 ผลยอย ผลยอย คอนขางกลม ปลายมีติ่ง เสนผานศูนยกลาง 5–6 มม. สุกสีแดง มี 1 เมล็ด เขตการกระจายพันธุ อินเดีย พมา จีนตอนใต ไทย ภูมิภาคอินโดจีน การกระจายพันธุแ ละนิเวศวิทยาในประเทศไทย พบแทบทุกภาคยกเวนภาคใต ขึน้ ในปาเบญจพรรณและปาดิบแลง ระดับ ความสูงจนถึงประมาณ 600 เมตร เปนผลเดือนเมษายน–พฤษภาคม ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือพบทั่วพื้นที่ทั้ง 3 ลุมน้ํา ประโยชน เนือ้ ไมแข็ง ใชทาํ ดามเครือ่ งมือ เปลือกเปนเสนใยใชทาํ เชือก ราก ปรุงเปนยาแกกระษัย คุมกําเนิดในสตรี บํารุงกําลัง แกไข ใบ ตําพอกฝแกอักเสบ ดอกมีกลิ่นหอม เหมาะสําหรับปลูกเปนไมประดับ การขยายพันธุ เพาะเมล็ด ไมมีขอมูลการปฏิบัติตอเมล็ดกอนนําไปเพาะ

ขอแนะนํา เปนไมโตชาขนาดเล็ก ทนแลงและทนน้ําทวม เหมาะสําหรับปลูกเปนไมชั้นรองในที่ราบลุมที่มีน้ํา

ทวมถึง

ขอมูลเพิ่มเติม Flora of China Vol. 19 (2011); พรรณไมวงศกระดังงา (ปยะ, 2544); ไมตนเมืองเหนือ (ไซมอน และคณะ,

2543); พรรณไมตนของประเทศไทย (สวนพฤกษศาสตรปาไม, 2542)

69 SW 6455-p new-G8.indd p69

10/29/56 BE 4:26 PM


กัดลิ้น

Walsura trichostemon Miq. วงศ MELIACEAE

ชื่ออื่น ทางภาคตะวันออกแถบจังหวัดปราจีนบุรีเรียก มะคาลิ้น ลักษณะวิสัย ไมตนขนาดเล็กถึงขนาดกลาง ไมผลัดใบ สูง 5–15 ม. เปลือกสีน้ําตาลหรือเทาปนดํา แตกเปนรองตื้น ๆ ตาม

ความยาว

ลักษณะทางพฤกษศาสตรที่สําคัญ ใบประกอบแบบขนนก เรียงเวียน มีใบยอย 3–5 ใบ ยาว 7–15 ซม. แผนใบดานลาง ไมมีจุดสีขาว กานใบเปนของอ ชอดอกออกตามซอกใบใกลปลายกิ่ง ดอกขนาดเล็กสีขาวจํานวนมาก กลีบเลี้ยงและกลีบดอก มีจาํ นวนอยางละ 5 กลีบ กลีบเลีย้ งเชือ่ มติดกันประมาณหนึง่ สวนสาม กลีบดอกแยกกัน เกสรเพศผู 10 อัน กานชูอบั เรณูเชือ่ มติดกัน จานฐานดอกหยักเปนพู กานเกสรเพศเมียเกลี้ยง ยอดเกสรเปนเหลี่ยมเล็กนอย 6 เหลี่ยม ผลสด กลม ๆ เสนผานศูนยกลาง ประมาณ 1.5 ซม. สุกสีเหลือง มี 1–2 เมล็ด เยื่อหุมเมล็ดเนื้อนุมใส เขตการกระจายพันธุ อินเดีย พมา ไทย กัมพูชา เวียดนาม การกระจายพันธุแ ละนิเวศวิทยาในประเทศไทย พบทุกภาค ขึน้ ตามปาเบญจพรรณ ปาดิบแลง และปาดิบชืน้ ระดับความสูง 100–900 เมตร ผลแกเดือนมิถุนายน–กรกฎาคม ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือพบทางตอนลางบริเวณตนน้ําของลุมน้ํามูล ประโยชน เนื้อไมแข็ง ผลรับประทานได รากแกจุกเสียด บํารุงธาตุ การขยายพันธุ เพาะเมล็ด แกะเอาเยื่อหุมออกกอนนําไปเพาะ ไมมีขอมูลการปฏิบัติตอเมล็ดกอนนําไปเพาะ

ขอแนะนํา เปนไมโตคอนขางชา ระยะกลาไมตอ งการแสงมาก เหมาะสําหรับปลูกพรอมไมโตเร็วไดทง้ั ทีร่ าบ

ลุม และที่สูง โดยเฉพาะใกลชายปาที่สมบูรณเนื่องจากตองการความชุมชื้นสูง ขอมูลเพิ่มเติม ไมปายืนตนของไทย 1 (เอื้อมพร และปณิธาน, 2547)

70 SW 6455-p new-G8.indd p70

10/29/56 BE 4:26 PM


กันเกรา

Fagraea fragrans Roxb. วงศ GENTIANACEAE

ชื่ออื่น ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือเรียก มันปลา ซึ่งคลายทางภาคเหนือ ภาษาเขมรทางภาคตะวันออก เรียกวา ตาเตรา ลักษณะวิสัย ไมตน ขนาดเล็กถึงขนาดกลาง ไมผลัดใบ แตอาจสูงไดถึง 30 ม. เปลือกสีน้ําตาลคล้ํา แตกเปนรองลึกตามยาว ลักษณะทางพฤกษศาสตรทสี่ าํ คัญ มีหใู บลักษณะคลายถวยขนาดเล็กบริเวณซอกใบ ใบเรียงตรงขามสลับตัง้ ฉาก ออก

หนาแนนที่ปลายกิ่ง รูปรี ยาว 7–11 ซม. แผนใบเกลี้ยงทั้งสองดาน ชอดอกแบบชอกระจะ ออกตามซอกใบใกลปลายกิ่ง ดอก จํานวนมาก มีกลิ่นหอม กลีบดอกเชื่อมติดกันเปนรูปกรวย ปลายแยกเปน 5 แฉก แรกบานสีขาวนวล แลวเปลี่ยนเปนสีเหลือง เกสรเพศผู 5 อัน ติดบริเวณปากหลอดกลีบดอก เกสรเพศผูและเพศเมียยื่นพนปากหลอดกลีบดอก ผลสดมีหลายเมล็ด รูปทรงกลม เสนผานศูนยกลาง 4.5–8 มม. ปลายเปนติ่งแหลม สุกสีสมถึงแดง เมล็ดขนาดเล็ก จํานวนมาก เขตการกระจายพันธุ อินเดีย หมูเกาะอันดามัน พมา ไทย ภูมิภาคอินโดจีน คาบสมุทรมลายู ชวา สุมาตรา การกระจายพันธุและนิเวศวิทยาในประเทศไทย พบทุกภาคโดยเฉพาะภาคใต ขึ้นในที่ลุมต่ํา ที่โลงตามชายปา ปาเบญจพรรณ ปาดิบแลง และชายทะเล ระดับความสูงไมเกิน 200 เมตร เปนผลระหวางเดือนมิถุนายน–สิงหาคม ทางภาค ตะวันออกเฉียงเหนือพบทั่วพื้นที่ทั้ง 3 ลุมน้ํา ประโยชน เนื้อไมคอนขางแข็ง ไมใชในการกอสราง และทําเครื่องเรือน เปลือกตมดื่มเปนยาแกไข ใบรักษาอาการทองรวง ดอกสวยงาม ทรงพุมกลม นิยมปลูกเปนไมประดับตามสองขางทาง และตามสวนสาธารณะ การขยายพันธุ เพาะเมล็ด ตามภูมปิ ญ  ญาของชาวบานในจังหวัดยโสธร ใหนาํ ผลสุกมาตําเบา ๆ เพือ่ ใหเยือ่ หุม เมล็ดหลุดออก รอนดวยตะแกรงผึ่งใหแหง ผสมกับทรายหวานในแปลงเพาะ ใชทรายกลบ ระยะเวลาในการงอก 20–30 วัน ขอควรระวัง ผลสุก ถูกแมลงกัดกินไดงาย

ขอแนะนํา เปนไมโตคอนขางชา ทนแลงและทนน้าํ ทวม ขึน้ ไดดใี นดินแทบทุกประเภท เมล็ดหางาย เพาะงาย

เหมาะสําหรับปลูกไดทกุ สภาพพืน้ ทีท่ เ่ี ปนทีร่ าบลุม ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ สามารถปลูกพรอมกับไมโตเร็วได

หมายเหตุ เดิมถูกจัดใหอยูภายใตวงศ Loganiaceae ขอมูลเพิ่มเติม Flora of Thailand 6(3) (1997); พรรณไมตนของประเทศไทย (สวนพฤกษศาสตรปาไม, 2542). Website:

Cambodian Tree Species

71 SW 6455-p new-G8.indd p71

10/29/56 BE 4:26 PM


กาสามปก

Vitex peduncularis Wall. ex Schauer วงศ LAMIACEAE (LABIATAE)

ชื่ออื่น ภาคตะวันออกเฉียงใตแถบจังหวัดชลบุรีเรียก ตีนนก สมอตีนเปด หรือ สมอหวอง ลักษณะวิสัย ไมตนขนาดเล็กถึงขนาดกลาง สูงไดถึง 20 ม. เปลือกสีเทาหรือสีน้ําตาล เนื้อไมสีแดงอมเทาถึงสีน้ําตาลออน กิ่ง

ออนเปนสี่เหลี่ยม มีขนประปราย

ลักษณะทางพฤกษศาสตรที่สําคัญ ใบประกอบแบบนิ้วมือ มี 3 หรือ 5 ใบยอย เรียงตรงขามสลับตั้งฉาก กานใบยาว 4–8

ซม. ใบยอยขนาดไมเทากัน รูปขอบขนานหรือรูปใบหอก ยาว 6–15 ซม. แผนใบมีตอมโปรงแสง ชอดอกแบบชอแยกแขนง ออก เดี่ยว ๆ หรือเปนคู ๆ ตามซอกใบ ยาว 8–25 ซม. แตกแขนงและแตกแขนงยอยเปนคู ดอกมีกลิ่นหอม กลีบเลี้ยงและกลีบดอก ดานนอกมีขนและมีตอมสีเหลือง กลีบเลี้ยงปลายแยกเปน 5 แฉกไมชัดเจน กลีบดอกสีขาวเปลี่ยนเปนสีเหลืองนวล รูปกรวย ยาวประมาณ 5 มม. ดานในมีขนยาว กลีบรูปปากเปด กลีบบน 2 กลีบ กลีบขาง 2 กลีบ กลีบดานลาง 1 กลีบ ขนาดใหญกวา กลีบอื่น โคนกลีบสีเหลือง เกสรเพศผู 4 อัน โคนกานชูอับเรณูมีขนยาว อับเรณูสีมวงดํา ผลแบบผลผนังชั้นในแข็ง กลม เสนผานศูนยกลาง 5–8 มม. สุกสีแดงถึงมวงดํา เมล็ดแข็ง เขตการกระจายพันธุ อินเดีย บังกลาเทศ พมา ไทย ภูมิภาคอินโดจีน คาบสมุทรมลายู การกระจายพันธุแ ละนิเวศวิทยาในประเทศไทย พบทุกภาค ขึน้ ทัว่ ไปตามปาเต็งรัง ปาเบญจพรรณ และปาดิบแลง ระดับ ความสูง 100–900 เมตร เปนผลระหวางเดือนพฤษภาคมถึงพฤศจิกายน ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือสวนมากพบทางตอน ลางบริเวณตนน้ําของลุมน้ํามูล ประโยชน เปนไมเนื้อแข็ง มีขนาดเล็ก ใชตกแตงภายใน ทําพื้น กรอบหนาตาง เครื่องเรือน เครื่องมือทางการเกษตร เปลือก และใบ ตมใชเปนยาลดไข ใบรับประทานเปนผัก ผลสุกรับประทานได การขยายพันธุ เพาะเมล็ด นาจะมีการปฏิบัติตอเมล็ดกอนนําไปเพาะเชนเดียวกับตีนนก

ขอแนะนํา คลาย ๆ กับตีนนก แตสามารถปลูกในพื้นที่ลาดชันและระดับความสูงมากกวา ทนแลงไดดีกวา

แตไมเทาผาเสี้ยน

ขอมูลเพิ่มเติม A Revision of the Genus Vitex (Lamiaceae) in Thailand (Chantaranothai, 2011)

72 SW 6455-p new-G8.indd p72

10/29/56 BE 4:26 PM


กุก

Lannea coromandelica (Houtt.) Merr. วงศ ANACARDIACEAE

ชื่ออื่น ทางจังหวัดอุบลราชธานีเรียก กอกกั๋น สวนทางจังหวัดตราด เรียก ชาเกาะหรือชางโนม ลักษณะวิสัย ไมตน ขนาดเล็กถึงขนาดกลาง ผลัดใบ สูง 5–15 ม. เรือนยอดโปรง เปลือกนอกสีเทา อมเขียวหรือขาว เปลือก

ในสีขาวสลับชมพูแนวตั้ง เปลือกเรียบหรือแตกเปนแผน มีน้ํายางใส กิ่งออนมีขนปกคลุม มีชองอากาศ ดอกแยกเพศตางตน ลักษณะทางพฤกษศาสตรที่สําคัญ ใบประกอบแบบขนนกปลายคี่ เรียงเวียน กานใบ 3.5–4.5 ซม. ใบยอยขางละ 2–7 ใบ เรียงตรงขาม กวาง 1–3.5 ซม. ยาว 2.5–10 ซม. แผนใบดานลางสีเขียวออนมีขนประปราย ใบแกกอนรวงสีเหลือง เสนแขนงใบ ขางละ 5–11 เสน เสนใบยอยแบบรางแห ชอดอกแบบชอเชิงลด ออกที่กิ่งหรือซอกใบใกลปลายกิ่ง ยาว 12–30 ซม. ดอกสีเหลือง ออนแกมเขียว ไรกาน กลีบเลี้ยง 4–6 กลีบ รูปไขกวาง ยาว 1.5–2 มม. มีขนปกคลุม กลีบดอก 4–5 กลีบ รูปขอบขนานปลายมน ยาว 2–2.5 มม. เกสรเพศผู 8–10 อัน ผลแบบผลผนังชั้นในแข็ง รูปทรงไข เรียว ยาว 0.8–1.5 ซม. สุกสีแดง มีเมล็ดเดียว ปลายมี รอยเวา 1–2 รอย เขตการกระจายพันธุ อินเดีย หมูเกาะอันดามัน ศรีลังกา จีน พมา ไทย ภูมิภาคอินโดจีน คาบสมุทรมลายู ชวา การกระจายพันธุแ ละนิเวศวิทยาในประเทศไทย พบทุกภาค ขึน้ ตามปาเบญจพรรณ ปาเต็งรัง ทุง หญา และบนเขาหินปูน จนถึงระดับความสูงประมาณ 1,000 เมตร ผลแกเดือนพฤษภาคม–มิถุนายน ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือพบทั่วพื้นที่ทั้ง 3 ลุมน้ํา ประโยชน เนื้อไมคอนขางแข็ง มีขนาดเล็ก ใชทําฟน ใบออนรับประทานเปนผัก เปลือกเปนยาสมานแผล ฟอกหนังสัตว เปลือกตนและผลสดเปนพิษตอปลา ในอินเดียและเนปาลนิยมปลูกเพื่อเลี้ยงสัตว ใชไดทั้งกิ่ง ใบ และผล การขยายพันธุ เพาะเมล็ด และปกชํา เมล็ดมีอายุสั้น ไมมีขอมูลการปฏิบัติตอเมล็ดกอนนําไปเพาะ การปกชําทําไดงาย และ ไดผลดี

ขอแนะนํา เปนไมโตชา ในระยะกลาไมตองการความชุมชื้นและแสงมาก ตนโตแลวทนแลงและไฟปา

มีระบบรากลึก สามารถขึ้นไดดีในดินที่มีสภาพเปนกรดสูง เหมาะสําหรับปลูกฟนฟูสภาพพื้นที่ที่แหงแลงทั้ง ที่ราบลุมและที่สูง เพื่อปองกันการพังทลายของดิน ขอมูลเพิ่มเติม Flora of Thailand 10(3) (2010); ตนไมเมืองเหนือ (ไซมอน และคณะ, 2543); ปายืนตนของไทย 1 (เอือ้ มพร

และปณิธาน, 2547). Website: ForestryNepal

73 SW 6455-p new-G8.indd p73

10/29/56 BE 4:27 PM


เก็ดดํา

Dalbergia cultrata Graham ex Benth. วงศ FABACEAE (LEGUMINOSAE-PAPILIONOIDEAE)

ชือ่ อืน่ ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือแถบจังหวัดอุดรธานี เรียก กระพี้ กระพีเ้ ขาควาย หรืออีเม็งใบมน สวนทางจังหวัดเลยเรียก

กําพี้เขาควายหรือแดงดง ลักษณะวิสัย ไมตนขนาดเล็กถึงขนาดกลาง ผลัดใบ สูงไดถึง 25 ม. ลําตนตรง เรือนยอดแคบและโปรง ลักษณะทางพฤกษศาสตรที่สําคัญ ใบประกอบแบบขนนกปลายคี่ เรียงเวียน มีใบยอย 7–13 ใบ รูปไขกลับหรือแกมรูป ขอบขนาน ยาว 2.5–4.7 ซม. ปลายใบมนและเวาตรงกลางเล็กนอย โคนใบแหลมหรือมน ชอดอกแบบชอแยกแขนง ออกตาม ซอกใบใกลปลายกิ่ง ยาว 4–5 ซม. ดอกสีขาวอมชมพู กานดอกยาวประมาณ 2 มม. กลีบเลี้ยงขนาดเล็กคลายรูปถวยตื้นๆ กลีบดอกรูปดอกถั่ว ยาวไดประมาณ 5.5 มม. กลีบกลางรูปไขกลับกวาง ยาว 3–3.5 มม. กานกลีบยาวประมาณ 1.5 มม. กลีบปก รูปรีและกลีบคูลางสั้นกวากลีบกลาง เกสรเพศผูเชื่อมติดกลุมเดียว 9 อัน ผลเปนฝกแบน ยาว 5–10 ซม. ปลายและโคนมน ปลาย มีติ่งแหลมสั้นๆ ผนังผลมีลายรางแหชัดเจน มี 1–4 เมล็ด สีน้ําตาลแดง รูปรี แบน ยาว 0.8–1 ซม. เขตการกระจายพันธุ จีนตอนใต พมา ไทย ลาว เวียดนาม การกระจายพันธุและนิเวศวิทยาในประเทศไทย พบแทบทุกภาคโดยเฉพาะทางภาคเหนือ ยกเวนทางภาคใต ขึ้นตามปา เบญจพรรณและปาทุงที่คอนขางชุมชื้น โดยเฉพาะตามที่ลาดชัน จนถึงระดับความสูงประมาณ 1,300 เมตร ผลแกประมาณเดือน พฤศจิกายน–มกราคม ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือพบมากทางตอนบนแถบจังหวัดเลยของลุมน้ําโขงตอนบน และทาง ตอนลางแถบจังหวัดนครราชสีมาบริเวณตนน้ําของลุมน้ํามูล ประโยชน เนื้อไมแข็ง ใชในการกอสราง ทําเครื่องเรือน เครื่องแกะสลัก ดามเครื่องมือ การขยายพันธุ เพาะเมล็ด เมล็ดมีอตั ราการงอกสูง ควรกลบเมล็ดดวยทรายหรือขีเ้ ถาแกลบ กลาไมควรเก็บไวในทีร่ ม รําไร หรือ อาจนําเมล็ดไปแชน้ําประมาณ 3 วัน กอนนําไปเพาะ เชนเดียวกับพะยูง

ขอแนะนํา เปนไมโตชา ควรเลือกใชกลาที่มีขนาดโตแลวไปปลูก เหมาะสําหรับปลูกเสริมในกลุมไมโตชา

สําหรับบํารุงดิน เชนเดียวกับ ฉนวน (Dalbergia nigrescens Kurz) ซึ่งเปนไมโตชาในสกุลเดียวกัน และพบทั่วไป ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือบริเวณใกลเคียงกัน ขอมูลเพิ่มเติม Flora of China Vol. 10 (2010); Thai Forest Bulletin No. 30 (Niyomdham, 2002); ตนไมเมืองเหนือ (ไซมอน

และคณะ, 2543). Websites: Laos Tree Seed Project, Cambodian Tree Species

74 SW 6455-p new-G8.indd p74

10/29/56 BE 4:27 PM


ขอย

Streblus asper Lour. วงศ MORACEAE

ชื่ออื่น แถบจังหวัดเลยเรียก สมพอ ภาษาเขมรเรียก สะนาย ลักษณะวิสัย ไมพุมหรือไมตนขนาดเล็ก ไมผลัดใบ สูง 5–15 ม. เปลือกนอกสีเทาถึงดํา เกลี้ยงหรือแตกเปนรอง เปลือกใน

สีครีม น้ํายางสีขาว ดอกแยกเพศอยูบนตนเดียวกันหรือแยกตน ลักษณะทางพฤกษศาสตรที่สําคัญ หูใบขนาดเล็ก รวงงาย ใบเรียงเวียน รูปรี รูปขอบขนาน หรือแกมรูปไข ยาว 1–13 ซม. ปลายใบแหลมหรือแหลมยาว โคนใบมนหรือกลม ขอบใบจักซี่ฟน แผนใบมีขนสากทั้งสองดาน กานใบสั้น ชอดอกเพศผูทรง กลม ๆ ขนาดเล็ก ออกเดี่ยว ๆ หรือเปนคูตามซอกใบ เสนผานศูนยกลาง 0.4–1 ซม. มี 4–15 ดอก ชอดอกเพศเมียออกตามซอก ใบ มี 1–2 ดอก กานดอกยาว 0.4–2 ซม. กลีบรวมสวนมากมี 4 กลีบ ขยายในผล กานเกสรเพศเมียปลายแยกเปน 2 แฉก ขยาย ในผล ผลแบบผลสด กลม ๆ เสนผานศูนยกลางประมาณ 8 มม. สุกสีเหลืองสด เขตการกระจายพันธุ อินเดีย ภูฏาน บังกลาเทศ ศรีลังกา จีน พมา ไทย ภูมิภาคอินโดจีนและมาเลเซีย ฟลิปปนส

การกระจายพันธุและนิเวศวิทยาในประเทศไทย พบทั่วทุกภาคของประเทศ ขึ้นในปาเบญจพรรณ ปาดิบแลง และปาดิบ ตามริมลําธาร ทุงนา หรือบนเขาหินปูน จนถึงระดับความสูงประมาณ 900 เมตร ออกดอกและติดผลเดือนมิถุนายน–กันยายน ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือพบทั่วพื้นที่ทั้ง 3 ลุมน้ํา ประโยชน เนือ้ ไมใชทาํ เยือ่ กระดาษ ในสมัยโบราณกิง่ สดทุบใชสฟี น ผลรับประทานได เปลือก แกปวดฟน แกกระษัย แกทอ งรวง ใบ เปนยาระบายออน ๆ แกปวดประจําเดือน ราก ใสแผล ปลูกเปนไมประดับ โดยทําเปนไมดัดหรือแตงทรงพุมใหสวยงาม การขยายพันธุ สวนมากขยายพันธุด ว ยการปกชํารากหรือกิง่ ควรนํากิง่ จุม สารเรงราก พวก indole butyric acid กอนนําไปปกชํา มีรายงานวา เมล็ดที่ถูกนําไปยังรังมดมักจะงอกไดดี

ขอแนะนํา เปนไมโตคอนขางชา ระยะกลาไมตองการแสงมาก ใบหนาแนน ขึ้นไดทั้งที่แหงแลง ทนน้ําทวม

ระบบรากแนน ชวยยึดเกาะปองกันการพังทลายของดินตามชายฝงแมน้ํา

ขอมูลเพิ่มเติม PROSEA 5(3) (1998); Flora of Thailand 10(4) (2011); ตนไมเมืองเหนือ (ไซมอน และคณะ, 2543)

75 SW 6455-p new-G8.indd p75

10/29/56 BE 4:27 PM


ขันทองพยาบาท

Suregada multiflora (A. Juss.) Baill. วงศ EUPHORBIACEAE

ชื่ออื่น ภาคตะวันออกเรียก ขัณฑสกร ขาวตาก ชองรําพัน มะดูก หรือสลอดน้ํา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ดูกไทร หรือดูกไม

ดูกไหล หรือเหมือดโลด ลักษณะวิสัย ไมตนขนาดเล็กถึงขนาดกลาง สูงไดถึง 20 ม. ดอกแยกเพศอยูตางตน ลักษณะทางพฤกษศาสตรที่สําคัญ ใบเรียงเวียน รูปรีหรือรูปขอบขนาน ยาว 12–15 ซม. ปลายใบแหลม แผนใบมีตอมใส กระจายทั่วไป ชอดอกแบบชอกระจุก ออกสั้นๆ ตรงขามกับใบ ยาว 0.3–1 ซม. ไมมีกลีบดอก ดอกเพศผู แตละชอดอกมี 5–10 ดอก กานดอกยาว 4–6 มม. มีขนละเอียด กลีบเลีย้ ง 5 กลีบ กลม ๆ ยาว 3–4 มม. ขอบกลีบและดานนอกมีขน เกสรเพศผูจ าํ นวนมาก ติดอยูบนจานฐานดอกที่นูนและมีตอม ดอกเพศเมีย กลีบเลี้ยง 5–6 กลีบ กลีบยาวกวาดอกเพศผูเล็กนอย จานฐานดอกขอบบาง เกสรเพศเมียมี 3 อัน ยอดเกสรแยกเปน 2 แฉก ผลแหงแตก กลม ๆ มี 3 พู เสนผานศูนยกลาง 2.5–3.5 ซม. สุกสีเหลืองหรือแดง เมล็ดมี 1 เมล็ดในแตละชอง ทรงกลม ๆ เสนผานศูนยกลาง 7–8 มม. มีเยื่อหุมสีขาว เขตการกระจายพันธุ อินเดีย บังกลาเทศ จีนตอนใต พมา ไทย ภูมิภาคอินโดจีน คาบสมุทรมลายู การกระจายพันธุและนิเวศวิทยาในประเทศไทย พบกระจายทุกภาค ขึ้นในปาดิบแลง ปาเบญจพรรณ ปาดิบชื้น ทุงหญา ปาชายหาด ที่โลงแจง จนถึงระดับความสูงประมาณ 800 เมตร ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ พบทั่วพื้นที่ทั้ง 3 ลุมน้ํา ประโยชน เปนไมเนื้อคอนขางแข็ง ใชทําฟน เปลือก ใชเปนยาถาย แกโรคตับพิการ แกประดง แกพิษในกระดูก โรคผิวหนัง ฆาพยาธิ เนื้อไมมีรสเบื่อเมา แกลมพิษ แกไข ใบดอกเขียวเปนมัน เหมาะสําหรับปลูกเปนไมประดับ การขยายพันธุ เพาะเมล็ด ไมมีขอมูลการปฏิบัติตอเมล็ดกอนนําไปเพาะ

ขอแนะนํา เปนไมโตคอนขางชา แตในระยะกลาไมโตคอนขางเร็ว ตองการแสงมาก ขึ้นไดดีในดินปนทราย

เหมาะสําหรับปลูกฟน ฟูสภาพพืน้ ทีร่ าบลุม ทัว่ ไป สามารถปลูกพรอมกับไมโตเร็วหรือไมเบิกนําอืน่ ๆ ได โดยเฉพาะ บริเวณที่แหงแลง ใบหนาแนนชวยเพิ่มความชุมชื้นแกสภาพพื้นที่ไดเร็ว ขอมูลเพิ่มเติม Flora of Thailand 8(2) (2007); Flora of China Vol. 11 (2009)

76 SW 6455-p new-G8.indd p76

10/29/56 BE 4:27 PM


ขางหัวหมู

Miliusa velutina (Dunal) Hook. f. & Thomson วงศ ANNONACEAE

ชื่ออื่น ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือบางครัง้ เรียกวา โกงกาง จอแจ หํารอก หรือยางโดน ภาษาสวยทีจ่ งั หวัดสุรนิ ทร เรียก สะแมะ ลักษณะวิสัย ไมตน ขนาดเล็ก สูงไดถึง 20 ม. เปลือกตนคอนขางหนาและขรุขระ กิ่งออนมีขนสั้นหนานุม ลักษณะทางพฤกษศาสตรที่สําคัญ ใบเรียงสลับในระนาบเดียวกัน รูปไขหรือรูปขอบขนาน ยาว 8–30 ซม. โคนใบกลมหรือ

รูปหัวใจ เบี้ยวเล็กนอย แผนใบมีขนสั้นนุมทั้งสองดาน เสนแขนงใบขางละ 10–16 เสน ชอดอกแบบชอกระจุก ออกตรงขามใบหรือ บนกิ่งที่มีใบ มี 3–6 ดอก ในแตละชอ กานดอกยาว 5–10 ซม. ฐานดอก (torus) เกลี้ยง กลีบเลี้ยงสีน้ําตาล 3 กลีบ รูปสามเหลี่ยม ยาว 2–8 มม. มีขนสั้นนุม กลีบดอก 6 กลีบ 3 กลีบนอกขนาดเล็กคลายกลีบเลี้ยง กลีบในสีน้ําตาลอมเขียวหรือเหลือง รูปใบหอก แกมรูปไข ยาว 1–1.8 ซม. ดานนอกมีขนสีทองหนาแนน เกสรเพศผูจํานวนมาก อับเรณูมีรยางคสั้นๆ เปนติ่งแหลม คารเพล จํานวนมาก มีขนสั้นนุม ยอดเกสรเพศเมียรูปกระบอง ผลกลุม ผลยอยสด แยกกัน เกือบกลม เสนผานศูนยกลาง 1.5–2 ซม. ผล สุกสีแดง มี 1–2 เมล็ด เขตการกระจายพันธุ อินเดีย ปากีสถาน จีนตอนใต พมา ไทย ภูมิภาคอินโดจีน คาบสมุทรมลายู การกระจายพันธุและนิเวศวิทยาในประเทศไทย พบแทบทุกภาค ยกเวนภาคใต ขึ้นตามปาเบญจพรรณ ปาเต็งรัง และ ปาดิบแลง ระดับความสูงจนถึงประมาณ 500 เมตร เปนผลระหวางเดือนกรกฎาคมถึงเดือนกันยายน ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ตอนลางบริเวณตนน้ําของลุมน้ํามูลโดยเฉพาะในปาเต็งรังและปาเบญจพรรณที่แหงแลง ประโยชน เนื้อไมแข็ง ใชกอสรางและทําเปนเครื่องมือการเกษตร การขยายพันธุ เพาะเมล็ด ไมมีขอมูลการปฏิบัติตอเมล็ดกอนนําไปเพาะ

ขอแนะนํา เปนไมโตคอนขางชา ในระยะกลาไมตองการแสงมาก แผนใบคอนขางกวาง ทนแหงแลงและไฟ

ปา เหมาะสําหรับปลูกในสภาพพื้นที่แหงแลง โดยเฉพาะในระดับต่ํา ๆ สามารถปลูกรวมกับไมโตเร็วในชวงแรก ได ทรงพุมกวางชวยปองกันการชะลางหนาดิน ขอมูลเพิ่มเติม Flora of China Vol. 19 (2011); พรรณไมวงศกระดังงา (ปยะ, 2544)

77 SW 6455-p new-G8.indd p77

10/29/56 BE 4:27 PM


เขลง

Dialium cochinchinense Pierre วงศ FABACEAE (LEGUMINOSAE–CAESALPINIOIDEAE)

ชื่ออื่น ทางจังหวัดนครราชสีมาเรียก นางดํา ลักษณะวิสัย ไมตนขนาดกลางถึงขนาดใหญ ผลัดใบ สูงถึง 30 ม. เปลือกสีเทาหรืออมน้ําตาล มีน้ํายางใส เปลี่ยนเปนสีแดง

กิ่งมีชองอากาศกระจาย

ลักษณะทางพฤกษศาสตรที่สําคัญ ใบประกอบแบบขนนกปลายคี่ เรียงเวียน แกนกลางใบยาว 5–10 ซม. มีใบยอย 5–9 ใบ

เรียงสลับ รูปรีหรือรูปไข ยาว 4–7 ซม. โคนใบมน เบี้ยวเล็กนอย ชอดอกแบบกระจะ ออกตามซอกใบหรือปลายกิ่งพรอมผลิใบ ออน ยาว 10–30 ซม. มีขนสั้นนุม ดอกสีขาวจํานวนมาก กลีบเลี้ยง 5 กลีบ เรียงซอนเหลื่อม ยาวประมาณ 4 มม. รูปไขคอน ขางกลม มีขนนุม ไมมีกลีบดอก เกสรเพศผู 2 อัน อยูภายในหลอดกลีบเลี้ยง กานชูอับเรณูสั้น สั้นกวาอับเรณู รังไขมีขนคลาย ไหม ผลแหงไมแตก กลม ๆ หรือรูปไข ยาว 1.5–1.8 ซม. มี 1–2 เมล็ด สีน้ําตาลออน รูปรี แบน ยาวไมเกิน 1 ซม. ผลออนมีปุย หุมสีขาว เปลียนเปนสีน้ําตาล เขตการกระจายพันธุ พมา ไทย ภูมิภาคอินโดจีน คาบสมุทรมลายู การกระจายพันธุและนิเวศวิทยาในประเทศไทย พบทุกภาค ภาคใตพบจนถึงจังหวัดชุมพร ขึ้นตามปาเบญจพรรณ ปา เต็งรัง หรือปาดิบแลง ระดับความสูง 100–500 เมตร ออกดอกระหวางเดือนมกราคมถึงสิงหาคม ผลแกเดือนมิถนุ ายน–พฤศจิกายน ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือพบทั่วพื้นที่ทั้ง 3 ลุมน้ํา ประโยชน เนื้อไมแข็ง ทนทานมาก ใชกอสราง หมอนรถไฟ เฟอรนิเจอร ทําลอเกวียน ผลสุกรับประทานได นิยมกวนผสม น้ําตาลและพริก แตใบและเมล็ดมีสารพิษ การขยายพันธุ เพาะเมล็ด เมล็ดควรแชน้ําไวประมาณ 1 วัน กอนนําไปเพาะ

ขอแนะนํา เปนไมโตชา ทนแลงและทนน้ําทวม เหมาะสําหรับปลูกผสมผสานกับพรรณไมปาเบญจพรรณ

หรือปาเต็งรังหลายชนิด เชน สกุล Dalbergia สกุล Terminalia เปนตน ชวยบํารุงดิน

ขอมูลเพิ่มเติม Flora of Thailand Vol 4(1) (1984); ไมอเนกประสงคกินได (สุรีย และอนันต, 2540)

78 SW 6455-p new-G8.indd p78

10/29/56 BE 4:27 PM


คอแลน

Nephelium hypoleucum Kurz วงศ SAPINDACEAE

ชื่ออื่น ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีหลายชื่อ เชน หมักแวว มะแงว และหมักงาน ลักษณะวิสัย ไมตนขนาดกลางถึงขนาดใหญ สูงไดถึง 30 ม. เปลือกเรียบ สีน้ําตาล ลักษณะทางพฤกษศาสตรที่สําคัญ ใบประกอบแบบขนนกปลายคู มีใบยอย 1–3 คู ใบยอยรูปไขแกมรูปขอบขนาน ยาว

6.5–30 ซม. แผนใบดานบนมีตมุ ใบ ดางลางมีขนคลายไหม ชอดอกแบบชอแยกแขนง ออกตามซอกใบใกลปลายกิง่ ดอกมีกลิน่ หอม สีขาวอมเหลืองหรือแกมเขียว กลีบเลี้ยงรูประฆัง ยาว 1.3–2.6 มม. ปลายแยกเปน 5 แฉก รูปสามเหลี่ยมขนาดเล็ก กลีบ ดอก 5 กลีบ ยาว 1–6 มม. ขอบกลีบมีขนแบบขนแกะ เกสรเพศผู 7–10 อัน ผลแบบผลมีเนื้อมีเมล็ดเดียว รูปทรงรี ยาว 2–3 ซม. ผิวดานนอกหนามีลักษณะคลายหูดทั่วผิว สุกสีแดง เมล็ดรูปไข เขตการกระจายพันธุ พมา ไทย ภูมิภาคอินโดจีน การกระจายพันธุและนิเวศวิทยาในประเทศไทย พบทุกภาค ขึ้นตามปาดิบแลง และปาดิบชื้น ระดับความสูง 100–1,200 เมตร เปนผลเดือนกุมภาพันธ–มิถุนายน ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือพบทั่วพื้นที่ทั้ง 3 ลุมน้ําโดยเฉพาะในปาดิบแลงที่มี ความชุมชื้นสูง ประโยชน เนื้อไมแข็ง ใชในการกอสราง ผลสุกมีรสอมเปรี้ยวหวาน นํามารับประทานเปนผลไม แกนฝนกับน้ําสมุนไพรอื่น ๆ แกไข เปลือกใหน้ําฝาด ใชฟอกหนัง การขยายพันธุ เพาะเมล็ด ไมมีขอมูลการปฏิบัติตอเมล็ดกอนนําไปเพาะ

ขอแนะนํา เปนไมโตชา กลาไมตองการรมเงาและความชุมชื้น จึงควรใชกลาไมที่คอนขางโตแลว เหมาะ

สําหรับปลูกหลังจากสภาพปาฟนตัวในระดับหนึ่ง ชวยดึงดูดสัตวปาใหเขามาในพื้นที่ไดเร็วขึ้น เนื่องจากผลเปน อาหารของสัตวปาหลายชนิด โดยเฉพาะชะนี ขอมูลเพิ่มเติม Flora of Thailand 7(1) (1999); ไมปายืนตนของไทย 1 (เอื้อมพร และปณิธาน, 2547); ไมอเนกประสงคกินได (สุรีย และอนันต, 2540)

79 SW 6455-p new-G8.indd p79

10/29/56 BE 4:28 PM


คํามอกหลวง

Gardenia sootepensis Hutch. วงศ RUBIACEAE

ชื่ออื่น ทางจังหวัดนครพนมเรียก ไขเนา จังหวัดนครราชสีมาเรียก ผาดามหรือยางมอกใหญ ลักษณะวิสัย ไมตน สูง 7–15 ม. ลําตนบิดงอ ปลายยอดมีชนั สีเหลือง เปลือกคอนขางเรียบ หรือหลุดลอกออกเปนแผนบาง ๆ

สีเทา

ลักษณะทางพฤกษศาสตรที่สําคัญ หูใบมีลักษณะเปนปลอกหุมบริเวณรอบกิ่ง หลุดรวงงาย เห็นรอยแผลชัดเจน ใบ

เดี่ยว เรียงตรงขาม รูปรี รูปขอบขนาน หรือแกมรูปไขกลับ ยาว 16.5–29.5 ซม. ปลายใบแหลมหรือมน โคนใบมน แผนใบคอนขาง หนา เหนียวและสาก ใบออนสีแดง เสนแขนงใบขางละ 15–25 เสน กานใบยาวประมาณ 1 ซม. ดอกออกเดี่ยว ๆ ตามซอกใบ สีเหลืองนวล แลวเปลี่ยนเปนสีเหลืองเขมกอนหลุดรวง มีกลิ่นหอม กลีบเลี้ยงโคนเชื่อมติดกันเปนหลอด ยาว 3.2–3.5 ซม. หลอดกลีบดอกยาว 7–7.5 ซม. ปลายแยกเปน 5 กลีบ รูปรี ยาวประมาณ 4.5 ซม. ขอบกลีบมวนและบิด เกสรเพศผู 5 อัน กาน เกสรเพศเมีย ยาว 7.5–9 ซม. ยอดเกสรเพศเมียแยก 3 แฉก ผลสดมีหลายเมล็ด รูปรี ยาว 6 ซม. มีสันตามยาวจํานวน 5 สัน ผิวมีปุมกระจาย เขตการกระจายพันธุ จีนตอนใต พมา ไทย ลาว การกระจายพันธุและนิเวศวิทยา พบทางภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคตะวันออก ขึ้นในปาเต็งรัง และ ปาเบญจพรรณ ระดับความสูง 200–1,200 เมตร ออกดอกและออกผลเดือนมีนาคมถึงกรกฎาคม ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ พบทางตอนบนในพื้นที่ลุมน้ําโขงชวงบน และทางตอนลางบริเวณทางตอนบนของลุมน้ํามูล การขยายพันธุ เพาะเมล็ด ไมมีขอมูลการปฏิบัติตอเมล็ดกอนนําไปเพาะ ประโยชน เนื้อไมคอนขางแข็ง ใชในการกอสราง ทําเฟอรนิเจอร ดอกสวยงาม ใชปลูกเปนไมประดับ เมล็ด ตมเคี่ยวกับน้ําผสม เปนยาสระผมฆาเหา

ขอแนะนํา เปนไมโตชา ขึ้นไดดีในดินทุกประเภท เปนไมใบคอนขางใหญ ตองการแสงมาก ระยะกลาไม

ตองการรมเงา จึงควรปลูกหลังจากปลูกไมเบิกนําหรือไมโตเร็วแลว เหมาะสําหรับพื้นที่ลาดชันทั้งที่ราบลุมและ พื้นที่สูง ขอมูลเพิ่มเติม Flora of China Vol. 19 (2011); ไมปายืนตนของไทย 1 (เอื้อมพร และปณิธาน, 2547) 80 SW 6455-p new-G8.indd p80

10/29/56 BE 4:28 PM


แคปา

Markhamia stipulata (Wall.) Seem. วงศ BIGNONIACEAE

ชื่ออื่น ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เรียก แคหางคางหรือแคขน ทางภาคตะวันออกเรียก แคอาวหรือพีแก ลักษณะวิสัย ไมตนขนาดเล็ก ผลัดใบ สูง 7–15 ม. เปลือกหนา แตกเปนรองตามยาว ลักษณะทางพฤกษศาสตรที่สําคัญ ใบประกอบแบบขนนกชั้นเดียว ยาว 40–60 ซม. มีหูใบเทียม รูปกลม ๆ ใบยอย 5–8 คู

รูปขอบขนาน รูปใบหอก หรือแกมรูปไข ยาว 7–24 ซม. ปลายใบแหลมหรือแหลมยาว โคนใบแหลมหรือกลม ชอดอกแบบ ชอกระจะ ยาว 16–34 ซม. ออกที่ปลายกิ่ง กลีบเลี้ยงรูปพาย ยาว 3.2–4.3 ซม. มีขนปุย รวงงาย กลีบดอกสีแดงอมเหลืองหรือ น้ําตาลแดง หลอดกลีบดอกชวงลางยาว 2–2.6 ซม. ชวงปลายยาวประมาณ 4 ซม. ปลายบานออกมี 5 กลีบ รูปรีเกือบกลม ยาว ประมาณ 4.5 ซม. เกสรเพศผูสมบูรณ 4 อัน สั้น 2 อัน ยาว 2 อัน ฝกแตกตามตะเข็บ รูปทรงกระบอก ยาว 25–70 ซม. เกลี้ยง หรือมีขนปุย เมล็ดแบน เปนเหลี่ยม ยาวประมาณ 3.5 ซม. รวมปกบาง ๆ เขตการกระจายพันธุ จีนตอนใต พมา ไทย ภูมิภาคอินโดจีน

การกระจายพันธุแ ละนิเวศวิทยาในประเทศไทย พบทัว่ ทุกภาค ขึน้ ตามชายปาดิบแลง ปาดิบเขา และปาดิบชืน้ ทีโ่ ลงตาม ทุงหญา ระดับความสูงจนถึงประมาณ 1,500 เมตร ออกดอกออกผลชวงเดือนพฤศจิกายนถึงเดือนมกราคม ทางภาคตะวันออก เฉียงเหนือพบทั่วพื้นที่ โดยเฉพาะทางตอนบนบริเวณลุมน้ําโขง และทางตอนลางบริเวณตนน้ําของลุมน้ํามูล ประโยชน เนื้อไมแข็ง เลื่อยตบแตงไดยาก แตทนมอดและปลวกไดดี ใชในการกอสรางที่ตองการความทนทานนาน กิ่งเหมาะ สําหรับใชทําไมฟน การขยายพันธุ เพาะเมล็ด เนื่องจากเมล็ดเบาและมีปก ควรกลบดวยทรายบาง ๆ เพื่อปองกันเมล็ดกระเด็น

ขอแนะนํา เปนไมโตคอนขางชา ใบใหญ ในระยะกลาไมตองการแสงมาก ทนแลงและไฟปา สามารถปลูก

พรอมกับไมโตเร็วในระยะแรกได ทั้งในพื้นที่ราบลุมและพื้นที่สูง ขอมูลเพิ่มเติม Flora of Thailand 5(1) (1987)

81 SW 6455-p new-G8.indd p81

10/29/56 BE 4:28 PM


ชะมวง

Garcinia cowa Roxb. ex DC. วงศ CLUSIACEAE (GUTTIFERAE)

ชื่ออื่น ภาคตะวันออกเฉียงเหนือเรียก หมากโมก วิสัย ไมตน สูง 15–30 ม. เปลือกเรียบ สีน้ําตาลดํา มียางสีเหลือง ดอกแยกเพศตางตน ลักษณะทางพฤกษศาสตรที่สําคัญ ใบเรียงตรงขาม รูปรี รูปขอบขนาน หรือรูปใบหอก ยาว 5.5–14.5 ซม. แผนใบหนาเปน

มัน เสนแขนงใบไมเดนชัด ใบออนสีแดงอมเหลือง ดอกสีเหลืองนวล สีชมพูหรืออมแดง ดอกเพศผูออกเปนชอแบบชอกระจุก ตามซอกใบและปลายกิ่ง กลีบเลี้ยงและกลีบดอกมีจํานวนอยางละ 4 กลีบ เกสรเพศผูมี 4 มัด เชื่อมติดกัน ไรกาน ดอกเพศเมีย ออกเดี่ยว ๆ ตามซอกใบใกลปลายกิ่ง ขนาดใหญกวาดอกเพศผูเล็กนอย ยอดเกสรเพศเมียหยัก 4–8 พู ผลสดมีหลายเมล็ด รูปไข เกือบกลม มี 6–8 รอง ตามยาว สุกสีเหลืองอมสม กลีบเลี้ยงปดขั้วผล มี 3–8 เมล็ด มีเยื่อหุมสีเหลืองอมสม เขตการกระจายพันธุ อินเดีย บังกลาเทศ จีนตอนใต พมา ไทย ภูมิภาคอินโดจีน มาเลเซีย การกระจายพันธุแ ละนิเวศวิทยา พบกระจายแทบทุกภาค ขึน้ ในปาดิบชืน้ ทีล่ มุ ต่าํ ปาพรุ และปาดิบแลง ระดับความสูงจนถึง ประมาณ 900 เมตร ออกดอกเดือนกุมภาพันธถึงมิถุนายน เปนผลเดือนเมษายนถึงพฤษภาคม ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ พบกระจัดกระจายทางตอนบนบริเวณลุมน้ําโขงตามที่ราบลุมในปาดิบแลง การขยายพันธุ โดยการเพาะเมล็ด กิ่งชํา และกิ่งตอน ไมมีขอมูลการปฏิบัติตอเมล็ดกอนนําไปเพาะ ประโยชน เนื้อไม ใชในการกอสราง ตนใหยางสีเหลือง ใชยอมผา ราก แกไข แกรอนในกระหายน้ํา แกบิด ถอนพิษ ใบและผล เปนยาระบาย กัดฟอกเสมหะ แกไอ ฟอกโลหิต ใบออน มีรสเปรี้ยว รับประทานเปนผักสด จังหวัดจันทบุรีและตราดนําใบมาปรุง เปนอาหารพื้นเมือง

ขอแนะนํา ไมโตชา ชอบขึ้นในที่มีน้ําขัง เหมาะสําหรับปลูกฟนฟูสภาพพื้นที่ราบลุมหรือมีน้ําทวมขัง โดย

เฉพาะทางภาคตะวันออกฉียงเหนือตอนบน ผลชวยดึงดูดสัตวปาใหเขามาในพื้นที่

ขอมูลเพิ่มเติม Flora of China Vol. 13 (2007); พรรณไมตนของประเทศไทย (สวนพฤกษศาสตรปาไม, 2542); องคความรู

เรื่องพืชปาที่ใชประโยชนทางภาคเหนือของประเทศไทย 2 (สุธรรม, 2552); ไมปายืนตนของไทย 1 (เอื้อมพร และปณิธาน, 2547)

82 SW 6455-p new-G8.indd p82

10/29/56 BE 4:29 PM


ชิงชัน

Dalbergia oliveri Gamble วงศ FABACEAE (LEGUMINOSAE-PAPILIONOIDEAE)

ชื่ออื่น ภาคกลางแถบจังหวัดสระบุรีเรียก ประดูชิงชันหรือพะยูงแกลบ จังหวัดจันทบุรี เรียก ยูน ลักษณะวิสัย ไมตน ขนาดกลางถึงขนาดใหญ ผลัดใบ สูง 10–30 ม. เปลือกหนา สีนาํ้ ตาลอมเทา แตกเปนแผนเล็ก ๆ เปลือกใน

สีเหลือง

ลักษณะทางพฤกษศาสตรที่สําคัญ ใบประกอบแบบขนนกปลายคี่ ยาว 15–25 ซม. มีใบยอย 9–13 ใบ เรียงสลับ รูปไขหรือ

แกมรูปขอบขนาน ยาว 4–8 ซม. แผนใบดานลางสีนวล ชอดอกแบบชอแยกแขนง ออกตามปลายกิง่ หรือซอกใบใกลปลายกิง่ ยาว 10–15 ซม. ดอกสีขาวอมมวงคราม กานดอกยาวประมาณ 1 มม. กลีบเลี้ยงยาวประมาณ 4.5 มม. ปลายแยกเปน 5 แฉก กลีบ ดอกรูปดอกถั่ว กลีบกลางรูปกลม ๆ เสนผานศูนยกลางประมาณ 7 มม. ปลายกลีบเวาตื้น กานกลีบยาวประมาณ 2 มม. กลีบ คูขางยาวเทา ๆ กลีบกลาง กลีบคูลางสั้นกวา เกสรเพศผู 10 อัน เชื่อมติดกันเปน 2 มัด รังไขมีขนที่โคน ฝกแบน รูปขอบขนาน หรือรูปหอก ยาว 9–17 ซม. มี 1–3 เมล็ด สีน้ําตาลแดง รูปไต ยาวประมาณ 1 ซม. เขตการกระจายพันธุ พมา ไทย ภูมิภาคอินโดจีน การกระจายพันธุและนิเวศวิทยาในประเทศไทย พบทุกภาค ขึ้นในที่โลง ปาเบญจพรรณ และปาดิบแลง ระดับความสูง 100–1,000 เมตร ผลแกประมาณเดือนพฤศจิกายน–ธันวาคม ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือพบทั่วพื้นที่ทั้ง 3 ลุมน้ํา ประโยชน ไมเนื้อแข็ง ใชทําเครื่องเรือน เฟอรนิเจอร และอุปกรณทําการเกษตร การขยายพันธุ เพาะเมล็ด โดยคัดเมล็ดดีท่ไี มลีบและมีรอยแมลงเจาะทําลาย กอนเพาะนําไปแชในน้ํารอนอุณหภูมิ 60–70 องศาเซลเซียส เปนเวลา 6 ชั่วโมง อัตราการงอกประมาณ รอยละ 70 หรือแชน้ําธรรมดา 1 คืน อัตราการงอกลดลงเล็กนอย กลาไมที่เหมาะสมในการนําไปปลูกควรมีอายุมากกวา 8 เดือน

ขอแนะนํา เปนไมโตชา ระบบรากลึก ทนแลงและทนไฟ เหมาะสําหรับปลูกฟนฟูสภาพปาเบญจพรรณที่

เสื่อมโทรมพรอมกับไมในปาเบญจพรรณอื่น ๆ ชวยบํารุงดิน

ขอมูลเพิ่มเติม Thai Forest Bulletin No. 30 (Niyomdham, 2002); การจัดการเพาะชํากลาไมคุณภาพ (กรมปาไม, 2542);

ลักษณะทางสัณฐานวิทยาของกลาไมขนาดเหมาะสมตอการปลูกปา (อําไพ, 2544)

83 SW 6455-p edit-G8.indd p83

10/29/56 BE 5:01 PM


ชุมแสง

Xanthophyllum lanceatum (Miq.) J. J. Sm. วงศ POLYGALACEAE

ชื่ออื่น แถบจังหวัดสกลนครเรียก แสง อุบลราชธานีเรียก แสงกึน ลักษณะวิสัย ไมตนขนาดเล็ก ผลัดใบ สูงไดถึง 15 ม. เปลือกเรียบสีน้ําตาลอมเทา ลําตนมักบิดงอ ลักษณะทางพฤกษศาสตรทสี่ าํ คัญ ใบเรียงเวียน รูปรีหรือรูปขอบขนาน ยาว 5–14 ซม. ปลายใบแหลม แผนใบดานบนเปน

มันวาว เสนแขนงใบขางละ 8–14 เสน ชอดอกแบบชอกระจะแยกแขนง ยาวกวาใบ ดอกสีขาวหรืออมมวง เปลี่ยนเปนสีเหลือง กอนหลุดรวง กลีบเลีย้ ง 5 กลีบ ขนาดไมเทากัน กลีบดานในยาวกวาเล็กนอย ยาว 2.5–3.5 มม. กลีบดอก 5 กลีบ รูปรางคลายเรือ เกลี้ยงหรือมีขน กลีบบนยาวไดเกือบ 1 ซม. กลีบคูขางสั้นกวาเล็กนอย กลีบคูลางสั้นกวากลีบบนและกลีบขาง เกสรเพศผู 8 อัน รังไขมีขนยาว ผลกลม แหงไมแตก เสนผานศูนยกลาง 1.7–3.8 ซม. เขตการกระจายพันธุ บังกลาเทศ พมา ไทย ภูมิภาคอินโดจีนและมาเลเซีย การกระจายพันธุแ ละนิเวศวิทยาในประเทศไทย พบกระจายหาง ๆ ทุกภาค ขึน้ ตามทีร่ าบลุม ริมลําธารในปาดิบแลงและ ปาดิบชื้น หรือปาพรุ ระดับความสูงจนถึงประมาณ 400 เมตร ติดผลเดือนมิถุนายน–สิงหาคม ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือพบ มากทางตอนลางบริเวณลุมน้ําโขงและลุมน้ํามูลโดยเฉพาะริมลําธารในปาดิบแลง ประโยชน เนื้อไมแข็งแรงปานกลาง ใชในการกอสราง เนื้อไมสีขาวเหมาะสําหรับทําแผนไมอัด เฟอรนิเจอร เครื่องมือ และ อุปกรณกีฬา เชนเดียวกับพรรณไมในสกุล Xanthophyllum หลายชนิด ทรงพุมสวยงาม ปลูกเปนไมประดับใหรมเงา

ขอแนะนํา เปนไมโตชา ใบหนาแนน ระยะกลาไมตองการแสง ทนน้ําขังและทนแลง เหมาะสําหรับปลูก

รวมกับไมโตเร็วในระยะแรกโดยเฉพาะที่ราบลุมที่มีน้ําทวมถึง ชวยปองกันการพังทลายของชายตลิ่ง ขอมูลเพิ่มเติม Flora of Thailand 7(3) (2001); ไมปายืนตนของไทย 1 (เอื้อมพร และปณิธาน, 2547)

84 SW 6455-p new-G8.indd p84

10/29/56 BE 4:29 PM


ตะเกราน้ํา

Eriobotrya bengalensis (Roxb.) Hook. f. วงศ ROSACEAE

ชื่ออื่น ทางจังหวัดเลยเรียกวา เมียด สวนบุรีรัมยเรียก สีเสียดน้ํา ลักษณะวิสัย ไมตนขนาดเล็ก ไมผลัดใบ สูงไดประมาณ 10 ม. ลักษณะทางพฤกษศาสตรที่สําคัญ ใบเรียงเวียน รูปขอบขนาน ยาว 10–20 ซม. ปลายใบแหลมหรือแหลมยาว โคนใบ

รูปลิ่ม แผนใบเกลี้ยง ขอบใบจักซี่ฟนหาง ๆ เสนแขนงใบมีประมาณ 10 เสน กานใบยาว 1–2 ซม. ชอดอกแบบชอแยกแขนง ยาว 8–12 ซม. มีขนสั้นนุม ดอกจํานวนมาก กานดอกยาว 3–5 มม. กลีบเลี้ยง 5 กลีบ ขนาดเล็ก ติดทน กลีบดอกสีขาว 5 กลีบ รูปขอบขนาน ยาว 3–4 มม. โคนเรียวแคบเปนกานกลีบสั้น ๆ เกสรเพศผูมีประมาณ 20 อัน รังไขติดกึ่งใตวงกลีบ มี 2–5 ชอง ปลายมีขนยาว กานเกสรเพศเมียมี 2–3 อัน เชื่อมติดกันที่โคน ผลแบบมีเนื้อ มี 1–2 เมล็ด รูปรี ยาวไดประมาณ 1.5 ซม. เขตการกระจายพันธุ อินเดีย ปากีสถาน พมา ไทย ภูมิภาคอินโดจีน คาบสมุทรมลายู สุมาตรา บอรเนียว การกระจายพันธุและนิเวศวิทยาในประเทศไทย พบทุกภาค ขึ้นในปาเบญจพรรณ ปาดิบแลง ปาดิบเขา และปาดิบชื้น จนถึงระดับความสูงประมาณ 1,500 เมตร ติดผลเดือนธันวาคม–เมษายน ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือสวนมากพบทาง ตอนบนบริเวณลุมน้ําโขงและลุมน้ําชี โดยเฉพาะในพื้นที่สูง การขยายพันธุ เพาะเมล็ด เมล็ดสูญเสียอัตราการงอกเร็ว ไมมีขอมูลการปฏิบัติตอเมล็ดกอนนําไปเพาะ ประโยชน เนื้อไมแข็ง แตมักมีขนาดเล็ก ใชทําฟน ผลสุกเปนอาหารของสัตวปา

ขอแนะนํา เปนไมโตชา เหมาะสําหรับปลูกเปนไมชั้นรองในพื้นที่สูงรวมกับพรรณไมปาดิบเขาอื่น ๆ

ชวยดึงดูดสัตวปาเขามาในพื้นที่

ขอมูลเพิ่มเติม Flora of Thailand 2(1) (1970)

85 SW 6455-p new-G8.indd p85

10/29/56 BE 4:29 PM


ตะคร้ํา

Garuga pinnata Roxb. วงศ BURSERACEAE

ชื่ออื่น แถบจังหวัดจันทบุรีเรียก ออยน้ํา ลักษณะวิสัย ไมตนขนาดกลาง สูงไดถึง 25 ม. เปลือกแตกเปนสะเก็ด กิ่งสวนมากมีชองอากาศ ลักษณะทางพฤกษศาสตรที่สําคัญ ใบประกอบแบบขนนกปลายคี่ เรียงสลับ กานใบและแกนกลางมีขน ใบยอยมี 3–11 ใบ

เรียงตรงขาม รูปไข รูปขอบขนาน หรือรูปใบหอก ขอบจักฟนเลื่อยถี่ แผนใบคอนขางหนา ชอดอกแบบชอแยกแขนง ออกตาม ซอกใบและปลายกิ่ง ดอกจํานวนมากสีเขียวอมเหลือง กลีบเลี้ยงเชื่อมติดกันเปนรูปถวย ยาว 2.5–4 มม. ปลายแยกเปน 5 แฉก ดานนอกมีขน กลีบดอก 5 กลีบ รูปขอบขนาน ยาว 5–5.5 มม. มีขนทั้งสองดาน เกสรเพศผู 10 อัน โคนกานชูอับเรณูมีขน กาน เกสรเพศเมียสั้น จานฐานดอกจักเปนพู รังไขมีขนยาวประปราย ผลสด คอนขางกลม เวาเปนพูตื้น ๆ มี 1–5 เมล็ด เขตการกระจายพันธุ อินเดีย จีนตอนใต พมา ไทย ภูมิภาคอินโดจีน การกระจายพันธุและนิเวศวิทยาในประเทศไทย สวนมากพบทางภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ขึ้นในปา เบญจพรรณ ปาดิบแลง และบนเขาหินปูน ระดับความสูง 100–1,000 เมตร ผลแกเดือนเมษายน–พฤษภาคม ทางภาคตะวันออก เฉียงเหนือพบทางตอนบนของตนน้ําของลุมน้ําโขงและลุมน้ําชี และทางตอนลางบริเวณตนน้ําของลุมน้ํามูล ประโยชน ไมคอนขางแข็ง แตไมทนทานมากนัก ใชทําเฟอรนิเจอรคุณภาพต่ํา ผลรับประทานได ใบ ใชเลี้ยงสัตว เปนยารักษา บาดแผลและแผลมีหนอง รากและเปลือก ใชฟอกหนัง เปนยาเบื่อปลา การขยายพันธุ เพาะเมล็ด แกะเอาเนื้อออก ผึ่งใหแหงกอนนําไปเพาะ ไมมีขอมูลการปฏิบัติตอเมล็ดกอนนําไปเพาะ

ขอแนะนํา เปนไมโตชา ทรงพุมกวาง ทนแลงและทนไฟ ขึ้นไดดีทั้งที่ราบลุมและที่ลาดชัน ควรเวนระยะหาง

จากตนอื่น ๆ พอสมควร

ขอมูลเพิ่มเติม Flora of China Vol. 11 (2009); ไมตนเมืองเหนือ (ไซมอน และคณะ, 2543)

86 SW 6455-p new-G8.indd p86

10/29/56 BE 4:29 PM


ตะเคียนใบใหญ

Hopea thorelii Pierre วงศ DIPTEROCARPACEAE

ชื่ออื่น บางครั้งเรียกวา ตะเคียนหิน ลักษณะวิสัย ไมตนขนาดเล็ก สูง 10–15 ม. มักแตกกอ เปลือกเรียบสีเทาเขม มีขนกระจุกสั้นนุมและขนแข็งกระจายตามกิ่ง

ออน หูใบ ตา กานใบ และชอดอก กิ่งมีชองอากาศ ลักษณะทางพฤกษศาสตรที่สําคัญ มีหูใบรูปไขขนาดเล็ก หลุดรวงงาย ใบรูปใบหอกหรือรูปขอบขนานแกมรูปไข เบี้ยวเล็ก นอย ยาว 8–17 ซม. ปลายใบแหลมหรือแหลมยาว ปลายมนแคบๆ เสนแขนงใบขางละ 8–10 เสน เสนแขนงใบยอยแบบกึ่งขั้น บันได ชอดอกยาว 3–15 ซม. กานดอกสั้นมาก กลีบเลี้ยง 5 กลีบ เรียงซอนเหลื่อม ยาวประมาณ 2.5 มม. ปลายกลีบเปนชาย ครุย กลีบดอก 5 กลีบ บิดเวียน สีขาวอมชมพู รูปไข ยาวประมาณ 6 มม. ขอบมีขนครุย ดานนอกมีขนกระจาย เกสรเพศผู 15 อัน อับเรณูปลายมีรยางครูปเสนดาย ยาว 2–3 เทาของอับเรณู รังไขเกลี้ยง เรียวยาวเปนฐานกานเกสรเพศเมีย ยาวประมาณ 1.2 มม. กลีบเลี้ยงไมขยายเปนปกในผล กลีบเกือบกลม ยาว 7–8 มม. ผลรูปไข เกลี้ยง ยาว 2–2.5 ซม. ปลายเปนติ่งแหลม เขตการกระจายพันธุ ไทย ลาว กัมพูชา การกระจายพันธุและนิเวศวิทยาในประเทศไทย ขึ้นกระจายหางๆ ในปาดิบแลงและลานหินทรายทางภาคตะวันออก เฉียงเหนือที่จังหวัดอุบลราชธานีและอํานาจเจริญ ระดับความสูง 150–200 เมตร การขยายพันธุ เพาะเมล็ด เมล็ดคอนขางดก ไมมปี ก เก็บเมล็ดทีร่ ว งและกําลังงอกเพาะลงใสถงุ ไดทนั ที หรืออาจใชวธิ เี ก็บเมล็ด ใหม ๆ กองรวมกันคลุมดวยกระสอบปาน รดน้ําเชาเย็นจนรากงอกแลวยายลงถุง ตามภูมิปญญาของชาวบานในจังหวัดยโสธรที่ ปฏิบัติตอเมล็ดพรรณไมในวงศยาง ประโยชน เปนตนไมขนาดเล็กเนื้อแข็ง แตกกอไดดี เหมาะสําหรับใชทําถานที่มีคุณภาพ

ขอแนะนํา เปนไมโตคอนขางชา โดยเฉพาะในระยะแรก แตกกอและระบบรากแนน ใบมีขนาดใหญและ

ออกหนาแนน ปองกันการชะลางของน้ําฝนไดดี เหมาะสําหรับปลูกแทรกไมเนื้อแข็งที่มีขนาดใหญกวาใหเปน ไมเรือนยอดชั้นกลาง ขึ้นไดดีตามดินปนทรายที่ราบลุมที่ไมมีน้ําขังโดยเฉพาะบริเวณที่ราบลุมน้ําโขงตอนลาง ขอมูลเพิ่มเติม Flora Cambodge, Laos and Vietnam (Smitinand et al., 1990)

87 SW 6455-p new-G8.indd p87

10/29/56 BE 4:30 PM


ตะเคียนหิน

Hopea ferrea Laness. วงศ DIPTEROCARPACEAE

ชื่ออื่น ทางแถบจังหวัดนครราชสีมาเรียกวา ตะเคียนหนู สวนภาคตะวันออกเฉียงใตเรียก เคียนทราย ลักษณะวิสัย ไมตนขนาดเล็กถึงขนาดกลาง แตอาจสูงไดถึง 30 ม. โตชา ลําตนมักบิดงอ เปลือกแตกเปนแผนชัดเจน ลักษณะทางพฤกษศาสตรที่สําคัญ ใบออนสีน้ําตาลแดง ใบรูปไข ยาว 4–10 ซม. ปลายใบแหลมยาวหรือยาวคลายหาง

เสนแขนงใบยอยแบบขั้นบันได สวนมากมีตุมใบ ชอดอกออกสั้น ๆ ยาว 3.5–7 ซม. มีขนสั้นนุม ดอกสีขาวครีม เกือบไรกาน กลีบดอกรูปรี ยาว 2–3 มม. ขอบมีขนครุย เกสรเพศผู 15 อัน ปลายอับเรณูมีรยางครูปเสนดาย ยาวเทา ๆ อับเรณู ผลเรียวยาว รูปกระสวย ยาวประมาณ 1 ซม. มักมีชันติดอยู ปกยาว 2 ปก รูปใบพาย ยาว 3–4 ซม. ปกสั้น 3 ปก เรียวยาว ยาว 3–5 มม. เขตการกระจายพันธุ พมา ลาว กัมพูชา เวียดนาม ไทย ทางตอนบนของคาบสมุทรมลายู การกระจายพันธุและนิเวศวิทยาในประเทศไทย พบแทบทุกภาคของประเทศแตไมขึ้นเปนกลุมหนาแนน พบมากทาง ภาคตะวันออกเฉียงเหนือและตะวันออกเฉียงใต ขึ้นตามสันเขาหรือริมลําธารในปาดิบแลง ทางภาคใตสวนมากพบบนเขาหินปูน ผลแกเดือนกุมภาพันธ–เมษายน ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือกระจายหาง ๆ ทั้ง 3 ลุมน้ํา การขยายพันธุ เพาะเมล็ด เด็ดปกกอนนําไปเพาะ เก็บเมล็ดที่รวงและกําลังงอกเพาะลงใสถุงไดทันที หรืออาจใชวิธีเก็บเมล็ด ใหม ๆ ที่เปลือกยังมีสีเขียว กองรวมกันคลุมดวยกระสอบปาน รดน้ําเชาเย็นจนรากงอก เด็ดปกแลวยายลงถุง ตามภูมิปญญาของ ชาวบานในจังหวัดยโสธรที่ปฏิบัติตอเมล็ดพรรณไมในวงศยาง ประโยชน เนือ้ ไมคอ นขางแข็งแรงและทนทานตอแมลง เหมาะสําหรับใชในการกอสราง ทําเฟอรนเิ จอร ตอเรือ ชันมีกลิน่ หอม ใชในอุตสาหกรรมหลายอยาง

ขอแนะนํา เปนไมโตชามาก ระยะกลาไมตองการแสงมาก ลําตนมักคดงอ เหมาะสําหรับปลูกในพื้นที่ปาดิบ

แลงเดิมทั้งตามสันเขาและที่ราบ สามารถปลูกในดินที่แหงแลงและขาดความอุดมสมบูรณได

ขอมูลเพิ่มเติม PROSEA 5(1) (1997); Vietnam Forest Trees (Nguyen et al., 1996). Website: ARCBC BISS Species

Database

88 SW 6455-p new-G8.indd p88

10/29/56 BE 4:30 PM


ตับเตาตน

Diospyros ehretioides Wall. ex G. Don วงศ EBENACEAE

ชือ่ อืน่ ทางภาคตะวันออกเรียกวา ชิน้ กวาง เรือ้ นกวาง หรือลิน้ กวาง แถบจังหวัดนครราชสีมาเรียก มะมัง เรียกเปนภาษาอีสาน

วา เฮื้อนกวางหรือแฮดกวาง ภาษาเขมรในจังหวัดสุรินทรเรียก มาเมียง ลักษณะวิสัย ไมตนขนาดเล็ก ผลัดใบ สูงถึง 15 ม. เปลือกนอกสีเทาดํา เปลือกในสีน้ําตาลแดง ใบแกแหงสีดํา ดอกแยกเพศ ตางตน ลักษณะทางพฤกษศาสตรที่สําคัญ ใบรูปไขกวาง ยาว 10–28 ซม. ปลายใบมน โคนใบกลม มน หรือคลายรูปหัวใจ แผนใบ หนา ดานลางมีขน เสนแขนงใบขางละ 6–12 เสน ดอกเพศเพศผูออกเปนชอแบบชอกระจุก กลีบเลี้ยงและกลีบดอกมีจํานวนอยาง ละ 4 กลีบ ดอกสีครีม กลีบเลี้ยงแฉกลึกประมาณกึ่งหนึ่ง ดานนอกมีขน เกสรเพศผู 20–30 อัน รังไขลดรูปเปนกระจุกขน ดอก เพศเมียออกเดี่ยวหรือชอกระจุก ดอกยาวประมาณ 1 ซม. มีขนดานนอก รังไขมีขนนุม ไมมีเกสรเพศผูที่เปนหมัน ผลแบบมีเนื้อ หนึ่งถึงหลายเมล็ด รูปไขกวาง เสนผานศูนยกลาง 1.5–2.5 ซม. กลีบเลี้ยงแฉกลึกมากกวากึ่งหนึ่ง ปลายโคงออก ขอบกลีบไม เปนคลื่น มีเสนกลีบชัดเจน ผลแกสีแดง เมล็ดมีเอนโดสเปรมยนเปนลาย เขตการกระจายพันธุ พมา ไทย ลาว กัมพูชา การกระจายพันธุแ ละนิเวศวิทยาในประเทศไทย พบกระจายทัว่ ประเทศ ขึน้ ในทีเ่ ปดโลงยกเวนในปาดิบชืน้ ระดับความสูง 100–400 เมตร ออกดอกเดือนมีนาคมถึงพฤษภาคม เปนผลเดือนเมษายนถึงมิถุนายน ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือสวนมาก พบบริเวณตนน้ําของลุมน้ําชี และตอนลางบริเวณตนน้ําของลุมน้ํามูล การขยายพันธุ เพาะเมล็ด ควรเก็บในขณะที่ผลเริ่มแก เพื่อปองกันแมลงเจาะทําลาย ลางเปลือกออก แชน้ําประมาณ 1 คืน กอนนําไปเพาะ เชนเดียวกับการปฏิบัติตอเมล็ดกอนนําไปเพาะของพรรณไมในสกุลมะเกลือ ประโยชน เนื้อไมแข็ง ทนทาน ใชในการกอสราง ทําไมเสา ผล ใชยอมผาและเบื่อปลา

ขอแนะนํา เปนไมโตชา ในระยะกลาไมตองการแสงมาก ทนแลงและทนไฟ เหมาะสําหรับปลูกเปนไม

ชั้นรองในที่ราบลุม สามารถปลูกพรอมกับไมเบิกนําหรือไมโตเร็วได ขอมูลเพิ่มเติม Flora of Thailand 2(4) (1981)

89 SW 6455-p new-G8.indd p89

10/29/56 BE 4:30 PM


ติ้วเกลี้ยง

Cratoxylum cochinchinense (Lour.) Blume วงศ HYPERICACEAE

ชื่ออื่น กุยฉองบาง (ลําปาง), ขี้ติ้ว ติ้วใบเลื่อม (ภาคเหนือ) ลักษณะวิสัย ไมพุม ไมตนขนาดเล็กถึงขนาดกลาง บางครั้งสูงไดถึง 25 ม. เปลือกเรียบหรือแตกเปนสะเก็ดสีน้ําตาลปนแดง

มักมีหนามแข็งตามลําตนเมื่ออายุนอย

ลักษณะทางพฤกษศาสตรที่สําคัญ ใบเรียงตรงขาม รูปรี รูปใบหอก หรือแกมรูปไข ยาว 4–10 ซม. แผนใบคอนขางบาง

ใบออนสีแดงอมน้ําตาล ใบแกเปลี่ยนเปนสีแดงกอนหลุดรวง ชอดอกแบบชอกระจุก ออกสั้น ๆ ตามซอกใบหรือปลายกิ่ง มี 2–5 ดอก ดอกสีแดง กลีบเลี้ยงและกลีบดอกมีจํานวนอยางละ 5 กลีบ กลีบเลี้ยงรูปคลายพัด ยาว 5–7 มม. ปลายกลีบกลม ขยาย ในผลเล็กนอย กลีบดอกรูปไข ยาว 0.5–1 ซม. เกสรเพศผูจํานวนมาก เชื่อมติดกัน 3 มัด ยาว 4–8 มม. รังไขเกลี้ยง กานเกสร เพศเมียแยกเปน 3 แฉก ผลแบบผลแหงแตกเปน 3 ซีก รูปกระสวย แข็ง ยาว 1–1.5 ซม. กลีบเลี้ยงขยายหุมผลประมาณ 2 ใน 3 ของความยาวผล เมล็ดจํานวนมาก รูปทรงกระบอก ยาว 3–7 มม. มีปกบาง ๆ เขตการกระจายพันธุ จีนตอนใต พมา ไทย ภูมิภาคอินโดจีนและมาเลเซีย ฟลิปปนส การกระจายพันธุและนิเวศวิทยาในประเทศไทย พบทุกภาค ขึ้นตามพื้นที่โลง ปาเสื่อมโทรม และชายปา จนถึงระดับ ความสูงประมาณ 1,200 เมตร ออกดอกและเปนผลตลอดป ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือพบทั่วพื้นที่ทั้ง 3 ลุมน้ํา การขยายพันธุ เพาะเมล็ด เมล็ดมีขนาดเล็กมาก ควรใชทรายกลบแปลงเพาะ ประโยชน เนื้อไมแข็งและทนทาน ใชในการกอสราง กิ่งใชทําฟนและถาน เปลือกใชทําสียอมผา ใบออนและยอดออน รับ ประทานเปนผักสด หรือตมดื่มแกกระหาย ตนและรากผสมกําแพงเจ็ดชั้น ตมน้ําดื่มแกกระษัยเสน เปนยาระบาย ผลแหง ทําเปน เครื่องประดับ

ขอแนะนํา เปนไมโตชา ขึ้นไดดีในที่โลงแจง ระบบรากลึก ทนแลงและไฟ ชวยปองกันการพังทลายของดิน

เหมาะสําหรับพื้นที่ที่แหงแลงมาก ๆ สามารถปลูกพรอมกับไมโตเร็วหรือไมเบิกนําไดในคราวเดียวกัน

ขอมูลเพิ่มเติม Flora of China Vol. 13 (2007); พรรณไมตนของประเทศไทย (สวนพฤกษศาสตรปาไม, 2542); ไมปายืนตน

ของไทย 1 (เอื้อมพร และปณิธาน, 2547)

90 SW 6455-p edit-G8.indd p90

10/29/56 BE 5:03 PM


ตีนนก

Vitex pinnata L. วงศ LAMIACEAE (LABIATAE)

ชื่ออื่น ภาคตะวันออกเฉียงเหนือแถบจังหวัดนครราชสีมาเรียก ไขเนา เนา หรือสวองหิน สวนภาคตะวันออก เรียก โคนสมอ

กะพุน ตะพุน ตะพุนทอง ตะพรุน หรือตะพุม ลักษณะวิสยั ไมพมุ หรือไมตน ขนาดเล็กถึงขนาดกลาง สูงไดถงึ 15 ม. ลําตนมักคดงอ กิง่ ออนเปนสีเ่ หลีย่ ม มีขนสัน้ นุม ประปราย เปลือกแตกเปนสะเก็ดเล็ก ๆ เปลือกในสีเหลืองออน ลักษณะทางพฤกษศาสตรที่สําคัญ ใบประกอบแบบนิ้วมือ เรียงตรงขามสลับตั้งฉาก มี 3–5 ใบยอย รูปรีหรือรูปไข ยาว 5–22 ซม. แผนใบดานลางมีขนสั้นนุมและตอมกระจาย เสนแขนงใบยอยแบบขั้นบันได กานใบของตนออนมีครีบเล็ก ๆ ชอดอกแบบชอกระจุกแยกแขนง ออกที่ปลายกิ่งหรือซอกใบใกลปลายกิ่ง ยาว 7–20 ซม. ดอกจํานวนมาก สีมวงอมขาว กลีบเลี้ยง รูปถวย ยาว 4–6 มม. ติดทน ขยายในผลเล็กนอย ดานนอกมีขนสั้นนุม ปลายแยกเปน 5 แฉกรูปสามเหลี่ยมขนาดเล็ก กลีบดอก รูปปากเปด ยาว 1–2.5 ซม. กลีบบน 2 กลีบ กลีบลาง 3 กลีบ กลีบกลางโคงคลายเรือ โคนกลีบมีขนหนาแนน เกสรเพศผู 2 คู ยาวไมเทากัน อับเรณูสีมวงดํา ยอดเกสรเพศเมียแยกเปน 2 แฉกสั้น ผลคลายผลผนังชั้นในแข็ง กลม เสนผานศูนยกลาง 5–8 มม. สุกสีดํา มี 1–4 เมล็ด เขตการกระจายพันธุ อินเดีย ศรีลังกา บังกลาเทศ พมา ไทย ภูมิภาคอินโดจีนและมาเลเซีย การกระจายพันธุและนิเวศวิทยาในประเทศไทย พบทุกภาค พบมากทางภาคใตตามปาชายหาด ขึ้นตามปาดิบแลง ปาเบญจพรรณ และปาเต็งรัง โดยเฉพาะทีโ่ ลงริมลําธาร จนถึงระดับความสูงประมาณ 400 เมตร ออกดอกและเปนผลเกือบตลอดป ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนลางบริเวณตนน้ําของลุมน้ํามูลและลุมน้ําชี ประโยชน เนื้อไมแข็งแรง ทนทาน แตมักมีขนาดเล็ก ใชทําดามเครื่องมือ เผาถานคุณภาพสูง เปลือกและใบ แกไข แกปวดทอง ทรงพุมหนาแนนเหมาะสําหรับปลูกใหรมเงาพืชเกษตรไดดี การขยายพันธุ เพาะเมล็ด ลอกเอาเนื้อหุมออก ผึ่งใหแหง เมล็ดเก็บไวไดนาน เมล็ดตองการแสงแดดจัดในการงอก

ขอแนะนํา เปนไมโตชา แตในระยะกลาไมโตเร็ว คลายเปนไมเบิกนํา แตตองการความชุมชื้น เหมาะสําหรับ

ปลูกในสภาพพื้นที่ราบลุมใกลแหลงน้ํา พรอมกับไมโตเร็วหรือไมเบิกนําชนิดอื่น ๆ

ขอมูลเพิ่มเติม A Revision of the Genus Vitex (Lamiaceae) in Thailand (Chantaranothai, 2011). Website: AgroForestryTree

Database

91 SW 6455-p new-G8.indd p91

10/29/56 BE 4:31 PM


เต็ง

Shorea obtusa Wall. ex Blume วงศ DIPTEROCARPACEAE

ชื่ออื่น ภาคตะวันออกเฉียงเหนือสวนใหญเรียกวา จิก สวนในภาษาเขมรเรียก ประจั๊กหรือประเจิ๊ก ลักษณะวิสัย ไมตนขนาดเล็กถึงขนาดกลาง อาจโตไดถึง 30 ม. เปนไมโตชา ลักษณะทางพฤกษศาสตรที่สําคัญ กิ่งออนและใบออนมีขนรูปดาวปกคลุม ใบรูปรีหรือรูปขอบขนาน ยาว 8–15 ซม.

ปลายใบและโคนใบมน ใบแหงเปลี่ยนเปนสีเหลืองกอนหลุดรวง เสนแขนงใบขางละ 10–15 เสน หรืออาจมีไดถึง 20 เสน มักมี ตุมใบ ชอดอกออกสั้น ๆ ตามซอกใบ มีขนปกคลุม ดอกสีครีมอมเหลือง กลีบดอกรูปใบหอกแคบ ๆ ยาว 1–1.2 ซม. ดานนอก มีขน เกสรเพศผูม ปี ระมาณ 20–25 อัน ปลายอับเรณูมรี ยางคสน้ั ๆ รังไขมขี นปกคลุม ผลรูปไข ยาวประมาณ 5 มม. มีขนสัน้ นุม ปลายมีติ่งแหลม มีปกรูปใบพาย ปกยาว 3 ปก ยาว 5–6 ซม. ปกสั้น 2 ปก เรียวแคบ ยาว 1.5–3 ซม. เขตการกระจายพันธุ พมา ไทย ภูมิภาคอินโดจีน การกระจายพันธุแ ละนิเวศวิทยาในประเทศไทย ขึน้ หนาแนนในปาเต็งรังรวมกับไมวงศยางหลายชนิด เชน รัง เหียง พลวง และกราด ในปาดิบแลงพบปะปนกับไมยางนาและตะเคียนทองในบางพืน้ ที่ นอกจากนัน้ ยังพบกระจายตามปาเต็งรังผสมสนเขา จนถึง ระดับความสูงกวา 1,300 เมตร การสืบตอพันธุธ รรมชาติและแตกหนอดี ผลแกเดือนมิถนุ ายน–กันยายน ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ พบทุกพื้นที่ทั้ง 3 ลุมน้ํา การขยายพันธุ เพาะเมล็ด ใหเด็ดปกกอนนําไปเพาะ เมล็ดที่คัดเลือกแลวอัตราการงอกสูง แตถูกแมลงเจาะทําลายไดงาย เก็บ เมล็ดที่รวงและกําลังงอกเพาะลงใสถุงไดทันที หรืออาจใชวิธีเก็บเมล็ดใหม ๆ กองรวมกันคลุมดวยกระสอบปาน รดน้ําเชาเย็นจน รากงอกแลวเด็ดปกกอนยายลงถุง ตามภูมิปญญาของชาวบานในจังหวัดยโสธรที่ปฏิบัติตอเมล็ดพรรณไมในวงศยาง ประโยชน เนื้อไมแข็งและทนทาน เหมาะสําหรับการกอสรางที่ตองการความแข็งแรง สะพาน หมอนรถไฟ เลื่อย ไส ตกแตง คอนขางยากเนื่องจากเนื้อไมมีชัน ชันใชทําขี้ไต ยาทองเรือ และใชฆาเชื้อในแผลสด แกอาการปวดทองจากลําไสอักเสบและบิด เปลือก แกไขมาลาเรีย บางพื้นที่ใชเปนตนไมสําหรับปลอยครั่ง

ขอแนะนํา ตองการแสงแดดมาก ทนแลงและทนไฟไดดี แตในระยะกลาไมไมทนไฟ สามารถปลูกในสภาพ

ดินที่ขาดความอุดมสมบูรณหรือพื้นที่มีหินปะปนมาก และปลูกรวมกับไมสนสองใบในสภาพปาเต็งรังที่มีความ ชุมชื้นสูงระดับต่ํา ๆ ได ขอมูลเพิ่มเติม Flora Cambodge, Laos and Vietnam (Smitinand et al., 1990); PROSEA 5(1) (1994); Vietnam Forest

Trees (Nguyen et al., 1996). Websites: AgroForestryTree Database, ARCBC BISS Species Database

92 SW 6455-p new-G8.indd p92

10/29/56 BE 4:32 PM


เต็งหนาม

Bridelia retusa (L.) A. Juss. EUPHORBIACEAE

ชื่ออื่น ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบนเรียก ฮังหนาม ภาษาเขมรในจังหวัดสุรินทรเรียก จาลีลึกปวก ลักษณะวิสัย ไมตนขนาดเล็กถึงขนาดกลาง สูง 10–20 ม. ลําตนสวนมากมีหนามแข็ง กิ่งออนมีขนยาวหาง ๆ ดอกแยกเพศ

รวมตน

ลักษณะทางพฤกษศาสตรที่สําคัญ หูใบหลุดรวงงาย มีขนคลายเสนไหม ใบ เรียงสลับในระนาบเดียวกัน รูปรีหรือรูปไขกลับ

ยาว 6–25.5 ซม. ปลายใบมนหรือแหลม โคนใบสวนมากกลมหรือมน เสนแขนงใบจํานวนมาก เสนแขนงใบยอยแบบขั้นบันได แผนใบคอนขางหนา ดานลางมีขนสั้นนุมหรือเกลี้ยง ชอดอกแบบชอเชิงลด ออกตามปลายกิ่งหรือกิ่ง ดอกออกเปนกระจุกแนน 3–15 ดอก สีเขียวอมน้ําตาล ดอกเพศผูเสนผานศูนยกลาง 4–5 มม. ไรกาน ดอกเพศเมียขนาดใหญกวาดอกเพศผูเล็กนอย กาน ดอกยาวประมาณ 2 มม. กลีบเลี้ยง 5 กลีบ ติดทน เกสรเพศผู 5 อัน เชื่อมติดกันที่โคน กลีบดอก 5 กลีบ ยาว 1–1.5 มม. รูปราง มีหลายแบบ รังไขรูปกลม กานเกสรเพศเมีย 2 อัน โคนเชื่อมติดกัน ยอดเกสรแยกเปนแฉกตื้น ๆ ผลแบบผลผนังชั้นในแข็ง มี 1–3 ผล ตอชอกระจุก กลม แบน ๆ หรือจัก 2 พู ยาว 5–8 มม. สุกสีดํา เมล็ดกลม ๆ มีรองดานขาง ยาวประมาณ 4.5 มม. เขตการกระจายพันธุ อินเดีย ภูฏาน ศรีลังกา จีนตอนใต พมา ไทย ภูมิภาคอินโดจีน คาบสมุทรมลายู สุมาตรา การกระจายพันธุและนิเวศวิทยาในประเทศไทย พบกระจายทั่วทุกภาค ขึ้นในปาเต็งรัง ปาเบญจพรรณ ปาดิบแลง และ ทีโ่ ลงแจง ระดับความสูง จนถึงประมาณ 1,400 เมตร แตสว นมากพบในระดับต่าํ ๆ ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือพบทางตอนบน และตอนลางชวงตนน้ําของลุมน้ําทั้ง 3 ลุมน้ํา การขยายพันธุ เพาะเมล็ด ควรเพาะในที่รําไร ไมมีขอมูลการปฏิบัติตอเมล็ดกอนนําไปเพาะ ประโยชน เนื้อไมแข็ง แตไมทนทานมากนัก ใชกอสรางชั่วคราว ดามเครื่องมือเกษตร เนื้อไมมีลายดางสีเงินดูสวยงามเหมาะ สําหรับงานแกะสลัก เปลือกใหยางสีแดง ผสมกับน้ํามันงาใชทาถูแกปวดขอ น้ําตมเปลือกเปนยาฝาดสมาน กินเพื่อละลายนิ่วใน กระเพาะปสสาวะ ผลกินไดมีรสหวาน

ขอแนะนํา เปนไมโตชา แตสามารถโตคอนขางเร็วในบางพืน้ ที่ ตองการแสงมาก ดูคลายเปนไมเบิกนํา ขึน้ ไดดี

ทั้งที่ราบลุมและที่สูง สามารถปลูกพรอมกับไมโตเร็วได

ขอมูลเพิ่มเติม PROSEA 5(3) (1998); Flora of Thailand 8(1) (2005) 93 SW 6455-p new-G8.indd p93

10/29/56 BE 4:32 PM


ประคําไก

Putranjiva roxburghii Wall. วงศ EUPHORBIACEAE

ชื่ออื่น ภาคตะวันออกเฉียงเหนือแถบจังหวัดขอนแกน เรียก มักคอ ลักษณะวิสยั ไมตน ขนาดเล็ก ผลัดใบ สูงถึง 15 ม. กิง่ มักหอยลง เปลือกบางสีเทา กิง่ ออนมีขนสัน้ นุม ดอกแยกเพศอยูต า งตน

หรือมีดอกสมบูรณเพศรวมตน

ลักษณะทางพฤกษศาสตรทสี่ าํ คัญ ใบเรียงสลับในระนาบเดียวกัน รูปรีหรือรูปขอบขนาน ยาว 4–14 ซม. ปลายใบมน แหลม

หรือแหลมยาว โคนใบเรียวสอบ เบีย้ ว ขอบใบหยักมนหรือจักซีฟ ่ น เปนคลืน่ เล็กนอย เสนแขนงใบบาง ชอดอกออกเปนกระจุก ตามซอกใบ หรือบนกิ่ง บางครั้งกานชอดอกเพศผูยาว 1–3 ซม. ดอกสีเขียวอมเหลือง กานดอกสั้น กลีบเลี้ยง 4–5 กลีบ ขนาด ไมเทากัน ขอบกลีบมีขนครุย ไมมีกลีบดอก เกสรเพศผู 3 อัน ดอกเพศเมียออกเปนกระจุก 1–4 ดอก กลีบเลี้ยงสวนมากมี 5 กลีบ รังไขมีขนหนาแนน ยอดเกสรเพศเมียมี 2–3 แฉก โคงออกคลายรูปหัวลูกศร ไมติดทน ผลแบบผลผนังชั้นในแข็ง รูปไขเกือบกลม ยาว 1.5–2.7 ซม. มีขนสั้นนุม มีเมล็ดเดียว เขตการกระจายพันธุ หิมาลัยตะวันตก ศรีลังกา พมา อินโดจีน เกาะชวา หมูเกาะโมลุกกะ ปาปวนิวกินี การกระจายพันธุแ ละนิเวศวิทยาในประเทศไทย พบกระจายแทบทุกภาค ยกเวนภาคใต ขึน้ ในปาดิบแลง ปาเบญจพรรณ หรือบนเขาหินปูน มักพบตามริมลําธาร จนถึงระดับความสูงประมาณ 550 เมตร ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือพบกระจายหาง ๆ ทั้ง 3 ลุมน้ํา ประโยชน เนื้อไมคอนขางแข็ง ใชในการกอสราง เครื่องมือทางเกษตรกรรม ทั้งตนใชเขาเครื่องยา เปนยาเย็น บํารุงรางกาย แกไข ขับปสสาวะ ชาวกะเหรี่ยงใชใบทําเปนชา เมล็ดใหน้ํามันใชจุดตะเกียงได การขยายพันธุ เพาะเมล็ด ระยะเวลาในการงอก 30–100 วัน ไมมีขอมูลการปฏิบัติตอเมล็ดกอนนําไปเพาะ

ขอแนะนํา เปนไมโตคอนขางชา ในระยะกลาไมโตเร็วและตองการแสงมาก เหมาะสําหรับปลูกเปนไมชั้น

รองสําหรับฟนฟูสภาพปาที่เสื่อมโทรมในระดับต่ํา ๆ

หมายเหตุ ชื่อพอง คือ Drypetes roxburghii (Wall.) Hurus. ขอมูลเพิ่มเติม PROSEA 5(3) (1998); Flora of Thailand 8(1) (2005)

94 SW 6455-p new-G8.indd p94

10/29/56 BE 4:33 PM


ผาเสี้ยน

Vitex canescens Kurz วงศ LAMIACEAE (LABIATAE)

ชื่ออื่น แถบจังหวัดสระบุรีเรียก ขี้เห็นหรือสวองหยวก ภาคตะวันออกเฉียงเหนือแถบจังหวัดเลยเรียก จงอาง โจงอางตน หรือ

สะคางตน สวนแถบจังหวัดจันทบุรีเรียก มะกระหรือสามใบ ลักษณะวิสัย ไมตนขนาดเล็กถึงขนาดกลาง สูง 7–20 ม. เปลือกสีเทา เรียบหรือแตกเปนสะเก็ดเล็ก ๆ กิ่งออนเปนสี่เหลี่ยม มีขนหนาแนน ลักษณะทางพฤกษศาสตรที่สําคัญ ใบประกอบ มี 3–5 ใบยอย เรียงตรงขามสลับตั้งฉาก กานใบยาว 4–7 ซม. ใบรูปไข. ยาว 6–17.5 ซม. ขอบใบเรียบหรือจักหาง ๆ แผนใบมีขนและตอมสีเหลืองอมน้ําตาลหนาแนน ชอดอกแบบชอกระจุก แยกแขนงสั้น ๆ ออกที่ปลายกิ่ง ยาวไดถึง 20 ซม. แตละชอกระจุก มี 5–15 ดอก กลีบเลี้ยงรูปถวย ยาว 2–3 มม. ปลายแยกเปน 5 กลีบ รูปสามเหลี่ยมขนาดเล็ก ขยายในผล ติดทน กลีบดอกรูปปากเปด สีเหลืองอมน้ําตาล ยาว 6–6.5 มม. ดานนอกมีขนและ ตอมหนาแนน กลีบบน 2 กลีบ กลีบลาง 3 กลีบ ขอบกลีบยน ขนาดใหญกวา เกสรเพศผู สั้น 2 อัน ยาว 2 อัน โคนกานมีขน อับเรณูสีดํา ปลายกานยอดเกสรเพศเมียแยกเปน 2 แฉก ผลแบบผลผนังชั้นในแข็ง กลม เสนผานศูนยกลาง 3–7 มม. แกสีดาํ เขตการกระจายพันธุ อินเดีย จีน พมา ไทย ภูมิภาคอินโดจีน การกระจายพันธุแ ละนิเวศวิทยาในประเทศไทย พบทุกภาค ขึน้ ตามปาเต็งรัง ปาเบญจพรรณ และปาดิบแลง ระดับความสูง 100–1,200 เมตร ออกดอกชวงเดือนมีนาคม–สิงหาคม ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือพบเฉพาะทางตอนบนของลุม น้าํ ทัง้ สาม การขยายพันธุ เพาะเมล็ด นาจะมีการปฏิบัติตอเมล็ดเชนเดียวกับตีนนก (Vitex pinnata L.)

ขอแนะนํา คลาย ๆ กับตีนนก แตสามารถปลูกในพื้นที่ลาดชันและระดับความสูงมากกวา ทนแลงไดดีกวา ขอมูลเพิ่มเติม A Revision of the Genus Vitex (Lamiaceae) in Thailand (Chantaranothai, 2011)

95 SW 6455-p new-G8.indd p95

10/29/56 BE 4:33 PM


พะบาง

Mischocarpus pentapetalus (Roxb.) Radlk. วงศ SAPINDACEAE

ชื่ออื่น แถบจังหวัดเลย เรียก สมสรอยใหญ ลักษณะวิสัย ไมพุมหรือไมตนขนาดเล็กถึงขนาดกลาง สูงไดถึง 25 ม. เปลือกเรียบ สีเทาถึงสีน้ําตาล ดอกแยกเพศรวมตน ลักษณะทางพฤกษศาสตรที่สําคัญ ใบประกอบแบบขนนกปลายคู มีใบยอย 1–3 คู รูปขอบขนานหรือรูปใบหอก ยาว 5–40

ซม. ปลายใบกลมถึงเรียวแหลม โคนใบกลม แผนใบหนา ชอดอกแบบชอกระจุกแยกแขนง ออกตามซอกใบใกลปลายกิ่ง ยาวไดถึง 40 ซม. ดอกสีขาวแกมเขียวอมเหลือง กลีบเลี้ยง 5 กลีบ รูปสามเหลี่ยม ยาว 1–2 มม. โคนดานนอกมีขนละเอียด ไมมีกลีบดอก เกสรเพศผู 7–8 อัน กานชูอบั เรณูมขี นยาวประปราย ผลแบบผลผนังชัน้ ในแข็ง รูปรี 1–3 ซม. สุกสีแดง เมล็ดสีนาํ้ ตาล เปนมันวาว มีเยื่อหุมสีน้ําเงิน เขตการกระจายพันธุ อินเดีย จีนตอนใต พมา ไทย ภูมิภาคอินโดจีนและภูมิภาคมาเลเซีย จนถึงออสเตรเลีย การกระจายพันธุและนิเวศวิทยาในประเทศไทย พบทุกภาค ขึ้นตามปาดิบแลง ปาดิบเขา และปาดิบชื้น ปาเสื่อมโทรม ชายปา หรือทุงหญา ระดับความสูงจนถึงเกือบ 2,000 เมตร เปนผลเดือนเมษายนถึงธันวาคม ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือพบ ทางตอนบน และพื้นที่ตนน้ําลุมน้ํามูล ทั้งในระดับต่ํา ๆ จนถึงความสูงประมาณ 1,200 เมตร ประโยชน เนื้อไมแข็ง ใชทําเฟอรนิเจอร ผลสุกรับประทานได การขยายพันธุ เพาะเมล็ด แกะเอาเยือ่ หุม เมล็ดออกกอนนําไปเพาะ คัดเมล็ดเสียทิง้ โดยการนําไปลอยน้าํ ไมมขี อ มูลการปฏิบตั ิ ตอเมล็ดกอนนําไปเพาะ

ขอแนะนํา เปนไมโตคอนขางชา ในระยะกลาไมตอ งการแสงมาก เหมาะสําหรับปลูกในพืน้ ทีส่ งู และทีล่ าดชัน

ในพื้นที่ปาดิบแลงและปาดิบเขาที่เสื่อมโทรมทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน ขอมูลเพิ่มเติม Flora of Thailand 7(1) (1999); PROSEA 2 (1992)

96 SW 6455-p new-G8.indd p96

10/29/56 BE 4:33 PM


พะวา

Garcinia speciosa Wall. CLUSIACEAE (GUTTIFERAE)

ชื่ออื่น แถบจังหวัดหนองคายเรียกวา กวักไหมหรือหมากกวัก และสมโมงปา ลักษณะวิสัย ไมตน สูง 12–18 ม. เปลือกบาง สีดําอมเขียว มียางขาวครีม ดอกแยกเพศตางตน ลักษณะทางพฤกษศาสตรที่สําคัญ ใบเรียงตรงขาม รูปรีหรือรูปขอบขนาน ยาว 14–35 ซม. ปลายใบแหลม โคนใบรูปลิ่ม

แผนใบหนา แผนใบเกลี้ยงเปนมันวาวสองดาน เสนแขนงใบจํานวนมาก ดอกออกตามปลายกิ่ง ชอดอกเพศผูแบบชอกระจุก ดอกเพศเมียออกเดี่ยว ๆ ดอกสีเหลืองออน กลีบเลี้ยงและกลีบดอกมีจํานวนอยางละ 4 กลีบ กลีบเลี้ยงรูปไต ขยายในผล กลีบดอกคอนขางหนา รูปไขแกมรูปขอบขนาน ยาว 7–8 มม. เกสรเพศผูจํานวนมาก ไมมีเกสรเพศผูที่เปนหมันในดอกเพศเมีย กลีบเลี้ยงและกลีบดอกยาวกวาดอกเพศผูเล็กนอย ผลแบบผลสดมีหลายเมล็ด รูปไขเกือบกลม ปลายเปนติ่งแหลม ผลสุกสีแดง หรืออมมวง กลีบเลี้ยงขนาดใหญปดขั้วผล เขตการกระจายพันธุ อินเดีย พมา ไทย การกระจายพันธุและนิเวศวิทยา พบกระจายหาง ๆ ทุกภาค ขึ้นในปาดิบแลงและปาดิบชื้น โดยเฉพาะริมลําธาร จนถึง ความสูงประมาณ 1,000 เมตร เปนผลเดือนเมษายน–พฤษภาคม ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือพบกระจายหาง ๆ ทั้งตอนบน และตอนลาง การขยายพันธุ เพาะเมล็ด ไมมีขอมูลการปฏิบัติตอเมล็ดกอนนําไปเพาะ ประโยชน เนื้อไมแข็ง สีน้ําตาลแดง ใชในการกอสราง ทําดามอุปกรณตาง ๆ ผลสุกมารับประทานเปนผลไม

ขอแนะนํา เปนไมโตชา ชอบขึ้นในที่มีน้ําขังและปาพรุ เหมาะสําหรับปลูกริมลําธารเพื่อคลุมพื้นที่และ

ปองกันการพังทลายของดิน ผลสุกชวยดึงดูดสัตวปาใหเขามาในพื้นที่

ขอมูลเพิ่มเติม พรรณไมตนของประเทศไทย (สวนพฤกษศาสตรปาไม, 2542); องคความรูเรื่องพืชปาที่ใชประโยชนทางภาค

เหนือของประเทศไทย 2 (สุธรรม และคณะ, 2552)

97 SW 6455-p new-G8.indd p97

10/29/56 BE 4:33 PM


พันจํา

Vatica odorata (Griff.) Symington วงศ DIPTEROCARPACEAE

ชื่ออื่น ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือเรียกไมซีหรือเต็งดง ซึ่งเปนชื่อที่ใชเรียกไมวงศยางอื่น ๆ ดวย เชน Shorea thorelii Pierre

ex Laness. และ Vatica sp. ที่ยังไมไดรับการจําแนกชนิด ซึ่งมีลักษณะคลายพันจํา รวมไปถึง Vatica harmandiana Pierre ลักษณะวิสัย ไมตนขนาดเล็กถึงขนาดกลาง สูงไดประมาณ 25 ม. เปลือกเรียบ มีรอยดาง ชันสีอําพัน กิ่งมีขนสีน้ําตาลแดง ปกคลุม ลักษณะทางพฤกษศาสตรที่สําคัญ หูใบรูปใบหอก ยาวประมาณ 4 มม. รวงงาย ใบเรียงเวียน รูปรี รูปขอบขนาน หรือแกม รูปไขกลับ ยาว 5.5–18 ซม. ปลายใบแหลมหรือแหลมยาว โคนใบแหลมหรือมน เสนแขนงใบขางละ 8–10 (14) เสน มีเสนใบแซม กานใบยาว 0.7–2 ซม. ชอดอกยาว 2–8 ซม. กลีบดอกสีขาวหรืออมชมพู 5 กลีบ รูปใบหอกกลับ ยาว 0.9–1.2 ซม. เกสรเพศผู 15 อัน ปลายอับเรณูมีรยางคสนั้ ๆ รังไขมีขนสัน้ นุม ผลโคนแนบติดหลอดกลีบเลีย้ ง รูปรีกวาง ยาว 5–6 มม. มีขนสัน้ นุม ปลาย มีติ่งแหลม ปกยาว 2 ปก ยาว 3–6 ซม. ปกสั้น 3 ปก ยาว 0.7–1.5 ซม. เขตการกระจายพันธุ จีนตอนใต พมา ไทย ภูมิภาคอินโดจีน คาบสมุทรมลายู บอรเนียว การกระจายพันธุแ ละนิเวศวิทยาในประเทศไทย พบกระจายหาง ๆ ทุกภาค ขึน้ ตามปาดิบแลงและปาดิบชืน้ ใกลชายฝง ทะเล ระดับความสูงจนถึงประมาณ 1,100 เมตร ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือพบทุกพื้นที่ทั้ง 3 ลุมน้ําโดยเฉพาะทางตอนลาง บริเวณลุมน้ํามูล การขยายพันธุ เพาะเมล็ด เด็ดปกออกกอนนําไปเพาะ หรืออาจใชวธิ เี ก็บเมล็ดใหม ๆ กองรวมกันคลุมดวยกระสอบปาน รดน้าํ เชาเย็นจนรากงอกแลวเด็ดปกกอนยายลงถุง ตามภูมิปญญาของชาวบานในจังหวัดยโสธรที่ปฏิบัติตอเมล็ดพรรณไมในวงศยาง ประโยชน เนื้อไมแข็ง ใชในการกอสรางทั่วไป กิ่งใชทําฟน

ขอแนะนํา เปนไมโตชา เหมาะสําหรับปลูกในพื้นปาดิบแลงเดิม ทั้งที่ราบและที่ลาดชัน ตองการรมเงาใน

ระยะกลาไม ใบหนาแนน ปองกันการกัดเซาะของน้ําฝนไดดี

ขอมูลเพิ่มเติม Flora Cambodge, Laos and Vietnam 25 (Smitinand et al., 1990)

98 SW 6455-p new-G8.indd p98

10/29/56 BE 4:33 PM


มะกอกเกลื้อน

Canarium subulatum Guillaumin วงศ BURSERACEAE

ชื่ออื่น ทางภาคตะวันออกเรียก กอกกัน มะเลื่อม หรือมักเหลี่ยม ลักษณะวิสัย ไมตนขนาดเล็กถึงขนาดกลาง สูงไดถึง 25 ม. เปลือกแตกเปนสะเก็ดหรือเปนรองตามยาว สีเทา มียางใสหรือ

ขาวขุน เมื่อแหงเปนสีดํา

ลักษณะทางพฤกษศาสตรที่สําคัญ หูใบรูปลิ่มแคบ ติดเปนคูที่โคนกานใบ ใบประกอบแบบขนนกปลายคี่ เรียงเวียน ใบ

ยอยเรียงตรงขาม รูปรี รูปขอบขนาน หรือแกมรูปไข ยาว 10–18 ซม. โคนใบมนหรือตัด มักเบี้ยว ขอบใบจักฟนเลื่อยถี่ แผนใบ ดานลางเกลี้ยงหรือมีขน ชอดอกคลายชอเชิงลด ดอกขนาดเล็กสีขาวหรือครีม กลีบเลี้ยงโคนเชื่อมติดกันรูปถวย ปลายแยกเปน 3 แฉก ติดทน ดานในมีขนนุม กลีบดอก 3 กลีบ รูปขอบขนาน ยาว 7–8 มม. เกสรเพศผู 6 อัน รังไขรูปรี มี 3 ชอง แตละชองมี ออวุล 2 เม็ด ผลแบบผลผนังชั้นในแข็ง รูปรี ยาว 2.5–3.5 ซม. เมล็ดรูปกระสวย เปลือกแข็ง เขตการกระจายพันธุ จีนตอนใต พมา ไทย ภูมิภาคอินโดจีน การกระจายพันธุและนิเวศวิทยาในประเทศไทย พบแทบทุกภาคยกเวนภาคใต ขึ้นในปาเต็งรัง ปาเต็งรังผสมสนเขา และ ปาเบญจพรรณ ความสูงจากระดับน้ําทะเล 100–1,200 เมตร ติดผลเดือนมกราคม–พฤษภาคม ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ พบทั่วพื้นที่ทั้ง 3 ลุมน้ํา ประโยชน เนื้อไมแข็ง ใชในการกอสราง เครื่องมือเครื่องใช ทํากานและกลักไมขีดไฟ ผลดองหรือเชื่อม เนื้อในเมล็ดสีขาว รับประทานได การขยายพันธุ เพาะเมล็ด เมล็ดงอกงาย แกะเอาเนื้อหุมเมล็ดออกกอนนําไปเพาะ

ขอแนะนํา เปนไมโตชา ขึน้ ไดดใี นทีแ่ หงแลง ทนไฟ ตองการแสงมาก พุม ใบกวาง สามารถปลูกไดแทบทุก

สภาพพื้นที่โดยเฉพาะในที่สูงและที่ลาดชัน ยกเวนพื้นที่ที่มีน้ําทวมขัง

ขอมูลเพิ่มเติม Flora of China Vol. 11 (2009); ตนไมเมืองเหนือ (ไซมอน และคณะ, 2543)

99 SW 6455-p new-G8.indd p99

10/29/56 BE 4:34 PM


มะกายคัด

Mallotus philippensis (Lam.) Müll. Arg. วงศ EUPHORBIACEAE

ชื่ออื่น ภาคตะวันออกเฉียงเหนือเรียก ขางปอย ซาดปา และทองขาว สวนภาคตะวันออกเรียก ลายตัวผู ลักษณะวิสยั ไมพมุ หรือไมตน ขนาดเล็กถึงขนาดกลาง อาจสูงไดถงึ 25 ม. กิง่ ออนมีขนและขนรูปดาว และตอมเปนเกล็ดกระจาย

ดอกแยกเพศตางตน

ลักษณะทางพฤกษศาสตรทส่ี าํ คัญ ใบเรียงเวียน รูปรีถงึ รูปใบหอก หรือแกมรูปไข ยาว 4–22 ซม. โคนใบมีตอ มสีดาํ 2–4 ตอม

แผนใบดานลางมีขนและตอมเกล็ดหนาแนน เสนใบออกจากโคน 3 เสน กานใบยาว 1.5–5 ซม. ชอดอกคลายชอเชิงลด ออกตามซอกใบ บางครั้งแยกแขนง ชอดอกเพศผูยาวไดประมาณ 18 ซม. ดอกออกเปนกระจุก 3–4 ดอก บนแกนชอ ดอกสีเขียว ไมมีกลีบดอก ดอกบานเสนผานศูนยกลาง 2–3 มม. กลีบเลี้ยงมี 2–4 กลีบ เกสรเพศผูจํานวนมาก ชอดอกเพศเมียอาจยาวกวา ชอดอกเพศผู มักแตกแขนง ดอกสีเหลืองหรือแดง ดอกบานเสนผานศูนยกลางประมาณ 4 มม. กลีบเลีย้ ง 3–6 กลีบ รังไขมจี ดุ แดง ทั่วไป มีขนสั้นนุม กานเกสรเพศเมียแยก 3 แฉก ยอดเกสรมีปุมเล็กๆ แตกแขนง ผลแหงแตก กลมแปน หยักเปนพู ยาว 8–12 มม. สีน้ําตาลเขม มีเกล็ดสีแดงและขนสั้นนุมหนาแนน เมล็ดรูปรี ยาวประมาณ 4 มม. สีดํา เขตการกระจายพันธุ ปากีสถาน อินเดีย บังกลาเทศ ศรีลังกา ภูฏาน จีนตอนใต พมา ไทย ภูมิภาคอินโดจีนและมาเลเซีย ฟลิปปนส นิวกินี ออสเตรเลีย การกระจายพันธุและนิเวศวิทยาในประเทศไทย พบกระจายทุกภาค ขึ้นในปาเบญจพรรณ ปาดิบแลง และปาดิบเขา มัก พบตามชายปา ปาเสื่อมโทรม จนถึงระดับความสูง 1,300 เมตร ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือพบทั่วพื้นที่ทั้ง 3 ลุมน้ํา ประโยชน เนื้อไมคอนขางแข็ง แตไมทนทานมากนัก ใชในงานกอสรางชั่วคราว ทํากลอง กานไมขีด ตะเกียบ มีสรรพคุณดาน สมุนไพรหลายอยาง เชน ราก ใบ และขนผล ตํารวมกับน้ําผึ้ง ทาแกสัตวมีพิษกัดตอย แกแผลอักเสบ แกสิว ลอกฝา เปนยาระบาย ผลใชยอมสีใหสีแดง ในอินเดียใชยอมผาไหมและผาขนสัตว การขยายพันธุ เพาะเมล็ด เพาะงาย แตอัตราการงอกคอนขางต่ํามาก เนื่องจากเมล็ดมักฝอและถูกแมลงทําลายไดงาย ระยะ เวลาในการงอก 65–82 วัน

ขอแนะนํา เปนไมที่คอนขางโตชา แตกกอไดดี ตองการแสงมาก ทนแลงแตไมทนไฟ เหมาะสําหรับปลูก

ฟนฟูสภาพปาที่คอนขางแหงแลงรวมกับไมโตเร็วหรือไมเบิกนําอื่น ๆ

ขอมูลเพิ่มเติม PROSEA 3 (1992), 5(3) (1998); Flora of Thailand 8(2) (2007) 100 SW 6455-p new-G8.indd p100

10/29/56 BE 4:34 PM


มะเกลือ

Diospyros mollis Griff. วงศ EBENACEAE

ชื่ออื่น ภาคตะวันออกเฉียงใตมักเรียกเปน มักเกลือ ลักษณะวิสัย ไมตน ขนาดกลางถึงขนาดใหญ ไมผลัดใบ สูงถึง 30 ม. โตชา เปลือกนอกสีเทาดํา แตกเปนรองตามยาว เปลือกใน

สีเหลือง

ลักษณะทางพฤกษศาสตรที่สําคัญ ใบรูปรีหรือรูปขอบขนาน ยาว 4–11 ซม. ปลายใบแหลมถึงมน โคนใบมน ขอบใบมีขน

เสนแขนงใบขางละ 10–15 เสน กานใบยาว 0.5–1 ซม. มีขน ใบแกแหงสีดาํ ดอกเพศผูอ อกเปนชอกระจุกสัน้ ๆ กลีบเลีย้ งแฉกลึก ประมาณกึ่งหนึ่ง ดานนอกมีขน ดอกเพศเมียออกเดี่ยว ๆ คลายดอกเพศผูแตมีขนาดใหญกวา รังไขมีขน มี 8 ชอง เกสรเพศผูที่ เปนหมัน 8–10 อัน ผลแบบมีเนือ้ หนึง่ ถึงหลายเมล็ด เสนผานศูนยกลางประมาณ 2 ซม. สุกสีดาํ กลีบเลีย้ งทีต่ ดิ กับขัว้ ผลแฉกลึก ประมาณกึ่งหนึ่งของความยาว ปลายกลีบโคงกลับ เมล็ด เอนโดสเปรมเรียบ เขตการกระจายพันธุ พมา ไทย ลาว กัมพูชา การกระจายพันธุและนิเวศวิทยาในประเทศไทย พบทั่วประเทศยกเวนภาคใตตอนลาง ขึ้นตามที่เปดโลง ปาเบญจพรรณ และปาดิบแลง จนถึงระดับความสูงประมาณ 600 เมตร เปนผลเดือนสิงหาคม–มกราคม ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือพบ ทั่วพื้นที่ทั้ง 3 ลุมน้ํา การขยายพันธุ เพาะเมล็ด ควรเก็บในขณะที่ผลเริ่มแก เพื่อปองกันแมลงเจาะทําลาย ลางเปลือกออก แชน้ําประมาณ 1 คืน กอนนําไปเพาะ เชนเดียวกับการปฏิบัติตอเมล็ดกอนนําไปเพาะของพรรณไมในสกุลมะเกลือ ประโยชน เนื้อไมสีดํา แข็งแรง ทนทาน ทําเฟอรนิเจอร ผลใชยอมผาหรือแห แตควรใชผลสด เก็บไวไมเกิน 5 วัน ยังมีสรรพคุณ ในการถายพยาธิตัวตืด และเปลือกใชหมักเหลากลั่น

ขอแนะนํา เปนไมโตคอนขางชา ในระยะกลาไมตองการรมเงา ควรปลูกหลังจากปลูกไมโตเร็วไประยะหนึ่ง

แลว เหมาะสําหรับปลูกในพื้นที่ปาดิบแลงเดิมตามที่ลาดชัน

ขอมูลเพิ่มเติม Flora of Thailand 2(4) (1981); PROSEA 3 (1991)

101 SW 6455-p new-G8.indd p101

10/29/56 BE 4:34 PM


มะดัน

Garcinia schomburgkiana Pierre วงศ CLUSIACEAE (GUTTIFERAE)

ชื่ออื่น – ลักษณะวิสัย ไมตนขนาดเล็ก สูง 5–10 ม. เปลือกสีน้ําตาลออนถึงน้ําตาลดํา เรียบหรือแตกเปนรองตามยาว ดอกแยกเพศ

ตางตน

ลักษณะทางพฤกษศาสตรทส่ี าํ คัญ ใบเรียงตรงขาม รูปขอบขนานหรือแกมรูปไขกลับ ยาว 14.5–35.5 ซม. ปลายใบมน โคนใบ

รูปลิ่ม แผนใบหนา แผนใบเกลี้ยงเปนมันวาวสองดาน เสนแขนงใบจํานวนมาก ไมชัดเจน ใบออนสีน้ําตาลแดง ชอดอกแบบ ชอกระจุก ออกตามซอกใบ ดอกสีชมพูหรืออมแดง มีดอกเพศผูและดอกสมบูรณเพศในตนเดียวกัน กลีบเลี้ยงและกลีบดอกมี จํานวนอยางละ 4 กลีบ กลีบเลี้ยงคอนขางกลม งอเปนกระพุง ขยายในผล กลีบดอกคอนขางหนา รูปรีแกมรูปไข ยาวประมาณ 1 ซม. เกสรเพศผูจ าํ นวนมาก รังไขมี 5 ชอง ผลแบบผลสดมีหลายเมล็ด รูปกระสวย ผลสุกสีเขียวเขมเปนมัน มี 3–6 เมล็ด สวนมาก มีเมล็ดลีบทําใหผลมีลักษณะเบี้ยว เขตการกระจายพันธุ ไทย ภูมิภาคมาเลเซีย การกระจายพันธุและนิเวศวิทยาในประเทศไทย พบกระจายในทั่วทุกภาคของประเทศ ขึ้นริมลําธารหรือที่ราบลุมใกล แหลงน้าํ ในปาดิบแลง และปาบุง ปาทาม จนถึงระดับความสูงถึง 700 เมตร ออกดอกและออกผลปละ 2 ครัง้ ชวงเดือนพฤษภาคม– มิถนุ ายน และเดือนธันวาคม–มกราคม เปนผลเดือนสิงหาคม–ตุลาคม และเดือนเมษายน–มิถนุ ายน ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ พบทางตอนลางของลุมน้ํามูลและลุมน้ําโขง การขยายพันธุ เพาะเมล็ดและตอนกิ่ง เมล็ดเพาะงาย ไมมีขอมูลการปฏิบัติตอเมล็ดกอนนําไปเพาะ ประโยชน เนื้อไมคอนขางแข็ง แตมีขนาดเล็ก ใชทําดามเครื่องมือ ผลและใบออน มีรสเปรี้ยว รับประทานได นิยมทําแชอิ่ม หรือดอง มีสรรพคุณบรรเทาอาการไอ

ขอแนะนํา เปนไมโตชา ขึ้นไดดีในที่มีน้ําทวมขัง กลาไมตองการรมเงา เหมาะสําหรับปลูกใกลแหลงน้ําเพื่อ

ยึดดิน ปองกันการพังทลายของชายตลิ่งและหนาดิน ผลดึงดูดสัตวปาใหเขามาในพื้นที่

ขอมูลเพิ่มเติม Medicinal Plants in Thailand Vol. 2 (Saralamp, 1997); ตนไมยานารู (ธงชัย และนิวัตร, 2544)

102 SW 6455-p new-G8.indd p102

10/29/56 BE 4:34 PM


มะดูก

Siphonodon celastrineus Griff. วงศ CELASTRACEAE

ชื่ออื่น เรียกเปนภาษาเขมรในจังหวัดสุรินทรวา บั๊กโคก ลักษณะวิสัย ไมตนขนาดเล็กถึงขนาดกลาง สูงไดถึง 20 ม. เปลือกคอนขางเรียบ สีเทา ลักษณะทางพฤกษศาสตรที่สําคัญ ใบเรียงสลับ รูปไข รูปขอบขนาน หรือรูปใบหอก ยาว 6.5–15 ซม. แผนใบคอนขางหนา

ชอดอกออกเปนกระจุกสัน้ ๆ ทีซ่ อกใบ กานชอยาว 5–8 มม. กลีบเลีย้ งและกลีบดอกมีจาํ นวนอยางละ 5 กลีบ กลีบเลีย้ งเกือบกลม ยาว 1–2 มม. กลีบดอกรูปไข ยาว 2.2–3.5 มม. สีขาวแกมเขียว เกสรเพศผู 5 อัน ยาวประมาณ 1 มม. กานชูอบั เรณูแบน เชือ่ มติดกัน ประมาณกึ่งหนึ่ง ผลแบบผลผนังชั้นในแข็ง รูปรีหรือเกือบกลม ยาว 3–5 ซม. มีหลายเมล็ด แบน ยาวประมาณ 8 มม. เขตการกระจายพันธุ อินเดีย พมา ไทย ภูมิภาคอินโดจีนและมาเลเซีย การกระจายพันธุและนิเวศวิทยาในประเทศไทย พบกระจายทุกภาค ขึ้นในปาดิบแลง ปาดิบชื้น ปาเบญจพรรณ และ ปาเต็งรัง ริมลําธาร เขาหินปูน หรือปาที่ถูกทดแทนในระดับต่ํา ๆ ออกดอกออกผลชวงเดือนมกราคม–เดือนพฤษภาคม ทางภาค ตะวันออกเฉียงเหนือทางตอนบนของลุมน้ําชีและลุมน้ําโขง และตอนลางบริเวณตนน้ําของลุมน้ํามูล ประโยชน ไมเนื้อแข็ง ใชกอสราง ทําเสา เครื่องตกแตงภายใน เครื่องมือการเกษตร ผลสุกรับประทานได การขยายพันธุ เพาะเมล็ด ไมมีขอมูลการปฏิบัติตอเมล็ดกอนนําไปเพาะ

ขอแนะนํา เปนไมโตชา ขึ้นไดดีในที่แหงแลงทั้งที่ราบลุมและที่ลาดชัน ใบขนาดใหญออกหนาแนน ตองการ

แสงมาก เหมาะสําหรับปลูกพรอมกับไมโตเร็วหรือไมเบิกนําได

ขอมูลเพิ่มเติม Flora of Thailand 10(2) (2010); ตนไมเมืองเหนือ (ไซมอน และคณะ, 2543)

103 SW 6455-p new-G8.indd p103

10/29/56 BE 4:34 PM


มะแฟน

Protium serratum (Wall. ex Colebr.) Engl. วงศ BURSERACEAE

ชื่ออื่น ภาคตะวันออกเฉียงเหนือเรียก แฟนสมหรือสมแปน เรียกเปนภาษาเขมรทางแถบจังหวัดจันทบุรีวา สัพะตรี ลักษณะวิสัย ไมตนขนาดเล็กถึงขนาดกลาง ไมผลัดใบ สูงไดถึง 25 ม. เปลือกแตกเปนสะเก็ด ดอกแยกเพศตางตน ลักษณะทางพฤกษศาสตรที่สําคัญ ใบประกอบแบบขนนกปลายคี่ เรียงเวียน มีใบยอย 3–11 ใบ เรียงตรงขาม รูปไข รูปขอบ

ขนาน หรือรูปใบหอก ยาว 6–13 ซม. ขอบใบเรียบหรือจักฟนเลื่อยหาง ๆ แผนใบคอนขางหนา เกลี้ยงทั้งสองดาน ชอดอกแบบ ชอแยกแขนง ออกตามซอกใบและปลายกิ่ง กลีบเลี้ยงโคนเชื่อมติดกันเปนรูปถวย ยาวไมเกิน 1 มม. ปลายแยกเปน 5 แฉกขนาด เล็ก มีขนดานนอก กลีบดอก 5 กลีบ รูปขอบขนาน ยาว 1.5–2 มม. มีขนทั้งสองดาน เกสรเพศผู 10 อัน จานฐานดอกคลาย เบาะ ยอดเกสรเพศเมียหยักเปนพู ผลแบบผลผนังชั้นในแข็ง มี 2–3 เมล็ด ผลแกสีน้ําตาลดํา เขตการกระจายพันธุ อินเดีย จีนตอนใต พมา ไทย ภูมิภาคอินโดจีน การกระจายพันธุและนิเวศวิทยาในประเทศไทย พบกระจายแทบทุกภาค ยกเวนภาคใต ขึ้นในปาเบญจพรรณ ปาเต็งรัง ปาดิบแลง และปาดิบชื้น ระดับความสูง 100–1,000 เมตร ออกดอกออกผลชวงเดือนมกราคมถึงเดือนเมษายน ทางภาคตะวัน ออกเฉียงเหนือสวนมากพบทางตอนบนของลุมน้ําชีและบริเวณตนน้ําของลุมน้ํามูล ประโยชน ไมเนื้อแข็ง ใชในการกอสราง เฟอรนิเจอร ใชเลี้ยงครั่งไดดี ผลรับประทานได การขยายพันธุ เพาะเมล็ด ลางเอาเยื่อหุมเมล็ดออก ไมมีขอมูลการปฏิบัติตอเมล็ดกอนนําไปเพาะ

ขอแนะนํา เปนไมโตชา ขึ้นไดดีทั้งที่แหงแลงและที่ชุมชื้น ทั้งที่ราบลุมและพื้นที่สูง กลาไมตองการรมเงา

เหมาะสําหรับปลูกหลังจากที่ปลูกไมโตเร็วเพื่อใหรมเงาแลว ผลดึงดูดสัตวปาเขามาในพื้นที่ ขอมูลเพิ่มเติม ตนไมเมืองเหนือ (ไซมอน และคณะ, 2543)

104 SW 6455-p new-G8.indd p104

10/29/56 BE 4:35 PM


มะมวงปา

Mangifera caloneura Kurz วงศ ANACARDIACEAE

ชื่ออื่น – ลักษณะวิสัย ไมตน ไมผลัดใบ ขนาดใหญ สูงถึง 20 ม. เรือนยอดรูปไข ลําตนเปลาตรง เปลือกนอกเมื่อออนสีน้ําตาลปนเขียว เมื่อแกสีเทา มีน้ํายางใส ลักษณะทางพฤกษศาสตรทส่ี าํ คัญ ใบเรียงเวียน รูปขอบขนานหรือรูปหอก กวาง 3.5–8 ซม. ยาว 10–22 ซม. ปลายเรียวแหลม

หรือมน โคนรูปลิ่มหรือมน ขอบเรียบ แผนใบหนา เสนแขนงใบดานละ 15–22 เสน กานใบ ยาว 2.5–4 ซม. บวมที่โคน ชอดอก แบบแยกแขนง ออกทีป่ ลายกิง่ หรือซอกใบ ยาวไดถงึ 25 ซม. มีขนสัน้ หนานุม ปกคลุม กลีบเลีย้ ง 5 กลีบ ยาว 2 มม. มีขน กลีบดอก 5 กลีบ รูปหอก ยาว 4 มม. เกสรเพศผูที่ไมเปนหมัน 5 อัน ขอบจานฐานดอกหยักเวา 5 พู กานเกสรเพศเมียติดดานขาง ผลแบบผนังชัน้ ในแข็ง รูปรี ปลายผลเปนจะงอย สุกสีเหลืองอมเขียว ยาว 4–7 ซม. เนือ้ ผลออนรสเปรีย้ ว มีกลิน่ คลายน้าํ มันยางสน ผลสุกรสหวาน กลิ่นหอม เขตการกระจายพันธุ พมา ไทย การกระจายพันธุแ ละนิเวศวิทยาในประเทศไทย พบทุกภาค ขึน้ ตามปาเบญจพรรณ และปาดิบแลง เปนผลเดือนเมษายน– พฤษภาคม ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือพบทั่วพื้นที่ทั้ง 3 ลุมน้ํา ประโยชน เนื้อไมแข็ง ทนทาน ลวดลายสวยงาม ใบออนใชเปนผักสด การขยายพันธุ เพาะเมล็ด แกะเนื้อออกกอนนําเมล็ดไปเพาะ ไมมีเทคนิคพิเศษในการปฏิบัติตอเมล็ดกอนนําไปเพาะ

ขอแนะนํา เปนไมโตชา ในระยะกลาไมตองการแสงมาก ควรปลูกไปพรอมกับไมโตเร็วหรือไมเบิกนํา ไดทรง

พุมกวาง จึงควรเวนระยะหางพอสมควร

ขอมูลเพิ่มเติม Flora of Thailand 10(3) (2010); ตนไมเมืองเหนือ (ไซมอน และคณะ, 2543)

105 SW 6455-p new-G8.indd p105

10/29/56 BE 4:35 PM


มะมวงหัวแมงวัน

Buchanania lanzan Spreng. วงศ ANACARDIACEAE

ชื่ออื่น – ลักษณะวิสัย ไมยืนตน สูง 20 ม. เปลือกตนสีเทาเขม แตกเปนชองสี่เหลี่ยมแคบ ๆ และลึก เปลือกชั้นในสีชมพู มีน้ํายางใสที่

ไมมีพิษ กิ่งออนมีขนอุยสีน้ําตาลเขม

ลักษณะทางพฤกษศาสตรที่สําคัญ ใบเดี่ยว รูปรี รูปขอบขนาน หรือแกมรูปไขกลับ ยาว 15–25 ซม. ปลายมนหรือติ่งมน

โคนแหลมหรือมน ใบออนมีขนสีนาํ้ ตาลอมแดง ใบแกแข็งและเหนียว แผนใบดานลางมีขนตามเสนแขนงใบ เสนแขนงใบขางละ 10–17 เสน ชอดอกแบบชอแยกแขนง ออกที่ปลายกิ่งหรือตามซอกใบใกลปลายกิ่ง ดอกสีขาว กานดอกมีขนสีน้ําตาลหนาแนน กลีบเลี้ยง 4–5 กลีบ กวางประมาณ 3 มม. ยาวประมาณ 2 มม. ขยายในผลเล็กนอย ติดทน กลีบดอก 4–5 กลีบ รูปขอบขนาน ยาวประมาณ 4 มม. เกสรเพศผู 8–10 อัน รังไขมีขนสั้นนุม กานเกสรเพศเมียสั้น ติดทน ผลแบบผลผนังชั้นในแข็ง รูปไข เบี้ยว ยาวประมาณ 1 ซม. สุกสีมวง มีเมล็ดเดียว เขตการกระจายพันธุ อินเดีย พมา ไทย ลาว เวียดนาม การกระจายพันธุและนิเวศวิทยาในประเทศไทย พบทางภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคตะวันตกเฉียงใต ขึ้นตามปาเบญจพรรณ และปาเต็งรัง ระดับความสูงจนถึงประมาณ 500 เมตร เปนผลระหวางเดือนมีนาคม–พฤษภาคม ทางภาค ตะวันออกเฉียงเหนือพบทั่วพื้นที่ทั้ง 3 ลุมน้ํา ประโยชน เนื้อไมแข็ง ใชในการกอสราง น้ํามันจากเมล็ดมีสีเหลืองออน ลักษณะใกลเคียงกับน้ํามันมะกอก การขยายพันธุ เพาะเมล็ด ไมมีขอมูลการปฏิบัติตอเมล็ดกอนนําไปเพาะ

ขอแนะนํา เปนไมโตชา ขึ้นไดดีในที่แหงแลง ตองการแสงมาก เหมาะสําหรับปลูกฟนฟูสภาพพื้นที่ที่แหงแลง

โดยเฉพาะปาเต็งรังที่เสื่อมโทรม

ขอมูลเพิ่มเติม Flora of Thailand 10(3) (2010)

106 SW 6455-p new-G8.indd p106

10/29/56 BE 4:35 PM


มะมุน

Elaeocarpus serratus L. วงศ ELAEOCARPACEAE

ชื่ออื่น – ลักษณะวิสัย ไมตนขนาดกลาง ไมผลัดใบ สูงถึง 25 ม. เรือนยอดโปรง เปลือกนอกสีน้ําตาลเทา คอนขางเรียบ กิ่งออนมีขน

ปกคลุม

ลักษณะทางพฤกษศาสตรที่สําคัญ ใบรูปขอบขนานหรือรูปใบหอก ยาว 10–17 ซม. ปลายใบแหลมหรือมน ขอบใบจัก

ละเอียด ใบแกกอนรวงสีแดง เสนแขนงใบขางละ 8–13 เสน โคงจรดกันกอนถึงขอบใบ ชอดอกแบบชอกระจะ ออกที่กิ่ง กาน ชอยาว 6–10 ซม. ดอกสีขาว กานดอกยอยยาวประมาณ 1 ซม. มีขน กลีบเลี้ยงและกลีบดอกมีจํานวนอยางละ 5 กลีบ กลีบเลี้ยง ดานนอกมีขน กลีบดอกสีขาว รูปไขแกมขอบขนาน ยาว 1–2 ซม. ดานนอกมีขนยาว ปลายกลีบจักเปนครุยยาวประมาณกึ่งหนึ่ง ของความยาวกลีบดอก เกสรเพศผูจ าํ นวนมาก ยาวประมาณ 8 มม. มีขนประปราย ปลายเปนหนามแข็ง รังไขมขี นยาวประปราย จานฐานดอกจัก 5 พู ผลแบบผลผนังชั้นในแข็ง รูปรี ยาว 2.5–3.8 ซม. มี 2–5 เมล็ด เขตการกระจายพันธุ อินเดีย เนปาล พมา ไทย กัมพูชา อินโดนีเซีย ออสเตรเลีย การกระจายพันธุและนิเวศวิทยาในประเทศไทย พบทั่วประเทศ ขึ้นตามปาดิบชื้น ดิบแลง และปาดิบเขา ระดับความสูง 600–900 เมตร เปนผลเดือนมิถุนายน–กันยายน ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือพบบริเวณพื้นที่ตนน้ําลุมน้ําชีและลุมน้ํามูล ประโยชน เนือ้ ไมคอ นขางแข็งแตไมทนทาน ใชในงานกอสรางชัว่ คราว ทรงพุม สวยงามเหมาะสําหรับปลูกเปนไมประดับในสวน สาธารณะและสองขางถนน ผลมีสรรพคุณดานสมุนไพรแกทอ งเสีย ในศรีลงั กานําผลไปดองจิม้ เกลือขายทัว่ ไป หรือบดทํามัสตารด เปนเครื่องเคียงในอาหารพื้นเมือง การขยายพันธุ เพาะเมล็ดและปกชํา นาจะใชการปฏิบัติตอเมล็ดกอนนําไปเพาะเชนเดียวกับพรรณไมในสกุลมะมุนอื่น ๆ คือ ควรนําผลไปแชน้ํา 1 คืน ลางเอาเปลือกออก ขลิบใหเกิดแผล แลวนําไปแชน้ําอีก 1 คืน เมล็ดมีอัตราการงอกคอนขางต่ํา ใชเวลา ในการเพาะนาน ควรคัดเมล็ดที่มีคุณภาพและแกจัด การปกชําอาจทําไดรวดเร็วกวา

ขอแนะนํา เปนไมโตชา แตในระยะกลาไมโตคอนขางเร็ว กลาไมตองการแสงมาก เหมาะสําหรับสภาพพื้นที่

สูงหรือที่ลาดชัน สามารถปลูกพรอมไมโตเร็วได ผลชวยดึงดูดสัตวปาเขามาในพื้นที่ไดดี

ขอมูลเพิ่มเติม Flora of Thailand 2(4) (1981); ปลูกใหเปนปา แนวคิดและแนวปฏิบตั สิ าํ หรับการฟน ฟูปา เขตรอน (Elaeocarpus

lanceifolius Roxb.) (หนวยวิจัยการฟนฟูปา, 2549)

107 SW 6455-p new-G8.indd p107

10/29/56 BE 4:35 PM


มะหวด

Lepisanthes rubiginosa (Roxb.) Leenh. วงศ SAPINDACEAE

ชื่ออื่น ภาคกลางเรียก กะซ่าํ หรือกําซํา ภาคตะวันออกเฉียงใต เรียก ชันรู มะหวดบาท หรือ มะหวดลิง สวนภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

เรียก มะหวดปาหรือหวดคา ลักษณะวิสัย ไมพุมหรือไมตนขนาดเล็ก สูงไดถึง 16 ม. เปลือกเรียบ สีเทาถึงสีน้ําตาล กิ่งมีขนยาวสีน้ําตาลแดงหนาแนน เรือนยอดกลมหรือรี ลักษณะทางพฤกษศาสตรที่สําคัญ ใบประกอบแบบขนนกปลายคู มีใบยอย 3–6 คู รูปไข ยาว 5–30 ซม. แผนใบมีขนยาว ทั้งสองดาน ชอดอกแบบชอแยกแขนง ยาวประมาณ 50 ซม. มีกลิ่นหอม ดอกสีขาวอมเหลือง กลีบเลี้ยงรูปไขกวางเกือบกลม ยาว 1.2–3 มม. กลีบดอก 4–5 กลีบ รูปไขกลับ ยาว 2–4 มม. มีกานกลีบสั้น ๆ ปลายกานมีเกล็ดและมีสัน 2 สัน รูปคลายกระบอง ปลายมีขนยาว จานฐานดอกเปนวง เกสรเพศผู 8 อัน ผลแบบผลผนังชั้นในแข็ง แยกเปน 2 พู รูปรี ยาว 0.8–1.3 ซม. สีเขียว เปล่ียนเปนสีแดงและดํา เกลี้ยง เมล็ดสีน้ําตาล เขตการกระจายพันธุ อินเดีย จีนทางตอนใต ไทย ภูมิภาคอินโดจีนและมาเลเซีย ออสเตรเลีย การกระจายพันธุและนิเวศวิทยาในประเทศไทย พบทุกภาค ขึ้นตามปาผลัดใบ ดิบแลง ชายปา ริมลําธารระดับความสูง 300–1,200 เมตร เปนผลเดือนเมษายนถึงตุลาคม ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือสวนมากพบทางบริเวณตนน้ําของพื้นที่ทั้ง 3 ลุมน้ํา ประโยชน เนื้อไมแข็ง ใชในการกอสราง ทําเครื่องมือการเกษตร ใบออนกินเปนผัก ผลสุกมีรสหวานรับประทานเปนผลไม เปน ยาสมานแผล แกไขรากสาด แกปวดมวนในทอง เปลือกตน แกบิดมูกเลือด รากแกไข ไขฝภายใน การขยายพันธุ เพาะเมล็ด ไมมีขอมูลการปฏิบัติตอเมล็ดกอนนําไปเพาะ

ขอแนะนํา เปนไมโตคอนขางชา ขึ้นงาย ทนความแหงแลงไดดี เปนไมขนาดเล็ก เหมาะสําหรับปลูกเปนไม

ชั้นรอง เปนไมที่มีประโยชนหลายอยาง ผลสุกชวยดึงดูดสัตวปาเขามาในพื้นที่

ขอมูลเพิ่มเติม Flora of Thailand 7(1) (1999); Flora of China Vol. 12 (2007); องคความรูเรื่องพืชปาที่ใชประโยชนทางภาค

เหนือของไทย เลม 2 (สุธรรม และคณะ, 2552); ไมอเนกประสงคกินได (สุรีย และอนันต, 2540); ไมปายืนตนของไทย 1 (เอื้อมพร และปณิธาน, 2547)

108 SW 6455-p new-G8.indd p108

10/29/56 BE 4:35 PM


เมาชาง

Antidesma bunius (L.) Spreng. วงศ EUPHORBIACEAE

ชื่ออื่น ทางภาคตะวันออกแถบจังหวัดจันทบุรีเรียก เมาชาง หรือแมงเมาควาย ลักษณะวิสัย ไมตนขนาดกลางถึงขนาดใหญ สูงถึง 30 ม. โคนตนมักมีพูพอน ดอกแยกเพศตางตน ลักษณะทางพฤกษศาสตรที่สําคัญ ใบเรียงเวียน รูปรีถึงรูปขอบขนาน ยาว 5–32 ซม. ปลายใบเรียวแหลม แผนใบหนา ชอ

ดอกแบบชอกระจะออกตามซอกใบ ไมมีกลีบดอก ชอดอกเพศผูยาว 6–25 ซม. มักแยกแขนง ดอกไรกาน กลีบเลี้ยง 3–5 กลีบ รูปรีกวาง ยาวประมาณ 1 มม. จานฐานดอกรูปวงแหวนหรือจักเปนพู เกสรเพศผู 3–5 อัน เกสรเพศเมียเปนหมันรูปกระบอง ชอ ดอกเพศเมียสั้นกวาชอดอกเพศผู ไมแยกแขนง กานดอกยาว 0.5–2 มม. กลีบเลี้ยงมี 3 กลีบ คลายดอกเพศผู รังไขเกลี้ยง ยอด เกสรเพศเมียแยกเปน 3–4 หรือ 6 แฉก ติดทน ผลรูปรี แบนดานขาง ยาว 0.5–1 ซม. เมล็ดสีดํา เขตการกระจายพันธุ อินเดีย ศรีลังกา จีนตอนใต ภูมิภาคอินโดจีน คาบสมุทรมาเลเซีย นิวกินี ประเทศในหมูเกาะมหาสมุทร แปซิฟก การกระจายพันธุและนิเวศวิทยาในประเทศไทย พบกระจายหาง ๆ ทางภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาค ตะวันออกเฉียงใต และภาคตะวันตกเฉียงใต ขึน้ ในปาเต็งรัง ปาเบญจพรรณ ปาดิบแลง และปาดิบเขา มักพบตามชายปา ริมลําธาร จนถึงระดับความสูงประมาณ 2,100 เมตร ผลแกเดือนสิงหาคม–กันยายน ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือพบทัว่ พืน้ ทีท่ ง้ั 3 ลุม น้าํ ประโยชน ไมเนื้อคอนขางแข็ง ใชในการกอสรางชั่วคราว ดามเครื่องใช ผลเปนอาหารของสัตวปา นิยมปลูกเพื่อรับประทาน ผลหรือนําไปหมักทําไวน การขยายพันธุ เพาะเมล็ด ปกชํา ติดตา หรือทาบกิ่ง เมล็ดกอนนําไปเพาะใหแชกรดซัลฟวริก 15 นาที แลวแชในน้ํา 1 วัน อัตราการงอกคอนขางสูง ใชเวลา 30–60 วัน

ขอแนะนํา เปนไมคอนขางโตชา ระยะกลาไมตองการแสงมาก เหมาะสําหรับพื้นที่ราบลุมและพื้นที่สูง

สามารถปลูกพรอมไมโตเร็วและไมเบิกนําได ผลชวยดึงดูดสัตวปาเขามาในพื้นที่ไดดี ขอมูลเพิ่มเติม PROSEA 5(3) (1998); Flora of Thailand 8(1) (2005)

109 SW 6455-p new-G8.indd p109

10/29/56 BE 4:35 PM


โมกมัน

Wrightia arborea (Dennst.) Mabb. วงศ APOCYNACEAE

ชื่ออื่น – ลักษณะวิสัย ไมพุมหรือไมตนขนาดเล็กถึงขนาดกลาง สูงไดประมาณ 20 ม. กิ่งออนมีขนสั้นนุมและมีชองอากาศ ทุกสวนมี

ยางสีขาว

ลักษณะทางพฤกษศาสตรทส่ี าํ คัญ ใบรูปรีหรือรูปขอบขนาน ยาว 6–17 ซม. ปลายใบแหลมยาว โคนใบรูปลิม่ หรือมน แผนใบ

มีขนสั้นนุมทั้งสองดาน กลีบเลี้ยง 5 กลีบ รูปไข ยาว 1–3 มม. โคนกลีบดานในมีแผนเปนเกล็ด กลีบดอกสีเขียวออน ขาว หรือ อมเหลือง หลอดกลีบดอก ยาว 3–6.5 มม. ปลายแยกเปน 5 แฉก รูปขอบขนาน ยาว 0.7–1.5 ซม. มีขนสั้นนุมดานนอก มีกระ บังรอบปากหลอดกลีบดอก มีขนสั้นนุมดานนอก เกสรเพศผู 5 อัน อับเรณูรูปหัวลูกศรติดแนบกับยอดเกสรเพศเมีย ผลเปนฝก แตกแนวเดียว 1 คู เชื่อมติดกัน หอยลง เกลี้ยง มีชองอากาศกระจาย เมล็ดมีกระจุกขนที่ปลายดานหนึ่ง เขตการกระจายพันธุ อินเดีย ศรีลังกา จีนตอนใต พมา ไทย ลาว การกระจายพันธุและนิเวศวิทยาในประเทศไทย พบทางภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคตะวันตกเฉียงใต ขึ้นตามพื้นที่ที่ถูกแผวถาง ทุงหญา ปาผลัดใบ และชายปาดิบแลง ออกดอกเดือนกันยายนถึงเมษายน ผลแกเดือนมีนาคมถึงเดือน พฤษภาคม ระดับความสูงจนถึงประมาณ 1,500 เมตร ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือพบกระจายทั่วพื้นที่ทั้ง 3 ลุมน้ํา ประโยชน เนื้อไมคอนขางแข็ง สีขาวนวล สวยงาม ใชทําเฟอรนิเจอร เครื่องมือเครื่องใชขนาดเล็ก ในประเทศอินเดียเนื้อไมใช ทําดินสอ การขยายพันธุ เพาะเมล็ด กิง่ หรือรากปกชําหรือตอนกิง่ เมล็ดเพาะงาย ไมมเี ทคนิคพิเศษในการปฏิบตั ติ อ เมล็ดกอนนําไปเพาะ เมล็ดเบา ปลิวงาย ควรใชทรายกลบในแปลงเพาะ ขอควรระวัง ใบเกิดโรคราสนิมไดงาย

ขอแนะนํา เปนไมโตคอนขางชา ขึ้นไดดีในที่โลง ที่แหงแลง ตองการแสงมาก คลายไมเบิกนํา ใบหนาแนน

สามารถปลูกพรอมไมโตเร็วและไมเบิกนําไดทั้งในที่ราบลุมและพื้นที่สูง ขอมูลเพิ่มเติม Flora of Thailand 7(1) (1999)

110 SW 6455-p new-G8.indd p110

10/29/56 BE 4:38 PM


ยอเถื่อน

Morinda elliptica Ridl. วงศ RUBIACEAE

ชื่ออื่น – ลักษณะวิสัย ไมตน สูง 5–15 ม. ลําตนมักคดงอ เปลือกนอกสีน้ําตาลแดง แตกเปนรอง ลักษณะทางพฤกษศาสตรทสี่ าํ คัญ หูใบรวมติดระหวางโคนกานใบ ใบเรียงตรงขาม รูปรี ยาว 10–20 ซม. ปลายใบแหลม

หรือมน โคนใบเรียวสอบเขาหากานใบ สวนมากเบี้ยว แผนใบเกลี้ยงทั้งสองดาน กานใบยาวประมาณ 1 ซม. ชอดอกแบบ ชอกระจุกแนน ออกตามซอกใบ ดอกจํานวนมาก กลีบเลีย้ งเชือ่ มติดกันเปนหลอด ปลายแยก 5 แฉกตืน้ ๆ หรือตัด เกสรเพศผู 5 อัน ติดภายในใกลปากหลอดกลีบดอก รังไขเชื่อมติดกัน กานเกสรเพศเมียแยกเปน 2 แฉก ผลรวม ผลยอยเชื่อมติดกัน รูปคอนขาง กลมถึงรูปไข สุกสีดํา แตละผลยอยมี 1 เมล็ด เขตการกระจายพันธุ พมา ไทย คาบสมุทรมลายู การกระจายพันธุและนิเวศวิทยาในประเทศไทย สวนมากพบทางภาคตะวันออกเฉียงใตและภาคใต ขึ้นตามชายปาดิบ แลง และปาดิบชื้น ระดับความสูงไมเกิน 300 เมตร เปนผลเดือนพฤษภาคม–สิงหาคม ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือพบทาง ตอนลางบริเวณลุมน้ํามูล ประโยชน เนื้อไมใชทําเครื่องแกะสลัก หรือดามเครื่องมือ รากใชแกเบาหวาน ใชยอมผาใหมีสีเหลือง แกนตมน้ําดื่มบํารุงเลือด ใบตําพอกศีรษะฆาเหา การขยายพันธุ เพาะเมล็ด ไมมีขอมูลการปฏิบัติตอเมล็ดกอนนําไปเพาะ

ขอแนะนํา เปนไมขนาดเล็ก กลาไมตองการแสงมาก ทนแลงและทนไฟ ใบหนาแนน เหมาะสําหรับปลูก

คลุมดินรวมกับไมโตเร็วหรือไมเบิกนําได โดยเฉพาะในที่ราบลุมในระดับต่ํา ๆ ขอมูลเพิ่ม ไมปายืนตนของไทย 1 (เอื้อมพร และปณิธาน, 2547)

111 SW 6455-p new-G8.indd p111

10/29/56 BE 4:38 PM


ยางกราด

Dipterocarpus intricatus Dyer วงศ DIPTEROCARPACEAE

ชื่ออื่น เรียกในภาษาอีสานวา กราด ชาดหรือซาด ภาษาเขมรแถบจังหวัดสุรินทรเรียก จิก ชะแบง ตะแบง กราย หรือตรายด ลักษณะวิสัย ไมตนขนาดเล็กถึงขนาดกลาง สูงไดถึง 20 ม. บางครั้งสูงไดเกือบ 30 ม. เปลือกแตกเปนรองลึกตามยาว ลักษณะทางพฤกษศาสตรทสี่ าํ คัญ สวนตาง ๆ มีขนกระจุกรูปดาวทัว่ ไปตามกิง่ ออน หูใบ แผนใบดานลาง กานใบ และ

ชอดอก ใบรูปไขหรือแกมรูปขอบขนาน ยาว 10–25 ซม. พับจีบ เสนแขนงใบเปนเสนตรง มี 10–15 เสนในแตละขาง โคนใบเวา รูปหัวใจตื้น ๆ ชอดอกมีกาบหุม ดอกบิดเวียนมี 5 กลีบ เกสรเพศผูมีประมาณ 30 อัน ปลายอับเรณูมีรยางค ผลมีปกยาว 2 ปก รูปใบพาย ยาว 6–7 ซม. ปกสั้นรูปรี ยาวประมาณ 1 ซม. หลอดกลีบเลี้ยงพับจีบเปนคลื่น ปกออนสีแดงสด เขตการกระจายพันธุ ไทย ภูมิภาคอินโดจีน การกระจายพันธุแ ละนิเวศวิทยาในประเทศไทย พบมากทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนลาง ขึน้ ตามทีร่ าบและทีม่ นี า้ํ ทวมขังโดยเฉพาะบนดินลูกรังและดินทราย ขึน้ หนาแนนหรือกระจัดกระจายในปาเต็งรังรวมกับไมวงศยางทีผ่ ลัดใบอืน่ ๆ และรอย ตอระหวางปาดิบแลงและปาสนสองใบในระดับต่ํา ๆ จนถึงระดับความสูงประมาณ 400 เมตร ผลแกเดือนเมษายน–พฤษภาคม การสืบตอพันธุตามธรรมชาติคอนขางดี โดยเฉพาะการแตกหนอ ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือพบทั่วไปทุกพื้นที่ทั้ง 3 ลุมน้ํา การขยายพันธุ เพาะเมล็ด ใหเด็ดปกกอนนําไปเพาะ หรืออาจใชวิธีเก็บเมล็ดใหม ๆ กองรวมกันคลุมดวยกระสอบปาน รดน้ํา เชาเย็นจนรากงอกแลวเด็ดปกกอนยายลงถุง ตามภูมิปญญาของชาวบานในจังหวัดยโสธรที่ปฏิบัติตอเมล็ดพรรณไมในวงศยาง ขอควรระวัง เมล็ดมักถูกแมลงพวกดวงเจาะไชไดงาย ประโยชน เปนไมเนื้อแข็งปานกลาง ใชประโยชนในการกอสรางและเครื่องมือเกษตรกรรมที่ไมตองการความแข็งแรงมากนัก ชันใชทําขี้ไตคุณภาพดี ดอกออน รส ฝาดเปรี้ยว รับประทานสดกับน้ําพริก

ขอแนะนํา เปนไมโตชา แตในบางพื้นที่โตคอนขางเร็ว กลาไมตองการรมเงาในระยะแรก เหมาะสําหรับปลูก

พื้นที่ราบลุมทั่วไปและพื้นที่ที่มีน้ําทวมขังในฤดูน้ําหลาก ยึดเกาะหนาดินไดดี สามารถปลูกผสมผสานกับไมวงศ ยางที่ผลัดใบหลายชนิดไดดีทั้ง กระบาก พะยอม เหียง และพลวง และพรรณไมปาดิบแลงและปาเต็งรังอื่น ๆ ทั้งไมโตชาและโตเร็ว

ขอมูลเพิ่มเติม Flora of Laos, Cambodiia and Vietnam (Smitinand et al., 1990); การจัดการเพาะชํากลาไมคุณภาพ

(กรมปาไม, 2542)

112 SW 6455-p new-G8.indd p112

10/29/56 BE 4:39 PM


ยางพลวง

Dipterocarpus tuberculatus Roxb. วงศ DIPTEROCARPACEAE ชือ่ อืน่ ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือมักเรียกวา กุง สวนในภาษา

เขมรเรียกวา คลง คลอง คลุง หรือโคลง ลักษณะวิสัย ไมตนขนาดกลางถึงขนาดใหญ สูงไดถึง 30 ม. ลักษณะทางพฤกษศาสตรที่สําคัญ หูใบสีชมพูอมน้ําตาล ยาว 7–10 ซม. ใบขนาดใหญโดยเฉพาะในกลาไมอาจยาวไดกวา 70 ซม. รูปรี ปลายใบแหลม โคนใบรูปหัวใจ มีเสนแขนงใบขางละ 9–16 เสน เกลี้ยงหรือมีขนรูปดาวประปรายดานลาง ชอดอกยาว 5–15 ซม. กลีบดอก 5 กลีบ บิดเวียน รูปใบหอกหรือรูปเคียว ยาว 2.5–3 ซม. เกสรเพศผูมีประมาณ 30 อัน ปลายมีรยางค ผลมีปก ยาว 2 ปก รูปใบพาย ยาว 9–15 ซม. หรืออาจยาวไดถึง 20 ซม. ปกสั้น 2 ปก รูปรีกวาง ยาว 1.5–2 ซม. ขอบมวนเขา หลอดกลีบ ชวงบน มี 5 สัน เขตการกระจายพันธุ พมา ไทย ภูมิภาคอินโดจีน การกระจายพันธุและนิเวศวิทยาในประเทศไทย ขึ้นเปน กลุมหนาแนนหรือกระจัดกระจายในปาเต็งรังปะปนกับไมเหียง กราด เต็ง และรัง โดยเฉพาะทางภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ แตไมพบทางภาคใตและภาคตะวันออกเฉียงใต บางครัง้ พบปะปนในปาเต็งรังผสมสนเขา แตไมหนาแนนเทายางเหียง และพบ ในระดั บ ความสู ง ไม่ เ กิ น 1,000 เมตร ผลแก่ ป ระมาณเดื อ น เมษายน–พฤษภาคม การสืบตอพันธุต ามธรรมชาติคอ นขางดี ทาง ภาคตะวันออกเฉียงเหนือพบทั่วพื้นที่ทั้ง 3 ลุมน้ํา การขยายพันธุ เพาะเมล็ด ควรเปนเมล็ดสดที่ปกเริ่มเปลี่ยนเปนสีน้ําตาลบนตน เด็ดปกกอนนําไปเพาะ หรือเก็บเมล็ดที่รวง และกําลังงอกเพาะลงใสถงุ ไดทนั ที หรือกองรวมกันคลุมดวยกระสอบปาน รดน้าํ เชาเย็นจนรากงอกแลวเด็ดปกกอนยายลงถุง ตาม ภูมิปญญาของชาวบานในจังหวัดยโสธรที่ปฏิบัติตอเมล็ดพรรณไมในวงศยาง ขอควรระวัง เมล็ดถูกแมลงเจาะทําลายงาย ประโยชน เนือ้ ไมคอ นขางแข็ง ทนทานทัง้ ในรมและกลางแจง เหมาะสําหรับการกอสรางทีต่ อ งการความแข็งแรง และเฟอรนเิ จอร ทั่วไป ชันติดไฟเชนเดียวกับชันไมสกุลยางทั่ว ๆ ไป ใบขนาดใหญนิยมใชหออาหารหรือทําหลังคาที่มีอายุการใชนานกวา 3 ป

ขอแนะนํา เปนไมโตชา ในระยะกลาไมตองการรมเงา ทนแลงและทนไฟไดดี สามารถปลูกผสมผสานกับ

ไมวงศยางชนิดอืน่ ๆ และไมในปาดิบแลงและปาเต็งรังหลายชนิดไดดเี ชนเดียวกับเหียง ใบไมถกู แมลงกัดกินไดงา ย ขอมูลเพิ่มเติม PROSEA 18 (2001); Vietnam Forest Trees (Nguyen et al., 1996); ชีพลักษณดอกและผลไมยางพลวง

(จินตนา และบุญชุบ, 2540). Website: ARCBC BISS Species Database

113 SW 6455-p new-G8.indd p113

10/29/56 BE 4:39 PM


ยางเหียง

Dipterocarpus obtusifolius Teijsm. ex Miq. วงศ DIPTEROCARPACEAE

ชือ่ อืน่ ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือมักเรียกวา ตะแบงหรือสะแบง คลายกับยางกราด สวนภาษาโซ ในจังหวัดนครพนมเรียกวา คราด ลักษณะวิสัย ไมตนขนาดกลางถึงขนาดใหญ อาจสูงไดถึง 30 ม. ลักษณะทางพฤกษศาสตรที่สําคัญ สวนตาง ๆ มีขนรูปดาวหรือเกือบเกลี้ยง ใบรูปรี ยาว 10–30 ซม. เสนแขนงใบ 10–20

เสน ในแตละขาง ชอดอกมีกาบหุม ดอกบิดเวียน มี 5 กลีบ กลีบรูปใบหอก ยาว 4–6 ซม. เกสรเพศผูมีประมาณ 30 อัน อับเรณู ปลายมีรยางค ผลมีปกยาว 2 ปก รูปใบพาย ยาว 8–15 ซม. ปกสั้นรูปรี ยาว 1.5–2 ซม. หลอดกลีบเลี้ยงเรียบ เสนผาน ศูนยกลาง 2.5–3 ซม. ปกออนสีแดงสด เขตการกระจายพันธุ อินเดีย พมา ไทย ภูมิภาคอินโดจีน ทางตอนบนของคาบสมุทรมลายู การกระจายพันธุและนิเวศวิทยาในประเทศไทย ขึ้นหนาแนนเปนกลุมใหญโดยเฉพาะในปาเต็งรังในระดับต่ํา ๆ แถบ ชายฝง ทะเลจนถึงระดับความสูงกวา 1,300 เมตร ในปาเต็งรังผสมสนเขาทางภาคเหนือ และยังพบหนาแนนบริเวณทีร่ าบสูงทาง ภาคตะวันออกเฉียงเหนือทั้ง 3 ลุมน้ํา โดยเฉพาะขึ้นปะปนกับยางกราด เต็ง และพลวง การสืบตอพันธุตามธรรมชาติและ แตกหนอตามธรรมชาติดี ผลแกตั้งแตเดือนมกราคม–พฤษภาคม การขยายพันธุ โดยการเพาะเมล็ด ใหเด็ดปกกอนนําไปเพาะ เก็บเมล็ดที่รวงและกําลังงอกเพาะลงใสถุงไดทันที หรืออาจใชวิธี เก็บเมล็ดใหม ๆ กองรวมกันคลุมดวยกระสอบปาน รดน้ําเชาเย็นจนรากงอกแลวเด็ดปกกอนยายลงถุง ตามภูมิปญญาของ ชาวบานในจังหวัดยโสธรที่ปฏิบัติตอเมล็ดพรรณไมในวงศยาง ประโยชน เนื้อไมคอนขางแข็ง แตไมทนทานสําหรับการใชงานกลางแจง ทนปลวก เหมาะสําหรับการกอสรางภายใน ทําเฟอรนิเจอร หรือไมอัด ชันใชทําขี้ไตแตคุณภาพไมดีเทาเหียง กราด

ขอแนะนํา เปนไมโตชา แตในบางพื้นที่อาจโตคอนขางเร็ว เหมาะสําหรับพื้นที่ราบลุม ทนแลงและทนไฟปา

ไดดี กลาไมตอ งการรมเงาในระยะ 2 ป แรก สามารถปลูกผสมผสานกับไมหลายชนิดของปาเต็งรังและปาดิบแลง เชนเดียวกับเหียง กราด สามารถปลูกรวมกับไมสนเขาโดยเฉพาะสนสองใบตามทีร่ าบทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ตอนลางไดดี และไมใบกวางที่โตชา เชน รัก สาน สารภีปา เหมือด และฮอยจั่น ขอมูลเพิ่มเติม PROSEA 18 (2001); Vietnam Forest Trees (Nguyen et al., 1996); Flora Cambodge, Laos and Vietnam

(Smitinand et al., 1990); Foresters’ manual of dipterocarps (Symington, 1941). Website: ARCBC BISS Species Database

114 SW 6455-p new-G8.indd p114

10/29/56 BE 4:39 PM


รักใหญ

Gluta usitata (Wall.) Ding Hou วงศ ANACARDIACEAE

ชื่ออื่น เรียกเปนภาษาเขมรวา มะเรียะ ลักษณะวิสัย ไมตน สูงไดถึง 20 ม. กิ่งออนปกคลุมดวยขนสีขาว กิ่งแกเกลี้ยงหรือมีขนสั้น ๆ ลักษณะทางพฤกษศาสตรที่สําคัญ ใบเรียงเวียน รูปรี รูปขอบขนาน หรือแกมรูปไข ยาว 8–20 ซม. ปลายใบแหลมหรือกลม

แผนใบหนา เกลีย้ งหรือมีขนสัน้ เสนแขนงใบขางละ 15–25 เสน ชอดอกแบบชอแยกแขนง ออกทีป่ ลายกิง่ หรือซอกใบใกลปลายกิง่ ยาวถึง 35 ซม. มีขนสั้นนุมสีน้ําตาลหนาแนน ปลายดอกตูมมีขนเปนกระจุก ดอกสีขาว อมชมพูหรือแดง กลีบเลี้ยงรูปราง คลายหมวก ยาว 3–7.5 มม. ดานในมีขนสั้นนุม กลีบดอกรูปขอบขนาน ยาว 6–7 ซม. มีขนอุยขึ้นหนาแนน ขยายเปนปกในผล เกสรเพศผูมีประมาณ 30 อัน ยาวประมาณ 1 ซม. รังไขอยูใตวงกลีบ ผลแบบผลผนังชั้นในแข็ง คอนขางกลม เสนผานศูนยกลาง ยาว 1–3 ซม. มีปกที่โคน เขตการกระจายพันธุ อินเดีย พมา ไทย ภูมิภาคอินโดจีนและมาเลเซีย การกระจายพันธุและนิเวศวิทยาในประเทศไทย พบทุกภาค ขึ้นกระจายทั่วไปในปาเต็งรัง ปาเต็งรังผสมสนเขา และ ปาเบญจพรรณ ทุงหญา ระดับความสูง 100–1,000 เมตร ออกดอกเดือนธันวาคม–มกราคม ผลแกเดือนมีนาคม–เมษายน การสืบตอพันธุตามธรรมชาติคอนขางดี ยกเวนพื้นที่ที่ถูกไฟไหม ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือพบทั่วพื้นที่ทั้ง 3 ลุมน้ํา ประโยชน ไมเนื้อแข็ง ทนทาน ใชทําเฟอรนิเจอร เสา คาน รางรถไฟ น้ํามันยางใชทําน้ํามันเคลือบเงา แตน้ํายางสดมีพิษทําให ผิวหนังอักเสบ การขยายพันธุ เพาะเมล็ด เมล็ดมีอายุสั้น ควรรีบเพาะทันที เมล็ดใชเวลาในการงอก 2–3 สัปดาห อัตราการงอกสูง รอยละ 70–80

ขอแนะนํา เปนไมโตชา กลาไมตองการแสงมาก แตไมทนไฟ ขึ้นไดดีในที่แหงแลง มีหนาดินตื้น เหมาะ

สําหรับปลูกในพื้นที่ปาเต็งรังที่เสื่อมโทรมเพื่อยึดหนาดิน โดยเฉพาะปาเต็งรังผสมสนเขาในระดับต่ําบริเวณ ลุมน้ํามูลตอนลาง และยังสามารถขึ้นไดดีในที่สูงไมเกิน 1,000 เมตร และยังเหมาะปลูกในปาชุมชนเพื่อการใช ประโยชน ขอมูลเพิ่มเติม Flora of Thailand 10(3) (2010) 115 SW 6455-p new-G8.indd p115

10/29/56 BE 4:39 PM


รัง

Shorea siamensis Miq. วงศ DIPTEROCARPACEAE

ชื่ออื่น ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือเรียก ฮัง สวนในภาษาเขมรเรียกวา เรียงหรือพนมเรียง ลักษณะวิสัย ไมตนขนาดเล็กถึงขนาดกลาง สูงไดประมาณ 25 ม. เปนไมโตชา บางพื้นที่ลําตนมักเปลาตรง ลักษณะทางพฤกษศาสตรที่สําคัญ กิ่งออนและใบออนมีขนรูปดาว ใบรูปไข ปลายใบกลม ปลายมักเปนติ่งแหลม โคนใบ

รูปหัวใจ ใบออนสีนา้ํ ตาลแดง ใบแกเปลีย่ นเปนสีแดงกอนหลุดรวง เสนแขนงใบขางละ 9–16 เสน ชอดอกออกตามซอกใบ ดอก สีเหลือง กลีบดอกเรียงชิดบิดเวียนและพับงอกลับ รูปรีกวาง ยาว 1.5–2 ซม. เกสรเพศผูมีประมาณ 15 อัน เรียง 2 วง วงนอก มี 10 อัน ปลายอับเรณูมีรยางค ยาวประมาณครึ่งหนึ่งของอับเรณู ผลรูปไข ยาว 1.5–2 ซม. เกลี้ยง มีปกรูปใบพาย ปกยาว 3 ปก ยาว 5–8 ซม. ปกสั้น 2 ปก เรียวแคบ ยาว 1–5 ซม. เขตการกระจายพันธุ พมา ไทย ภูมิภาคอินโดจีน คาบสมุทรมลายูตอนบน การกระจายพันธุและนิเวศวิทยาในประเทศไทย พบทุกภาค ขึ้นเปนกลุมหนาแนนหรือกระจัดกระจายในปาเต็งรังปะปน กับ เต็ง เหียง กราด หรือพลวง นอกจากนี้ยังพบปะปนในปาเต็งรังผสมสนเขาโดยเฉพาะสนสามใบ จนถึงระดับความสูงประมาณ 1,300 เมตร และยังพบทั่วไปตามเขาหินปูนทางภาคใต ติดผลเดือนกุมภาพันธ–เมษายน ประโยชน เนื้อไมแข็งแรงและทนทาน ใชทําประโยชนเชนเดียวกับไมเต็ง ใบใชหอขนมแทนใบตองได การขยายพันธุ เพาะเมล็ด แตเมล็ดสูญเสียการงอกเร็ว เมล็ดจะงอกทันทีหลังจากรวงหลนโดยเฉพาะถามีน้ําฝน เก็บเมล็ดที่ รวงและกําลังงอกเพาะลงใสถงุ ไดทนั ที สามารถทําเปนเหงาปลูกได หรืออาจใชวธิ เี ก็บเมล็ดแกบนตน กองรวมกันคลุมดวยกระสอบ ปาน รดน้ําเชาเย็นจนรากงอกแลวเด็ดปกกอนยายลงถุง ตามภูมิปญญาของชาวบานในจังหวัดยโสธรที่ปฏิบัติตอเมล็ดพรรณไมใน วงศยาง

ขอแนะนํา เปนไมโตชา ทนแลงและทนไฟมาก แตในระยะกลาไมไมทนไฟ สามารถปลูกในดินที่ขาดความ

อุดมสมบูรณและมีหนาดินตื้น หรือพื้นที่ที่มีหินปะปนหนาแนน

ขอมูลเพิ่มเติม PROSEA 18 (2001); Dipterocarps of South Asia (Regional Office for Asia and the Pacific, 1985); Vietnam

Forest Trees (Nguyen et al., 1996)

116 SW 6455-p new-G8.indd p116

10/29/56 BE 4:40 PM


ราชพฤกษ

Cassia fistula L. วงศ FABACEAE (LEGUMINOSAE-CAESALPINIOIDEAE)

ชื่ออื่น คูน ลักษณะวิสัย ไมตนขนาดเล็กถึงขนาดกลาง ผลัดใบ สูง 10–20 ม. กิ่งเกลี้ยง ลักษณะทางพฤกษศาสตรที่สําคัญ ใบประกอบแบบขนนก เรียงเวียน มีใบยอย 3–8 คู ออกตรงขามกัน รูปไขหรือแกมรูป

ขอบขนาน ยาว 7–15 ซม. แผนใบออนมีขนละเอียด ชอดอกแบบกระจะ ออกตามซอกใบหรือตามกิ่ง ยาว 20–45 ซม. ดอก จํานวนมาก กานดอกยาว 1.5–3.5 ซม. กลีบเลี้ยง 5 กลีบ รูปไข ยาว 1–1.5 ซม. กลีบดอก 5 กลีบ รูปไข ยาว 3–3.5 ซม. มีกาน กลีบสั้น ๆ เกสรเพศผู 10 อัน อันยาว 3 อัน กานชูอับเรณูยาวประมาณ 3 ซม. อันสั้น 4 อัน กานชูอับเรณูยาวประมาณ 1 ซม. ลดรูป 3 อัน กานชูอับเรณูยาวประมาณ 5 มม. รังไขและกานดอกมีขนละเอียด ผลเปนฝกทรงกระบอก ยาว 20–60 ซม. เสนผานศูนยกลาง 1.5–2 ซม. เมล็ดจํานวนมาก มีผนังกั้น รูปรี แบน สีน้ําตาล ยาว 8–9 มม. เขตการกระจายพันธุ อินเดีย ศรีลังกา พมา ไทย การกระจายพันธุและนิเวศวิทยาในประเทศไทย พบทางภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กระจายหาง ๆ ในปา เบญจพรรณและปาเต็งรัง ระดับความสูงไมเกิน 300 เมตร นิยมปลูกเปนไมประดับทัว่ ประเทศ ออกดอกเดือนกุมภาพันธ–พฤษภาคม ทิ้งใบกอนออกดอก เมล็ดแกเดือนมกราคม–มิถุนายน ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือพบทั่วไปทั้ง 3 ลุมน้ํา ประโยชน เนื้อไมใชในการกอสราง ทําเสา ลอเกวียน เปลือกและไมใชฟอกหนัง ยอมผา ใบตมกินเปนยาระบาย ปลูกบํารุงดิน ดอกดกสวยงาม นิยมปลูกเปนไมประดับสองขางถนน เนื้อไมสับเปนชิ้นเล็กใชเคี้ยวกับหมาก การขยายพันธุ เพาะเมล็ด นําเมล็ดมาตัดหรือทําใหเกิดแผลที่ปลายเมล็ด แลวแชน้ํารอนทิ้งไวประมาณ 1 วัน หรือแชกรด เขมขน 45 นาที กอนนําไปเพาะ หรือขอมูลจากภูมิปญญาชาวบาน จังหวัดยโสธร ใหขลิบเมล็ดใหเกิดแผล แชน้ํา 1–3 วัน นําขึ้น หอกระสอบปาน รดน้ําพอชุม 2–3 วัน เมล็ดงอกแลวยายลงถุง กลาไมที่เหมาะสมในการนําไปปลูกควรมีอายุมากกวา 6 เดือน

ขอแนะนํา เปนไมโตชา ในระยะกลาไมตองการแสงมาก ระบบรากแผกวาง ลึก เหมาะสําหรับการปลูกฟนฟู

ปาชายน้ําหรือที่ราบลุม โดยเฉพาะในปาเบญจพรรณที่แหงแลง ชวยบํารุงดิน ควรระวังในเรื่องดวงแมลงปกแข็ง ที่ชอบไชลําตนและกิ่ง

ขอมูลเพิ่มเติม Flora of Thailand 4(1) (1984); การจัดการเพาะชํากลาไมคุณภาพ (กรมปาไม, 2542); ลักษณะทางสัณฐาน วิทยาของกลาไมขนาดเหมาะสมตอการปลูกปา (อําไพ, 2544) 117 SW 6455-p new-G8.indd p117

10/29/56 BE 4:40 PM


ลาย

Microcos paniculata L. วงศ MALVACEAE

ชื่ออื่น ทางภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือเรียกคลายกันในหลายชื่อ ไดแก ตาปลา หมากคอม คอม ปอกุม พา

มะคอม มะกอม ใหคอย และผาออม ภาคกลางเรียก คอมและหลาย ลักษณะวิสัย ไมตนขนาดเล็กถึงขนาดกลาง ผลัดใบ สูงไดประมาณ 20 ม. ลักษณะทางพฤกษศาสตรที่สําคัญ ใบเรียงสลับในระนาบเดียวกัน รูปรีหรือรูปขอบขนาน ยาว 8–17 ซม. ปลายใบแหลม หรือแหลมยาว โคนใบรูปลิ่ม กลม หรือเวาตื้น ๆ ขอบใบเปนคลื่น เสนโคนใบ 3 เสน เสนแขนงใบขางละ 6–8 เสน เสนแขนงใบ ยอยแบบขัน้ บันได ชอดอกแบบชอกระจุกแยกแขนง ออกตามซอกใบทีป่ ลายกิง่ ยาว 5–10 ซม. กลีบเลีย้ ง 5 กลีบ แยกกัน รูปไขกลับ ยาว 5–7 มม. มีขนดานนอก กลีบดอก 5 กลีบ รูปรี ยาว 2–4 มม. มีตอมที่โคนดานใน เกสรเพศผูจํานวนมาก ติดบนเสาเกสร เกลี้ยง อับเรณูติดที่โคน รังไขรูปไข ยาวประมาณ 2 มม. เกลี้ยง ผลแบบผลผนังชั้นในแข็ง รูปไขกลับ ยาวประมาณ 1.5 ซม. ผิวคลายแผนหนัง เกลี้ยง เขตการกระจายพันธุ อินเดีย ศรีลังกา จีน พมา ไทย ภูมิภาคอินโดจีน คาบสมุทรมลายู ชวา การกระจายพันธุและนิเวศวิทยาในประเทศไทย พบทั่วทุกภาคของประเทศ ขึ้นในปาเบญจพรรณ ปาดิบแลง และ ปาดิบชื้น โดยเฉพาะตามชายปา ระดับความสูง 100–600 เมตร ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือพบทุกพื้นที่ทั้ง 3 ลุมน้ํา โดยเฉพาะทางตอนลางของลุมน้ํามูล ประโยชน เนื้อไมคอนขางแข็ง ใชทําเฟอรนิเจอรสํานักงาน เปนสมุนไพรจีนมีสรรพคุณชวยระบบยอยอาหาร แกหวัด ทองเสีย หรือเปนไข การขยายพันธุ เพาะเมล็ด ไมมีขอมูลการปฏิบัติตอเมล็ดกอนนําไปเพาะ

ขอแนะนํา เปนไมโตคอนขางชา ในระยะกลาไมตองการแสงมาก ทนแลงและทนน้ําทวม เหมาะสําหรับปลูก

ตามพื้นที่ราบลุมเพื่อปองกันการพังทลายของดิน

ขอมูลเพิ่มเติม Blumea Volume 56(3) (Chung & Soepadmo, 2011); Flora of Thailand 6(1) (1993); Flora of China Vol. 12 (2007)

118 SW 6455-p new-G8.indd p118

10/29/56 BE 4:40 PM


ลําดวน

Melodorum fruticosum Lour. วงศ ANNONACEAE

ชื่ออื่น – ลักษณะวิสัย ไมตนขนาดเล็ก สูง 6–12 ม. เปลือกสีน้ําตาล ลักษณะทางพฤกษศาสตรที่สําคัญ ใบเดี่ยว รูปขอบขนาน ยาว 5–12 ซม. ปลายเรียวแหลม โคนรูปลิ่ม เสนแขนงใบขางละ

12–15 เสน กานใบยาว 4–6 มม. ดอกออกเดี่ยว ๆ ที่ปลายกิ่งหรือตามซอกใบ ดอกสีเหลืองหรือสีแดง มีกลิ่นหอม กลีบเลี้ยง รูปถวย ปลายแยกเปน 3 แฉก รูปสามเหลี่ยม กลีบดอกเรียงเปน 2 ชั้น ดอกบานเสนผานศูนยกลางประมาณ 2 ซม. แผนกลีบหนา รูปไข กลีบชั้นในหนาและแข็งกวากลีบดอกชั้นนอก หอตัวเรียงชิดกันเปนทรงกลม ผลกลุม มีผลยอย 15–20 ผล กลม ๆ รี ๆ เสนผานศูนยกลาง 5–6 มม. ปลายมีติ่งสั้น ๆ สุกสีดํา มีเมล็ดเดียว เขตการกระจายพันธุ ไทย กัมพูชา เวียดนาม ชวา การกระจายพันธุและนิเวศวิทยาในประเทศไทย พบแทบทุกภาคของประเทศ ยกเวนภาคใตและภาคตะวันตกเฉียงใต ขึน้ ตามปาดิบแลง ใกลแหลงน้าํ ระดับความสูง 100–200 เมตร เปนผลระหวางเดือนมิถนุ ายน–กรกฎาคม ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ พบมากทางตอนลางของลุมน้ํามูล ประโยชน เนื้อไมคอนขางแข็ง แตมีขนาดเล็ก ใชทําดามเครื่องมือ ปลูกเปนไมประดับ มีดอกหอม การขยายพันธุ เพาะเมล็ดและตอนกิง่ จากภูมปิ ญ  ญาชาวบานในจังหวัดยโสธร ใหนาํ เมล็ดแชนาํ้ ประมาณ 3 วัน หรือจนเมล็ดพอง กอนนําไปเพาะลงแปลงเพาะ

ขอแนะนํา เปนไมโตชา ขึ้นไดดีทั้งที่แหงแลงและมีน้ําทวมขัง เหมาะสําหรับปลูกเปนไมชั้นรองในปาดิบแลง

ในระดับต่ํา ๆ หรือที่ราบลุม

ขอมูลเพิ่มเติม พรรณไมวงศกระดังงา (ปยะ, 2544)

119 SW 6455-p new-G8.indd p119

10/29/56 BE 4:41 PM


ล่ําตาควาย

Diospyros coaetanea H. R. Fletcher วงศ EBENACEAE

ชื่ออื่น แถบจังหวัดเลยเรียก หอมขวาน ลักษณะวิสัย ไมตน ขนาดกลาง ผลัดใบ สูงถึง 25 ม. เปลือกนอกสีเทาดํา แตกเปนรองตืน้ ๆ ตามยาว เปลือกในสีนาํ้ ตาลแดง ลักษณะทางพฤกษศาสตรที่สําคัญ ใบรูปรีหรือขอบขนาน ยาว 12–20 ซม. ปลายใบแหลม แผนใบหนา ดานลางมีขนสั้นนุม

หรือเกลี้ยง เสนแขนงใบขางละ 20 เสน โคงจรดกันกอนถึงขอบใบ กานใบยาว 7–10 มม. ดอกเพศผูออกเปนชอแบบชอเชิงหลั่น หรือชอแยกแขนง ดอกเพศเมียออกเดีย่ ว ๆ กลีบเลีย้ งและกลีบดอกมีจาํ นวนอยางละ 4–5 กลีบ กลีบเลีย้ งโคนเชือ่ มติดกันรูประฆัง ปลายแยกเปนแฉกลึกประมาณกึ่งหนึ่ง มีขนสั้นนุมสีน้ําตาลดําทั้งสองดาน กลีบดอกเชื่อมติดกันเปนหลอด ปลายแยกลึก ประมาณหนึ่งสวนหาของความยาว ดานนอกมีขนสั้นนุม เกสรเพศผู 10–14 อัน รังไขลดรูปเปนกระจุกขน ดอกเพศเมียคลาย ดอกเพศผูแตมีขนาดใหญกวา ผลแบบผลสดมีหลายเมล็ด กลม ๆ เสนผานศูนยกลาง 2–3 ซม. เปลือกนอกแข็ง มีขนประปรายที่ สวนโคน เขตการกระจายพันธุ พืชถิ่นเดียวของไทย การกระจายพันธุแ ละนิเวศวิทยาในประเทศไทย พบทัว่ ทุกภาคของประเทศ ขึน้ ตามพืน้ ทีเ่ ปดโลง ปาเบญจพรรณ ปาเต็งรัง และปาดิบแลง ระดับความสูง 200–500 เมตร ออกดอกเดือนมีนาคมถึงเมษายน เปนผลเดือนเมษายน–กรกฎาคม ทางภาค ตะวันออกเฉียงเหนือบริเวณลุมน้ําชีและลุมน้ํามูล การขยายพันธุ เพาะเมล็ด ควรเก็บในขณะที่ผลเริ่มแก เพื่อปองกันแมลงเจาะทําลาย ลางเปลือกออก แชน้ําประมาณ 1 คืน กอนนําไปเพาะ เชนเดียวกับการปฏิบัติตอเมล็ดกอนนําไปเพาะของพรรณไมในสกุลมะเกลือ ประโยชน เนื้อไมแข็ง ทนทาน ใชในการกอสราง เฟอรนิเจอร ผลสุกเปนอาหารของสัตวปา

ขอแนะนํา เปนไมโตชา ในระยะกลาไมตองการรมเงา ทนแลงและไฟปา เหมาะสําหรับฟนฟูสภาพพื้นที่

ที่แหงแลง ดึงดูดสัตวปาเขามาในพื้นที่

ขอมูลเพิ่มเติม Flora of Thailand 2(4) (1981). Website: Cambodian Tree Species

120 SW 6455-p new-G8.indd p120

10/29/56 BE 4:41 PM


สาธร

Millettia leucantha Kurz วงศ FABACEAE (LEGUMINOSAE-PAPILIONOIDEAE)

ชื่ออื่น บางจังหวัดทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เรียก กระเจาะ ลักษณะวิสัย ไมตนขนาดเล็กถึงขนาดกลาง ผลัดใบ สูง 10–20 ม. สีเทาเรียบหรือแตกเปนสะเก็ดตื้น ๆ กิ่งออนมีขนสั้นนุม

สีน้ําตาลแดง กิ่งแกมีชองอากาศ

ลักษณะทางพฤกษศาสตรที่สําคัญ มีขนสั้นนุมตามแกนใบ แผนใบดานลาง กานใบยอย ชอดอก กลีบเลี้ยง และผล

ใบประกอบแบบขนนกปลายคี่ ยาว 10–50 ซม. รวมกาน มีใบยอย 3–9 ใบ รูปรีหรือรูปขอบขนาน ยาว 4–30 ซม. ปลายใบแหลม ยาว มีหใู บยอยขนาดเล็ก ยาวประมาณ 1 มม. เสนแขนงใบขางละ 6–12 เสน กานใบยอยยาว 4–5 มม. ชอดอกคลายชอกระจะ หอยลง ยาว 15–20(–45) ซม. รวมกานชอที่ยาว 1–4 ซม. แตละขอมี 2–5 ดอก รูปดอกถั่ว กานดอกยาว 1–4 มม. ดอกยาว 1.2–1.4 ซม. กลีบเลี้ยงเชื่อมติดกันเปนหลอด ยาว 5–6 มม. ปลายแยกแยกเปน 4 กลีบ รูปสามเหลี่ยม ยาว 3–5 มม. กลีบดอก สีมวงอมขาว กลีบกลางกลมกวาง โคนเวารูปหัวใจ มีกานสั้น ๆ รังไขมีขนยาว ฝกรูปขอบขนานหรือรูปใบหอกกลับ ยาว 7–17 ซม. มี 1–5 เมล็ด รูปรี ยาว 1.5–2 ซม. เขตการกระจายพันธุ จีนตอนใต พมา ไทย ลาว กัมพูชา การกระจายพันธุและนิเวศวิทยาในประเทศไทย พบแทบทุกภาค ยกเวนภาคตะวันออกเฉียงใตและภาคใต ขึ้นใน ปาเบญจพรรณ สวนมากพบในระดับความสูงไมเกิน 500 เมตร ติดผลเดือนพฤศจิกายน–สิงหาคม ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ สวนมากพบทางตอนบน ประโยชน เนื้อไมคอนขางแข็ง ใชในการกอสราง ทําเครื่องเรือน และดามเครื่องมือตาง ๆ บางชนิดที่มีลักษณะคลาย ๆ กัน เชน สะทอนน้ําผัก (Millettia utilis Dunn) ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบนแถบจังหวัดเลยใชใบหมักไดเปนน้ําปรุงรส เรียกวา น้ําผักสะทอน การขยายพันธุ เพาะเมล็ด ใหนาํ เมล็ดแชนา้ํ เย็นนาน 16 ชัว่ โมงกอนนําไปเพาะ มีอตั ราการงอกสูง กลาไมทเี่ หมาะสมในการนํา ไปปลูกควรมีอายุมากกวา 6 เดือน

ขอแนะนํา เปนไมโตชา ชอบที่แหงแลง เหมาะสําหรับปลูกฟนฟูสภาพปาเบญจพรรณที่เสื่อมโทรม โดย

เฉพาะพื้นที่ที่มีหินปะปนหนาแนน ชวยบํารุงดิน

ขอมูลเพิ่มเติม Flora of China Vol. 10 (2010); ลักษณะทางสัณฐานวิทยาของกลาไมขนาดเหมาะสมตอการปลูกปา (อําไพ,

2544)

121 SW 6455-p new-G8.indd p121

10/29/56 BE 4:41 PM


สีเสียดน้ํา

Mallotus plicatus (Müll. Arg.) Airy Shaw วงศ EUPHORBIACEAE

ชื่ออื่น แพงพวยบก ลักษณะวิสยั ไมพมุ หรือไมตน ขนาดเล็ก สูงถึง 15 ม. มีเกล็ดตอมสีเหลืองหรือน้าํ ตาลแดง และขนรูปดาวหรือขนธรรมดาปกคลุม

ทั่วไป ดอกแยกเพศตางตน

ลักษณะทางพฤกษศาสตรที่สําคัญ หูใบรูปสามเหลี่ยม ยาวไดเกือบ 1 มม. ใบ เรียงเวียนหรือเกือบตรงขาม รูปรี รูปขอบ

ขนาน หรือแกมรูปไขกลับ ยาว 5.5–16 ซม. โคนใบเวาตื้น ๆ หรือมน มีตอมที่โคนใบ 1–5 ตอม ขอบใบหยักมน มีตอมที่ขอบ หยัก กานใบยาว 1.2–4 ซม. ชอดอก มี 1–3 ชอ ชอดอกเพศผูยาวไดประมาณ 18 ซม. ดอกออกเปนกระจุก 3–7 ดอก บนแกน ชอ ดอกบานเสนผานศูนยกลาง 4 มม. กลีบเลี้ยง 3–4 กลีบ ไมมีกลีบดอก เกสรเพศผู 20–25 อัน ชอดอกเพศเมียยาว 7–21 ซม. ดอกออกเดี่ยว ๆ บนแกนชอ ดอกบานเสนผานศูนยกลาง 3–4 มม. กลีบเลี้ยง 5–6 กลีบ ไมมีกลีบดอก รังไขมี 3 ชอง ยอดเกสร เพศเมียแยก 3 แฉก ไรกาน ผลแบบแคปซูล แหงไมแตก มีปก 3 ปก ดูคลายรูปพีระมิดกลับดาน ยาวประมาณ 3 ซม. เมล็ด กลม สีน้ําตาล เปนมันวาว เสนผานศูนยกลาง 4–5 มม. เขตการกระจายพันธุ พมา ไทย ภูมิภาคอินโดจีน การกระจายพันธุและนิเวศวิทยาในประเทศไทย พบทางภาคกลาง ภาคเหนือตอนลาง และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ตอนลาง ขึ้นตามริมน้ําหรือในปาดิบแลงในระดับต่ํา ระดับความสูงไมเกิน 150 เมตร ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือพบเฉพาะ บริเวณลุมน้ํามูลตอนลาง ประโยชน ไมเนื้อแข็ง แตมีขนาดเล็ก ใชทําฟน ไมมีการนําไปใชประโยชนดานอื่น การขยายพันธุ เพาะเมล็ด ไมมีขอมูลการปฏิบัติตอเมล็ดกอนนําไปเพาะ

ขอแนะนํา เปนไมโตชา ตนขนาดกลาง พุมกวางหนาแนน ระบบรากลึก ทนน้ําทวม เหมาะสําหรับปลูกใน

ที่ราบลุมที่มีน้ําทวมขัง ชวยปองกันการพังทลายของชายฝงแมน้ําไดดี หรือปลูกเปนไมชั้นสองเพื่อฟนฟูสภาพ ปาดิบแลงที่เสื่อมโทรมในระดับต่ํา ๆ ขอมูลเพิ่มเติม Flora of Thailand 8(2) (2007)

122 SW 6455-p new-G8.indd p122

10/29/56 BE 4:41 PM


หวาหิน

Syzygium claviflorum (Roxb.) A. M. Cowan & Cowan วงศ MYRTACEAE

ชื่ออื่น – ลักษณะวิสัย ไมตนขนาดกลาง ไมผลัดใบ สูงถึง 25 ม. เรือนยอดโปรง เปลือกนอกสีน้ําตาลเทา เรียบหรือลอนเปนแผน ลักษณะทางพฤกษศาสตรทส่ี าํ คัญ ใบเรียงตรงขาม รูปรี รูปไข หรือแกมขอบขนาน ยาว 5–17 ซม. แผนใบเหนียว เสนกลางใบ

เปนรองทางดานบน เสนแขนงใบขางละ 13–26 เสน เสนขอบใบ 2 เสน ชอดอกแบบชอแยกแขนง ออกที่ซอกใบหรือปลายกิ่ง ยาวถึง 3 ซม. ดอกสีขาวหรือสีเหลืองออน ไรกาน ฐานดอกรูปกระบองหรือรูปแตร ยาว 1–2 ซม. กานดอกเทียม ยาว 0.7–1.5 ซม. กลีบเลี้ยง 4 กลีบ ขนาดเล็ก มีฝาปดคลายหมวกบาง ยาว 1.5–4 มม. กลีบดอก 5–10 กลีบ มีตอม 20–30 ตอม เกสรเพศผู จํานวนมาก วงนอก ยาว 0.5–1.2 ซม. กานชูเกสรเพศเมีย ยาว 0.6–1.8 ซม. ผลแบบมีเนื้อมีหลายเมล็ด รูปขอบขนาน สุกสีดํา เขตการกระจายพันธุ อินเดีย บังกลาเทศ จีน พมา ไทย เวียดนาม ภูมิภาคมาเลเซีย ออสเตรเลีย การกระจายพันธุและนิเวศวิทยาในประเทศไทย พบทุกภาค ขึ้นตามริมลําธารในปาดิบแลงและปาดิบชื้น จนถึงระดับ ความสูงถึงประมาณ 1,200 เมตร ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือพบบริเวณตนน้ําของลุมน้ํามูลและลุมน้ําชี แถบจังหวัดเลย ชัยภูมิ และขอนแกน ประโยชน เนื้อไมแข็ง ใชในการกอสราง เครื่องมือ ผลสุกรับประทานได การขยายพันธุ เพาะเมล็ด คัดเมล็ดเสียทิ้ง แกะเอาเนื้อออก ไมมีวิธีปฏิบัติตอเมล็ดกอนนําไปเพาะ อัตราการงอกสูง กลาไม คอนขางโตเร็ว

ขอแนะนํา เปนไมโตคอนขางชา ชอบความชุมชื้น เหมาะสําหรับปลูกฟนฟูสภาพปาดิบแลงริมลําธาร ใน

ทีส่ งู โดยเฉพาะทีร่ าบลุม บนภูเขาหินทราย ผลดึงดูดสัตวปา ไดดี เชนเดียวกับ หวานา Syzygium cinereum (Kurz) Chantar. & J. Parn. ที่ลักษณะทางนิเวศวิทยาคลาย ๆ กัน ขอมูลเพิ่มเติม Flora of Thailand 7(4) (2002)

123 SW 6455-p new-G8.indd p123

10/29/56 BE 4:42 PM


เหมือดโลด

Aporosa villosa (Wall. ex Lindl.) Baill. วงศ EUPHORBIACEAE

ชื่ออื่น ภาคตะวันออกเฉียงเหนือเรียก เหมือดสม หรือ โลด ลักษณะวิสัย ไมตนขนาดเล็ก สูง 8–10 ม. ยอดออนและกิ่งออนมีขนสั้นนุมสีน้ําตาลแกมเหลือง เปลือกหนา แตกเปนรองลึก

ตามยาว ดอกแยกเพศตางตน

ลักษณะทางพฤกษศาสตรที่สําคัญ ใบเรียงเวียน รูปรีหรือรูปไขกลับ 10–16 ซม. โคนใบกลมหรือเวาตื้น ๆ มีตอมตามขอบ ใบ แผนใบคอนขางหนา ดานลางมีขนสั้นนุม ชอดอกแบบชอกระจุกแยกแขนงสั้น ๆ คลายชอเชิงลด ออกตามซอกใบ มีขนสั้นนุม ทั่วไป ดอกไรกาน กลีบเลี้ยง 4 กลีบ ไมมีกลีบดอก ชอดอกเพศผูออกยาว 1–5.5 ซม. ดอกออกเปนกระจุก 2–6 ดอกบนแกนชอ เกสรเพศผู 2–3 อัน ชอดอกเพศเมียสั้นมาก ดอกออกเดี่ยว ๆ บนแกนชอ มีประมาณ 7 ดอก รังไขมีขนสั้นนุม เกสรเพศเมีย แยก 2 แฉก ผลแหงแตก รูปไข ยาวประมาณ 1 ซม. ปลายมีติ่งแหลม มีขนสีน้ําตาลแกมเหลืองหนาแนน สวนมากมีเมล็ดเดียว มีเยื่อหุมสีสม เขตการกระจายพันธุ จีนตอนใต พมา ไทย ภูมิภาคอินโดจีน การกระจายพันธุแ ละนิเวศวิทยาในประเทศไทย พบแทบทุกภาคยกเวนภาคใต ขึน้ ทัว่ ไปในปาเต็งรัง ปาเต็งรังผสมสนเขา ปาเบญจพรรณ ปาดิบแลง และปาดิบเขา จนถึงระดับความสูงประมาณ 1,500 เมตร ผลแกเดือนเมษายน–พฤษภาคม ทางภาค ตะวันออกเฉียงเหนือพบทุกพื้นที่ทั้ง 3 ลุมน้ํา ประโยชน เนือ้ ไมใชในงานกอสรางชัว่ คราว ผลเปนอาหารสัตวปา เปลือกตนมียางสีแดงใชเปนสียอ ม ปรุงเปนยาขับลมในลําไส และขับระดู การขยายพันธุ เพาะเมล็ด ไมมีขอมูลการปฏิบัติตอเมล็ดกอนนําไปเพาะ

ขอแนะนํา เปนไมโตชาขนาดเล็ก ตองการแสงมาก เหมาะสําหรับปลูกในสภาพพื้นที่แหงแลงที่เสื่อมโทรม

โดยเฉพาะในปาเต็งรัง

หมายเหตุ มีลักษณะใกลเคียงกับ นวลเสี้ยน Aporosa octandra (Buch.-Ham ex D. Don) Vickery โดยเฉพาะชนิดพันธุยอย

var. yunnanensis มาก แตโคนใบเวารูปหัวใจ และนวลเสี้ยนมักมีกิ่งหรือใบที่เกลี้ยงหรือมีขนประปราย และพบปะปนกับเหมือด โลดทั่วไปทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ในที่นี้พรรณไมทั้งสองชนิดแยกไดคอนขางยากและสามารถใชแทนกันได ขอมูลเพิ่มเติม Flora of Thailand 8(1) (2005)

124 SW 6455-p new-G8.indd p124

10/29/56 BE 4:42 PM


แหว

Syzygium ripicola (Craib) Merr. & L. M. Perry วงศ MYRTACEAE

ชื่ออื่น แถบจังหวัดเลยเรียก หวาขี้นก ลักษณะวิสัย ไมตนขนาดเล็กถึ​ึงขนาดกลาง ไมผลัดใบ สูงถึง 15 ม. เรือนยอดกลมแนนทึบ ลําตนเปลาตรง เปลือกสีเทา เรียบ

หรือแตกเปนสะเก็ด

ลักษณะทางพฤกษศาสตรทส่ี าํ คัญ ใบเรียงตรงขาม รูปใบหอก ยาว 5–13 ซม. แผนใบเหนียว เสนกลางใบเปนรองทางดานบน เสนแขนงใบขางละ 13–25 เสน มีเสนขอบใบ 1 เสน ชอดอกแบบชอแยกแขนง ออกที่ซอกใบและปลายกิ่ง ยาวถึง 9 ซม. ดอก สีขาวหรือสีเหลืองออน ไรกาน ฐานดอกรูปแตร ยาว 3.5–5.5 มม. กานดอกเทียม ยาว 2–2.5 มม. กลีบเลี้ยง 4 กลีบ ขนาดเล็ก กลีบดอก 4 กลีบ กลีบมีตอม 5–8 ตอม เกสรเพศผูจํานวนมาก กานชูอับเรณูวงนอกยาวกวาวงใน ยาว 3–6.5 มม. กานเกสรเพศ เมียสั้นกวากานชูอับเรณูวงนอก ผลแบบมีเนื้อมีหลายเมล็ด รูปรีแคบ ๆ ยาว 8–9 มม. สุกสีดํา เขตการกระจายพันธุ พมา ไทย ภูมิภาคอินโดจีน การกระจายพันธุและนิเวศวิทยาในประเทศไทย พบทางภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงใต และภาคตะวันตกเฉียงใต ขึ้นตามริมลําธารในปาเต็งรังและปาเบญจพรรณ ระดับความสูง 150–800 เมตร ทางภาคตะวันออก เฉียงเหนือพบกระจายทั่วพื้นที่ลุมน้ําทั้ง 3 โดยเฉพาะริมลําธารและแมน้ํา ประโยชน เนื้อไมแข็ง แตมีขนาดเล็ก ใชทําฟน ผลสุกรับประทานได การขยายพันธุ เพาะเมล็ด คัดเมล็ดเสียทิ้ง แกะเอาเนื้อออก ไมมีวิธีปฏิบัติตอเมล็ดกอนนําไปเพาะ อัตราการงอกสูง กลาไม คอนขางโตเร็ว

ขอแนะนํา เปนไมโตคอนขางชา ระบบรากลึก ชอบที่ชุมชื้น เหมาะสําหรับปลูกฟนฟูสภาพปาทั้งปาเต็งรัง

และปาดิบแลง โดยเฉพาะริมลําธารทั้งที่ราบลุมระดับต่ํา ๆ และที่ราบลุมในระดับสูงบนภูเขาหินทราย ปองกัน การกัดเซาะและการพังทลายของดิน ผลดึงดูดสัตวปาใหเขามาในพื้นที่ ขอมูลเพิ่มเติม Flora of Thailand 7(4) (2002)

125 SW 6455-p edit-G8.indd p125

10/29/56 BE 5:05 PM


อีโด

Diospyros bejaudii Lecomte วงศ EBENACEAE

ชื่ออื่น ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบนเรียก มันหมู ภาคตะวันออกเฉียงใตเรียก พลับดง ลักษณะวิสัย ไมตนไมผลัดใบ โตชา สูงถึง 20 ม. ลําตนเปลาตรง เปลือกนอกสีขาวเทา กิ่งออนมีขนประปราย ดอกแยกเพศ

ตางตน

ลักษณะทางพฤกษศาสตรที่สําคัญ ใบรูปไขหรือรูปขอบขนาน ยาว 3–15 ซม. แผนใบหนา ใบแกแหงสีดํา เสนแขนงใบขาง ละ 8–15 เสน โคงจรดกันกอนถึงขอบใบ ดอกเพศผูออกเปนชอกระจุก 2–4 ดอก ที่ซอกใบ ไรกาน กลีบเลี้ยงรูประฆัง ยาว 4–6 มม. ปลายแฉกลึกประมาณกึ่งหนึ่ง ดานนอกมีขนสั้นนุม กลีบดอกรูปกงลอ ยาว 1–1.5 ซม. ปลายแฉกลึกประมาณกึ่งหนึ่ง ดาน นอกมีขนคลายไหม เกสรเพศผู 14–20 อัน เกสรเพศเมียลดรูปเปนขน ดอกเพศเมียออกเดี่ยว ๆ คลายดอกเพศผูแตมีขนาด ใหญกวา รังไขมขี นคลายไหม ผลแบบมีเนือ้ มีหลายเมล็ด รูปรี ยาว 3–3.5 ซม. เปลือกแหงแข็ง กลีบเลีย้ งติดทนแผขยาย ขอบกลีบ เปนคลื่น เมล็ดมีเอนโดสเปรมยนเปนลาย เขตการกระจายพันธุ ไทย กัมพูชา คาบสมุทรมลายู การกระจายพันธุและนิเวศวิทยาในประเทศไทย พบทั่วทุกภาคของประเทศ ขึ้นตามปาดิบแลง ปาดิบชื้น และเขาหินปูน ระดับความสูงจนถึงประมาณ 300 เมตร เปนผลเดือนพฤษภาคม–ธันวาคม ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือพบกระจายหาง ๆ ทั้ง 3 ลุมน้ํา การขยายพันธุ เพาะเมล็ด ควรเก็บในขณะที่ผลเริ่มแก เพื่อปองกันแมลงเจาะทําลาย ลางเปลือกออก แชน้ําประมาณ 1 คืน กอนนําไปเพาะ เชนเดียวกับการปฏิบัติตอเมล็ดกอนนําไปเพาะของพรรณไมในสกุลมะเกลือ ประโยชน เนื้อไมสีขาว แกนมีสีดําเพียงเล็กนอย เนื้อไมแข็งแรง ทนทาน เหมาะสําหรับทําเฟอรนิเจอร เครื่องดนตรี และดาม เครื่องมือชั้นดี ผลเปนอาหารของนกหรือสัตวปา

ขอแนะนํา เปนไมโตชา ในระยะกลาไมตองการรมเงา ทนแลงและไฟปา เหมาะสําหรับปลูกในพื้นที่ราบลุม

ที่แหงแลงในระดับต่ํา ๆ ใบหนาแนน ผลชวยดึงดูดสัตวปาเขามาในพื้นที่

ขอมูลเพิ่มเติม Flora of Thailand 2(4) (1981); Cambodian Tree Species, Monographs (DANIDA, 2004)

126 SW 6455-p new-G8.indd p126

10/29/56 BE 4:42 PM


ºÃóҹءÃÁ กรมปาไม. 2542. การจัดการเพาะชํากลาไมคุณภาพ. สวนเพาะชํากลาไม, สํานักสงเสริมการปลูกปา. จําลอง เพ็งคลาย, ธวัชชัย วงศประเสริฐ, ธีรวัฒน บุญทวีคุณ, พงษศักดิ์ พลเสนา และทนงศักดิ์ จงอนุรักษ. 2549. พรรณไมวงศไมกอของไทย. โรงพิมพกรุงเทพ (1984) จํากัด, กรุงเทพฯ. จินตนา บุพบรรพต และบุญชุบ บุญทวี. 2540. ชีพลักษณดอกและผลไมยางพลวง. เอกสารผลงานวิจัย สวนวน วัฒนวิจัย สํานักวิชาการปาไม, กรมปาไม. ไซมอน การดเนอร, พินดา สิทธิสุนทร และวิไลวรรณ อนุสารสุนทร. 2543. ตนไมเมืองเหนือ. โครงการจัดพิมพ คบไฟ, กรุงเทพฯ. ธงชัย เปาอินทร และนิวัตร เปาอินทร. 2544. ตนไมยานารู. พิมพครั้งที่ 1. บริษัท ออฟเซ็ท เพรส จํากัด, กรุงเทพฯ. ธวัชชัย สันติสุข. 2549. ปาของประเทศไทย. สํานักหอพรรณไม, กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช, กรุงเทพฯ. นันทวัน บุณยะประภัศร และคณะ. 2542. สมุนไพรไมพื้นบาน (3). สํานักพิมพประชาชน, กรุงเทพฯ. นิตย โกมาสถิตย. 2530. การประเมินผลผลิตของเมล็ดและระยะเวลาในการเก็บเมล็ด. กรมปาไมและศูนยเมล็ด พันธุไมปาอาเซี่ยน-แคนาดา อ.มวกเหล็ก จ.สระบุรี. ปยะ เฉลิมกลิ่น. 2544. พรรณไมวงศกระดังงา. บริษัทอมรินทรพริ้นติ้งแอนดพับลิชชิ่ง จํากัด (มหาชน), กรุงเทพฯ. วิโรจน รัตนพรเจริญ. 2546. ความผันแปรของการเติบโตและลักษณะทางกายภาพบางประการของไมสกุลยมหิน จากถิ่นกําเนิดตาง ๆ. วิทยานิพนธปริญญาโท, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร. ราชบัณฑิตยสถาน. 2538. อนุกรมวิธานพืช อักษร ก. พิมพครั้งที่ 1. บริษัทเพื่อนพิมพ จํากัด, กรุงเทพฯ. สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย 2551 พืชกินไดในปาสะแกราช เลม 1. สวนพฤกษศาสตรปาไม. 2542. พรรณไมตนของประเทศไทย. บริษัท ไดมอนด พริ้นติ้ง จํากัด, กรุงเทพฯ. สวนพฤกษศาสตรปาไม. 2544. ชื่อพรรณไมแหงประเทศไทย เต็ม สมิตินันทน ฉบับแกไขเพิ่มเติม พ.ศ. 2544. บริษัท ประชาชน จํากัด, กรุงเทพฯ. สํานักงานหอพรรณไม. 2555. คูมือเลือกชนิดพรรณไมเพื่อปลูกปาปองกันอุทกภัย. โรงพิมพสํานักงานพระพุทธ ศาสนาแหงชาติ, กรุงเทพฯ. สํานักคณะกรรมการการวิจัยแหงชาติ. 2540. ไมเอนกประสงคกินได. คณะกรรมการประสานงานวิจัยและพัฒนา ทรัพยากรปาไมและไมโตเร็วเอนกประสงค. สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ. สุธรรม อารีกุล, จํารัส อินทร, สุวรรณ ทาเขียว และอองเต็ง นันทแกว. 2552. องคความรูเรื่องพืชปาที่ใชประโยชน ทางภาคเหนือของไทยเลม 1–3. มูลนิธิโครงการหลวง. บริษัท อมรินทรพริ้นติ้ง แอนด พับลิชชิ่ง จํากัด (มหาชน), กรุงเทพฯ. สุรีย ภูมิภมร และอนันต คําคง. 2540. ไมอเนกประสงคกินได. เฟองฟา พริ้นติ้ง, กรุงเทพฯ. 57–58 หนา. หนวยวิจัยการฟนฟูปา. 2543. เมล็ดและกลาไมยืนตน เพื่อการฟนฟูปาในภาคเหนือของประเทศไทย. ภาควิชา ชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร, มหาวิทยาลัยเชียงใหม. อําไพ ศิริลักษณ. 2544. ลักษณะทางสัณฐานวิทยาของกลาไมขนาดเหมาะสมตอการปลูกปา. สวนวนวัฒนวิจัย สํานักวิชาการปาไม, กรมปาไม. 127 SW 6455-p new-G8.indd p127

10/29/56 BE 4:42 PM


อุทิศ กุฎอินทร. 2542. นิเวศวิทยาพื้นฐานเพื่อการปาไม. ภาควิชาชีววิทยาปาไม, คณะวนศาสตร, มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร, กรุงเทพฯ. เอื้อมพร วีสมหมาย และปณิธาน แกวดวงเทียน. 2547. ไมปายืนตนของไทย 1. โรงพิมพ เอช เอ็น กรุป จํากัด, กรุงเทพฯ. Blakesleya, D., Elliottb, S., Kuarakb, C., Navakitbumrungb P., Zangkumb, S. & Anusarnsunthornb, V. 2002. Propagating framework tree species to restore seasonally dry tropical forest: implications of seasonal seed dispersal and dormancy. Forest Ecology and Management 164: 31–38. Chantaranothai, P. 2011. A Revision of the Genus Vitex (Lamiaceae) in Thailand. Tropical Natural History 11(2): 91–118. Chung, R. C. K. and Soepadmo, E. 2011. Taxonomic revision of the genus Microcos (Malvaceae-Grewioideae) in Peninsular Malaysia and Singapore. Blumea Volume 56(3): 273–299. Kopachon, S, K. Suriya, S. Plukum, G. Pakaad, P. Navakitbumrung, J. F. Maxwell, V. Anusarnsunthorn, N. C. Garwood, D. Blakesley and S. Elliott. 1997. Forest restoration research in northern Thailand: 2. The fruits, seeds and seedlings of Gluta usitata (Wall.) Ding Hou (Anacardiaceae). National History Bulletin Siam Society 45: 205–215. Forest Restoration Research Unit (FORRU). 2000. Tree Seed and Seedling for Restoring Forests in Northern Thailand. Biology Department, Science Faculty, Chiang Mai University, Thailand. Furtado, C. X. 1969. A revision of Lagerstroemia L. (Lythraceae). The Gardens’ Bulletin, Singarpore 24: 267–272. Kochummen, K. M. 1989. Lauraceae. In : Ng, F. S. P. Tree Flora of Malaya 4 : 98–178. Art Printing Works Sdn. Bnd., Kuala Lumpur. Lemmens, R. H. M. J., Soerianegara I. & Wong W. C. (eds.). 1995. Plant Resources of South-East Asia. No 5 (2). Timber trees: minor commercial timbers. Backhuys Publishers, Leiden. Nguyen et al., 1996: Vietnam Forest Trees. JICA/Vietnam Inventory and Planning Institute. Niyomdham, C. 2002. An account of Dalbergia (Leguminosae-Papilionoideae) in Thailand. Thai Forest Bulletin No. 30: 124–166. Saralamp, P. 1997. Medicinal Plants in Thailand Vol. 2. Deptartment of Pharmaceutical Botany, Faculty of Pharmacy, Mahidol University, Bangkok. Saralamp, P., Chuakul, W., Temsirikul, R. & Clayton, T. 1996. Medicinal Plants in Thailand Vol. 1. Department of Pharmaceutical Botany, Faculty of Pharmacy, Mahidol University, Bangkok. Smitinand, T. 1989. Thailand, pp. 63–82. In D. G. Campbell and D. H. Hammond (eds.). Floristic inventory of tropical countries: status of plant systematics, collections and vegetation, plus recommendations for the future. New York Botanical Garden, New York. Smitinand, T., J. E. Vidal and HÔ, P. H. . 1990. Dipterocarpaceae. Flora Cambodge, Laos and Vietnam 25. 128 SW 6455-p new-G8.indd p128

10/29/56 BE 4:42 PM


Soepadmo, E. and Wong, K. M. (eds.). 1996. Tree flora of Sabah and Sarawak Vol. 2. Sabah Forestry Dept., Forest Research Institute Malaysia and Sarawak Forestry Dept. Symington, C. F., 1941. Foresters’ manual of dipterocarps. Malayan Forest Records No 16. Forest Department, Kuala Lumpur. pp. xliii + 244. van Den Brink, R. C. B. and J. Th, Koster. 1963. Notes on the Flora of Java VIII. Blumea 12: 63.

Flora of Thailand Santisuk, T. & Larsen, K. (eds.). 1993. Flora of Thailand 6(1). Diamon Printing, Bangkok. Santisuk, T. & Larsen, K. (eds.). 1997. Flora of Thailand 6(3). Diamon Printing, Bangkok. Santisuk, T. & Larsen, K. (eds.). 1999. Flora of Thailand 7(1). Diamon Printing, Bangkok. Santisuk, T. & Larsen, K. (eds.). 2001. Flora of Thailand 7(3). Prachachon, Bangkok. Santisuk, T. & Larsen, K. (eds.). 2002. Flora of Thailand 7(4). Prachachon, Bangkok. Santisuk, T. & Larsen, K. (eds.). 2005. Flora of Thailand 8(1). Prachachon, Bangkok. Santisuk, T. & Larsen, K. (eds.). 2005. Flora of Thailand 9(1). Prachachon, Bangkok. Santisuk, T. & Larsen, K. (eds.). 2010. Flora of Thailand 10(2). Prachachon, Bangkok. Santisuk, T. & Larsen, K. (eds.). 2010. Flora of Thailand 10(3). Prachachon, Bangkok. Santisuk, T. & Larsen, K. (eds.). 2011. Flora of Thailand 10(4). Prachachon, Bangkok. Smitinand, T. & Larsen, K. (eds.). 1970. Flora of Thailand 2(1). The Tister Press, Bangkok. Smitinand, T. & Larsen, K. (eds.). 1981. Flora of Thailand 2(4). The Tister Press, Bangkok. Smitinand, T. & Larsen, K. (eds.). 1984. Flora of Thailand 4(1). The Tister Press, Bangkok. Smitinand, T. & Larsen, K. (eds.). 1987. Flora of Thailand 5(1). The Chutima Press, Bangkok. Smitinand, T. & Larsen, K. (eds.). 1992. Flora of Thailand 5(4). The Chutima Press, Bangkok.

Flora of China Wu Zheng-yi, Raven, P. H. & Deyuan, Hong (eds.). 1994. Flora of China Vol. 17. Science Press, Beijing. Wu Zheng-yi, Raven, P. H. & Deyuan, Hong (eds.). 2003. Flora of China Vol. 5. Science Press, Beijing. Wu Zheng-yi, Raven, P. H. & Deyuan, Hong (eds.). 2007. Flora of China Vol. 12. Science Press, Beijing. Wu Zheng-yi, Raven, P. H. & Deyuan, Hong (eds.). 2007. Flora of China Vol. 13. Science Press, Beijing. Wu Zheng-yi, Raven, P. H. & Deyuan, Hong (eds.). 2009. Flora of China Vol. 11. Science Press, Beijing.

129 SW 6455-p new-G8.indd p129

10/29/56 BE 4:43 PM


Wu Zheng-yi, Raven, P. H. & Deyuan, Hong (eds.). 2010. Flora of China Vol. 10. Science Press, Beijing. Wu Zheng-yi, Raven, P. H. & Deyuan, Hong (eds.). 2011. Flora of China Vol. 19. Science Press, Beijing.

PROSEA PROSEA. 1991. Plant Resources of South-East Asia 3: Dye and tannin-producing plants. Pudoc, Wageningen, The Netherlands, pp. 70–72. PROSEA. 1991. Plant Resources of South-East Asia 2. Edible Fruits and Nuts. E. W. M. Verheij and R. E. Coronel (eds.). PROSEA, Pudoc, Wageningen. PROSEA. 1994. Plant Resources of South East Asia 5(1) Timber trees: Major commercial timbers. PROSEA. 1998. Plant Resources of South-East Asia 5(3). Timber trees: Lesser-known timbers. Prosea Foundation, Bogor, Indonesia. PROSEA. 2001. Plant Resources of South-East Asia 12(2). Medicinal and poisonous plants 2. Backhuys Publisher, Leiden, The Netherlands. PROSEA. 2001. Plant Resources of South East Asia 18. Plant producing exudates. Prosea Foundation, Bogor, Indonesia. PROSEA.1999. Plant Resources of South-East Asia 12(1) Medicinal and poisonous plants 1. Backhuys Publisher, Leiden, The Netherlands. p. 302.

Websites AgroForestryTree Database, PROSEA, INTERNATIONAL CENTER FOR RESEARCH IN AGROFORESTRY. Available at <http://www.worldagroforestry.org/Sea/Products/AFDbases/AF/index.asp>. ARCBC BISS Species Database. Available at <http://arcbc.org/cgi-bin/abiss.exe>. Australian Tropical Rainforest Plants website version 6.1 (2010). Available at <http://keys.trin.org.au:8080/ key-server/data/0e0f0504-0103-430d-8004-060d07080d04/media/Html/taxon/index.htm>. Cambodian Tree Species, Forestry Administration/DANIDA. Available at <http://www.treeseedfa.org/ cambodia_monograph.htm>. ForestryNepal. Available at <http://www.forestrynepal.org/>. Lao Tree Seed Project. Available at <http://www.nafri.org.la/>. NAFRI. Lao Tree Seed Project, Nam Souang Forest Research Centre, Naxaythong District, Vientiane Municipality, Lao P.D.R. Available at <http://www.nafri.org.la/>. The Gymnosperm Database. Available at <http://www.conifers.org/pi/Pinus_merkusii.php>. 130 SW 6455-p new-G8.indd p130

10/29/56 BE 4:44 PM


ÃÒª×èÍÇ§È áÅЪ×è;ġÉÈÒÊμà Achariaceae

Hydnocarpus anthelminthicus Pierre ex Laness.

Anacardiaceae

Buchanania lanzan Spreng. Gluta usitata (Wall.) Ding Hou Lannea coromandelica (Houtt.) Merr. Mangifera caloneura Kurz Spondias bipinnata Airy Shaw & Forman

Annonaceae

Melodorum fruticosum Lour. Miliusa velutina (Danal) Hook. f. & Thomson Polyalthia cerasoides (Roxb.) Benth. & Hook. f. ex Bedd.

Apocynaceae

Wrightia arborea (Dennst.) Mabb.

Bignoniaceae

Dolichandrone serrulata (Wall. ex DC.) Seem. Fernandoa adenophylla (Wall. ex G. Don) Steenis Markhamia stipulata (Wall.) Seem. Millingtonia hortensis L. f.

Burseraceae

Canarium subulatum Guillaumin Garuga pinnata Roxb. Protium serratum (Wall. ex Colebr.) Engl.

Cannabaceae

Gironniera subaequalis Planch. Trema orientalis (L.) Blume

Celastraceae

Siphonodon celastrineus Griff.

Clusiaceae (Guttiferae)

Garcinia cowa Roxb. ex DC. Garcinia schomburgkiana Pierre Garcinia speciosa Wall.

Combretaceae

Combretum quadrangulare Kurz

Crypteroniaceae

Crypteronia paniculata Blume

Datiscaceae

Tetrameles nudiflora R. Br.

Dipterocarpaceae

Dipterocarpus intricatus Dyer Dipterocarpus obtusifolius Teijsm. ex Miq. Dipterocarpus tuberculatus Roxb. Hopea ferrea Laness. Hopea helferi (Dyer) Brandis Hopea thorelii Pierre Shorea obtusa Wall. ex Blume Shorea siamensis Miq. Vatica odorata (Griff.) Symington

Ebenaceae

Diospyros bejaudii Lecomte Diospyros coaetanea H. R. Fletcher Diospyros ehretioides Wall. ex G. Don Diospyros mollis Griff.

Elaeocarpaceae

Elaeocarpus serratus L.

131 SW 6455-p new-G8.indd p131

10/29/56 BE 4:44 PM


Euphorbiaceae

Antidesma bunius (L.) Spreng. var. bunius Aporosa villosa (Wall. ex Lindl.) Baill. Bridelia retusa (L.) A. Juss. Croton persimilis Müll. Arg. Falconeria insignis Royle Glochidion sphaerogynum (Müll. Arg.) Kurz Mallotus nudiflorus (L.) Kulju & Welzen Mallotus paniculatus (Lam.) Müll. Arg. Mallotus philippensis (Lam.) Müll. Arg. Mallotus plicatus (Müll. Arg.) Airy Shaw Putranjiva roxburghii Wall. Suregada multiflora (A. Juss.) Baill.

Fabaceae (Leguminosae-Caesalpinioideae)

Cassia bakeriana Craib Cassia fistula L. Dialium cochinchinense Pierre

Fabaceae (Leguminosae-Mimosoideae)

Adenanthera microsperma Teijsm. & Binn. Albizia lebbeckoides (DC.) Benth.

Fabaceae (Leguminosae-Papilionoideae)

Dalbergia cultrata Graham ex Benth. Dalbergia oliveri Gamble Erythrina subumbrans (Hassk.) Merr. Millettia leucantha Kurz

Fagaceae

Quercus kerrii Craib

Gentianaceae

Fagraea fragrans Roxb.

Hypericaceae

Cratoxylum cochinchinense (Lour.) Blume

Lamiaceae (Labiatae)

Gmelina racemosa (Lour.) Merr. Vitex canescens Kurz Vitex peduncularis Wall. ex Schauer Vitex pinnata L.

Lauraceae

Phoebe tavoyana (Meisn.) Hook. f.

Lythraceae

Lagerstroemia calyculata Kurz Lagerstroemia macrocarpa Wall. Lagerstroemia venusta Wall. Lagerstroemia cochinchinensis Pierre

Malvaceae

Bombax anceps Pierre Bombax ceiba L. Hibiscus macrophyllus Roxb. ex Hornem. Microcos paniculata L. Microcos tomentosa Sm. Sterculia foetida L. Sterculia hypochra Pierre

Meliaceae

Azadirachta indica A. Juss. Chukrasia tabularis A. Juss. Walsura trichostemon Miq.

Moraceae

Ficus altissima Blume Ficus hispida L. f.

132 SW 6455-p new-G8.indd p132

10/29/56 BE 4:44 PM


Ficus rumphii Blume Streblus asper Lour.

Myristicaceae

Horsfieldia irya (Gaertn.) Warb

Myrtaceae

Syzygium claviflorum (Roxb.) A. M. Cowan & Cowan Syzygium ripicola (Craib) Merr. & L. M. Perry

Pinaceae

Pinus merkusii Jungh. & de Vriese

Polygalaceae

Xanthophyllum lanceatum (Miq) J. J. Sm.

Rosaceae

Eriobotrya bengalensis (Roxb.) Hook. f.

Rubiaceae

Gardenia sootepensis Hutch. Hymenodictyon orixense (Roxb.) Mabb. Mitragyna rotundifolia (Roxb.) Kuntze Morinda elliptica Ridl. Neonauclea pallida (Reinw. ex Havil.) Bakh. f.

Salicaceae

Casearia grewiifolia Vent.

Sapindaceae

Lepisanthes rubiginosa (Roxb.) Leenh. Mischocarpus pentapetalus (Roxb.) Radlk. Nephelium hypoleucum Kurz

Simaroubaceae

Ailanthus triphysa (Dennst.) Alston Picrasma javanica Blume

133 SW 6455-p edit-G8.indd p133

10/29/56 BE 5:05 PM


´Ñª¹Õª×è;ġÉÈÒÊμà Adenanthera microsperma Teijsm. & Binn. Ailanthus triphysa (Dennst.) Alston Albizia lebbeckoides (DC.) Benth. Antidesma bunius (L.) Spreng. var. bunius Aporosa villosa (Wall. ex Lindl.) Baill. Azadirachta indica A. Juss. Bombax anceps Pierre Bombax ceiba L. Bridelia retusa (L.) A. Juss. Buchanania lanzan Spreng. Canarium subulatum Guillaumin Casearia grewiifolia Vent. Cassia bakeriana Craib Cassia fistula L. Chukrasia tabularis A. Juss. Combretum quadrangulare Kurz Cratoxylum cochinchinense (Lour.) Blume Croton persimilis Müll. Arg. Crypteronia paniculata Blume Dalbergia cultrata Graham ex Benth. Dalbergia oliveri Gamble Dialium cochinchinense Pierre Diospyros bejaudii Lecomte Diospyros coaetanea H. R. Fletcher Diospyros ehretioides Wall. ex G. Don Diospyros mollis Griff. Dipterocarpus intricatus Dyer Dipterocarpus obtusifolius Teijsm. ex Miq. Dipterocarpus tuberculatus Roxb. Dolichandrone serrulata (Wall. ex DC.) Seem. Elaeocarpus serratus L. Eriobotrya bengalensis (Roxb.) Hook. f. Erythrina subumbrans (Hassk.) Merr. Fagraea fragrans Roxb. Falconeria insignis Royle Fernandoa adenophylla (Wall. ex G.Don) Steenis Ficus altissima Blume Ficus hispida L. f. Ficus rumphii Blume Garcinia cowa Roxb. ex DC. Garcinia schomburgkiana Pierre Garcinia speciosa Wall. Gardenia sootepensis Hutch. Garuga pinnata Roxb. Gironniera subaequalis Planch. Glochidion sphaerogynum (Müll. Arg.) Kurz Gluta usitata (Wall.) Ding Hou Gmelina racemosa (Lour.) Merr. Hibiscus macrophyllus Roxb. ex Hornem. Hopea ferrea Laness. Hopea thorelii Pierre Horsfieldia irya (Gaertn.) Warb. Hydnocarpus anthelminthicus Pierre ex Laness. Hymenodictyon orixense (Roxb.) Mabb. Lagerstroemia calyculata Kurz

47

51 27 109 124 53 31 32 93 106 99 64 26 117 52 58 90 43 25 74 83 78 126 120 89 101 112 114 113 28 107 85 37 71 36 29 24 49 46 82 102 97 80 86 61 30 115 33 41 88 87 22 66 55 35

Lagerstroemia cochinchinensis Pierre 34 Lagerstroemia macrocarpa Wall. 62 Lagerstroemia venusta Wall. 60 Lannea coromandelica (Houtt.) Merr. 73 Lepisanthes rubiginosa (Roxb.) Leenh. 108 Mallotus nudiflorus (L.) Kulju & Welzen 50 Mallotus paniculatus (Lam.) Müll. Arg. 57 Mallotus philippensis (Lam.) Müll. Arg. 100 Mallotus plicatus (Müll. Arg.) Airy Shaw 122 Mangifera caloneura Kurz 105 Markhamia stipulata (Wall.) Seem. 81 Melodorum fruticosum Lour. 119 Microcos paniculata L. 118 Microcos tomentosa Sm. 44 Miliusa velutina (Dunal) Hook. f. & Thomson 77 Millettia leucantha Kurz 121 Millingtonia hortensis L. f. 42 Mischocarpus pentapetalus (Roxb.) Radlk. 96 Mitragyna rotundifolia (Roxb.) Kuntze 23 Morinda elliptica Ridl. 111 Neonauclea pallida (Reinw. ex Havil.) Bakh. f. 39 Neophelium hypoleucum Kurz 79 Phoebe tavoyana (Meisn.) Hook. f. 38 Picrasma javanica Blume 68 Pinus merkusii Jungh. & de Vriese 54 Polyalthia cerasoides (Roxb.) Benth. & Hook. f. ex Bedd. 69 Protium serratum (Wall. ex Colebr.) Engl. 104 Putranjiva roxburghii Wall. 94 Quercus kerrii Craib 67 Shorea obtusa Wall. ex Blume 92 Shorea siamensis Miq. 116 Siphonodon celastrineus Griff. 103 Spondias bipinnata Airy Shaw & Forman 48 Sterculia foetida L. 59 Sterculia hypochra Pierre 40 Streblus asper Lour. 75 Suregada multiflora (A. Juss.) Baill. 76 Syzygium claviflorum (Roxb.) A. M. Cowan & Cowan 123 Syzygium ripicola (Craib) Merr. & L. M. Pery 125 Tetrameles nudiflora R. Br. 56 Trema orientalis (L.) Blume 45 Vatica odorata (Griff.) Symington 98 Vitex canescens Kurz 95 Vitex peduncularis Wall. ex Schauer 72 Vitex pinnata L. 91 Walsura trichostemon Miq. 70 Wrightia arborea (Dennst.) Mabb. 110 Xanthophyllum lanceatum (Miq.) J. J. Sm. 84

134 SW 6455-p edit-G8.indd p134

10/29/56 BE 5:06 PM


ÃÒ¹ÒÁ¤³Ð·íÒ§Ò¹ ที่ปรึกษา นายมโนพัศ หัวเมืองแกว อธิบดีกรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช นายนิพนธ โชติบาล รองอธิบดีกรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช นายธีรภัทร ประยูรสิทธิ รองอธิบดีกรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช นายเสริมยศ สมมั่น รองอธิบดีกรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช นายณรงค มหรรณพ ผูอํานวยการสํานักวิจัยการอนุรักษปาไมและพันธุพืช นางเตือนใจ นุชดํารงค ผูอํานวยการสํานักอนุรักษสัตวปา นายจําลอง เพ็งคลาย นายธวัชชัย สันติสุข นางกองกานดา ชยามฤต นางลีนา ผูพัฒนพงศ คณะทํางาน นายราชันย ภูมา นายสุคิด เรืองเรื่อ นางสาวนันทนภัส ภัทรหิรัญไตรสิน นายทวีโชค จํารัสฉาย นายพาโชค พูดจา นายสมราน สุดดี นายวรดลต แจมจํารูญ นางสาวสุคนธทิพย ศิริมงคล นางสาวนันทวรรณ สุปนตี นายมานพ ผูพัฒน นายวิชัย ออนนอม นายปยชาติ ไตรสารศรี นายทนงศักดิ์ จงอนุรักษ นางสาวโสมนัสสา แสงฤทธิ์ นายนิมิตร รักธงชัย นายเอกวิทย เทอดเกียรติกุล ออกแบบรูปเลม นายปรีชา การะเกตุ

SW 6455-p new-G8.indd p135

10/29/56 BE 4:44 PM


¤íÒ¹ÔÂÁ คณะผูจ ดั ทําขอขอบคุณงานวิจยั และจัดการเมล็ดพันธุไ มปา กลุม งานวนวัฒนวิจยั สํานักวิจยั และพัฒนาการปาไม และสํานักสงเสริมการปลูกปา กรมปาไม ที่ใหความอนุเคราะหขอมูลที่เปน ประโยชนดา นการเพาะชํากลาไมและการปลูกปา สวนภูมสิ ารสนเทศ สํานักฟน ฟูและพัฒนาพืน้ ทีอ่ นุรกั ษ สํานักอนุรกั ษและจัดการตนนํา้ กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพ ชื เอือ้ เฟอ ขอมูลรายละเอียด เกี่ยวกับแผนที่และขอมูลพื้นที่ลุมนํ้า นายชวน ธีรวุฒิอุดม อนุเคราะหขอมูลดานการเพาะชําพืช บางชนิดและขอมูลการเพาะชําโดยภูมปิ ญ  ญาชาวบาน คุณอนุชติ แตงออน ทีเ่ อือ้ เฟอ ภาพกรวย นาย อรุณ สินบํารุง เอือ้ เฟอ ภาพพรรณไมบางชนิด นอง ๆ ผูช ว ยนักวิจยั ของสํานักงานหอพรรณไมทชี่ ว ย รวบรวมขอมูลทัง้ ลักษณะทางพฤกษศาสตรบางสวน ขอมูลการเพาะชําและการใชประโยชนของพรรณไม หลายชนิด ดังรายนามตอไปนี้ นางสาววลัยพร วิศวชัยวัฒน นายวิทวัส เขียวบาง นางสาวออพร เผือกคลาย นางสาวรัมภรดา มีบุญญา นางสาวพรเพ็ญ สุภาโชค นางสาววันวิสา ภูไชยศรี นางสาว เทพวลี คะนานทอง นางสาวเบญจลักษณ ชื่นเจริญ นางสาวกมลชนก เปยถนอม นางสาวกฤติกา ทองอยู และนายเสกสรร ไกรทองสุข ขอบคุณหนวยงานทีเ่ กีย่ วของทัง้ ในประเทศและตางประเทศทีม่ สี ว นในการผลิตสือ่ ดานการ ปลูกฟน ฟูสภาพปา การเพาะชํากลาไม และการใชประโยชนพชื สําหรับใชอา งอิงในการจัดทําหนังสือ คูมือเลือกชนิดพรรณไมเพื่อปลูกปาปองกันอุทกภัย ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ นี้

SW 6455-p new-G8.indd p136

10/29/56 BE 4:45 PM


คูมือเลือกชนิดพรรณไมเพื่อปลูกปาปองกันอุทกภัย ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ สงวนลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2556 พิมพครั้งที่ 1 จํานวนพิมพ 3,000 เลม พุทธศักราช 2556

ขอมูลทางบรรณานุกรมของสํานักหอสมุดแหงชาติ National of Library of Thailand Cataloging in Publication Data สํานักงานหอพรรณไม. คูมือเลือกชนิดพรรณไมเพื่อปลูกปาปองกันอุทกภัย ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ.-- กรุงเทพฯ : กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม, 2556. 152 หนา. 1. พฤกษศาสตร. I. ชื่อเรื่อง. 580 ISBN 978-616-316-110-9

หนังสือเผยแพร หามจําหนาย พิมพที่ : โรงพิมพสํานักงานพระพุทธศาสนาแหงชาติ 314–316 แขวงบานบาตร เขตปอมปราบศัตรูพาย กรุงเทพฯ โทร 0 2223 3351 โทรสาร 0 2621 2910

สํานักงานหอพรรณไม กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

SW 6455-p new-G8.indd p144

10/15/56 BE 8:51 PM


ISBN 978-616-316-110-9

กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

SW 6455-COVER+BACK-G8.indd 2

10/15/56 BE 10:05 PM


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.