ภาษาไทย
พรพิไล เลิศวิชา
เอกสารประกอบการอบรม การจัดการเรียนรู ที่สอดคล องกับพัฒนาการทางสมอง (Brain-based Learning) เอกสารประกอบการวิจัยการจัดการเรียนรู โปรดอย าเผยแพร และอ างอิง สถาบันวิทยาการการเรีหรื ยนรูอ้ ใช ประโยชน ทางการค าใดๆ
c สงวนลิขสิทธิ์ ๒๕๕๖
สอนอย างไร ให นักเรียนรัก
ทำอย างไรให นักเรียน รักภาษาไทย
ทำอย างไรให นักเรียนรักภาษาไทย 1. ใช กระบวนการเคลื่อนไหวร างกาย เป นจังหวะ (movement) ขับเคลื่อนการเรียนรู ภาษา 2. อ านหนังสือให นักเรียนฟ ง 5 -10 นาที ก อนสอน หรือคราวละ 20 นาที อย างน อยสัปดาห ละ 3 ครั้ง 3. เปลี่ยนการเรียนเนื้อหาที่เป นทางการ (formal learning) ให เป นการเรียนแบบธรรมชาติ (natural learning) 4. พัฒนาทักษะการคิดทางภาษา ด วยวิธีการตั้งเงื่อนไข ให สมองคิด (conditional learning)
1.ใช กระบวนการเคลื่อนไหวร างกาย เป น จังหวะ (movement) ขับเคลื่อนการ เรียนรู ภาษา
เพลงประโยคสามส วน ประโยคสามส วน ยังฝ งใจจำ แมวนั้นเป นประธาน กรรมนั้นคือปลา
คือประธาน กริยา...กรรม คำว าแมวกินปลา กิน...เป นกริยา แมวกินปลา ประโยคสามส วน(ซ้ำ)
1
3
2 6
4 2 1 3
7
2.อ านหนังสือให นักเรียนฟ ง 5 -10 นาที ก อนสอน หรือคราวละ 20 นาที อย าง น อยสัปดาห ละ 3 ครั้ง - นิทาน - สารคดี - บทคล องจอง - เรื่องสั้น - นวนิยาย - คำกลอน
34
ผลของการอ านให ฟ งทุกวัน
1. สมองส วนอารมณ ถูกกระตุ น ให เกิด ความพอใจ ทัศนะคติทางบวก
ฮิปโปแคมป ส เก็บความจำ 2.สมองส วนฮิปโปแคมป ส ถูกกระตุ นให สร างความจำ
เนิ่นนาน
หวั่นไหว
เหลียวแล
ราตรี
เฉี่ยวโฉบ
ปรึกษา
3.ในที่สุดสมองจะสะสมคำศัพท รูปประโยค การใช คำ สำนวน ได เป นจำนวนมาก
4. สารโดปามีน และนอร อะดรีนาลีน หลั่งมากขึ้น กระตุ นให เกิดความตื่นตัว (alert) นำไปสู ความ สามารถเพิ่มขึ้นในการจำ
thinking + language 5.การฟ ง story ทำให การคิด (thinking) กับ ภาษา (language) เชื่อมโยงเข าด วยกันได ง าย
6.กระตุ นให สมอง - จำเรื่อง (memory) - เดาเรื่อง (predict) - ทำความเข าใจเรื่อง (comprehend)
สมองส วนหน า
คิด จำ และแก ป ญหา
7.การอ านช วยกระตุ นการคิดระดับสูง (higher order thinking skill) ของสมองส วนหน า
3.เปลี่ยนการเรียนเนื้อหาที่เป นทางการ (formal learning) ให เป นการเรียน แบบธรรมชาติ (natural learning) - เกมภาษา - เล านิทาน - บทเพลง
- ละคร - ฯลฯ
เก งคำในบัญชีคำ สะสมคลังคำศัพท
1 2
3
4
เหตุและผล
สีฟ าเป นประโยคหน า สีเหลืองเป นประโยคหลัง
“เราคือใคร...”
1.เตรียมการ ดให พร อม
2.ดูภาพ แล วเขียนลักษณะเด นของตัวละครแต ละตัว ด านหลังการ ด ห ามระบุชื่อตัวละครลงไป
3.จับคู กับเพื่อนเล นเกมทายตัวละคร โดยอ านคำใบ แล วให เพื่อนทายชื่อตัวละคร
“ใครน าจะพูดข อความนี้...”
1.อ านเรื่องพระอภัยมณี ตอน สุดสาครผจญภัย
2.เตรียมการ ด “ใครน าจะพูดข อความนี้...”
3.แบ งกลุ มๆ ละ 4-5 คน วางการ ดตรงกลางกลุ ม 1 ชุด โอน อยออก เพื่อหาผู เริ่มต นเล นคนแรก
4.ผู ชนะเริ่มทายคนแรกโดยให เริ่มจากประโยค “ใครน าจะเป นคนพูดประโยคนี้...” แล วอ านข อความ ในการ ด
5.สมาชิกในกลุ มที่รู คำตอบให ยกมือตอบ ถ าตอบถูกจะได รับการ ดไป และเป นผู อ านการ ดใบต อไป ผู ที่ได การ ดมาก ที่สุดเป นผู ชนะ Text
64
4.พัฒนาทักษะการคิดทางภาษา ด วยวิธี การตั้งเงื่อนไข ให สมองคิด (conditional learning)