3 kid book

Page 1

การออกแบบหนังสือเด็ก

หนังสือสําหรับเด็ก หนังสือสําหรับเด็กเปนสื่อเพื่อการเรียนรูที่จะชวยโนมนาวใหเด็กๆ เกิดความสนใจ ในเนื้อหา เกิดความเพลิดเพลินในการเรียนรูโดยไมรูตัว การออกแบบจัดหนารูปเลมและ ภาพประกอบ จึงมีความสําคัญอยางมากที่นักออกแบบจะตองสรางสรรคใหสอดคลองกับ ความสนใจ ความชอบและพฤติกรรมการรับรูของเด็กแตละวัยที่มีความแตกตางกันไป การออกแบบใหมีความเรียบงาย มีความชัดเจนทั้งสาระและภาพประกอบ มีความ สวยงามทั้งการจัดโครงสีและการตกแตงองคประกอบอื่น

จุดมุงหมายของการจัดหนา ก. เพื่อกระตุนความพึงพอใจใหเกิดการสนองตอบ และมีความสนใจใน เนื้อหาที่ตองการนําเสนอ ดวยการใชลักษณะภาพที่ดีและมีขนาดใหญ ข. การใชสีสันที่เหมือนจริงในการนําเสนอจะทําใหเด็กๆ เกิดความเขาใจ ในเนื้อหาไดดียิ่งขึ้น ขนาดและสีสันของตัวอักษรที่พอเหมาะ ทําใหมีความ ชัดเจนและนาสนใจ สามารถ อานหนังสือไดนานไมเบื่องาย ค. เพื่อตองการใหเกิดความรักหนังสือ และเกิดความรูสึกที่ดีตอหนังสือซึ่ง เปนแหลงขอมูลเบื้องตนทางการศึกษาหาความรูตางๆ ง. การออกแบบภาพ การจัดวางหนาอยางพิถีพิถัน สวยงาม จะชวย สงเสริมความรูสึกนึกคิดในทางสุนทรียภาพ และสนับสนุนใหเกิดจินตนาการ ในการสรางสรรคไดเปนอยางดี วิชาออกแบบนิเทศศิลป 2


2 การออกแบบหนังสือเด็ก

แนวคิดของการจัดหนา การออกแบบจัดหนาหนังสือสําหรับเด็ก จะมีลักษณะและวิธีการที่แตกตางกันไป จากงานลักษณะอื่นๆ หนังสือประเภทนี้จะมุงเนนการนําเสนอเนื้อหาดวยภาพประกอบเปน หลักและมีขอความเปนสวนประกอบ การมองภาพ การรับรู การเห็นและความชอบของ เด็กยอมแตกตางไปจากผูใหญ ผูออกแบบจึงควรไดศึกษาถึงหลักการทางจิตวิทยา การ รับรูและการดูภาพของเด็กดวย

นอกจากการออกแบบจัดหนาใหเกิดความสวยงาม และนาสนใจในแตละหนา แลว ผูออกแบบยังตองคํานึงถึงความสัมพันธตอเนื่องของการจัดหนา เพื่อใหเกิดความ สอดคลองกันและสงเสริมจินตนาการของเด็กใหคลองตามเนื้อหา เกิดจินตภาพในการ สรางสรรคไดอยางเพลิดเพลินอีกดวย หลักเกณฑในการออกแบบหนังสือเด็กควรคํานึงถึงสิ่งตางๆ ตอไปนี้ 1. ตําแหนงตางๆ ในเลม เชน ปก รองปก เนื้อใน เปนตน 2. รูปรางของเลม 3. ขนาดของเลม 4. สี 5. ภาพ 6. ตัวอักษร 7. การวางหนา (Lay-out)

วิชาออกแบบนิเทศศิลป 2


3 การออกแบบหนังสือเด็ก

ปก สิ่งที่สะดุดตาสิ่งแรกเกี่ยวกับหนังสือสําหรับเด็ก ก็คือ ปกหนังสือ เด็กจะหยิบ หนังสือที่เด็กใหความสนใจ ปกและภาพประกอบมีอิทธิพลตอการเลือกอานของเด็กมาก สวนเนื้อเรื่องนั้นมีผลตอการเลือกอานของเด็กเพียงปานกลาง ภาพหนาปก การใชสี การเลือกตัวอักษร และการจัดวางที่ดึงดูดสายตา จะ สรางความนาสนใจและสะดุดตาแกปกหนังสือ

รูปแบบของปกก็สามารถสรางความนาสนใจได แทนที่จะออกแบบปกหนังสือเปน รูปสี่เหลี่ยม อาจออกแบบเปนรูปทรงเรขาคณิตอื่นๆ เชน วงกลม หกเหลี่ยม หรือรูปที่ สอดคลองกับเนื้อหาของหนังสือ เชน รูปสัตว ผลไม รองเทา รถไฟ เปนตน ซึ่งเรื่องนี้ อาจเปนอุปสรรคตอการพิมพและการลงทุนอยูบาง

เนื้อใน หมายความรวมถึงหนาหนังสือที่บรรจุภาพและตัวอักษร ที่เปนเรื่องราวมีทั้งหนา ซายมือและขวามือ โดยทั่วไปการออกแบบหนาหนังสือเด็กแบงไดดังนี้ 1. ภาพและตัวหนังสืออยูในหนาเดียวกัน อาจเปนแบบแยกภาพและตัวหนังสือไวคนละสวนกัน หรือพิมพตัวหนังสือทับลงไปบนภาพ สวนเรื่องที่วาภาพจะอยูตรงไหน ตัวหนังสืออยูตรงไหน ทั้งนี้ขึ้นอยูกับผูออกแบบ โดย คํานึงถึงจุดสนใจของสายตา จุดนี้จะอยูตรงกึ่งกลางครึ่งบนของหนังสือ หนังสือจึงมัก ออกแบบโดยวางภาพไวตั้งแตกึ่งกลางหนาครึ่งบนลงมา แลววางตัวหนังสือไวดานลางของ ภาพ จัดวาเปนการออกแบบตามแบบแผน ซึ่งบางครั้งทําใหผูอานจําเจไมนาสนใจ วิชาออกแบบนิเทศศิลป 2


4 การออกแบบหนังสือเด็ก

การเปลี่ยนแปลงเพื่อความนาสนใจ เชน วางภาพลงเต็มหนาหนังสือ และวางตัวหนังสือ ทับลงไปตรงบริเวณที่เห็นวาเหมาะสม โดยคํานึงถึงเรื่องหลักความสมดุล นอกจากนี้สิ่งที่ นาสนใจอีกประการหนึ่งคือ ภาพไมจําเปนตองอยูในกรอบรูปสี่เหลี่ยม อาจเปนกรอบ วงกลม วงรี หรือไมมีลักษณะกรอบที่แนนอน การเลือกใชที่เหมาะสมทําใหเกิดสะดุดตา ได 2. ภาพและตัวหนังสืออยูคนละหนา โดยทั่วไปการมองของคนเรา สายตาจะตกที่หนาขวามือกอน การขึ้นเรื่อง ภาพ การ ประดิษฐตัวหนังสือจะอยูหนาขวามือทั้งสิ้น หนาซายปลอยไปแบบอัตโนมัติ แตสําหรับ หนังสือเด็ก หากนําภาพมาไวหนาขวามือหมด เด็กจะสนใจแตภาพในหนาขวามือและ ละเลยตัวหนังสือในหนาซายมือ ดังนั้น ควรสลับเอาภาพไวหนาดานซายมือบาง

3. การใชสองหนาควบเปนเสมือนหนาเดียวกัน เปนอีกวิธีหนึ่งที่เรียกความสนใจของเด็ก

วิชาออกแบบนิเทศศิลป 2


5 การออกแบบหนังสือเด็ก

4. การออกแบบโดยคํานึงถึงหลัก “มิติ” เปนวิธีการออกแบบที่เรียกความสนใจจากเด็กได เพราะเด็กชอบดูจากของจริงมากกวาภาพ หนังสือที่มีการพิมพโดยตัด พับ และคลี่กางออกใหเห็นเปนภาพสามมิตินั้น ทําใหเด็กรูสึก ถึงความลึกของภาพไดดีขึ้น การออกแบบหนาหนังสือประเภทนี้มีอุปสรรคอยูบาง ที่ระบบ การพิมพและตนทุนที่สูงขึ้น นอกจากนี้ความแข็งแรงของปกและเนื้อในเปนสิ่งสําคัญที่ตอง คํานึงถึง เพราะเด็กจับถือหนังสือแรงและยังไมรูจักการถนอมหนังสือ

รูปรางของเลม หนังสือเด็กที่มีวางขายทั่วไปในทองตลาดนั้นมีรูปเลมเปนแบบแนวตั้ง (Upright) และแบบแนวนอน (Oblong) หลักในการออกแบบรูปเลมทั้งสองแบบนี้ เปนเพราะความ สะดวกในการพิมพและความสะดวกของเด็กที่จะหยิบถือเปนหลักสําคัญ

วิชาออกแบบนิเทศศิลป 2


6 การออกแบบหนังสือเด็ก

สวนหลักที่จะทําใหรูปเลมหนังสือนาสนใจ คือ การทํารูปเลมที่แปลก เชน รูป วงกลม รูปหลายเหลี่ยม รูปวงรี รูปสัตว รูปผลไม ที่มีความสัมพันธกับเนื้อหาภายใน สําหรับความหนาหนังสือเด็กทั่วไปมีความหนาไมมากนัก

ขนาดของหนังสือ ไมมีหลักแนนอนวาหนังสือขนาดใดจะเหมาะสมกับเด็ก ทั้งนี้ขึ้นกับความสะดวก ของการพิมพ ความเหมาะสมกับขนาดของกระดาษพิมพ และเครื่องมือที่ใชพิมพ ขนาด ที่เหมาะสมโดยทั่วไปนาจะเปนขนาดที่เด็กถือและเปดอานไดสะดวก

ตัวอักษร ตัวอักษรหรือตัวหนังสือ เปนสวนประกอบที่สําคัญสําหรับหนังสือเด็กในแงมีผล ตอสัมผัสทางสายตา และการเกิดความพอใจ ผลที่ไดรับเกิดจากรูปแบบ ขนาด และสี ของตัวหนังสือ 1. รูปแบบ ตัวอักษรเทาที่มีจะเปนไปในแบบเดียวกันหมด คือ ตัวบรรจงแบบราชการ ดังนั้นสิ่งที่จะ เปลี่ยนแปลงไปสําหรับตัวหนังสือก็คือ ขนาดและสี 2. ขนาด โดยหลักการทางจิตวิทยาพัฒนาการของเด็ก การรับรูทางสายตาของเด็กจะรับรูส่งิ ตางๆ ในรูปแบบอยางหยาบๆ หรือแบบรวมๆ ไมสนใจรายละเอียดมากนัก เรื่องของตัวหนังสือ ที่เหมาะสมก็คือ ใชตัวหนังสือขนาดโตสําหรับเด็กเล็กๆ และขนาดของตัวหนังสือจะคอยๆ ลดลงตามวัยที่เติบโตขึ้นของเด็ก ขนาดตัวอักษร ระดับชั้น อายุ 30-36 พอยท อนุบาล 3-6 ป 24-30 พอยท ประถมตน 7-9 ป 20-24 พอยท ประถมปลาย 10-12 ป 18-20 พอยท มัธยมตน 13-15 ป 16-18 พอยท มัธยมปลาย 16-18 ป วิชาออกแบบนิเทศศิลป 2


7 การออกแบบหนังสือเด็ก

14-16 พอยท อุดมศึกษา ที่มา : สํานักพิมพไทยวัฒนาพานิช

18 ปขึ้นไป

3. สีของตัวอักษร สวนใหญมักพิมพตัวอักษรสีเขมลงบนกระดาษพื้นสีขาว เพราะตนทุนถูกกวาการพิมพลง บนกระดาษสี ที่นิยมกันในวงการพิมพหนังสือสําหรับเด็กก็คือ สีดํา การพิมพตัวหนังสือ สีขาวลงบนพื้นสีตางๆ นั้น ทําใหการตัดกันของพื้นและตัวหนังสือเปลี่ยนไป หากพื้นเปนสี เขมมากก็อานไดสะดวกยิ่งขึ้น จากการวิจัย (วรรณี แยมปทุม, 2519) พบวา ความสามารถในการรับรู ตัวหนังสือสีตางๆ ที่พิมพบนพื้นสีขาว ในกลุมเด็กชายสามารถรับรูตัวหนังสือสีเขียวและสี น้ําเงินไดเทากัน และรับรูตัวหนังสือสีเขียวและสีน้ําเงินไดดีกวาสีดํา แตถานําตัวหนังสือทั้งสามสีดังกลาวมาไวในหนาเดียวกัน กลับมีแนวโนมวา ตัวหนังสือสีดําจะทําใหเด็กสามารถรับรูไดดีกวาอีกสองสี แตโดยทั่วไปไมนิยมพิมพ ตัวหนังสือหลายสีไวในหนาเดียวกัน

การวางหนา (Lay-out) การวางหนาหนังสือสําหรับเด็กนี้ ถือวาเปนงานหนักและตองใชหลักเกณฑทาง ศิลปะมากเปนพิเศษ แมวาเราจะนําผลการวิจัยเกี่ยวกับภาพ ทั้งลักษณะภาพที่เด็กชอบ แบบ สี และขนาดของภาพ การวิจัยเกี่ยวกับตัวหนังสือ จนไดขอมูลที่นาพอใจแลว ขั้นตอนนี้เราตองนําเอาสิ่งเหลานั้นมา “จัดวางหนา” หลักเกณฑทางศิลปะเกี่ยวกับการวางหนามีหลักสําคัญที่ตองคํานึงถึง คือ 1. หลักสมดุล 2. ความเปนเอกภาพ 3. เนนจุดสนใจ 4. เวนชองวาง 5. การนําสายตา วิชาออกแบบนิเทศศิลป 2


8 การออกแบบหนังสือเด็ก

จากนั้นก็ขึ้นกับความคิดริเริ่มและสรางสรรคของนักออกแบบวา จะนําหลักเกณฑ ดังกลาวมาใชอยางไร เชน ในเรื่องหลักสมดุลไมจําเปนตองใหหนาเดียวกันมีจํานวนภาพ และตัวหนังสือเทากันทั้งสองขาง แตอาจใชน้ําหนักของภาพและจํานวนตัวหนังสือที่ แตกตางกัน แตจัดวางใหมีการถวงใหเกิดความสมดุล เมื่อทราบถึงหลักเกณฑหาประการแลว ควรพิจารณาการวางหนาในแตละแบบ พรอมๆ กันไป คือ 1. ภาพและตัวหนังสืออยูในหนาเดียวกัน โดยอยูแยกจากกัน ทําไดโดย 1.1) ภาพอยูดานบน ตัวหนังสืออยูดานลาง สําหรับรูปเลมแนวตั้ง

1.2) ภาพอยูดานซายหรือขวา ตัวหนังสืออยูดานขวาหรือซาย สําหรับรูปเลม แนวนอน

วิชาออกแบบนิเทศศิลป 2


9 การออกแบบหนังสือเด็ก

1.3) ตัวหนังสือแทรกอยูตามชองวางระหวางภาพ สําหรับรูปเลมแบบใดก็ได

2. ภาพและตัวหนังสือพิมพอยูหนาเดียวกันโดยตัวหนังสือทับอยูบนภาพ ก็ควร คํานึงถึงหลักทั้ง 5 ประการ ในการเลือกวางตัวหนังสือลงบนภาพ 3. ภาพและตัวหนังสืออยูคนละหนา การจัดหนาแบบนี้มักไมคอยมีปญหา เพราะแต ละหนาตองวางภาพและตัวหนังสือใหเหมาะสมในหนานั้นๆ ที่สําคัญคือ เมื่อดูทั้งสองหนา พรอมๆ กันแลวตองมีความสัมพันธกัน 4. ภาพและตัวหนังสือที่ใชเนื้อที่ทั้งสองหนาและทําใหดูเหมือนเปนหนาเดียวกัน การจัดวางหนาแบบนี้ ยังคงตองคํานึงถึงหลักเกณฑทางสมดุล เอกภาพ จุดสนใจและ อื่นๆ อันเปนหลักเกณฑพื้นฐานในการจัดวางหนาแบบนี้ ที่ควรพิจารณาเปนพิเศษ ไดแก การเวนชองวางรอบๆ ภาพ ภาพที่มีกรอบภาพชัดเจนและการไมเนนกรอบภาพ กรอบ ภาพที่ยืดหยุนไดทําใหสอดแทรกตัวหนังสือในสวนที่เปนชองวางได ในดานการพิมพตอง ระมัดระวังควบคุมสีของหนาที่ตอเนื่องกัน และรอยตอในการเขาเลมหนังสือ

ภาพ เรื่องของภาพในหนังสือเด็ก จัดวาเปนเรื่องสําคัญมาก มีการวิจัยในเรื่องนี้กันอยาง กวางขวางทั้งในและตางประเทศ หัวขอที่ไดรับการวิจัยมาก ไดแก 1. ลักษณะของภาพที่เด็กชอบ 2. แบบของภาพ 3. สีของภาพ 4. ขนาดของภาพ 5. อารมณของภาพ

วิชาออกแบบนิเทศศิลป 2


10 การออกแบบหนังสือเด็ก

ซึ่งผลของการวิจัย มีดังนี้

1. ลักษณะของภาพที่เด็กชอบและสนใจ

1.1) เด็กชอบภาพที่มีลักษณะงายๆ ไมซับซอน (เฟรนซ K-G 5-1952) (วิล เปล, อายุ 8-11 ขวบ 1953) , (สปอลติง , 1960) และเมื่ออายุสูงขึ้นเด็กก็จะชอบภาพที่ ซับซอนขึ้นเปนลําดับ 1.2) เด็กชอบภาพที่แสดงการกระทําและการผจญภัย , (วิปเปล , 1953)

1.3) เด็กชอบภาพสีมากกวาภาพขาวดํา (วิปเปล, 1953) , (บลูมเมอร, 1960) , (อัมสเดน, 1960 , อนุบาล 3-5 ขวบ) , (สุนันท จูฑะศร 2509) , (วุฒิ แตรสังข , 2514) 1.4) เด็กอายุ 8 ขวบ สนใจการตูนประกอบวรรณคดีหรือนิทานมากที่สุด อายุ 9 และ 10 ขวบ ชอบการตูนตลกขําขันมากที่สุด (สุวนิช ศรีสงา , 2516)

วิชาออกแบบนิเทศศิลป 2


11 การออกแบบหนังสือเด็ก

1.5) เด็กชอบหนังสือที่มีภาพประกอบมาก ชอบภาพใหญมากกวาภาพเล็ก ชอบภาพที่ตรงกับขอความมากกวาภาพที่ไมตรงกับขอความ (วิปเปล , 1953)

1.6) ภาพสีน้ําชวยใหเกิดจินตนาการไดมากกวาภาพลักษณะอื่น (บลูม เมอร , 1960) 1.7) เด็กชายและเด็กหญิงทั้งที่อานหนังสือเกงหรือไมเกง ชอบภาพ ลักษณะเดียวกัน (อัมสเดน , 1960) 1.8) เด็กสนใจภาพที่อยูขางขวามากกวาภาพขางซาย (อัมสเดน , 1960) ผลจากการวิจัยเหลานี้ นักออกแบบสามารถนํามาพิจารณาในการออกแบบ หนังสือ เชน ควรมีรายละเอียดของภาพมากหรือนอย ควรเปนภาพธรรมดาหรือภาพ แสดงอิริยาบถของตัวละคร ควรใชสีหรือไม ควรจะใชการตูนกับเรื่องอยางไร ภาพควรวาง ไวหนาไหน เปนตน

2. แบบของภาพ แบบในที่นี้ คือภาพที่ใชเปนภาพที่ทําขึ้นมาโดยวิธีใด เชน ภาพถาย ภาพ ลายเสน ภาพวาดแรเงา เปนตน ผลของการวิจัยมีวา

2.1) เด็กนิยมภาพการตูน (ฉลอง ทับศรี, 2517) , (สุนันท จูฑะศร , 2509) 2.2) เด็กชอบภาพถายเปนอันดับแรก ภาพแรเงา (ภาพวาดเหมือนหรือภาพเขียน หยาบ) เปนอันดับสอง และชอบภาพลายเสนเปนอันดับสุดทาย (สุนันท , 2509) , (ฉลอง , 2517) , (ประสงค , 2517) , (วุฒิ , 2514)

วิชาออกแบบนิเทศศิลป 2


12 การออกแบบหนังสือเด็ก

2.3) สําหรับภาพที่มีสีเขามาเกี่ยวของนั้น เด็กชอบภาพถายหลายสี (สีธรรมชาติ) เปน อันดับแรก ภาพถายขาวดําเปนอันดับที่สอง และภาพถายสีเดียวเปนอันดับหลังสุด (วุฒิ แตรสังข , 2514)

จากผลการวิจัยนี้ ถาไมคํานึงถึงเรื่องการลงทุนและเทคนิคการพิมพที่ซับซอนแลว ภาพถายสีธรรมชาติควรเปนแบบที่ถูกเลือกใชนอกเหนือไปจากภาพการตูน

3. สีของภาพ

ผลการวิจัยโดยทั่วไปพบวา เด็กชอบภาพที่มีสีหลายๆสี การวิจัยของบลูมเมอร (1960) พบวา เด็กเกรด 4 , 5 และ 6 ชอบภาพสีน้ํามากกวาภาพลายเสนและภาพแรเงา และยังกลาวอีกวาภาพสีน้ําชวยใหเด็กเกิดจินตนาการกวางไกลกวาภาพลักษณะอื่น

4. ขนาดของภาพ

มีการวิจัยพบวา ภาพขนาดใหญไดรับความสนใจจากเด็ก มากกวาภาพขนาดเล็ก

วิชาออกแบบนิเทศศิลป 2


13 การออกแบบหนังสือเด็ก

5. อารมณของภาพ

สวนหนึ่งของการที่เด็กจะชอบภาพที่ประกอบอยูในหนังสือหรือไมนั้น อารมณที่ เด็กไดรับจากการดูภาพมีสวนกําหนดความชอบของเด็กดวย อารมณที่ไดจากการดูภาพแบงเปน 3 อยางคือ อิฏฐารมณ (อารมณที่นา พอใจ) , อนิฏฐารมณ (อารมณที่ไมนาพอใจ) และอารมณที่เปนกลางๆ จากการวิจัยของ เปรื่อง กุมิท (2512) และ พงษสวัสดิ์ (2516) พบวา เด็กมี การเรียนรูหรือรับรูภาพที่เปนอิฏฐารมณไดเร็วกวาภาพที่เปน อนิฏฐารมณ เรื่องนี้มีสวน สัมพันธกับขอความที่ใชคูกับภาพดวย ถาขอความเปนไปในทางนาพอใจเชนเดียวกับภาพ แลว เด็กจะรับรูไดเร็วขึ้น หากขอความเปนไปในทางไมนาพอใจ แตภาพยังใหความรูสึก ที่นาพอใจ จะพบวาการรับรูยังเปนไปในระดับดีพอๆ กัน

วิชาออกแบบนิเทศศิลป 2


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.