kpismap

Page 1

การเชื่อมโยงตัวชี้วัดผลงานโดยใช KPIs Map โดย คุณณรงควิทย แสนทอง narongwit_s@hotmail.com ผมเชื่อวาในปจจุบันหลายองคกรกําลังวุนวายอยูกับการเปลี่ยนระบบการประเมินผลการดําเนินงานโดยใช Balanced Scorecard และเปลี่ยนระบบประเมินผลการปฏิบัติงานไปสูการบริหารผลงานโดยใชตัวชี้วัดผลงานหรือที่เรียกกันวา KPIs (Key Performance Indicators) ในความเปนจริงแลวการจัดทําระบบตางๆเหลานี้เปนเรื่องที่ไมยาก แตความยากอยูที่การที่จะนําเอาระบบไปประยุกต ใชกับแตละองคกรมากกวา เพราะแตละองคกรมีความแตกตางกันทั้งทางดานลักษณะของธุรกิจ สภาพแวดลอม ลักษณะงาน และวัฒนธรรมองคกร ดังนั้น จุดสําคัญที่จะทําใหระบบประสบความสําเร็จหรือลมเหลวจึงไมไดอยูที่การ วาจางบริษัทที่ปรึกษาหรือการมีเทคโนโลยีหรือองคความรูมากกวากัน ปญหาอุปสรรคที่สําคัญประการหนึ่งที่เกิดขึ้นในระหวางการนําเอาระบบ Balanced Scorecard และ KPIs คือ • จํานวนตัวชี้วัดมากเกินไป บางองคกรมีตัวชี้วัดหลายรอยตัว แตละตําแหนงมีตัวชี้วัดหลายสิบตัว • ไมแนใจวาตัวชี้วัดตัวใดสําคัญกวาตัวอื่นๆ • แตละหนวยงานไมยอมรับตัวชี้วัดผลงานของหนวยงานอื่น • ไมทราบวาตัวชี้วัดแตละตัวมีความสัมพันธกับเปาหมายองคกรและตัวชี้วัดผลงานตัวอื่นอยางไร • แตละหนวยงานกําหนดตัวชี้วัดและเปาหมายของตัวชี้วัดไดอยางอิสระ • ตัวชี้วัดบางตัวไมมีใครรับผิดชอบ ปญหาเหลานี้มักจะเกิดขึ้นในชวงนําเอาระบบไปใชใหมๆ ถาองคกรไหนแกปญหาไมไดอาจจะทําใหระบบนี้ลมเหลวได งาย บางองคกรใชเวลาในการเรียนรู ลองผิดลองถูกอยูหลายป บางองคกรสามารถปรับตัวไดเร็ว เพราะทุกคนหันหนา เขาหากัน เปดใจยอมรับวาการนําเอาระบบใหมๆเขามาใชชวงแรกๆก็ตองทําใจ ดังนั้น เพื่อชวยลดเวลาในการลองผิด ลองถูกและลดโอกาสแหงความลมเหลวของระบบ ผมจึงขอแนะนําแนวทางในการแกไขปญหาดังกลาวโดยใชเครื่องมือ ที่เรียกวา KPIs Map KPIs Map หมายถึง แผนที่หรือแผนผังแสดงความสัมพันธระหวางตัวชี้วัดผลงานแตละตัว สามารถนําไปใชไดทั้งใน ระดับองคกร(ขามหนวยงาน) และภายในหนวยงานเดียวกัน ขั้นตอนการจัดทํา KPIs Map ระดับองคกรมีดังนี้ แบงตัวชี้วัดผลงานออกเปน 4 กลุมตามมุมมองของ Balanced Scorecard ดังนี้ ดานการเงิน (Financial Perspective) หมายถึง ตัวชี้วัดผลงานของทุกหนวยงานที่เกี่ยวของกับกําไร ยอดขาย หรือการลดตนทุน


ดานลูกคา (Customer Perspective) หมายถึง ตัวชี้วัดผลงานของทุกหนวยงานที่เกี่ยวของกับความพึงพอใจของลูกคา สวนแบงการตลาด ขอรองเรียนของ ลูกคา ดานกระบวนการจัดการภายใน (Internal Business Process) หมายถึงตัวชี้วัดผลงานของทุกหนวยงานที่เกี่ยวของกับประสิทธิภาพในการทํางาน เชน ผลผลิต (Productivity) การสง มอบ (Delivery) การสรรหาพนักงานใหม (Recruitment) ระยะเวลาในการปดบัญชี มูลคาสตอกสินคาคงคลัง ประสิทธิ ภาพของเครื่องจักร ฯลฯ ดานการพัฒนาบุคลากร (Learning and Growth) หมายถึงตัวชี้วัดผลงานของทุกหนวยงานที่เกี่ยวของกับการพัฒนาบุคลากรในดานตางๆ เชน ทักษะดานชาง ทักษะดาน การผลิต การพัฒนาพนักงานจัดซื้อ ฯลฯ การจัดลําดับความสําคัญระหวางตัวชี้วัดในแตละดาน เพื่อใหเห็นวาตัวชี้วัด ตัวใดสนับสนุนตัวชี้วัดใด เชน ตัวชี้วัดดานขอรองเรียนของลูกคา จะเปนตัวที่สนับสนุนตัวชี้วัดเรื่องยอดขาย การเชื่อมโยงความสัมพันธระหวางตัวชี้วัดทั้งในดานเดียวกันและระหวางดานตางๆ เชน ตัวชี้วัดเรื่องอัตราของเสียซึ่งอยู ในดานของกระบวนการจัดการภายใน จะสงผลตอผลตอตนทุนและราคาของสินคา หรือยอดขายสงผลกระทบตอกําไร

สรุป การปรับจูนตัวชี้วัดผลงานขององคกรถือเปนหัวใจสําคัญที่จะชวยใหองคกรประสบความสําเร็จในการนําเอาระบบ Balanced Scorecard และ KPIs ไปใช เพราะการกําหนดตัวชี้วัดผลงานนั้นเปรียบเสมือนการหยิบชิ้นสวนของจิ๊กซอ ขึ้นมาเทานั้น แตการจัดทํา KPIs Map นั้นเปรียบเสมือนการนําเอาจิ๊กซอที่หยิบขึ้นมานั้นมาพิจารณาวาควรจะตอชิ้น นั้นกอนหรือหลังชิ้นอื่น และชิ้นนั้นๆควรจะวางไวตรงไหนของภาพ


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.