monetaryfiscalpolicy

Page 1

นโยบายการเงิน นโยบายการคลัง นโยบายการเงิน (Monetary Policy) ความหมาย คือ การที่รัฐบาลใชเครื่องมือทางการเงิน กระตุน เศรษฐกิจ มีดวยกัน 3 ดาน ดังนี้ 1. การลด – เพิ่มปริมาณเงินในระบบ 2. การปรับเปลี่ยนอัตราดอกเบี้ย (หรือเรียกวา ด/บ นโยบาย หรือ ด/บ มาตรฐาน) 3. การปรับเปลี่ยนอัตราแลกเปลี่ยน เงินตราระหวางประเทศ การที่รัฐบาลใชเครื่องมือทางการเงิน เพื่อบรรลุเปาหมายทาง ศก. ที่เราตองการดังนี้ 1.เพื่อใหเศรษฐกิจเจริญเติบโต (Economic Growth) 2. เพื่อใหเศรษฐกิจมีเสถียรภาพ (Eco Stability) 3. เพื่อใหเศรษฐกิจมีความเสมอภาค (Eco Eavity) หรือ การกระจายรายไดอยางยุติธรรม - หนวยงานที่ทําหนาที่ทางการเงิน คือ Bank ชาติ หรือ ธนาคารกลาง หรือ ธปท. นโยบายการคลัง (Fiscal Policy) คือ การที่รัฐบาลใชเครื่องทางการคลัง ในการกระตุนเศรษฐกิจ มีดว ยกัน 3 ดาน ดังนี้ 1. การใชมาตรการเพิ่ม – ลด ภาษี 2. การเพิ่ม – ลด การกอหนี้สาธารณะ 3. รายจายสาธารณะ (รัฐบาลสามารถเพิ่ม – ลด รายจายประจําป) เพื่อใหบรรลุเปาหมายทางเศรษฐกิจตามที่ตองการ - เพื่อให ศก. เจริญเติบโต (Eco.Growth) - เพื่อให ศก. มีเสถียรภาพ (Eco.Stabitity) - เพื่อให ศก. มีความเสมอภาค (Eco.Equity) ผูดูแลกระทรวงการคลัง คือ รัฐบาลโดยคณะรัฐมนตรี ผานสภา ตราเปน พรบ. รายจายประจําป กระการคลัง และสํานักงบประมาณ ทําหนาทีใ่ นการนํานโยบายไปใชปฏิบัติ คําถาม อ.ทําไมงบประมาณจะตองผาน พรบ.? เพราะในหลักประชาธิปไตย ผูเสียภาษีทกุ คนจะตองมีตัวแทน ในรัฐสภา Note ในปจจุบันนโยบายการเงินนโยบายการคลัง สวนใหญจะมุงเนนไปยังเปาหมายทาง ศก. เปนพื้นฐาน แตปจ จุบนั ยังมี เปาหมายทางสังคมดวย คือ ทําใหสังคมอยูดี มีสุข และคุณภาพชีวิต ที่ดีขึ้น การทําใหสภาพแวดลอมดีขนึ้ ดวย


การใชนโยบายการเงิน นโยบายการคลัง เพื่อเปาหมายในการสงเสริมการเจริญเติบโต และ รักษาเสถียรภาพ ทาง ศก. (Eco.Growth + Stability) การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ ของทุกประเทศมักจะเจริญเติบโต แบบไมมีเสถียรภาพ จะ ขึ้น ๆ ลง ๆ บางชวง ศก. มีความเจริญเติบโตสูง บางชวงต่ํา ถาเปนอยางนี้เราเรียกวา ปญหาวัฏจักร เศรษฐกิจ (Business Cycle) และมักจะกอใหเกิดปญหา 2 ดาน คือ 1. ชวงเศรษฐกิจขาลง (ศก. ตกต่ํา) จะมีปญหาวางงานเกิดขึ้น เพราะ Demand ของแรงงาน ลดลง แต Supply ของแรงงานไมลด 2. ชวงเศรษฐกิจขาขึ้น จะมีปญหาเงินเฟอ (Price Inflation) เปนภาวะทีร่ าคาสินคาบริการ พุงสูงขึ้นอยางรวดเร็ว โดยวัดจากดัชนีราคา (CPI) (Consumer Price Index) คําถาม อ.เงินเฟอดี หรือ ไมดี ในทางวิชาการ - เงินเฟอจะดี หรือ ไมดี ตองดูวาใครเปนผูต อบ เชน พอคา บอกวาดี/ลูกจาง ขาราชการ ไมดี - ผลประโยชนเกิดกับคน ไมเทากัน คือ การกระจายรายไดไมดี - ภาวะ ศก. ขยายตัวเร็ว จะไดภาวะเงินเฟอ เพราะปริมาณในระบบมาก ซึ่ง Demand ขยายตัวเร็ว แต Supply ขยายตัวไมทัน *** เศรษฐกิจ เจริญเติบโต ในระดับที่เหมาะสม คือ การเติบโตอยางมี ไมเจริญเติบโตเร็วเกินไป หรือชาเกินไป (อยูที่การตั้งเปาทาง ศก.) ทฤษฎีการเงิน การคลัง 1. Keynesian Theory ทฤษฎีสํานักเคนส 2. Monetarist Theory ทฤษฎีสํานักการเงินนิยม 1 ความคิดสํานักเคนส John Maynard Keynes เปน บิดาของทฤษฎีการเงิน การคลัง คิดทฤษฎีเมื่อ คศ.1930 หลัง สงครามโลกครั้งที่ 2 หลังจากนัน้ 30 ป จึงนํามาใช (1960) นักวิชาการที่สําคัญ 1. Devid Romer 2. N.Gregory Mankiw 3. Jemes Tobin สนใจเศรษฐกิจระหวางประเทศเปนหลัก *** นักวิชาการไทย ทุกคนใชแนวคิดทฤษฎีเคนส (โดยมาก)


แนวคิดทฤษฎีเคนส ไมคํานึงถึงการกระจายรายได มีแนวคิดหลัก 4 แนวคิด แนวคิดที่ 1 ศก. ตกต่ํา และมีการวางงาน - เกิดจากอุปสงครวม (y) ในระบบเศรษฐกิจ มีนอยเกินไป แนวคิดที่ 2 ศก. เสนอทางแก -ใหใชนโยบาย การเงิน การคลัง เขนามาชวยที่เรียกวา Demand Side Policy แนวคิดที่ 3 ศก.ขยายตัวอยางรวดเร็ว หรือ รอนแรง และเงินเฟอที่สูงขึ้น -เกิดจากอุปสงครวมในระบบเศรษฐกิจ มีมากเกินไป แนวคิดที่ 4 เสนอทางแก -ในนโยบายการเงิน – การคลัง Demand Restraint Policy แนวคิดที่ 1

เศรษฐกิจ ตกต่ํา และ มีการวางงาน Key Word – AD – Aggregate Demand = อุปสงครวม การอธิบาย อุปสงค รวม เรานิยม อธิบาย ได 2 รูปแบบ 1. อธิบายโดยสมการ 2. อธิบายโดยกราฟ การวิเคราะห สมการ คือ สมการรายไดประชาชาติ หรือ ที่เรียกวา อุปสงครวม Y= C + I + G + (X - M) Y คือ อุปสงครวม หรือ การใชจายรวมทั้งหมดในระบบ ศก. (Y จะมากหรือนอยอยูก ับ C) C = Consumption Spending คือการใชจายเพื่อบริโภค ของภาคเอกชน หรือ ครัวเรือน I = Investment Spending คือการใชจายเพื่อการลงทุน ของภาคเอกชน หรือ ครัวเรือน G = การใชจายรวมทั้งหมดของภาครัฐ (คือ งบประมาณรายจายประจําป) X = Export คือ มูลคาการสงออก M = Import คือ มูลคาการนําเขา ตัวอยาง ถามีความเชื่อมั่นทาง ศก. C+I G X

Y

ศก

และ การวางงาน ลดลง (ภาษีขาย)


การวิเคราะหโดยกราฟ (จาก Sheet หนา 3 ) Price AS A P1 AD AD1 O

Q2 Q1 Full Employment (การจางงานเต็มที่)

รูปนี้ เปนแบบจําลองที่แสดงใหเนนถึงการผลิตสินคาและบริการ ในตลาดสินคามหภาค - เสนตั้ง เปนเสนราคา (Price) - เสนนอน เปนเสนปริมาณการผลิต (Output) - เสน Demand มีความสัมพันธกับปริมาณไปในทางตรงกันขาม เชน P Q - เสน Supply ความสัมพันธเปนไปในทิศทางเดียวกัน เชน ราคาต่ํา จะผลิต นอย ราคาสูง ผลิตมาก A เปนจุดดุลยภาพ (เศรษฐกิจเจริญเติบโต เหมาะสม) O – Q2 ทําใหเกิดภาวะ การวางงาน (สมการ) Y =

C+I

+

G

+(

X

m) = เปนภาวะเศรษฐกิจตกต่ํา และการวางงาน


แนวคิดที่ 2

เสนอทางแก - โดยใช Demand Side Policy = เปนการที่รัฐบาลใชนโยบายการเงินการคลัง เพื่อใช กระตุนใหอุป สงครวม สูงขึ้น ดังนี้ 1). ใชนโยบายการคลังแบบขยายตัวเขามาชวย (Expansionary Fiscal Policy) 2). ใชนโยบายภาษี (ตัดภาษี) (Tax cut Policy) 3). ใชนโยบายการเงินแบบขยายตัว (Expansionary monetary Policy) ทางแกที่ 1 นโยบายการคลังแบบขยายตัว (Expansionary Fiscal Policy) - เปนการที่รัฐบาล เพิ่มงบประมาณรายจายใหสูงขึ้น โดยเชื่อวาอุปสงครวมจะสูงขึ้นดวย G

Y

ศก

(ขยายตัว) การที่ G จะเพิ่มไดตองใชนโยบายงบประมาณขาดดุลเทานั้น (Budget deficit Policy) เปนนโยบายที่รัฐบาลเก็บภาษีนอย แตมรี ายจายใหมากกวาภาษีที่จดั เก็บ เชน รัฐบาลเก็บ ภาษีได15 % ของ GDP แตตั้งงบประมาณรายจาย 18 % ดังนั้น 3 % มาจากการกู ตัวอยาง ป 46 รัฐบาลจัดเก็บภาษี 14.8 % (825,000 ลานบาท) ของ GDP รายจาย 17.9 % ( 999,900 ลานบาท) ขาดดุล 3.1 % ( 174,000 ลานบาท) ป 47 ภาษี 15.17 % ( 928,100 ลานบาท) รายจาย 16.7 % (1,028,000 ลานบาท) ขาดดุล 1.6 % ( 99,900 ลานบาท) ป 48 ภาษี 16.4 % (1,170,000 ลานบาท) รายจาย 16.4 % (1,170,000 ลานบาท) - เปนงบสมดุล (ใชในภาวะ เศรษฐกิจเจริญเติบโตดีแลว) คือปลอยใหเอกชนดําเนินการ และเปนภาวะที่ C กับ I ดี รัฐบาลไมตองกระตุนเศรษฐกิจ ป 49 ภาษี 17.3 % ของ GDP (1,360,000 ลานบาท) รายจาย 17.3 % (1,360,000 ลานบาท) ป 50 ภาษี 16.08 % (1,420,000 ลานบาท) รายจาย 17.8 % (1,506,200 ลานบาท) เปนงบประมาณขาดดุล 1.72 % (146,200 ลานบาท) เพราะคาดวาภาคเอกชน ยังชะลอการงทุน


การจัดทํางบประมาณแบบขาดดุล (ทําให ศก.ขยายตัวไดอยางไร มี 2 เหตุผล) 1.เปนการเพิ่มปริมาณเขาไปในระบบ 2.ทําใหเกิดผลทวีคูณ (Multiplier effect) (ดู Sheet น.4 – น.7) การหาผลทวีคณ ู (Regression Analysis) - อัตราการขยายตัวของรายไดประชาชาติ (%) - อัตราการขยายตัวของการใชจายเพื่อการบริโภค (%) นโยบายการลดภาษี (Sheet น.8) ทางแกที่ 2 Tax cut Policy - ถารัฐบาลลดภาษีลง สงผงใหอุปสงครวม (Y) สูงขึ้น ทําให ศก. ขยายตัว คําถาม ควรลดภาษีอะไร Tax Y ศก ตอบ- ควรลดภาษีฐานที่กวาง ที่กระทบกับคนจํานวนมาก เชน - ภาษีบคุ คลธรรมดา - Vat ผลที่เกิดขึ้น - ทําใหปริมาณเงิน อยูที่ตวั คนมาก - ทําใหเกิดผลทวีคูณ (จะต่ํากวารายได) ทางแกที่ 3 นโยบายการเงินแบบขยายตัว (Expansionary monetary Policy) - เปนการทีร่ ัฐบาลเพิ่มปริมาณเงินเขาไปในระบบเศรษฐกิจ *** ขณะนี้ประเทศไทยใชอยู *** M

X

C+I

ศก.

Bank ชาติจะ เพิ่มปริมาณ เงิน มี 3 รูปแบบ เปนเครื่องมือที่ Bank ชาติมีอํานาจ 1.ลด Reserve Requirement (RR) 2.ลด Discount Rate (ลดอัตราดอกเบี้ยมาตรฐาน) 3.การซื้อคืนหลักทรัพยของรัฐบาล 1.ลด Reserve Requirement คือ ปริมาณเงินสดสํารองตามกฎหมาย ที่สถาบันการเงิน ตาง ๆ จะตองสํารองเอาไวโดยนําไป ปลอยกูไมได RR นี้ Bank ชาติ สามารถประกาศเพิ่ม หรือ ลดได เชน จาก 20 % เหลือ 15 % ทําให สินเชื่อปริมาณเงินจะมากขึ้น Ex ลด RR จาก 25 % เปน 20 % ***Reserve ไวเพื่อใหคนมาถอนเงิน ***


ตัวอยาง การลด RR 25 % เปน 20 % เงินฝาก RR Bank A Bank B Bank C Bank D

สินเชื่อ

รับเงินฝากจาก รับเงินฝากจาก รับเงินฝากจาก รับเงินฝากจาก

นาย ก. 100 ล. (20) ปลอยกู 80 ล. (ใหนาย ข.) นาย ข. 80 ล. (16 ล) ปลอยกู 64 ล. (ใหนาย ค.) นาย ค. 64 ล. (12.8 ล) ปลอยกู 51.8 ล. (ใหนาย ง.) นาย ง. 51.8 ล. (10.3 ล) ปลอยกู 40.9 ล. - ไปเรื่อย ๆ สินเชื่อบวกกัน 400 ล. ตัวเงินจริง ๆ ที่อยู ใน Bank *** เงิน 100 ล ทํา RR ที่ 20 % จําไดสินเชื่อที่ 400 ลาน (เปนการคํานวณเปาของสินเชื่อ ในความเปนจริงอาจไมถึงก็ได)

สูตร ที่ธนาคารคิด วงเงินที่ออกเปนสินเชื่อ Total Leading Capacity = money multiplier x initial Excess Reserve = 1 x 80 Required reserve ratio = 1 x 80 .20 = 5 x 80 ลาน = 400 ลานบาท คําถาม ยอนกลับของ อ. - ถา Bank ชาติ จะปลอยสินเชื่อที่ 400 ลานบาท Bank ชาติควรจะประกาศ RR ไวที่ เทาใด ตอบ 20 % 2.การลด Discount Rate (DR) คือ อัตราดอกเบี้ย ที่ธนาคารกลางคิดกับสถาบันการเงินเอกชนที่มาขอกู Bankชาติ ลดอัตรา ดอกเบี้ยเพื่อจูงใจใหธนาคารพาณิชยมาขอกู และนําเงินไปปลอยกู ตัวอยาง Bank A กูมาจาก Bank ชาติ 100 ล. (20 ล.) ปลอยสินเชื่อ 80 ล. Bank B รับเงินฝากนาย ก. 100 ล. (20 ล.) ปลอยสินเชื่อ 50 ล. เรื่อย ๆ จะได 5400 ล./400 ล.


3.การซื้อคืน หลักทรัพย ของ รัฐบาล (เกือบ 100 % จะเปนพันธบัตรรัฐบาล) ตัวอยาง Bank A ไดซื้อคืนหลักทรัพย 100 ล (20 ล) ปลอยสินเชื่อ 80 ล เงินฝากจาก นาย ก. 100 ล (20 ล) ปลอยสินเชื่อ 80 ล กูจาก Bank ชาติ 100 ล (20 ล) ปลอยสินเชื่อ 80 ล จะได RR ที่สินเชื่อ จากซื้อคืนหลักทรัพย 400 ล เงินฝาก 400 ล กูB ank ชาติ 400 ล คําถาม Bank ชาติ ตองการปลอยสินเชื่อ 400 ล. จะตองทํา RR ที่เทาไหร (20 %) เศรษฐกิจขยายตัวเร็วมาก และ เกิดภาวะเงินเฟอ (หรือ เศรษฐกิจ รอนแรง) - เกิดจากอุปสงครวมในระบบเศรษฐกิจมีมากเกินไป แนวคิดที่ 4 เสนอทางแก แนวความคิดที่ 3

-

Y

ใช Demand Restraint Policy คือ การใชนโยบายการเงิน – การคลัง เพื่อลดอุปสงค รวมลง

= C + I + G + (X + M) (เมื่อ Y มีมาก ดังนัน้ ตองทําให Y ลดลง)

โดยใชนโยบายดังตอไปนี้ 1.นโยบายการคลังหดตัว (Restrictive Fiscal Policy) 2.นโยบายภาษีสูง (Hight Tax Policy) 3.นโยบายการเงินหดตัว (Restrictive monetary Policy) 1.นโยบายการคลังหดตัว หลักการ G

Y

เงินเฟอ


การลด

G

สามารถทําได 2 Step

1.ทํางบประมาณแบบสมดุลกอน (Balanced Budget Policy) คือ เก็บภาษีมาเทาไหร ใหจายกลับ ออกไปเทานั้น 2.ใชนโยบายที่แรงขึ้นโดย ใชนโยบายการคลังแบบเกินดุล (Budget Surplus Policy) คือ ใหรัฐบาล เก็บภาษีใหมากแตจายออกไปใหนอยกวา เชน เก็บมา 18 % และจายไป 15 % จะเกินดุล 3 % 2.นโยบายภาษีสูง (Hight Tax Policy) คือใหรัฐบาลขึ้นภาษี Tax

เงินเฟอ

Y

เชน ภาษีเงินได บุคคลธรรมดา = ภาษีการคา (นิติบคุ คล) 3.นโยบายการเงินแบบหดตัว (Restrictive monetary Policy) - โดยใหรัฐบาลหรือ Bank ชาติ ลดปริมาณเงินลง สมการ

M

X

C+I

Y

เงินเฟอ

ผลกระทบ ที่ Bank ชาติลดปริมาณเงินลง 1.เพิ่ม RR เชน จาก 20 % เปน 25 % 2.เพิ่ม DR ทําใหสถาบันการเงินกูนอยลง 3.ใชการขายหลักทรัพยของรัฐบาล

... จบทฤษฎี เคนส ...


ทฤษฎีนักการเงินนิยม (Monetarist Theory) แนวความคิดเกิดจาก Irving Fichier (ออรลิ่ง ฟชเจอร) Milton Friedman นํามาใชและพัฒนาอีก Frim kydland Ednord Preddcott สํานักนี้ไมคอยเห็นดวยกับสํานักเคนส โดยเฉพาะชวง ศก. ตกต่ํา และ วางงาน เพราถา ศ ถาใช Demand Side Policy ทําให ศ จะทําใหเงินเฟอตามมาดวยเสมอ ดังนั้น Monetarist Theory เสนอนโยบาย Supply Side Policy คือการใชนโยบายการเงิน การคลัง เพื่อกระตุนใหอุปทานรวมสูงขึน้ AS โดยมี 3 เครื่องดังตอไปนี้ เครื่องมือที่ 1 ใชการลดภาษีภาคการผลิตใหกับธุรกิจโดยตรง เชน ภาษีเงินไดนติ ิบุคคล ลดภาษี

กําไรธุรกิจ

ขยายการผลิต

ขยาย I

AS = Aggregate Supply

AS

ศก


Monetarist เสนอใหปรับโครงสรางภาษีเงินไดนิติบุคคล (ปจจุบนั เก็บ 30 % จาก Profit) จึงเสนอจาย แบงกําไรใหเปน 2 สวน 1.กําไรสวนหนึ่งใหเจาของกิจการ โดยเก็บภาษีในอัตรากาวหนา เชน 15 – 20 – 25 % 2.กันเอาไว เพื่อการลงทุนใหม (RE - Investment) สวนนี้ใหเสร็จภาษีอัตราทีต่ ่ํามาก หรือไม เสียเลย เชน การสรางโรงงานใหม การทํา R2D หรืออาจหรือ อาจไดรับการยกเวนภาษี ประโยชนที่ไดรับ 2 อยาง คือ 1.เสียภาษีนอยลง 2.จะไดเพิ่ม Productivity และ สภาพการแขงขัน เครื่องมือที่ 2 การลงทุนในโครงสรางทางเศรษฐกิจใหมากขึ้น (Far Structure) เชน การลงทุนใหมีระบบสาธารณูปโภค Ex ระบบการขนสง สนามบิน Logistic ถา ตนทุนการผลิต

กําไรธุรกิจสูงขึ้น

กําลังการผลิตขยายเพิ่มขึ้น

AS

(สูงขึ้น) (ต่ําลง) เครื่องมือที่ 3 การลงทุนในมนุษย (Homan Capital) เชน - การศึกษา 1.ตนทุนการผลิตลดลง แรงงานมี Productivit - ทักษะฝมือแรงงาน 2.Adopt Technology ใหม ๆ ได และนําเขามาใช ทั้ง 3 เครื่องมือนี้ คือสิ่งที่ไทยตองการเพื่อการพัฒนาเศรษฐกิจ มากที่สุด การใชนโยบายการเงิน การคลัง เพื่อ Eco. Equity (ความเสมอภาคทางเศรษฐกิจอยางเหมาะสม) - กลไกตลาด จะจัดสรรรายไดตามความเปนเจาของการผลิต (Owner of factor of Production) เชน การเปนเจาของโรงงาน เครื่องจักรที่หายาก ผลตอบแทนจะแพง - Liberalist เสรีนิยม เชื่อวาคนตองมีรายไดไมเทากันจึงจะยุติธรรม - Neo – liberalist บอกวามนุษยมีโอกาสไมเทาเทียมกัน ดังนั้น กลไกตลาดจึงไมยตุ ิธรรมในเมื่อคน เริ่มตนไมเทาเทียมกัน รัฐตองเขามาแทรกแซงในการกระจายรายได หลักความเสมอภาค คือ การรักษาคนออนแอในการแขงขันอยางเสมอภาคกัน โดย ... 1. Progressive Tax รัฐตองเขามาแทรกแซงโดยจัดเก็บภาษีอัตรากาวหนา เปนการจัดเก็บภาษี จากคนรวยมาก 2. Welfare Spending เนนไปที่คนจน ชวยเหลือในดานโอกาส เชน การศึกษา, พัฒนาทักษะ ฝมือแรงงาน, สุขภาพ เปนการสรางโอกาสใหกับคนจน Ex. โครงการประกันสุขภาพแหงชาติ


ภาษีอัตรากาวหนาของไทย คือ ภาษีรายไดบุคคลธรรมดา 5 – 37 % มาจาก 1. เงินเดือน คาจาง เปนผลตอบแทนมาจากการทํางาน เรียกวา Earned Income ที่ไดมาจาก น้ําพักน้ําแรง 2. ดอกเบี้ย เปนตอบแทนจากการมีสินทรัพยทางการเงิน 3. เงินปนผล 4. Capital gains ผลตอบแทนมาจากหุน (ผลตาง) เรียกวา Unearned Income 5. มรดก 1. ประเทศไทยควรขยายฐานภาษีมาสู Unearned Income 2. หลักประกันสุขภาพควรจะใหเฉพาะคนจน เพราะเงินไมพอ Dualism ความแตกตางกันระหวาง คนรวยกับคนจน จึงมองประชาธิปไตยที่แตกตาง - คนจนอยากไดประชาธิปไตยทีก่ ินได - คนชั้นสูงตองการ Clean ประชาธิปไตย Accountability, Participation เพราะฉะนัน้ ทางแกปญหา Dualism คือ ตองผลิตชนชั้นกลางใหมากพอ และใหญพอ โดยเก็บภาษี อัตรากาวหนาเอามาทําให Welfare ดีขึ้น เชน เกาหลีใต การพัฒนาคือ Progression Tax Pollution tax (The Theory อ.พลภัทร) เปนบทความภาษาอังกฤษ - 100% เปนภาษีทองถิ่น Case study ที่ 2 การใชนโยบายการคลัง กับสภาพแวดลอม - ในระบบเศรษฐกิจเสรีที่รัฐไมเขาแทรกแซง อุตสาหกรรมที่ไมดี จะมีความ ไดเปรียบ และสามารถผลิตสินคา และบริการไดมากเกินไป และผลักภาระมลพิษใหสังคม Price S

I L K G Supply

C F Demand O A B

Output

JF = Demand CQ = Supply on maginal cost CI = Amount of pollution จํานวนมลพิษที่กอ คือ CEK


ขอดี 1.มลพิษลดจาก CEK เหลือ CLD ซึ่งอยูในระดับทีร่ ับได 2.รัฐไดเงินมาแกไขปญหามลพิษ รายไดที่เปนธรรมในการจัดการมลพิษ ขอเสีย 1.อุตสาหกรรมชีวจะมีตนทุนที่สูงขึน้ การเงินระหวางประเทศ (International Finance) มีหัวขอหลัก 3 เรื่อง 1. ดุลการชําระเงินระหวางประเทศ (Balance of Payment) หรือ BOP 2. ระบบอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราระหวางประเทศ (Exchange Rate System) 3. แนวทางการรักษาเสถียรภาพของ BOP หัวขอที่ 1 BOP: ดุลการชําระเงินระหวางประเทศ BOP คือ ดุลยบัญชี ที่ชใี้ หเห็นถึงฐานะทางการเงินของประเทศนั้น ๆ ในการถือเงินสกุลหลัก สามารถแยกยอยไดดังนี้ 1. Current Account = ดุลบัญชี เงินสะพัด (ดุล บ/ช ที่ใหญทสี่ ุด) 1.1 Trade Account ดุลการคา 1.2 Service Account ดุลบริการ 2. Capital Account ดุลบัญชีเงินทุนเคลื่อนยายระหวางประเทศ หรือ ดุลบัญชีเงินทุน 2.1 FDI (Foreign Direct Investment Account) - ดุลบัญชี เงินลงทุนโดยตรง 2.2 PI (Portfolio Investment Account) - ดุลบัญชีเงินลงทุนโดยออม 3. TA (Transfer Account) ดุลเงินโอน - ดุลบริจาค ดุลชวยเหลือระหวางประเทศ รายละเอียด BOP - BOP เปนดุลบัญชี ที่ชี้ใหเห็นถึงมูลคาของการนําเขาและสงออกทั้งสินคาและบริการ *บริการไดแก การใชบริการ การบินไทย น.ศ.มาเรียนในประเทศ - Trade Account ชี้ใหเห็นถึงการนําเขา และการสงออกสินคาอยางเดียว - Service Account ชี้ใหเห็นถึงการนําเขา และการสงออกบริการอยางเดียว


รายละเอียด Capital Account - เปนดุลบัญชีที่ชี้ใหเห็นถึงมูลคาเงินทุนไหวเขา และไหลออก มี 2 ประเภท คือ 1.FDI (foreign Direct Investment) เชน ตางประเทศขนเงินมาสรางโรงงาน โดยตรง 2.PI (Portfolio Investment) เปนลงทุนในเอกสาร เชน ตางประเทศซื้อหุน (Portfolio Investment) โดยออม คําถาม โดยปกติ Capital Account ไทยมักจะเกินดุล สาเหตุ โครงสรางพื้นฐาน และทรัพยากรสูง รวมถึงดอกเบี้ยมักจะสูง รายละเอียด ดุลบัญชีการโอนเงิน (Transfer Account) - เปนบัญชีใหเห็นถึงเงินชวยเหลือระหวางประเทศ หรือเงินไดเปลา รับ ชวย = เกินดุล ชวย รับ = ขาดดุล สรุป 1 + 2 + 3 จะได BOP ในแตละเดือนของประเทศ หัวขอที่ 2 ระบบอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราระหวางประเทศ (Exchange Rate System) นิยมแบงตามหลัก ได 2 ระบบ คือ 1. ระบบหลัก Fixed Exchange Rate System ระบบอัตราแลกเปลี่ยนคงที่ 2. ระบบลอยตัว Floating Exchange Rate System หรือ ใชคําวา freely fluctuating Rate System *** และมีระบบที่อยูตรงกลางระหวาง 1 กับ 2 คือ ระบบกึง่ ลอยตัว (In between System) หรือ Semi – floating สามารถแบงแยกยอยไดอีก 3 ระบบ ดังนี้ 1.Manage Float System - ระบบการลอยตัวที่มีการจัดการ (ประเทศไทย ใชอยู) 2.Float with board system หรือ Current board system - ระบบการลอยตัวที่มีการกํากับ หรือ แบบมีคณะกรรมการการเงิน เชน มาเลเซีย จีน 3.Basket of current system - ระบบตะกราเงิน เปนเครื่องมือของอัตราแลกเปลี่ยน หมายเหตุ


*** ระบบ Fixed Exchange Rate system เหมาะสมสําหรับประเทศที่ทําการคา ระหวางประเทศ นอย หรือ ประเทศที่ปดประเทศ จะขาดดุล หรือ เกินดุล จะไมกระทบตอคาเงินในประเทศ เชน ลาว เวียดนาม อินเดีย พมา เพราะ Fixed เปนการกําหนดคาเงินทองถิ่น เอาไวกับเงินสกุลหลัก เชน ดอลลาร หรือที่รียกวา Parity Value คือ การกําหนดคาเสมอภาค เพื่อใหคาเงินอยูท ี่คา ที่กําหนด เชน 1$ = 25B หนวยงานที่ ทําหนาที่ คือ กองทุนรักษาระดับอัตราแลกเปลี่ยน (Exchange Stabilization Fund) สํานักงานจะอยูที่ Bankชาติ และ ธนาคารนั้น ๆ - ประธานกองทุน คือ รมต.คลัง กองทุนนี้ทําหนาที่ พยุงเงินใหอยูใ นคาที่ Fixed เอาไว Ex1 ไทยขาดดุล คาเงินบาท ควร ออนคาลง แกปญหาโดย ขายเงิน $ ออกไป ซื้อ B เขามาเก็บ Ex2 ถาเกินดุล คาเงินบาทควรแข็งคา แกปญหาโดย ขายเงิน B ออกไป ซื้อ $ เขามาเก็บ แบบ Fixed ขอดี - คาเงินจะมีเสถียรภาพสูงมาก ผูสงออก – นําเขาบริหารงาย ขอเสีย 1 กลไกการปรับเสถียรภาพ ของอัตราแลกเปลี่ยนไมทํางาน (Automatic stabilization mechanic) ตัวอยางการลอยตัว - เมื่อ ขาดุล

D>S

ทําใหคาเงิน

Us แข็งคาขึ้น

เมื่อเปรียบกับคาเงินทองถิ่น

(Demand สูงกวา Supply)

ทําให คาเงินบาทออน

นําเขาลด การสงออกเพิ่ม

สินค

เงินทุนไหลเขา

สินคาราคาถูก

ลดการขาดดุล

สินทรัพยถูลด * เราจึงเรียกวา Automatic stabilization mechanic แตในระบบ Fixed คาเงินจะออนตัวไมได ถาขาด ดุลแลว คาเงินจะออนตัวไมได แกยากมาก 2. ในระบบจําเปนตองมีกองทุนรักษาระดับอัตราแลกเปลีย่ นเยอะ รัฐบาลตองเขามาแทรกแซง กองทุนจะแทรกแซงไมไหวถาเปดประเทศมากขึ้น


Floating Exchange Rate System ระบบลอยตัว (ถาพูดถึงระบบนี้ตองคํานึงถึงระบบที่อยูตรงกลาง) 1. ระบบลอยตัวแบบเสรี - ปลอยใหคาเงินลอยตัวตาม ขอเสีย 1. ทําใหคาเงินไมมีเสถียรภาพ เพราะคาจะผันผวนตลอดเวลา 2. ราคาสินคา นําเขา – สงออก กําหนดยากมาก และ ตนทุนการผลิตกําหนดยาก ขอดี 1. กลไกของการปรับเสถียรภาพจะทํางาน การแกการขาดดุลจะงายขึน้ 2. ไมจําเปนตองมีเงินทุนสํารองเยอะนัก ระบบกลาง In between system - Manage Float - เปนระบบที่ปลอยใหคาเงินลอยตัวมาก มีความผันผวนของคาเงินเร็วเกินไป ทุนรักษาฯ (Bank ชาติ) เขาแทรกแซงเปนครั้งคราว โดยไมไดใหเปลี่ยนทิศ แตไมใหผันผวนมากเกินไป และ แทรกแซงในคาเงินเปลี่ยนแปลงใหชาลง - Float with band - เปนระบบที่ปลอยใหคาเงินลอยตัว และจะลอยตัวขนาดไหน ตองกําหนดตามกฎหมาย วาให ผานไดเทาไหร เชน 5% แตถาลอยตัวมาก กองทุนรักษาฯ จะเขามาแทรกแซง ขอดี - นักธุรกิจจะชอบมาก เพราะจะไดรกู อนวา คาเงินจะผันผวนกี่ % ระบบนี้ Fee ในการ ประกันความสูญเสียถูกมาก เชน รัฐบาลกําหนด Band แคบ ขอเสีย - ถากําหนด Band แคบมาก ๆ จะเขาใกลระบบ Fix เชน จีน เดิมใชระบบ Fix ตอมา เปลี่ยนเปน .3% แตจีนเรียกระบบตนเองวา Mange Float - ระบบ Float with Band จะมีคณะกรรมการเงินซึ่งเปนหนวยงานพิเศษกําหนด Band ที่ เหมาะสม - Basket (ตะกราเงิน) - เปนระบบที่ Fixed คาเงินไวกับหลาย ๆ สกุล เชน fix ไวกับ $ บาง ยูโรบาง


คําถาม อ. - ไทยเปนตะกราเงินหรือไม? (Bank ชาติ บอกวาเปน) (นักวิชาการบอกวาไมเปน) สวนใหญคาเงินของไทย จะผูกไวกับ $ USA แข็งคา 80 % Ero 10 % เยน 5 % สกุลอื่น เชน ริงกิต เปรช 5 % ตัวอยาง - สมมุติกําหนด Fix คาผูกกับ USA 25 % คาเงิน USA แข็งคา 1 % คาเงินบาทจะออนตัว 0.25 เยน 25 % ออนคา 1 % คาเงินบาทจะออนตัว 0.25 อยางนี้เรียกวามีเสถียรภาพ คาเงินสกุลหลักมักจะผันผวนไปคนละทิศ เพราะฉะนั้น Basket เปนเครื่องมือเสริม “ดูใน Sheet case study 3 ดวย” แนวทางการรักษาเสถียรภาพของ BOP หลักการ (หมายความวา ทาขาดดุล จะใหทําอยางไร) 1. Import Restriction Policy นโยบายจํากัดการนําเขา โดย **** Tariff Tax ใชกําแพงภาษี ขึ้นภาษีนําเขาใหสูง (Import Tax) สินคาบวกภาษี ซึ่งเปนเครื่องมือ ลดการขาดดุลทางการคา ผลที่เกิดขึ้น ราคาสินคาจะแพงขึน้ Demandลดลง กําแพงภาษีทําใหรัฐไดเงินไมมาก เพราะ ผูนําเขาจะไมนําเขาตั้งแตตน กําแพงภาษีไมไดเปนเครื่องมือในการหารายได แตเปนเครื่องมือใน การรักษาเสถียรภาพขาดดุลการคา ****Quota Restriction : การจํากัดปริมาณ เปนการจํากัดปริมาณ หรือจํานวนการสนําเขา โดยนําเขาไดตามโควตาทีก่ ําหนด ถาเกิน กวานัน้ เขาไมได 1+2=****Tariff Quota : จํากัดการนําเขา และจํากัดโควตา สามารถนําเขาได แตถาเกินโควตาที่กําหนดจะตองเสียภาษีสูง ประเทศที่พัฒนาแลวชอบใช เชน อเมริกา ญี่ปุน หรือที่เรียกวา GSP (Generalized System of Preference) ซึ่งเปนสิทธิพิเศษทาง ภาษี สวนมากใหสินคาประเภทอุตสาหกรรม ทีใ่ หประเทศกําลังพัฒนา (ถาสงไปตาม Quota ภาษีจะ ต่ํามาก ถาสงเกินกวานัน้ จะโดน Tariff=กําแพงภาษี) ****Non – Tariff Barriers (NTB) : มาตรการ การจํากัด การนําเขาที่ไมใชภาษี ซึ่งประเทศกําลัง พัฒนานิยมใช มีหลายรูปแบบ เชน - กําหนด Product Standard ใหสูง เปนทั้งเรื่องจริง และเรื่องกีดกันทางการคาที่แยกกัน ไมออก


- กําหนด Environment Standard (มาตรฐานสิ่งแวดลอม) สินคาใดก็ตามที่ผลิต แลว ทําลายสิ่งแวดลอม ทางยุโรปจะไมใหนาํ เขา หรือสินคาทีใ่ ชแรงงานเด็ก - Labor Standard : สินคาที่ใชแรงงานเด็ก ***ผลกระทบ จาก Import Restriction Policy (นโยบายจํากัดการนําเขา) 1. ชวยลดการนําเขา และลดการขาดดุล 2. จูงใจใหอุตสาหกรรมภายในประเทศขยายการผลิต เพื่อทดแทนการนําเขา 3. ทําใหเกิดการจางงาน 2. ใชอัตราแลกเปลี่ยนแบบลอยตัว (Floating Exchange Rate System) ชวยลดการขาดดุลได โดยผานกระบวนการ Automatic Stabilization การนําเขาลด ขาดดุล

D>S

คาเงิน USD แข็งคา

คาเงินบาทออน

สงออกเพิ่ม เงินทุนไหลเขา

แกไขปญหาได แตออนที่สุด เพราะผลไมแนนอน และไมแนใจวาการนําเขาจะลดลง เพราะตองดู โครงสรางการนําเขาดวย เชน 1. คาเงินบาทออนลง แตคูแขงทางการคา คาเงินออนดวย (เจากัน) 2. คาเงินออนลง การนําเขาลด อาจจะจริงหรือไมก็ได ขึ้นอยูก บั โครงสรางการนําเขา สินคาถูกลงไมมีหลักประกันวา ประเทศอื่นจะซื้อสินคา เพราะเศรษฐกิจอาจจะไมดีก็ ได ***3. Monetary Policy และ Fiscal Policy : นโยบายการเงินและการคลัง เพื่อรักษาเสถียรภาพของBalance of Payment (BOP) มีหัวขอดังนี้ **ใชทฤษฎี เคนส เศรษฐกิจระดับประเทศ Y = C + I + G +(X - M) 1. ปจจัยที่กําหนดเสถียรภาพของ BOP 2. เสนความสมดุลภายนอก 3. แผนภาพาขออง IS – LM (แบบจําลองของตลาดเงิน) 4. การใชนโยบายการเงิน การคลัง เพสื่อรักษาเสถียรภาพ BOP หัวขอที่ 1 ปจจัยทีก่ ําหนดเสถียรภาพของ BOP คือ ปจจัยที่เปนสาเหตุที่ทําให BOP ดีหรือไมดี ประกอบดวย (บัญชีเดินสะพัด) 1. Current Account (จะดีหรือไมดีขึ้นกับ 3 ปจจัย) คือ

การขาด ดุลลดลง


- โครงสรางทางการผลิตของประเทศนัน้ ๆ ซึ่งกําหนดทั้งนําเขา และ(สําคัญมาก แต นโยบายการคลัง) การสงออก เชน ประเทศที่ผลิตสินคาเดียว หรือนอยอยาง ไดแก ประเทศกานา (ผลิตโกโก) - อุปนิสัยของคนในประเทศนัน้ ๆ เชน ฟุมเฟอย ไมอดออม - ระดับรายไดประชาชาติ (ระดับของอุปสงครวม) ถาอุปสงคมีมากจะไดขาดดุล ดังนั้น นโยบาย การเงิน การคลัง ตองลดอุปสงครวมลง (บัญชีเงินทุน) 2. Capital Account - ภาวะเศรษฐกิจ และคูค า เชน กลุม Opee ญี่ปุน - Fundament ปจจัยพื้นฐานของเศรษฐกิจของประเทศนั้น ๆ - อัตราดอกเบี้ยเปรียบเทียบ ทั้งภายใน ภายนอกประเทศ ทฤษฎี เคนส บอกวา ศก.ขยายตัวเร็ว

Demand มาก

Supply ตามไมทัน

แรงงานมีทักษะ

เงินเฟอ

(ดังนั้น ควรใชระยะสั้น เพื่อแกปญหาเฉพาะ และเปดโอกาสปรับโครงสราง ศก.) เพราะการใชนโยบายการเงิน การคลังจะเกิดผลแรงมาก (ในการลดอุปสงครวมจะทําใหเศรษฐกิจ ภายใน ชะลอตัว) ควรใชระยะสั้น และเฉพาะหนา จากนัน้ ปรับ 2 ขอแรก คือ โครงสรางการผลิต + นิสัย หมายเหตุ - โครงสรางการผลิต จะนําไปสูประเทศพัฒนาแลว และจะตองปกปองอุตสาหกรรมใน ประเทศกอน - โครงการผลิตของประเทศนัน้ ๆ เชน ผลิตสินคาไดนอยอยาง มีความจําเปนในการ นําเขาเยอะ โอกาสขาดดุลจะมาก - นิสัยคน เชน กรณี เกาหลี ญี่ปุน อดออม ประหยัด ทํางานเปนกลุมธุรกิจ ดังนัน้ เขาจะขาดดุลไมเปน เพราะไมซื้อของนอกกลุม Capital Account (จะดีหรือไมด)ี 1. ภาวะเศรษฐกิจโลก / ประเทศคูค า ถาดีจะเปนปจจัยผลักดัน จะทําใหเงินไหลเขามา พัฒนาประเทศ ประเทศที่มีเงินมาก ไดแก กลุมโอเปก 2. ปจจัยพื้นฐาน หมายเหตุ 1 กับ 2 จะไมเกี่ยวกับ M กับ F


3. อัตราดอกเบี้ยเปรียบเทียบ (Arbitration) - ถา ด/บ ภายในประเทศสูงกวาภายนอก จะทําใหเงินทุนไหลเขา (Capital inflow) ด/บ ภายใน ใหดูที่ BIBOR = Bangkok Inter bank Offer Rate ซึ่งเปนดอกเบี้ยพื้นฐานของ ประเทศไทย ด/บ ภายนอก ใหดูที่ Fed Fund Rate - ประเทศอังกฤษที่ LIBOR = London Inter Bank Offer Rate - ประเทศสิงคโปรที่ SIBOR = Singapore Inter Bank Offer Rate *** ถา ด/บ ภายใน ต่ํากวาภายนอก ทําใหเกิด Capital Outflow (เงินทุนไหลออก) ตัวอยาง - ดอกเบี้ย ภายในประเทศ 10% เงินทุนไหลเขา เหตุผลคือ - ดอกเบี้ย ภายนอกประเทศ 2.5% 1. ผูก ูภายในประเทศทํา Refinance เชน การไฟฟา กูเงินจะไปกูเงินที่วิเทศสาหกิจ ที่ทําเงินกูจาก สิงคโปร มาก Refinance ที่ 10% 2. ผูใหกู คือ สถาบันการเงิน ** การขึน้ ดอกเบี้ยใหสูงเพื่อลดเงินทุนไหลออก ทําใหเศรษฐกิจภายในชะลอตัว ควรทํา ระยะสั้น ๆ เฉพาะหนา ** ถา Capital Account ขาดดุล ตองขึ้นดอกเบี้ยใหสูง ทําใหเศรษฐกิจภายในชะลอตัวดวย แตควร ทําระยะสั้น ๆ เสนความสมดุลภายนอก (จาก Sheet) - เปนเสนที่บงบอกถึง ภาวะสมดุลในการชําระเงิน I

EE = เสนความสมดุลภายนอก OI = เสนอัตรา ด/บ ภายในประเทศ OY = เสนรายไดประชาชาติ

E

เกินดุล

E O

เสนสมดุล

ขาดดุล Y

วิเคราะห วา - ดอกเบี้ยกับรายได จะตองสมดุลกันเสมอ - ถาดอกเบี้ยในประเทศสูงเกิดขึ้น ทําใหเงินทุนไหลเขา


แผนภาพ IS – LM กับ เสนสมดุลภายนอก I LM1 LM

B A IS O

E

Y Y2 Y1

IS = เสน Demand ของเงิน เปนเสนอุปสงครวม หรือการใชจา ยรวม LM = เสน Supply ของเงิน เสนปริมาณ หรือ ความตองการถือเงิน A = จุดตัด ขาดดุล อัตราดอกเบี้ยไมเหมาะสม (เพราะขาดดุลอยู) วิธีแก ใหขยับเสน LM ขึ้นไปทางซาย ไปยังจุด B คือ เสน LM1 ทําให ด/บ สูงขึ้น ไหลออกนอย ไหลเขามากขึ้น

เงินทุน

ผลกระทบ ของการดําเนินนโยบายการเงิน และ นโยบายการคลัง ตอดุลการชําระเงิน I 1. ผลการใช นโยบาย การเงิน

E I2 I0 I1 O

B C

LM LM1

A A1

IS (D) Demand Y

E Y2 Y0 Y1

1.1 ผลการใชนโยบายการเงินขยายตัว - ณ. ขณะที่กําลังขาดดุล หรือ ดอกเบี้ยไมเหมาะสม (จุด I1 กับ Y1) โดย (ทําอยางนี้จะขาดดุลมากขึ้น) มาที่เสน LM1 M R C+I Y (ขยายตัว) (จุด I1 กับ I2) 1.2 ผลการใชนโยบายการเงินหดตัว โดย = จะทําใหขาดดุลลดลง สงผงให ศก. ชะลอตัวลง M R C+I Y จะรักษา BOP ได


2. ผลการใชนโยบายการคลัง มี 2 ดาน E

I

LM B C

A1

E

IS1 IS2 IS

O

Y2 Y0 Y1

2.1 นโยบายการคลังแบบขยายตัว

G

Y

ทําใหขาดดุลมากขึน้

หมายเหตุ การเพิ่ม G จะไมกระทบตอดอกเบี้ย 2.2 นโยบายการคลังแบบหดตัว G

Y

เสน IS จะขยับมาทางซาย (IS2) จะทําใหขาดดุลลดลง

เพิ่มเติม แผนภาพ ID – LM คือ M I

R

C+I

Y

LM

LM = เสน Supply ของเงิน คือ ผูฝากเงิน

I1

IS

IS คือเสน Demand ของเงิน (การใชจายรวม) O

Y Y1

Y2


ผลของการตั้งกําหนดภาษี (ดู Sheet) - เพื่อลดการนําเขาและกระตุน อุตสาหกรรม Demotic Demand

Price Clothes

Domestic Supply

Tariff O

Quantity of Clothes Q1

ผลิต (Supply)

Q2

Q3

Q4 M1

Q1 - Q2 จูงใชใหผูผลิต ทําใหเกิดการจางงาน O - Q4 ปริมาณความตองการ (Demand) O - Q1 การผลิต Q1 - Q4 ตองการนําเขา

.


บทสรุป - โลกไดเปลี่ยนแปลงไปแลว ดังนั้น 1. ทิศทางการใชนโยบายเมื่อเกิดการขากดุล รัฐบาลควรใช นโยบายการเงิน การคลัง แบบหดตัว 2. แนวทางในการบริหารนโยบาย การใชนโยบาย การเงิน การคลัง แบบหดตัว ควรใชไดระยะสั้น ใชเฉพาะหนา ถาใชนาน ๆ เศรษฐกิจจะชะลอตัว และเกิดอัตราการวางงานมาก 3. เปนนัยสําคัญ ของผูบริหาร เมื่อ ขาดดุลใน BOP รัฐบาลจะทําใหเราเดือดรอนมาก นโยบาย การเงิน การคลังแบบหดตัว ทําใหตน ทุนการผลิตสูง เพราะดอกเบี้ยสูงขึ้น และการลงทุนทุกอยางจะ กระจาย เชน ตลาดอสังหาริมทรัพย รถยนต เกิดการหดตัว (เพราะตองกู) 4. ถาเปรียบเทียบกัน 3 เครื่องมือ เพื่อเปนแนวทางการรักษาเสถียรภาพของ BOP 1. Import Restriction Policy = จํากัดการนําเขา (ดีที่สุด) 2. Floating = อัตราแลกเปลี่ยนลอยตัว ออนสุด (ผลที่ไดไมแนนอน) 3. นโยบายการเงิน การคลัง (Monetary และ Fiscal Policy) ยังพอใชได แต เศรษฐกิจ จะชะลอตัว


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.