คู่มือท่องเที่ยวโดยชุมชน เขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

Page 1


บทน่อ�ำงเที่ยวโดยชุมชน (Community - Based Tourism) คือการท่องเที่ยวทชนี่

การท ม ก�ำหนดทิศทางโดยชุม รร นธ ฒ ั ะว แล คม ง สั ม อ ้ ดล แว ค�ำนึงถึงความยั่งยืนของสิ่ง งมีสิทธิในการจัดการดูแล ขอ า ้ เจ น ็ เป าท ทบ บ มี ชน ม ุ ะช ชุมชน จัดการโดยชุมชนเพื่อชุมชนแล ี่ยวมีความสัมพันธ์กับการพัฒนา งเท อ ่ รท กา น อ ื าเย ม ้ ู ผ ก่ แ ้ ู นร ย ี ฐาน เพื่อให้เกิดการเร ยี่ ว กับทรพั ยากรทีช่ มุ ชนใชเ้ ป็น งเท ่ อ รท กา กร ยา ั พ ทร าก งจ ่ ื อ อยา่ งเปน็ องค์รวม เน สังคมเป็นตัวขับเคลื่อนเรื่องจิต ละ มแ รร มธ รร นธ ฒ วั น ั วก ย ี เด การผลิตเป็นทรัพยากร และการสัมพันธ์กบั ภายนอก ชน ุ ม นช ยใ ภา ั น ก ธ์ น พั ั ม งส า ร้ วิญญาณของชุมชน ในการส บมีส่วนรวม ดูแลรักษาสิ่ง แบ นา ฒ ั รพ กา ใน น ่ ิ งถ อ ท้ ชน นธรรม จึงเป็นกลไกช่วยสนับสนุนชุม อนุรักษ์ ฟื้นฟู สืบทอด ศิลปวัฒ ว ย ่ ี งเท อ ท่ ง ล่ แห น ป็ เ ่ ี ท ติ ชา รม และ แวดล้อมหรือธร รมด้านการท่องเทยี่ วทงั้ ทางตรง กร จ กิ ั บ ก น์ ยช ะโ ปร ั บ มร ว ร่ ่ ิ น น ั ญาท้องถ และภมู ปิ ญ า่ งยงั่ ยืน โดยคำ� นึงถึงความยัง่ ยื อย ชน ม ชุ ิ จ ฐก รษ เศ นา ฒ พั าร ทางออ้ ม มีส่ ว่ นรว่ มในก ยี่ วทมี่ ลี กั ษณะเฉพาะตัว แตก งเท ่ อ รท กา ็ น เป ชน ม ชุ ดย วโ ่ ี ย ของสงิ่ แวดลอ้ ม การทอ่ งเท ายตามศกั ยภาพของแต่ละ หล าก หล ละ งแ า ต่ ตก มแ วา ี ค นกั ท่อง ต่างจากการทอ่ งเทยี่ วทวั่ ไป ม รทอ่ งเทยี่ วโดยชุมชนจะช่วยให้ กา ่ ิ น งถ ้ อ ะท ่ ล แต อง ศข เท ระ ิ ป ม ต่าง ชุมชน รวมถึงภู งึ วัฒนธรรมหลายๆอยา่ งทแี่ ตก มถ รว ษา ภา ิ ต ี ว ี ช ถ วิ ชน ม ชุ อง เทยี่ วเขา้ ใจบทบาทข รรมชาติอีกทางหนึ่งด้วย ธ ษ์ ก ั ร นุ รอ กา อง งข อ ่ เรื ใน ม ริ เส ออกไป รวมถึงช่วยส่ง สีมา จึงได้จัดเก็บและรวบรวม าช รร นค ฏ ั ชภ รา ย ลั ยา ท วิ หา ทางคณะผู้วิจัย จากม กเฉียงเหนือ เพื่อเผยแพร่ ออ น วั ตะ าค ตภ เข ใน ชน ม ชุ ดย ข้อมูลแหล่งการท่องเที่ยวโ เยอื นและสัมผัสวิถชี วี ติ มา า ข้ ้ เ งได ทา ิ น เด ก นั ละ วแ ่ ี ย ิ ชวนนกั ท่องเท กลิ่น ประชาสมั พันธ์ เชญ รเข้ามาสัมผัสอ้อมกอดของชุมชน กา ง ึ มถ รว ย า ่ บง ย รี เ ่ ที ต ิ ว ี ช ้ ของชุมชน การใช อีสาน ผ่านทางการท่องเที่ยวโดยชุมชน ม รร นธ ฒ วั ละ แ ติ ชา รม ธร อง อายข มชนภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ชุ ดย วโ ย ่ ี งเท อ ท่ าร ยก า ข่ อ รื เค สุดท้ายนี้ต้องขอขอบคุณ สนุนงานวิจัย (สกว.) และผู้ บ ั สน น ทุ อง นก งา ก นั ำ ส� า ม สี อื่ ใหง้ าน มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราช า่ ย และเสียสละเวลาอันมีคา่ เพ พถ ภา ล มู ้ อ ข ห้ าใ ณ รุ ่ ี ก นท า ท่ ุ ก งท มีสว่ นเกีย่ วขอ้ ส�ำเร็จตามความมุ่งหมาย คณะนักวิจัย

2

คู่มือการท่องเที่ยวโดยชุมชนในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ


นอีสาน ค ง อ ข ม ร ร ธ น ฒ ั ว ี ณ ะเพ “วิถีชีวิตคนอีสาน ปร รมชาติ ร ธ ง า ท ม อ ้ ล ด ว แ พ า และสภ เฉียงเหนือ” ก อ อ น ั ะว ต ค า ภ ่ ี ท น ้ ื พ ของดินแดน


ชุมชนท่องเที่ยวบ้านภู ความโดดเด่นที่ น่าสนใจของชุมชนท่องเที่ยวบ้านภู : “วัฒนธรรมชนเผ่าภูไท ในวิถีเศรษฐกิจพอเพียง” เหมาะส�ำหรับนักท่องเที่ยว : ที่สนใจศึกษาและเรียนรู้ วิถีชีวิต วัฒนธรรม ชาวภู ไท และเรียนรู้เกี่ยวกับเศรษฐกิจพอเพียง 1. 1. นักเรียน นักศึกษา ไทยและต่างประเทศ 2. 2. กลุ่มศึกษาดูงาน 3. 3. กลุ่มครอบครัว ระยะเวลาที่แนะน�ำในการเที่ยว : นักท่องเที่ยวสามารถเที่ยวได้ทุกเดือน แต่เดือน ที่แนะน�ำให้มาเที่ยวคือฤดูหนาวเพราะเนื่องจากพื้นที่มีภูเขาล้อมรอบ ท�ำให้เห็น หมอกตอนเช้า บรรยากาศที่สงบ อากาศบริสุทธิ์ เย็นสบาย และในช่วงฤดูฝนนัก ท่องเที่ยวจะได้พบเห็นความอุดมสมบูรณ์ของพื้นที่แห่งวิถีเกษตรอินทรีย์ตามวิถี ความพอเพียง บรรยากาศภายในชุมชนจะเปลี่ยนไปตามฤดูกาล ชุมชนท่องเที่ยวเพื่อการเรียนรู้ : บ้านภู มุกดาหาร ที่ตั้ง บ้านภู ต�ำบลบ้านเป้า อ�ำเภอหนองสูง จังหวัดมุกดาหาร ประวัติของชุมชน ชุมชนบ้านภู เป็นชนเผ่าผู้ไทย อพยพจากฝั่งซ้ายแม่น�้ำโขง เมื่อ พ.ศ. 2387 ตั้ง ภูมิล�ำเนาในพื้นที่บ้านภูรวมอายุได้ 130 ปี ผู้ท�ำหมู่บ้านคนแรกได้แก่เจ้าสุโพสมบัติ จากอดีตถึงปัจจุบัน มีผู้น�ำและผู้ด�ำรงต�ำแหน่งผู้ใหญ่บ้าน บ้านรวม 15 คน ผู้ใหญ่ บ้านคนปัจจุบัน หมู่ที่1 นายเผด็จศักศ์ แสนโคตร หมู่ที่ 2 นายทรง กอง-ประพันธ์ ทั้ง 2 หมู่ รวมประชากร 1,200 คน จ�ำนวนครัวเรือน 250 หลังคา อาชีพหลักได้แก่ การท�ำนา อาชีพของผู้หญิงทอผ้า ผู้ชายเลี้ยงสัตว์ จักรสาน เนื่องจากเป็นหมู่บ้าน ที่ตั้งอยู่ในระหว่างหุบเขาจึงให้ชื่อว่า บ้านหลุบ-ภู ปัจจุบันเรียกชื่อว่า “บ้านภู” ลักษณะภูมิประเทศ บ้านภู มีภเู ขาล้อมรอบ เป็นหมูบ่ า้ นทีม่ ที วิ ทัศน์ สิง่ แวดล้อมสวยงามพืน้ ดินอุดม สมบูรณ์เป็นแหล่งต้นน�้ำ ข้าวจึงมีคุณภาพดี ไม่มีความจ�ำเป็นที่จะต้องพึ่งพาสาร เคมี ปลูกข้าวเหนียวไว้รับประทาน ปลูกข้าวหอมมะลิไว้ขาย วัฒนธรรมประเพณี วัฒนธรรมใช้วถิ ชี วี ติ แบบพอเพียงนิยมปลูกพืชผักสวนครัวหลังฤดูเก็บเกีย่ ว และ ตามหลังบ้าน นิยมการแต่งกายให้เป็นอัตลักษณ์ของชุมชนคือ ผู้หญิงนุ่งซิ่นทิว ใส่ เสือ้ เย็มมือย้อมคราม แถบชายขอบแดง ห่มผ้าสไบพาดไหล่ซา้ ย คนในชุมชนพึง่ พา อาศัยซึง่ กันและกัน เด็กเคารพเชือ่ ฟังผูใ้ หญ่ มีกจิ กรรมพ่อแม่ทำ� ลูกข้าววัด ประเพณี ปฏิวัติตามฮีต 12 กิจกรรมทางการท่องเที่ยว •• ขบวนการต้อนรับคล้องพวงมาลัยแห่กลองตุ้ม •• เยี่ยมชมศูนย์เรียนรู้ชุมชนต้นแบบ •• เข้าพักโฮมสเตย์ที่เจ้าบ้านจัดไว้ต้อนรับ แลกเปลี่ยนเรียนรู้วิถีชุมชน •• รับประทานอาหารพาแลง บายศรีสู่ขวัญ ชมกิจกรรมการแสดงศิลปะ พื้นบ้าน นันทนาการ •• ท�ำบุญใส่บาตรตอนเช้า

4

คู่มือการท่องเที่ยวโดยชุมชนในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

•• แลกเปลี่ยนเรียนรู้วิถีชุมชนในแหล่งเรียนรู้ 6 ฐาน (ได้แก่ ฐานลดรายจ่าย ฐานเพิ่มรายได้ ฐานประหยัด ฐานเรียนรู้ ฐานอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ง แวดล้อม และฐานเอื้ออารี )


ตัวอย่างโปรแกรมการท่องเที่ยว •• ชมข้อมูล นิทรรศการ เรื่องราวในศูนย์เรียนรู้ชุมชนบ้านภู •• แหล่งการเรียนรู้ 6 ฐาน ฐานที่ 1 ด้านการลดรายจ่าย •• ฐานที่ 2 ด้านการเพิ่มรายได้ •• ฐานที่ 3 ด้านการประหยัด •• ฐานที่ 4 ด้านการเรียนรู้ ภูมิปัญญาท้องถิ่น ปราชญ์ชาวบ้าน วิถีชุมชน เผ่าผู้ไท บ้านภู •• ฐานที่ 5 ด้านการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ •• ฐานที่ 6 ด้านการเอื้ออารี การจัดสวัสดิการสงเคราะห์ ช่วยเหลือ ภายใน ชุมชน •• นมัสการพระเจ้าใหญ่ ขอพรความเป็นสิรมิ งคลทีท่ วี่ ดั เก่า วัดศรีมนั ทาราม •• เที่ยวชมหมู่บ้านและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ตามแหล่งเรียนรู้ชุมชน 6 ฐาน •• กิจกรรมพาแลง บายศรีสู่ขวัญ ลานวัฒนธรรมน�ำสุขใจ •• พักค้างคืนในบ้านโฮมสเตย์ บ้านมีเสน่ห์หลับสบาย •• เที่ยวแหล่งเรียนรู้เครือข่ายกลิ่นไอวัฒนธรรม วัดพุทธคีรี •• ปีนเขาชมวิวส่องทิวธรรม ภูจ้อก้อ ภูผาขาว นมัสการพระพุทธรูป และ สลักบนหน้าผาภูถ�้ำโสม สุดยอดแห่งการชมวิว มีทิวทัศน์ที่สวยงาม

การเดินทาง บ้านภู อยู่ห่างจากว่าการอ�ำเภอหนองสูง 7 กิโลเมตร ห่าง จากตัวจังหวัดมุกดาหาร 57 กิโลเมตร ถนนลาดยางทางหลวง แผ่นดินหมายเลข 2370 (สายหนองสูง – นิคมค�ำสร้อย) จาก นิคมค�ำสร้อยระยะทาง 29 กิโลเมตร ข้อมูลติดต่อ 1. นายถวัลย์ ผิวข�ำ ประธานโฮมสเตย์ โทร 087-2301599 ที่อยู่ 74 หมู่ 1 ต�ำบลบ้านเป้า อ�ำเภอหนองสูง จังหวัดมุกดาหาร 49160 2. นายบุญธรรม แก้วศรีนวม รองประธาน โทร 085-4793837 ที่อยู่ 74 หมู่ 1 ต�ำบลบ้านเป้า อ�ำเภอหนองสูง จังหวัดมุกดาหาร 49160

คู่มือการท่องเที่ยวโดยชุมชนในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ | คณะผู้วิจัย มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา

5


ชุมชนท่องเที่ยวบ้านหมอล�ำ บ้านปลาค้าว ความโดดเด่นที่น่าสนใจของชุมชนท่องเที่ยวบ้านปลาค้าว : “เบิ่งวัฒนธรรม หมอล�ำบ้านปลาค้าว ” เหมาะส�ำหรับนักท่องเที่ยว : ที่สนใจศึกษาและเรียนรู้ วิถีชีวิต วัฒนธรรม ชาวภู ไทยลาว และเรียนรู้เกี่ยวกับเศรษฐกิจพอเพียง กิจกรรมเกี่ยวกับการแสดงพื้นบ้าน อีสาน (หมอล�ำ) 1. นักเรียน นักศึกษา ไทยและต่างประเทศ 2. กลุ่มศึกษาดูงาน 3. กลุ่มครอบครัว ระยะเวลาที่แนะน�ำในการเที่ยว : นักท่องเที่ยวสามารถเที่ยวได้ทุกเดือน แต่เดือน ที่แนะน�ำให้มาเที่ยวคือ ช่วงเดือนพฤษภาคม - เดือนตุลาคม เพราะนักท่องเที่ยวจะ ได้มาสัมผัสกับบรรยากาศวิถชี วี ติ เกษตรกรรม หมูบ่ า้ นทีล่ อ้ มรอบไปด้วย ทุง่ นา และ ความอุดมสมบูรณ์ ชุมชนท่องเที่ยวเพื่อการเรียนรู้ : บ้านปลาค้าว จังหวัดอ�ำนาจเจริญ ที่ตั้ง เลขที่ 77 หมู่ 10 หมู่บ้าน บ้านปลาค้าว ต�ำบลปลาค้าว อ�ำเภอเมือง อ�ำนาจเจริญ จังหวัดอ�ำนาจเจริญรหัสไปรษณีย์ 37000 ประวัติของชุมชน บ้านปลาค้าว ก่อตั้งประมาณเกือบ 200 ปี สมัยก่อนบริเวณนี้มีล�ำห้วย มีหนอง น�้ำ มีสัตว์ป่า หมู่ปลาชุกชุมมาก ในล�ำห้วยที่เป็นคุ้งน�้ำลึก เรียกว่า “กุด” มีปลาค้าว เนือ้ อ่อนจ�ำพวกหนึง่ ลักษณะตัวใหญ่และมีจำ� นวนมากจึงเรียกชือ่ หมูบ่ า้ นนีว้ า่ “กุด ปลาค้าว” ต่อมาการพูดเพี้ยนสั้นลง จึงเรียกชื่อหมู่บ้านนี้ว่า “หมู่บ้านปลาค้าว” มา จนถึงปัจจุบัน ประชากรในท้องถิ่นมีเชื้อสายภูไท มีวิถีชีวิตเรียบง่าย อาชีพหลักคือ ท�ำนาและค้าขาย มีวัฒนธรรมลือชื่อคือ หมอล�ำ ปี 2549 ชุมชนได้รับรางวัลชนะเลิศ หมู่บ้านวัฒนธรรมส่งเสริมเศรษฐกิจพอ เพียงและได้รับคัดเลือกเป็น – หมู่บ้านโอทอป อันดับที่ 1 ของจังหวัดอ�ำนาจเจริญ ปี 2549 ชุมชนได้รบั ความสนใจจากสือ่ มวลชน ไปถ่ายท�ำรายการถ่ายทอดทาง ทีวี หนังสือพิมพ์ วารสาร หลายครั้ง

6

คู่มือการท่องเที่ยวโดยชุมชนในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

ปี 2550 วันที่ 7 – 10 มิถุนายน 2550 ได้รับเกียรติ จากส�ำนักงานการท่องเที่ยว น�ำหมอล�ำน้อยไปร่วมแสดง ในงานเทศกาลท่ อ งเที่ ย วไทย ปี 50 ที่ เ มื อ งทองธานี จ.นนทบุรี ปี 2553 ชุมชุนได้รับรางวัลพระราชทานจากสมเด็จ พระเทพ ฯ เป็นหมูบ่ า้ นเศรษฐกิจพอเพียง “อยูเ่ ย็น เป็นสุข” ของจังหวัดอ�ำนาจเจริญ ปี 2553 โรงเรียนปลาค้าวหนองน�้ำเที่ยง ส่งสื่อ ดีวีดี หมอล�ำน้อย เข้าคัดสรรได้รับโล่รางวัลเหรียญทอง หนึ่ง โรงเรียนหนึ่งนวัตกรรม จากคุรุสภา ปี 2553 กลุ่มส่งแจกันไม้ไผ่เข้าคัดสรร ได้รับ ระดับ 3 ดาว จาก พ.ช. ปี 2553 กลุ่มส่งเข้าประกวดได้รับรางวัลรองชนะเลิศ อันดับ 1 ของจังหวัด ได้รับความสนใจอย่างยิ่ง จนปัจจุบัน หมู่บ้านปลาค้าว ได้นามเรียกขานเป็น หมู่บ้านหมอล�ำ ลักษณะภูมิประเทศ บ้านปลาค้าว เป็นหมูบ่ า้ นเกษตร ชาวบ้านส่วนใหญ่ทำ� นา มีทงุ่ นาล้อมรอบหมูบ่ า้ น มีปา่ สาธารณะโคกบ๋าใหญ่ จ�ำนวน 718 ไร่ หน้าฝนเขียวขจีไปด้วยต้นข้าว หน้าแล้งร้อน ทุ่ง นาว่างเปล่ามีแต่ตอซังข้าว ประชาชนส่วนใหญ่อยู่ที่บ้าน


ท�ำงานหัตถกรรมในครัวเรือน ว่างๆ ซ้อมแสดงหมอล�ำ จัดงานบุญ ประเพณีตามจารีต 12 เดือนของอีสาน วัฒนธรรมประเพณี บ้านปลาค้าว มีวัฒนธรรมจารีตปะเพณี 12 เดือน จะจัดยิ่งใหญ่คือ บุญมหาชาติ บุญป้องไฟ นอกจากนั้นจะมีงานประเพณีของชุมชน เช่น ขึ้นบ้านใหม่ แต่งงาน บายศรีสู่ขวัญ อนุรักษ์วัฒนธรรม ของชาวภูไทย ลาว แบบเรียบง่าย ชมวิถีชีวิตของชุมชนหมู่บ้านหมอล�ำ กิจกรรมเกี่ยว กับการแสดงหมอล�ำ กิจกรรมทางการท่องเที่ยว หมูบ่ า้ นวัฒนธรรมทีแ่ สนน่ารักและอบอุน่ พัฒนามาเป็นหมูบ่ า้ นการ ท่องเที่ยว มีการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชน น�ำสิ่งที่ชุมชนมี สร้างความ ประทับใจให้กับนักท่องเที่ยว •• การต้อนรับที่ทั้งสนุก และอบอุ่นด้วยขบวนแห่กลองยาว พิธี บายศรีสู่ขวัญ การร้องสรภัญญะ •• รับฟังการขับร้องเพลงแบบเก่าสมัยก่อนประกอบแคนชัก พร้อม กับการรับประทานอาหารเย็น และเข้าพักที่บ้านพักอย่างเป็นกันเอง ท�ำบุญตักบาตรตามประสาน คนอีสานพื้นบ้าน •• ชมการแสดงและเรียนรู้หมอล�ำกลอน หมอล�ำซิ่ง และชมสถานที่ ฝึกซ้อมหมอล�ำ เดี่ยวพิณ แคน ร�ำวงอีสาน

•• ชมงานฝีมอื หัดท�ำ และซือ้ เป็นของทีร่ ะลึกท�ำบานประตู หน้าต่าง งานทอผ้า งานจักสานไม้ไผ่ แจกันไม้ไผ่ ดอกไม้ประดิษฐ์ •• ชมโบราณสถานและโบราณวัตถุ อายุกว่า 200 ปี เช่นวิหารช่าง ญวน ตู้พระไตรปิฏก พระพุทธรูปปางต่าง ๆ รางสรงน�้ำพระ แหย่ง ช้าง ใบลาน หัวหนาค หัวสิงห์บันไดโบสถ์ คานหามพระ ภาพเขียน วิหารสมัยก่อน โปงไม้ใหญ่ บ่อน�้ำโบราณ (บ่อน�้ำศักดิ์สิทธิ์) เฮือน โบราณ •• ชมพิพิธภัณฑ์พื้นบ้าน สมุนไพรพื้นบ้าน การท�ำตะกร้าพลาสติก •• ชมหอเจ้าปู่มีต้นไม้ใหญ่ •• สุดท้ายด้วยการท�ำความดี กิจกรรมปลูกป่าชุมชนโคกบ๋าใหญ่ หมูบ่ า้ นทีเ่ ต็มไปด้วยความสุขและรอยยิม้ ทุกครัง้ ทีน่ กั ท่องเทีย่ วไปยืน ไม่ ต้องรอวัน รอเวลา รอฤดูกาล ไปตอนไหนก็มีความสุข ตัวอย่างโปรแกรมการท่องเที่ยว (2 วัน 1 คืน) การต้อนรับจากชุมชน 1. นักท่องเที่ยวรับชมการแสดงกลองยาว(ต้อนรับ) 2. เข้าร่วมพิธีบายศรีสู่ขวัญ 3. รับประทานอาหารพาแลง แบบอีสาน อาหารตามฤดูกาล 4. การแสดงเดี่ยวแคน 5. การแสดงเดี่ยวพิณ 6. ฟังการร้องเพลงแบบโบราณประกอบแคนชัก หมอล�ำกลอน หมอล�ำคู่ หมอล�ำเพลิน หมอล�ำภูไท หมอล�ำตั่งหวาย หมอล�ำ สาระวัน และหมอล�ำชิงชู้ 7. ร่วมตักบาตรตอนเช้ากับชุมชน 8. ชมวิถีชีวิตในชุมชน ฝึกสอนการร้อง การแสดงหมอล�ำ เล่น ดนตรี 9. ชมแหล่งท่องเที่ยวภายในชุมชน การเดินทาง รถบัสประจ�ำทางจากกรุงเทพ ฯ ระยะทางประมาณ 700 กิโลเมตร ห่างจากจังหวัดอุบลราชธานี 75 กิโลเมตร รถไฟ จากกรุงเทพ ฯ ถึง สถานีอำ� เภอวารินช�ำราบ จังหวัดอุบลราชธานี เครื่องบิน จากกรุงเทพฯ ถึง สนามบินนานาชาติ จังหวัดอุบลราชธานี ข้อมูลติดต่อ นายเหรียญชัย โพธารินทร์ ประธานกลุ่ม มือถือ 081 – 8787 – 833 โทรศัพท์. 045 – 543 – 109 โทรสาร 045 – 543– 109

คู่มือการท่องเที่ยวโดยชุมชนในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ | คณะผู้วิจัย มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา

7


ชุมชนท่องเที่ยวบ้านปะอาว ความโดดเด่นที่น่าสนใจของชุมชนท่องเที่ยวบ้านปะอาว : “ชุมชน ท่องเที่ยวงานหัตถกรรมทองเหลืองโบราณ และวิถีวัฒนธรรมท้องถิ่น ชาวอุบล” เหมาะส�ำหรับนักท่องเทีย่ ว : ทีส่ นใจศึกษาและเรียนรู้ วิถชี วี ติ หัตถกรรม การหล่อทองเหลือง มีการอนุรักษ์ภูมิปัญญา ด้านการหล่อทองเหลือง และการสืบทอดการเขียนการอ่านใบลาน การสืบทอดภูมิปัญญาจารีต ประเพณีฮีต 12 1. นักเรียน นักศึกษา ไทยและต่างประเทศ 2. กลุ่มศึกษาดูงาน 3. กลุ่มครอบครัว ระยะเวลาที่แนะน�ำในการเที่ยว : นักท่องเทีย่ วสามารถเทีย่ วได้ทกุ เดือน ด้ ว ยพื้ น ที่ อ ยู ่ ไ ม่ ห ่ า งจากตั ว เมื อ งอุ บ ลราชธานี ม าก เดิ น ทางสะดวก เนือ่ งจากเป็นการท่องเทีย่ วโดยชุมชนทีไ่ ม่ตอ้ งรอฤดูกาล มรดกภูมปิ ญ ั ญา ทีส่ บื ทอดกันมายาวนานรอให้ทกุ ท่านไปศึกษาค้นคว้า ไม่วา่ นักท่องเทีย่ ว จะไปวันไหน ช่วงเดือนไหนของปีก็จะได้เห็นวิถีชีวิต การจ�ำลองวิถีชีวิต ของชาวปะอาวไว้ภายในพิพิธภัณฑ์ให้ทุกท่านได้ชมทุกวัน ชุมชนท่องเที่ยวเพื่อการเรียนรู้ : บ้านปะอาว จังหวัดอุบลราชธานี ที่ตั้ง 190 หมู่5 หมู่บ้านปะอาว ต�ำบลปะอาว อ�ำเภอเมือง จังหวัด อุบลราชธานี 34000

8

คู่มือการท่องเที่ยวโดยชุมชนในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

ประวัติของชุมชน หมู่บ้านปะอาวเริ่มก่อตั้งเป็นโฮมสเตย์เมื่อ พ.ศ. 2546 และได้รับการ ประเมินหมู่บ้านโฮมสเตย์ เมื่อปีพ.ศ. 2548 โดยวัตถุประสงค์ในการก่อ ตั้งเพื่อสร้างรายได้เสริมให้กับชุมชน และเพื่อเป็นการเผยแพร่วัฒนธรรม ประเพณี อนุรักษ์ภูมิปัญญา การแสดงของชุมชนให้เป็นที่รู้จักของคน ทั่วไป รวมทั้งชื่อเสียงด้านการผลิตสินค้าประเภทหัตถกรรมทองเหลือง การจักสาน และการทอผ้าที่งดงามดึงดูดใจให้ผู้คนเข้ามาสัมผัสเรียนรู้ วัฒนธรรมประเพณี 1. การหล่อทองเหลือง มีการอนุรักษ์ภูมิปัญญา ด้านการหล่อทอง เหลือง และการสืบทอดการเขียนการอ่านใบลาน 2. การสืบทอดภูมิปัญญา มีการสืบทอด จารีต ประเพณีฮีต 12 3. ป่าท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ 4. พิพิธภัณฑ์พื้นบ้าน 5. สินค้าโอท๊อป ความพิเศษของชุมชน : การหล่อหัตถกรรมทองเหลืองโบราณ ท�ำด้วย มือ และวัฒนธรรมท้องถิ่น


กิจกรรมทางการท่องเที่ยว กิจกรรมการเรียนรูท้ เี่ มือ่ พูดถึงปะอาว นักท่องเทีย่ วต้องนึกถึง คือการ ชมหัตถกรรมทองเหลือง การหล่อทองเหลืองด้วยมือ แบบโบราณ และ ชมศูนย์วัฒนธรรมเฉลิมราช พิพิธภัณฑ์พื้นบ้าน ตลอดจนวัฒนธรรม ประเพณีต่างๆ ตัวอย่างโปรแกรมการท่องเที่ยว 1. นักท่องเทีย่ วทีต่ อ้ งการสัมผัสวิถชี วิ ติ ของชาวอีสานตอนล่าง โดยเฉพาะ การรักษาวัฒนธรรมประเพณี ฮีตสิบสอง ครองสิบสี่ ปะอาวก็เป็นอีกที่ที่ พร้อมจะต้อนรับทุกท่าน •• ตัง้ แต่การต้อนรับอย่างเป็นกันเองด้วยพิธบี ายศรีสขู่ วัญ การแสดง ชุด ของดีบ้านปะอาว วงพิณแคน และการกินเลี้ยงพาแลง ร�ำเชิญ ขวัญจากเยาวชน •• เข้าพักที่โฮมสเตย์นักท่องเที่ยวจะได้ท�ำบุญตักบาตรตอนเช้า •• ทุกเดือนที่บ้านปะอาว ที่มีประเพณีของชาวอีสานเหมาะส�ำหรับ การศึกษาเรียนรู้ ของกลุม่ นักเรียนนักศึกษาเป็นอย่างยิง่ หากสอบถาม ข้อมูลก่อนเดินทาง อาจจะไปพอดีกับงานประเพณีดังกล่าว

•• ถ้าไปไม่ตรงช่วงงานประเพณี นักท่องเทีย่ วก็จะได้เรียนรูป้ ระเพณี ต่างๆ จากภาพจิตรกรรมฝาผนังภายในพิพิธภัณฑ์เฉลิมราช ครบทั้ง 12 ประเพณี •• ชมพิพิธภัณฑ์บ้านปะอาว รวบรวมโบราณวัตถุท่ีชาวบ้านน�ำมาบ ริจาคและจัดสร้างขึ้นเป็นพิพิธภัณฑ์ •• ชมการสาธิตการทอผ้า การหล่อทองเหลืองด้วยมือ •• เยี่ยมชมศูนย์ผลิตภัณฑ์ OTOP ของฝากของที่ระลึก •• การแปรรูปผ้ากาบบัว •• ศึกษาธรรมชาติที่สวนสัตว์เปิด การเดินทาง โดยสารรถประจ�ำทางปรับอากาศ กรุงเทพฯ - อุบลราชธานี ลงที่ บขส. และนัง่ รถสองแถวไปทีค่ วิ รถสีแ่ ยกกิโลศูนย์เพือ่ ขึน้ รถอุบลราชธานี - ปะอาว เป็นรถสองแถวหกล้อ มีเวลาให้บริการ คือ เวลา 11.00 น. และ12.00 น. ใช้เวลาเดินทาง 30 นาที ค่ารถโดยสารคนละ 20 บาท ระยะทางจากตัวเมืองอุบลราชธานี ถึงปะอาวประมาณ 25 กิโลเมตร ข้อมูลติดต่อ คุณอภิชาต พานเงิน ชุมชนบ้านปะอาว ม.9 ต.ปะอาว อ.เมือง จ.อุบลราชธานี โทร. 085-613-4713

คู่มือการท่องเที่ยวโดยชุมชนในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ | คณะผู้วิจัย มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา

9



ชุมชนท่องเที่ยวบ้านกู่กาสิงห์ ความโดดเด่นทีน่ า่ สนใจของชุมชนท่องเทีย่ วบ้านกูก่ าสิงห์ : “ดินแดน แห่งข้าวพันธุ์ดีทุ่งกุลาร้องไห้” เหมาะส�ำหรับนักท่องเทีย่ ว : ทีส่ นใจศึกษาและเรียนรู้ วิถชี วี ติ วัฒนธรรม ชาวไทยลาว และเรียนรูเ้ กีย่ วกับเศรษฐกิจพอเพียง แห่งข้าวหอมมะลิพนั ธุ์ ดีของโลก และประวัติศาสตร์ขอมโบราณที่ยาวนานหลายร้อยปี 1. นักเรียน นักศึกษา ไทยและต่างประเทศ 2. กลุ่มศึกษาดูงาน 3. กลุ่มครอบครัว ระยะเวลาทีแ่ นะน�ำในการเทีย่ ว : นักท่องเทีย่ วสามารถเทีย่ วได้ทกุ เดือน แต่เดือนทีแ่ นะน�ำให้มาเทีย่ วคือ ช่วงสัปดาห์ แรกเดือนพฤษภาคม เทีย่ ว ชมงานประเพณีบุญบั้งไฟ วันเพ็ญเดือนห้า (เมษายน) เที่ยวชมวิถีชาว บ้านงานประเพณีสรงกู่ (กู่กาสิงห์) (บางปีหลังจากวันสงกรานต์ บางปี ก่อนงานสงกรานต์ 7 วัน) นอกจากนี้ช่วงเดือนธันวาคม มกราคม กุมภาพันธ์ มีนาคม เมษายน สามารถเที่ยวได้ตลอดปี ชุมชนท่องเที่ยวเพื่อการเรียนรู้ : บ้านกู่กาสิงห์ จังหวัดร้อยเอ็ด ที่ตั้ง บ้านกู่กาสิงห์ ตั้งอยู่บริเวณฝั่งแม่น�้ำเสียวใหญ่ ของทุ่งกุลาร้องไห้ ในเขตปกครองต�ำบลกู่กาสิงห์ อ�ำเภอเกษตรวิสัย จังหวัดร้อยเอ็ด ประวัติของชุมชน “บ้านกู่กาสิงห์” เป็นชื่อตั้งขึ้นเป็นมงคลนาม โดยยึดเอาตามหลักฐานที่ พบในขณะที่มาตั้งถิ่นฐาน ค�ำว่า “กู่” มาจากค�ำที่ชาวบ้านทั่วไปใช้เรียก โบราณสถานทีเ่ ป็นปราสาทหินทีส่ ร้างในสมัยขอม มีลกั ษณะเป็นสถูปหรือ เจดีย์ ค�ำว่า “กา” สันนิษฐานได้หลายประการ เช่น “กา” หมายถึง กา ต้มน�้ำ อีกนัยหนึ่ง “กา” เป็นภาษาถิ่น ตรงกับภาษาไทยกลาง ค�ำว่า “ตรา” ซึ่งแปลว่า เครื่องหมาย หรือเป็นชื่อเรียกสัตว์ปีกนกกา และเดิม บริเวณหมูบ่ า้ นกาสิงห์ มีฝงู กาอาศัยอยูจ่ ำ� นวนมาก โดยเฉพาะตอนหัวค�ำ่ จะไปรวมตัวกันนอนอยู่บนต้นไม้บริเวณหนองน�้ำทิศเหนือของหมู่บ้าน ชาวบ้านจึงเรียกว่า “หนองกานอน” ค�ำว่า “สิงห์” มาจากชื่อใช้เรียก ปฏิมากรรมรูปสิงโต ซึ่งเดิมมีที่ตั้งวางทางเข้าประตูปราสาท ดังนั้น “กู่กา สิงห์” จึงหมายถึงโบราณสถานที่มีรูปกาและสิงห์เป็นเครื่องหมาย

วัฒนธรรมประเพณี ชาวบ้านเป็นกลุ่มชาติพันธุ์ไทยลาว ยึดถือประเพณีตามฮีต 12 งาน ประเพณีส�ำคัญของชุมชนคือ ประเพณีบุญบั้งไฟ เนื่องจากเป็นชุมชน ชนโบราณจึงถือเป็นจารีตจัดท�ำบุญบั้งไฟทุกปี ในวันเสาร์แรกของเดือน พฤษภาคม และงานประเพณีสรงกู่เป็นประเพณีระดับชาวบ้าน จัดขึ้น ในวันเพ็ญเดือนห้าของทุกปี (บางปีอยู่ก่อนวันสงกรานต์ บางปีอยู่หลัง วันสงกรานต์ 7 วัน) นอกจากนี้ได้แก่ ประเพณีบุญบวช งานแต่งงาน บุญกฐิน บุญผะเหวด เป็นต้น ประเพณีเกี่ยวกับการนับถือผี ได้แก่ ประเพณีเลีย้ งปูต่ า จัดขึน้ ในวันพุธแรกของเดือนหก และประเพณีทำ� บุญ ตักบาตรสระแก โดยทั่วไปจัดหลังจากเลี้ยงปู่ตา 1 สัปดาห์ กิจกรรมทางการท่องเที่ยว 1. การกินข้าวพาแลง การชมการแสดงแสงสีเสียงขนาดย่อมที่กู่กา สิงห์ 2. มัคคุเทศก์น้อยเดินการน�ำเที่ยวโบราณสถาน 3. การเดินเที่ยวชมสวนเกษตร 4. การทดลองตัดลายกระดาษพื้นบ้านกับภูมิปัญญาชาวบ้าน 5. การชมการทอผ้าหรือทดลองทอผ้าไหม 6. การชมนิทรรศการทอผ้าไหม 7. การเข้าชมพิพิธภัณฑ์มรดกภูมิปัญญา 8. การเลือกซื้อผ้าไหมพื้นบ้าน 9. การสนทนาแลกเปลีย่ นเรียนรูจ้ ากภูมปิ ญ ั ญาด้านวรรณกรรมชาว บ้าน 10. การร่วมกิจกรรมตามวัฒนธรรม

คู่มือการท่องเที่ยวโดยชุมชนในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ | คณะผู้วิจัย มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา

11


ตัวอย่างโปรแกรมการท่องเที่ยว (2 วัน 1 คืน) วันที่หนึ่ง เวลา 11.00 น เข้านมัสการพระธาตุไตรตรึง วัดไตรตรึงบ้านต่องต้อน เวลา 12.00 น การรับประทานอาหารเทีย่ งทีศ่ นู ย์ผา้ ไหมกลุม่ แม่บา้ น เกษตรกรและเยี่ยมชมผ้าไหม เวลา 13.00 น มัคคุเทศก์น้อยน�ำชมชมโบราณสถานกู่กาสิงห์ กู่โพนวิจ และกู่โพนระฆัง เวลา 16.00 น เข้าพักโฮสเตย์บ้านกู่กาสิงห์ เวลา 18.00 น พิธีสู่ขวัญบายศรี รับประทานอาหาร ข้าวพาแลง ที่กู่กาสิงห์ และชมการแสดงศิลปวัฒนธรรมพื้นบ้านที่กู่กาสิงห์ เวลา 22.00 น เข้าพักนอนบ้านโฮสเตย์บ้านกู่กาสิงห์ วันที่สอง เวลา 07.00 น ตื่นเช้าท�ำบุญตักบาตรที่หน้าบ้านพัก หรือไปท�ำบุญ ที่วัด เวลา 08.00 น รับประทานอาหารที่บ้านพักโฮมสเตย์ เวลา 08.30 น เที่ยวชมสัมผัสวิถีชีวิตชาวบ้าน เลือกซื้อสินค้าผ้า ไหมพื้นบ้าน เวลา 10.00 น พิธีอ�ำลา และเดินทางกลับโดยสวัสดิภาพ

12

คู่มือการท่องเที่ยวโดยชุมชนในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

การเดินทาง กรณีที่ 1 เดินทางออกจากอ�ำเภอเมือง จังหวัดร้อยเอ็ด มาตาม ถนนปัทมานนท์มาทางทิศใต้ของจังหวัด ผ่านอ�ำเภอจัตุรพักตรพิมาน ถึง อ�ำเภอเกษตรวิสัย รวมระยะทาง 47 กิโลเมตร แล้วเลี้ยวซ้ายบริเวณ สามแยกด้านหน้าที่ว่าการอ�ำเภอเกษตรวิสัย (ไปตามถนนปัทมานนท์) ประมาณ 7 กิโลเมตรครึ่ง ถึงทางแยกก็เลี้ยวขวาไปตามถนนลาดยางทาง เข้าหมูบ่ า้ น ผ่านบ้านสงแคน บ้านหนองเบ็น บ้านม่วย ข้ามล�ำแม่นำ�้ เสียว ใหญ่ก็ถึงบ้านกู่กาสิงห์ รวมระยะทางประมาณ 10 กิโลเมตร กรณีท ี่ 2 เดินทางออกจากกรุงเทพมหานคร มาทีจ่ งั หวัดนครราชสีมา ผ่านสามแยกอ�ำเภอพิมาย มาตามถนนมิตรภาพ ถึงบ้านวัด แล้วเลีย้ วขวา ผ่านอ�ำเภอโนนไทย อ�ำเภอประทาย อ�ำเภอพุทไธสง อ�ำเภอพยัคฆภูมพิ สิ ยั และถึงอ�ำเภอเกษตรวิสัยแล้วจึงเข้าถึงบ้านกู่กาสิงห์ ข้อมูลติดต่อ 1.นายอ�ำคา แสงงาม โทร 084-789-7006 2.นายบัวลอง แพงวงษ์ โทร 089-574-7324 3.เทศบาลต�ำบลกู่กาสิงห์ โทร 043-632-15, 043-632-115 4.เทศบาลต�ำบลกู่กาสิงห์ โทรสาร 043-632-126


ชุมชนท่องเที่ยวบ้านฟ้าหยาด ความโดดเด่นทีน่ า่ สนใจของชุมชนท่องเทีย่ วบ้านฟ้าหยาด : “ชุมชน ท่องเที่ยวภูมิปัญญาท้องถิ่น ประเพณีมาลัยข้าวตอก” เหมาะส�ำหรับนักท่องเที่ยว : ที่สนใจศึกษาและเรียนรู้ วิถีชีวิต สัมผัส วัฒนธรรมประเพณีเรียนรู้วิธีการท�ำมาลัยข้าวตอก และร่วมร้อยมาลัย ร้อยบุญกับชาวบ้านฟ้าหยาดอย่างใกล้ชิด 1. นักเรียน นักศึกษา ไทยและต่างประเทศ 2. กลุ่มศึกษาดูงาน 3. กลุ่มครอบครัว ระยะเวลาทีแ่ นะน�ำในการเทีย่ ว : นักท่องเทีย่ วสามารถเทีย่ วได้ทกุ เดือน เพราะมีการสาธิตการท�ำมาลัยข้าวตอก และมีพพิ ธิ ภัณฑ์ทจี่ ดั แสดงมาลัย ข้ า วตอก พระพุ ท ธรู ป หยกขาวที่ ใ หญ่ ที่ สุ ด ในประเทศไทย รอย พระพุทธบาทจ�ำลอง แต่เดือนที่แนะน�ำให้มาเที่ยวคือ วันเพ็ญขึ้น 15 ค�่ำ เดือน 3 หรือวันมาฆบูชาที่จะมีประเพณีแห่มาลัยข้าวตอก การจัดเตรียม งานประเพณีทแี่ สดงออกถึงความเป็นหนึง่ เดียว ความอดทน ความปราณี ตกว่าจะมาเป็นมาลัยข้าวตอกแต่ละพวง ชุมชนท่องเที่ยวเพื่อการเรียนรู้ : บ้านฟ้าหยาด ทีต่ งั้ โฮมสเตย์บา้ นฟ้าหยาด 67 หมู่ 1 ต�ำบลฟ้าหยด อ�ำเภอมหาชนะชัย จังหวัดยโสธร 35130

ตัวอย่างโปรแกรมการท่องเที่ยว 1. กิจกรรมที่ฟ้าหยาด 1 เดียวไม่เหมือนใครในโลก 1. ชมการสาธิตการท�ำมาลัยข้าวตอก 2. ชมพิพิธภัณฑ์มาลัยข้าวดอก 3. นมัสการรอยพระพุทธบาทจ�ำลอง 2. อยากชมมาลัยข้าวตอกที่ใหญ่ที่สุดในโลก ไกล้วันมาฆาบูชาต้องนึกถึง ที่นี่ ฟ้าหยาดโฮมสเตย์ 1. การต้อนรับนักท่องเทีย่ วทีม่ าเพือ่ ชมของแปลก และมาในเทศกาล งานบุญที่แสนอบอุ่น 2. ร่วมเตรียมข้าวปลาอาหาร ส�ำหรับท�ำบุญตักบาตรในวันเพ็ญเดือน 3 3. พั ก ที่ โ ฮมสเตย์ ตอนเช้ า เอาฤกษ์ เ อาชั ย ด้ ว ยการสั ก การะ ศาลหลักเมือง 4. ชมพิพิธภัณฑ์มาลัยข้าวตอกที่วัดหอก่อง 5. ไหว้รอยพระพุทธบาทจ�ำลอง 6. จากนั้นคือสิ่งที่ทุกท่านรอคอย คือการแห่มาลัยข้าวตอกที่ใหญ่ ที่สุดในโลก 7. ร่วมทุกบุญวันมาฆบูชา กับชาวบ้าน และชมประเพณีอันดีงาม กับการต้อนรับที่อบอุ่น ประวัติของชุมชน หมายเหตุ โฮมสเตย์เฮือนนวดบ้านฟ้าหยาด นักท่องเที่ยวสามารถชม บ้านฟ้าหยาดมีการอนุรักษ์ประเพณีวัฒนธรรมที่สืบทอดกันมาอย่าง พิพิธภัณฑ์ และการสาธิตการท�ำมาลัยข้าวตอกได้ตลอดที่ไปเยี่ยมชม แต่ ยาวนาน คือ ประเพณีแห่มาลัยข้าวตอก ซึ่งจัดขึ้นในวันมาฆบูชาของทุกปี หากต้องการชมขบวนแห่ ที่ใหญ่โตและสวยงามต้องติดต่อไปใกล้วัน ปัจจุบนั ชาวบ้านฟ้าหยาดเปิดบ้านต้อนรับนักท่องเทีย่ วในรูปแบบโฮมสเตย์ มาฆบูชาเท่านั้น เพื่อให้นักท่องเที่ยวได้มาสัมผัสวัฒนธรรมประเพณีเรียนรู้วิธีการท�ำมาลัย ข้าวตอก และร่วมร้อยมาลัยร้อยบุญกับชาวบ้านฟ้าหยาดอย่างใกล้ชิด กิจกรรมทางการท่องเที่ยว •• มาลัยข้าวตอก, พิพธิ ภัณฑ์มาลัยข้าวตอก หนึง่ เดียวในประเทศไทย •• รอยพระพุทธบาท ยโสธร, มีพระพุทธรูปหยกขาวที่ใหญ่ที่สุดใน ประเทศไทย

คู่มือการท่องเที่ยวโดยชุมชนในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ | คณะผู้วิจัย มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา

13


การเดินทาง ข้อมูลติดต่อ คุณสุวรรณา ศิลาพล โฮมสเตย์บ้านฟ้าหยาด 67 หมู่ 1 ต�ำบลฟ้าหยด อ�ำเภอมหาชนะชัย จังหวัดยโสธร 35130 โทร 081-5477526

14

คู่มือการท่องเที่ยวโดยชุมชนในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ


ชุมชนท่องเที่ยวบ้านห้องแซง ความโดดเด่นที่น่าสนใจของชุมชนท่องเที่ยวบ้านห้องแซง : “ชุมชน ท่องเที่ยว ชาติพันธุ์ วัฒนธรรมภูไท” เหมาะส�ำหรับนักท่องเที่ยว : ที่สนใจศึกษาและเรียนรู้ วิถีชีวิต โอสเตย์ ภูไทห้องแซง การต้อนรับและความเป็นอยู่ที่ท�ำให้ทุกคนอยากเข้ามา สัมผัสเรียนรู้ จะถูกถ่ายทอดอย่างเต็มรูปแบบ 1. นักเรียน นักศึกษา ไทยและต่างประเทศ 2. กลุ่มศึกษาดูงาน 3. กลุ่มครอบครัว ระยะเวลาทีแ่ นะน�ำในการเทีย่ ว : นักท่องเทีย่ วสามารถเทีย่ วได้ทกุ เดือน กิจกรรมทางการท่องเที่ยว เพือ่ ศึกษาวิถชี วี ติ ความเป็นอยูข่ องชาวภูไท วัฒนธรรมความเป็นอยูอ่ ย่าง •• ภาษาภูไท เต็มรูปแบบ แต่เดือนทีแ่ นะน�ำให้มาเทีย่ วคือ ช่วงเดือนพฤษภาคม - เดือน •• การแต่งกายผ้าคาม ตุลาคม เพราะนักท่องเทีย่ วจะได้เห็นความอุดมสมบูรณ์ของทุง่ นาซึง่ เป็น •• วิถีชีวิต ความเป็นอยู่ของกลุ่มภูไท อาชีพหลักของคนในพื้นที่ •• มีผ้ามัดหมี่ ชุมชนท่องเที่ยวเพื่อการเรียนรู้ : บ้านห้องแซง •• ห้อยลิงโชว์ ที่ตั้ง 76 ม. 17 หมู่บ้านหนองแซง ต�ำบลห้องแซง อ�ำเภอเลิงนกทา ตัวอย่างโปรแกรมการท่องเที่ยว จังหวัดยโสธร 53120 ต�ำบลห้องแซง อ�ำเภอเลิงนกทา จังหวัดยโสธร หากนักท่องเทีย่ วมาพักทีโ่ อสเตย์ภไู ทห้องแซง การต้อนรับและความ เป็นอยู่ที่ท�ำให้ทุกคนอยากเข้ามาสัมผัสเรียนรู้ จะถูกถ่ายทอดอย่างเต็ม ประวัติของชุมชน รูปแบบ เมื่อปีพ.ศ. 2392 ชนเผ่าภูไทจากเมืองเซโปนแล แขวงจ�ำปาศักดิ์ 1. เริ่มจากการต้อนรับ ด้วยภาษาพูดที่ฟังแล้วประทับใจ การแต่ง ประเทศลาว ได้อพยพข้ามแม่น�้ำโขงโดยผ่านทิศตะวันตกเฉียงใต้มาถึง กายต้อนรับแขกบ้านแขกเมืองที่ใครเห็นก็ต้องถ่ายรูปเก็บไว้เป็นที่ บ้านป่าดงนาหว้าเพื่อตั้งถิ่นฐาน ต่อมาพรานบุญตามล่าแรดผ่านมาถึงดง ระลึก นาหว้าได้เล่าให้ชาวภูไทที่อพยพมาอยู่ว่าพบแหล่งที่อุดมสมบูรณ์ที่ท�ำเล 2. พิธบี ายศรีทเี่ จ้าบ้าน ตัง้ ใจร่วมกันท�ำเพือ่ ต้อนรับทุกคนทีม่ าเยือน เหมาะสม หัวหน้าชนเผ่าภูไทจึงได้อพยพพรรคพวกมาสมทบ 5 - 6 3. ต่อด้วยการกินเลี้ยงพาแลง อาหารท้องถิ่น ครอบครัว มาตั้งถิ่นฐาน ณ ป่าดงฮ่องหญ้าแซง ต่อมาได้กลายเป็นบ้าน 4. ไปพร้อมกับการชมการแสดงของชนเผ่าภูไท ห้องแซง เอกลักษณ์ที่เด่นชัดคือ การด�ำเนินชีวิตแบบวิถีชนภูไทรักษา 5. รุ่งเช้าท�ำบุญตักบาตร ต่อด้วยการท่องเที่ยวเชิงเกษตร การท�ำไร ขนบธรรมเนียมวัฒนธรรม การแต่งกายภาษาภูไท ท�ำนา กิจกรรมเสริมต่างๆ ตามฤดูกาลที่นักท่องเที่ยวมาเยือน วัฒนธรรมประเพณี 6. การเรียนรู้การทอผ้าไหมมัดหมี่ ผ้าลายพื้นเมือง 7. ชมอ่างเก็บน�้ำห้วยลิงโจน และสุดท้ายของวัน ที่ดูหินสามก้อน ผ้าตากแดด (พระอาทิตย์ใกล้ตกดิน)

คู่มือการท่องเที่ยวโดยชุมชนในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ | คณะผู้วิจัย มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา

15


การเดินทาง ข้อมูลติดต่อ คุณอุทัย ไกรยรัตน์ โฮมสเตย์บ้านแซง 44 หมู่ 6 ต�ำบลห้องแซง อ�ำเภอเลิงนกทา จังหวัดยโสธร โทร 089-721-1395

16

คู่มือการท่องเที่ยวโดยชุมชนในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ


ชุมชนท่องเที่ยวบ้านโคกโก่ง ความโดดเด่นที่น่าสนใจของชุมชนท่องเที่ยวบ้านโคกโก่ง : “ชุมชน ท่องเที่ยววิถีภูไทและการท่องเที่ยวทางธรรมชาติ” เหมาะส�ำหรับนักท่องเทีย่ ว : ทีส่ นใจศึกษาและเรียนรู้ วิถชี วี ติ วัฒนธรรม กิจกรรมเบิ่งวัฒนธรรมภูไทย ศึกษาเรียนรู้ความเป็นอยู่ วัฒนธรรมความ เป็นอยู่ของชาวผู้ไทยที่ยังคงรักษาไว้ 1. นักเรียน นักศึกษา ไทยและต่างประเทศ 2. กลุ่มศึกษาดูงาน 3. กลุ่มครอบครัว ระยะเวลาทีแ่ นะน�ำในการเทีย่ ว : นักท่องเทีย่ วสามารถเทีย่ วได้ทกุ เดือน แต่เดือนที่แนะน�ำให้มาเที่ยวคือ ช่วงเดือนพฤษภาคม - เดือนตุลาคม น�้ำตกจะมีน�้ำมาก สวยงาม ธรรมชาติร่มรื่นมากกว่าฤดูอื่นๆ เหมาะแก่ การพักผ่อนหย่อนใจ ชุมชนท่องเที่ยวเพื่อการเรียนรู้ : บ้านโคกโก่ง ที่ตั้ง 120/1 ม.5 หมู่บ้านโคกโก่ง ต�ำบลกุดหว้า อ�ำเภอกุฉินารายณ์ จังหวัดกาฬสินธุ์ 46110 ต�ำบลกุดหว้า อ�ำเภอกุฉินารายณ์ จังหวัด กาฬสินธุ์ ประวัติของชุมชน เมือ่ ปี พ.ศ. 2432 ได้มชี าวบ้านค�ำเฮ้ ต.หนองสูง อ.ค�ำละอี จ.มุกดาหาร อพยพมา 2 ครอบครัว ตั้งหมู่บ้านอยู่ทางตะวันออกของบ้านโคกโก่ง ปัจจุบัน เรียกชื่อว่า “บ้านทุ่งบักเฒ่า” ต่อมาอีก 2 ปี ได้มีชนเผ่ากุลา ประมาณ 10 คน อพยพเข้ามาโดยน�ำฝิ่นมาด้วยและท�ำการปล้นจี้ชาว บ้าน แต่ในที่สุดก็ได้ถูกปราบปรามหลบหนีไปบ้านทุ่งบักเฒ่าได้รวบรวม พรรคพวกไปตั้งบ้านใหม่ชื่อว่า “บ้านโคกโก่ง” และมีนายเจ้าชิน เป็น ผู้ใหญ่บ้าน อยู่มาได้ 2 ปี ก็ถูกกลุ่มคนร้านฆ่าตายและนายกินรีได้เป็น ผูใ้ หญ่บา้ นแทน อยูม่ าอีก 2 ปี ชาวบ้านได้ลม้ ป่วยตายโดยไม่ทราบสาเหตุ จึงได้พร้อมใจกันย้ายมาอยู่ทางทิศเหนือ คนละฟากทุ่งนาจนถึงปัจจุบัน

วัฒนธรรมประเพณี

กิจกรรมทางการท่องเที่ยว 1. วิถีวัฒนธรรมชาติพันธุ์ภูไท 2. ศูนย์ต้อนรับนักท่องเที่ยว 3. น�้ำตก 4. วิถีชุมชน ความสามัคคี 5. ประเพณีท้องถิ่น ตัวอย่างโปรแกรมการท่องเที่ยว กิจกรรมเบิ่งวัฒนธรรมภูไทย ศึกษาเรียนรู้ความเป็นอยู่ วัฒนธรรม ความเป็นอยู่ของชาวผู้ไทยที่ยังคงรักษาไว้ 1. ชมการแสดงวัฒนธรรมผู้ไทย 2. การสร้างความประทับใจตัง้ แต่แรกเห็น ด้วยการแต่งการพืน้ บ้าน รับนักท่องเที่ยว 3. ซึมซาบวิถีชีวิต ผู้ไทยเดิม เกษตรอินทรีย์ 4. เรียนรู้ภาษา วัฒนธรรมที่แตกต่าง 5. เที่ยวชมแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติ 6. วนอุทยานภูผาวัว 7. น�้ำตกตาดสูง 8. ตาดยาว 9. ผานางแอ่น 10. ดานโหลง 11. วัดศรีกูขันธ์

คู่มือการท่องเที่ยวโดยชุมชนในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ | คณะผู้วิจัย มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา

17


การเดินทาง จากตัว อ.กุฉินารายณ์ จ.กาฬสินธุ์ ใช้ทางหลวงหมายเลข 2042 สายกุฉินารายณ์ – มุกดาหาร (เส้นทางสู่ประตูอินโดจีน) ประมาณ 12 กิโลเมตร เมื่อถึงหลักกิโลเมตรที่ 52 เลี้ยวซ้ายไปตามถนนเข้าหมู่บ้าน ระยะทาง 3 กิโลเมตร รวมระยะห่างจากตัวจังหวัด 80 กิโลเมตร ข้อมูลติดต่อ ชื่อ-นามสกุล : คุณพร อัฐนาค โทรศัพท์ : โทรศัพท์มือถือ : 082-8488932

18

คู่มือการท่องเที่ยวโดยชุมชนในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ



ชุมชนท่องเที่ยวบ้านโคกเมือง ความโดดเด่นทีน่ า่ สนใจของชุมชนท่องเทีย่ วบ้านโคกเมือง : “ชุมชน ท่องเที่ยวสองปราสาทหิน ถิ่นข้าวภูเขาไฟ” เหมาะส�ำหรับนักท่องเทีย่ ว : ทีส่ นใจศึกษาและเรียนรู้ วิถชี วี ติ วัฒนธรรม ศึกษาเรียนรู้แหล่งท่องเที่ยวอารยธรรมขอมโบราณที่ปราสาทเมืองต�่ำ และปราสาทเขาพนมรุ้ง และเรียนรู้ฐานการเรียนรู้ที่มีอยู่ถึง 13 ฐาน 1. นักเรียน นักศึกษา ไทยและต่างประเทศ 2. กลุ่มศึกษาดูงาน 3. กลุ่มครอบครัว ระยะเวลาทีแ่ นะน�ำในการเทีย่ ว : นักท่องเทีย่ วสามารถเทีย่ วได้ทกุ เดือน เป็นแหล่งเรียนรู้ อู่อารยธรรมของอีสานใต้ที่ส�ำคัญ เนื่องจากชุมชนอยู่ ใกล้ชดิ กับโบราณสถาน นอกจากจะมีโบราณสถานเป็นแหล่งท่องเทีย่ วที่ ส�ำคัญ ชุมชนจึงได้มกี ารต่อยอดเพิม่ ค่า สร้างฐานการเรียนรูจ้ ากภูมปิ ญ ั ญา ชาวบ้านมากถึง 13 ฐานไว้รอต้อนรับนักท่องเที่ยวตลอดทั้งปี เส้นทางอารยธรรมขอม : บ้านโคกเมือง บุรีรัมย์ ที่ตั้ง 409 หมู่ 9 ต�ำบลจระเข้มาก อ�ำเภอประโคนชัย จังหวัดบุรีรัมย์ 31140 ประวัติของชุมชน ชุมชนโคกเมือง เป็นชุมชนใหญ่มี 4 หมูบ่ า้ น ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพ หลักด้านการเกษตร ในปี 2549 บ้านโคกเมืองได้รับคัดเลือกให้เป็น หมู่บ้าน OTOP Village Champion (OVC) อบต.จรเข้มาก จึงมีแนวคิด พัฒนาโครงการส่งเสริมหมู่บ้านท่องเที่ยว OTOP เพื่อให้ประชาชนมีราย ได้และพัฒนาสินค้า OTOP โดยส่งเสริมการท่องเที่ยวกิจกรรมบ้านพัก โฮมสเตย์ในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้วิถีชีวิตดั้งเดิมของชุมชน วัฒนธรรมประเพณี

20

คู่มือการท่องเที่ยวโดยชุมชนในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ


กิจกรรมทางการท่องเที่ยว กิจกรรมที่ทุกคนมาที่บ้านโคกเมืองโฮมสเตย์ จะนึกถึง •• ศึกษาเรียนรูแ้ หล่งท่องเทีย่ วอารยธรรมขอมโบราณทีป่ ราสาทเมืองต�ำ ่ และปราสาทเขาพนมรุ้ง •• นวดแผนโบราณ •• กิจกรรมป่าชุมชนเขาปลายพัด •• เลือกที่จะศึกษาเรียนรู้ฐานการเรียนรู้ที่มีอยู่ถึง 13 ฐาน ตัวอย่างโปรแกรมการท่องเที่ยว เที่ยวชมใกล้ชิดอารยธรรมขอมโบราณ ต้องพักโคกเมืองโฮมสเตย์ 1. การจัดการต้อนรับโดยกลุ่มแม่บ้านโฮมสเตย์ กิจกรรมบายศรีสู่ขวัญ และดอกไม้ที่ท�ำจากรังไหม 2. การแสดงจากชุมชน หรือนักเรียน 3. บริการอาหารจากกลุ่มแม่บ้านโฮมสเตย์ โดยนั่งล้อมวงขันโตก 4. ท�ำบุญตักบาตรตอนเช้า 5. ต่อด้วยการศึกษาเรียนรู้ ฐานการเรียนรู้ ที่มีให้นักท่องเที่ยวได้เลือก ชม ทั้งหมด 13 ฐาน 6. กิจกรรมสร้างสรรค์สงิ่ แวดล้อม โดยให้นกั ท่องเทีย่ วปลูกป่าชุมชนเข้า ปลายพัด 7. และทีข่ าดไม่ได้ การเทีย่ วชม ศึกษาเรียนรูอ้ ารยธรรมขอมทีป่ ราสาท เมืองต�่ำ และปราสาทเขาพนมรุ้ง มีบริการจักรยาน และมัคคุเทศก์น้อยน�ำชมสถานที่ต่างๆ การเดินทาง ทางรถยนต์สายโชคชัย - เดชอุดม ลงที่สี่แยกไฟแดงประโคนชัย และต่อ รถสองแถวไปหมู่บ้านโคกเมืองระยะทาง 20 กิโลเมตร ข้อมูลติดต่อ คุณปิยะพัชร ศรีชนะ 409 หมู่ 9 ต�ำบลจระเข้มาก อ�ำเภอประโคนชัย จังหวัดบุรีรัมย์ 31140 โทร 088-582-8884 คู่มือการท่องเที่ยวโดยชุมชนในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ | คณะผู้วิจัย มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา

21


ชุมชนท่องเที่ยวบ้านท่าสว่าง ความโดดเด่นที่น่าสนใจของชุมชนท่องเที่ยวบ้านท่าสว่าง : “ชุมชน ท่องเที่ยวงานหัตถกรรมไหม ที่ผสานภูมิปัญญา ผ้าไหมยกทองราช ส�ำนักและผ้าไหมท้องถิ่น” เหมาะส�ำหรับนักท่องเทีย่ ว : ทีส่ นใจศึกษาและเรียนรู้ วิถชี วี ติ วัฒนธรรม หมูบ่ า้ นทอผ้าไหมท่าสว่าง อยูใ่ กล้เมืองสุรนิ ทร์ นักท่องเทีย่ วส่วนใหญ่นยิ ม ไปเพื่อซื้อสินค้าและชมการทอผ้าไหมยกทองโบราณ กิจกรรมต่างๆ 1. นักเรียน นักศึกษา ไทยและต่างประเทศ 2. กลุ่มศึกษาดูงาน 3. กลุ่มครอบครัว ระยะเวลาทีแ่ นะน�ำในการเทีย่ ว : นักท่องเทีย่ วสามารถเทีย่ วได้ทกุ เดือน หมูบ่ า้ นทอผ้าไหมท่าสว่างอยูใ่ กล้อำ� เภอเมืองสุรนิ ทร์มาก นักท่องเทีย่ วที่ เดินทางผ่านไปมาก็สามารถแวะชมการทอผ้าไหมแบบราชส�ำนักได้ตลอด ทั้งปี และเลือกซื้อของที่ระลึกที่จากหัตถกรรมฝีมือชาวบ้านมากมาย หัตกรรมการทอผ้าแบบยกทองโบราณ : บ้านท่าสว่าง จังหวัดสุรนิ ทร์ ที่ตั้ง โฮมสเตย์บ้านท่าสว่าง 88 หมู่ 1 ต�ำบลท่าสว่าง อ�ำเภอเมือง สุรินทร์ จังหวัดสุรินทร์ 3200

ประวัติของชุมชน บ้านท่าสว่างเดิมชื่อว่า \”เตรี้ยะ\” เป็นภาษาเขมร หมายถึง พันธุ์ไม้ ชนิดหนึ่ง ภาษาไทยเรียกว่า \“ต้นชาด\” บรรพบุรุษของชาวบ้านเตรี้ยะ ได้อพยพมาจากบ้าน \”ระเภาว์\” ซึ่ง อยู่ห่างไป ทางทิศตะวันออกเฉียง เหนือประมาณ 5 กม. ในปี พ.ศ.2485 ได้มกี ารรวมบ้านเตรีย้ ะกับหมูบ่ า้ น อืน่ ๆ ใช้ชอื่ ว่าต�ำบลท่าสว่าง คนในชุมชน ได้รว่ มกันจัดบ้านพัก โฮมสเตย์ เพื่อให้นักท่องเที่ยวได้เยี่ยมชมฝีมือการทอผ้าไหมที่เป็นที่รู้จักอย่างแพร่ หลาย กับความภาคภูมิใจที่ได้รับการคัดเลือกให้เป็นผู้ทอผ้าไหมยกทอง โบราณเพือ่ มอบให้แก่ผนู้ ำ� เอเปค เมือ่ ปี พ.ศ. 2548 คนในชุมชนส่วนใหญ่ ประกอบอาชีพเกษตรกรรม และรับจ้าง อาชีพเสริม ปลูกผัก เลี้ยงสัตว์ ปลูกหม่อน-เลี้ยงไหม และทอผ้าไหม ท�ำปุ๋ยอินทรีย์ ชุมชนนับถือศาสนา พุทธ

22

คู่มือการท่องเที่ยวโดยชุมชนในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ


กิจกรรมทางการท่องเที่ยว หมู่บ้านทอผ้าไหมท่าสว่าง อยู่ใกล้เมืองสุรินทร์ นักท่องเที่ยวส่วน ใหญ่นิยมไปเพื่อซื้อสินค้าและชมการทอผ้าไหมยกทองโบราณ กิจกรรม ต่างๆ มีดังนี้ •• มีฐานเรียนรู้ 6 ฐาน •• ลาน OTOP จ�ำหน่ายสินค้าที่เป็นเอกลักณษ์ •• แหล่งเรียนรู้การทอผ้าไหมยกทองโบราณ 1416 ตะกอ ใช้คนทอ ถึง 6 คน •• แหล่งเรียนรู้เกษตรอินทรีย์กิจกรรมทางการท่องเที่ยว ตัวอย่างโปรแกรมการท่องเที่ยว ( 2 วัน 1 คืน) หมู่บ้านทอผ้าไหมท่าสว่าง อยู่ใกล้เมืองสุรินทร์ นักท่องเที่ยวส่วน ใหญ่นิยมไปเพื่อซื้อสินค้าและชมการทอผ้าไหมยกทองโบราณ กิจกรรม ต่างๆ มีดังนี้ 1. มีฐานเรียนรู้ 6 ฐาน 2. ลาน OTOP จ�ำหน่ายสินค้าที่เป็นเอกลักณษ์ 3. แหล่งเรียนรู้การทอผ้าไหมยกทองโบราณ 1416 ตะกอ ใช้คนทอ ถึง 6 คน 4. แหล่งเรียนรู้เกษตรอินทรีย์

นักท่องเที่ยวที่ต้องการสัมผัสวิถีชิวิตชุมชน ไม่ต้องการพักโรงแรมหรู หมู่บ้านก็มีบ้านพักโฮมสเตย์ไว้บริการ 1. การต้อนรับนักท่องเที่ยวนักท่องเที่ยวด้วยการติดเข็มกลัดให้ทุก ท่าน กิจกรรมการแสดงพื้นบ้านวัฒนธรรมเขมร 2. รับประทานอาหารพื้นบ้าน ต่อด้วยพิธีบายศรีสู่ขวัญ 3. เข้าพักที่โฮมสเตย์ ตอนเช้าก็ร่วมท�ำบุญตักบาตร 4. เรียนรูก้ ารทอผ้าไหมยกทองโบราณอย่างเต็มรูปแบบ เริม่ จากการ ปลูกหม่อนเลี้ยงไหม การสาวไหม การย้อมสีธรรมชาติ และที่ส�ำคัญ ทีส่ ดุ การทอผ้ายกทองแบบราชส�ำนัก ทีบ่ า้ นจันทร์โสมา ชมและเลือก ซื้อสินค้า OTOP การเดินทาง ทางรถยนต์ โดยสารรถประจ�ำทาง กรุงเทพฯ – สุรินทร์ ลงที่ บขส. และเดินทางต่อไปที่ตลาดสดเทศบาลเพื่อไปที่คิวรถท่าสว่าง - เมืองลี กิโลเมตรที่ 6 หรือลงที่ บขส.สุรนิ ทร์ นัง่ รถสองแถวรับจ้างไปลงทีห่ มูบ่ า้ น ท่าสว่าง (ราคาประมาณ 250 บาท) ข้อมูลติดต่อ คุณสุพจน์ โสฬส โฮมสเตย์บ้านท่าสว่าง 88 หมู่ 1 ต�ำบลท่าสว่าง อ�ำเภอเมืองสุรินทร์ จังหวัดสุรินทร์ 3200 โทร 080-461-5656

คู่มือการท่องเที่ยวโดยชุมชนในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ | คณะผู้วิจัย มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา

23


ชุมชนท่องเที่ยวบ้านอาลึ ความโดดเด่นที่น่าสนใจของชุมชนท่องเที่ยวบ้านอาลึ : “ ชุมชนท่องเที่ยว กลุ่มชาติพันธุ์และวิถีชาวกูย ” เหมาะส�ำหรับนักท่องเทีย่ ว : ทีส่ นใจศึกษาและเรียนรู้ วิถชี วี ติ วัฒนธรรม ส�ำหรับ นักท่องเที่ยวที่ต้องการสัมผัสวิถีชิวิตชาติพันธุ์ชาวกูยอย่างแท้จริง 1. นักเรียน นักศึกษา ไทยและต่างประเทศ 2. กลุ่มศึกษาดูงาน 3. กลุ่มครอบครัว ระยะเวลาที่แนะน�ำในการเที่ยว : นักท่องเที่ยวสามารถเที่ยวได้ทุกเดือน เพื่อ ศึกษาพูดภาษากูยหรือส่วย วิถีชีวิตและวัฒนธรรมที่เป็นเอกลักษณ์ การทอผ้า ไหมไว้สวมใส่ผ้าไหม เช่น ผ้าไหมย้อมมะเกลือ ซึ่งคงทนและหาวัสดุเองได้เองใน ท้องถิ่น แต่ช่วงหน้าแล้งของบางปีอาจจะงดรับนักท่องเที่ยวเนื่องจากมักจะ ประสบปัญหาภัยแล้ง ขาดแคลนน�้ำดื่มและน�้ำใช้ ชุมชนท่องเที่ยวกลุ่มชาติพันธุ์และวิถีชาวกูย : บ้านอาลึ จังหวัดสุรินทร์ ที่ตั้ง บ้านอาลึโฮมสเตย์ 16 หมู่ 4 ต�ำบลส�ำโรงทาบ อ�ำเภอส�ำโรงทาบ จังหวัด สุรินทร์ ประวัติของชุมชน บ้านอาลี ต�ำบลส�ำโรงทาบ อยูห่ า่ งจากจังหวัดสุรนิ ทร์ ประมาณ 60 กิโลเมตร ห่างจากอ�ำเภอส�ำโรงทาบ 5 กิโลเมตร ก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2459 ตั้งชื่อตามต้นไม้ ชนิดหนึง่ ทีเ่ กิดขึน้ ใกล้หนองน�ำ้ บ้านอาลี ราษฎรอพยพมาจากพืน้ ทีอ่ นื่ เนือ่ งจาก มีโรคระบาด โดยมีนายอึด สุขคุ้ม เป็นผู้ก่อตั้ง ราษฎรส่วนใหญ่ร้อยละ 95 พูด ภาษากูยหรือส่วย มีวิถีชีวิตและวัฒนธรรมที่เป็นเอกลักษณ์ ทอผ้าไหมไว้สวมใส่ ผ้าไหมทีน่ ยิ มคือ ผ้าไหมย้อมมะเกลือ ซึง่ คงทนและหาวัสดุเองได้เองในท้องถิน่ มี ความเชื่อเรื่องภูตผีปีศาจและมีวัฒนธรรมร�ำแกลมอประจ�ำท้องถิ่น

24

คู่มือการท่องเที่ยวโดยชุมชนในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ


ตัวอย่างโปรแกรมการท่องเที่ยว กิจกรรมทางการท่องเที่ยว หมูบ่ า้ นวัฒนธรรมชาวกูย ได้จดั กิจกรรมฐานการเรียนรูไ้ ว้ตอ้ นรับคณะ ส�ำหรับนักท่องเที่ยวที่ต้องการสัมผัสวิถีชิวิตชาติพันธุ์ชาวกูยอย่าง แท้จริง สามารถเข้าพักที่บ้านพักโฮมสเตย์ได้ ที่มาศึกษาดูงานดังนี้ 1. เริ่มจากการต้อนรับนักท่องเที่ยวที่ศูนย์เรียนรู้วัฒนธรรมชาวกูย 1. ชมบ้านและเครื่องมือเครื่องใช้โบราณ ด้วยการแสดงพื้นบ้าน และพิธีบายศรีแบบชาวกูย 2. เรียนการทอผ้าไหมพื้นเมือง 2. รับประทานอาหารเย็นแบบขันโตก 3. ชมวงจรชีวิตไหม การปลูกหม่อนเลี้ยงไหม การสาวไหม และการ 3. ท�ำบุญตักบาตรตอนเช้า และชมพิธกี รรมท้องถิน่ เช่นการเซ่นไหว้ ย้อมผ้าไหมด้วยสีธรรมชาติ (ย้อมมะเกลือ) ปู่ตา(แขนยะจู๊ฮ) 4. การตัดเย็บเสื้อผ้า การแซวผ้า 4. เริ่มศึกษาเรียนรู้ วัฒนธรรมชาวกูยจากชมบ้านและเครื่องมือ 5. ชมพิธีกรรมท้องถิ่น เครื่องใช้โบราณ 6. ชมการจักสานเครื่องมือเครื่องใช้ในชีวิตประจ�ำวัน 5. เรียนรู้การทอผ้าพื้นเมือง ชมวงจรชีวิตไหม การปลูกหม่อนเลี้ยง 7. พิธีเซ่นไหว้ผีปู่ตา (แขนยะจู๊ฮ) ไหม การสาวไหม และการย้อมผ้าไหมด้วยสีธรรมชาติ (ย้อมมะเกลือ) 8. ชมศูนย์เรียนรู้วัฒนธรรมชาวกูย การตัดเย็บเสื้อผ้า การแซวผ้า 9. ชมวิถีชีวิตและวัฒนธรรมพื้นเมือง 6. ชมการจักสานเครือ่ งมือเครือ่ งใช้ในชีวติ ประจ�ำวัน ชมวิถชี วี ติ และ 10. รับประทานอาหารเย็นแบบขันโตก วัฒนธรรมพื้นเมือง ความเป็นอยู่ของชาวกูย การเดินทาง ทางรถยนต์ สายสุรนิ ทร์ – ศรีสะเกษ (ทางหลวงหมายเลข 226) หรือ สายส�ำโรงทาบ – บ้านพอก (อ.ปรางค์กู่) (ทางหลวงหมายเลข2234) ข้อมูลติดต่อ คุณสะพรั่ง วิถุนัด บ้านอาลึโฮมสเตย์ 16 หมู่ 4 ต�ำบลส�ำโรงทาบ อ�ำเภอส�ำโรงทาบ จังหวัด สุรินทร์ โทร 087-651-1542

คู่มือการท่องเที่ยวโดยชุมชนในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ | คณะผู้วิจัย มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา

25


ชุมชนท่องเที่ยวบ้านบุไทร ความโดดเด่นที่น่าสนใจของชุมชนท่องเที่ยวบ้านบุไทร : “ชุมชนท่องเที่ยว วิถีเกษตร และเชิงนิเวศ เพื่อการพักผ่อนสุขภาพ” เหมาะส�ำหรับนักท่องเที่ยว : ที่สนใจศึกษาและเรียนรู้ วิถีชีวิต ต้องการสัมผัส วิถีชีวิตและธรรมชาติ 1. นักเรียน นักศึกษา ไทยและต่างประเทศ 2. กลุ่มศึกษาดูงาน 3. กลุ่มครอบครัว ระยะเวลาทีแ่ นะน�ำในการเทีย่ ว : นักท่องเทีย่ วสามารถเทีย่ วได้ทกุ เดือน แต่เดือน ทีแ่ นะน�ำให้มาเทีย่ วคือ ช่วงเดือนพฤศจิกายน - เดือนกุมภาพันธุ์ หรือช่วงฤดูหนาว เพราะนักท่องเทีย่ วจะได้สมั ผัสกับอากาศทีห่ นาวเย็นของอ�ำเภอวังน�ำ้ เขียวซึง่ เป็น ที่ขึ้นชื่อว่ามีโอโซนอยู่เป็นอันดับ 7 ของโลก ชุมชนท่องเที่ยวเพื่อการเรียนรู้ : บ้านบุไทร ทีต่ งั้ โฮมสเตย์บา้ นบุไทร 166 หมู่ 4 ต�ำบลไทยสามัคคี อ�ำเภอวังน�ำ้ เขียว จังหวัด นครราชสีมา 30370 ประวัติของชุมชน บ้านบุไทรเป็นพื้นที่เป้าหมายในโครงการเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชน และเศรษฐกิจฐานรากของประเทศ ตามนโยบายเร่งด่วนของรัฐบาล ปี 2545 โครงการพัฒนาการท่องเทีย่ วต�ำบลไทยสามัคคีจงึ เกิดขึน้ จากการศึกษาศักยภาพ ด้านการท่องเที่ยวของชุมชนและความต้องการของชุมชนพบว่า การให้บริการ ท่องเทีย่ วยังขาดการบริการทีพ่ กั แบบโฮมสเตย์ซงึ่ เป็นทีน่ ยิ มของนักท่องเทีย่ วและ สามารถสร้างรายได้เสริมให้แก่ชาวบ้านได้ จึงได้จัดท�ำที่พักแบบโฮมสเตย์นี้ขึ้น วัฒนธรรมประเพณี กิจกรรมทางการท่องเที่ยว กิจกรรมการท่องเที่ยวส�ำหรับนักทัศนาจรได้เลือก 1. การล่องแพต้นน�ำมูล 2. นั่งรถอีแต๊ก ชมวิถีชาวบ้าน 3. ชมกลุ่มแปรรูปผลิตภัณฑ์ เช่น กลุ่มเห็ดแปรรูป 4. รับประทานอาหารว่าง และเครื่องเครื่องดื่มสมุนไพร 5. รับประทานอาหารกลางวัน อาหารพื้นบ้าน ผักปลอดสารพิษ

26

คู่มือการท่องเที่ยวโดยชุมชนในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ


ตัวอย่างโปรแกรมการท่องเที่ยว กิจกรรมส�ำหรับนักท่องเที่ยวที่ต้องการสัมผัสวิถีชีวิตและธรรมชาติ พักที่โฮมสเตย 1. ท�ำพิธบี ายศรีสขู่ วัญ รับประทานอาหารเย็นทีท่ ำ� จากผักปลอดสาร พิษ และอาหารพืน้ บ้าน 2. ต่อด้วยการรับเข้าบ้านพักที่แสนอบอุ่น 3. สักการะศาลเจ้าพ่อหลวงราช 4. นัง่ รถอีแต๊ก ไปตามเส้นทางต่างๆ เพือ่ ไปชมแห่ลง่ เรียนรู้ เกีย่ วกับ ของดีสุขสมบูรณ์ ซึ่งได้แก่ พืชผักปลอดสารพิษที่สวนของลุงไกร 5. ฐานการเรียนรู้ การแปรรูปผลิตภัณฑ์ และให้นักท่องเที่ยวได้ ทดลองท�ำ เช่นการท�ำไข่เค็ม การเก็บผักปลอดสาร 6. ผ่ อ นคลายด้ ว ยการชมธรรมชาติ และที่ ข าดไม่ ไ ด้ ก็ คื อ ชม พระอาทิตย์ที่ผาเก็บตะวัน การดื่มน�ำสมุนไพรดับกระหาย ให้รู้สึกสดชื่นตลอดเวลาที่ท�ำกิจกรรม การเดินทาง จากกรุงเทพฯ ใช้เส้นทางองครักษ์ - นครนายก - ปราจีนบุรี ระยะ ทางรวมประมาณ 200 กิโลเมตร ถึงสี่แยกกบินบุรีใหม่ ไปตามทางหลวง เลข 304 (กบินทร์บุรี – วังน�้ำเขียว - นครราชสีมา) อีกประมาณ 55 กิโลเมตร ก็จะถึงตลาดศาลเจ้าพ่อ (ตลาด79) อ�ำเภอวังน�้ำเขียว เลยอีก 4 กิโลเมตร ที่หลักกิโลเมตร 59 ให้แยกขวาเข้าบ้านบุไผ่และไทยสามัคคี ห่างจาก ถนน 304 ประมาณ 3 กิโลเมตร ก็จะมีทางแยกซ้ายเข้า บ้าน บุไทร ก่อนถึง อบต.ไทยสามัคคี ข้อมูลติดต่อ คุณอินทร์ มูลพิมาย โฮมสเตย์บา้ นบุไทร 166 หมู่ 4 ต�ำบลไทยสามัคคี อ�ำเภอวังน�ำ้ เขียว จังหวัด นครราชสีมา 30370 โทร 081 - 068 - 6887 คู่มือการท่องเที่ยวโดยชุมชนในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ | คณะผู้วิจัย มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา

27


ชุมชนท่องเที่ยวบ้านผาบุคา ความโดดเด่นที่น่าสนใจของชุมชนท่องเที่ยวบ้านผาบุคา : “ชุมชนท่องเที่ยว กึ่งผจญภัย และการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ” เหมาะส�ำหรับนักท่องเที่ยว : ที่สนใจศึกษาและเรียนรู้ วิถีชีวิต หรือชอบการท่อง เที่ยวกึ่งผจญภัย และการท่องเที่ยวเพื่อสุขภาพ 1. นักเรียน นักศึกษา ไทยและต่างประเทศ 2. กลุ่มศึกษาดูงาน 3. กลุ่มครอบครัว ระยะเวลาที่แนะน�ำในการเที่ยว : นักท่องเที่ยวสามารถเที่ยวได้ตั้งแต่เดือน พฤษภาคม - เดือนมกราคมของทุกปี ในช่วงหน้าแล้งจะงดรับนักท่องเที่ยว เพื่อ ต้องการรักษาสมดุลทางธรรมชาติ และบางครั้งก็ประสบปัญหาขาดแคลนน�้ำ ชุมชนท่องเที่ยวเพื่อการเรียนรู้ : บ้านผาบุคา ที่ตั้ง 246 หมู่ 3 หมู่บ้านบุคา ต�ำบลดอนเมือง อ�ำเภอสีคิ้ว จังหวัดนครราชสีมา ต�ำบลดอนเมือง อ�ำเภอสีคิ้ว จังหวัดนครราชสีมา ประวัติของชุมชน สืบเนือ่ งจากสมัยสงครามโลกครัง้ ที่ 2 ขบวนการเสรีไทยได้ใช้พนื้ ทีใ่ นการติดต่อ สื่อสาร เป็นแหล่งสะสมและขนถ่ายอาวุธยุทธภัณฑ์และเสบียง เพื่อใช้ในการต่อสู้ กับกองทัพญี่ปุ่น เนื่องจากมีสภาพพื้นที่ทางภูมิศาสตร์เอื้ออ�ำนวย เป็นแนวหน้าผา ทอดยาวมาจากเทือกเขาเพชรบูรณ์จนถึงเขาใหญ่ เช่นเดียวกับถ�้ำเสรีไทยที่อุทยาน แห่งชาติภพู าน จังหวัดสกลนคร จึงใช้รหัสพืน้ ทีต่ รงนีว้ า่ “ดอนเมือง” เพือ่ หลบเลีย่ ง กองทัพญีป่ นุ่ ให้เข้าใจคิดว่าคือ บริเวณเขตสนามบินดอนเมืองปัจจุบนั ทีบ่ ริเวณนีจ้ งึ เป็นเหมือนค่ายก�ำบังทหาร ซึ่งปัจจุบันไม่เหลือร่องรอยเท่าไรนัก วัฒนธรรมประเพณี เอกลักษณ์คือ เพลงโคราช เพลงพื้นบ้าน กิจกรรมทางการท่องเที่ยว ผาบุคาโฮมสเตย์ มีกิจกรรมต้อนรับนักทัศนาจรดังนี้ 1. กิจกรรมเดินป่าศึกษาธรรมชาติ ชมวิวที่หน้าผา 2. กิจกรรมฐานการเรียนรู้เชือก 3. บ้านสาธิตเศรษฐกิจพอเพียง 4. ปีนผา – โรยตัว กิจกรรมเหล่านี้ให้เหล่านักทัศนาจรที่มีเวลาจ�ำกัดได้เลือกท�ำ ตัวอย่างโปรแกรมการท่องเที่ยว นักท่องเทีย่ วทีพ่ กั โฮมสเตย์จะได้รบั การบริการและการต้อนรับต่างๆ พร้อมทัง้ กิจกรรมดังนี้ 1. ต้อนรับดั่งครอบครัว สร้างความคุ้นเคย ด้วยน�้ำสมุนไพร เช่น น�้ำใบเตย น�้ำอบเชย น�้ำใบบัวบก ฯลฯ 2. หากต้องการชมธรรมชาติ หรือวิถชี วี ติ ก็มบี ริการจักรยาน หรือรถเทรนเล่อ พ่วงรถไถน�ำชม

28

คู่มือการท่องเที่ยวโดยชุมชนในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

3. การเข้าพักที่โฮมสเตย์ มีหมอนหินเพื่อสุขภาพให้ ทดลองนอน 4. ตอนเช้าร่วมกิจกรรมออกก�ำลังกาย โยคะหิน 5. ต่อด้วยกิจกรรมการเรียนรูฐ้ านเชือก ฐานหมอนหิน เพื่อสุขภาพให้นักท่องเที่ยวได้ชม และได้ทดลองท�ำ 6. กิ จ กรรมผ่ อ นคลายชมธรรมชาติ ต ามไหล่ ผ า ชมพระอาทิตย์ตกดิน สุดท้ายด้วยการแสดงพืน้ บ้านเพลงโคราช หรือร�ำวงย้อนยุค ให้ได้ร่วมสนุกด้วยกัน


การเดินทาง ระยะทางจากอนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ – จังหวัดสระบุรี ประมาณ 95 กิโลเมตร ระยะทางจากจังหวัดสระบุรี – ปากทางคลองไผ่ (เขื่อนล�ำตะคอง) ประมาณ 85 กิโลเมตร ระยะทางลาดยางจากปากทองคลองไผ่ – หมูบ่ า้ นหนองไทร ประมาณ 15 กิโลเมตร ระยะทางรุกรังจากหมู่บ้านหนองไทร – หมู่บ้านบุคา ประมาณ 12 กิโลเมตร ระยะทางจากกรุงเทพฯ – ผาบุคา เป็น 207 กม. ระยะทางจากปากทางคลองไผ่ (เขื่อนล�ำตะคอง) – จังหวัดนครราชสีมา ประมาณ 60 กิโลเมตร ข้อมูลติดต่อ คุณสงบ ตังตา โทรศัพท์ : โทรศัพท์มือถือ : 089 - 2823213

คู่มือการท่องเที่ยวโดยชุมชนในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ | คณะผู้วิจัย มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา

29


ชุมชนท่องเที่ยวบ้านสุขสมบูรณ์ ความโดดเด่นทีน่ า่ สนใจของชุมชนท่องเทีย่ วบ้านสุขสมบูรณ์ : “ชุมชนท่องเทีย่ ว เพื่อการเรียนรู้ วิถีธรรมชาติและเกษตรท้องถิ่น” เหมาะส�ำหรับนักท่องเที่ยว : ที่สนใจศึกษาและเรียนรู้ วิถีชีวิต ธรรมชาติ การปลูก ผักปลอดสารพิษและเศรษฐกิจพอเพียง 1. นักเรียน นักศึกษา ไทยและต่างประเทศ 2. กลุ่มศึกษาดูงาน 3. กลุ่มครอบครัว ระยะเวลาที่แนะน�ำในการเที่ยว : นักท่องเที่ยวสามารถเที่ยวได้ทุกเดือน แต่เดือนที่ แนะน�ำให้มาเทีย่ วคือ ช่วงเดือนพฤศจิกายน - เดือนกุมภาพันธุ์ หรือช่วงฤดูหนาวเพราะ นักท่องเที่ยวจะได้สัมผัสกับอากาศที่หนาวเย็นของอ�ำเภอวังน�้ำเขียวซึ่งเป็นที่ขึ้นชื่อว่า มีโอโซนอยู่เป็นอันดับ 7 ของโลก กลุ่มอนุรักษ์ต้นน�้ำมูลโฮมสเตย์ : บ้านสุขสมบูรณ์ ที่ตั้ง บ้านสุขสมบูรณ์ 91 หมู่ 2 ต�ำบลไทยสามัคคี อ�ำเภอวังน�้ำเขียว จังหวัด นครราชสีมา ประวัติของชุมชน กลุ่มอนุรักษ์โฮมสเตย์บ้านสุขสมบูรณ์ ก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ.2549 โดยจัดบ้านสมาชิก เป็นแบบพักรวม เพื่อให้นักท่องเที่ยวสัมผัสกับวิถีชีวิตความเป็นอยู่ของชาวบ้านแบบ ดั้งเดิม

30

คู่มือการท่องเที่ยวโดยชุมชนในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ


กิจกรรมทางการท่องเที่ยว กิจกรรมที่มีไว้เพื่อให้นักทัศนาจรได้เลือกท�ำ 1. ชมสวนผักปลอดสารพิษตามแนวพระราชด�ำริเศรษฐกิจพอเพียง 2. ชมสวนผักปลอดสารพิษลุงไกร 3. ชม และเลือกซื้อสินค้า OTOP จากกลุ่มเห็นแปรรูป 4. นั่งรถอีแต๊ก ชมธรรมชาติและผาเก็บตะวัน 5. รับประทานอาหารกลางวัน หรืออาหารว่าง 6. เดินป่าศึกษาธรรมชาติ 7. ส�ำหรับเทศกาล ก็ได้แก่ งานเบญจมาศบาน 14 กุมพาพันธ์ ตัวอย่างโปรแกรมการท่องเที่ยว กิจกรรมส�ำหรับนักท่องเที่ยวที่ต้องการสัมผัสวิถีชีวิตและธรรมชาติ พักที่โฮม สเตย์ 1. ท�ำพิธีบายศรีสู่ขวัญ รับประทานอาหารเย็นที่ท�ำจากผักปลอดสารพิษ และอาหารพื้นบ้าน 2. ต่อด้วยการรับเข้าบ้านพักที่แสนอบอุ่น 3. สักการะศาลเจ้าพ่อหลวงราช 4. นั่งรถอีแต๊ก ไปตามเส้นทางต่างๆ เพื่อไปชมแห่ล่งเรียนรู้ เกี่ยวกับของดี สุขสมบูรณ์ ซึ่งได้แก่ พืชผักปลอดสารพิษที่สวนของลุงไกร 5. ฐานการเรียนรู้ การแปรรูปผลิตภัณฑ์ และให้นักท่องเที่ยวได้ทดลองท�ำ เช่นการท�ำไข่เค็ม การเก็บผักปลอดสาร 6. ผ่อนคลายด้วยการชมธรรมชาติ และที่ขาดไม่ได้ก็คือ ชมพระอาทิตย์ที่ ผาเก็บตะวัน การดื่มน�ำสมุนไพรดับกระหาย ให้รู้สึกสดชื่นตลอดเวลาที่ท�ำกิจกรรม

การเดินทาง ทางรถยนต์ โดยสารรถประจ� ำ ทางปรั บ อากาศสาย นครราชสีมา – ชลบุรี , นครราชสีมา – จันทบุรี และ รถตู้ อ�ำเภอปักธงชัย – กบินทร์ ปราจีนบุรี – นครนายก –อนุสาว์รยี ์ ลงที่อ�ำเภอวังน�้ำเขียวและจ้างรถมอเตอร์ไซต์รับจ้าง (ราคา 80 บาท) ไปทีบ่ า้ นสุขสมบูรณ์ ระยะทางจากอ�ำเภอวังน�ำ้ เขียว ถึงบ้านสุขสมบูรณ์ 14 กิโลเมตร ข้อมูลติดต่อ คุณบังอร พรอันแสง บ้านสุขสมบูรณ์ 91 หมู่ 2 ต�ำบลไทยสามัคคี อ�ำเภอวังน�้ำ เขียว จังหวัดนครราชสีมา โทร 086-879-6237

คู่มือการท่องเที่ยวโดยชุมชนในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ | คณะผู้วิจัย มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา

31


ชุมชนท่องเที่ยวบ้านหนองไข่เหี้ย ความโดดเด่นทีน่ า่ สนใจของชุมชนท่องเทีย่ วบ้านหนองไข่เหีย้ : “ชุมชนท่องเทีย่ ว เพื่อการเรียนรู้วิถีชีวิตและเกษตรในพื้นที่ราบสูงโคราช” เหมาะส�ำหรับนักท่องเที่ยว : ที่สนใจศึกษาและเรียนรู้ วิถีชีวิต วัฒนธรรม และกลุ่ม ชุมชนโบราณขนาดใหญ่ แหล่งอารยธรรมขอมโบราณ และวิถีเกษตรตามแบบฉบับ ชาวบ้าน 1. นักเรียน นักศึกษา ไทยและต่างประเทศ 2. กลุ่มศึกษาดูงาน 3. กลุ่มครอบครัว ระยะเวลาที่แนะน�ำในการเที่ยว : นักท่องเที่ยวสามารถเที่ยวได้ทุกเดือนเพราะเป็น ชุมชนท่องเทีย่ วทีอ่ ยูต่ ดิ ถนนมิตรภาพ สะดวกแก่ผทู้ เี่ ดินทางผ่านไปมา แวะซือ้ ของฝาก ขนมไทยโบราณ หรือแวะชมแหล่งโบราณคดีปรางค์สดี า แต่เดือนทีแ่ นะน�ำให้มาเทีย่ ว คือ ช่วงเดือนเดือนเมษายน ช่วงสงกรานต์จะมีประเพณีแห่ช้างบ่ไก่แล้ว เป็นงานใหญ่ ประจ�ำอ�ำเภอ ชุมชนท่องเที่ยวเพื่อการเรียนรู้ : บ้านหนองไข่เหี้ย จังหวัดนครราชสีมา ที่ตั้ง 21 หมู่ 11 ต�ำบลสีดา อ�ำเภอสีดา จังหวัดนครราชสีมา ประวัติของชุมชน ก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2548 โดยชาวบ้านหนองไข่เหี้ย ร่วมกับ สภาวัฒนธรรมและที่ว่า กาอ�ำเภอสีดา เนื่องจากบริเวณบ้านสีดาเป็นชุมชนโบราณขนาดใหญ่ มีวิถีชีวิตความ เป็นอยู่ที่เรียบง่าย มีประเพณีประจ�ำถิ่นที่ส�ำคัญ เป็นหมู่บ้านโฮมสเตย์แบบวิถีชีวิตให้ นักท่องเที่ยวได้เข้ามาสัมผัสวิถีชีวิตชนบทได้อย่างแท้จริง วัฒนธรรมประเพณี

32

คู่มือการท่องเที่ยวโดยชุมชนในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ


กิจกรรมทางการท่องเที่ยว หมูบ่ า้ นการท่องเทีย่ วโดยชุมชน ทีก่ ารเดินทางสะดวก ง่ายต่อการเข้า ถึง เพราะอยูต่ ดิ ถนนมิตรภาพ ใช้กจิ กรรมต่างๆเหล่านีส้ ร้างความประทับ ใจให้กับนักท่องเที่ยว 1. ศึกษาธรรมชาติชุมชน โดยรถอิแต๊ก สร้างเส้นทางการท่องเที่ยว ที่เชื่อมโยงหลายหมู่บ้านภายในต�ำบล 2. กิจกรรมเสริมตามฤดูกาล เช่น สัมผัสการด�ำนา หลกกล้า และ เกี่ยวข้าวตามฤดูกาล 3. การทอผ้าไหม ผ้าฝ้าย ครบวงจร 4. ชม ชิม ช็อป สินค้า OTOP นอกจากนั้นยังมีสถานที่ท่องเที่ยวที่น่าสนใจ 1. ปรางค์สีดา 2. ใบเสมาหินทรายขนาดใหญ่ในวัดพระปรางค์สีดา 3. บ่อไก่แก้ว (สระน�้ำ โบราณสมัยขอม) 4. หลักศิลาโบราณสมัยขอม สร้างเป็นเส้นทางการท่องเที่ยวที่น่าสนใจ ทั้งภูมิปัญญาวัฒนธรรม ประเพณีที่ดีงาม

ตัวอย่างโปรแกรมการท่องเที่ยว •• ศึกษาธรรมชาติชุมชน โดยรถอิแต๊ก •• สัมผัสการด�ำนา หลกกล้า และเกี่ยวข้าวตามฤดูกาล •• สัมผัสการทอผ้าไหม ผ้าฝ้าย และเลี้ยงวัว •• ปรางค์สีดา •• ใบเสมาหินทรายขนาดใหญ่ในวัดพระปรางค์สีดา •• บ่อไก่แก้ว (สระน�้ำ โบราณสมัยขอม) •• หลักศิลาโบราณสมัยขอม การเดินทาง ทางรถยนต์ เส้นทางถนนมิตรภาพทางหลวงหมายเลย 202 ทางรถไฟ จากโคราช – ชุมทางสถานีรถไฟบัวใหญ่เดินทางต่อด้วยรถยนต์จาก บัวใหญ่ถึงบ้านหนองไข่เหี้ยโฮมสเตย์ 20 กิโลเมตร ข้อมูลติดต่อ คุณจารุประภา ปุราชะโก, คุณชะดา จอมพลเรือง โทรศัพท์ : (+66) 878761329 โทรศัพท์มือถือ : (+66) 875940668

คู่มือการท่องเที่ยวโดยชุมชนในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ | คณะผู้วิจัย มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา

33


ชุมชนท่องเที่ยวบ้านธารปราสาท ความโดดเด่นทีน่ า่ สนใจของชุมชนท่องเทีย่ วบ้านธารปราสาท : “ชุมชนท่องเทีย่ วเพือ่ การเรียนรู้แหล่งโบราณคดีสมัยประวัติศาสตร์ และวิถีชาวนา” เหมาะส�ำหรับนักท่องเที่ยว : ที่สนใจศึกษาและเรียนรู้ ประวัติศาสตร์ของกลุ่มอารยธรรม อีสานใต้ เป็นแหล่งเรียนรู้อารยธรรมเพื่อศึกษาวิถีชีวิตและความเป็นอยู่ 3000 ปี และยัง เป็นโฮมสเตย์แห่งแรกของประเทศไทยอีกด้วย 1. นักเรียน นักศึกษา ไทยและต่างประเทศ 2. กลุ่มศึกษาดูงาน 3. กลุ่มครอบครัว ระยะเวลาที่แนะน�ำในการเที่ยว : นักท่องเที่ยวสามารถเที่ยวได้ทุกเดือน ทุกวันแต่หากมา เที่ยววันเสาร์ อาทิตย์ก็จะมีอาสาสมัครมัคคุเทศก์คอยน�ำเที่ยว หรือหากต้องการสัมผัสวิถี ชีวิตชุมชนก็สามารถติดต่อเข้าพักที่กลุ่มโฮมสเตย์ได้ ชุมชนท่องเที่ยวเพื่อการเรียนรู้ : บ้านธารปราสาท ที่ตั้ง โฮมสเตย์บ้านธารปราสาท 282 หมู่ 7 ต�ำบลธารปราสาท อ�ำเภอโนนสูง จังหวัด นครราชสีมา 30420 ประวัติของชุมชน จากการที่ได้มีการค้นพบแหล่งโบราณคดีบ้านปราสาทขึ้นในปี พ.ศ. 2534 ทางราชการ จึงได้เข้าพัฒนาพืน้ ทีบ่ า้ นปราสาท โดยจัดโครงการส่งเสริมด้านต่างๆ ท�ำให้เกิดผลดีตอ่ ชุมชน บ้านปราสาทอย่างต่อเนื่อง ททท.จึงได้จัดให้มีกิจกรรมชุมชนเพิ่มเติมในลักษณะโฮมสเตย์ ขึ้นตั้งแต่ปี พ.ศ. 2536 วัฒนธรรมประเพณี

34

คู่มือการท่องเที่ยวโดยชุมชนในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ


กิจกรรมทางการท่องเที่ยว ส�ำหรับนักท่องเที่ยวที่ไม่ได้พักค้างคืน 1. เริม่ จากการน�ำชมหลุมขุดค้นทางประวัตศิ าสตร์ หากมาในวันหยุดเสาร์-อาทิตย์ ก็จะมีมัคคุเทศก์น้อยคอยน�ำชมและให้ข้อมูล ตามเส้นทางครบทั้ง 3 หลุม 2. ติดต่อประสานงานมา ให้มกี ารเตรียมอาหารว่างทีเ่ ป็นขนมไทยพืน้ บ้าน เครือ่ ง ดื่ม หรืออาหารกลางวัน ก่อนการน�ำชมหลุมขุดค้น 3. นอกจากนั้น หากต้องการชม หรือทดทองท�ำงานหัตกรรมพื้นบ้าน เช่น สาน พัด สานตะกร้า ตามฐานการเรียนรู้ต่างๆ ก็สามารถประสานมาได้ ตัวอย่างโปรแกรมการท่องเที่ยว ส�ำหรับนักท่องเที่ยวที่เข้าพักที่บ้านพักโฮมสเตย์ 1. ต้อนรับนักท่องเที่ยวด้วยกิจกรรมบายศรีสู่ขวัญ 2. จากนัน้ จะมีการร่วมกิจกรรมการประกอบอาหารและขนมไทยพืน้ บ้านเพือ่ รับ ประทาน 3. ในตอนเช้าก็จะร่วมท�ำบุญตักบาตรที่หน้าบ้านพักโฮมสเตย์ 4. ตามด้วยกิจกรรมชมพิพิธภัณฑ์ และหลุมขุดค้นทางประวัติศาสตร์ ทั้ง 3 หลุม 5. พร้อมกับการชมฐานการเรียนรู้ หัตถกรรมพื้นบ้านและทดลองท�ำ 6. เสริมด้วยกิจกรรมให้นักท่องเที่ยวตามฤดูกาล เช่น ท�ำนา เกี่ยวข้าว ฯลฯ หมายเหตุ กิจกรรมต่างๆ จะถูกเปลี่ยนแปลงและจัดให้เหมาะสมกับเวลา

การเดินทาง ทางรถยนต์และรถโดยสารรถประจ�ำทางปรับอากาศ กรุงเทพฯ หนองคาย, อุบลราชธานี ร้อยเอ็ด นครพนม มุกดาหาร ใช้ถนนมิตรภาพ ถนนหมายเลข 2 ข้อมูลติดต่อ โฮมสเตย์บ้านธารปราสาท 282 หมู่ 7 ต�ำบลธารปราสาท อ�ำเภอโนนสูง จังหวัดนครราชสีมา 30420 โทร 089-581-7870

คู่มือการท่องเที่ยวโดยชุมชนในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ | คณะผู้วิจัย มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา

35



ชุมชนท่องเที่ยวบ้านเชียง ความโดดเด่นทีน่ า่ สนใจของชุมชนท่องเทีย่ วบ้านเชียง : “ชุมชนท่องเทีย่ วแหล่ง มรดกโลกทางโบราณคดีและวิถีชีวิตท้องถิ่น” เหมาะส�ำหรับนักท่องเที่ยว : ที่สนใจศึกษาและเรียนรู้ วิถีชีวิต วัฒนธรรม ชาวภู ไท และเรียนรู้เกี่ยวกับเศรษฐกิจพอเพียง 1. นักเรียน นักศึกษา ไทยและต่างประเทศ 2. กลุ่มศึกษาดูงาน 3. กลุ่มครอบครัว ระยะเวลาที่แนะน�ำในการเที่ยว : นักท่องเที่ยวสามารถเที่ยวได้ทุกเดือน แต่เดือน ทีแ่ นะน�ำให้มาเทีย่ วคือ ช่วงฤดูการท่องเทีย่ วของมรดกโลกทีเ่ ป็นไฮไลท์จะอยูใ่ นช่วง สัปดาห์ที่ 2 ของเดือนกุมภาพันธ์ ของทุกปี ชุมชนท่องเที่ยวเพื่อการเรียนรู้ : บ้านเชียง จังหวัดอุดรธานี ทีต่ งั้ โฮมสเตย์บา้ นเชียง 33 หมู่ 13 บ้านเชียง ต�ำบลบ้านเชียง อ�ำเภอหนองหาน จังหวัดอุดรธานี 41320 ประวัติของชุมชน ชมรมโฮมสเตย์เชิงอนุรกั ษ์วฒ ั นธรรมบ้านเชียง มีจดุ เริม่ ต้นจากคุณผ่องศรี สมบัติ ก�ำไร เป็นประธานชมรม เคยท�ำงานเป็นพนักงานในบริษัทน�ำเที่ยวต่างประเทศมา นานกว่า 20 ปี ต่อมาได้รับการชักชวนจากนายกเทศบาลบ้านเชียง จึงได้ร่วมกัน ท�ำการก่อตั้งชมรมโฮมสเตย์ร่วมกับชาวบ้านขึ้น เมื่อวันที่ 1 เมษายน 2547 วัฒนธรรมประเพณี

กิจกรรมทางการท่องเที่ยว นักท่องเทีย่ วรูจ้ กั บ้านเชียงในฐานะมรดกโลก สิง่ ทีท่ กุ คน ไป ก็เพื่อไปชมและเป็นแหล่งเรียนรู้ที่ส�ำคัญ กิจกรรมที่มีไว้ บริการนักท่องเที่ยว ดังนี้ 1. ย้อนรอยอารยธรรมชมแหล่งท่องเทีย่ วรอบบ้านเชียง เช่น พิพธิ ภัณฑสถานแห่งชาติบา้ นเชียง หลุมขุดค้นวัดโพธิ์ ศรีใน, บ้านไทพวนรับเสด็จฯ 2. ชมการสาธิตภูมิปัญญาชาวบ้านเชียง สาธิตการท�ำ ภาชนะดินเผาเขียนลายสี, เครื่องจักสาน, ผ้าทอมือ

คู่มือการท่องเที่ยวโดยชุมชนในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ | คณะผู้วิจัย มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา

37


ตัวอย่างโปรแกรมการท่องเที่ยว ส�ำหรับนักท่องเที่ยว ที่ต้องการศึกษาเรียนรู้อารยธรรมโบราณด้วย การอยู่กับชุมชนก็สามารถเข้าพักที่กลุ่มบ้านพักโฮมสเตย์ จะมีขึ้นตอน บริการนักท่องเที่ยวดังนี้ 1. ต้อนรับนักท่องเที่ยวด้วยการแต่งกายชุดผ้าฝ้ายลายพื้นบ้าน พร้อมกับการรับประทานอาหารพืน้ เมือง เช่น ต้นไก่บา้ นใส่ใบมะขาม แจ่วมะเขือเทศ น�้ำปลาฝักลวก ตามด้วยขนมไทยโบราณ 2. พิธีบายศรีสู่ขวัญแบบโบราณ โดยใช้บายศรีผูกข้อมือ เรียกขวัญ อ�ำนวยโชค 3. นักท่องเที่ยวจะได้เรียนรู้เรื่องการปั้นหม้อ เขียนลายโบราณ 5,000 ปี 4. จากนั้นก็จะเป็นการปั่นจักรยาน ไปชมหลุมขุดค้นทางโบราณคดี 5. ชมหัตถกรรมจักสาน หรือผ้าทอมือ การสาธิตภูมิปัญญาบ้านเชียง และชมพิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติบ้านเชียง

38

คู่มือการท่องเที่ยวโดยชุมชนในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

การเดินทาง •• ทางรถยนต์ จากกรุงเทพฯ ไปตามถนนพหลโยธินจนถึงกม.ที่ 107 สระบุรี เลี้ยวขวาเข้าถนนมิตรภาพ ผ่านโคราช •• ขอนแก่น อุดรธานี แล้วใช้เส้นทาง อุดรธานี-สกลนคร ประมาณ 50 กิโลเมตรเข้ามายังบ้านเชียง •• รถโดยสารประจ� ำ ทาง จากสถานี ข นส่ ง กรุ ง เทพฯ ระหว่ า ง กรุงเทพฯ-อุดรธานี ทุกวัน •• รถไฟ รถไฟสายกรุงเทพฯ-อุดรธานี มีบริการทุกวัน ออกจากสถานี รถไฟกรุงเทพฯ (หัวล�ำโพง) •• เครื่องบิน มีสายการบินหลายบริษัทให้บริการระหว่างกรุงเทพฯอุดรธานี ข้อมูลติดต่อ คุณชุมพร สุทธิบุญ โฮมสเตย์บ้านเชียง 33 หมู่ 13 บ้านเชียง ต�ำบลบ้านเชียง อ�ำเภอ หนองหาน จังหวัดอุดรธานี 41320 โทร 087-485-7864


ชุมชนท่องเที่ยวบ้านปลาบ่า ความโดดเด่นที่น่าสนใจของชุมชนท่องเที่ยวบ้านปลาบ่า : “ชุมชนท่องเที่ยว เพื่อการเรียนรู้เกษตรที่สูงและวิถีธรรมชาติ” เหมาะส�ำหรับนักท่องเที่ยว : ที่สนใจศึกษาและเรียนรู้ เศรษฐกิจพอเพียง เกษตร ที่สูง หรือแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติ ภูเขา ป่าไม้ พืชพันธุ์ต่างๆที่แปลกตา 1. นักเรียน นักศึกษา ไทยและต่างประเทศ 2. กลุ่มศึกษาดูงาน 3. กลุ่มครอบครัว ระยะเวลาที่แนะน�ำในการเที่ยว : นักท่องเที่ยวสามารถเที่ยวได้ในทุกช่วงเดือน พฤศจิกายน-เดือนกุมพาพันธุ์ของทุกปี (ฤดูหนาว) เนื่องจากอยู่บนภูเขาสูงในบางปี ที่มีอากาศหนาวจัดจะสามารถพบเห็นปรากฏการน�้ำค้างแข็งได้ ชุมชนท่องเที่ยวเพื่อการเรียนรู้ : บ้านปลาบ่า ที่ตั้ง การท่องเที่ยวโดยชุมชนต�ำบลปลาบ่า 95 หมู่ 3 ต�ำบลปลาบ่า อ�ำเภอภูเรือ จังหวัดเลย 42160 ประวัติของชุมชน ลักษณะภูมิประเทศ วัฒนธรรมประเพณี กิจกรรมทางการท่องเที่ยว •• ปลาบ่า อ้อมกอดของธรรมชาติ •• อากาศที่หนาวที่สุดในสยาม (มีแม่คะนิ้ง น�้ำค้างแข็ง) •• มีธรรมชาติที่สวยงาม ป่าไม้ น�้ำตก สวนรุกขชาติภูแปก •• มีชุมชนเข้มแข็ง มีพื้นที่ที่เป็นภูเขาสลับซับซ้อน ท�ำการเกษตรที่แปลก

•• มีวัฒนธรรมประเพณีที่แปลก และหลากหลาย •• กลุ่มอาชีพมีผลิตภัณฑ์ ชุมชนที่แปลกและหลาก หลาย •• มีดอกไม้นานาพันธุท์ สี่ วยงาม เส้นทางท่องเทีย่ วเชิญ อนุรักษ์และผจญภัย •• ดอกกุหลาบพันปี สีขาว แดง ชมพู

คู่มือการท่องเที่ยวโดยชุมชนในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ | คณะผู้วิจัย มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา

39


ตัวอย่างโปรแกรมการท่องเที่ยว เขตการท่องเที่ยวพิเศษชุมชนท่องเที่ยวปลาบ่า ด้วยสภาพพื้นที่เอื้อ อ�ำนวย กับการเทีย่ วชมธรรมชาติโดยเฉพาะอย่างยิง่ ในฤดูหนาว ทีน่ กั ท่อง เที่ยวต่างหลั่งไหลเข้าไปชมความสวยงาม และสัมผัสอากาศหนาวเย็น 1. ต้อนรับนักท่องเที่ยวที่สถานีทดลองพืชเมืองหนาว ด้วยอาหาร ว่าง หรืออาหารพื้นเมืองอย่าง เช่น เมี่ยงสมุนไพร หากไปในฤดูหนาว ก็จะเป็นเครื่องดื่มร้อน เพื่อให้เข้ากับบรรยากาศที่หนาวเย็นบนที่สูง 2. ให้ความรู้นักท่องเที่ยวเกี่ยวกับเกษตรที่สูง สถานีวิจัยพืชเมือง หนาว และน�ำเทีย่ วชมสถานทีด่ ว้ ยผูน้ ำ� ชมทีเ่ รียกกันว่า “นักสือ่ ความ หมาย” 3. หากสภาพอากาศหนาวเย็นมาก นักท่องเที่ยวก็อาจจะได้เห็นแม่ คะนิ้ง หรือ น�้ำค้างแข็งที่บริเวณยอดภูบักได๋ 4. จากนั้นก็จะเป็นการท่องเที่ยวตามธรรมชาติภูหลวง 5. สร้างความประทับใจด้วยกิจกรรมดีๆ คือการปลูกป่า รักษา ธรรมชาติ และการท�ำของที่ระลึกด้วยตนเอง 6. คณะที่มาศึกษาดูงาน ชมสถานที่ สามารถติดต่อ ขอรับบริการ อาหารว่าง หรืออาหารกลางวันได้ 7. หากนักท่องเที่ยวสนใจกางเต้นนอน ก็มีการบริการลานกางเต้น ที่บริเวณสวนรุกชาติ 8. นอกจากนีก้ ย็ งั มีฐานการเรียนรู้ การสาธิตและให้นกั ท่องเทีย่ วทด ลองท�ำแมคคาเดเมีย พืชที่สร้างรายได้มหาศาล การท่องเที่ยวที่ใช้สภาพพื้นที่ ที่อาศัยอยู่บนที่สูงให้เกิดประโยชน์ สร้าง อาชีพ สร้างรายได้ให้คนในท้องถิ่น ไปพร้อมกับการอนุรักษ์ธรรมชาติ

40

คู่มือการท่องเที่ยวโดยชุมชนในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

การเดินทาง รถยนต์ส่วนตัว นักท่องเที่ยวสามารถเลือกใช้เส้นทางได้ 2 เส้นทาง เส้นทางแรก จากกรุงเทพฯ ใช้ทางหลวงหมายเลข 1 ผ่านตัวเมือง สระบุรี ตรงเข้าทางหลวงหมายเลข 21 ผ่านจังหวัดเพชรบูรณ์ ตรงเข้า ทางหลวงหมายเลข 203 ผ่านอ�ำเภอหล่มสัก หล่มเก่า เข้าเขตจังหวัดเลย ที่อ�ำเภอด่านซ้าย ผ่านอ�ำเภอด่านซ้ายเข้าเขตอ�ำเภอภูเรือก่อนถึงอ�ำเภอ ภูเรือ ประมาณ 7 กิโลเมตร (บริเวณหลักกิโลเมตรที่ 57 - 58 ) เป็น มี แยกสามแยกกกโพธิ์ ให้เลี้ยวขวา จะเห็นป้ายขวามือ บอกทางเข้าสถานี ทดลองเกษตรที่สูงภูเรือ ตรงเข้าไปประมาณ 7 กิโลเมตร จะถึงแยก “บ.ปลาบ่า - หินสอ” ให้เลี้ยวขวาไปอีกประมาณ 16 กิโลเมตร สถานี ทดลองเกษตรที่สูงภูเรือ ตั้งอยู่ด้านขวามือ รวมระยะทางทั้งสิ้น 487 กิโลเมตร ใช้เวลาเดินทางประมาณ 7 - 8 ชั่วโมง อีกเส้นทางหนึง่ ไปตามทางหลวงหมายเลข 2 ผ่านจังหวัดนครราชสีมา ถึงจังหวัดขอนแก่น แล้วเลีย้ วซ้ายเข้าทางหลวงหมายเลข 12 ผ่านอ�ำเภอ ชุมแพ แล้วใช้เส้นทางหมายเลข 201 เข้าเขตจังหวัดเลยทีอ่ ำ� เภอภูกระดึง ผ่านอ�ำเภอวังสะพุง แล้วตัดเข้าอ�ำเภอภูเรือได้เช่นกัน เส้นทางนี้จะอ้อม มากกว่าการเดินทางไปสถานีเกษตรทีส่ งู ภูเรือ โดยรถประจ�ำทางไม่สะดวก นัก นักท่องเที่ยวต้องนั่งรถไปถึงอ�ำเภอภูเรือ แล้วจึงหารถรับจ้างไปที่ สถานีฯ ข้อมูลติดต่อ คุณก�ำนันเชิด สิงห์ค�ำป้อง การท่องเที่ยวโดยชุมชนต�ำบลปลาบ่า 95 หมู่ 3 ต�ำบลปลาบ่า อ�ำเภอ ภูเรือ จังหวัดเลย 42160 โทร 095-701-3139


ชุมชนท่องเที่ยวบ้านนาป่าหนาด ความโดดเด่นที่น่าสนใจของชุมชนท่องเที่ยวบ้านนาป่าหนาด : “ชุมชนท่องเที่ยว ชาติพันธุ์ไทยด�ำ ” เหมาะส�ำหรับนักท่องเทีย่ ว : ทีส่ นใจศึกษาและเรียนรู้ วิถชี วี ติ วัฒนธรรมขนบธรรมเนียม ประเพณีของชาวไทด�ำที่สืบทอดมาจนถึงปัจจุบัน มีภาษาเป็นเอกลักษณ์ประจ�ำถิ่น คือ ภาษาไทด�ำ และภาษาเลย มีตัวอักษรไทด�ำที่ยังอนุรักษ์ เก็บบันทึกเป็นหลักฐานไว้ มี ประเพณีท้องถิ่นที่ปฏิบัติสืบทอดกันมายาวนาน 1. นักเรียน นักศึกษา ไทยและต่างประเทศ 2. กลุ่มศึกษาดูงาน 3. กลุ่มครอบครัว ระยะเวลาทีแ่ นะน�ำในการเทีย่ ว : นักท่องเทีย่ วสามารถเทีย่ วได้ทกุ เดือน แต่เดือนทีแ่ นะน�ำ ให้มาเที่ยวคือ ช่วงเดือนพฤศจิกายน - เดือนกุมพาพันธุ์ (ฤดูหนาว) ที่นักท่องเที่ยวหลั่ง ไหลเข้าสู่จังหวัดเลย และน่าป่าหนาดอยู่ในเขตอ�ำเภอเชียงคานซึ่งมีบรรยากาศที่ชวนให้ นักท่องเที่ยวต้องเข้าไปสัมผัส ชุมชนท่องเที่ยวเพื่อการเรียนรู้ : บ้านนาป่าหนาด จังหวัดเลย ที่ตั้ง 60 หมู่ 4 หมู่บ้านบ้านนาป่าหนาด ต�ำบลเขาแก้ว อ�ำเภอเขาแก้ว จังหวัดเลย 42110 ต�ำบลเขาแก้ว อ�ำเภอเชียงคาน จังหวัดเลย ประวัติของชุมชน “ไทด�ำ” เป็นชนชาติไทย ที่เรียกตนเองว่า ไตย (ไท) หรือ TAI และมีการเรียกในชื่อ ต่างๆ อีกหลายชื่อ เช่น ลาวโซ่ง ไทยโซ่ง ลาวซงด�ำ ผู้ไทยด�ำ ผู้ไตซงด�ำ ไทยทรงด�ำ ไทย โซ่งด�ำ แต่ค�ำว่า“ ไทยด�ำ” จะเป็นที่รู้จักอย่างแพร่หลาย ถิ่นเดิมของชาวไทด�ำอยู่ที่แคว้น สิบสองจุไทบริเวณแม่น�้ำด�ำ แม่น�้ำแดง (น�้ำแตหรือน�้ำแท้หรือน�้ำต๋าว) และบริเวณแม่น�้ำ อู (แม่น�้ำที่ไหลบรรจบกับแม่น�้ำโขงที่หลวงพระบาง) ในแคว้นสิบสองจุไทยนี้ มีเมืองแถง (ปัจจุบันคือ เมืองเดียนเบียนฟู) เป็นเมืองหลวงเมื่อ พ.ศ.1463 พระเจ้าล้านเจื้องเป็นผู้ สร้าง เมืองแถงนี้อยู่ในแคว้นสิบสองจุไทย อยู่ตอนเหนือของลาวและอยู่ทางทิศตะวันตก เฉียงเหนือของประเทศเวียดนาม คู่มือการท่องเที่ยวโดยชุมชนในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ | คณะผู้วิจัย มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา

41


ชาวไทยด�ำมีประวัติศาสตร์อันยาวนานน่าศึกษาค้นคว้าเป็นอย่างยิ่ง มีขนบธรรมเนียม ประเพณี วัฒนธรรม ภาษาพูด ภาษาเขียนเป็น เอกลักษณ์เฉพาะตัว มีความเป็นอยู่แบบเรียบง่ายมีจิตใจ เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ รักความสงบ มีกษัตริยป์ กครองถึง 45 พระองค์ ไทด�ำอาศัยอยูท่ วั่ ไปตัง้ แต่ มณฑลกวางสี ยูนาน ตังเกี๋ย มีมากในแคว้นสิบสองจุไทย โดยเฉพาะแถบ เมืองแถงจะมีไทยด�ำอยู่หนาแน่น ส่วนเมืองลาวก็มีไทด�ำอยู่ เช่นกัน ไทด�ำบ้านนาป่าหนาดอพยพมาจากแคว้นสิบสองจุไท ซึง่ เป็นครัง้ ที่ 5 ในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 ได้โปรด เกล้าให้ พระยาภูธราภัยหรือพระยาชมภู เป็นแม่ทัพคุมกองทัพไปปราบ ฮ่อ และได้อพยพชาวไทด�ำจากเมืองแถงและเมืองพวนในแคว้นสิบสองจุ ไท ซึ่งได้เดินทางข้ามแม่น�้ำโขงมายังฝั่งไทย มาถึงปากแม่น�้ำลาย ท�ำแพ ล่องแม่นำ�้ น่านลงมาในปี พ.ศ. 2425 ได้หยุดพักทีเ่ มืองอินทร์ เมืองพรหม ต่อมาจึงได้พากันล่องแพมาถึงกรุงเทพฯ พักอยู่ที่กรุงเทพฯ 3 วัน โดยมี ตัวแทน 5 คน ตัวแทนไทด�ำได้เข้าเฝ้าพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า เจ้าอยู่หัว เพื่อขอพระราชทานอาหารและเครื่องนุ่งห่ม คือ 1. พ่อของนายหยอด สิงลอค�ำ (อ้ายเฒ่ามน ไพศูนย์) 2. พ่อของนายนาค สิงลอ (อ้ายเฒ่าแฝง ดีแอ) 3. พ่อของนายโหย สิงลอ (อ้ายเฒ่าโหย อ้อยนอ) 4. พ่อของนายต้น สิงวี (อ้ายเฒ่าหม่วน ทันหา) 5. พ่อของนายเนียว สิงวี (อ้ายเฒ่าคิม ซ้อนเปียยุง) วัฒนธรรมประเพณี บ้านนาป่าหนาดเป็นเพียงหมู่บ้านเดียวในจังหวัดเลย ที่มีชาวไทด�ำ อาศัยอยู่ และยังคงรักษาขนบธรรมเนียมประเพณีมาจนถึงปัจจุบัน มี ภาษาเป็นเอกลักษณ์ประจ�ำถิน่ คือ ภาษาไทด�ำ และภาษาเลย มีตวั อักษร ไทด�ำที่ยังอนุรักษ์ เก็บบันทึกเป็นหลักฐานไว้ มีประเพณีท้องถิ่นที่ปฏิบัติ สืบทอดกันมายาวนาน ได้แก่ •• ศิลปะการละเล่นของชาวไทด�ำ (แซปาง) ที่ชาวบ้านละเล่นกันอยู่ จนถึงปัจจุบัน •• บุญประจ�ำปี คือ บุญประทายข้าวเปลือก ทีป่ ฏิบตั กิ นั ทุกปีในเดือน สาม •• ประเพณี โฮมไทด�ำ ซึ่งเป็นการรวมเครือญาติของชาวไทด�ำจาก ทุกจังหวัดทั่วประเทศ จัดสืบทอดกันมายาวนานจนถึงปัจจุบัน รวม 8 ปี •• ประเพณีเลี้ยงบ้าน ปฏิบัติทุกปีๆ ละ 2 ครั้งในเดือนหกและเดือน สิบเอ็ดหรือสิบสอง

42

คู่มือการท่องเที่ยวโดยชุมชนในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

กิจกรรมทางการท่องเที่ยว ดินแดน 3 วัฒนธรรม เลิศล�้ำภูเขาแก้ว เพริศแพร้วผ้าทอมือ เลื่องลือ เกษตรอินทรีย์ •• ดินแดน 3 วัฒนธรรม วัฒนธรรมฅนไทด�ำแห่งเดียวในภาคอีสาน ประเพณี อาหาร กลุ่มอาหาร การแต่งงาน การเลี้ยงหอเจ้าบ้าน •• งานตุ้มโฮมปีน้องไต ประจ�ำปี รวมฅนไทยด�ำทุกจังหวัดทั่วไทย •• เอกลักษณ์การแต่งกาย •• เครื่องประดับ(เครื่องเงิน) •• ของที่ระลึก งานแฮนด์เมค, ตุ้มนก ,หนู , มะกอน •• ผ้าลายนางหาญ , ผ้าลายแตงโม , กระดุมเสื้อชาย หญิง •• เอกลักษณ์การพูด , ภาษาเขียน , ปราชญ์ชาวบ้าน •• โฮมสเตย์, ศูนย์เรียนรู้การทอผ้า(กลุ่มทอผ้า) ,การท�ำก้อนเห็ด , กลุ่มอาชีพ ,วัด ตัวอย่างโปรแกรมการท่องเที่ยว หมู่บ้านคนไทด�ำที่ มักจะมีนักศึกษาและนักท่องเที่ยวผ่านเข้ามาเพื่อ ศึกษาเรียนรู้วัฒนธรรมกิจกรรมต่างๆ ที่มีให้เลือกดังนี้ 1. ชมการแสดงพื้นบ้านชนเผ่าไทด�ำ เช่น แซปาง ฟ้อนแคน อิ้นคอน สู่ขวัญ ไหว้เจ้าบ้าน 2. การทอผ้าด้วยมือลายแตงโม เป็นลายพื้นเมืองของไทด�ำ 3. ชมสินค้างานประดิษฐ์ แฮนด์เมค ตุ้มนกหนู 4. รับประทานอาหาร


การเดินทาง ออกจากตัวจังหวัดเลยเดินทางไปตามเส้นทาง เลย – เชียงคาน ถึง สามแยกบ้านธาตุเลี้ยวขวามาประมาณ 500 เมตร จะพบทางแยกไป บ้านนาป่าหนาด ข้อมูลติดต่อ คุณรัชนี กรมทอง 57/2 หมู่ 4 ต�ำบลเขาแก้ว อ�ำเภอเชียงคาน จังหวัดเลย โทร 089-395-5690

คู่มือการท่องเที่ยวโดยชุมชนในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ | คณะผู้วิจัย มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา

43


ชุมชนท่องเที่ยวบ้านนาอ้อ ความโดดเด่นที่น่าสนใจของชุมชนท่องเที่ยวบ้านนาอ้อ : “ชุมชนท่องเที่ยว “วิถี...เลย และการเรียนรู้กลุ่มอาชีพ ” เหมาะส�ำหรับนักท่องเที่ยว : ที่สนใจศึกษาและเรียนรู้ วิถีชีวิต วัฒนธรรมของหมู่บ้านที่ถูก ล้อมรอบไปด้วยกลิน่ อายของป่าไม้ และธรรมชาติทอี่ ดุ มสมบูรณ์มปี ระเพณีอนั เป็นเอกลักษณ์ ของตนเอง 1. นักเรียน นักศึกษา ไทยและต่างประเทศ 2. กลุ่มศึกษาดูงาน 3. กลุ่มครอบครัว ระยะเวลาที่แนะน�ำในการเที่ยว : นักท่องเที่ยวสามารถเที่ยวได้ทุกเดือน แต่เดือนที่แนะน�ำ ให้มาเทีย่ วคือ ช่วงเดือนมกราคม วันที่ 22 – 26 มกราคม ของทุกปีจะมีการจัดประเพณี “บุญ ข้าวจี่ ชอมข้าวแดกงา เว้าภาษาเลย” หรือช่วงฤดูหนาว เพราะจังหวัดเลยจะมีอากาศที่ค่อน ข้างหนาวเย็น เหมาะแกการท่องเที่ยวและพักผ่อนเป็นอย่างมาก ชุมชนท่องเที่ยวเพื่อการเรียนรู้ : บ้านนาอ้อ จังหวัดเลย ที่ตั้ง 122 หมู่ 5 ต�ำบลนาอ้อ อ�ำเภอเมืองเลย จังหวัดเลย ประวัติของชุมชน บ้านนาอ้อเป็นชุมชนเก่าแก่มีอายุกว่า 400 ปี ชาวนาอ้อสืบเชื้อสายลาว “เผ่าไทลื้อ” ซึ่ง อพยพมาจากหลวงพระบางและเวียงจันทน์ ชาวบ้านนาอ้อเริ่มมาตั้งถิ่นฐานในดินแดน ประเทศไทยเมื่อประมาณปี พ.ศ. 2236 ชาวบ้านนาอ้อมีนิสัย ขยัน อดทน รักพวกพ้อง และ รวมตัวกันด้วยความสามัคคีอย่างแน่นเหนียว ในขณะที่ชาวนาอ้อได้รวมตัวกันอพยพเข้าสู่ แหล่งอุดมสมบูรณ์ ภายในบริเวณโดยรอบหนองวังขอน (หนองน�ำ้ ใหญ่ทมี่ ซี งุ ตายแห้งลอยเป็น แพ) นัน้ ผูน้ ำ� ชุมชนสมัยนัน้ ได้ลงมติตงั้ ชือ่ บ้านใหม่ขนึ้ ว่า “บ้านวังขอน” คือบริเวณเหนือบ้าน ท่าบุง่ และบ้านปากหมาก ในปัจจุบนั นีเ้ อง และได้ขยายครอบครัวหนาแน่นเพิม่ ขึน้ ตามล�ำดับ และได้เกิดโรคไข้ทรพิษ (โรคฝีดาษ) ระบาดขึน้ ในหมูบ่ า้ นวังขอนขนาดใหญ่ ฉะนัน้ ชาวบ้านวัง ขอนที่เหลืออยู่จึงได้ตัดสินใจหอบลูกจูงหลานอพยพลงมาใต้เรื่อยๆ จนได้มาพบแหล่งอุดม สมบูรณ์แห่งใหม่อีกแห่งหนึ่ง คือบริเวณที่ราบลุ่ม โดยรอบ “หนองอ้อ” (หนองบ้านใหญ่ที่มี ป่าอ้อขึ้นหนาแน่นโดยรอบ) เหมาะสมส�ำหรับการตั้งบ้านเรือนจึงได้แผ่วถางบุกเบิกที่ดินโดย รอบหนองอ้อจนกลายเป็นไร่ท้องนาทันตาเห็น และได้รวมตัวกันลงมติตั้งชื่อบ้านใหม่นี้ว่า “บ้านนาอ้อ”

44

คู่มือการท่องเที่ยวโดยชุมชนในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ


วัฒนธรรมประเพณี บ้านนาอ้อ หมูบ่ า้ นทีถ่ กู ล้อมรอบไปด้วยกลิน่ อายของป่าไม้ และธรรมชาติ ที่อุดมสมบูรณ์มีประเพณีอันเป็นเอกลักษณ์ของตนเอง •• พิพิธภัณฑ์ วัดศรีจันทร์ •• วัดถ�้ำผาปู่ •• กลุ่มจักรสาน กลุ่มอาชีพ •• วัดห้วยห้าว •• ลานวัฒนธรรมประเพณีบุญข้าวจี่ ซิมข้าวแดกงา เว้าภาษาเลย (เริ่ม ตั้งแต่วันที่ 22 - 26 มกราคมของทุกๆปี) กิจกรรมทางการท่องเที่ยว •• บายศรีสู่ขวัญ และการแสดงวัฒนธรรมพื้นบ้าน •• ให้อาหารปลาในกระชัง •• ล่องเรือชมธรรมชาติแม่น�้ำเลย •• ฐานการเรียนรู้ชุมชน •• ชมบ้านไทเลย ส้วมฝรั่งเศส การเดินทาง ข้อมูลติดต่อ คุณบุญมี บุตรโสมตา 122 หมู่ 5 ต�ำบลนาอ้อ อ�ำเภอเมืองเลย จังหวัดเลย

คู่มือการท่องเที่ยวโดยชุมชนในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ | คณะผู้วิจัย มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา

45


ชุมชนท่องเที่ยวบ้านสีกายเหนือ ความโดดเด่นทีน่ า่ สนใจของชุมชนท่องเทีย่ วบ้านสีกายเหนือ : “ชุมชนท่องเทีย่ ว วิถีวัฒนธรรมล�ำน�้ำโขง “วิถี..ฝั่งโขง”” เหมาะส�ำหรับนักท่องเทีย่ ว : ทีส่ นใจศึกษาและเรียนรู้ วิถชี วี ติ วัฒนธรรม ศูนย์การ เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง อยู่กับชุมชน ดูวิถีชีวิตการท�ำนา การท�ำมาหากินแบบคน อีสาน 1. นักเรียน นักศึกษา ไทยและต่างประเทศ 2. กลุ่มศึกษาดูงาน 3. กลุ่มครอบครัว ระยะเวลาที่แนะน�ำในการเที่ยว : นักท่องเที่ยวสามารถเที่ยวได้ทุกเดือน แต่เดือนที่ แนะน�ำให้มาเที่ยวคือ ช่วงเดือน พฤศจิกายน - เดือนกุมภาพันธุ์ (ฤดูหนาว) แม่น�้ำ โขงลดระดับ ชาวบ้านท�ำการเกษตรบริเวณฝั่งแม่น�้ำ เช่นท�ำไร่มะเขือเทศ หรือผลผลิ ตอื่นๆตลอดแนว และยังมีหาดทรายที่เกิดจากการลดระดับของแม่น�้ำโขง ชุมชนท่องเที่ยวเพื่อการเรียนรู้ : บ้านสีกายเหนือ จังหวัดหนองคาย ที่ตั้ง 25 หมู่ 6 หมู่บ้านสีกายเหนือ ต�ำบลสีกาย อ�ำเภอเมือง จังหวัดหนองคาย 43000 ต�ำบลสีกาย อ�ำเภอเมืองหนองคาย จังหวัดหนองคาย ประวัติของชุมชน “บ้านสีกาย” เป็นหมูบ่ า้ นอยูไ่ ม่หา่ งจากจังหวัดหนองคายมากนัก อยูบ่ ริเวณราบ ลุ่มติดแม่น�้ำโขง เมื่อปี พ.ศ. 2543 ปรากฏการณ์บั้งไฟพญานาค เริ่มเป็นที่สนใจของ นักท่องเที่ยว ท�ำให้นักท่องเที่ยวเดินทางมาชมปรากฏการณ์ดังกล่าวจ�ำนวนมาก ซึ่ง ท�ำให้ที่พักมีจ�ำนวนไม่เพียงพอต่อ ผู้ว่าราชการจังหวัดจึงมีแนวคิดพัฒนาโฮมสเตย์ เนื่องจากเห็นว่าชุมชนมีความพร้อมในหลายด้าน ด้วยอัธยาศัยอันดีงามและความ พร้อมในการต้อนรับ ท�ำให้บ้านสีกายมีผู้มาใช้บริการตลอดปี วัฒนธรรมประเพณี วัฒนธรรม ศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง อยู่กับชุมชน ดูวิถีชีวิตการท�ำนา การ ท�ำมาหากินแบบคนอีสาน

46

คู่มือการท่องเที่ยวโดยชุมชนในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ


กิจกรรมทางการท่องเที่ยว หมู่บ้านติดล�ำน�ำโขงทัศนียภาพที่สวยงาม มักจะมีกลุ่มนักท่องเที่ยว หรือนักศึกษาเข้ามาศึกษาดูงาน ตามฤดูกาลต่างๆ บ้านสีกายก็จะใช้ ประโยชน์จากสิ่งเหล่านี้ สร้างกิจกรรมการท่องเที่ยวที่แตกต่างกัน เช่น 1. เมื่อแม่น�้ำโขงลดระดับ การท่องเที่ยวหาดสีกาย หาดทรายขาว สวย สะอาดก็จะเกิดขึ้น 2. แต่ถ้าน�้ำโขงเต็มตลิ่งสวยงาม การล่องเรือชมวิวแม่น�้ำโขง ชม ธรรมชาติและวิถีชีวิตริมน�้ำก็เป็นอีกสิ่งที่ดึงดูดนักท่องเที่ยวได้ 3. ขี่จักรยานตามเส้นทางริมฝั่งโขง ชมไร่มะเขือเทศและเก็บผล มะเขือเทศในหน้าแล้งที่มีการปลูกมะเขือเทศริมฝั่งโขง 4. นั่งพักผ่อนริมโขง 5. นวดแผนโบราณ 6. กิจกรรมลงแขกด�ำนา 7. ชมการปัน้ พญานาค การแปรรูปมะเขือเทศ แปรรูปกล้วย การท�ำ มะพร้าวแก้ว 8. การท�ำหมอนสมุนไพร 9. การทอผ้า 10. ตัวอย่างโปรแกรมการท่องเที่ยว 11. ฤดูกาลที่แม่น�้ำโขงลดระดับลง นักท่องเที่ยวหลั่งไหลไปชมหาด ทรายมากขึน้ ส�ำหรับนักท่องเทีย่ วทีต่ อ้ งการพักและท�ำกิจกรรมต่างๆ ก็มีกลุ่มโฮมสเตย์บ้านสีกายให้บริการ 12. แม่บา้ นแต่งตัวพืน้ บ้าน ต้อนรับนักท่องเทีย่ วด้วยพวงมาลัย ทีศ่ นู ย์ การเรียนรู้ซึ่งอยู่ติดริมแม่น�้ำโขง 13. พิธบี ายศรีสขู่ วัญ แลกเปลีย่ นเรียนรูว้ ฒ ั นธรรม รับประทานอาหาร พื้นเมือง กิจกรรมเต้นบาสโลบ(เป็นวัฒนธรรม สปป. ลาว) 14. พักที่บ้านพักโฮมสเตย์ ท�ำบุญตักบาตรตอนเช้า 15. บรรยากาศในตอนเช้าเหมาะแกการปัน่ จักรยานเลาะริมแม่นำ�้ โขง

16. หากนักท่องเที่ยวไปในฤดูกาลที่แม่น�้ำโขงลดระดับก็จะสามารถ เที่ยวชมหาดทรายสีขาว และสามารถท�ำกิจกรรมต่างๆริมหาด หรือ ลงเล่นน�้ำได้ หรือเล่นบานาน่าโบ๊ท 17. อีกหนึง่ สิง่ ทีเ่ ป็นสิง่ ดึงดูดนักท่องเทีย่ วของบ้านสีกายคือ ไร่มะเขือ เทศริมแม่น�้ำโขง ซึ่งจะสวยงามมาก ในช่วงที่มะเขือเทศสุกแดง การ ปลูกยาวติดต่อกันท�ำให้นักท่องเที่ยวสามารถขี่จักรยานชมความ สวยงามได้ 18. นอกจากปั่นจักรยาน ถ้านักท่องเที่ยวมาไม่เจอหาดทราย หรือไร่ มะเขือเทศ ก็จะมีการล่องเรือชมวิวทิวทัศน์ล�ำน�้ำโขง 19. ผ่อนคลายด้วยบริการนวดแผนไทย และลูกปะคบ เลือกชมและ เลือกซื้อ ผลิตภัณฑ์แปรรูปแบบ เช่น กล้วย มะพร้าว เป็นของฝาก การเดินทาง บ้านสีกาย อยู่ห่างจากตัวเมืองหนองคายประมาณ 18 กม. โดยใช้ ทางหลวงหมายเลข 212 (หนองคาย-โพนพิสยั ) มุง่ หน้าไปทาง อ.โพนพิสยั ประมาณ กม.ที่ 18 มีทางแยกเข้าสู่บ้านสีกายเหนือ ระยะทางประมาณ 2 กม.นอกจากนี้ยังมีรถโดยสารประจ�ำทาง สาย หนองคาย - โพนพิสัย ออกทุก 1 ชม. ที่สถานีขนส่งจังหวัดหนองคาย ข้อมูลติดต่อ คุณดวงไพศรี นิลเกตุ 25 หมู่ 6 ต�ำบลสีกาย อ�ำเภอเมือง จังหวัดหนองคาย 43000 โทร 089-577-4267

คู่มือการท่องเที่ยวโดยชุมชนในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ | คณะผู้วิจัย มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา

47


วิถีชีวิตคนอีสาน ประเพณีวัฒนธรรมของคนอีสาน และสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ ของดินแดนพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.