SmallroomXCH3

Page 1








































PRODUCTION Production คือ การทำางานทุกอย่างจากสคริปต์หรือบทที่ ผ่านการอนุมัติแล้ว การเปลี่ยนตัวหนังสือในบทออกมาเป็นภาพโดย ฝีมือทีมงาน นำาโดยผู้กำากับในทุกขั้นตอน นั่นคือ Production เช่น การ หาโลเคชั่น สร้างฉาก ออกแบบเสื้อผ้า ตัดเย็บออกมา ไปถึงการถ่ายทำา จัดแสง อัดเสียง ฯลฯ รวมถึงการตัดต่อ ทำาเอฟเฟกต์ ใส่เพลง ใส่เสียง จนสำาเร็จออกมาพร้อมเผยแพร่ ซึ่งในขณะนี้ อาชีพ Production ได้รับ ความนิยมเป็นอย่างมากเนื่องจากสื่อดิจิตอลหรือ สื่อโทรทัศน์ มีความ เจริญก้าวหน้าและถูกพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ทางกลุ่ ม ของพวกเรามี ค วามสนใจในการทำ า งานในสาย อาชีพProduction นี้ จึงได้ไปศึกษาดูงานที่บริษัท Small room และ รายการผู้หญิงถึงผู้หญิงของสถานีโทรทัศน์ช่อง 3 เพื่อศึกษาการทำางาน ส่วน Pre Production, Production และ Post Production ของ ทั้งสองสถานที่ และเพื่อเป็นแนวทางในการค้นพบความต้องการของ สมาชิกในกลุ่มว่าสนใจอาชีพนี้หรือไม่ เป็นทางเลือกให้กับสมาชิกใน กลุ่ม และผู้ที่สนใจการทำางานด้าน Production เพื่อนำามาพัฒนา ศักยภาพ และทักษะของตนเองต่อไป





ผู้หญฺิง ถึง ผู้หญฺิง ผู้หญิงถึงผู้หญิง เป็นรายการโทรทัศน์เกี่ยวกับผู้หญิง ที่มีรูปแบบการนำา เสนอเป็ น การนำ า ข่ า วรายวั น ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ ผู้ ห ญิ ง มาบอกเล่ า ผ่ า นมุ ม มองของพิธีกรหรืออาจมองว่าเป็นนิตยสารเกี่ยวกับผู้หญิงทางโทรทัศน์ เริ่มออกอากาศครั้งแรกวันที่ 4 ตุลาคม พ.ศ. 2547 และได้ปรับปรุงรายการ เพิ่มขึ้นในรูปแบบใหม่ เริ่มออกอากาศ 2 มิถุนายน 2557 ออกอากาศ ทุกวันจันทร์ ถึง วันศุกร์ เวลา 08.00-09.00 น. และย้ายเวลาใหม่มาเป็น เวลา 06.30-07.00 น. ทางช่อง 3 FAMILY และตั้งแต่วันที่ 3 ตุลาคม 2559 เป็นต้นไป รายการได้ย้ายช่องและเวลาออกอากาศและปรับรูปโฉม ใหม่อีกครั้งเป็นทุกวันจันทร์-ศุกร์ เวลา 08.45 - 09.15 น. ทางช่อง 3 และ ช่อง 3 HD ช่อง 33 และ ท่านสามารถรับฟังได้อีกครั้ง ทุกวันจันทร์-ศุกร์ เวลา 11.05 - 11.30 น. ทางวิทยุครอบครัวข่าว และตั้งแต่วันที่ 6 พฤศจิกายน 2560 เป็นต้นไป รายการได้ย้ายช่องและเวลาออกอากาศอีกครั้งเป็นทุกวัน จันทร์-ศุกร์ เวลา 08.00 - 08.30 น. และตั้งแต่วันที่ 5 มีนาคม 2561 เป็นต้น ไป ย้ายเวลาใหม่มาเป็นเวลา 08.30 - 09.00 น. ทางช่อง 3 SD ช่อง 28

พิธีกร

ลูกแก้ว - กรกมล ชิตพงศ์ ภูสนาคม (3 ตุลาคม 2559 - ปัจจุบัน) แพท - ณปภา ตันตระกูล (3 ตุลาคม 2559 - ปัจจุบัน) บูม - สุภาพร วงษ์ถ้วยทอง (2 มิถุนายน 2557 - ปัจจุบัน) ลิซ่า - อาลิซาเบธ แซ๊ดเลอร์ ลีนานุไชย (3 ตุลาคม 2559 - ปัจจุบัน) กาละแมร์ - พัชรศรี เบญจมาศ (4 ตุลาคม 2547 - 29 พฤษภาคม 2557 และ 3 ตุลาคม 2559 - ปัจจุบัน) เดียร์ - ลิลลี่ แม็คกร๊าธ (2 กันยายน 2559 - 30 กันยายน 2559 และ 3 ตุลาคม 2559 - ปัจจุบัน)




พี่โต้ง วิญญู โรจนวิทิต

ต้องเป็น นักเล่าเรื่องที่ดี การเป็นนักเล่าเรื่องที่ดี หมายถึงว่า เราต้องการ สื่อให้คนดูรู้สึกอะไรกับ สิ่งที่ีเราต้องการจะทำา

ตำ�แหน่ง ผู้กำ�กับร�ยก�ร


INTERVIEW Q : แนะนำาตัว และตำาแหน่งงาน ชื่อ วิญญู โรจนวิทิต พี่โต้ง ตำาแหน่งผู้กำากับรายการ รวม ๆ ตอนนี้ ประจำาอยู่สตู12 รายการของทางห้องนี้รับผิดชอบประมาณ10 รายการ มีทั้งที่เราใช้กล้องภาพจริง กับ Visual ที่จะเป็นฉากสีเขียวข้างใน ช่วงที่ ผ่านมาที่ได้เข้าไปดูคือรายการผู้หญิงถึงผู้หญิงเป็นภาพจริง ใช้กล้องจริง รายการที่ใช้ฉากจริงจะเห็นว่ามี 2 รายการคือ ผู้หญิงถึงผู้หญิง และแจ๋ว ตัวนี้จะถูกล็อคไว้เลย ข้อกำาหนดเมื่อฉากลงไปแล้วก็ไม่สามารถทำาอย่าง อื่นได้เลย รายการผู้หญิงถึงผู้หญิงก็คือผู้หญิงถึงผู้หญิง แจ๋วก็คือแจ๋ว ทำาได้เพียงสองรายการก็จบแล้วแต่ถ้าเป็นพื้นเขียวจะมา 10 รายการ ก็เปลี่ยนฉากหลังอย่างเดียว นี่คือความคล่องตัวทำาให้เราสามารถผลิต รายการป้อนกับสถานีได้ วันนึงมากมาย Q : มีแรงบันดาลใจอะไรที่ทำาให้อยากมาทำาหน้าที่ในตำาแหน่งผู้กำากับ เดิมเลย ตั้งแต่สมัยเด็ก ๆ ชอบดูรายการทีวี ก็จะเห็นว่ามันน่าสนใจ ไม่รู้หรอกว่าข้างในเค้าทำาอะไรกัน นั่งดูจอ แล้ววันนึงก็คือมาเรียน ได้ มีโอกาสเรียนในสาขานิเทศ แล้วตอนฝึกงานได้ไปฝึกที่ช่อง 5 เข้าไปก็ อลังการแล้ว จนวันนึงเรียนจบ แล้วก็มาได้ทำางานในส่วนของช่อง 3 รับ ผิดชอบละคร ตอนเข้าไปนี่ตูของช่อง 3 นี่อลังการมาก มันใหญ่โตกว่าที่ เราเห็นที่ช่อง 5 มากมายมหาศาล ได้พบปะดารามากมาย ผลิตละคร เป็นหลักในตอนนั้น ซึ่งเป็นรายได้สูงสุดของสถานี Q : หัวใจหลักของการทำางานเป็นผู้กำากับ กำากับรายการ คืออะไร หัวใจหลักของผู้กำากับรายการเลยจริง ๆ นี่ คุณสมบัติที่ดีของผู้กำากับ รายการนี่ ต้องเป็นนักเล่าเรื่องที่ดี การเป็นนักเล่าเรื่องที่ดีหมายถึงว่า เช่น เราต้องการสื่อให้คนดูรู้สึกอะไรกับสิ่งที่เราต้องการจะทำา ผมยก ตัวอย่างเช่นว่า เหตุการณ์ณ์น้ำาท่วมช่วงปี 2554 เราจะเห็นเลยว่าแบบ คนที่ไม่เคยเห็นภาพมันจะนึกไม่ออกว่าภาพที่เล่ามันคืออะไร สิ่งแรกที่ เราต้องทำาให้คนดูรู้ก็คือ มันต้องมีภาพใหญ่ก่อน ภาพรวมทั้งหมด ภาพ ที่น้ำาท่วมใหญ่ในกรุงเทพทั้งทั่วประเทศเลย รองลงมาก็คือ ย่อยลงมา บ้านเรือนถูกท่วมไป ระดับน้ำาสูงจากเดิมกี่เมตร เขาจะใช้ชีวิตกันยังไง ภาพความลำาบากของแต่ละคน จนถึงสุนัข แมว อะไรต่าง ๆ นี้ เขาเดือด ร้อนกันยังไง แล้วรัฐบาลมีการช่วยเหลืออย่างไร นั่นแหละ เรื่องพวกนั้น เราต้องมาเล่า ให้คนดูเข้าใจในสิ่งที่มันเกิดขึ้นทั้งหมด หรือว่าอย่างงาน เตะฟุตบอลที่ช่อง 3 ที่สนามราชมังฯ อันนั้นเราก็ได้เห็นภาพรวม ดูอยู่ที่ บ้านไม่รู้หรอกมันคืออะไร สิ่งที่เราต้องการให้เห็นคือ ช่อง 3 เรายิ่งใหญ่ แค่ไหน คือต้องมีภาพใหญ่จากข้างนอกเข้ามาเลย มีบูธ มีการแสดง มี เล่นเกม คนดูก็จะไล่ไปเรื่อย จนกว่าจะถึงข้างใน มันจะเห็นความแบบ โอ้โห ! การเตรียมพร้อม มีการเล่นเกมเล่นอะไร คนที่มายืนรอต่อแถว ยาวเหยียด เราต้องทำาภาพให้เห็นว่า มันยาวยังไง ไม่ใช่ว่าพิธีกรก็พูดไป คนมันเยอะ คนเยอะ ไหนละภาพที่ว่าคนมันเยอะ ต้องให้เห็นเลย พวกนี้เป็นหน้าที่หลักของผู้กำากับ ต้องเก็บรายละเอียดทั้งหมดารแสดง เป็นยังไง คนดูรู้สึกยังไงกับการแสดง มีใครทำาอะไร อยู่ที่ไหน

อันนี้เป็นหัวใจหลักที่เราต้องนำาเสนอให้คนดูเข้าใจแล้วก็รู้ว่ามันเกิด อะไรขึ้นบ้าง อันนี้เป็นปัจจัยหลัก ขาดไม่ได้นะ ใครทำาอะไร ที่ไหน อัน นี้สำาคัญสุด Q : ในทีม production จะแบ่งหน้าที่ยังไง อย่างเช่นพี่เป็นผู้กำากับใน ส่วนของในห้องสตูฯ อยากรู้ว่าการควบคุมทั้งหมด จะต้องแบ่งกันยังไง ใครดูแลส่วนไหน ใครเป็นคนควบคุม หรือว่าคอยจัดการ หลัก ๆ นี่นะครับ ยกตัวอย่างแคบ ๆ ในนี้ก่อน เราจะมีลักษณะก็คือ นั่ง เอาจากแถวหลังมาเลย มีเจ้าหน้าที่ควบคุมเสียงที่ Control mixer เสียง ต่อมาก็คือเจ้าหน้าที่แสง คอยจัดแสงทั้งหมด และจะเป็นเซิฟเวอร์ โดยเซิฟเวอร์เรานี่จะเก็บไว้ในคลังอยู่ข้างล่าง แล้วก็ดึงขึ้นมา ส่วนแถว หน้าจะคือ CG เราจะใส่ต่างๆ เป็นภาพที่มาจากคอมพิวเตอร์ด้านหลัง ซึ่งเราสามารถดึงภาพจาก Facebook จาก Line จากอะไรมาใส่ได้หมด และในส่วนที่ทำางานของพี่จะเป็นสวิทช์ สวิทช์ก็คือ มันจะทำาอะไรต่อ อะไรได้เยอะมาก เป็นคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่มาก ลงไปหลายเลเยอร์ มาก และก็จะมีสวิทช์สำารอง ของเราในห้องนี้เป็นรายการสดนี่ มันต้อง พร้อมออกอากาศตลอดเวลา เมื่อตัวหลักเสีย เราสามารถที่จะมาใช้ตัว สำารองได้เลย สับเปลี่ยนมา ยังไงก็คือจอดำาไม่ได้เด็ดขาด ถ้าจะเคยเห็น แย่มากๆ ก็คือที่ขึ้นเป็นซับ สไลด์รูปดอกกุหลาบ รูปดอกกล้วยไม้ มัน เสียหายมาก แต่มันก็ต้องถึงขั้นนั้นถ้ามันเกิดความผิดพลาด เช่น ระบบ เซิฟเวอร์ล่ม กล้องเราเสียกะทันหัน หรือไฟฟ้าดับ เราจะมีไฟฟ้าสำารอง ให้อยู่แล้ว แต่ว่าระบบพวกนี้มันจะต้องมีการเรียกกลับเข้ามาก่อน มัน ไม่สามารถที่จะสับ สวิทซ์และใช้งานได้เลย เพราะฉะนั้นเราจะต้องใช้ เป็นภาพที่เราเก็บไว้เป็นภาพโลโก้ของรายการผู้หญิงถึงผู้หญิงวนไป ก่อน ไแต่นานมากก็ไม่ได้ เพราะสุดท้ายจริง ๆ นี่ ก็ต้องขึ้นสไลด์


INTERVIEW

จากห้องออกอากาศข้างล่าง ถือว่าเป็นขั้นตอนสุดท้ายล้วที่ไม่อยากให้ มันถึงตรงนั้น ลักษณะการทำางาน พอถึงข้างในจะมีเจ้าหน้าที่กล้องอยู่ ซึ่งเริ่มต้น รายการเลยเราต้องรู้ อย่างที่เห็นวันนี้ก็คือ จะมีอาหารมาตั้ง แล้วก็มี พิธีกร เราก็ต้องบอกเจ้าหน้าที่แสง ตั้งแต่เริ่มเลย ว่ามีพิธีกรกี่คน แขก ที่มานั่งร่วมรายการกี่คน ที่นั่งอยู่ตรงไหน เพราะมันจะไม่เหมือนแสง พระอาทิตย์ที่ว่าตรงไหนก็ได้หมด การจัดแสงนี่ พอภาพกว้างปุ๊บ ถ้า แสงระดับไม่เท่ากันก็จะเห็นเลยว่าทางซ้ายมืด ฝั่งขวาสว่าง อะไรแบบ นี้ ตรงนี้พิธีกร หรือดาราที่มาเข้ารายการ ทุกคนต้องมีสังกัดของตัวเอง หมด ถ้าเกิดเราจัดแสงของเขาออกไปไม่สวย คนนึงหน้าดำา อีกฝั่งนึง หน้าขาว พิธีกรเราดันสวยกว่าดารา มันก็ไม่ใช่ เราต้องจัดให้สวย แล้ว ก็ถ้าเขาไม่สวยมา เราก็ต้องทำาให้สวยให้ได้ มันจะต้องเป็นอย่างนั้น มุม มองของแต่ละคน อย่างน้องถ้าน้องกระจกก็จะมองมุมซ้าย ขวา หรือ เวลามีมุมสวยของตัวเองอยู่ เวลาเราเซลฟี่อะไรประมาณนี้ นั่นแหละ เราก็ต้องหาให้เห็นว่าคนนี้สวยตรงมุมไหน มุมไหนที่เขาไม่สวยนี่อย่า ออกอากาศไปเลย พวกนี้เป็นรายละเอียด แล้วพอเราได้ทุกอย่างแล้วก็ บอกเจ้าหน้าที่กล้อง Q : แล้วอย่างในห้องสตูอย่างนี้ ถ้ามีเสียงแทรกซ้อนเข้ามา เสียงไอบ้าง ทำาอย่างไร คือพิธีกรติดไมค์ทั้งหมด เราจะเห็น 4 คน ทุกคนจะมีเบอร์ของตัว เองอยู่ ไล่มา พี่ลิซ่าเบอร์ 1 รองลงมาลุกแก้งเบอร์ 2 3 – 4 ไล่มา ตาม ลำาดับ ถ้ามีใครที่ทำาท่าหรือแสดงลักษณะที่ผิดปกติ จะไอ หรือเปล่ง เสียงออกมา เราจะเห็นได้จากกล้อง 2 กล้องนี้จะเป็นกล้องที่เหมือนตา เราเลย จะเป็นกล้องที่กว้าง ๆ ถ้าเกิดอะไรขึ้น คนนี้ไมค์หลุด หัวไมค์ตก ซูมเข้าไปดู ถ้ามีท่าทีแปลก ๆ ตามที่บอก ฝ่ายเสียงจะลดเสียงไมค์ลง ทันที เพื่อป้องการเสียงที่ไม่พึงประสงค์ออกอากาศไป และเสียงก็ยังเข้า เพราะอาจจะรอดเข้ามาในไมค์คนอื่น ซึ่งเราก็ต้องพยายามทำาให้มันเบา ที่สุด จะสังเกตเห็นการติดไมค์ บางคนติดเอาหัวไมค์เข้าไปในเสื้อ อย่าง เสื้อคอเต่าที่เป็นปัญหามากเพราะจะติดที่คอ กลายเป็นเสียงอู้ ทาง บก.

แจ้งมาเสียงอู้ เราก็ต้องแก้ปัญหาจุดนี้ให้หมด ก็จะส่งไปบอกทางผู้กำากับ ในสตูถ่ายทำา ให้ตรวจดูหัวไมค์ของดิธีกร แล้วไมค์พวกนี้เป็นไมค์ทิศทาง ถ้าเราหันคุย หรือนั่งทางด้านไหน ไมค์ก็ควรอยู่ด้านนั้น ๆ เพราะถ้าติด ไม่ตรง และไม่ถูกฝั่ง เสียงจะเบาเลย เมื่อเสียงเบาทางฝ่ายเสียงต้องเร่ง ช่วย พอหันกลับมาทางไมค์เสียงจะดังมาก ขั้นตอนที่ดีที่สุดคือ ควรติด ไมค์ไว้ตรงกลาง ถ้าพิธีกร หรือแขกรับเชิญคนนี้เสียงเบามาตั้งแต่กำาเนิด เราก็ต้องเพิ่มเสียงให้กับเขา ถ้าคนนี้เสียงดังมากอยู่แล้ว ก็ต้องลดลง เราต้องรู้จักพิธีกรให้ดีพอ เหมือนเราทำาภาพ ต้องรู้จักจังหวะของแต่ละ คน คนนี้พูดเร็ว คนนี้มีจังหวะให้รับ เราก็ต้องศึกษาดู Q : การสวิทซ์เลือกภาพ เลือกกล้องดู เพราะว่ามีกล้องหลายตัว ลักษณะตรงนี้ ถ้าเราจะให้ดูเหมือนเราคุยกัน นั่งกันอยู่ 4-5 คน คุย กันสนุก คนนี้พยักหน้า คนนั้นพยักหน้ารับฟัง ภาพก็เหมือนกัน เราไม่ ได้มองแต่สิ่ง ๆ เดียว ตาเราจะไล่ดู เรามีหน้าที่เล่าเรื่องตรงนี้ กลับมา ย้อนกลับมา ให้ทุกคน รู้สึกสนุก ทุกคนสนุกแต่ว่ากล้องมันรับได้แค่ที ละคน เราจะทำาอย่างไรให้มันลงตัว มันจะต้องไล่ให้พอดี สำาคัญมาก ที่ เราจะรู้จังหวะ ว่า อย่างเช่น ถ้าเค้ามีแซวกัน กล้องจับใครอยู่ ต้องหัน มาหาคนที่พูดแล้ว หูต้องฟังมากว่าใครพูดอะไร ตาก็จ้องมอง ตาไม่ได้ดู โปรแกรม แต่ต้องดู 3 กล้องตัวนี้ที่อยู่ในสตูถ่ายทำา เราต้องเห็นทุกอย่าง ที่อยู่ข้างในว่าใครทำาอะไร ใครพูดอะไร คนนี้พูดแล้วตาอย่าจ้องที่คนพูด ตาต้องไปมองคนที่นั่งฟังว่าเขามีรีแอคชั่นยังไง เช่นพี่พูดแล้วน้องพยัก หน้า แต่ก็จะต้องมีภาพการพยักหน้า มันจะได้มีความรู้สึว่าน้องรับรู้ใน สิ่งที่พี่พูดนะ เข้าใจนะ บางคนบอกว่าไม่จำาเป็นต้องรับคนฟัง เพราะผม ต้องการคนพูดอย่างเดียว อันนี้อยู่ที่เราต้องเลือกว่านำาเสนออะไร ขอ ยกตัวอย่างรายการ Lighting Talk อันนี้เป็นรายการที่ซีเรียสมาก ยิ่ง ช่วงที่ผ่านมา ในหลวง ร.9 สวรรคต จะเชิญคนที่มีโอกาสได้ถวายงาย ในหลวงมา ทุกคนจะต้องมีความทรงจำาดี ๆ เวลาเค้าพูดอะไรกล้องก็ จะเน้นเข้ามา ก้จะเห็นแววตาของเขา การที่เราไปตัดภาพตรงนู้น ตรงนี้ มา มันดู สะเปะสะปะ ภาพมันก็ควรอยู่ที่อย่างเดียว หรือว่าถ้าเราไปทำา ละคร พูดถึงพระนางที่อยู่ด้วยกัน เขาพูดกันเหมือนเวลาที่เราพูด บอก ว่าเรามีทีท่าจะชอบคนนี้ คนที่นั่งฟังก็อยากจะรู้ว่าคนนี้คิดยังไง เพราะ นั้นเราต้องมีตรงนี้อยู่ ต้องมีอารมณ์ร่วมกับซีนนั้น ว่าเขารู้สึกยังไง พอ จะเกิดการที่สูญเสีย เช่นว่า พระเอกกำาลังจะบอกลานางเอกแล้ว ด้วย เหตุผลอะไรก็ตาม นางเอกก็จะร้องไห้ กล้องก็ต้องจับไปทีตานางเอก ต้องคอยจ้องเลย ถ้าน้ำาตาไหลลงมา คือจุดที่ห้ามพลาดเลย เสียงพูด insert ใหม่ได้ พูดกี่ครั้งก็ได้ แต่ร้องไห้มันไม่ได้ร้องกันง่าย ๆ เราอยู่ ตำาแหน่งผู้กำากับ ยิ่งเล่าเรื่องต้องจัดลำาดับความคัญให้ถูกต้อง ให้ดีที่สุด เป็นเรื่องที่สำาคัญมากครับ



พี่แม็ก

ตำ�แหน่ง พรเทพ พรหมเดช ผู้กำ�กับเวที ร�ยก�รผู้หญิงถึงผู้หญิง

“ ความกดดั น มั น มี ต ลอด

ทุกครั้งที่ทำา ยิ่งคิวเยอะ ยิ่งกดดันเยอะ มันจะทำาให้เราคิดถี่ขึ้น

“ ความกดดั น มั น มี ต ลอด

ทุกครั้งที่ทำา ยิ่งคิวเยอะ ยิ่งกดดันเยอะ มันจะทำาให้เราคิดถี่ขึ้น


INTERVIEW Q : แนะนำาตัว อาชีพที่ทำา ชื่อ พรเทพ พรหมเดช ชื่อเล่นชื่อแม็ก ตำาแหน่งผู้กำากับเวทีรายการ ผู้หญิงถึงผู้หญิง Q : พูดถึงความเป็นมารายการผู้หญิงถึงผู้หญิง พี่เข้ามาทำางานในชุดที่พิธีกรเป็นพี่นีน่า พี่ไก่ พี่บูม พี่ปู จนตอนนี้ก็ เปลี่ยนพิธีกรใหม่ Q : หน้าที่หลักๆ ของพี่คืออะไร หลักๆ เลยอย่างแรกต้องรู้คิวทุกอย่าง ว่ารายการมันจะเกิดอะไรขึ้น บ้าง ภายในครึ่งชั่วโมง ตั้งแต่แรก ตั้งแต่กล้องจะเปิดตัวไหน จะเล่น ภาพยังไง แล้วก็จะมีแขกกี่คน มีไมค์กี่ตัว มีข่าวอะไรบ้าง ข่าวมีเสียงมั๊ย มีสกู๊ปมั๊ย ข่าวยาวเท่าไหร่อะไรประมาณนี้ครับ ต้องรู้หมด แล้วก็ พี่จะ มีรันด์ดาวน์ดู พอวางตำาแหน่งไว้หมดทุกอย่าง เช่น พอถึงช่วงนี้ต้องเอา เก้าอี้เข้า ช่วงนี้ต้องเอาของนู่นนี่เข้า ต้องรู้คิวหมดทุกอย่าง และต้องเตรี ยมพร้อมทุกอย่าง Q : หัวใจหลักของการทำางาน Production คืออะไร ก็คือการรันคิว การให้พิธีกรรันคิวตาม สมมุติว่ามีข่าว 1 ข่าว 2 ข่าว 3 ให้พิธีกรอ่านตามนี้เลย แล้วก็ อย่างเช่นข่าว 1 มีเสียง ข่าว 2 เป็น สกู๊ป เราก็ต้องบอกพิธีกร ข่าวนี้มีแคปชั่น ทรานซิชั่นอะไรพวกนี้หมด เลย เพราะเราจะได้บอกพิธีกรว่า ข่าวนี้มีชื่อว่าอะไร สมมุติข่าว 1 มี เสียง เราก็บอกพิธีกรว่ามีเสียงสัมภาษณ์นะ ต่อไปเป็นข่าวสอง สมมุติ ข้างในเค้าบอกมาจากห้อง Control เอาข่าวสามขึ้นมาก่อน เราก็ต้อง คอยบอกพิธีกร บอกให้รู้เรื่องว่า เราเอาข่าวสามขึ้นมาก่อน หรือตัดข่าว นี้ แล้วก็เวลาสัมภาษณ์ สมมุติสัมภาษณ์แขกแบบเมื่อกี้ คือเราจะต้องรู้ ว่า เหลือเวลาอีกกี่นาที ต้องสรุปไหม ต้องลงตอนไหน แล้วก็ช่วงเบรก โฆษณา เราต้องทำาไรบ้าง ยกเก้าอี้เข้า ยกเก้าอี้ออก คอยจัดของดูห้อง ดู หน้างานทั้งหมด ในห้องถ่ายทำาทั้งหมดเลย Q : ถ้าให้พูดถึงความยาก ความง่าย ของการทำา production ความยาก มันต้องรู้ทุกอย่างที่มันกำาลังจะเกิดขึ้น ความยากตรงนั้น ก็คือข้อมูลมันจะเยอะมาก ๆ เราต้องคอยคิดว่า ต่อไปมันกำาลังจะเกิด อะไรขึ้น ต้องคิดเสมอว่าต่อไปจะเกิดอะไรขึ้น ต้องเตรียมอะไรบ้าง อย่างเช่นตอนท้ายเบรก 1 ต้องรู้แล่วว่าเบรกหน้าคืออะไร ต้องคิดไป ก่อนแล้ว แล้วไมค์โอเคมั๊ย แขกโอเคมั๊ย พร้อมมั๊ย ต้องดูทุกอย่าง และ ต้องทำางานร่วมกับห้องที่ออกอากาศ Q : เวลาทำางานตรงนี้มีความกดดันบ้างไหม ความกดดันมันมีตลอดทุกครั้งที่ทำา ยิ่งคิวเยอะ ยิ่งกดดันเยอะ มัน จะทำาให้เราคิดถี่ขึ้น ว่าพอจบตรงนี้ราต้องทำาไรบ้าง พิธีกรเข้าตรงไหน พิธีกรต้องปรบมือไหม จะแยกเข้าหรือว่าไมค์ตรงนี้ ถ้ามีแขกเข้ามากับ พิธีกรด้วย ติดดีมั๊ย ต้องดูหัวใจหลักหลาย ๆ อย่าง ความสำาคัญทุกอย่าง มันสำาคัญเท่ากันหมด

Q : ปัญหาที่เคยเกิดขึ้นที่รู้สึกว่าพีคที่สุด มันแย่ที่สุดแล้วที่เคยเกิดขึ้นมา แล้วเราแก้ยังไงในวันนั้น พีคที่สุดแล้ว คือ การที่เด็กนักเรียนมาสัมภาษณ์เข้ารายการ ไม่รู้ production พิธีกรต้องถือไมค์ยื่นให้ เราก็ไม่รู้จำาทำาอย่างไรแรก ๆ เรา ต้องเตรียมตรงนี้ เขียนบอกไว้เลยว่า พิธีกรอย่าลืมยื่นไมค์นะ วิธีการแก้ ปัญหานะ แรก ๆ เราก็ไม่รู้ ชี้ ๆๆ หน้างานเราไม่รู้หรอก แต่จริง ๆ เรา ต้องเตรียมพร้อมเสมอ Q : แล้วรายการสดวันนี้มีปัญหาอะไรบ้างไหม ของวันนีไ้ ม่มนี ะ แต่เวลามันเร่งรีบมากกว่า ทำาตรงนีม้ นั ต้องแข่งกับเวลา Q : แล้วเคยแบบว่าใน30 นาที มีช่วงมากที่สุดกี่ช่วง มันจะเป็น 3 เนื้อ 2 เบรกโฆษณาตามที่กฎกำาหนดมาไว้อยู่แล้ว Q : แล้วเราจะรู้ได้ไหมว่ากล้องตัวไหน ควรจับจุดไหน โฟกัสไปที่ใคร เพราะจะมีกล้องหลายตัวมาก มันจะเป็นไลน์ที่เค้ากำาหนดมาไว้แล้ว วางเป็น pattern ไว้อยู่แล้ว อย่างกล้องข้าง จะยิงมุยแทยงอยู่แล้วเพื่อรับหน้า Q : แล้วเวลาที่พิธีกรอยู่คนละจุด คนละที่กัน เราจะต้องร่วมกับใครบ้าง ที่จะบอกให้พิธีกร ส่วนนี้รอก่อน จะเริ่มส่วนนี้เริ่มก่อน เราต้องรู้ตั้งแต่ต้นรายการ สมมุติว่าโฆษณาปุ๊บ เบรกที่ 2 ปุ๊บ พิธีกร ต้องย้ายมาอยู่ที่โซฟา เราจะบอกพิธีกรตั้งแต่เข้ารายการว่า เดี๋ยวจะมี โฆษณาเท่านี้ เท่านี้ แล้วบอกว่าพอจบเบรกแรก เบรกสองต้องรีบย้าย เข้ามานะเพราะเดี๋ยวไม่ทัน ต้องเอาของเข้าอีก ต้องบอกก่อนเสมอ แล้ว วิธีการแก้ไขปัญหาหน้างาน คือเราต้องเตรียมตัวว่า จะย้ายกลับแล้ว เรา ต้องบอกพิธีกรก่อน ว่าเราจะย้ายกลับมาแล้วนะ มันอยู่ที่การสื่อสาร เป็นหลักเลยครับ เราเป็นตัวกลาง กับทางฝั่งห้อง control ครับ เราต้อง ทำางานร่วมกันครับ ว่าต่อไปเขาจะเอาอะไร Q : ในห้อง control มันจะมีจอที่ดูภาพการถ่าย และการออกอากาศ ต่าง ๆ ในสตูที่ถ่ายทำาจะรู้ได้อย่างไรครับ ถ้าเราจะต้องเปลี่ยนมุมภาพ ไปทางไหน มันจะเป็นการที่เปลี่ยนมุมภาพ ตากล้องในสตูจะสวมหูไว้ เพื่อฟัง ผู้กำากับรายการจะสั่งอีกทีในห้อง control พี่จะดูในส่วนของความ เรียบร้อย และกำากับหน้าเวที ตำาแหน่งทั้งหมด ถ้าเกี่ยวกับกล้องพี่จะดู ความเรียบร้อยในการใช้งาน แทรคซ้ายได้ไหม ตามที่ผู้กำากับรายการสั่ง ถ้าแทรคได้ก็แทรคเลย บางทีอาจจะติดมอนิเตอร์ ก็บอกเขาสักครู่นะ ครับ ก็ตรวจความเรียบร้อย และจัดการในสตูถ่ายทำาว่าติดอะไรมั๊ย ทำา ได้มั๊ย ทำาไม่ได้ก็บอกไม่ได้ Q : พี่ทำางานในฝ่ายนี้มาทั้งหมดกี่ปีครับ 4 ปีแล้วครับ Q : รู้สึกมีความสุขไหมครับในระยะเวลา 4 ปีที่ทำางานด้านนี้ ก็แฮปปี้นะ


พี่เจ๋ง

อรรถก�นท์ พิมพ์วงศ์

“ พอพู ด ถึ ง รายการเกี่ ย ว

กั บ ผู้ ห ญิ ง แล้ ว ต้ อ งนึ ง ถึ ง รายการผู้ ห ญฺิ ง ถึ ง ผู้ หญิฺง

ตำ�แหน่ง บรรณ�ธิก�ร ร�ยก�รผู้หญิง ถึงผู้หญิง


INTERVIEW Q : แนะนำาตัว และตำาแหน่งงาน ชื่อ อรรถกานท์ พิมพ์วงศ์ครับ เป็นบรรณาธิการ รายการ ผู้หญิงถึงผู้หญิง Q : ความเป็นมาของรายการผู้หญิงถึงผู้หญิง จุดเริ่มต้นของรายการผู้หญิงถึงผู้หญิงก็คือทางสถานี อยากให้มีรายการสำาหรับผู้หญิงจริงๆ เพราะเมื่อก่อนถ้าพูดถึง รายการผู้หญิงเนี่ยก็จะเป็นรายการขายของ หรือไม่ก็รายการ ชอปปิ้ง หรืออะไรที่มันเป็นเรื่องแฟชั่น จริงๆเรื่องเกี่ยวกับผู้ หญิงมันมีมากมายทั้งเรื่องของบทบาทผู้หญิง เรื่องของเตือน ภัย เรื่องสุขภาพ ซึ่งมันมีหลากหลายที่ผู้หญิงน่าจะรู้ หรือว่า เป็นรายการเกี่ยวกับผู้หญิงจริงๆ เลยมีนโยบายให้สร้างขึ้นมา หนึ่งรายการ ที่พอพูดถึงรายการเกี่ยวกับผู้หญิงแล้ว ต้องนึงถึง รายการนี้ ก็เลยเกิดรายการผู้หญิงถึงผู้หญิงขึ้นมา Q : รายการนี้เจาะกลุ่มเป้าหมายเป็นผู้หญิงโดยเฉพาะเลย หรือเปล่า เริ่มต้นเลยเราต้องการเจาะกลุ่มเป้าหมายเป็นผู้หญิงแต่ ไปๆมาๆผู้ชายก็ดูเยอะไม่แพ้ผู้หญิง เพราะมันอาจจะเป็น เพราะเป็นรายการที่เริ่มใหม่ๆของทีวีของสังคมที่มีผู้หญิงสี่คน เข้ามาเล่าอะไรอย่างนี้ พอทำาออกมาเลยกลายเป็นที่นิยมไป แล้วก็เวอร์ชั่นต่างๆ รายการผู้หญิงถึงผู้หญิงมีมาประมาณ 14 ปีกว่าแล้วนะครับ จนมาถึงตอนนี้ก็เป็นเวอร์ชั่นที่ 3 แล้วนะ ครับ ก็อยู่ทางช่อง 28 Q : เนื้อหาหลักของรายการมุ่งเน้นไปที่อะไรมากที่สุด เมื่อก่อนนี้ตอนเริ่มแรกจะเน้นไปที่บทบาทของผู้หญิง แล้ว ก็เป็นเรื่องอะไรก็ได้ที่ผู้หญิงสนใจ เรื่องของการเตือนภัยอะไร อย่างนี้ แล้วก็จะคอบคุมทั้งหมดอะครับ มันก็เหมือนเป็นแม็ กกาซีนสำาหรับผู้หญิงนั่นแหละ พอมาถึงตอนนี้ก็เป็นแมกาซีน สำาหรับช่อง28เน้นไปกลุ่มเป้าหมายระดับตลาดหน่อยนึง ก็ เลยจะเน้นไปที่ความรู้ที่มีสาระเเล้วก็เพิ่มความสนุกเข้าไป แล้ว ก็มีเรื่องของ ผู้หญิงเดี๋ยวนี้เรื่องกินเที่ยว เรื่องสุขภาพจะเน้น เรื่องสุขภาพ บันเทิง ความสนุกของในรายการอะนะครับ Q : ดูแลรับผิดชอบส่วนไหนของรายการบ้าง ดูภาพรวมของรายการทั้งหมด เราก็ต้องวางแผนว่าจะ นำาเนื้อหาของรายการเป็นยังไงวางแผนว่า จะจัดสรรเนื้อหา รายการยังไง เพราะรายการเป็นรายการสดจะต้องเตรียมตัว หลายอย่าง

Q : เนื้อหาของรายการเเต่ละวันมาจากไหนบ้าง เนื้อหาจะเเบ่งเป็นหลายๆแบบ จะมีเนื้อหาที่เราสร้างเอง เนื้อหา ที่เราคิดขึ้นมาว่าเราจะทำาเนื้อหาอะไรเกี่ยวกับผู้หญิงดี เช่นเราจะเน้น เรื่องสุขภาพ หรือเรื่องเตือนภัยผู้หญิง หรือตามสถานการณ์ เช่น สมมติ ว่าช่วงนี้มีข่าวข่มขืนหรืออะไรที่มันเกี่ยวกับภัยผู้หญิง หรือการละเมิด ทางเพศ อันนี้ก็เลือกจากสถานกาไรณ์ หรืออีกอันจะเป็นช่วงระยะเวลา เช่นเดือนนี้เป็นการรณรงค์เรื่องมะเร็งเต้านม ก็ทำาเนื้อหาตามนั้น เดือน ต่อไปเป็นเรื่องความรุนแรงในผู้หญิง เนื้อหา สกู๊ปข่าวก็ต้องเกี่ยวกับ ความรุนแรงในผู้หญิง นอกนั้นก็เป็นอะไรก็ได้ที่คนสนใจ เน้นความสนใจ หรือเนื้ออะไรก็ได้ที่คนสนใจ Q : ในอนาคตรายการผู้หญิงถึงผู้หญิงจะก้าวหน้าไปได้ถึงขนาดไหน มันยากที่จะบอกว่ามันจะก้าวหน้าไปถึงไหน แต่ก็คิดว่าน่าจะขยาย แพลตฟอร์มไป ตอนนี้จะเน้นทีวีแต่ต่อไปจะเน้นโซเชียลมีเดีย รายการ โซเชียลมีเดีย เพื่อให้เข้ากับสถานการณ์ของโลกที่เปลี่ยนไป ที่คนดูทีวี น้อยลง ก็จะมีการขยายแพลตฟอร์มต่อไป อาจจะเปลี่ยนวิธีการนำา เสนอเพราะแพลตฟอร์มแต่ละอย่างมีวิธีนำาเสนอเปลี่ยนไป Q : จะมาอัดรายการแต่ละเทป เราต้องเตรียมอะไรมาบ้าง เนื่องจากเป็นรายการสดเราจะต้องมาเตรียมการแบบวันต่อวันนะ ครับจะดูสถานการณ์ก่อนว่ามีอะไรหรือว่าสิ่งที่เราเตรียมมันจะแบ่ง เป็นตามสถานการณ์ เช่น เปิดมาเช้านี้ มันมีอะไรน่าสนใจอะไรอย่างนี้ แล้วไปหยิบมาเป็นรายการสด ที่มันเกี่ยวกับผู้หญิง อีกอันก็คือเรื่องที่ เตรียมการไว้แล้ว ว่าเดี๋ยวเราจะเตรียมวางแผน สกู๊ปเรื่องนี้นะ วันนี้จะ มีเนื้อหาอะไบ้าง อันนี้เป็นการเตรียมการ จะมี 2 อย่าง เพราะมันเป็น รายการสด เราสามารถปรับเปลี่ยนอะไรก็ได้ แต่ความยากของรายการ สดก็คือ การควบคุมเวลากับการควบคุมความผิดพลาด Q : ฝากถึงผู้ชมทางบ้านน้องๆหรือคนที่สนใจรายการนี้ อยากให้ติดตาม รายการนี้ยังไง หรืออยากฝึกงานที่นี่ ถึงคนที่อยากจะทำางานด้านนี้เพราะว่างานด้านนี้ไม่จำาเป็นจะต้องจบ ด้านนี้โดยตรงมันอาศียเรื่องของความครีเอทความคิดความสร้างสรรค์ ขึ้ น อยู่ แ ต่ ล ะคนจะแสวงหาได้ ม ากน้ อ ยแค่ ไ หนคื อ ขอให้ มี ค วามคิ ด สร้างสรรค์ กล้าแสดงออก แต่ต้องไม่หลุดกรอบ หรือหลุดโลกจน คนดูไม่ได้อะไร คือรายการทีวี ทุกรายการ ทุกเรื่องมันก็อยู่ที่ความ คิดสร้างสรรค์ คืออยากจะบอกว่าเพิ่มความกล้าแสดงออก แล้วก็หา ประสบการณ์เยอะ ๆ นะครับ คิดว่าน้อง ๆ อาจจะประสบความสำาเร็จ ในการเดินทางในเส้นทางนี้ เพราะว่าพี่อยากจะเน้นความคิดสร้างสรรค์ ของไอเดียมากกว่า Q : รับเด็กฝึกงานช่วงไหน ก็จะมี 2 รอบ ช่วงเดือนตุลาคม และช่วงเดือนเมษายน ถ้าจะมาอาจ จะต้องล่วงหน้า 6 เดือน เพราะว่าคนจะเยอะมาก แล้วที่นี่จะรับแบบ จำากัด เพราะอยากให้เด็กๆ ได้จริงๆ


MAP

ROUTE TO CH3 THAILAND

Address : เลขที่ 3199 อาคารมาลีนนท์ทาวเวอร์ ถนนพระราม 4 แขวงคลองตัน เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110


P CONTACT Tel : 0-2204-3333 , 0-2262-3333 Fax : (662)204-1384 E-mail : info@ch3Thailand.com Facebook : Ch3Thailand Twitter: Ch3Thailand IG : Ch3Thailand เปิดรับสมัครงาน & ฝึกงาน ช่วงประมาณเดือนเมษายน ควรเตรียมตัวให้พร้อม และรีบยื่นสมัคร เพราะมีผู้สนใจมาก ควรระบุรายละเอียด ให้ชัดเจน รวมถึงระบุรายการทีวีที่ต้องการ สมัครเข้ามาทำางานหรือฝึกงานด้วย

สนใจติดต่อ

ฝ่ายทรัพยากรบุคคล ชั้น 6 อาคารมาลีนนท์ทาวเวอร์ 1 โทร : 02-262-3333 ต่อ 3658 (คุณอัยการ) 3652 (คุณศักดิ์สิทธิ์) Email : iyakarn_p@becmultimedia.com , saksit_i@thaitv3.com เวลาทำาการ : จันทร์ - ศุกร์ เวลา 9.30 - 17.00 น.


SWOT CH3 รายการ ผู้หญิง ถึง ผู้หญิง


S O

- มี contence ที่โดดเด่น น่าสนใจ - รายการเข้าถึงง่าย ดูได้ทุกเพศทุกวัย - มีอุปกรณ์ที่ครบครัน เหมาะแก่การถ่าย ทำาในสตูดิโอ - บุคลากรที่ทำางานมีประสบการณ์สูง

- รายการเจาะจงเฉพาะกลุ่มผู้หญิง ทำาให้มีกลุ่มเป้า หมายหลักเพียงกลุ่มเดียว - ไม่มีการตัดต่อรายการที่น่าสนใจเท่าที่ควร เนื่องจากเป็น

W

- รายการถูกพัฒนาต่อจากเดิม ทำาให้มีคนรู้จักหรือมี กลุ่มฐานเป้าหมายเดิมอยู่แล้ว - ออกอากาศที่สถานีขนาดใหญ่ เป็นที่รู้จัก

- มีคู่แข่งจากรายการอื่น - เวลาในการออกอากาศมีจำากัด และตรงกับช่วงของสถานีอื่น

T


PRODUC -TION


ความเหมือน

Production MV @ Smallroom

- เป็นการผลิตงานผ่านขั้นตอน 3P Pre-Production Production Post-Production - มีการปล่อยผลงานให้ติดตามผ่านช่องทาง ยูทูป

Production TV @ CH3 ผู้หญิงถึงผู้หญิง

ความต่าง - Production MV เป็นการถ่ายทำาลักษณะนอกสตูดิโอ ตามสถานที่ต่าง ๆ ที่ตรงตามความต้องการและความเข้ากันของ MV และนำามาตัดต่อเพื่อรอ ออกในวัน และเวลาที่ต้องการ - แต่ Production TV จะถ่ายทำาในสตูดิโอ หรือห้องส่งของสถานีที่มีการ จัดฉาก และเป็น Green screen เพื่อคีย์ฉากเข้าโดยเฉพาะ เพราะต้อง ควบคุมด้วยกล้อง และห้องคอนโทรล เนื่องจากต้องออกอากาศสด - การถ่ายทำา MV จะต้องใช้คนเยอะในการถ่ายทำา ต้องตรวจสถานที่ จัด อุปกรณ์ ถืออุปกรณ์เพราะต้องเคลื่อนที่ตลอดเวลา - แต่ถ้าเป็นการถ่ายทำารายการ TV ฉาก อุปกรณ์จะถูกเซ็ตไว้แล้ว และอยู่ที่ ตำาแหน่งเดิม มีคนควบคุมเพียงไม่กี่คนเพื่อไม่ให้เกิดความวุ่นวาย - รายการ TV ต้องคิด content ในการออกอากาศทุกวัน ให้เท่าทันกับ สถานการณ์ปัจจุบัน อยู่ตลอดเวลา - ค่ายเพลงจะมีการคิด content ตามเนื้อหาของเพลงที่ศิลปินส่งเดโม่เสียง มา และตามความต้องการของค่าย และวงดนตรี - รายการ TV จะไม่มีการตัดต่อ ดัดแปลง จะเป็นการถ่ายทอดสด เพราะว่า ฉากถูกเซ็ตเป็นรายการนั้นโดยเฉพาะแล้ว ซึ่งถ้าเป็นฉาก Green ก็จะ insert ภาพกราฟิกเข้ามาเป็นฉากให้ และมีการสวิทซ์ภาพสลับมุมกล้อง และแทรกคลิป content ของช่วงนั้น ๆ ขึ้นมาประกอบ - Mv จะต้องตัดต่อหลังจากถ่ายทำาเสร็จ เพื่อให้ตรงกับเนื้อเรื่องที่วางไว้ ว่าต้องการสื่อไปในมุมมองไหน จะมีการเล่นเทคนิคด้านการตัดต่อ ให้มี ความน่าสนใจ และหลงใหลไปในเพลงด้วย - MV เพลง จะมีการปล่อยในหลากหลายช่องทาง ทั้งใน Youtube , Itune , Joox , Spotify - รายการ TV จะออกอากาศสด และติดตามย้อนหลังได้ที่ Youtube และ www.ch3thailand.com
















PRODUCTION


PRODUCTION


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.