LIFE IN CHIANGRAI

Page 1

in CHIANGRAI


คำ�นำ� จังหวัดเชียงราย เป็นสถานทีท่ อ่ งเทีย่ วอีกแห่งหนึง่ ในภาคเหนือ ของประเทศไทย ซึง่ ยังมีเอกลักษณ์ ของความเป็นล้านนาอยูไ่ ม่นอ้ ย ดังนัน้ หนังสือเล่มนีจ้ งึ อยากเผยแพร่ การท่องเทีย่ วถนนคนเดิน ว่ามี ความเป็นมา ในถนนคนเดินของเชียงรายมีความพิเศษอย่างไร และเผยแพร่วถิ ชี วี ติ ความเป็นล้านนา ของชาวเชียงราย ทัง้ เรือ่ งศิลปวัฒนธรรม ประเพณี รวมถึงการรับประทานอาหารทีห่ ลากหลาย ของ ชาวเชียงราย ให้ผทู้ ส่ี นใจหรือนักท่องเทีย่ ว ได้รบั รูแ้ ละมาสัมผัสบรรยากาศของชาวเชียงราย หนังสือเล่มนีจ้ ดั ทำ�ขึน้ โดยนักศึกษาชัน้ ปีท่ี ๒ สาขาวิชาเอกการออกแบบกราฟิกดีไซน์ สำ�นักวิชา คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงรายในรายวิชาการออกแบบวารสาร (GD๓๒๐๙) ภาคการศึกษา ๒/๒๕๕๘ โดยมีอาจารย์ฐานปัทม์ ไชยชมภูเป็นอาจารย์ประจำ�วิชา


สารบัญ

สภาพอากาศ จังหวัดเชียงราย

๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๑๓ ๑๕ ๑๙

สอนคำ�เมือง

๒๑

ที่มาของถนนคนเดิน จุดประสงค์ของถนนคนเดิน สถานที่ตั้ง โซนที่ ๑ โซนแยก หรือโซนอาหาร โซนที่ ๒ โซนที่ ๓ วัฒนธรรม ประเพณี วัฒนธรรมการ รับประทานอาหาร กับข้าวคนเมือง


ทีม่ าของถนนคนเดิน “กาดเจี ย งฮายรำ � ลึ ก “ ว่ า ตามวิ สั ย ทั ศ น์ ข องเทศบาลนครเชี ย งราย “นคร เชี ย งรายเมื อ งน่ า อยู่ ประตู สู่ ส ากล“ จึ ง เน้ น การส่ ง เสริ ม อาชี พ ตามเศรษฐกิ จ พอ เพี ย ง ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ที่ ช าวบ้ า นผลิ ต เอง ส่ ง เสริมการพัฒนาคุณภาพสินค้าหนึ ่งตำ�บล หนึ ่ ง ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ใ ห้ มี ม าตรฐาน จึ ง มี ค วาม คิ ด จั ด โครงการถนนคนเดิ น ขึ ้ น เพื ่ อ ใช้ เป็ น การสนั บ สนุ น การท่ อ งเที่ ย วการจั ด กิจกรรมถนนคนเดิน เป็นการพัฒนาเมือง เชี ย งราย และจั ด การใช้ พื ้ น ที ่ เ มื อ งให้ เ ข้ า กั บ วิ ถี ช ี วิ ต ชาวบ้ า น เป็ น การพั ฒ นาการ ใช้ ป ระโยชน์ พื้ น ที่ ใ นเมื อ ง ให้ ก ลายเป็ น ที่ รู้จักของชาวบ้านและนักท่องเที่ยว ที ่เปี ่ยม ด้ ว ยมนต์ ส เน่ ห์ ดึ ง ดู ด นั ก ท่ อ งเที่ ย วทั้ ง ชาว ไทยและต่างชาติ แวะมาเยี่ยมเยื อ นจั งหวั ด เชียงราย พร้อมพัฒนาเศรษฐกิ จและการ ท่อ งเที่ยวของจังหวัดเชียงรายให้ ด ี ข ึ ้ น ส่ ง เสริ ม การท่ อ งเที่ ย วในเขตเมื อ งอย่ า งต่ อ เนื่องเป็นประจำ�ทุกอาทิตย์ ให้ชาวเชียงราย ได้มีรายได้เพิ่มจากเดิม


จุดประสงค์ เป็ น การดึ ง เอาความเป็ น ล้ า นนาของ จั ง หวั ด เชี ย งรายที ่ มี เ อกลั ก ษณ์ อ อกมา เผยแพร่ ใ ห้ น ั ก ท่ อ งเที่ ย ว ถื อ เป็ น อี ก หนึ ่ ง กิ จ กรรมที่ สำ � คั ญ ที่ จ ะสร้ า งความสนใจ ให้ แ ก่ น ั ก ท่ อ งเที่ ย วและดึ ง ดู ด นั ก ท่ อ งเที ่ ย ว เลือกที ่จะเที่ยวจังหวัดเชียงราย ซึ ่งนอกจาก นักท่องเที ่ยวจะได้มาสัมผัสบรรยากาศของ ฤดูหนาวที ่เชียงราย และได้ท่องเที ่ยวสถาน ที ่ ต่ า ง ๆ ทั ้ งด้ า นประวั ต ิ ศาสตร์ แ ละสถาน ที่ ท่ อ งเที ่ ย วทางธรรมชาติ ที่ ส วยงาม โดย การจั ด กิ จ กรรมถนนคนเดิ น นี้ ก็ จ ะเป็ น แหล่ ง รวมของฝากของจั ง หวั ด เชี ย งราย ทำ � ให้ น ั ก ท่ อ งเที่ ย วได้ สั ม ผั ส วิ ถี ช ี วิ ต ของคน ล้ า นนาแบบดั ้ งเดิ ม อย่ า งแท้ จริ ง

สถานที่ตั้ง ถนนธนาลัย ตั ้งแต่สี ่แยกโรงงานยาสูบ เชี ย งราย ไปจนถึ ง สี ่ แ ยกหมอประจั ก ษ์ ทั น ตแพทย์ จะแบ่ งถนนคนเดิ น เป็ น ๓ โซน และมี โซนแยกซึ ่ งเป็ น โซนอาหารโดยเฉพาะ


โซนที่ ๑

โซนที่ ๑

โซนที่ ๑ จะเป็นโซนท ี่ขายของเบ็ดเตล็ดทั่ว ไป เช่น เสื้อผ้า หม เครื่องใช้ในครัวเรือน วก ของตกแต่งบ้าน รว มไปถึงต้นไม้


โซนแยก

โซนที่ ๒ จะเป็นโซนทีเ่ ชือ่ มระหว่าง โซนที่ ๑ และโซนท่ี ๒ แต่จะมีโซน แยกออกไป จะมีอาหารพืน้ เมือง และอาหารต่าง ๆ เยอะแยะมากมาย


โซนที่ ๒

โซนที่ ๒

โซนที่ ๒ จะเป็นแหล ่งรวมสินค้าแฮนเมด สินค้าที่ชาวบ้านทำ�เอ ยังมีลานกิจกรรม ให ง และ ้เยาวชนชาวเชียงราย ได้แสดงความสามาร ถ


โซนที่ ๓

โซนที่ ๓

โซนที่ ๓ จะเป็นโซนที่มีผลิตภัณฑ์สินค้า OTop ของชาว เชียงราย รวมไปถึงของชาวเขา เสื้อผ้าชนเผ่าต่าง ๆ


วัฒนธรรม ประเพณี • รดน้ำ�ดำ�หัว

http://play.kapook.com/photo/show-127573

เป็นประเพณีที่ลูกหลานไปกราบ คารวะพ่ อ แม่ ญาติ ผู้ ใ หญ่ ช่ ว ง เทศกาลสงกรานต์ โดยเริ่ ม ตั้ ง แต่ วั น ที่ ๑๕ เมษายน จนถึ งสิ้ น เดื อน กล่าวคือ เช้าวันที่ ๑๕ เมษายน เมื่อ กลับจากทำ�บุญที่วัดและดำ�หัวคารวะ บรรพบุรุษที่ล่วงลับแล้ว บรรดาลูก หลานจัดเตรียม ข้าวตอก ดอกไม้ ธูป น้ำ�ขมิ้น น้ำ�ส้มป่อย พร้อมทั้งของกิน สิ่งของอื่น ๆ เช่น ขนม ผลไม้ หมาก พลู เสื้ อ ผ้ า เงิ น ทอง จั ด ตกแต่ ง ใน ภาชนะ เช่น สลุง พาน หรือถาด การดำ � หั ว เป็ น การสลั ด น้ำ � ส้ ม ป่ อ ยลงบนศี ร ษะเพื่ อ ขั บ ไล่ เ สนี ย ด จั ญ ไร สิ่ ง ชั่ ว ร้ า ย และก่ อ ให้ เ กิ ด สิ ริ มงคล จะมีการจัดพิธีสรงน้ำ�พระเถระ ผู้ใหญ่ในจังหวัด นำ�โดยผู้ว่าราชการ จั ง หวั ด หั ว หน้ า ส่ ว นราชการและ ประชาชนทั่ ว ไป และพิ ธี ร ดน้ำ�ดำ�หั ว ผู้ว่าราชการจังหวัด นำ�โดยหัวหน้า ส่ ว นราชการ พ่ อ ค้ า ประชาชน องค์กรต่าง ๆ เพื่อขอขมาและขอพร ในช่วงเทศกาลสงกรานต์ เป็นประจำ� ทุกปี


http://www.unseenthailand.net/

• ตานก๋วยสลาก

http://pantip.com/topic/30889157

การตานก๋วยสลาก ก่อนวันทำ�พิธี “ ตานก๋วยสลาก” ๑ วัน เรียกว่า “ วันดา” เป็นวันจัดเตรียมสิ่งของเครื่องทาน จัดการจักตอกสาน “ก๋วย” ไว้ เตรียมห่อ ข้าวสาร พริก หอม กระเทียม เกลือ กะปิ ปลาร้า ขนม ข้าวต้ม และอาหาร แล้วแต่ศรัทธาและฐานะ สิ่งของต่าง ๆ เหล่านี้จะบรรจุลงในก๋วย ซึ่งกรุดด้วยใบตอง หรือกระดาษสีต่าง ๆ แล้วนำ� “ยอด” คือ เงินผูกติดไม้ เรียวเสียบไว้ เช้าวันรุ่งขึ้นจะนำ� “ก๋วยสลาก” ไปวัดที่จัดงานเพื่อถวาย พระ ภิกษุสามเณร มีการเขียนคำ�อุทิศส่วนกุศลไปให้ผู้ตาย และเทวดาทั้งหลาย มี การจับสลากในการถวายตามหมายเลขว่าตรงกับพระรูปใด พระรูปนั้นก็รับ ประเคนและให้พร


• ยี่เป็ง ในวันเพ็ญเดือนยี่ ของทุกปี คือ วันลอยกระทง ชาวล้ า นามี พิ ธี สำ�คั ญ นอกเหนื อ จากการลอยกระทง ชาวบ้านจะมีการประดับประดาวัดวาอารามบ้านเรือน ด้ว ยประทีปโคมไฟ โคมระย้า ทำ�ซุ้ ม ประตู ป่ า ด้ ว ยต้ น กล้วย อ้อยก้านมะพร้าว เตรียมข้าวปลาอาหารเป็น พิเศษ เช่น ห่อนึ่ง แกงอ่อม แกงฮังเล ลาบ และขนม ต่าง ๆ ที่นิยมทาน ไปทำ�บุญ จากนั้นก็จะมีการทานขัน ข้าวหรือสำ�รับอาหารไปถึงบรรพบุรุษที่ล่วงลับ ถวาย อาหารและกัณฑ์เทศน์แด่พระภิกษุสงฆ์ บางแห่งก็จะมี การสืบชะตา จะมีการปล่อยโคมลอย ในช่วงพลบค่ำ� จะมีการเทศน์ธรรมชื่อ “ อานิสงส์ผางประทีส” และ ชาวบ้านจะมีการจุดประทีป โคมหูกระต่าย โคมแขวน เป็นพุทธบูชากันทุกครัวเรือนสว่างไสว

http://www.tatcontactcenter.com/photo_details.php?txtNo=T0RRPQ==&pageP=&page=TWc9PQ==


• เป็งพุธ เป็ น ประเพณี เ กี่ ย วกั บ ความเชื่ อ ทาง ศาสนาอย่างหนึ่งของชาวเชียงราย ถือเอา วันเพ็ญที่ตรงกับวันพุธในรอบปี เปป็ง คือ คื น วั น เพ็ ญ เป็ น วั น ที่ จ ะทำ � บุ ญ ตั ก บาตร เพื่อบูชาพระอุปคุต ซึ่งเชื่อว่าวันนี้ พระอุป คุ ต เถรเจ้ า จะลงมาโปรดสั ต ว์ โ ลก หากผู้ ใ ด ได้ ตั ก บาตรพระอุ ป คุ ต แล้ ว จะได้ อ านิ ส งส์ แรง เป็นสิริมงคลแก่ตนเอง ชาวบ้านจะจัด เตรียมอาหารหรือข้าวสารอาหารแห้งไว้รอ ใส่บาตรเวลากลางคืน พอใกล้จะถึงเที่ยงคืน ก็จะพากันออกมายืนเรียงรายตามท้องถนน ในหมู่บ้าน หรือในเมือง ส่วนที่นิยมตักบาตร เป็งพุธในเชียงรายคือแถว ๆ หอนาฬิกา

http://www.fotorelax.com/forum/index.php?topic=2758.0


• ทานหาแม่ฟ้าหลวง http://www.crru.ac.th/showNEWS.php?topic_id=93

กำ�หนดจัดในวันที่ ๑๘กรกฎาคมของทุกปี เป็นวันคล้ายวันสวรรคตของสมเด็จ พระศรีนครินทรา บรมราชชนนี องค์แม่ฟ้าหลวงของปวงชนชาวไทย ซึ่งพระองค์ ท่านเคยเสด็จมาพำ�นักที่พระตำ�หนักดอยตุง จังหวัดเชียงรายจึงจัดพิธีถวายพาน พุ่มสักการะที่ไร่แม่ฟ้าหลวงในช่วงเช้า และพิธีทำ�บุญอุทิศถวายแด่องค์สมเด็จย่า ในช่วงบ่ายที่พระตำ�หนักดอยตุงข้าราชการ องค์กรทั้งภาครัฐและเอกชน รวมทั้ง ประชาชน เข้าร่วมพิธีอย่างเนื่องแน่น เพื่อรำ�ลึกถึงพระมหากรุณาธิคุณที่พระองค์ มีต่อประชาชนชาวเชียงราย ๑๑


• ทำ�บุญปอย - ปอยหลวง มีการทำ�บุญฉลองอย่างใหญ่โต เช่น ฉลองโบสถ์ วิหาร มักจะทำ�กันในระหว่างเดือนกุมภาพันธ์ - พฤษภาคม ซึ่งเป็นระยะเวลาหลังจากเก็บเกี่ยวข้าวแล้ว - ปอยน้อย หรือปอยบวชลูกแก้ว เป็นประเพณีบวชพระหรือบวชเณร ก่อนทำ�บุญ ปอยน้อยเจ้าภาพต้องปรึกษาญาติพี่น้องก่อนว่าผู้ใดจะรับเอาอะไร ในอัฐบริขารโดยการบอกบุญด้วยปาก - ปอยข้าวสังข์ คือ การทำ�บุญอุทิศส่วนกุศลให้แก่ผู้ที่ตายเนื่องจากการคลอด บุตรการทำ�บุญปอย ข้าวสังข์จะต้องนิมนต์พระมาสวดและเทศน์ที่บ้าน เครื่อง ไทยทานที่ นิ ย มถวายเป็ น บ้ า นเล็ ก ๆ หรื อ เรื อ สำ�เภา มี ข้ า วของต่ า งๆ เช่ น เสื้อผ้า หม้อถังน้ำ� กระจก หวี ฯลฯ http://pantip.com/topic/30133576


วัฒนธรรมการรับประทานอาหาร ในการจัดขันโตก นอกจากจะใช้ขันโตกเป็นภาชนะ สำ�หรับไว้รับประทานกันตามปกติในชีวิตประจำ�วันแล้ว ยังนิยมใช้รับแขกอีกด้วย และกลายมาเป็นประเพณีนิยม ในการเลี้ยงขันโตกในปัจจุบัน ซึ่งอาจารย์ไกรศรีนิมมาน เหมินท์ คหบดีที่ได้รับการยกย่องเป็นผู้มีผลงานดีเด่น ทางวัฒนธรรมของภาคเหนือ โดยการจัดอาหารแบบ ขั น โตก มาเลี้ ย งรั บ รองแขกในตอนเย็ น โดยเริ่ ม จั ด เมื่อ พ.ศ. ๒๔๔๙ เพื่อเลี้ยงส่ง สัญญา ธรรมศักดิ์ หัวหน้าผู้พิพากษาภาค ๕ ในสมัยนั้น ณ บ้านพักของ อาจารย์ไกรศรี ที่ถนนฟ้าฮ่าม จังหวัดเชียงใหม่ นับแต่นั้นเป็นต้นมา งานเลี้ยงขันโตกดินเนอร์ จึงกลายมาเป็นประเพณีนิยมแพร่หลาย มาจนปัจจุบัน

การรับประทานอาหารมักจะให้พ่อแม่ หรือญาติผู้ใหญ่ที่อาวุโสที่สุด รับประทานเป็นคนแรก จากนั้น ลูกๆ หลาน ๆ จึงจะลงมือรับประทานต่อ ซึ่งเป็นประเพณีมาแต่โบราณ

๑๓


อาหารที่เป็นสำ�รับสำ�หรับการจัดขันโตก ทิ่นิยมกัน เช่น ลาบ ไส้อั่ว แคบหมู แกงฮังเล น้ำ�พริกหนุ่ม น้ำ�พริกอ่อง พร้อมผักจิ้ม อาหารหวาน ขนมต่าง ๆ


กับข้าวคนเมือง

๑๕

จอ

คั่ว

ตำ�

จอ การปรุ ง อาหารโดย ใช้ผัก นำ�น้ำ�ใส่หม้อตั้งไฟใส่ เกลือ กะปิ ปลาร้าเมื่อน้ำ�เดือดจึงใส่ผัก ลงไป จากนั้นเพิ่มความเปรี้ยวด้วย น้ำ�มะขามเปียกหรือมะขามสด จะไม่ นิยมน้ำ�มะนาว มะเขือเทศ มะกรูด มาทำ�การจอ อาจใส่กระดูกหมูดว้ ย ก็ได้ ผักที่มีการนำ�มาจอ เช่น ผัก กาด ผักหนาม ผักกูด ผักบุ้ง ซึ่ง บางแห่งนิยมใส่ถวั่ เน่าป่นผิงไฟ และ น้ำ�อ้อย ลงไปด้วย

คัว่ หรือขัว้ แปลว่า การผัด เป็นวิธีการปรุงอาหารที่นำ�น้ำ�มัน เพียงเล็กน้อย และใส่กระเทียมลง เจียว แล้วใส่เครื่องปรุงลงไปผัด ใช้ ไฟปานกลาง อีกแบบหนึ่งคือ คั่ว แบบไม่ใส่น้ำ�มัน เพียงใส่น้ำ�ลงไปเล็ก น้อย พอน้ำ�เดือด จึงนำ�เครือ่ งปรุง ลงผัด คลุกเคล้าจนอาหารสุก และ ปรุงรสกลิ่นในระหว่างนั้น เช่น คั่ว มะเขือถั่วฝักยาว คั่วลาบ การคั่ว เมล็ดพืช เช่น คั่วงา คั่วถั่วลิสง

ตำ � ออกเสี ย งตามชาว เชียงรายว่า ต๋ำ� มีวธิ กี ารปรุง โดย นำ�ส่วนผสมต่างๆ พร้อมเครือ่ งนำ� มาตำ� โขลก คลุกเคล้ากันในครก เช่น ตำ�ขนุน ตำ�มะขาม สิ่งที่ใช้ใน การตำ� ได้แก่ เกลือ กระเทียม หัว หอม พริกแห้งหรือพริกสด กะปิ ถั่วเน่าแผ่น ปลาร้าสุก


นึ่ง

ห่อนึ่ง ออกเสียงตามชาว เชี ย งราย คื อ ห่ อ หนึ้ ง เป็ น วิ ธี ประกอบอาหารชนิดหนึ่ง ใช้เนื้อ สัตว์ เช่น ไก่ ปลา หรือใช้หัวปลี หน่อไม้ มาคลุกเคล้ากับเครื่องปรุง ห่อด้วยใบตองแล้วนำ�ไปนึ่ง ห่อนึ่ง จะเรียกตามชนิดของอาหารทีน่ ำ�ไป นึ่ง เช่น ห่อนึ่งไก่ ห่อนึ่งปลา หน่อ นึ่งปลี ห่อนึ่งหน่อ เป็นต้น

น้ำ�พริก

น้ำ � พริ ก เป็ น อาหาร หรือเครื่องปรุงชนิดหนึ่ง มีส่วน ประกอบหลัก คือ พริก เกลือ หอม กระเทียม อาจมีสว่ นผสมอืน่ ๆ เช่น กะปิ ถัว่ เน่าแผ่น ปลาร้า มะเขือเทศ ข่า ตะไคร้ เพิ่มเข้าไป แล้วแต่น้ำ� พริกแต่ละชนิด วิธีการปรุง จะนำ� ส่วนผสมทัง้ หมดมาโขลกรวมกันใน ครก เช่น น้ำ�พริกหนุม่ น้ำ�พริกกบ น้ำ�พริกปลา

ลาบ

ลาบ วิธีการปรุงอาหาร โดยสับให้ละเอียด เพื่อนำ�ไปปรุงกับ เครือ่ งปรุงน้ำ�พริก ทีเ่ รียกว่า พริก ลาบ หรือเครื่องปรุงอื่นๆ เรียก ชื่อลาบตามชนิดของเนื้อสัตว์ เช่น ลาบไก่ ลาบหมู ลาบวัว ลาบควาย ลาบปลา นอกจากนี้ ยังเรียกตาม การปรุงด้วย ได้แก่ ลาบดิบ ซึง่ เป็น ลาบทีย่ งั ไม่ทำ�ให้สกุ อีกประเภทหนึง่ คือ ลาบคัว่ เป็นลาบทีป่ รุงสุกเสร็จ แล้ว

๑๖


ดอง

ดอง อาหารประเภทหมัก ดองของคนเชียงราย ดองไว้สำ�หรับ ใช้เป็นเครื่องปรุงรส และเป็นส่วน ผสมของอาหาร เช่น ถั่วเน่าเมอะ หรือถั่วเน่าแผ่น ใช้ในการปรุงรส แกงต่างๆ เช่น น้ำ�เงี้ยว หรือการ จอ เช่น จอผักกาด หรือสำ�หรับ ทำ�น้ำ�พริก เช่น น้ำ�พริกถัว่ เน่าเมอะ น้ำ�ถั่วเน่าแผ่น หรือสำ�หรับกับข้าว

๑๗

ฮุ่ม/อุ๊ก

อุ๊ ก เป็ น การทำ � อาหาร ประเภทเนื้อสัตว์ที่ค่อนข้างเหนียว หากใช้เนื้อไก่ จะเรียกว่า อุ๊กไก่ หากใช้ เ นื้ อ วั ว หรื อ เนื้ อ เค็ ม ตาก แห้ง จะเรียกว่า จิ๊นฮุ่มซึ่งลักษณะ ของอุก๊ จะเป็น เนือ้ จะเปือ่ ย และมีน้ำ� ขลุกขลิก ฮุ่ ม เป็ น การประกอบอา การประเภทเนื้อสัตว์ โดยหั่นเนื้อ เป็นชิ้นใหญ่ๆ ปรุงอย่างแกง แล้ว เคีย่ วด้วยไฟอ่อน ๆ ให้เนือ้ นัน้ เปือ่ ย นุ่มและเหลือน้ำ�แกงขลุกขลิก

แอ๊บ

แอ๊บ เป็นการนำ�อาหารมา คลุกเคล้ากับเครื่องปรุงก่อน ปรุง เสร็จแล้วนำ�มาห่อด้วยใบตอง นำ�ไป ปิ้ง หรือนึ่ง เช่น แอ็บปลา แอ็บกุ้ง แอ็บอี่ฮวก แอ๊บหมู แอ๊บอ่องออ (แอ๊บสมองหมู)


อ๊อก

เคี่ยว

ขนม

อ๊อก คือ การปรุงอาหาร โดยนำ�อาหารห่อใบตอง นำ�ใส่หม้อ หรือกระทะ เติมน้ำ�ลงไปเล็กน้อย หรื อ นำ � เอาอาหารพร้ อ มเครื่ อ ง ปรุงใส่ในหม้อ เติมน้ำ�เล็กน้อยยก ตั้งไฟ นิยมทำ�กับอาหารที่สุกเร็ว เช่น ไข่ ปลา มะเขือยาว เรียก ชื่ออาหารตามชนิดของส่วนผสม เช่น อ็อกปลา อ็อกไข่

เคี่ยว เป็นอาหารของชาว ล้านนา ที่ใช้วิธีเคี่ยว เช่น น้ำ�ปู เป็น วิธีการที่นำ�ปูมาโขลกให้ละเอียด คั้น เอาแต่น้ำ� แล้วนำ�ไปเคีย่ วบนไฟแรงๆ จนเหลือแต่น้ำ�ปูแห้งๆ ในหม้อแล้วจึง ลดไฟให้อ่อนลง เติมเครื่องปรุง บาง คนชอบเผ็ด ก็โขลกพริกใส่ลงไปด้วย

ขนม เป็นอาหารประเภท ของหวาน โดยปกติมักจะทำ�ขนม เมื่อมีเทศกาล โอกาสพิเศษ หรือ พิธีกรรมเท่านั้น และมักจะเป็นการ เตรียมเพื่อทำ�บุญ เช่น วันพระ วั น สำ � คั ญ ทางพุ ท ธศาสนา วั น สงกรานต์ งานประเพณี งาน ทำ�บุญ ขนมที่นิยมทำ� เช่น ขนม จ็อก ขนมเทียน ข้าวต้มหัวงอก ขนมลิ้นหมา ขนมศิลาอ่อน ขนม วง ข้าวแต๋น

๑๘


สภาพอากาศจังหวัดเชียงราย ฤดูร้อน ฤดู ร้ อ นเริ่ ม ตั้ ง แต่ เ ดื อ นมี น าคมถึ ง เดื อ น พฤษภาคม อุณหภูมติ อนกลางวันช่วงเดือนเมษายน เป็นเดือนทีร่ อ้ นทีส่ ดุ ประมาณ ๓๐ องศา แต่จะ เริ่มมีฝนตกช่วงเดือนพฤษภาคมหรือมิถุนายนช่วย บรรเทาความร้อน หากมาท่องเทีย่ วเชียงรายในช่วงฤดู ฝนไม่ควรพลาดไปเทีย่ วน้ำ�ตก ทีม่ หี ลายแห่งในเชียงราย

แนะนำ�สถานที่ท่องเที่ยวในฤดูร้อน

เนื่องจากมีอุณหภูมิที่สูง น้ำ�ตกจึงเป็นที่คลายร้อนได้ดี สำ�หรับจังหวัดเชียงราย แนะนำ�น้ำ�ตกที่มีชื่อเสียง ได้แก่ - น้ำ�ตกขุนกรณ์ จะอยู่ในตำ�บล แม่กรณ์ - น้ำ�ตกห้วยแม่ซ้าย จะอยู่ในตำ�บล แม่ยาว - น้ำ�ตกโป่งพระบาท จะอยู่ในตำ�บลบ้านดู่

ฤดูฝน

ฤดูฝนของภาคเหนือจะสัน้ กว่าฤดูฝนในภาคกลางและภาคใต้ โดยมีปริมาณฝน ตกหนักช่วงเดือนสิงหาคมและกันยายน อาจส่งผลให้มนี ำ้ �ท่วมบนถนนเส้นต่างๆ และ ทางลืน่ จึงควรตรวจสอบข้อมูลก่อนท่องเทีย่ วในท้องถิน่ เพราะบางพืน้ ทีอ่ าจจะมีนำ้ �ท่วม


ฤดูหนาว ฤดูหนาวเริม่ ช่วงปลายเดือนตุลาคม ไปจนถึงปีใหม่ อุณหภูมกิ ลางวัน เฉลีย่ ประมาณ ๒๑ องศาเซลเซียส แต่อากาศจะเย็นมากขึน้ ในตอนกลางคืน ดังนัน้ ควรเตรียมเสือ้ แขนยาวทีอ่ บอุน่ ติดตัวมาด้วยหากโปรแกรมเทีย่ วหมูบ่ า้ นบนดอยหรือ เข้าร่วมกิจกรรมการเดินป่าแบบกางเต้นท์คา้ งคืน

แนะนำ�สถานที่ท่องเที่ยวในฤดูหนาว

เนือ่ งจากมีอณ ุ หภูมทิ ต่ี ำ่ � และเชียงรายเป็นจังหวัดทีม่ อี ากาศหนาวมากในช่วงนี้ นักท่องเทีย่ วอาจอยากท้าลมหนาวด้วยการตัง้ เต้นท์ ขึน้ ดอย จึงแนะนำ� - ภูชฟ้ี า้ จะอยูใ่ นตำ�บลตับเต่า อำ�เภอเทิง - ดอยผาตัง้ จะอยูใ่ นตำ�บลตับเต่า อำ�เภอเทิง และถ้าอยากสร้างความอบอุน่ ให้แก่รา่ งกาย แนะนำ�บ่อน้ำ�ร้อน - น้ำ�พุรอ้ นโป่งพระบาท จะอยูใ่ นตำ�บลบ้านดู่ (ก่อนถึงน้ำ�ตกโป่งพระบาท) - บ่อน้ำ�ร้อนผาเสริฐ จะะอยูใ่ นตำ�บลแม่ยาว


สอนคำ�เมือง

แม่ก้าน่าฮักขนาดครับ >.,< (แม่ค้าน่ารักมากครับ)

อันนี้อะหยังเจ้าป้า (อันนี้คืออะไรคะป้า)

ซาวบาท (ยี่สิบบาท)

เอาหยังดีเจ้า ? (เอาอะไรดีคะ?)


เต้าใดเจ้า (เท่าไรคะ)

ถามได้ ลดได้เจ้า บ่าแปง (ถามได้ลดได้ค่ะ ไม่แพง)

ลดได้แหมก่อเจ้า (ลดได้อีกไหมคะ)

ผ่อก่อนได้ครับ (ดูก่อนได้ครับ)

บ่าซื้อบ่าเป๋นหยัง (ไม่ซื้อไม่เป็นไร)


มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย เลขที่ ๘๐ หมู่ที่ ๙ ถนนพหลโยธิน อำ�เภอเมือง จังหวัดเชียงราย ๕๗๑๐๐ โทร ๐ ๕๓๗๗ ๖๐๐๐ - ๕, แฟกซ์ ๐ ๕๓๗๗ ๖๐๐๑ Chiang Rai Rajabhat University All Right Reserved. power by Office of Organization Communication


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.