IF TYPE WAS HUMAN Basic Typograghy and Type choice for beginner
Introduction
หนังสือเล่มนี้เป็นเรื่องราวของตัวอักษร ที่จะทำ�ให้คุณรู้จักและเข้าใจตัวอักษรดีขึ้น โดยภายในเล่มจะมีเนื้อหาทั้งเรื่องพื้นฐาน ของตัวอักษร บุคคลิกของตัวอักษรแต่ละ แบบ รวมถึงข้อแนะนำ�และเรื่องน่ารู้ต่างๆ
Basic Typography ความรู้พื้นฐานของตัวอักษร
Classification
1
Sans Serif
Serif
ตัวพิมพ์แบบเซนส์ เซอริฟ หรือเรียก ได้ อี ก อย่ า งว่ า ตั ว อั ก ษรแบบไม่ มี เ ชิ ง ลั ก ษณะเด่ น ของตั ว อั ก ษรประเภทนี้ คือมีความหนาบางของตัวอักษรเท่ากัน ตลอดทั้งตัวอักษร ตัวอักษรประเภทนี้ แม้จะเกิดมาทีหลังตัวอักษรแบบอื่นๆแต่ ในปัจจุบันก็ถูกนำ�มาใช้อย่างแพร่หลาย มาก ถ้าเปรียบตัวอักษรประเภทนี้กับ คนแล้ว จะเป็นคนที่มีลักษณะร่วมสมัย สามารถเข้ากับทุกคนได้ ให้ความรู้สึก ที่เรียบง่าย แต่ก็มีความชัดเจน
ตัวพิมพ์แบบเซอริฟนั้นสามารถเรียกได้ อีกอย่างว่าตัวพิมพ์แบบมีเชิง ลักษณะ เด่ น ของตั ว อั ก ษรประเภทนี้ คื อ ส่ ว น ปลายของตั ว อั ก ษรนั้ น จะมี ส่ ว นที่ ยื่ น ออกมาหรือที่เรียกว่า ขา นั้นเองซึ่งนั้น ทำ�ให้ตัวอักษรนั้นมีความหนาบางของ เส้นตัวอักษรไม่เท่ากัน ถ้าจะเปรียบตัว อักษรแบบนี้เป็นคนแล้วละก็คงจะเป็นคน ที่มีความภูมิฐาน น่าเชื่อถือ มีฐานะค่อน ข้างดี เป็นคนที่มีรสนิยมดี ให้ความ รู ้ ส ึ ก ถึ ง ความคลาสสิ ก ความเก่ า แก่ ความหรูหรา และสง่างาม จึงไม่แปลก นั ก ที่ เ รามั ก จะพบตั ว อั ก ษรประเภทนี้ ปรากฎอยู่ ใ นร้ า นค้ า และผลิ ต ภั ณ ฑ์ ชั้ น นำ � ที่ ค่ อ น ข้ า ง มี ร า ค า สู ง ต่ า ง ๆ
ประเภทของตัวอักษร
Script
Black Letter
ตัวพิมพ์แบบสคริ ป เป็ น ลั ก ษณะของ ตั ว อั ก ษรเหมื อ นตั ว เขี ย นที่ เ ขี ย นด้ ว ย ลายมือภาษาอังกฤษคือมีความต่อเนื่อง ของเส้น มักมีลัก ษณะความหนาบาง ของเส้นตัวอักษรไม่เท่ากันตลอดทั้งตัว อักษร ถ้าจะเปรียบเทียบตัวอักษรแบบ นี้กับคนแล้ว ก็คงเหมือนคนที่ค่อนข้าง มีความเป็นผู้หญิงที่มีชีวิตชีวา ให้ความ รู้สึกอิสระ พริ้วไหว สบายๆ ไม่ตายตัว ความอ่อนโยน การทำ�ด้วยมือ ความสด ใหม่ และความหอมหวาน
ตัวพิมพ์แบล็คเลทเทอร์เป็นตัวอักษร ที่มีลักษณะเหมือนเวลาเราคัดลายมือ หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่าตัวอาลักษณ์ นั้นเอง ลักษณะเด่นของตัวอักษรแบบ นี้คือจะมีเส้นหนาบางไม่เท่ากัน มีราย ละเอียดภายในตัวอักษรค่อนข้างเยอะ ถ้าให้เปรียบตัวอักษรประเภทนี้เป็นคน แล้วนั้นคงเป็นคนที่มีบุคคลิกเฉพาะตัว มากๆ เป็นคนที่ให้ความรู้สึกเข้าถึงยาก มีความเป็นตัวของตัวเองสูง ค่อนข้าง มืดมน ลึกลับ เรามักพบว่าตัวอักษร ชนิดนี้ถูกนำ�ไปใช้ในวงดนตรีแนวร็อค หรือลายสัก เป็นต้น และบางครั้งเรา ตั ว อั ก ษรประเภทนี้ ก็ ใ ห้ ค วามรู้ สึ ก ถึ ง ความยิ่งใหญ่ ความศักดิ์สิทธิ์ เพราะ ในสมัยก่อนนั้นตัวอักษรแบบนี้จะปราก ฎอยู่ตามสถานที่ทางศาสนา เช่น โบสถ์ หนังสือทางศาสนา และรวมถึงตราของ ราชวงศ์ในสมัยโบราณ เป็นต้น 2
Classification of Serif
Aa Aa
3
บางครั้งถูกเรียกว่าตัวพิมพ์แบบ บาโรค จุดเด่นของตัวพิมพ์ชนิดนี้ คือส่วนที่เป็นฐานนั้นมีความหนา บางแตกต่างกันมากว่าตัวพิมพ์แบบ old style
Tranditional
Old style
จุดเด่นของตัวพิมพ์ชนิดนี้คือส่วนที่ เป็นฐานนั้นอยู่ที่ส่วนที่เป็นเส้นแทยง มุมของตัวอักษร โดยส่วนที่บางที่สุด จะเป็นมุมของตัวอักษร ไม่ใช่ส่วน บนหรือล่างเหมือนตัวอักษรเซอริฟ แบบอื่นๆ
ประเภทของตัวอักษรแบบมีเชิง
Aa Aa จุดเด่นของตัวพิมพ์ชนิดนี้คือส่วน ที่เป็นแนวตั้งของตัวอักษรมักเป็น เส้นตรงและหนา โดยส่วนที่เป็น ฐานหรือติ่งจะบางมาก และมีความ หนาบางไม่เท่ากันตลอดทั้งตัว อักษร
Modern
Slab Serif
บางครั้งถูกเรียกว่า ตัวอียิปเตียน หรือตัวแอนทิคส์ จุดเด่นของตัว พิมพ์ชนิดนี้คือส่วนที่เป็นฐานนั้นมี ลักษณะเป็นสี่เหลี่ยม ส่วนใหญ่มัก มีความหนาบางของเส้นตัวอักษร ไม่เท่ากัน
4
Weight of Type
Condence Light Light Condence Italic Regular Medium 5
ลักษณะของตัวอักษร
Medium Italic Bold Bold Italic Extra Bold Super Extended 6
Sizing
7
ขนาดของตัวอักษร
ถ้าเราเปรียบเทียบขนาดของตัวอักษรเป็น ความดังของเสียงที่เราเปล่งออกมาแล้วและ ก็ ตัวอักษรที่มีขนาดเล็กก็คงเปรียบได้กับ เสียงที่เบา เสียงกระซิบ หรือเสียงที่ออกมา จากคนที่มีลักษณะสุภาพ ส่วนตัวอักษรที่มี ขนาดใหญ่ก็คงเปรียบได้กับเสียงที่ดังเสียง ตะโกนหรือ เป็นเสียงที่ออกมาจากคนที่ก้าว ร้าวก็เป็นได้ แต่ทั้งนี้ทั้งนั้นเสียงที่ว่านั้นจะ ดังเท่าไหนก็ขึ้นอยู่กับสถานที่ๆเราส่งเสียง อยู ่ ด ้ ว ย เช่ น การที ่ เ ราส่ ง เสี ย งในพื ้ น ที ่ เล็กๆ ก็คงเหมือนกับการที่เราใช้ตัวอักษร ใหญ่ๆบนหนากระดาษ แต่ตัวอักษรขนาด เดี ย วกั น นี้ ก็ อ าจจะให้ เ สี ย งที่ เ บาได้ เ มื่ อ มั น อยู่ บ นป้ า ยโฆษณาขนาดใหญ่ นั้ น เอง ดั ง นั้นก่อนที่เราจะตัดสินใจเลือกใช้ขนาด ของตัวอักษรเท่าไรในครั้งต่อไปนั้น ลองดู ก่อนว่าสิ่งที่เราต้องการจะพูดหรือ สื่อสาร นั้นเหมาะกับความดังเท่าไหนและน้ำ�เสียงที่ เราต้ อ งการจะพู ด นั้ น เป็ น น้ำ � เสี ย งแบบใด
16 พอยด์ = 1 ไพก้า 6 ไพก้า = 1 นิ้ว (2.5 ซม.) 72 พอยด์ = 1 นิ้ว
8
Congested Congested C om gos t a
C o m f o s t a
C o m f o r t C o m f o r
ความห่างของตัวอักษรนั้น ส่งผล ต่อความรู้สึกของผู้อ่าน ยิ่งระยะห่าง มากขึ้นเท่าใด ก็ยิ่งรู้สึกสบายและโล่ง ขึ้น หรืออาจหมายถึงการค่อยๆพูด
d
a d l e
t a d l e t a b l e
Type Anatomy
Ascender Line Cap height
1
X-height
Baseline
2
3
4
5
8
9
10 11
12
1. 2. 3. 4. 5.
Apex Serif Bowl Finial Counter
6. Descender 7. Ascender 8. Bar 9. Open-Counter 10. Stem
11. 12. 13. 14. 15.
Link Loop Ear Shoudler Tail
ส่วนต่างๆของตัวอักษร
7
6
13
14
X-height
Baseline 15
A a UPPERCASE
Lowercase
Descender Line
8
!
Number
Punctuation
CHOOSE THE RIGHT TYPE ON THE RIGHT JOB
จริ งๆ แล้ ว ในการที ่ เ ราเลื อ กใช้ ต ั ว อั ก ษรผิ ด กั บ สิ่ ง ที่ ต้ อ งการบอกนั้ น ไม่ใช่เรื่องผิดซะทีเดียว เพราะบาง ครั้ ง สิ่ ง ที่ ดู ขั ด แย้ ง กั น นั้ น เมื่ อ มาอยู่ ด้วยก็อาจจะทำ�ให้เกิดสิ่งใหม่ๆ ก็ไม่ เคยมี ม าก่ อ น แต่ ใ นกรณี ข องการ เลื อ กใช้ ตั ว อั ก ษรที่ ไ ม่ เ หมาะกั บ งาน นั้น ก็เหมือนการเลือกคนที่จะมาพูด แทนสิ่งที่คุณต้องการสื่อสารผิดคน นั้นเอง และการเลือกผิดคนนั้นก็อาจ จะทำ�ให้สิ่งที่คุณพูดนั้นส่งไปไม่ถึงกับ กลุ่มเป้าหมายที่เราต้องการพูดด้วย
What font for this sign that you will stop more?
ถ้าเราเปรียบตัวอักษรเป็นคนนั้น การเลือก ตัวอักษรก็คงเหมือนกับการเลือกคน ดังนั้น ก่อนเลือกเราควรคำ�นึงว่าสิ่งที่เราจะพูดนั้น ให้คนแบบไหนพู ด แล้ ว จึ ง เหมาะสม น่ า ฟั ง และน่าเชื่อถือ เพราะการที่เราเลือกคนที่ไม่ เหมาะมาพูดนั้น ก็อาจจะทำ�ให้สิ่งที่เรากำ�ลัง จะบอกนั้นอาจดูขาดความหนักแน่นก็เป็นได้
STOP
STOP
Choice of Type บุคคลิกของตัวอักษร
If you want to be
Elegant
Garamond
( 1530 )
Elegant Royal Luxury Timeless Classic Classification
San serif
Function
Display / Headline
Serif
Script Bodytext
King Garamond
Trajan
( 1989 )
Elegent MOVIE TIMELESS
Classification
San serif
Function
Display / Headline
Serif
Script Bodytext
director trajan
Bickham Script
Elegant Craft Casual Movement
Classification
San serif
Function
Display / Headline
Serif
( 1997 )
Script Bodytext
Ballet Bickham Script
If you want to be
Formal
Din
( 1926 )
Formal Neutural Heavy
Classification
San serif
Function
Display / Headline
Serif
Script Bodytext
Times
( 1931 )
Formal Classic Timeless Creditable Classification
San serif
Function
Display / Headline
Serif
Script Bodytext
Century Schoolbook
( 1917 )
Formal Education Knowledge Modern Classification
San serif
Function
Display / Headline
Serif
Script Bodytext
If you want to be
Fashionable
Bodoni
( 1790 )
Fashionable Classic Luxury
Classification
San serif
Function
Display / Headline
Serif
Script Bodytext
( 1799 )
Didot
Fashionable Classic Chic Luxury Classification
San serif
Function
Display / Headline
Serif
Script Bodytext
AvantGarde
( 1968 )
Fashionable Geometry Modern Futurnism Classification
San serif
Function
Display / Headline
Serif
Script Bodytext
If you want to be
Neutural
Helvetica
( 1957 )
Neutural Cool Simple Mininal Modern Classification
San serif
Function
Display / Headline
Serif
Script Bodytext
Futura
( 1927 )
Geometry Neutural Modern Simply Classification
San serif
Function
Display / Headline
Serif
Script Bodytext
Akzidenz Grotesk
( 1966 )
Neutural Cool Simple Mininal Modern Classification
San serif
Function
Display / Headline
Serif
Script Bodytext
Gill Sans
( 1930 )
Neutural Simple Formal Information Classification
San serif
Function
Display / Headline
Serif
Script Bodytext
Optima
( 1954 )
Neutural Simple Functionality
Classification
San serif
Function
Display / Headline
Serif
Script Bodytext
Century Gothic
( 1991 )
Geometry Neutural Modern
Classification
San serif
Function
Display / Headline
Serif
Script Bodytext
Frutiger
( 1977 )
Neutural Simple Information
Classification
San serif
Function
Display / Headline
Serif
Script Bodytext
If you want to be
Dijital
OCR A
( 1920 )
Technology Dijital Barcode
Classification
San serif
Function
Display / Headline
Serif
Script Bodytext
If you want to be
Friendly
Buttermilk
( 2009 )
Delicacy Movement Beautiful Casual Classification
San serif
Function
Display / Headline
Serif
Script Bodytext
Cooper Black
( 1920 )
Friendly Lovely Nice Bold
Classification
San serif
Function
Display / Headline
Serif
Script Bodytext
Comic Sans
( 1994 )
Comic Kids Handwriting Boring Classification
San serif
Function
Display / Headline
Serif
Script Bodytext
Blur
( 1992 )
Blur Out Focus
Classification
San serif
Function
Display / Headline
Serif
Script Bodytext
If you want to be
Tranditional
American typewriter
( 1974 )
Tranditional Typewriter Friendly Classification
San serif
Function
Display / Headline
Serif
Script Bodytext
Baskerville
( 1754 )
Tranditional Refinement Legibility Classification
San serif
Function
Display / Headline
Serif
Script Bodytext
Clarendon
( 1845 )
Bold Tranditional Formal Old Style Wood Classification
San serif
Function
Display / Headline
Serif
Script Bodytext
If you want to be
Bold
Rockwell
( 1934 )
Heavy Confirm Strength Honesty Bold Classification
San serif
Function
Display / Headline
Serif
Script Bodytext
Franklin Gothic
( 1903 )
Bold Formal Clean Professional Classification
San serif
Function
Display / Headline
Serif
Script Bodytext
Bank Gothic
( 1930 )
Square Robot
Classification
San serif
Function
Display / Headline
Serif
Script Bodytext
Type Gossip เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับตัวอักษร
ถ้าคุณยังมือใหม่ในการทำ�งาน กับตัวอักษรเราขอแนะนำ�ว่า ไม่ ควรที่จะใช้ตัวอักษรหลายแบบ เกินไปใน 1 งาน ทั้งนี้เนื่องจาก ที่ได้กล่าวไปในตอนแรกแล้วว่า ตั ว อั ก ษรแต่ ล ะประเภทนั้ น มี
charactor ของมันอยู่ในตัว การที่ เ ราใช้ ตั ว อั ก ษรหลาย แบบเกินไป อาจหมายถึงการที่ พูดด้วยคนหลายๆแบบ ซึ่งอาจ ทำ�ให้เกิดความสับสนหรือผิด หลาดในการสื่ อ สารก็ เ ป็ น ได้
WHITE ON BLACK ไม่ต้องแปลกใจถ้าคุณอ่านหน้านี้ แล้ว ต้องเพ่งสายตาของคุณและ ตั้งใจอ่านมากกว่าที่เคย เพราะ การใช้ตัวอักษรสีขาวบนพื้นสีดำ� เป็ น อี ก หนึ่ ง สิ่ ง ที่ เราไม่ แ นะนำ � ให้คุณลองเท่าไรนัก เพราะจะ ทำ�ให้ยากต่อการอ่านและไม่ผล เสียตอสายตาด้วย โดยเฉพาะ กั บ ขนาดตั ว อั ก ษรที่ เ ล็ ก แบบนี้
ไม่ต้องแปลกใจถ้าคุณอ่านหน้า นี้แล้ว ต้องเพ่งสายตาขอคุณ และตั้ ง ใจอ่ า นมากกว่ า ที่ เ คย เพราะการใช้ ตั ว อั ก ษรสี ข าว บนพื้นสีดำ�เป็นอีกหนึ่งสิ่งที่เรา ไม่ แ นะนำ � ให้ คุ ณ ลองเท่ า ไรนั ก เพราะจะทำ�ให้ยากต่อการอ่าน และส่ ง ผลเสี ย ต่ อ สายตาด้ ว ย แต่ก็ไม่เสมอไปขึ้นอยู่กับความ หนาบางและขนาดของตัวอักษร ที่ใช้ด้วยเช่นกัน
ตั ว อั ก ษรนั้ น ก็ เ หมื อ นกั บ คนเราที่ ไม่ได้เกิดมาจากกระบอกไม้ไผ่ ต้อง มี ค นให้ กำ � เนิ ด ขึ้ น มาไม่ ใ ช่ อ ยู่ ดี ๆ ก็งอกขึ้นมาได้ ตัวอักษรก็เช่นกัน โดยคนที่ ส ร้ า งหรื อ ประดิ ษ ฐ์ ตั ว อั ก ษรให้ เ ราใช้ กั น ในทุ ก วั น นี้ นั้ น มีชื่อเรียกอยู่ว่า Typographer หรือ นักออกแบบตัวอักษร นั้นเอง
Helvetica and Arial เนื่องจากในปัจจุบันนั้นมีตัวอักษรให้ เลือกใช้เป็นจำ�นวนมาก จึงไม่แปลก ที่จะมีตัวอักษรที่หน้าตาใกล้เคียงกัน มากอยู่หลายชุด โดยชุดที่ค่อนข้าง ถูกพูดถึงมากที่สุด ก็คือ Helvetica กับ Arial นั้นเอง โดยเหตุผลที่ตัว อักษรสองชุดนี้เหมือนกันมากนั้นก็ ไม่มีอะไรมาก เพราะเนื่องจาก Arial นั้นมีโจทย์ในการออกแบบคือทำ�ให้ เหมือน Helvetica ที่สุดนั้นเอง และ เหตุผลที่ต้องเลียนแบบ ตัวอักษร ชุดนี้นั้นก็เพราะว่า Helvetica นั้น ถูกกล่าวว่าเป็นตัวอักษรชุดที่มีความ สมบู ร ณ์ ที่ สุ ด และถู ก ใช้ อ ย่ า งแพร่ หลายที่สุดชุดหนึ่งก็ว่าได้
Helvetica
Arial