หยาดเหงื่ อ จากน�้ ำ พระทั ย สู ่ พ สกนิ ก ร
สถิตในดวงใจตราบนิจนิรันดร์ น้อมศิระกราน กราบแทบพระยุคลบาท ด้วยส�ำนึกในพระมหากรุณาธิคุณ เป็นล้นพ้นอันหาที่สุดมิได้ ข้าพระพุทธเจ้า หนังสือพิมพ์สื่อมวลชน คณะผู้จดั ท�ำ ณัฐปรี ยา เพชรศร ปริ นดา ปั ตตานี ดวงกมล งามเมืองปั ก ธิดา เขียวน้ อย สุภาวดี ครุฑสิงห์ สุวพันธุ์ วงษ์ ค�ำอุด อภัสรา เการัมย์ อภิญญา พวงมณี กรกนก เกียรติสมวงศ์ ชุตกิ าญจน์ บ�ำรุง
วัชรพงษ์ อินแสง จริ ยาภรณ์ มาตรพร ศุภชัย แก้ วขอนยาง อัษฎางค์ อินแป้น ฌาณิตา ไพสาร รัตน์มณี ชิมโภคลัง วาสนา เพิ่มสมบูรณ์ สุดปรารถนา เที่ยงนา กิตติกานต์ บุญเหลี่ยม ทนงศักดิ์ เพ็งพารา พชรพร อาศรัยผล
วริ ยา กระแจ่ม สิริพร ประสานเวช จิราภรณ์ พอกพูล พรรณพิลาส เทียมลม พิมภินนั ท์ เคี่ยนบุ้น วรางคณา พงษ์ สพัง อนุศกั ดิ์ พรมดี รัตสมา ค�ำแพง ปิ ยณัฐ แสนมานิตย์ จิรวัฒน์ บรรจง
หยาดเหงื่ อ จากน�้ ำ พระทั ย สู ่ พ สกนิ ก ร
UN จัดตั้งให้ วันที่ 5 ธันวาคม ของทุกปีเป็น “วันดินโลก” Text : ธิดา เขียวน้ อย , กรกนก เกียรติสมวงศ์ , จริ ยาภรณ์ มาตรพร
จากการประชุมขององค์การอาหารและการเกษตรแห่ง สหประชาชาติ (FAO) ครัง้ ที่ 144 ระหว่างวันที่ 11-15 มิถนุ ายน พ.ศ.2555 ณ ส�ำนักงานใหญ่องค์การอาหารและการเกษตรแห่ง สหประชาชาติ กรุงโรม ประเทศอิตาลี ทีป่ ระชุมได้ มมี ติสนับสนุน และร่วมกันผลักดันให้ มกี ารจัดตัง้ “วันดินโลก” (World Soil Day) ตรงกับวันที่ 5 ธันวาคมของทุกปี ซึง่ ตรงกับวันคล้ ายวันพระราช สมภพของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ในหลวงรัชกาลที่ 9 สืบเนื่องการทรงปฏิบตั ิพระราชกรณียกิจ เกี่ยวกับการพัฒนาที่ดินมาอย่างต่อเนื่องและยาวนาน ปรากฏ ผลส� ำ เร็ จ เป็ นที่ ป ระจั ก ษ์ อ ย่ า งกว้ างขวางทั ง้ ในประเทศ และนานาชาติ พระบาทสมเด็จพระเจ้ าอยูห่ วั ได้ทรงมีพระราชด�ำริตา่ ง ๆ ให้ กบั ปวงชนชาวไทย เพือ่ ยกระดับชีวติ ทังในระดั ้ บปัจเจกบุคคล ระดับชุมชน ระดับองค์กร ระดับรัฐ รอดพ้ นจากวิกฤตให้ ดำ� เนิน อยู่ในสังคมอย่างสมดุล ซึง่ เป็ นบทบาทส�ำคัญอย่างยิ่งต่อการ พัฒนาประเทศอย่างมัน่ คง และ ยัง่ ยืน โดยเฉพาะการพัฒนา ชนบทอย่างครบวงจร หรื อที่เรี ยกว่า “บริ การรวมที่จุดเดียว” (ONE STOP SERVICES) เพื่อให้ ประชาชนผู้ยากไร้ ทวั่ ทุก ภูมิภาคของประเทศ สามารถพึง่ พาตนเองได้ ในทุกพื ้นที่ โดยจะ เน้ นการพัฒนาด้ านแหล่งน� ้ำการเกษตร สิง่ แวดล้ อม และการส่ง เสริ มอาชีพ ซึง่ พระราชด�ำริ สำ� คัญเกี่ยวกับดินหลายโครงการได้ ทรงด� ำ เนิ น การมาตัง้ แต่ ปี พ.ศ.2493 จวบจนถึ ง ปั จ จุ บัน ต่อมาในปี พ.ศ.2535 สหประชาชาติได้
เน้ นการพัฒนาแบบสามมิติ โดยได้ ก�ำหนดให้ เป็ นแผนแม่บทใน ระดับโลกในชื่อของแผนปฏิบตั ิการ 21 (AGENDA 21) ได้ แก่ มิตทิ างสังคม มิตทิ างเศรษฐกิจ และมิตทิ างสิง่ แวดล้ อม เพื่อให้ องค์กรภาครัฐ และภาคเอกชน สามารถสนองพระราชดําริ ได้ อย่างมีประสิทธิภาพและสัมฤทธิ์ผลต่อประชาชน โครงการในพระราชด�ำริ เกี่ยวกับดินนันมี ้ มากมาย ที่ทงั ้ โลกรู้จกั กันเป็ นอย่างดี เช่น โครงการแกล้ งดิน เป็ นการแก้ ปัญหา ดินเปรี ย้ ว ดินด้ าน ดินแข็ง ฯลฯ ซึง่ น� ้ำและอากาศผ่านเข้ าได้ ยาก โดยท�ำให้ ดนิ แห้ งและเปี ยกสลับกันไป เพื่อให้ ดนิ ปล่อยแร่ธาตุที่ เป็ นกรดออกมา กลายเป็ นดินที่มีกรดจัด เปรี ย้ วจัด จากนันจึ ้ ง ใช้ น� ้ำชะล้ างดินควบคูไ่ ปกับปูน ซึง่ ทรงเรียกว่า “ระบบซักผ้ า” เมือ่ ใช้ น� ้ำจืด ชะล้ างกรดในดินไปเรื่ อย ๆ ความเป็ นกรดจะค่อย ๆ จางลง จนสามารถใช้ เพาะปลูก ท�ำการเกษตรได้ ประชาชนส่วนใหญ่ในประเทศไทยยังท�ำเกษตรกรรม เลี ้ยงชีพโดยอาศัยความอุดมสมบูรณ์ ดินจึงเป็ นรากฐานของการ พัฒนาประเทศอย่างแท้ จริ ง ด้ วยพระปรี ชาญาณอันยิ่งใหญ่ พระบาทสมเด็จพระเจ้ าอยู่หวั ทรงตระหนักถึงความเสื่อมโทรม ของดิน บางแห่งก็ไม่มีดินเลย ซึ่งทรงเรี ยกดินเหล่านี ้ว่า “ดิน แร้ นแค้ น” นอกจากนี ้ความเสือ่ มโทรมของดินยังเกิดจากการรุก หน้ าดินของประชาชน จึงพระราชทานแนวพระราชด�ำริ ในการ ป้องกัน แก้ ไข และพัฒนาทรัพยากรดินเป็ นอเนกประการ ซึง่ ล้ วน แต่น�ำประโยชน์สขุ มาสูเ่ กษตรกรทัว่ ประเทศ
หยาดเหงื่ อ จากน�้ ำ พระทั ย สู ่ พ สกนิ ก ร
ค�ำสอนพ่อค�้ำชูลูกแสนสุขล้น Text : สิริพร ประสานเวช , วาสนา เพิ่มสมบูรณ์ , อภิญญา พวงมณี , สุภาวดี ครุฑสิงห์
แสงอาทิตย์โผล่พ้นขอบฟ้า หมอกหนาเริ่ มบางลงเมื่อ แสงอาทิตย์ท�ำหน้ าที่อย่างแข็งขัน สายลมยามเช้ าผสานละออง ฝนบางเบาในช่วงต้ นเดือนธันวาคมของทุกปี บ้ านไม้ ทรงจัตรุ ัส กลางสระใหญ่ ขนาด 1 ไร่ คือที่พักอาศัยของ นายสมพงษ์ ศรี ตะเกียม อายุ 64 ปี หรื อที่ใคร ๆ มักเรี ยกว่า คุณพ่อเจ้ ย ชาย สูงวัย ร่างเล็ก ผิวสีแทน ประกอบอาชีพเกษตรกร ในเขตพื ้นที่ อ.กันทรวิชยั จ.มหาสารคาม เบื ้องล่างคือเหล่าปลาดุก ปลาช่อน เหล่าเสียงเป็ ดน่าง โห่ร้องขณะที่พ่อเจ้ ยเริ่ มให้ อาหาร พร้ อมกับเปิ ดฉากเล่าถึงจุด เริ่ มต้ นของการเป็ นเกษตรกร “หลังจากเกษี ยณอายุราชการในวัย 60 ปี เริ่ มท�ำการ เกษตรผสมผสานอย่างจริ งจัง บนพื ้นที่ 10 ไร่ แบ่งเป็ นปลูกข้ าว 50% ขุดบ่อเลี ้ยงปลา 20% เลี ้ยงหมู ไก่ เป็ ด 20% ที่พกั อาศัย 10%” ชายสูงวัยเล่าด้ วยความตังใจ ้ ก่อนจะเดินข้ ามสะพานไม้ แบบเรี ยบง่ายเพื่อข้ ามไปยังบ้ านขนาดกะทัดรัดกลางสระ มุง ด้ วยหลัง คาสัง กะสี เบื อ้ งล่ า งคื อ เหล่ า ปลาดุ ก ปลาช่ อ น กิจวัตรประจ�ำวันของพ่อเจ้ ย มักตืน่ ในเช้ ามืดของทุกวัน เพื่ออาบน� ้ำและให้ อาหารหมู ตามด้ วยการปั๊ มน� ้ำจากสระใช้ รด
พืชผักสวนครัว อย่างเช่น ผักกาด ข่า ตะใคร้ รวมถึงปลูกไผ่ไว้ กินหน่อไม้ ในช่วงฤดูกาล นอกจากนี ้ยังใช้ ระบบไฟฟ้าจากแผงโซ ล่าเซลล์ เพื่อประหยัดพลังงาน ประจุ(ชาร์ จ)เก็บเข้ าแบตเตอร์ รี่ ก่อนน�ำไปใช้ งาน ซึง่ มีการใช้ ไฟฟ้า 220 โวลต์ น�ำไปผ่านอินเวอร์ เตอร์ หรื อเครื่ องแปลงไฟก่อนจึงจะใช้ กับเครื่ องใช้ ไฟฟ้าบ้ าน ได้ เช่น แสงสว่าง พัดลม ทีวี ในแต่ละอาทิตย์จะหว่านแหน�ำปลาไปขายในตลาดเพือ่ เป็ นค่าอาหารหมู และหมุนเวียนใช้ จา่ ยเป็ นค่ากับข้ าว แต่สว่ น ใหญ่ตนมักไม่ได้ ใช้ จ่าย และเมื่อหมูโตพอขายได้ จะมีพ่อค้ า คนกลางจากขอนแก่นมารับหมูไปขาย “การได้ ใช้ ชีวิตแบบนี ้ คือสิง่ ที่พอ่ ตังใจมาตั ้ งแต่ ้ แรก ค�ำ สอนและหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของในหลวงรัชกาลที่ 9 ค� ้ำชูให้ มีหลักในการใช้ ชีวิตอย่างพอเพียง” แม้ ชีวิตแบบเศรษฐกิจพอเพียงอาจจะยากในการด�ำรง ชีวติ กับคนไทย ยิง่ ยุคสมัยปัจจุบนั เทคโนโลยคือสิง่ อ�ำนวยความ สะดวกมากมาย แต่หากมองภาพคุณลุงในวันนี ้การใช้ ชีวติ แบบ พอเพียง และเดินตามทางค�ำสอนพ่อหลวง อันก่อให้ เกิดความ สุข อิ่มทังใจและกายอย่ ้ างแท้ จริ ง
หยาดเหงื่ อ จากน�้ ำ พระทั ย สู ่ พ สกนิ ก ร
เกษตรสองฝั ง ่ ลุ่ม“น�้ำชี”วิถีพอเพียง
Text : ชุตกิ าญจน์ บ�ำรุง , วัชรพงษ์ อินแสง , ดวงกมล งามเมืองปั ก
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มหิตลาธิเบศรรามาธิบดี จักรี นฤบดินทรสยามินทราธิราช บรม นาถบพิตร ( ในหลวง ร.9 ) ทรงมีพระราชกรณียกิจในหลายด้ าน อีกทังโครงการอั ้ นเนือ่ งมาจากพระราชด�ำริทพี่ ระองค์ทรงปูทางให้ ปวงชนชาวไทยใช้ ชีวิตอย่างพอเพียง พอมี พอกิน ประหนึ่ง โครงการพัฒนาการเกษตรสองฝั่ งแม่น� ้ำชี อันเนื่องมาจากพระ ราชด�ำริ จ.ขอนแก่น ประกอบด้ วยพื ้นทีเ่ ป้าหมายด�ำเนินการใน 8 อ� ำ เภอ ของจ.ขอนแก่ น ตลอดสองฝั่ งแม่ น� ำ้ ชี ดั ง นี ้ 1. โครงการพัฒนาพื ้นที่บริ เวณบึงน� ้ำต้ อน ต�ำบลเมืองเก่า อ�ำเภอเมือง 2. โครงการพัฒนาพื ้นที่บริ เวณหนองกุดโดก ต�ำบลบ้ านโต้ น อ�ำเภอพระยืน 3. โครงการพัฒนาพื ้นที่บริ เวณห้ วยวังขุมปูน ต�ำบลบ้ านฝาง อ�ำเภอบ้ านฝาง 4. โครงการพัฒนาพื ้นที่บริ เวณอ่างเก็บน� ้ำห้ วยยาง ต�ำบลนาข่า อ�ำเภอมัญจาคีรี 5. โครงการพัฒนาพื ้นที่บริ เวณอ่างเก็บน� ้ำหนองกองแก้ ว ต�ำบลศรี บญ ุ เรื อง - ชนบท อ�ำเภอชนบท 6. โครงการพัฒนาพื ้นที่บริ เวณแก่งละว้ า 1 ต�ำบลเมืองเพีย อ�ำเภอบ้ านไผ่ 7 โครงการพัฒนาพื ้นที่บริ เวณแก่งละว้ า 2 ต�ำบลโคกส�ำราญ อ�ำเภอบ้ านแฮด 8. โครงการพัฒนาพื ้นที่บริ เวณบึงละหานนา ต�ำบลละหานนา อ�ำเภอแวงน้ อย
ทังนี ้ ้โครงการพัฒนาการเกษตรสองฝั่งแม่น� ้ำชี อันเนื่อง มาจากพระราชด�ำริ จังหวัดขอนแก่น มีวตั ถุประสงค์เพื่อ 1. บรรเทาปั ญหาการปลูกข้ าว ที่มกั ประสบกับน� ้ำท่วมในฤดูน� ้ำ หลาก 2. เพื่อขยายข้ าวพันธุ์ดีของกรมการข้ าวไปสูเ่ กษตรกร 3. เพือ่ ขยายข้ าวพันธุ์ดขี องกรมวิชาการเกษตรสูเ่ กษตรกร ตลอด จนแนะน�ำ 4. เพือ่ พัฒนาความเป็ นอยูแ่ ละคุณภาพชีวติ ของชุมชนเกษตรกร ในพื ้นที่ ตามแนวพระราชด�ำริ เช่นเดียวกับนางมณีรัตน์ ค�ำหนูไทย ชาวบ้ านหมู่ที่ 1 ต. บ้ านโต้ น อ. พระยืน จ. ขอนแก่น หนึง่ ในเกษตรกรตามแนวทาง ระบบเศรษฐกิจพอเพียง เล่าว่า โครงการมีมานานกว่า10 ปี แล้ ว นับตังแต่ ้ มีโครงการเกษตรทฤษฎีใหม่ ชีวติ มีความเป็ นอยูท่ ี่ดขี ึ ้น ในโครงการมีการปลูกพืชผัก นานาชนิดโดยมีก�ำนันจัดสรรพื ้นที่ ใช้ สอยให้ ท�ำให้ มรี ายได้ มากขึ ้นจากการน�ำผักทีป่ ลูกไปขาย เพือ่ เสริ มสร้ างรายได้ ให้ กบั คนในชุมชน ส่วนเรื่ องของการเลี ้ยงสัตว์ บ้ านของตนยังไม่มี แต่เพือ่ นบ้ านในหมู1่ มีการเลี ้ยงสัตว์บกและ เพาะเลี ้ยงพันธุ์ปลาไว้ ขาย เป็ นการหารายได้ เสริมครบวงจรตาม แนวพระราชด�ำริของพระองค์ ในหลวงรัชกาลที่ 9 ทรงพลิกผืนดินสองฝากฝั่งลุม่ น� ้ำชี ไว้ ให้ เลี ้ยงปากท้ องของชาวบ้ าน จ.ขอนแก่น ทางหนึง่ ที่พวกเรา ปวงชนชาวไทยจะตอบแทนพระกรุณาธิคณ ุ ของในหลวง ร.9 ได้ คือ เดินตามรอยวิถีเศรษฐกิจพอเพียง พออยู่ พอมี พอกิน สืบไป
หยาดเหงื่ อ จากน�้ ำ พระทั ย สู ่ พ สกนิ ก ร
ดั่งน�้ำทิพย์ชโลมใจ พระบาทสมเด็จพระเจ้ าอยูห่ วั ทรงพระกรุณาโปรดเกล้ าฯ รั บโครงการขุดลอกกุดเดือยไก่พร้ อมอาคารประกอบไว้ เป็ น โครงการอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ ตามหนังสือส�ำนักราช เลขาธิการทีร่ ล 0005.3/20245 ลงวันที่ 23 ธันวาคม พ.ศ.2553 โครงการขุดลอกกุดเดือยไก่ถือได้ ว่าเป็ นโครงการแรก ของ จ.มหาสารคาม ลักษณะจะเป็ นการขุดลอกลึกจากดินเดิม 3 เมตร ท�ำคันดินรอบหนอง ขนาดกว้ าง 4 เมตร ยาว 1,954 เมตร พร้ อมก่อสร้ างอาคารบังคับน� ้ำจ�ำนวน 4 บาน และติดตังเครื ้ ่ อง กว้ านพร้ อมอุปกรณ์ จ�ำนวน 4 ชุด ควบคุมด้ วยไฟฟ้า ก่อสร้ าง แล้ วเสร็จในเดือนเมษายน 2556 ท�ำให้ ราษฎรจ�ำนวน 3 หมูบ่ ้ าน ของต�ำบลมะค่า ได้ แก่ บ้ านเปลือยน� ้ำ บ้ านป่ ายางห่าง และบ้ าน โนนตาล จ�ำนวนรวมประมาณ 550 ครัวเรื อน ประชากร 2,740 คน มีแหล่งน� ้ำส�ำหรับเพาะปลูก พื ้นที่ประมาณ 1,000 ไร่ และมี แหล่งน� ้ำส�ำรองส�ำหรับอุปโภคในช่วงขาดแคลน โดยการด�ำเนิน การขุดลอกแหล่งน� ้ำในระยะที่ 1 จะสามารถกักเก็บน� ้ำได้ กว่า 6 แสนลู ก บาศก์ เ มตร หากขยายโครงการไปสู่ ร ะยะที่ 2 จะสามารถกักเก็บน� ้ำได้ กว่า 1 ล้ านลูกบาศก์เมตร พระบาทสมเด็จพระเจ้ าอยู่หวั พระองค์ทรงมีพระราช หฤทัยที่ เต็มเปี่ ยมด้ วยพระมหากรุ ณาธิ คุณต่อพสกนิ กรชาว ต.มะค่า อ.กันทรวิชยั จ.มหาสารคาม ที่ประสบปั ญหาวิกฤตน� ้ำ ที่ไม่สามารถน�ำมาใช้ ได้ เนื่องจากมีกลิ่นเหม็น ทังนี ้ ้เป็ นน� ้ำที่ใช้ ส�ำหรับอุปโภค และใช้ ในการประกอบการเกษตร พระองค์ทรง โปรดเกล้ า ฯรั บ โครงการขุด ลอกกุด เดื อ ยไก่ เ ป็ น โครงการใน พระราชด�ำริ เพื่อช่วยบรรเทาความทุกข์ยากของพสกนิกรใน พื ้นที่ประสบภัย ซึง่ ถือเป็ นพระมหากรุณาธิคณ ุ อันหาที่สดุ มิได้ อีกทังชี ้ วิตความเป็ นอยูข่ องพสกนิกรชาว ต.มะค่า อ.กันทรวิชยั จ.มหาสารคาม อันสืบเนื่องมาจากโครงการขุดลอกเดือยไก่ มีความเป็ นอยูท่ ี่ดีขึ ้น มีรายได้ จากการเก็บเกี่ยวผลผลิตทางการ
Text : พชรพร อาศรัยผล , รัตน์มณี ชิมโภคลัง , พิมภินนั ท์ เคี่ยนบุ้น
การเกษตร และมีน� ้ำใช้ ในการประกอบการเกษตรตลอดทังปี ้ ทังนี ้ ้โครงการในพระราชด�ำริทเี่ กีย่ วกับน� ้ำยังอีกมากมาย เช่น โครงการแก้ มลิง โครงการฝนหลวง เขื่อนป่ าสักชลสิทธิ์ โครงการพัฒนาพื ้นทีล่ มุ่ น� ้ำทอน การบ�ำบัดน� ้ำเสียด้ วยผักตบชวา และโครงการต่าง ๆ เป็ นต้ น แต่เพื่อให้ สอดคล้ องและเหมาะสม กับพื ้นทีร่ าบลุม่ ดังเช่นพื ้นที่ ต.มะค่า อ.กันทรวิชยั จ.มหาสารคาม ที่ ประสบปั ญหา โครงการขุดลอกเดือยไก่จึงเป็ นโครงการที่ เหมาะสมส�ำหรั บการแก้ ปัญหามากที่ สุด เนื่ องจากเป็ นพื น้ ที่ ร าบลุ่ ม เหมาะแก่ ก ารปลู ก พื ช ล้ มลุ ก ท� ำ นา เพราะว่ า ช่วงฤดูฝนน� ้ำหลากจะท�ำให้ น� ้ำท่วมพื ้นที่ 2 ฝั่ง ด้ ว ยพระมหากรุ ณ าธิ คุณ ที่ มี ต่ อ พสกนิ ก ร ต.มะค่ า อ.กันทรวิชยั จ.มหาสารคาม ได้ น้อมน�ำแนวทางตามพระบรม ราโชวาท พระราชด�ำรัส และพระราชด�ำริ ที่ได้ เคยพระราชทาน ไว้ เป็ นเครื่ องยึดเหนี่ยวในการด�ำเนินชีวิต ประกอบอาชีพด้ วย ความซื่อสัตย์สจุ ริ ต และตังมั ้ น่ ในการท�ำความดีถวายเป็ นพระ ราชกุศลแด่พระบาทสมเด็จพระปรมิทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
กุดเดือยไก่ จ.มหาสารคาม
หยาดเหงื่ อ จากน�้ ำ พระทั ย สู ่ พ สกนิ ก ร
ผืนน�้ำของพ่อ
Text : พรรณพิลาส เทียมลม , วรางคณา พงษ์ สพัง , จิราภรณ์ พอกพูล , อภัสรา เการัมย์
“ ไม่มีผืนดินใดที่ไปไม่ถึง ” พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลที่ 9 ทรงท�ำให้ค�ำค�ำนี้ดู ชัดเจนมากขึ้น ไม่ว่าพื้นที่จะทุรกันดารเข้าถึงยากสักเพียงไหน พระองค์ก็ทรงอุตสาหะเสด็จพระราชด�ำเนินเยี่ยมราษฏร ไทยทัว่ ทุกภูมภิ าค และแม้พนื้ ทีไ่ หนทีพ ่ ระองค์ไม่ได้เสด็จไป หากพืน้ ทีน่ นั้ มีปญ ั หาและพระองค์ทรงทราบก็จะมีพระราชกฤษฏี กาลงมาเพื่อบ�ำบัดทุกข์ บ�ำรุงสุขให้กับราษฏรของท่าน ภาคอีสานประสบปั ญหาความแห้ งแล้ งเกือบทุกพื ้นที่ ไปด้ วยความสุข หากขาดน� ้ำเหมือนขาดลมหายใจ เพราะนอกจากน� ้ำจะเป็ นองค์ หนองน� ้ำสาธารณประโยชน์บ้านหนองปลิง ตังอยู ้ ด่ ้ าน ประกอบส�ำคัญหลักในร่างกายแล้ ว น� ้ำยังมีความส�ำคัญในการ หลังอบต.หนองปลิง รอบข้ างหนองน� ้ำแวดล้ อมไปด้ วยพืน้ ที่ ด�ำเนินชีวิตไม่ว่าจะเป็ นการอุปโภคบริ โภคหรื อการเกษตร ทุก ทางการเกษตรของชาวบ้ าน สะท้ อนให้ เห็นถึงความเป็ นอยูข่ อง อย่างล้ วนต้ องอาศัยทรัพยากรน� ้ำเป็ นองค์ประหลัก ดังปรัชญา ชาวบ้ านที่มีความอุดมสมบูรณ์หลังจากที่มีหนองน� ้ำให้ ใช้ น� ้ำคือชีวิตที่ทรงให้ ความส�ำคัญของน� ้ำว่า ประโยชน์ “...หลักส�ำคัญต้ องมีน� ้ำบริ โภค น� ้ำใช้ เพื่อการเพาะปลูก ปัจจุบนั ชุมชนแห่งนี ้ไม่หลงเหลือความแห้ งแล้ งอีกต่อไป เพราะว่าชีวิตอยู่ที่นนั่ ถ้ ามีน� ้ำคนอยู่ได้ ถ้ าไม่มีน� ้ำคนอยู่ไม่ได้ .. แล้ว เหลือเพียงแต่ความอุดมสมบูรณ์ นับเป็ นพระมหากรุณาธิคณ ุ พระราชด�ำรัสพระบาทสมเด็จพระเจ้ าอยูห่ วั วันที่ 17 มีนาคม อันล้ นพ้ นที่พระองค์ทรงมีต่อชาวบ้ านหนองปลิง สร้ างความ 2529 ณ พระต�ำหนักจิตลดารโหฐาน ซาบซึ ้งใจแก่อบต. และชาวบ้ าน ทีพ่ ระองค์ทรงเล็งเห็นปัญหาของ คุณตาชวน ชูขนอม วัย 67 ปี ได้ พดู ถึงโครงการขุดลอก ราษฎรเป็ นส�ำคัญ และคนในชุมชนแห่งนี ้คงเข้ าใจค�ำทีว่ า่ “ไม่มี แหล่งน� ้ำสาธารณประโยชน์หนองปลิงและอาคารประกอบ บ้ าน ผืนดินใดที่พระองค์ไปไม่ถึง” มากกว่าชุมชนอื่น ๆ เพราะแม้ หนองปลิง หมู6่ ต.หนองปลิง อ.เมืองมหาสารคาม จ.มหาสารคาม พระองค์ไม่ได้ เสด็จมาทอดพระเนตรเอง แต่ปัญหาของชาวบ้ านที่ เป็ นโครงการพระราชกฤษฏีกาจากพระบาทสมเด็จพระปรมินท ดูเหมือนจะเป็ นเรื่องเล็กน้ อยพระองค์กไ็ ม่ได้ เพิกเฉย รมหาภูมิพลอดุลยเดช ว่าเมื่อก่อนบริ เวณนี ้เป็ นเพียงแค่หนอง “ตาดีใจที่พระองค์สร้ างหนองน�ำ้ ให้ แต่เสียใจที่ท่าน น� ้ำสารธารณะเล็ก ๆ ไม่เพียงพอต่อความต้ องการของชาวบ้ าน สวรรคต แต่เราก็อยูเ่ ย็นเป็ นสุขได้ ทกุ วันนี ้เพราะมีหนองน� ้ำของ ในปี พ.ศ.2554 อบต.และชาวบ้ านได้ ท� ำ หนั ง สื อ พระองค์ท่าน” ตาชวนกล่าวด้ วยรอยยิ ้มพร้ อมแววตาที่ดเู ศร้ า ขอพระราชทานโครงการฯ เพือ่ ช่วยเหลือราษฎรซึง่ ประสบปัญหา รอยยิ ้มจากชาวบ้ านเป็ นสิง่ เดียวที่ยืนยันได้ วา่ พวกเขามีความ ขาดแคลนน� ้ำส�ำหรับท�ำการอุปโภคบริ โภคและการเกษตร เป็ นอยูท่ ี่ดีขึ ้นในการด�ำเนินชีวิต “ ตาย้ ายมาอยูท่ ี่นี่ 30 กว่าปี แล้ ว เมื่อก่อนแห้ งแล้ ง ท�ำ แม้ วนั นี ้พระองค์ทา่ นจะจากไปแล้ว แต่โครงการต่าง ๆ ที่ นาน� ้ำก็ไม่คอ่ ยมี แต่พอมีโครงการเข้ ามาความแห้ งแล้ งก็หายไป เกิดจากน� ้ำพระทัยของพระองค์ยงั คงด�ำเนินต่อไป ตามแนวคิดของ มีน� ้ำใช้ ตลอดปี ปี นี ้ได้ น� ้ำท�ำนา ได้ ข้าวเยอะมากกว่าทุกปี พอทุก พระองค์ทเี่ น้ นการจัดการแก้ ไขปัญหาอย่างยัง่ ยืน อย่างมันดีหมูบ่ ้ านก็ก้าวหน้ าขึ ้น” ตาชวนพูดด้ วยน� ้ำเสียงที่เต็ม
หยาดเหงื่ อ จากน�้ ำ พระทั ย สู ่ พ สกนิ ก ร
เขื อ ่ นอุ บ ลรั ต น์ พื้นที่แห่งความอุดมสมบูรณ์ Text : สุวพันธุ์ วงษ์ ค�ำอุด , กิตติกานต์ บุญเหลี่ยม , อนุศกั ดิ์ พรหมดี , รัตสมา ค�ำแพง
เขื่ อนอุ บ ลรั ตน์ จ.ขอนแก่ น สร้ างเสร็ จเมื่ อ พ.ศ.2508 เป็ นเขื่อนเอนกประสงค์แห่งที่ 2 ในประเทศไทยถัด จากเขื่อนภูมิพล เดิมทีมีชื่อว่า เขื่อนพองหนีบ เนื่องจากบริ เวณ ที่สร้ างเขื่อน มีลกั ษณะภูมิประเทศเป็ นแม่น� ้ำที่ไหลผ่านช่องเขา ทังสอง ้ ซึง่ แม่น� ้ำพองดูเหมือนถูกหนีบ จากนัน้ พระบาทสมเด็จ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชได้ ทรงพระราชทานชื่อเขื่อน ใหม่วา่ เขื่อนอุบลรัตน์ เมื่อวันที่ 14 มีนาคม พ.ศ.2509 เขือ่ นอุบลรัตน์ เป็ นเขือ่ นผลิตไฟฟ้าพลังงานน� ้ำแห่งแรก ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ตังอยู ้ ท่ ตี่ .เขือ่ นอุบลรัตน์ อ.อุบลรัตน์ จ.ขอนแก่น ปิ ดกันแม่ ้ น� ้ำพองสาขาย่อยของแม่น� ้ำชี ตัวเขือ่ นเป็ น หินถมแกมดินเหนียว ยาว 885 เมตร สูง 32 เมตร สันเขื่อนกว้ าง 6 เมตร อ่างเก็บน� ้ำมีความจุ 2,263 ล้ านลูกบาศก์เมตร ผลิต ไฟฟ้าได้ 55 ล้ านกิโลวัตต์ / ชัว่ โมง นอกจากจุดประสงค์หลักที่สร้ างขึ ้นเพื่อกักเก็บน� ้ำและ ผลิตไฟฟ้าแล้ ว เขือ่ นอุบลรัตน์ยงั เป็ นสถานทีท่ อ่ งเทีย่ วขึ ้นชือ่ แห่ง หนึง่ ในจ.ขอนแก่น ด้ วยทัศนียภาพทีส่ วยงามของภูเขาและแม่น� ้ำ ผู้คนจึงนิยมมาพักผ่อนหย่อนใจในบริเวณ หาดสันเขือ่ นโดยรอบ ที่ชื่อว่า หาดบางแสน เมื่อผู้คนหลัง่ ไหลเข้ ามาเที่ยว ท�ำให้ เศรษฐกิจในพื ้นที่ นันคั ้ บคัง่ สร้ างรายได้ เสริ มให้ ชาวบ้ าน เช่น บริ การอาหาร ที่พกั และอื่น ๆ อีกมากมาย ถือเป็ นจุดประสงค์อีกอย่างของการสร้ าง เขื่อนขึ ้นมา
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เสด็จฯไปทรงเปิ ดเขื่อนอุบลรัตน์ 14 มี.ค. 2509
นายกฤษฎา กุลขัว อายุ 23 ปี ชาวบ้ านที่อาศัยอยูใ่ น อ.อุบลรัตน์มาตังแต่ ้ เกิด ได้ กล่าวว่า ตังแต่ ้ เกิดมาก็เห็นเขื่อน อุบลรัตน์แล้ ว เขื่อนกลายเป็ นส่วนหนึง่ ของชาวบ้ าน ท�ำให้ มีงาน มีน� ้ำเพื่อท�ำการเกษตรและเลี ้ยงสัตว์ มีความอุดมสมบูรณ์ ใน พื ้นที่ คุณภาพชีวิตของชาวบ้ านดีขึ ้นเรื่ อย ๆ ความเจริ ญรุ่ งเรื อง ความอุดมสมบูรณ์ คุณภาพชีวิต ทังหมดนี ้ ้ล้ วนเกิดจากเขื่อนที่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา ภูมิพลอดุลยเดชได้ พระราชทานนามให้ และทรงเป็ นผู้ริเริ่ ม โครงการสร้ างเขื่อนของประเทศไทย ท�ำให้ ราษฎรไม่อดอยาก มีอยูม่ กี นิ ประชาชนมีความเป็ นอยูท่ ดี่ ขี ึ ้น ด้ วยพระปรีชาสามารถ และวิสยั ทัศน์อนั กว้ างไกล ท�ำให้ พสกนิกรชาวไทยอยู่ได้ ด้วย ความร่มเย็น
หยาดเหงื่ อ จากน�้ ำ พระทั ย สู ่ พ สกนิ ก ร
สายน�้ำต่อชีวิต Text : ปิ ยณัฐ แสนมานิตย์ , อัษฎางค์ อินแป้น , ณัhฐปรี ยา เพชรศร
“ น�้ำถือเป็นปัจจัยส�ำคัญของการด�ำรงชีวิตมนุษย์ หากเปรียบน�ำ้ กับร่างกายมนุษย์คงเสมือนเลือดทีห่ ล่อเลีย้ ง ระบบต่าง ๆ ในร่างกายให้เซลล์ทุกเซลล์สามารถท�ำงานได้ อย่างปกติ” ในบันทึกพระราชกรณียกิจของพระบาทสมเด็จพระปร มิทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงให้ ความส�ำคัญกับการอนุรักษ์ และการใช้ ประโยชน์ จ ากทรั พ ยากรน� ำ้ จากการเสด็ จ พระราชด�ำเนินไปเยี่ยมเยียนพสกนิกร ท�ำให้ ทรงตระหนักว่าภัย แล้ งและน� ้ำเพือ่ การเกษตรและบริโภคอุปโภคเป็ นปัญหาทีร่ ุนแรง และส�ำคัญที่สดุ ทรงมีพระราชด�ำรัสเมื่อวันที่ 17 มีนาคม พ.ศ. 2529 ความตอนหนึง่ ว่า “...หลักส�ำคัญว่าต้ องมีน� ้ำบริโภค น� ้ำใช้ น� ้ำเพื่อการเพาะปลูก เพราะว่าชีวติ อยูท่ ี่นนั่ ถ้ ามีน� ้ำคนอยูไ่ ด้ ถ้ า ไม่มีน�ำ้ คนอยู่ไม่ได้ ไม่มีไฟฟ้าคนอยู่ได้ แต่ถ้ามี ไฟฟ้าไม่มี น� ้ำคนอยูไ่ ม่ได้ ...” บ้ านหินลาด และบ้ านเก่าน้ อย ต.แวงน่าง อ.เมื อง มหาสารคาม จ.มหาสารคาม หมูบ่ ้ านเล็ก ๆ ที่ตงอยู ั ้ ไ่ ม่ไกลจาก ตัวเมืองมากนัก แต่กลับพบว่ามีระบบการจัดการน� ้ำชลประทาน ไม่ดีนกั ส่งผลให้ ผ้ คู นในหมูบ่ ้ านที่ประกอบอาชีพเกษตรกรปลูก ข้ าวเป็ นหลัก ไม่มีน� ้ำเพียงพอส�ำหรับการท�ำนา หากปี ไหนฝนไม่ ตกตามฤดูกาลหรื อปริ มาณน� ้ำฝนไม่เพียงพอ เกษตรกรบางราย ก็อาจจะต้ องหยุดปลูกข้ าว ซึง่ เป็ นอาชีพหลักเลี ้ยงปากเลี ้ยงท้ อง คนในครอบครัวแล้ วหันไปรับจ้ างทัว่ ไปแทน เนื่องจากไม่ค้ มุ กับ เงินลงทุนที่เสียไปแลกกับการได้ ข้าวที่ไม่มีคณ ุ ภาพและราคา ขายต�่ำ
ว่าทีร่ ้ อยตรีพษิ ณุศกั ดิ์ บุตะราช อดีตผู้ใหญ่บ้าน หมูท่ ี่ 2 ต.แวงน่ า ง อ.เมื อ งมหาสารคาม จ.มหาสารคาม ได้ ขอ พระราชทานความช่วยเหลือเกี่ ยวกับน�ำ้ ไว้ เมื่อปี พ.ศ.2553 เพราะหมูบ่ ้ านประสบปั ญหาภัยแล้ งอยูบ่ อ่ ยครัง้ จนเมื่อปี พ.ศ. 2556 พระบาทสมเด็จพระเจ้ าอยูห่ วั ทรงรับโครงการสถานีสบู น� ้ำด้ วยไฟฟ้า พร้ อมระบบส่งน� ้ำไว้ เป็ นโครงการอันเนื่องมาจาก พระราชด�ำริ ส่งผลให้ เกษตรกรในหมูบ่ ้ านมีน� ้ำใช้ เพียงพอส�ำหรับ การเกษตร นายครองศักดิ์ โคช่วย ประธาน อสม. และเป็ นสมาชิก ทสม. หมู่ 2 ต.แวงน่าง อ.เมืองมหาสารคาม จ.หาสารคาม เผย ว่า ตังแต่ ้ มีสถานีสบู น�ำ้ ชาวบ้ านก็สามารถท�ำนาได้ ตามปกติ แม้ ว่าฝนจะไม่ตกตามฤดูกาลก็ตาม เพราะมีบอ่ พักน� ้ำที่สะสม น� ้ำฝนมาตลอดทังปี ้ และชาวบ้ านยังสร้ างคลองเพื่อให้ น� ้ำไหล ผ่าน เพราะน� ้ำที่ได้ นอกจากจะใช้ ท�ำนาแล้ ว ยังสามารถน�ำมา ปลูกพืชผักสวนครั วไว้ รับประทานและขายแก่คนในหมู่บ้าน สร้ างรายได้ ให้ ครอบครัวได้ อีกทางด้ วย “หากปี นี ้น� ้ำแล้ งคงไม่ได้ ท�ำนา เพราะเป็ นนาดอนถึงฝื น ท�ำนาไปก็จะได้ ข้าวที่ไม่ดี เนื่องจากฝนทิ ้งช่วงแต่หมูบ่ ้ านนี ้โชค ดีมาก จ.มหาสารคามหรือจังหวัดอืน่ ๆ น้ อยแห่งมากทีจ่ ะได้ พระ ราชด�ำริเกีย่ วกับน� ้ำ ถือเป็ นบุญของหมูบ่ ้ านเลยก็วา่ ได้ ”นายครอง ศักดิ์ กล่าว “การพัฒนาแหล่งน� ้ำถือเป็ นสิง่ ส�ำคัญและจ�ำเป็ นอย่าง ยิ่งส�ำหรับประเทศไทย เนื่องจากเป็ นประเทศแห่งการเกษตร กรรม หากไม่มนี � ้ำ ไม่มผี ลผลิตทางการเกษตร การขับเคลือ่ นทาง ด้ านเศรษฐกิจและการกินอยู่ของคนในประเทศคงด�ำเนินไป อย่างยากล�ำบาก”
หยาดเหงื่ อ จากน�้ ำ พระทั ย สู ่ พ สกนิ ก ร
อุโมงค์ผนั น�ำ้ ล�ำพะยังภูมพ ิ ฒ ั น์ฯ ผันน�้ำข้ามจังหวัดพลิกวิกฤติภัยแล้ง Text : ศุภชัย แก้ วขอนยาง , วริ ยา กระแจ่ม , สุดปารถนา เที่ยงนา
โครงการอุโมงค์ผนั น� ้ำล�ำพะยังภูมพิ ฒ ั น์ฯ ตังอยู ้ ใ่ นพื ้นที่ ต� ำบลคุ้มเก่า อ�ำเภอเขาวง จังหวัดกาฬสินธุ์ ซึ่งข้ อมูลจาก ส�ำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอัน เนื่องมาจากพระราชด�ำริ (ส�ำนักงาน กปร.) รายงานว่า เมื่อวัน ที่ 25 พฤศจิกายน พ.ศ.2535 พระบาทสมเด็จพระเจ้ าอยู่หวั พระราชทานพระราชด� ำ ริ ใ ห้ พิ จ ารณาจัด หาแหล่ ง น� ำ้ เพื่ อ สนับสนุนการเพาะปลูกของราษฎรโดยการขุดสระกักเก็บน� ้ำตาม แนวทฤษฎีใหม่ในบริเวณพื ้นทีบ่ ้ านแดนสามัคคี ต.คุ้มเก่า อ.เขาวง จ.กาฬสินธุ์ โดยสามารถจุน� ้ำได้ กว่า 4,000,000 ลูกบาศก์เมตร โดยจะผันน� ้ำมาจากอ่างเก็บน� ้ำห้ วยไผ่ อ.ดงหลวง จ.มุกดาหาร มายังพื ้นทีล่ มุ่ น� ้ำล�ำพะยัง อ.เขาวง จ.กาฬสินธุ์ โดยประกอบส่วน ต่าง ๆ ของโครงการดังนี ้1.อุโมงค์ลอดภูเขาความยาว 710 เมตร 2.ขุดร่องชักน� ้ำยาว 750 เมตร 3.วางท่อผันน� ้ำยาว 1,860 เมตร 4.ก่อสร้ างถังพักน� ้ำ 1 แห่ง ซึ่งจากการค้ นข้ อมูลพบว่าอุโมงค์ผันน� ้ำล�ำพะยังภูมิ พัฒน์ฯ เป็ นอุโมงค์ผนั น� ้ำข้ ามจังหวัดแห่งเดียวในประเทศไทย ทังหมดล้ ้ วนแสดงให้ เห็นถึงพระอัจฉริยภาพของพระบาทสมเด็จ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ในด้ านการเป็ นต้ นแบบของ
การบริ หารจัดการน� ้ำและการที่พระองค์ทรงเล็งเห็นถึงสารทุกข์ สุกดิบของพสกนิกรอย่างทัว่ ถึง อย่างไรก็ดโี ครงการอุโมงค์ผนั น� ้ำ ล�ำพะยังภูมพิ ฒ ั น์ฯยังถือเป็ นอีก 1 ในกว่า 1,000 โครงการที่ชว่ ย พลิกชีวิตเกษตรกรให้ มีคณ ุ ภาพชีวิตที่ดีขึ ้น โครงการดังกล่าวส่งผลดีต่อเกษตรกรในเขตลุ่มน� ้ำล�ำ พะยังในเรื่องของการเพาะปลูกทีไ่ ด้ รับประโยชน์จากโครงการถึง 4,600 ไร่ และยังช่วยเหลือเกษตรกรในส่วนของภัยแล้ ง ซึง่ ปกติ จะใช้ น�ำ้ ฝนในการเกษตรเพียงอย่างเดียว จึงท� ำให้ ชีวิตของ เกษตรกรลุม่ น� ้ำล�ำพะยัง อ.เขาวง จ.กาฬสินธุ์ มีความเป็ นอยูท่ ี่ ดีขึ ้น ทังนี ้ ้เกษตรกรจากแต่ก่อนต้ องไปท�ำงานในเมืองหลังจาก หมดฤดูเก็บเกี่ยว ปั จจุบนั วิถีชีวิตได้ เปลี่ยนไปเพราะหลังจาก หมดฤดูเก็บเกี่ยวแล้ วเกษตรกรจะไม่ไปท�ำงานในเมืองแต่จะใช้ ชีวิตโดยอาศัยน� ้ำจากโครงการอุโมงค์ผนั น� ้ำภูมิพฒ ั น์ฯ ในการ เพาะปลูกพืชจ�ำพวก ถัว่ พุม่ แตงกวา ข้ าวโพด ฯลฯ เพื่อเป็ นราย ได้ เลี ย้ งชี พ หลั ง จากการเก็ บ เกี่ ย วข้ าว ซึ่ ง นั บ เป็ นพระ มหากรุณาธิคณ ุ อย่างหาที่สดุ มิได้
หยาดเหงื่ อ จากน�้ ำ พระทั ย สู ่ พ สกนิ ก ร
หญ้าเล็ก ๆ ที่พลิกผืนแผ่นดิน Text : ปริ นดา ปั ตตานี , จิรวัฒน์ บรรจง , ฌาณิตา ไพสาร
“...ทุกคนควรจะได้สนใจสังเกต ศึกษาเรื่องราว บุคคลและสิ่งต่าง ๆ ที่แวดล้อมและเกี่ยวข้องกับตัวเองให้มาก อย่าละเลยหรือมองข้ามแม้แต่สิ่งเล็กน้อย เช่น ต้นหญ้า ซึ่งถ้าศึกษาพิจารณาให้ดีก็จะก่อให้เกิดปัญญาได้ หญ้านั้น มีทั้งหญ้าที่เป็นวัชพืชซึ่งเป็นโทษ และหญ้าที่มีคุณอย่าง “หญ้าแฝก” ซึ่งเป็นประโยชน์อย่างยิ่งแก่การอนุรักษ์ดินและน�้ำ เพราะมีรากที่หยั่งลึกแผ่กระจายลงไปตรง ๆ ท�ำให้อุ้มน�้ำและยึดเหนี่ยวดินได้มั่นคงและมีล�ำต้นชิดติดกันแน่นหนา ท�ำให้ ดักตะกอนดิน และรักษาหน้าดินได้ดี...” พระบรมราโชวาทของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช วันที่ 24 กรกฎาคม พ.ศ.2540 หลายพื ้นทีใ่ นภาคอีสานประสบกับปัญหาความแห้ งแล้ ง ทุรกันดาร แต่ปัจจุบนั ปั ญหาเหล่านี ้ ได้ รับการแก้ ไขบ้ างแล้ ว ท�ำให้ หลายพื ้นทีใ่ นภาคอีสานมีความเจริญเท่าเทียมกับภาคอืน่ ๆ สิง่ หนึง่ ส�ำคัญที่ท�ำให้ ปัญหาด้ านการเกษตรได้ รับการดูแล และ ขจั ด ปั ญ หาของดิ น ซึ่ ง เป็ นปั ญ หาส� ำ คั ญ ในการท� ำ ด้ าน เกษตรกรรม คือ “หญ้ าแฝก” หญ้ าเล็ก ๆ ที่สามารถพลิกดินที่ แห้ งแล้ งให้ กลั บ มามี ค วามอุ ด มสมบู ร ณ์ หญ้ าที่ ไ ด้ รั บ พระราชทานจากพระบาทสมเด็จพระเจ้ าอยู่หัว รั ชกาลที่ 9 การพังทลายของดินเป็ นอีกหนึง่ ปั ญหาที่ส�ำคัญอย่าง ยิ่งของประเทศไทย ส่งผลต่อความเสื่อมโทรมของทรัพยากรดิน ท�ำให้ พระบาทสมเด็จพระเจ้ าอยูห่ วั รัชกาลที่ 9 ทรงเล็งเห็นและ ตระหนักถึงความส�ำคัญของปั ญหาว่าควรได้ รับการป้องกันและ แก้ ไข จึงทรงมีพระราชด�ำริ ให้ มีการน�ำหญ้ าแฝกมาใช้ ในการ อนุรักษ์ดนิ และน� ้ำ เพือ่ ป้องกันการพังทลายของดินและปรับปรุง สภาพแวดล้ อมให้ มีความอุดมสมบูรณ์ขึ ้น นัน่ เป็ นเพราะหญ้ า แฝกเป็ นพืชที่สามารถน�ำมาใช้ ประโยชน์ได้ งา่ ย มีรากที่ยาว แผ่ กระจายลงไปในดินตรง ๆ เป็ นแผงเหมือนก�ำแพง ช่วยกรอง ตะกอนดินและรักษาหน้ าดินได้ ดี
“....ให้ ใช้ หญ้ าแฝกในการพัฒนา ปรับปรุงบ�ำรุงดิน ฟื น้ ฟู ดินให้ มีความอุดมสมบูรณ์ และแก้ ปัญหาดินเสื่อมโทรม...” พระบรมราโชวาทของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพล อดุลยเดช โครงการหญ้ าแฝกตามพระราชด�ำริ เป็ นทฤษฎีการ ป้องกันการเสื่อมโทรม การพังทลายของดินและเป็ นการคืน ธรรมชาติสแู่ ผ่นดิน เพื่อสร้ างความสมดุลให้ กบั ป่ าไม้ ซงึ่ เป็ นต้ น น� ้ำล�ำธาร ท�ำให้ เกิดความสมดุลของระบบนิเวศน์ ความอุดม สมบูรณ์ของผืนแผ่นดินที่กลับคืนมานี ้ เพื่อความอยูเ่ ย็นเป็ นสุข ของราษฎรทุกหมูเ่ หล่า ด้ วยพระราชหฤทัยทีเ่ ต็มเปี่ ยมด้ วยพระมหากรุณาธิคณ ุ ที่ทรงห่วงใยราษฎร พระวิริยะอุตสาหะและพระปรี ชาสามารถ แห่งองค์พระบาทสมเด็จพระเจ้ าอยูห่ วั ทีท่ รงศึกษาวิเคราะห์เพือ่ หาหนทางในการแก้ ไขปัญหาสิง่ แวดล้ อมและทรัพยากรธรรมชาติ ของประเทศไทยทีก่ �ำลังถูกท�ำลายไปอย่างรวดเร็ ว ท�ำให้ ราษฎร ได้ รับค�ำแนะน�ำในการแก้ ปัญหาต่าง ๆ ที่เหมาะสมกับท้ องถิ่น ของตน ทังนี ้ ้เพือ่ ความมัง่ คัง่ สมบูรณ์และความสุขของประชาชน อย่างแท้ จริ ง
www.suemuanchonnews.com