หนังสือพิมพ์ส่ือมวลชน www.suemuanchonnews.com
หนังสือพิมพ์ฝึกปฏิบัติ ภาควิชานิเทศศาสตร์ คณะวิทยาการสารสนเทศ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปี ท่ี 15 ฉบับที่ 2 ประจ�ำเดือนตุลาคม พ.ศ.2559 ราคา 10 บาท
“ร่ า งค่ า เทอมระบบเหมาจ่ า ย” มมส เล็งใช้ในปีการศึกษา 2561 จับตาทิศทาง มมส เตรี ยมปรับแผนพัฒนาค่าเทอม ระบบเหมาจ่ายที่อาจจะเพิ่มขึ ้น 50-70 เปอร์ เซ็นต์ ซึง่ มีนิสติ คัดค้ านไม่เห็นด้ วยกับระบบเหมาจ่าย อ่านต่อหน้า 16
มมส รณรงค์สวมหมวกกันน็อค ชี้ ห ากท� ำ ผิ ด โดนหั ก คะแนน ครบ 40 ถู ก สั่ ง พั ก การเรี ย น
มมส ผุดโครงการสวมหมวกกันน็อค 100 เปอร์ เซ็นต์ เล็ ง รณรงค์ ใ ห้ นิ สิ ต สวมหมวกกัน น็ อ คเพื่ อ ลดและ ป้องกันอุบัติเหตุภายในมหาวิทยาลัย พร้ อมออก มาตรการหักคะแนนความประพฤตินิสิตที่ไม่ปฏิบตั ิ ตามครัง้ ละ 5 คะแนน หากถึง 40 คะแนนจะถูกพัก จุดตรวจหมวกกันน็อค บริ เวณทางเข้ าด้ านหลังมหาวิทยาลัยมหาสารคาม การเรี ยน เมื่อครบ 100 คะแนนจะพ้ นสภาพนิสติ ทันที อ่านต่อหน้า 14
ศูนย์บา้ นร่มเย็นเผยนิสติ มมส ติดเชื้อ HIV เพิ่มจ�ำนวนขึ้น ชี้ ก ลุ ่ ม เสี่ ย งคื อ ชายรั ก ชาย ศูนย์ บ้านร่ มเย็น โรงพยาบาลมหาสารคามเผยนิสิต มมส ติดเชือ้ HIV เพิ่มขึน้ ชีก้ ลุ่มเสี่ยงคือชายรักชาย ระบุพบมาก ในกลุ่ มนั กศึกษาและเยาวชนอายุ 19-23 ปี แนะผู้ ท่ ีมี พฤติก รรมเสี่ ย งให้ เ ร่ งตรวจหาเชื อ้ HIV เพื่อ รี บ รั ก ษา ด้ านกองกิจการนิสิต มมส แจงมีนิสิตติดเชือ้ กว่ า 55 คน เฉลี่ยเพิ่มขึน้ ปี ละ1-2 ราย เร่ งแก้ ปัญหาโดยประสานความ ร่ วมมือเครื อข่ ายด้ านโรคเอดส์ มุ่งเป้ ารณรงค์ คือ Getting To Zero หรื อ “เอดส์ ลดให้ เหลือศูนย์ ได้ ” อ่านต่อหน้า 4
“หมอล�ำหุน่ กระติบข้ าว ยังไม่ไร้ เสียงดนตรี ”
มมส ชู มาตรการป้องกัน รถจั ก รยานยนต์ ห าย สายตรวจชี้คนร้ายหัวใส แฝงตัวในคราบชุดนิสิต อ่านต่อหน้า 9
“ถ� ้ำค้ างคาว กล้ าชนะกลัว”
อ่านต่อหน้า 12
มมส เร่ งติดตังกล้ ้ องวงจรปิ ดและไฟส่องสว่าง ในพื ้นที่เสี่ยง เพื่อเพิ่มความปลอดภัยจากการ โจรกรรมรถจักรยานยนต์ ด้ านต�ำรวจ สภ.เขวา ใหญ่ เตื อ นคนร้ ายลงมื อ ก่ อ เหตุ ต ามสวน สุขภาพ อาคารพลศึกษา หอใน และหอพัก เอกชน ชี ้หากรถหายจะได้ คืนเป็ นอะไหล่ ทัง้ ขณะนี ้มีการโจรกรรมรูปแบบใหม่ “รถตามสัง่ ” รุกขโมยรถรุ่นที่ลกู ค้ าสนใจตามค�ำสัง่ นายหน้ า แก๊ งซื ้อขายรถมือสอง อ่านต่อหน้า 6
ภาพจ� ำลองเหตุการณ์ การขโมยรถของคนร้ ายใน มมส ซึ่งท�ำตัวปกติเหมือนเป็ นเจ้ าของรถ
หน้า 2
หนังสือพิมพ์สื่อมวลชน ปีที่ 15 ฉบับที่ 2 ประจ�ำเดือนตุลาคม พ.ศ.2559
คณบดี ค ณะศึ ก ษาศาสตร์ มมส เผยร่ าง พ.ร.บ.การศึกษาแห่ งชาติฉบับใหม่ ช่วยส่ ง เสริมพัฒนาการเด็กตัง้ แต่ เริ่มเรียนอนุบาล ชี ้ ส�ำคัญไม่ แพ้ มัธยม ด้ านครู โรงเรี ยนท่ าขอน ยางพิทยาคม จ.มหาสารคาม แจงกระทบ โรงเรี ยนชนบท ตัดโอกาสเด็กยากไร้ จากกรณี ที่มี การร่ างรั ฐธรรมนูญใหม่ และผ่านการลงประชามติรับร่างรัฐธรรมนูญ เมื่อ วันที่ 7 สิงหาคม พ.ศ.2559 ที่ผา่ นมา ส่งผลให้ มี การปรับเปลี่ยนร่างพระราชบัญญัติ (พ.ร.บ.) การ ศึกษาแห่งชาติฉบับใหม่ จากเดิมที่ก�ำหนดให้ การ ศึกษาเป็ น “สิทธิ ” ของประชาชน ย้ ายไปไว้ ใน หมวดหน้ าที่ของรัฐให้ รัฐมี “หน้ าที่” จัดการศึกษา ให้ ประชาชน ตามมาตรา 54 ที่วา่ “รัฐต้ องด�ำเนิน การให้ เด็กทุกคนได้ รับการศึกษาเป็ นเวลา 12 ปี ตัง้ แต่ก่อนวัยเรี ยนจนจบการศึกษาภาคบังคับ อย่างมีคณ ุ ภาพโดยไม่เก็บค่าใช้ จา่ ย” ผศ.ดร.พชรวิทย์ จันทร์ ศิริสิร คณบดี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม (มมส) กล่าวว่า ระยะเวลาที่ก�ำหนดให้ รัฐบาล จัด การศึก ษาฟรี ยัง เป็ น 12 ปี เ ช่น เดิ ม แต่ร่ า ง รัฐธรรมนูญฉบับนี ้ก�ำหนดหน้ าที่ให้ รัฐบาลจัดการ ศึกษาเรี ยนฟรี ตัง้ แต่ก่อนวัยเรี ยน คื อตัง้ แต่ชัน้ อนุบาลจนถึงมัธยมศึกษาปี ที่ 3 เพื่อให้ เด็กเล็กได้ รับการดูแลและพัฒนาในชันอนุ ้ บาลเพื่อพัฒนา ร่างกาย จิตใจ วินยั อารมณ์ สังคม และสติปัญญา ให้ สมวัย โดยไม่ต้องเสียค่าใช้ จา่ ย ผศ.ดร.พชรวิทย์ กล่าวต่อว่า จากกรณีที่ พ.ร.บ.การศึกษาแห่งชาติฉบับใหม่ ได้ ก�ำหนด ให้ เ รี ย นฟรี ช่ ว งมัธ ยมศึก ษาตอนปลายหายไป
การศึกษา
ครูหวัน่ ร่างพ.ร.บ.การศึกษาฯฉบับใหม่ ตั ดโอกาสทางการศึ ก ษาเด็ ก ยากไร้
คณบดี คณะศึกษาศาสตร์ มมส ให้ ความเห็นเกี่ ยวกับการปรั บเปลี่ยนระบบเรี ยนฟรี รั ฐ บาลจ� ำ เป็ น ต้ อ งให้ ทุน แก่ ท างโรงเรี ย น และ สถานศึ ก ษาเพิ่ ม มากขึ น้ ส่ ว นดุล ยพิ นิ จ การ พิจารณาส�ำหรับเด็กทีข่ าดทุนทรัพย์คงต้ องให้ ทาง คุณ ครู ผ้ ู ใ กล้ ชิ ด นัก เรี ย นตัด สิ น โดยใช้ เ กณฑ์ ความยากจนเป็ นหลัก หากใช้ เกณฑ์เรี ยนดีหรื อ เด่นเรื่ องกิจกรรม อาจส่งผลให้ ทนุ ไม่ทวั่ ถึง และ ผิ ด วัต ถุป ระสงค์ ทุน ส� ำ หรั บ เด็ ก ขาดทุน ทรั พ ย์ ในการเรี ยน ส่ ว นข้ อเสี ย หากรั ฐ บาลไม่ สามารถหาทุ น ให้ แก่ เ ด็ ก ได้ จะท� ำ ให้ เด็ ก มี โอกาสได้ ศกึ ษาช่วงมัธยมศึกษาตอนปลาย และ โอกาสในการเข้ าศึกษาระดับมหาวิทยาลัยลดลง
“หากจะมองในส่วนของการพัฒนาเด็ก โดยส่วนตัวแล้ ว ผมเห็นด้ วยกับกฎหมายนี ้เพราะ เป็ นการเร่งพัฒนาตัวเด็กตังแต่ ้ เนิ่น ๆ เพื่อปลูกฝัง และท� ำ ให้ เ ด็ ก มี คุณ ภาพการศึก ษา เนื่ อ งจาก ช่ ว งอนุ บ าลก็ ส� ำ คัญ ไม่ แ พ้ ร ะดับ มัธ ยมศึ ก ษา จากการศึกษาในวัยเด็กถือเป็ นยุคทองของเด็กใน การปูพื น้ ฐานความรู้ ตัง้ แต่เ ริ่ ม ต้ น เพื่ อ เตรี ย ม พร้ อมการพัฒนาด้ านต่าง ๆ ก่อนเรี ยนในปี ถัด ไป อี กทัง้ ยังเป็ นการเชิ ญชวน หรื อเปิ ดโอกาส ให้ เด็ ก ที่ ค รอบครั ว ยากไร้ ได้ รั บ การศึ ก ษา เพิ่มขึ ้น” ผศ.ดร.พชรวิทย์ กล่าวทิ ้งท้ าย
สภาคณาจารย์ มมส ลุ้น “กองทุนส�ำรองเลี้ยงชีพ” ผ่าน มติเห็นชอบ ชี้เพิ่มความมั่นคงแก่บุคลากร สภาคณาจารย์ มมส เร่ งผลักดันก่ อตัง้ ‘กองทุน ส�ำรองเลีย้ งชีพ’ เพิ่มสวัสดิการแก่ บุคลากร ขณะที่ผลส�ำรวจบุคลากร 80 เปอร์ เซ็นต์ หนุน เป็ นหลักประกันเพิ่มช่ องทางออมทรั พย์ ผศ.ดร.วิ รั ติ ปานศิ ล า ประธานสภา คณาจารย์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม เปิ ดเผยว่า ขณะนี ้อยูร่ ะหว่างการเร่งจัดตังกองทุ ้ นส�ำรองเลี ้ยง ชี พ โดยร่ า งข้ อ บัง คับ กองทุน ดัง กล่า วเริ่ ม จาก ผศ.ดร.พั ฒ นพงษ์ วั น จั น ทึ ก ประธานสภา คณาจารย์ ชุดที1่ 0 มองว่าบุคลากรในมหาวิทยาลัย ไม่ มี ห ลัก ประกัน ที่ เ พี ย งพอ ซึ่ง มี เ พี ย งกองทุน สวัส ดิ ก ารพนัก งานโดยหัก จากฐานเงิ น เดื อ น เดือนละ 3 เปอร์ เซ็นต์ และมหาวิทยาลัยจะสมทบ อี ก 3 เปอร์ เ ซ็น ต์ เ พื่ อ เป็ น เงิ น สะสมทรั พ ย์ แ ละ เงิ น สะสมทรั พ ย์ ส มทบ จะได้ รั บ เมื่ อ ออก จากงานหรื อเกษียณอายุ แต่ไม่ได้ ดอกเบี ้ยหรื อน�ำ ไปหักจ่ายภาษี ใด ๆ ดังนัน้ จึงมี แนวคิดจัดตัง้ กองทุ น ส� ำ รองเลี ย้ งชี พ ตามพระราชบั ญ ญั ติ กองทุนส�ำรองเลีย้ งชี พ พ.ศ.2530 ขึน้ มา เพื่อ ประโยชน์ ข องบุค ลากร ซึ่ ง ข้ อ ดี คื อ มี ด อกเบี ย้ สามารถน�ำไปหักภาษี เงินได้ และยังน�ำไปลงทุน เพื่อหวังเงินปั นผลจากกองทุนได้ อีกด้ วย “กองทุนส�ำรองเลี ้ยงชีพเป็ นกองทุนอิสระ หากบุ ค ลากรในกองทุ น สวั ส ดิ ก ารพนั ก งาน อยากจะย้ ายมาอยู่ ก องทุ น ส� ำ รองเลี ย้ งชี พ
ต้ องลาออกจากกองทุ น สวั ส ดิ ก าร และทาง มหาวิทยาลัยก็จะหักให้ 3 เปอร์ เซ็นต์ตามเดิม” ผศ.ดร.วิรัติ กล่าว ทัง้ นี ส้ ภาคณาจารย์ ได้ ท�ำแบบส�ำรวจ ความคิ ด เห็ น ของบุ ค ลากรกว่ า 1,200 ชุ ด ทัว่ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม พบว่า 80 เปอร์เซ็นต์ ต้ องการให้ มีกองทุนส�ำรองเลี ้ยงชีพ จึงท�ำเรื่ อง ส่ ง ไ ป ยั ง ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร บ ริ ห า ร ก า ร เ งิ น และทรั พ ย์ สิ น ประจ� ำ มหาวิ ท ยาลั ย (กบง.) โดยมี ห น้ าที่ ใ นการก� ำ กั บ ดูแ ลบริ ห ารการเงิ น และทรั พ ย์ สิ น ของมหาวิ ท ยาลัย ซึ่ ง ขณะนั น้ รศ.ดร.ศุภชัย สมัปปิ โต ด�ำรงต�ำแหน่งรักษาการ แทนอธิการบดี มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ได้ เพิก เฉยต่อข้ อเสนอดังกล่าว ต่อมาประธานสภาคณาจารย์ ชุดที่ 11 ผศ.ดร.วิ รั ติ ปานศิ ล า ได้ เดิ น หน้ าผลั ก ดั น กองทุ น ส� ำ รองเลี ย้ งชี พ ซึ่ ง คาดว่ า จะผ่ า น การเห็ น ชอบและผ่ า นการอนุ มั ติ เนื่ อ งจาก ศ.ดร.ปรี ช า ประเทพา ผู้ รั ก ษาราชการแทน อธิการบดีมหาวิทยาลัยมหาสารคามในขณะนัน้ ได้ ตงคณะท� ั้ ำงานกองทุนส�ำรองเลี ้ยงชีพ และจัด ท� ำ ร่ างข้ อบั ง คั บ นี เ้ ข้ าสู่ ก ารพิ จ ารณาของ คณะกรรมการบริ ห ารมหาวิ ท ยาลัย (กบม.) หากได้ รั บ การอนุ มั ติ ใ ห้ มี ก ารจั ด ตั ง้ กองทุ น ส� ำ รองเลี ย้ งชี พได้ ก็ จ ะน� ำร่ างข้ อบั ง คั บ นี ้
เข้ าสู่ ก ระบวนการทางกฎหมายให้ ถู ก ต้ อง เมื่ อ ผ่ า นกรรมการกลั่ น กรองขั น้ ตอนต่ อ ไป คื อ น� ำ เรื่ องเข้ าสู่ ส ภาเป็ นขั น้ ตอนสุ ด ท้ าย “ผมคิดว่าที่ด�ำเนินการล่าช้ าในขณะนี ้ เพราะมหาวิ ทยาลัยกลัวว่าหากกองทุนส� ำ รอง เลี ้ยงชีพเติบโตขึ ้น กองทุนจะขอจาก 3 เปอร์ เซ็นต์ ขึ ้นเป็ น 5-6 เปอร์ เซ็นต์ ท�ำให้ เรื่ องของการบริ หาร เงิ น ของกองทุ น อาจจะมี ค วามยุ่ ง ยากมาก ยิ่งขึ ้น” ประธานสภาคณาจารย์ กล่าว ด้ านนายจี รพันธ์ ภูครองเพชร นิ ติกร ช� ำ นาญการ และผู้ช่ ว ยผู้อ� ำ นวยการกองการ เจ้ าหน้ าที่ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ชีแ้ จงว่า กองการเจ้ าหน้ าทีไ่ ด้ ทำ� หนังสือแจ้ งสภาคณาจารย์ แล้ วว่า อยู่ระหว่างด�ำเนิ นการยื่ นร่ างข้ อบังคับ
นางปาลิดา กุลภัทรเมธา ครู แนะแนว โรงเรี ยนท่าขอนยางพิทยาคม จ.มหาสารคาม กล่าวว่า จากการเปลี่ยนแปลงของระบบเรี ยนฟรี นัน้ ถ้ าเป็ นโรงเรี ยนในตัวเมืองก็อาจจะไม่ได้ รับ ผลกระทบ แต่ในโรงเรี ยนชนบท ค่อนข้ างจะมี ปั ญหา เพราะแม้ จะเรี ยนฟรี แต่เด็กบางคนก็ไม่ ค่ อ ยอยากเรี ย น หากเด็ ก อยากเรี ย นต่ อ มหา วิทยาลัยก็จำ� เป็ นต้ องกู้ยมื ไม่ไช่แค่คา่ เล่าเรียน ยัง มี ค่ า ใช้ จ่ า ยส่ ว นตัว อี ก มากมาย ส� ำ หรั บ บาง ครอบครั วที่ไม่มีเงินจริ ง ๆ อาจส่งผลให้ เด็กไม่ สามารถเรี ยนต่อในช่วงมัธยมศึกษาตอนปลาย หรื อมหาวิทยาลัยได้ นายเอกลัก ษณ์ ค� ำ คู น นัก เรี ย นชัน้ มัธยมศึกษาปี ที่ 5 โรงเรี ยนท่าขอนยางพิทยาคม จ.มหาสารคาม กล่าวว่า ทางบ้ านมีฐานะยากจน แต่ตนเป็ นนักกีฬาประจ�ำโรงเรี ยน จึงได้ รับทุนการ ศึกษาตังแต่ ้ ช่วงมัธยมศึกษาตอนต้ น และได้ รับ สิ ท ธิ พั ก บ้ านพั ก นั ก กี ฬ าในโรงเรี ย น จึ ง ช่ ว ย ประหยัดค่าใช้ จา่ ยทางบ้ านได้ พอสมควร ส่วนค่า ใช้ จา่ ยกินอยูไ่ ด้ รับเพียงพอ แต่ไม่มากนัก หากตน ไม่ได้ ทนุ นักกีฬาคงไม่ได้ เรี ยนต่อ นายเอ (นามสมมุ ติ ) นั ก เรี ยนชั น้ มัธ ยมศึ ก ษาตอนปลาย โรงเรี ย นท่ า ขอนยาง พิทยาคม จ.มหาสารคาม กล่าวว่า ตนเกิ ดใน ครอบครัวทีม่ ฐี านะยากจน แต่ได้ รับการเลี ้ยงดูจาก ญาติพนี่ ้ องเป็ นหลัก จึงไม่เดือดร้ อนในทางการเงิน มากนัก แต่เนื่องจากผู้ปกครองมีรายได้ เฉลี่ยต�่ำ กว่า 50,000 บาทต่อปี ท�ำให้ ได้ ทนุ ยากจนพิเศษ ที่โรงเรี ยนให้ ด้วย และเมื่อต้ องการศึกษาต่อใน ระดับอุดมศึกษา คาดว่าจะท�ำการสอบโดยปกติ
เข้ าคณะกรรมการบริ หารมหาวิ ทยาลัย ตัง้ แต่ วั น ที่ 3 สิ ง หาคม พ.ศ.2559 เพื่ อ พิ จ ารณา ร่ า งข้ อบั ง คั บ ดั ง กล่ า ว แต่ ด้ วยร่ า งข้ อบั ง คั บ เป็ นเรื่ องเกี่ยวกับการเงินและงบประมาณ จึงต้ อง รอมติ เ ห็ น ชอบ ก่ อ นจะเข้ าสู่ ขั น้ ตอนต่ อ ไป “ในส่วนของกองทุนสวัสดิการพนักงาน มหาวิ ท ยาลั ย ไม่ เ กี่ ย วข้ องหรื อเป็ นปั ญหา กั บ กองทุ น ส� ำ รองเลี ย้ งชี พ แต่ จ ะสามารถ เข้ าเป็ นสมาชิ ก ได้ ทั ง้ สองกองทุ น หรื อ ไม่ นั น้ ต้ องรอร่ า งข้ อบั ง คั บ กองทุ น ส� ำ รองเลี ย้ งชี พ ผ่ า นการอนุ มั ติ เ สี ย ก่ อ น” นายจี ร พั น ธ์ ก ล่ า ว ด้ า น แ ห ล่ ง ข่ า ว ซึ่ ง เ ป็ น บุ ค ล า ก ร ของมหาวิทยาลัยมหาสารคาม กล่าวว่า ตนเห็น ด้ วยหากมี ก ารจั ด ตั ง้ กองทุ น ส� ำ รองเลี ย้ งชี พ พนักงานจะได้ มีทางเลือกเพิ่มจากเดิม อย่างไร ก็ตามขณะนี ้ตนยังไม่ได้ รับข้ อมูล ท�ำให้ ไม่เข้ าใจ ในเงื่อนไขต่าง ๆ ของกองทุน จึงต้ องศึกษาราย ละเอี ย ดอี ก ครั ง้ ก่ อ นตัด สิ น ใจเข้ า ร่ ว มกองทุ น ส�ำรองเลี ้ยงชีพบุคลากร มมส
รายงานพิเศษ
นิสิตคืองบประมาณที่คาดหวัง จากแผนวิเคราะห์ งบประมาณล่ วง หน้ าของมหาวิทยาลัยมหาสารคาม พ.ศ.25572561 ระบุวา่ จะสรรหางบประมาณเพื่อเป็ นงบ สมทบเงินสะสม โดยน�ำไปจัดสรรในรายจ่าย ข อ ง ม ห า วิ ท ย า ลั ย ที่ ไ ม่ เ พี ย ง พ อ โ ด ย มหาวิทยาลัยระบุเป็ นทิศทางพัฒนาให้ บรรลุ เป้าที่ตงไว้ ั ้ จึงมีการเตรี ยมความพร้ อมในทุก ด้ าน ทังบุ ้ คลากร วัสดุอปุ กรณ์ งบประมาณ โดย น�ำมาพิจารณาประกอบกับแผนรับจ�ำนวนนิสติ ค่ า ธรรมเนี ย มการศึ ก ษา ค่ า หน่ ว ยกิ ต แผนหลักสูตรและค่าใช้ จา่ ยอื่น ๆ เห็นได้ ว่ามีงบประมาณในการใช้ จ่ายไม่เพียงพอ จึงมีการวางแผนหาเงินเข้ า มหาวิทยาลัย เพราะเงินสะสมลดลง ปั จจุบนั มหาวิทยาลัยมีรายได้ 2 ทางคือเงินงบประมาณ แผ่นดิน และรายได้ จากนิสติ ค่าธรรมเนียม ราย ได้ จากโรงเรี ยนสาธิต หน่วยงานสนับสนุนการ เรี ยนการสอนคณะแพทยศาสตร์ ปรั บค่าลง ทะเบียนช้ า ค่าเทียบโอน ค่าหน่วยกิต เป็ นต้ น ทังนี ้ ้ขึ ้นอยูก่ บั จ�ำนวนนิสติ ด้ วย นั บจากอดีตจนถึงปั จจุบัน มมส ได้ งบประมาณเพิ่มขึ ้นทุกปี สังเกตได้ ว่าท�ำไม งบประมาณแผ่นดินไม่เพียงพอทัง้ ๆ ที่มีรายรับ เพิม่ ขึ ้น จากข้ อมูลกระทรวงศึกษาธิการปี 2557 เป็ นจ�ำนวนเงิน 886.9 ล้ านบาท ปี 2558 จ�ำนวน 1,043.9 ล้ านบาท ทังนี ้ ้มหาวิทยาลัยได้ ตงเป้ ั้ า รายรับล่วงหน้ า พ.ศ. 2559 ถึงปี 2561 ไว้ ถึง 5,082.2 ล้ านบาท สิ่งส�ำคัญคือมหาวิทยาลัย จะน�ำกลยุทธ์ใดมาท�ำเงินให้ ได้ ตามเป้าหมาย เมื่อมหาวิทยาลัยตัง้ ใจจะพัฒนา หรื อหารายได้ เข้ ากองคลังมหาวิทยาลัย ความ เป็ นไปได้ ในการรับนิสิตมากขึน้ มีค่อนข้ างสูง หากมีนิสิตเพิ่มขึน้ รายได้ ของมหาวิทยาลัยก็ เพิ่มขึ ้นตาม จากสถิติมีจ�ำนวนนิสิตเพิ่มขึ ้นต่อ เนื่ อ งทุก ปี ม หาวิ ท ยาลัย ต้ อ งค� ำ นึ ง ถึ ง ความ สมดุลของนิสติ ด้ วย ทัง้ นี ห้ ากต้ องการรายรั บเพิ่มขึน้ จากนิสิต มหาวิทยาลัยควรขับเคลื่อนสถาบัน ไปทีละก้ าว กลยุทธ์ ที่วางไว้ ล้วนกระทบกับ หลายฝ่ าย และต้ องมองในภาพรวมว่านิสติ อาจ จะล้ นมหาวิทยาลัย รวมถึงโครงการที่ผดุ ขึ ้น พร้ อมกันแต่ไม่เสร็ จสักโครงการ ฉะนันหากจะ ้ พัฒนาให้ มคี วามเจริญก้ าวหน้ าขึ ้น ทุกฝ่ ายต้ อง ยกระดับ ไปพร้ อมกั น เพื่ อ ความสมดุ ล ของ สถาบัน
หนังสือพิมพ์สื่อมวลชน ปีที่ 15 ฉบับที่ 2 ประจ�ำเดือนตุลาคม พ.ศ.2559
หน้า 3
ยอดประชากรแฝงพุ่ง สวนทางกับงบฯทีไ่ ด้รบั
เทศบาลต�ำบลท่าขอนยาง ในเรื่องการแบ่งนิสติ ไป ยังเขตพื ้นที่เทศบาลท่าขอนยางแต่มหาวิทยาลัย ขึ ้นทะเบียนบ้ านของเขตเทศบาลต�ำบลขามเรี ยง ท�ำให้ ไม่มีข้อสรุปในการประชุม จากจ�ำนวนนิสติ ทัง้ หมดในปั จ จุ บัน ที่ ย้ า ย ทะเบี ย นบ้ า นไม่ ถึ ง 10,000 คน เพราะนิสติ อาจจะย้ ายกลับหรื อย้ าย ปลายทาง เป็ นสิทธิของนิสติ ไม่สามารถบังคับได้
ตัวขับเคลื่อนจริ งคือมหาวิทยาลัยมหาสารคาม แต่ยงั ไม่มากเท่าที่ควร ด้ า นจ่ า เอกบัว ทอง หาญสุโ พธิ์ ปลัด เทศบาล ปฏิบตั ิหน้ าที่นายกเทศมนตรี ต�ำบลขาม เรียง อ.กันทรวิชยั จ.มหาสารคาม เผยว่า ประชากร ตามทะเบียนราษฎร์ ของเทศบาลต�ำบลขามเรี ยง มี ป ระมาณ 16,000 คน มี ป ระชากรแฝงกว่ า 10,000 คน รวมทังหมดกว่ ้ า 26,000 คน และต้ อง น� ำ งบประมาณที่ ท างรั ฐ บาลจัด สรรในจ� ำ นวน ประชากรกว่า 16,000 คน มาดูแลคนกว่า 10,000 ค น ทั ง้ ใ น เ รื่ อ ง สิ่ ง อ� ำ น ว ย ค ว า ม ส ะ ด ว ก สาธารณูปโภคต่าง ๆ และนิสติ ทีย่ ้ ายทะเบียนบ้ าน มีจ�ำนวนเพียง 2,000 คน ด้ วยการด�ำเนินการย้ าย ขันตอนค่ ้ อนข้ างยาก ทังนี ้ ้ขึ ้นอยูก่ บั มหาวิทยาลัย มหาสารคามที่ จ ะเข้ ม งวดในเรื่ อ งให้ นิ สิ ต ย้ า ย ทะเบียนบ้ านมายังพื ้นที่อาศัย นายวิญญู สอนบุญชู เจ้ าหน้ าที่บริ หาร งานทัว่ ไป (ส�ำนักงานกลาง เขตพื ้นที่ขามเรี ยง) งานบริการหอพัก กองอาคารสถานที่ มหาวิทยาลัย มหาสารคาม ยอมรั บว่า ปั จจุบนั จะมีการปรั บ เปลี่ยนนโยบายใหม่ โดยอธิ บายถึงข้ อดีเพราะ นิสิตต้ องรักษาสิทธิ ทังการรั ้ กษาพยาบาล การ เลือกตัง้ และการจัดสรรค่าหัวในการบ�ำรุงท้ องถิ่น เคยมีการร่ วมประชุมทังเทศบาลต� ้ ำบลขามเรี ยง
นิสิตไม่ ร้ ู เหตุผลการย้ ายทะเบียนบ้ าน ทัง้ นี ้ ข้ อดีของการย้ ายทะเบียนบ้ านก็ เพื่อรักษาสิทธิ ที่นิสิตพึงจะได้ รับ อีกทังยั ้ งช่วย พัฒนาท้ องถิ่นที่อาศัย จึงท�ำให้ นิสิตเสียสิทธิใน การเลื อ กตั ง้ แต่ จ ากค� ำ บอกเล่ า ของแหล่ ง ข่ า วซึ่ ง เป็ น นิ สิ ต ชัน้ ปี ที่ 1 ถึ ง การเซ็ น เอกสาร ยิ น ยอมการย้ ายทะเบี ย นบ้ านไม่ ไ ด้ รั บ การ ชี ้แจงอย่างชัดเจน นิสติ บางรายไม่ทราบแม้ กระทัง่ ชื่อตนเองได้ ย้ายมาอยูใ่ นมหาวิทยาลัย กระทัง่ มี การเลื อ กตัง้ จึง ทราบว่า ชื่ อ ตนได้ อ ยู่ที่ ท ะเบี ย น มหาวิทยาลัยเรี ยบร้ อยแล้ ว นางสาวพั ช ริ น ราโพธิ์ นิ สิ ต คณะ มนุ ษ ยศาสตร์ และสั ง คมศาสตร์ ชั น้ ปี 1 มหาวิทยาลัยมหาสารคาม เล่าว่า ตอนแรกตนจะ ย้ ายทะเบียนบ้ าน แต่เมื่อถามคนอื่นเขาไม่ย้ายจึง ไม่ย้าย ไม่ทราบว่าถ้ าไม่ย้ายทะเบียนบ้ านจะมีผล ต่อการพัฒนาท้ องถิ่น แต่สาเหตุที่ตนไม่ย้ายใน ตอนรายงานตัวปี 1 เพราะรุ่นพี่บอกว่าไม่จ�ำเป็ น ต้ องย้ ายก็ได้ นายปั ญ ญา พิ ม พ์ เ นาว์ นิ สิ ต คณะ วิ ท ยาการสารสนเทศ ชัน้ ปี 4 มหาวิ ท ยาลัย มหาสารคาม เล่าว่า คิดว่าการย้ ายทะเบียนบ้ าน มาอยูท่ ี่มหาวิทยาลัยมหาสารคามจะช่วยเหลือใน เรื่ องติดต่อเกี่ยวกับหน่วยงานราชการง่ายขึ ้น และ ทราบถึงผลกระทบว่าในเขตพื น้ ที่ ที่ตนอาศัยมี ปั ญหา อาจเป็ นที่ตวั ของบุคคลไม่ได้ อยูใ่ นท้ องถิ่น แต่เดิม มีทงมาศึ ั ้ กษาและคนทัว่ ไปทีป่ ระกอบธุรกิจ ในพื ้นที่ ดังนัน้ นิสติ ที่ไม่ย้ายทะเบียนย่อมไม่ผิด เพราะมหาวิทยาลัย ยังไม่สามารถให้ ความชัดเจน ถึงเหตุผลของการย้ ายทะเบียนเท่าที่ควร ส่วน ภาระการพัฒนาท้ องถิ่นถือเป็ นเรื่องจิตส�ำนึก หาก ทางเทศบาลต�ำบลขามเรียงและเทศบาลต�ำบลท่า ขอนยางสามารถสร้ างความเข้ า ใจกับ นิ สิ ต ได้ ถึงปัญหาทีเ่ กิดขึ ้นในบริเวณพื ้นทีน่ นั ้ ๆ คาดว่าอาจ ด�ำเนินการไขได้ ในอนาคต
ในกรณี ที่มีประชากรแฝงเพิ่ มมากขึน้ จากจ� ำ นวนนิ สิ ต ที่ ห ลั่ ง ไหลเข้ ามาศึ ก ษาใน มหาวิ ท ยาลัย มหาสารคาม ท� ำ ให้ เ กิ ด ปั ญ หา ภายในเขตเทศบาลต�ำบลท่าขอนยางและเทศบาล ต�ำบลขามเรี ยง เช่น น� ้ำท่วมขัง ถนนช�ำรุด ปั ญหา การจราจร ที่ทิ ้งขยะไม่เพียงพอ ซึ่งงบประมาณ จัดสรรในการแก้ ปัญหาเหล่านีข้ ึ ้นอยู่กับจ�ำนวน ประชากร แต่ เ พราะนิ สิ ต ส่ ว นใหญ่ ไ ม่ ไ ด้ ย้ า ย ทะเบียนบ้ านมายังที่อยูม่ หาวิทยาลัย ส่วนท้ องถิ่น จึงรับภาระการพัฒนาทังหมด ้ ประชากรแฝง ปั ญหาที่แก้ ไม่ ได้ นายสมชาติ บุตราช นายกเทศมนตรี เทศบาลต� ำ บลท่ า ขอนยาง อ.กั น ทรวิ ชั ย จ.มหาสารคาม เผยว่า จ� ำนวนประชากรตาม ทะเบียนราษฎร์ ของเทศบาลต�ำบลท่าขอนยางมี ประมาณ 7,800 คน อ้ างอิงข้ อมูลจากจ�ำนวน หอพั ก ปริ ม าณประชากรแฝงจึ ง ไม่ ต�่ ำ กว่ า 20,000 คน เคยมีแนวทางให้ นิสติ ย้ ายทะเบียน บ้ านมาที่หอพักแต่ไม่ประสบผลส�ำเร็ จ จากการ ประชุ ม ระดั บ จั ง หวั ด กุ ญ แจส� ำ คั ญ ที่ สุ ด คื อ มหาวิทยาลัยมหาสารคามต้ องเป็ นตัวขับเคลื่อน
หนั งสือพิมพ์ ส่ ือมวลชน เป็ นหนังสือพิมพ์ฝึกปฏิบตั ิของนิสิตเอกวารสารศาสตร์ เจ้ าของ ภาควิชานิเทศศาสตร์ คณะวิทยาการสารสนเทศ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม โทรศัพท์ 043-754312-40 ต่อ 5245 บรรณาธิการผู้พมิ พ์ ผ้ ูโฆษณา อาจารย์สรุ ี วลั ย์ บุตรชานนท์, อาจารย์สนุ ทรี อมรเพชรสถาพร บรรณาธิการบริหาร วัชรพงษ์ อินแสง บรรณาธิการข่ าว ดวงกมล งามเมืองปั ก บรรณาธิการบทความ วริยา กระแจ่ม บรรณาธิการฝ่ ายจัดการ จริยาภรณ์ มาตรพร บรรณาธิการภาพ อนุศกั ดิ์ พรมดี บรรณาธิการ ฝ่ ายศิลป์ จิรวัฒน์ บรรจง พิสูจน์ อักษร รัตน์มณี ชิมโภคลัง, จิราภรณ์ พอกพูล, ธิดา เขียวน้ อย, ปิ ยณัฐ แสนมานิตย์, กิตติกานต์ บุญเหลี่ยม, วรางคณา พงษ์ สพัง ฝ่ ายโฆษณา ณัฐปรี ยา เพชรศร, รัตสมา ค�ำแพง กองบรรณาธิการ ปริ นดา ปั ตตานี, สุภาวดี ครุฑสิงห์, สุวพันธุ์ วงษ์ ค�ำอุด, กรกนก เกียรติสมวงศ์, ชุตกิ าญจน์ บ�ำรุง, ศุภชัย แก้ วขอนยาง, พชรพร อาศรัยผล, สิริพร ประสานเวช, พิมภินนั ท์ เคี่ยนบุ้น, ฌาณิตา ไพสาร, อัษฎางค์ อินแป้น, อภัสรา เการัมย์, อภิญญา พวงมณี, วาสนา เพิ่มสมบูรณ์, ทนงศักดิ์ เพ็งพารา, พรรณพิลาส เทียมลม, สุดปรารถนา เที่ยงนา, สรวิศ ลีละชาต
หน้า 4
หนังสือพิมพ์สื่อมวลชน ปีที่ 15 ฉบับที่ 2 ประจ�ำเดือนตุลาคม พ.ศ.2559
ต่อหน้าหนึ่ง
ต่อหน้า 1 นิสิต มมส ติดเชื้อ HIV เพิ่มขึ้น นางเกศมุกดา ไตรรัตน์ พยาบาลวิชาชีพ ช�ำนาญการพิเศษ ศูนย์บ้านร่ มเย็น โรงพยาบาล มหาสารคาม จ.มหาสารคาม เปิ ดเผยว่า ในอดีต นิสิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม (มมส) ที่ติดเชื ้อ HIV เข้ ารักษาที่ศนู ย์บ้านร่มเย็น แต่ปัจจุบนั นิสติ บางส่วนกลับไปรักษาที่โรงพยาบาลสุทธาเวช มี บางส่วนยังรักษาอยูบ่ ้ านร่มเย็น โดยอัตราการติด เชื ้อ HIV พบมากในกลุม่ นักศึกษาและเยาวชน ช่วง อายุ 19–23 ปี แต่ไม่สามารถเปิ ดเผยตัวเลขได้ ส่วนใหญ่จะพบในเพศชายมากกว่าเพศหญิง และ เป็ นกลุม่ ชายรักชายที่มีเพศสัมพันธ์แบบฉาบฉวย (Men who have Sex with Men–MSM) หากมีนิสติ เข้ ามาตรวจหาเชื ้อ HIV 100 คน จะพบผู้ติดเชื ้อ 10 คน คือกลุม่ ชายรักชายทังหมด ้ นางเกศมุกดา กล่าวต่อว่า ส่วนมากนิสติ มมส จะเข้ ารับการรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ คือ โรคซิฟิลสิ หรื อกามโรค หนองใน หูดหงอนไก่ ซึง่ ทางศูนย์จะตรวจ HIV ให้ ด้วย หากพบเชื ้อก็จะ เริ่ มต้ นการรักษาทันที ทังนี ้ ้โรคเอดส์มี 2 ระยะคือ ระยะที่ 1 ไม่ปรากฎอาการ (Asymomatic stage) ผู้ติดเชื อ้ อาจจะไม่มีอาการผิดปกติแต่อย่างใด ส่วนระยะที่ 2 เริ่ มปรากฏอาการ (Symptomatic stage) เลือดจะให้ ผลบวก ร่างกายยังมีอาการป่ วย เรื อ้ รังนานเกิน 1 เดือน โดยไม่ทราบสาเหตุ เช่น มี ไข้ ท้ องเสีย ผิวหนังอักเสบ น� ้ำหนักลด พยาบาลวิชาชีพช�ำนาญการพิเศษ กล่าว เพิ่มเติมว่า โรคเอดส์ (AIDS) กับ HIV ต่างกัน เพราะ HIV เป็ นเชื ้อไวรัสทีท่ ำ� ให้ ภมู คิ ้ มุ กันบกพร่อง ได้ ง่าย หากเป็ นโรคเอดส์คือโรคที่เป็ นผลมาจาก เชื ้อ HIV โดยเชื ้อจะเข้ าไปท�ำลายระบบภูมิค้ มุ กัน ของร่ างกาย ท�ำให้ ร่างกายไม่สามารถต่อสู้กับ เชื ้อโรคแทรกซ้ อนอืน่ ได้ เชื ้อไวรัส HIV พบมากทีส่ ดุ ในเลือด น� ้ำเหลือง เนื ้อเยื่อต่าง ๆ รองลงมาคือน� ้ำ อสุจิ น� ้ำในช่องคลอด ส่วนน� ้ำลาย เสมหะ น� ้ำนม มีปริ มาณไวรัสน้ อย ส�ำหรับเหงื่อ ปั สสาวะ และ อุจจาระ แทบไม่พบเลย อย่างไรก็ตาม แม้ วา่ เชื ้อ HIV จะปะปนในของเหลวที่ออกมาจากร่ างกาย แต่พบว่าโอกาสแพร่โรคมีเฉพาะทางเลือด น� ้ำอสุจิ และน� ้ำในช่องคลอดเท่านัน้ “กลุ่มที่ควรตรวจหาเชือ้ HIV คือผู้ที่มี พฤติกรรมเสี่ยง และต้ องการรู้ ว่าตนเองติดเชือ้ เอดส์หรื อไม่ ผู้ที่ตดั สินใจจะมีคู่ หรื ออยู่กินฉันท์ สามี ภ รรยา หรื อ สงสัย ว่ า คู่ น อนของตนจะมี พฤติกรรมเสี่ยง ผู้ที่คดิ จะตังครรภ์ ้ ทังนี ้ ้เพื่อความ ปลอดภัยทังของแม่ ้ และลูก การตรวจเลือดหาการ ติดเชื ้อเอดส์นนั ้ มิใช่การตรวจหาเชื ้อไวรัสเอดส์ แต่ เป็ นการตรวจหาร่ องรอยที่ร่างกายสร้ างขึ ้น เพื่อ ต่อสู้กบั โรคนันซึ ้ ง่ เรี ยกว่าภูมิต้านทาน (antibody) และตรวจพบได้ ในระยะเวลาตังแต่ ้ 4 สัปดาห์ถงึ 3 เดือน หลังจากรับเชื ้อมาแล้ วหรื ออาจจะนาน กว่านันก็ ้ ได้ ดังนัน้ หากสงสัยว่าติดเชื ้อเอดส์ ไม่ ควรตรวจเลือดทันที เพราะเลือดอาจจะไม่ให้ ผล เป็ นบวก ควรตรวจภายหลังจากที่สมั ผัสเชื ้อแล้ ว 4 สัปดาห์ขึ ้นไป จะให้ ผลที่แน่นอนกว่า” นางเกศ มุกดา กล่าว นางสาวอนงค์ภาณุช ปะนะทังถิรวิทย์ รักษาการหัวหน้ ากลุม่ งานบริ การและสวัสดิภาพ นิสติ กองกิจการนิสติ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
เผยว่ า สถิ ติ ตั ง้ แต่ อ ดี ต ถึ ง ปั จจุ บั น นิ สิ ต มหาวิทยาลัยมหาสารคามติดเชื ้อจ�ำนวน 55 คน เฉลี่ยแต่ละปี เพิ่มขึ ้นปี ละ 1-2 ราย ส่วนมากอยูใ่ น กลุม่ ชายรักชาย ส่วนชายรักหญิงติดเชื ้อ 3 เปอร์ เซ็นเท่านัน้ ในรอบ 10 เดือน ทางโรงพยาบาล สุทธาเวชพบว่ามีนิสติ ติดเชื ้อทางเพศสัมพันธ์ 22 ราย กองกิจการนิสิตพยายามที่จะเข้ าถึงนิสิตใน ทุกช่องทาง เช่น การแจกถุงยางอนามัยไว้ ในห้ องน� ้ำ ทังยั ้ งให้ สโมสรนิสิตน�ำถุงยางอนามัยไปแจกใน แต่ละคณะ ส่วนการเจาะเลือดเพื่อหาเชือ้ HIV นิสิตต้ องได้ รับค�ำปรึกษาก่อน เพราะหากติดเชื ้อ นิสติ จะสามารถรับมือได้ ทนั ดร.มลฤดี เชาวรัตน์ รองอธิการบดีฝ่าย พั ฒ นานิ สิ ต กองกิ จ การนิ สิ ต มหาวิ ท ยาลั ย มหาสารคาม เผยว่า กองกิจการนิสิตมีโครงการ รณรงค์ ใ ห้ ค วามรู้ เกี่ ย วกับ โรคเอดส์ ใ นวัน ที่ 1 ธั น วาคม ของทุก ปี เป็ น กิ จ กรรมเชิ ง นโยบาย ซึง่ กองกิจการนิสิตได้ ด�ำเนินกิจกรรมด้ านรณรงค์ เกี่ ยวกับโรคเอดส์ให้ สอดคล้ องกับวันเอดส์โลก โดยมีวตั ถุประสงค์เพื่อให้ ความรู้ ความเข้ าใจ เกิด ความตระหนักรู้เกี่ยวกับโรคเอดส์และเพศของวัย รุ่น อีกทังเพื ้ อ่ สร้ างทัศนคติทดี่ ตี อ่ ผู้ตดิ เชื ้อ HIV และ เพื่อประสานความร่วมมือเครื อข่ายด้ านโรคเอดส์ ทังองค์ ้ การภายนอกและภายใน โดยมีเป้าหมาย ในการรณรงค์คอื Getting to Zero หรื อ “เอดส์ ลด ให้ เหลือศูนย์ได้ ” “ทังนี ้ ้ นิสิตควรตระหนักทุกครัง้ ก่อนจะ มีเพศสัมพันธ์ ทังในกลุ ้ ่มรักต่างเพศหรื อรักร่ วม เพศ หรื อ รั บ ค� ำ ปรึ ก ษาได้ ที่ ศูน ย์ ใ ห้ ค� ำ ปรึ ก ษา คณะแพทยศาสตร์ หรื อโทร.ปรึกษาได้ ที่สายด่วน
0619298919 อยากให้ นิสิตคิดว่าทุกปั ญหามี ทางออก” ดร.มลฤดี กล่าว นายเกี ยรติ (นามสมมุ ติ ) นิ สิ ต มหาวิทยาลัยมหาสารคาม อายุ 23 ปี ผู้ติดเชื ้อ HIV เผยว่า ช่วงตน อายุ 22 ปี เคยไปตรวจเลือด และพบว่ามีเชื ้อ HIV จึงนึกย้ อนไปถึงการมีเพศ สัมพันธ์ครัง้ แรกกับคนรักเก่าเพียงคนเดียว ซึง่ อาจ เป็ นสาเหตุ แต่ผลกลับพบว่าเขาไม่มีเชื ้อ HIV ทังนี ้ ้ ตนอ่อนแอลงและเริ่มรักษาโดยรับประทานยาต้ าน ไวรัสทันที ซึง่ ต้ องรับประทานยาตลอดชีวิต ทาน ทุ ก เวลา 21.00 น. และพบจิ ต แพทย์ อ ย่ า ง สม�่ำเสมอ โดยเชื ้อ HIV นัน้ ไม่ร้ายเท่ากับเอดส์ “ปั จจุบนั อาการติดเชื ้อ HIV ของผมอยู่ ในระยะแรกคื อ ไม่ ป รากฏอาการ แต่ อ าการที่ ปรากฏคือ ช่วงแรกทีร่ ับยาเพือ่ ควบคุมเชื ้อ HIV จะ มีอาการเวียนหัว ซึง่ ผลตรวจเลือดล่าสุดพบว่าค่า Viral load (ปริ มาณเชื ้อเอชไอวีในเลือด) เท่ากับ 0 หมายถึงไม่พบเชื ้อในร่ างกาย แต่ยงั คงเหลืออยู่ ตามซอกไขข้ อกระดูกหรือต่อมน� ้ำเหลืองต่าง ๆ แต่ มีในปริ มาณที่น้อยมาก ซึง่ การทานยาเท่ากับการ ควบคุมเชื ้อ หากหยุดยาเชื ้ออาจมีโอกาสเพิ่มสูง ขึ ้นและท�ำให้ กลายเป็ นระยะที่ 2 สูร่ ะยะที่ 3 ต่อ ไป” นายเกียรติ กล่าว นายเกียรติ กล่าวต่อว่า ความเครี ยดใน ขณะนี ้คือสังคมและโอกาสในการท�ำงาน เพราะ ไม่ทราบว่าเมื่อเรี ยนจบจะสามารถท�ำงานตามที่ ฝันได้ หรื อไม่ จะหาเงินเลี ้ยงคนที่สง่ ค่าเล่าเรี ยนได้ หรื อไม่ ในเวลาที่เครี ยดมาก มักจะระบายกับคน ที่สามารถเล่าได้ เช่น เพื่อน อาจารย์ หรื ออยูค่ น เดียวสักพัก ตลอดระยะเวลาหนึ่งปี ที่ผ่านมา มี โอกาสเรียนรู้วา่ เชื ้อ HIV เป็ นสิง่ ทีไ่ ม่นา่ กลัวเหมือน ที่คนอื่นมอง เพราะส่วนใหญ่มกั โดนปลูกฝั งมา แบบผิด ๆ ท�ำให้ คดิ มาก อยากให้ สงั คมเข้ าใจว่า คนที่มีเชื ้อ HIV ไม่ใช่สิ่งน่ารังเกียจ แท้ จริ งแล้ ว แค่ ต้ องดู แ ลสุ ข ภาพตนเองมากกว่ า คนอื่ น
น า ย ณั ฐ พ ล ห อ ม ส ม บั ติ นิ สิ ต มหาวิทยาลัยมหาสารคาม อายุ 22 ปี กล่าวว่า ถือ เป็ นเรื่องใกล้ ตวั และส�ำคัญต่อนิสติ การทีม่ จี �ำนวน นิสติ ติดเชื ้อ HIV เพิ่มขึ ้น อาจเป็ นเพราะผู้ตดิ เชื ้อ ไม่รักษาตนเอง หรื ออาจจงใจแพร่เชื ้อต่อ จึงท�ำให้ มี จ� ำ นวนผู้ที่ ติ ด เชื อ้ มากขึน้ ซึ่ง เป็ น เรื่ อ งที่ ต้ อ ง ระมัดระวัง ส่วนข้ อดีของการได้ ร้ ูวา่ มีผ้ ตู ดิ เชื ้อ HIV เพิ่มจ�ำนวนขึ ้น จึงควรป้องกันเมื่อมีเพศสัมพันธ์ เพราะเป็ นวิธีที่ดีในการลดความเสี่ยงลง นายพงศกร วรรลยางกู ร นัก ศึ ก ษา มหาวิทยาลัยชื่อดังแห่งหนึง่ อายุ 23 ปี กล่าวว่า ค่อนข้ างรู้ สึกตกใจ เมื่อทราบว่ามีผ้ ูติดเชื ้อ HIV เพิ่มมากขึ ้นทุกปี และอยู่ในกลุ่มของชายรักชาย ส่วนตัวคิดว่าการมี เพศสัมพันธ์ ไม่ใช่เรื่ องที่ ผิด ธรรมชาติ แต่อยากให้ นิสิตช่วยกันป้องกัน หมัน่ ดูแลตัวเอง และกล้ าที่จะไปตรวจเลือด หากพบว่า ติดเชื ้อ ขอให้ ตงใจรั ั ้ กษากายและสุขภาพจิตเพราะ ปั จจุบนั สังคมยอมรับและให้ โอกาสผู้ป่วยอยู่ใน สังคมได้ อย่างปกติ นายทศพร บวรราช อายุ 22 ปี กล่าวว่า มีบางครัง้ ตนมีเพศสัมพันธ์โดยไม่สวมถุงยาง แต่ ก็มกั จะไม่สนใจในเรื่ องนี ้ซึง่ ไม่เคยไปตรวจหาเชื ้อ เช่น กัน อี ก อย่า งคิ ด ว่า สถานบริ ก ารหรื อ แหล่ง อโคจรเพิ่มขึ ้นมาก และเปิ ดใกล้ สถานศึกษา จึง เป็ นสาเหตุหลักในการเสี่ยงต่อการเป็ นโรคติดต่อ ทางเพศสัมพันธ์ เนื่องจากนิสติ บางรายไม่ปอ้ งกัน ก่อนการมีเพศสัมพันธ์ เมาและขาดสติ การป้องกัน ง่าย ๆ คือ ดื่มได้ แต่ควรมีปริ มาณในการจ�ำกัด เกณฑ์ของตัวเองให้ มีสติอยูเ่ สมอ อนึ่ ง ผลส� ำ รวจพบว่ า ในจั ง หวั ด มหาสารคามมีกลุม่ เด็กและเยาวชน อายุ 12-24 ปี ที่ เ ข้ ามาตรวจเลื อ ดกั บ ทางโรงพยาบาล มหาสารคาม พบผู้ตดิ เชื ้อ HIV 7.76 เปอร์ เซ็นต์ใน ปี 2557 ส่วนในปี 2558 พบผู้ตดิ เชื ้อ HIV เพิ่มเป็ น 9.8 เปอร์ เซ็นต์
สังคม
หนังสือพิมพ์สื่อมวลชน ปีที่ 15 ฉบับที่ 2 ประจ�ำเดือนตุลาคม พ.ศ.2559
ส�ำนักงานก่อสร้างทางที่ 2 ทุม่ งบกว่า 268 ล้าน ปรับปรุงถนนสายมหาสารคาม - ยางตลาด ส�ำนั กงานก่ อสร้ างทางที่ 2 กรมทางหลวง กระทรวงคมนาคม เร่ งขยายความคืบหน้ า โครงการก่ อสร้ างทางหลวงหมายเลข 213 เส้ นทางยาว 10 กิโลเมตร ด้ วยงบประมาณ กว่ า 268 ล้ านบาท เพื่อความสะดวกของผู้ใช้ รถใช้ ถนน ทัง้ เล็งลดปั ญหาอุบัตเิ หตุน�ำ้ ท่ วม ให้ กั บ ชาวบ้ านที่ มี ค รั วเรื อนอยู่ บริ เวณ ถนนสายมหาสารคาม-อ.ยางตลาด จ.กาฬสินธุ์ นายจ� ำ รั ส เขื่ อ นแก้ ว ผู้ช่ ว ยนายช่ า ง โครงการปรั บ ปรุ งถนนสายมหาสารคามอ.ยางตลาด ตอน 3 เปิ ดเผยว่า โครงการปรับปรุง ถนนสายมหาสารคาม-อ.ยางตลาด ตอน 3 เป็ น การปรั บ ปรุ ง ช่ อ งจราจรจาก 2 ช่ อ งทาง เป็ น 4 ช่ อ งทาง เพื่ อ อ� ำ นวยความสะดวก และความปลอดภั ย ให้ กั บ ผู้ ที่ ใช้ เส้ นทาง เพราะเส้ น ทางนี ม้ ี ก ารใช้ งานและมี ร ถสัญ จร ผ่านเป็ นจ�ำนวนมาก โดยสูงถึง 30,927 คันต่อวัน รถบรรทุ ก 6 ล้ อขึ น้ ไป 1,624 คั น ต่ อ วั น ท� ำ ให้ มี อุ บั ติ เ หตุ เ กิ ด ขึ น้ บ่ อ ยครั ง้ เนื่ อ งจาก จ� ำ น ว น ป ร ะ ช า ก ร ที่ เ พิ่ ม ม า ก ขึ น้ เ รื่ อ ย ๆ ทั ง้ นี ้ มี แ ห ล่ ง ส ถ า น บั น เ ทิ ง ใ น เ ส้ น ท า ง นี ้ เพิม่ มากขึ ้น จึงจ�ำเป็ นต้ องใช้ งบประมาณดังกล่าว เพื่อปรั บปรุ งถนนให้ มีประสิทธิ ภาพและรองรั บ
นักวิชาการกฎหมายชี้ผู้เช่าหอพัก ปฏิเสธจ่ายค่าท�ำความสะอาดได้
นั กวิชาการด้ านกฎหมายเผยผู้ เช่ าหอพักมี สิทธิ์ไม่ จ่ายค่ าท�ำความสะอาดหลังย้ ายออก แต่ หากผู้ ให้ เ ช่ าไม่ พอใจสามารถฟ้ องได้ ภายใน 6 เดือนหลังย้ ายออก ด้ านผู้ประกอบ การแจงเหตุเรี ยกเก็บเพื่อเป็ นค่ าจ้ างแม่ บ้าน ชีไ้ ม่ ได้ เรี ยกเก็บเกินความจริง นิสติ มมส เผย มีการเรี ยกเก็บค่ าท�ำความสะอาดจริง แต่ ไม่ ใส่ ใจ เหตุไม่ ร้ ู กฎหมายข้ อนี ้ จากกรณี ที่มีการเรี ยกเก็บค่าท�ำความ สะอาดห้ องพักของหอพักต่าง ๆ รอบมหาวิทยาลัย มหาสารคาม (มมส) ส่งผลให้ มีนิสิตซึง่ เป็ นผู้เช่า หลายคนไม่เข้ าใจเกี่ ยวกับการเก็บค่าท�ำความ สะอาดหอพักหลังย้ ายออก ดร.วนิ ด า พรมหล้ า อาจารย์ ป ระจ� ำ วิ ท ยาลัย การเมื อ งการปกครอง มหาวิ ท ยาลัย มหาสารคาม เปิ ดเผยว่า มีกฎหมายการเช่าหอพัก มาตรา 562 ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ก�ำหนดว่า ผู้เช่าจะต้ องรับผิดในกรณีที่มีการท�ำ ของภายในห้ อ งเช่ า ช� ำ รุ ด เช่ น ผ้ า ม่ า น ประตู ตู้ เตียง ทีเ่ กิดขึ ้นกับทรัพย์สนิ ของหอพัก เพราะเกิด จากความผิดของผู้เช่าเอง หรื อของบุคคลอืน่ ที่เช่า อยู่ด้วย แต่ผ้ เู ช่าไม่ต้องรับผิดในกรณีเกิดความ สกปรกที่เกิดจากการใช้ ห้องเช่า ดร.วนิดา กล่าวต่อว่า จากมาตรา 562 ส�ำหรั บ การเช่า ทรั พ ย์ สิน โดยชอบนัน้ หากเกิ ด
มาตรฐานของท่อให้ ดีขึ ้นอีกด้ วย เนื่องจากช่วงที่ ยังไม่มีโครงการสร้ างถนนและวางท่อประปา ชาว บ้ านได้ รับผลกระทบจากอุทกภัย เพราะท่อเก่ามี ขนาดเล็ก ชาวบ้ านที่อาศัยอยูบ่ ริ เวณข้ างทางจึงมี การถมดินให้ สงู กว่าพื ้นถนนเพื่อป้องกันน� ้ำท่วม ดังนันท� ้ ำให้ น� ้ำไหลมาท่วมถนน นางพิสมัย เกียมพรม ชาวบ้ านบ้ านสระ อ.กันทรวิชัย จ.มหาสารคาม กล่าวว่า ก่ อนที่ ทางภาครั ฐ จะมี โ ครงการปรั บ ปรุ ง ขยายถนน
สายมหาสารคาม-อ.ยางตลาด จ.กาฬสิ น ธุ์ พื น้ ที่ บริ เวณนี เ้ กิ ดอุบัติเหตุบ่อยครั ง้ เนื่ องจาก ถนนแคบ การจราจรไม่สะดวก เพราะเป็ นเขต ชุมชนและเกิดอุทกภัยบ่อยครัง้ ส่งผลให้ ชาวบ้ าน เดือดร้ อน ดังนันจึ ้ งมีความคิดเห็นว่าถ้ าหากสร้ าง ถนนเสร็ จแล้ วความปลอดภัยและความสะดวก สบายจะเข้ าสูช่ มุ ชน “เขตก่อสร้ างเป็ นเขตชุมชน มีประชากร อาศัยอยู่จ�ำนวนมาก และมีสถานที่ท่องเที่ยวคือ วัดพระยืน มีคนมากราบไหว้ ในแต่ละวันค่อนข้ าง มาก รถสัญจรผ่านเยอะ จึงท�ำให้ เกิดอุบตั เิ หตุบอ่ ย ครัง้ ขณะท�ำการก่อสร้ างมีฝนุ่ มารบกวนบ้ าง ถนน ลืน่ บ้ าง แต่เมือ่ สร้ างถนนเสร็จ จะเกิดความสะดวก ในการสัญจรมากขึน้ และไม่มีการเกิดน�ำ้ ท่วม” นางพิสมัย กล่าว นางดวงสมร แสนวัง ชาวบ้ านบ้ านสระ อ.กันทรวิชยั จ.มหาสารคาม กล่าวว่า ในระหว่าง การก่อสร้ างนันมี ้ ปัญหาด้ านฝุ่ น ถนนลืน่ จากดินที่ ใช้ ก่อสร้ าง และไม่สามารถขายของตามทางเท้ า ได้ แต่เมื่อสร้ างถนนเสร็จก็จะสามารถขายของได้ เหมือนเดิม แต่ก่อนริ เริ่ มโครงการมีกรมทางหลวง กรุงเทพฯ ลงมาอธิบายถึงจุดประสงค์แล้ ว อีกทัง้ สามารถบรรเทาปั ญหาอุบตั เิ หตุและอุทกภัยได้ จงึ ถือเป็ นเรื่ องที่ดี และเข้ าใจถึงความเปลี่ยนแปลง “ถือว่าเป็ นเรื่ องดีที่มีโครงการดังกล่าว เกิดขึ ้นเพราะไม่ใช่เพียงแค่มีการขยายถนนเพิ่ม เส้ นทางจราจรเท่านัน้ แต่ยงั สามารถลดการเกิด อุบตั เิ หตุแล้ ว ยังได้ วางท่อระบายน� ้ำเพือ่ ลดปัญหา น� ้ำท่วมด้ วย เท่ากับว่าได้ ประโยชน์ทงสองอย่ ั้ างใน โครงการเดียว” นางดวงสมร กล่าว
ชี ้แจงไว้ เกี่ยวกับการเข้ าพักและย้ ายออก ถ้ าคน เช่าอ่านก่อนเซ็นสัญญาก็จะทราบ แต่หากมีการ ท� ำ ความสะอาดให้ ก่ อ นออกก็ มี ก ารเก็ บ ค่ า ท�ำความสะอาดอยูด่ ี เพราะแม่บ้านต้ องตรวจและ ท�ำความสะอาดทุกห้ องเป็ นปกติ จริ ง ๆ แล้ วคนที่ เช่าทัง้ หมดก็ไม่มีใครท�ำความสะอาดก่อนออก เพราะเขารู้ อยู่แ ล้ ว ว่า จะมี ก ารเก็ บ ค่า ท� ำ ความ สะอาดจากหอพัก ผู้สอื่ ข่าวได้ สำ� รวจความคิดเห็นของนิสติ ผู้เช่าหอพักแห่งหนึง่ พบว่า ส่วนใหญ่มีความเห็น เกี่ยวกับการเก็บค่าท�ำความสะอาดไปในทิศทาง เดียวกันคือมีการเรี ยกเก็บ และนิสิตส่วนใหญ่จะ ไม่ร้ ูถงึ กฎหมายจึงปล่อยผ่านไป ด้ า น แ ห ล่ ง ข่ า ว ซึ่ ง เ ป็ น นิ สิ ต ช า ย มหาวิทยาลัยมหาสารคาม กล่าวว่า เคยอยูห่ อพัก มา 3 แห่ง ซึง่ ทุกแห่งก็เก็บค่าท�ำความสะอาดทุก ครั ง้ ที่ ย้ ายออก ส่ ว นใหญ่ ค่ า ใช้ จ่ า ยก็ จ ะอยู่ ประมาณ 300-500 บาท ตนจ่ายตลอดเพราะส่วน ตัว คิ ด ว่ า เป็ น สิ่ ง ที่ ต้ อ งจ่ า ยไม่ ไ ด้ คิ ด มากอะไร
แต่บางหอพักไม่เก็บค่าท�ำความสะอาด แต่จะเก็บ ในรูปแบบอื่น เช่น จะเก็บเป็ นค่าเสื่อม (คือการ เช่าหอพักห้ องจะมีการเสือ่ มโทรมเรี ยกว่าค่าเสือ่ ม ของ) แต่ก็อยูท่ ี่สญ ั ญาแต่ละหอจะแจ้ งเอาไว้ แหล่งข่าวซึง่ เป็ นนิสติ หญิงมหาวิทยาลัย มหาสารคาม กล่าวว่า เคยเจอหอพักที่เรี ยกเก็บ ค่าท�ำความสะอาดแพงมาก ดูรวม ๆ แล้ ว หักจาก ค่าท�ำความสะอาดจากเงินประกันเกือบทังหมด ้ มี ทังค่ ้ าท�ำความสะอาดห้ อง ค่าเสียหาย บางอย่าง เราก็ไม่ได้ เป็ นคนท�ำช�ำรุด แต่เกิดจากการช�ำรุด ก่อนหน้ าทีจ่ ะเข้ าอยู่ แต่เมือ่ บอกผู้ดแู ลหอพักก็ไม่ ได้ มี ก ารตรวจสอบให้ แ ต่อ ย่ า งใด และหัก ค่า ท�ำความสะอาดและของช�ำรุดตามเดิม ไม่ได้ มกี าร แจ้ งความหรื อฟ้องร้ องเพราะมองว่าปล่อย ๆ ไป ไม่อยากให้ เป็ นเรื่องใหญ่โต ไม่คดิ ว่าจะมีกฎหมาย ในเรื่ อ งนี ้ ก็ มี ก ารโพสต์ ร ะบายในเฟซบุ๊ก บ้ า ง เกี่ยวกับการเก็บค่าท�ำความสะอาดที่แพง พบว่า มีคนเจอเหตุการณ์คล้ ายกันและคิดเหมือนตนอยู่ มากพอสมควร
เร่ ง ปรั บ ปรุ ง ถนนสายมหาสารคาม-อ.ยางตลาด จ.กาฬสิน ธุ์ พร้ อมวางท่อ เพื่ อ ลดปั ญ หาอุบัติ เ หตุ
การใช้ งานมากยิ่งขึ ้น นายจ�ำรัส กล่าวต่อว่า มีการปรับปรุ ง ถนนขยายเส้ นทางจราจรเป็ นแบบ 4 ช่องจราจร ไป-กลับ ขนาดความกว้ างของผิวจราจรช่องละ 3.50 เมตร มีไหล่ทางกว้ าง 2.50 เมตร ในช่วงย่าน ชุมชนแบ่งแยกทิศทางจราจรโดยใช้ เกาะกลาง แบบยกสูง กว้ างประมาณ 4.20 เมตร พร้ อม ทางเท้ าและติดตังไฟฟ้ ้ าแสงสว่างเนื่องจากได้ รับ งบประมาณจากกรมทางหลวง 268,198,013 บาท และมีการออกแบบการวางท่อระบายน� ้ำเพื่อเพิ่ม
ความสู ญ หายหรื อบุ บ สลายแก่ ท รั พ ย์ สิ น ที่ ผู้เช่าไม่ต้องรับผิดในความสูญหายหรื อบุบสลาย ซึ่ ง ค� ำ ว่ า สู ญ หายหรื อบุ บ สลายจากการเช่ า ทรัพย์สนิ โดยชอบนี ้ รวมถึงความสกปรกอันเกิด จากการใช้ ห้องเช่า คือหากเราเช่าและใช้ ชีวิตอยู่ ในห้ องเช่าอย่างปกติทวั่ ไปแล้ วเกิดความสกปรก ขึ ้นมา เราในฐานะผู้เช่ามีสทิ ธิ์ที่จะปฏิเสธการจ่าย ค่าท�ำความสะอาด “ตามมาตรา 562 วรรคสอง ประมวล กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ระบุวา่ ถ้ าหากผู้ให้ เช่า ไม่พงึ พอใจ ก็มีสทิ ธิ์ฟอ้ งแก่สญ ั ญาเช่าภายใน 6 เดือน นับแต่วนั ส่งคืนทรัพย์สนิ ที่เช่าตามประมวล กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 563 ได้ เช่นกัน” ดร.วนิดา กล่าว แหล่งข่าวซึ่งเป็ นผู้ประกอบการหอพัก เอกชนรายหนึง่ เผยว่า มีการเรี ยกเก็บค่าท�ำความ สะอาด 200 บาท หลังนักศึกษาแจ้ งจะย้ ายออก จากหอ เพื่อเป็ นค่าจ้ างแม่บ้านในการท�ำความ สะอาดห้ องตอนย้ ายออก ซึง่ จะหักจากเงินประกัน ที่ตกลงกันไว้ ตงแต่ ั ้ แรก 2,000 บาท และไม่ทราบ ว่ามีกฎหมายเกี่ยวกับเรื่ องนี ้ แต่ก็มองว่าเป็ นเรื่ อง ปกติ ที่ ท างหอพั ก ทุ ก หอต้ องเก็ บ ค่ า ท� ำ ความ สะอาด เพราะคนทีม่ าเช่าก่อนออกก็ไม่ได้ ทำ� ความ สะอาดให้ ทังนี ้ ้ หอพักที่เคยเช่าเก็บ 200 บาท ถือว่าถูกกว่าหอพักอื่น ๆ และในสัญญาเช่าก็ได้
หน้า 5
หน้า 6
หนังสือพิมพ์สื่อมวลชน ปีที่ 15 ฉบับที่ 2 ประจ�ำเดือนตุลาคม พ.ศ.2559
ต่อหน้าหนึ่ง
ต่อจากหน้า 1 มาตรการรถหาย มมส
ภาพจ�ำลองเหตุการณ์ขโมยรถของคนร้ ายใน มมส ซึง่ ท�ำตัวปกติเหมือนเป็ นเจ้ าของรถ ด้ านสายตรวจระบุ ค นร้ ายท� ำ งานเป็ นที ม แฝงตั ว กั บ นิ สิ ต รู้ ทั น มุ ม กล้ องวงจรปิ ดของ มหาวิทยาลัย นายรัตน์ แก้ วแสนเมือง นักวิชาการพัสดุ ปฏิ บัติ ก ารรั ก ษาการแทนผู้อ� ำ นวยการอาคาร สถานที่ กองอาคารสถานที่ มหาวิ ท ยาลั ย มหาสารคาม เปิ ดเผยว่า บริ บทของมหาวิทยาลัย มีนิสิตใช้ รถจักรยานยนต์เป็ นจ�ำนวนมาก เมื่อถึง ช่ ว งเปิ ดภาคเรี ยนหรื อช่ ว งวั น หยุ ด ยาว รถ จัก รยานยนต์ ข องนิ สิต จะเริ่ ม หาย โดยคนร้ าย ท� ำ งานแบบมื อ อาชี พ คอยสอดส่ อ งความ เคลื่ อ นไหวของนิ สิ ต พนั ก งานรั ก ษาความ ปลอดภัย (รปภ.) และสายตรวจของมหาวิทยาลัย ส่วนคนร้ ายอีกกลุม่ จะลงมือขโมยรถจักรยานยนต์ ที่ต้องการ ซึง่ รถจักรยานยนต์ที่หายส่วนใหญ่เป็ น เพราะนิ สิ ต เร่ ง รี บจนลื ม ถอดกุ ญ แจรถออก เนื่ อ งจากกลัว ไปเรี ย นไม่ทัน หรื อ นิ สิ ต ที่ ม าท� ำ กิจกรรมตามคณะ และนิสิตที่มาออกก�ำลังกาย ทัง้ นี ้ ที่ ผ่านมาต�ำรวจมี การจับกุมคนร้ ายได้ ที่ จ.ขอนแก่น และ จ.มหาสารคาม ยึดรถได้ ประมาณ 80 คัน รวมถึง อะไหล่ร ถจัก รยานยนต์ จ� ำ นวน มาก นายรัตน์ กล่าวต่อว่า เนื่องจากคนร้ าย บางรายไม่ได้ ต้องการรถจักรยานยนต์ แต่จะมาใน รูปแบบลักทรัพย์ตดิ ตัวของนิสติ เช่น โทรศัพท์มือ ถือ กระเป๋ าเงิน กล้ องถ่ายรูป ที่นิสติ แขวนหรื อใส่ ไว้ ใต้ เบาะรถ อย่างไรก็ตาม ทางมหาวิทยาลัยได้ มี มาตรการป้อ งกัน อย่า งเต็ม ที่ โดยติ ด ตัง้ กล้ อ ง วงจรปิ ด ตามพื น้ ที่ เ สี่ ย ง พร้ อมทัง้ ก� ำ ชับ รปภ. แต่ละคณะสอดส่องดูแลรอบ ๆ บริ เวณ ตรวจหา กุญแจที่นิสติ ลืมไว้ โดย รปภ. จะท�ำการล็อคคอรถ และลงบัน ทึ ก ประจ� ำ วัน เพื่ อ รอนิ สิ ต มารั บ คื น อี ก ทัง้ ยัง มี ก ารประชาสัม พัน ธ์ ใ นกลุ่ม เฟชบุ๊ ก มหาวิทยาลัยมหาสารคาม รณรงค์ให้ นสิ ติ ล็อคคอ รถ จอดให้ ถกู จุดหรื อในพื ้นที่ที่มีกล้ องวงจรปิ ด “หากนิ สิ ต จ� ำ เป็ น ต้ อ งจอดในที่ ลับ หู ลับตา เช่น จอดไว้ ในพื ้นที่ไฟส่องสว่างเข้ าไม่ถึง ปั จจุบนั มหาวิทยาลัยพยายามเพิ่มความสว่างให้ กับจุดเสีย่ งและให้ รปภ. เดินตรวจเข้ มงวดมากขึ ้น กรณีรถจักรยานยนต์ที่จอดค้ างนานเกิน 1 เดือน หรื อมีความผิดปกติ ทางมหาวิทยาลัยจะประสาน งานเจ้ าหน้ าที่ต�ำรวจสถานีต�ำรวจภูธรเขวาใหญ่ อ.กัน ทรวิ ชัย จ.มหาสารคาม มารั บ รถไปเพื่ อ ประกาศติดต่อหาเจ้ าของต่อไป” นายรัตน์ กล่าว พ.ต.ท.ธี ร ะวั ฒ น์ อามาตย์ ส มบั ติ
รองผู้ก�ำกับการป้องกันและปราบปราม สถานี ต�ำรวจภูธรเขวาใหญ่ อ.กันทรวิชยั จ.มหาสารคาม กล่าวว่า เจ้ าหน้ าที่ต�ำรวจ สภ.เขวาใหญ่ มีจ�ำนวน เพียง 30 นาย ซึง่ มีจ�ำนวนน้ อยมากหากเทียบกับ นิสิตและประชาชนโดยรอบมหาวิทยาลัย จึงไม่ เพียงพอต่อการดูแลได้ ทั่วถึง โดยงานหลักของ ต�ำรวจทีร่ ับผิดชอบคือการป้องกันปราบปราม ส่วน กรณี รถจักรยานยนต์ในมหาวิทยาลัยหาย ทาง ต�ำรวจจะดูแลเกี่ยวกับทรัพย์สินของนิสิตที่ติดตัว ไปกับจักรยานยนต์ด้วย การปฏิบตั งิ านของต�ำรวจ จะใช้ การปรากฏกายและแสดงตัวให้ ชดั เจนที่สดุ โดยจะน� ำ รถโล่เ ปิ ด ไฟไซเรน เข้ า ไปตะเวนใน มหาวิทยาลัยและตรวจสอบความเรี ยบร้ อยด้ วย สายตา เพื่อดูสิ่งผิดปกติพร้ อมกับทีมงานต�ำรวจ สภ.เขวาใหญ่ และสายตรวจของมหาวิทยาลัย อย่างไรก็ตาม มีนิสติ ไม่ชอบการท�ำงานในรูปแบบ ดัง กล่ า วซึ่ ง เจ้ าหน้ าที่ ก็ ชี แ้ จงในที่ ป ระชุ ม ของ มหาวิทยาลัยแล้ วว่าจ�ำเป็ นต้ องปฏิบตั หิ น้ าทีน่ ำ� รถ โล่เปิ ดไฟไซเรน อย่างน้ อยคนร้ ายก็ลงมือขโมยรถ จักรยานยนต์ของนิสติ ได้ ยากขึ ้น พ.ต.ท.ธีระวัฒน์ ระบุอกี ว่า การโจรกรรม รถจักรยานยนต์เริ่มมาในรูปแบบใหม่ คือ “รถตาม สัง่ ” โดยจะมีนายหน้ าแก๊ งซื ้อขายรถมือสอง ซึง่ จะ ประกาศขายรถตามเว็บซื ้อขายออนไลน์ ต่าง ๆ หากลูกค้ าสนใจรุ่ นอะไรก็จะโทรมาสัง่ แก๊ งลักรถ ว่าอยากได้ รถรุ่นและสีอะไร คนร้ ายก็จะน�ำรถยนต์ ตระเวนดูรอบมหาวิทยาลัยและยกขึ ้นรถทันที ซึง่ รถทีห่ ายส่วนมากจะเป็ น คาวาซากิ KLX/ GPX เรส ซิ่ง/ คาวาซากิ KSR และรถจักรยานยนต์ตระกูล ฮอนด้ า ซึ่งคนร้ ายจะน�ำรถจักรยานยนต์ไปจะ ช�ำแหละขายเป็ นอะไหล่ แต่สว่ นใหญ่จะขายเป็ น คัน ที่ผา่ นมามีการจับโจรได้ บ้างแล้ ว ซึง่ เป็ นโจรที่ เปิ ด บ้ า นพัก อยู่ที่ จ.ขอนแก่ น และคนในพื น้ ที่ จ.มหาสารคาม ส่วนใหญ่จะเป็ นคนที่เพิ่งจะพ้ น โทษจากเรื อนจ�ำมาประมาณ 2-3 เดือน อย่างไร ก็ตาม คนเหล่านี ้เมือ่ พ้ นโทษก็จะออกมาผันตัวเป็ น หัวหน้ าแก๊ งตะเวนขโมยรถใหม่หรื อมีกลุ่มใหม่ที่ ก่อตังขึ ้ ้นมาทดแทน “ปั จ จุบัน นิ สิ ต มี ก ารใช้ ชี วิ ต เปลี่ ย นไป เพราะคิดว่าเป็ นแหล่งศึกษาของปั ญญาชน น่าจะ มีความปลอดภัย จึงไว้ วางใจสภาพแวดล้ อมมาก จนเกิ น ไป โดยเฉพาะสถานที่ เ สี่ ย งก็ คื อ สวน สุขภาพของมหาวิทยาลัย อาคารพลศึกษา หอพัก ในมหาวิ ท ยาลั ย และหอพั ก เอกชนรอบ มหาวิทยาลัย กระนันทุ ้ กเย็นนิสติ จะเห็นรถต�ำรวจ
เปิ ดไฟไซเรน ออกตรวจสถานที่ ต่ า ง ๆ ของ มหาวิทยาลัยพร้ อมทังเข้ ้ าไปพูดคุยประชาสัมพันธ์ ให้ นิ สิ ต ได้ ต ระหนัก ถึ ง เรื่ อ งดัง กล่ า ว ทัง้ นี ท้ าง ส ภ . เ ข า ใ ห ญ่ พ ย า ย า ม ป้ อ ง กั น ไ ม่ ใ ห้ ร ถ จักรยานยนต์ของนิสิตหาย เพราะเมื่อหายแล้ ว เวลาตามจับ กว่าจะจับได้ อาจต้ องปาดเหงื่อและ ไม่ค้ มุ ค่า สมมุติว่าตามจับผู้ต้องหาได้ แต่ได้ รถ จักรยานยนต์มาหน้ าตาไม่เหมือนเดิม ซึง่ กฎหมาย ไม่ได้ เปิ ดช่องให้ ตำ� รวจไล่ศาลเตี ้ยกับผู้ต้องหา แต่ ให้ ผ้ ูเสียหายไล่เบี ้ยกับผู้ต้องหาเองหรื อฟ้องร้ อง ศาลซึง่ เป็ นภาระค่อนข้ างสูง ฉะนันการป้ ้ องกันไม่ ให้ เกิดเหตุสำ� คัญทีส่ ดุ ” พ.ต.ท.ธีระวัฒน์ กล่าวเพิม่ เติม นายอัครเดช จันทรุ สสอน สายตรวจ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม กล่าวว่า สายตรวจเป็ น เจ้ าหน้ าที่สว่ นกลางของมหาวิทยาลัย รวมแล้ วมี สายตรวจ 8 คน ซึง่ จะแยกปฏิบตั หิ น้ าที่กบั ยาม ของแต่ละคณะ โดยจะดูแลความเรียบร้ อยบริเวณ ทังหมดของมหาวิ ้ ทยาลัยและดูแลประจ�ำอยูท่ กี่ อง อาคารสถานที่หรื อกองกิจการนิสติ การออกตรวจ จะไม่มีเวลาก�ำหนดว่าจะออกตรวจเวลาใด พร้ อม ทังออกตรวจร่ ้ วมกับต�ำรวจ สภ.เขวาใหญ่ นายอัค รเดช ยัง กล่า วถึ ง สาเหตุที่ ร ถ จักรยานยนต์ของนิสติ หายว่า มีหลายสาเหตุ แต่ ส่วนใหญ่ 80 เปอร์ เซ็นต์ นิสิตจะลืมถอดกุญแจ เวลาไปเรี ยน หลังเลิกเรี ยนรถก็โดนคนร้ ายขโมย ไปเสี ย แล้ ว โดยรู ป แบบของการโจรกรรมของ คนร้ าย บางครัง้ มาในรูปแบบชุดนิสติ หรื อชุดพละ ของมหาวิทยาลัยเหมือนกับนิสติ ทัว่ ไป ปะปนกับ นิสติ มีสายรายงานความเคลือ่ นไหวของเจ้ าหน้ าที่ และเดินดูรถที่ ต้องการ อย่างอาคารพลศึกษา คนร้ ายก็จะเดินวนรอบอาคารหรือบริเวณใกล้ เคียง คันไหนมีกุญแจเสียบไว้ คนร้ ายก็จะสตาร์ ทขับ ออกไปแต่ปัจจุบนั นี ้จะยกขึ ้นรถกระบะแทน ส่วน คนร้ ายที่มาในรูปแบบลักทรัพย์ คนร้ ายจะมานัง่ ดู ว่าใครท�ำอะไร ตอนออกก�ำลังกายนิสิต ได้ เปิ ด เบาะเอาของเก็บไว้ หรือเปล่า จากนันก็ ้ จะลงมืองัด เบาะหรื อล้ วงกระเป๋ าที่ห้อยตามรถจักรยานยนต์
“แม้ แต่กล้ องวงจรปิ ดของมหาวิทยาลัย คนร้ ายจะรู้ ว่ า มุม กล้ อ งอยู่ไ หนบ้ า ง เนื่ อ งจาก คนร้ ายจะตะเวนดูทวั่ มหาวิทยาลัย อีกทังกล้ ้ อง วงจรปิ ดมหาวิทยาลัยไม่ได้ ซอ่ นตัวหรือแอบมุม ซึง่ ติดตังให้ ้ เห็นเลยว่ามีกล้ องวงจรปิ ด จึงเป็ นเรื่ องไม่ ยากที่คนร้ ายจะเอาผ้ ามาปิ ดกล้ องและหลบหลีก มุมกล้ องได้ อย่างง่ายดาย นอกจากนี ้ปั ญหาใหญ่ สุดคงเป็ นเรื่ องของมหาวิทยาลัยเปิ ด เนื่องจาก ถนนเส้ นหน้ าตึกบรมราชกุมารีเป็ นถนนหลวงผู้คน ภายนอกสัญจรไปมาตลอดเวลา รัว้ รอบขอบชิด ของมหาวิทยาลัยก็ไม่มี จึงยากต่อการดูแลรักษา ดังนัน้ แล้ วนิ สิตก็ ต้องดูแลรถจักรยานยนต์ และ ทรัพย์สินของตนเอง เพราะคนพลุกพล่านก็ไม่ได้ แปลว่าปลอดภัย” นายอัครเดช กล่าวทิ ้งท้ าย นางสาวมิ นธิ รา แสนแก้ ว นิ สิตคณะ วิทยาการสารสนเทศ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม เปิ ดเผยว่า รถหายมาสักระยะแล้ ว ตนได้ เข้ าแจ้ ง ความทีส่ ถานีตำ� รวจภูธรเขวาใหญ่ ปัจจุบนั ยังไม่มี ความคืบหน้ าเนื่องจากไม่สามารถระบุตวั คนร้ าย ได้ โดยจุดที่รถหายเป็ นเขตของมหาวิทยาลัย มี กล้ องวงจรปิ ดบริ เวณนันเพี ้ ยง 2 ตัว ท�ำให้ จบั ภาพ คนร้ ายไม่ได้ เพราะคนร้ ายเอาผ้ ามาปิ ดกล้ องไว้ ก่อนจะลงมือขโมย หลังจากนัน้ ได้ ตามดูกล้ อง วงจรปิ ดตามถนน กล้ องสามารถจับภาพคนร้ าย ได้ ประมาณ 6-7 คน ช่วงเวลาประมาณ 02.30 น. แต่มีฝนตกหนัก คนร้ ายสวมหมวกกันน็อคน�ำรถ จักรยานยนต์ไปทางวัดป่ ากู่แก้ ว ท�ำให้ มองไม่เห็น ชัดเจน ในขณะนี ้ก็ยงั ไม่มีความคืบหน้ าใด ๆ นางสาววนิดา วรรณทอง นิสติ ภาควิชา ภูมิศาสตร์ พฒ ั นาเพื่อการจัดการทรัพยากร คณะ มนุษยศาสตร์ และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัย มหาสารคาม เผยว่า ตนเคยได้ ยินข่าวเรื่ องรถ จักรยานยนต์หายจากเพือ่ นร่วมคณะเช่นกัน มีการ ขโมยรถจักรยานยนต์ที่หอเอบีเอฟซึ่งเป็ นรถเพิ่ง ถอยมาใหม่ของนิสติ ปี 1 ทังที ้ ่มีกล้ องวงจรปิ ด แต่ คนร้ ายรู้ มมุ กล้ องของหอพักจึงเข้ ามาขโมยรถไป ได้ อย่างลอยนวล โดยส่วนตัวแล้ วมีความคิดเห็น ว่าเป็ นเรื่ องน่ากลัว และน่ากังวลมาก เพราะเป็ น เรื่ อ งที่ นิ สิ ต หลายคนมองข้ า ม อาจท� ำ ให้ เ สี ย ทรัพย์สินราคาหลายหมื่น ท�ำให้ เกิดความเดือด ร้ อนแก่ผ้ เู สียหาย ระยะหลังมานี ้เริ่ มมีขา่ วรถหาย เพิ่ ม มากขึน้ ในมหาวิ ท ยาลัย อยากให้ ท างเจ้ า หน้ าที่ของมหาวิทยาลัย ต�ำรวจ และหอพักมีการ จัดการเรื่ องดังกล่าวให้ ดีม ากยิ่ งขึน้ ในจุดพื น้ ที่ เสี่ยง พร้ อมทัง้ ช่วยกันเป็ นหูเป็ นตา เพื่อความ ปลอดภัยของนิสติ ทุกคน
ลานจอดรถจักรยานยนต์บริ เวณมหาวิทยาลัยที่เป็ นเป้าหมายของผู้ร้ายขโมยรถ
เศรษฐกิจ
หนังสือพิมพ์สื่อมวลชน ปีที่ 15 ฉบับที่ 2 ประจ�ำเดือนตุลาคม พ.ศ.2559
ธุรกิจหอพัก ขามเรียง-ท่าขอนยางซบเซา สวนทางจ� ำ นวนนิสิ ต มมส ที่ เ พิ่ม ขึ้ น
หน้า 7
ทังนี ้ ้เขตพื ้นที่ทา่ ขอนยางเป็ น อีกเขตพื ้นที่ที่มีจ�ำนวนหอพักหนาแน่น ธุรกิจหลายอย่างต่างขยับขยายตามไป ห า วิ ท ย า ลั ย ม ห า ส า ร ค า ม ด้ วย นายไพฑูรย์ จิระวนิชกุล เจ้ าของ วิทยาเขตขามเรี ยง หรื อที่ร้ ู จกั กัน หอพัก The Heritะage หอพักขนาดใหญ่ ในนาม ม.ใหม่ เริ่ มมี ค วามเจริ ญ จ� ำ นวน 210 ห้ อ ง กล่ า วว่ า บริ เ วณ เข้ า มา และธุ ร กิ จ ที่ เ กิ ด มาพร้ อมกั บ ท่ า ขอนยางมี ก ารเจริ ญ เติ บ โต การ มหาวิทยาลัย คงหนีไม่พ้นธุรกิจหอพัก ขยับขยายของหอพักจ� ำนวนมากกว่า ซึง่ ได้ ขยายตัวอย่างต่อเนื่อง และพุ่งสูง ขามเรี ยง ด้ วยเหตุที่อยูใ่ กล้ แหล่งอาหาร ขึน้ ด้ ว ยจ� ำ นวนนิ สิ ต ที่ ห ลั่ง ไหลเข้ า มา เครื่องอุปโภคบริโภค แหล่งอ�ำนวยความ ศึ ก ษาต่ อ ในระดับ อุด มศึ ก ษา โดยปี สะดวกสบายต่อนิสติ ในส่วนรายได้ ของ การศึก ษา 2559 มี นิ สิ ต ทัง้ หมดกว่ า หอพักที่ตนดูแลอยูก่ ็เท่าเดิม โดยหอพัก 45,000 คน ตนมี 3 ตึก 7 ชัน้ ชันละ ้ 10 ห้ อง มีหอพัก ทัง้ นี ้ ข้ อมูลจากเอกสารการ รวมชายหญิง 210 ห้ อง ท�ำให้ รายได้ หรือ จดทะเบียนของเทศบาลต�ำบลขามเรี ยง การเช่าพักไม่แตกต่างมากจากปี ที่แล้ ว และเทศบาลต� ำ บลท่า ขอนยาง พ.ศ. นายไพฑูรย์ แสดงความคิด 2559 ระบุวา่ หอพักที่ได้ จดทะเบียนเขต เห็นต่อการปรั บตัวเรื่ อง พ.ร.บ.หอพัก เทศบาลต�ำบลขามเรี ยงมีทงหมด ั้ 169 พ.ศ.2558 ว่า มีการแจ้ งเรื่ องการแยก แห่ง ก� ำลังด�ำเนินการจดทะเบียน 37 ประเภทชาย หญิง เพียงแต่ในส่วนการ แห่ง เขตพื ้นทีเ่ ทศบาลต�ำบลท่าขอนยาง ปฏิบตั จิ ริ งอาจจะด�ำเนินการยาก ยังอยู่ 336 แห่ง ก�ำลังด�ำเนินการจดทะเบียน ในช่วงปรับตัว ส่วนที่มีการปรับขึ ้นราคา 62 แห่ ง โดยพื น้ ที่ ต.ท่ า ขอนยาง มี หอพักบริ เวณเขตท่าขอนยาง อ.กันทรวิชัย จ.มหาสารคาม ที่ ก�ำลังทยอยปิ ดกิ จการเนื่ องจากการแข่งขันที่ สูงขึน้ การจดทะเบียนขอใบอนุญาตมากขึ ้นแต่ จ� ำ นวนหอพัก เพิ่ ม มากขึน้ เพื่ อ รองรั บ มีอายุการใช้ งานในการดูแลเพิม่ มากขึ ้น นิสติ นักศึกษาที่เพิ่มขึ ้นทุกปี ความต้ องการของผู้ จ� ำ นวนนิ สิต ที่ บ างปี เ พิ่ ม ขึน้ และลดลง คู่แ ข่ง ที่ นายสมคิด กล่าวต่อว่า เดิม พ.ร.บ.หอพัก ด้ วยเช่นกัน เสียเพียงครัง้ เดียว แต่ค้ มุ ครองได้ ถงึ บริ โ ภคเรื่ อ งที่ อ ยู่อ าศัย เป็ น ปั จ จัย ท� ำ ให้ ผ้ ูส นใจ ต่างจับจองท�ำเลทองเพือ่ ดึงดูดในการเลือกเข้ าพัก พ.ศ.2507 อัตราใบอนุญาตให้ ตงหอพั ั ้ กอยูท่ ี่ 200 5 ปี ไม่ต้องไปท�ำทุกปี เทียบกับรายได้ แล้ วถือว่าไม่ ประกอบธุรกิจด้ านหอพักหันมาลงทุนมากขึ ้น ของนิสติ บาท ใบอนุญาตให้ เป็ นผู้จดั การหอพัก 100 บาท ขาดทุนมาก เพราะกิจการหอพักที่ตนดูแลอยู่ถือ นายณัฐ จัก ร ฤทธิ์ ชัย วัฒ น์ ประธาน การต่ออายุใบอนุญาตให้ ตงหอพั ั ้ ก 50 บาท การ เป็ นกิจการที่ใหญ่ แต่ถ้าเป็ นกิจการที่มีขนาดเล็ก หอการค้ าจังหวัดมหาสารคาม กล่าวถึง เศรษฐกิจ เร่ งใช้ พ.ร.บ.หอพักใหม่ แยกชาย-หญิง ต่ออายุใบอนุญาตให้ เป็ นผู้จดั การหอพัก 50 บาท มีหอพัก 10-20 ห้ อง ก็อาจจะมีภาระค่าใช้ จ่าย ที่ผา่ นมาว่า ตังแต่ ้ พ.ศ.2557 เศรษฐกิจหอพักของ ผู้ ที่ ม าจดทะเบี ย นหอพั ก มี จ� ำ นวนที่ เริ่ มมีผลบังคับใช้ ณ วันที่ประกาศ พ.ร.บ.หอพัก ที่เพิ่มขึ ้น จ.มหาสารคาม เริ่ มอิ่มตัว เจ้ าของกิ จการต่าง ผั น ผวนตามปริ ม าณนิ สิ ต ของมหาวิ ท ยาลั ย พ.ศ.2558 รวมถึงการด�ำเนินการทางกฎหมาย “ประมาณช่ ว งปี พ.ศ.2559–2561 คาดการณ์ โดยสังเกตจากจ�ำนวนนิสติ ที่เพิ่มมาก มหาสารคามที่ รั บ เข้ า มาศึก ษาใหม่ ใ นแต่ล ะปี อย่างจริ งจัง หากไม่ปฏิบตั ติ าม กิ จ การของหอพัก ก็ จ ะมี ก ารเจริ ญ เติ บ โตตาม ขึ ้น จะส่งผลให้ หอพักมีความต้ องการมากขึ ้นตาม จ่าเอกบัวทอง หาญสุโพธิ์ ปลัดเทศบาล ปฏิบตั ิ ทังนี ้ ้ พ.ร.บ.หอพัก พ.ศ.2558 ได้ เริ่ มเข้ า จ�ำนวนนิสิตที่จะเข้ ามาเพิ่มในแต่ละปี มากยิ่งขึ ้น ไปด้ วย การหวังประกอบกิจการเพื่อให้ ได้ ผลก�ำไร หน้ าที่นายกเทศมนตรี ต.ขามเรี ยง อ.กันทรวิชยั มามีบทบาทในการจัดระเบียบทัง้ ตัวผู้ประกอบ การปรั บเปลี่ยนหอพักเพื่ออ�ำนวยความสะดวก น�ำมาสูก่ ารเริ่ มจับจองพื ้นที่ในการประกอบธุรกิจ จ.มหาสารคาม กล่าวว่า การวางแนวแบ่งเขตพื ้นที่ การและผู้พกั อาศัย เป็ นที่นา่ สนใจว่าเมื่อมีการจัด สบายของนิสติ ที่จะเข้ าพักอาศัย ด้ านการแข่งขัน แต่สงิ่ ทีต่ รงกันข้ ามกลับพบว่า เมือ่ 2-3 เดือนทีผ่ า่ น อย่างชัดเจนว่าพื ้นที่ใดเป็ นพื ้นที่สาธารณะ พื ้นที่ ระเบียบประเภทหอพักชาย หอพักหญิง แต่โดย ทางการตลาดที่สงู ขึ ้นด้ วยเช่นกัน สังเกตจากการ มาจนถึงปั จจุบนั ตามสองข้ างทางมีกิจการหอพัก ใดเป็ นเขตชุมชน พื ้นที่ใดสามารถประกอบกิจการ ส่วนใหญ่แล้ วต่างอยู่ในข่ายหอพักรวมทังสิ ้ ้น มี ติดต่อจองหอพักก่อนเปิ ดเทอม 2 เดือนที่ผา่ นมา” หลายแห่งประกาศขาย หอพักได้ ท�ำให้ พื ้นที่โดยรอบของ ต.ขามเรี ยง มี เพียงหอในเครือมหาวิทยาลัยมหาสารคามเท่านัน้ นายไพฑูรย์ กล่าว นายณัฐจักร สะท้ อน ให้ เห็นอีกว่า ปัจจัย การเจริ ญเติบโตของหอพักที่คอ่ นข้ างถี่ เห็นได้ ชดั ที่จดั แยกชายหญิง อย่างไ รก็ตาม 3 ปี ที่ผ่านมา ส�ำคัญของการด�ำเนินธุรกิจหอพัก คือหอพักสวย จากการรวบรวมข้ อมูลของหอพักเขตขามเรี ยงที่ ธุรกิจหอพักบางรายปิ ดกิจการ ความต้ องการของผู้อาศัย ทันสมัย การซื ้อใจลูกค้ าเก่าเอาใจลูกค้ าใหม่ ผ่าน จดทะเบียนหอพักมีทงหมด ทังนี ้ ใ้ นมุมมองของผู้เข้ าพักอาศัยคงมี ั้ 169 แห่ง ก�ำลังด�ำเนิน การบริการทีเ่ ป็ นกันเอง เครื่องอ�ำนวยความสะดวก การจดทะเบียน 37 แห่ง เมื่อความต้ องการของผู้ ปรั บทิศทางการบริหารธุรกิจหอพัก เพียงไม่กี่ข้อในการเลือกหอพัก เพือ่ จะใช้ อยูอ่ าศัย สบาย พร้ อมราคาค่าน� ้ำค่าไฟ การสัญจรและมี บริ โ ภคที่ มี อ ย่ า งไม่ จ� ำ กั ด ท� ำ ให้ เกิ ด การสร้ าง ด้ านเจ้ าของธุรกิจหอพัก นางสาวศิลนิ ธร การเลือกหอพักก็เหมือนเลือกบ้ านที่ต้องใช้ พัก บรรยากาศปลอดภัย ทังหมดที ้ ่กล่าวมานี ้ล้ วนเป็ น คอนโด โรงแรม บ้ านเช่า เพื่อตอบสนองผู้บริ โภค วชิ ร ปั ญ ญาวัฒ น์ เจ้ า ของหอพัก เพิ่ ม พูน ทรั พ ย์ ถึง 4ปี และคงไม่อยากย้ ายบ้ านบ่อยครัง้ สิ่ ง ที่ ผู้ ป ร ะ ก อ บ กิ จ ก า ร ห อ พั ก แ ข่ ง ขั น กั น นายณัฐวัตร แน่นอุดร นิสิตวิทยาลัย ส่ ว นเขตท่ า ขอนยางนับ ว่ า เป็ น แหล่ ง หอพักขนาดกลาง จ�ำนวน 120 ห้ อง ต.ขามเรี ยง เพื่อให้ ได้ ลกู ค้ าในเชิงที่ต้องการของตลาด ธุรกิจส�ำคัญของหอพัก เพราะได้ รับความนิยมจาก อ.กันทรวิชยั จ.มหาสารคาม เล่าว่า ธุรกิจหอพัก การเมืองการปกครอง ชัน้ ปี ที่ 1 มหาวิทยาลัย ผศ.ดร.นิ ติ พ งษ์ ส่ง ศรี โ รจน์ คณบดี นิ สิต เป็ น จ� ำ นวนไม่น้ อ ย นายสมคิ ด ใหม่ค ามิ ถือเป็ นธุรกิจหลักในเมืองมหาสารคาม เพราะนิสติ มหาสารคาม เล่าว่า เกณฑ์การเลือกหอพักคือต้ อง คณะการบัญ ชี แ ละการจัด การ มหาวิ ท ยาลัย ผู้อ�ำนวยการกองช่างเทศบาล เทศบาลต�ำบลท่า ส่วนใหญ่ไม่ได้ อยูใ่ นพื ้นที่ ท�ำให้ ธรุ กิจหอพักต้ องมี อยู่ใกล้ มหาวิทยาลัย ห้ องสภาพน่าอาศัยพื ้นที่มี มหาสารคาม กลับมองว่า การแข่งขันธุรกิจหอพัก ขอนยาง อ.กันทรวิชยั จ.มหาสารคาม กล่าวว่า ถึง การรองรั บเพื่ อเป็ นทิศทางในการกระจายที่ อยู่ แหล่งอ�ำนวยความสะดวก ร้ านอาหาร ร้ านของช�ำ ในปั จจุบนั ไม่ใช่เพียงราคาห้ องเท่านันที ้ ่เป็ นตัวชี ้ แม้ ปีนี ้จะมีนิสิตเพิ่มมากขึ ้นกว่าทุกปี แต่จ�ำนวน อาศัยของนิสิต แต่เมื่อสองปี ที่แล้ ว ช่วงการปรับ ราคาค่าเช่าเหมาะสม วัดถึงจ�ำนวนผู้เข้ าพักอาศัย แต่เป็ นคุณภาพและ หอพัก กลับ ลดลงอย่ า งมาก โดยปี นี เ้ ขตพื น้ ที่ เปลี่ยนการหยุดของมหาวิทยาลัยมหาสารคาม นางสาวณัฐวดี อรุ ณพันธ์ นิ สิตคณะ มาตรฐานของหอพักทีส่ ร้ างขึ ้นมาเพือ่ ให้ บริการแก่ ท่าขอนยาง 336 แห่ง ก�ำลังด�ำเนินการจดทะเบียน ท�ำให้ ธุรกิจหอพักซบเซาลงไปมาก และปั จจุบนั วิ ท ยาการสารสนเทศ ชัน้ ปี ที่ 2 มหาวิ ท ยาลัย ผู้พกั อาศัยต่างหาก ท�ำให้ เห็นข้ อด้ อยของหอพักที่ 62 แห่ง ปลายเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2559 ที่ผา่ นได้ การขยายธุรกิจหอพักลดน้ อยลง ด้ วยปั จจัยต้ นทุน มหาสารคาม เล่าว่า ตนพักอาศัยหอขนาดใหญ่ ไม่มกี ารปรับปรุงคุณภาพและมาตรฐานคือท�ำการ มีการประกาศใช้ พระราชบัญญัตหิ อพัก พ.ศ.2558 ที่ สูง ขึ น้ ท� ำ ให้ จ� ำ นวนราคาห้ อ งพัก จะตกอยู่ ที่ แต่หลักในการเลือกหอพักคือ ราคาไม่แพงจนเกิน ปิ ดตัวลง โดยปั ญหาเศรษฐกิจทีป่ ระเทศไทยก�ำลัง (พ.ร.บ.หอพัก พ.ศ.2558) โดยมีข้อก�ำหนดปรับ 4,000 บาท ต่อห้ อง คูแ่ ข่งกิจการหอพักก็เพิ่มขึ ้น ไป ทังยั ้ งมีราคาเหมาะสมกับเฟอร์ นิเจอร์ ในห้ อง ประสบอยู่ตอนนี ้ไม่มีผลกับรายได้ ที่เข้ ามาปั นผล การจดทะเบียนหอพัก โดยใบอนุญาตประกอบ นางสาวศิลินธร แสดงความคิดเห็น เจ้ าของหอพั ก มี ค วามเป็ นกั น เองกั บ ผู้ เช่ า ในธุรกิจหอพัก ด้ วยจ�ำนวนรายจ่ายจากนิสติ ไม่ได้ กิจการหอพักฉบับละ 5,000 บาท ใบอนุญาตผู้ เพิ่มเติมเรื่ อง พ.ร.บ.หอพัก พ.ศ.2558 ว่า มีการ พื ้นที่ไม่ไกลจากมหาวิทยาลัย มีผ้ ดู แู ลหอพักเวลา ลดลงตาม ถื อ ว่ า ธุ ร กิ จ หอพั ก เขตขามเรี ย ง จัดการหอพัก ฉบับละ 1,000 บาท การต่ออายุใบ แจ้ งมาเมื่อปี ที่แล้ ว ปั จจุบนั ยื่นเรื่ องกลับมาทาง ที่เจ้ าของหอไม่อยู่ มีบริ การอินเตอร์ เน็ตฟรี และเขตท่ า ขอนยางยั ง ทรงตั ว รู ป แบบที่ พั ก อนุญาตประกอบกิจการหอพัก ฉบับละ 2,500 เทศบาลต�ำบลขามเรี ยงให้ รับผิดชอบเรื่ องค่าใช้ สิ่งหนึง่ ที่ท�ำให้ ธุรกิจหอพักด�ำเนินธุรกิจ อาศัยจะมาแข่งแย่งพื ้นทีร่ ายได้ คงเป็ นบ้ านเช่า ซึง่ บาท การต่ออายุใบอนุญาตผู้จดั การหอพัก ฉบับ จ่าย ตนยังมองว่าเป็ นเรื่องปกติ เพราะค่าคุ้มครอง อยู่ได้ และยาวนานคงเป็ นกลยุทธ์ในด้ านของการ สามารถตอบสนองความต้ องการนิสิตที่ต้องการ ละ 500 บาท การโอนใบอนุญาตประกอบกิจการ เพิ่มขึ ้นเป็ นระยะเวลา 5 ปี สะดวกต่อการไม่ต้อง ก�ำหนดราคาห้ องพัก และปั จจัยส�ำคัญคือการคง อยูห่ ลายคนได้ ดีกว่า หอพัก ฉบับละ 5,000 บาท ใบแทนใบอนุญาต จดขึ ้นใบขออนุญาตปี ต่อปี พร้ อมกับการเสียเงิน คุณภาพ มาตรฐานของหอพัก เพือ่ เพิม่ ผู้เข้ ามาพัก จะเห็นได้ วา่ การเจริ ญเติบโตของหอพัก ประกอบกิจการหอพัก ฉบับละ 200 บาท ใบแทน 5,000 บาท ด้ วยธุรกิจหอพักที่ตนดูแลเป็ นธุรกิจ อาศัย และลดคูแ่ ข่งที่มีมานานหรื อคูแ่ ข่งใหม่ที่จะ มีเพียงไม่กี่ปัจจัยที่สง่ ผลต่อการด�ำเนินธุรกิจ เช่น ใบอนุญาตผู้จัดการหอพัก ฉบับละ 100 บาท ขนาดกลาง และยังมีการแยกชาย หญิง ชัดเจน เกิดขึ ้นในอนาคตข้ างหน้ าอีกไม่ร้ ู จ�ำนวนเท่าไหร่
ม
หน้า 8
หนังสือพิมพ์สื่อมวลชน ปีที่ 15 ฉบับที่ 2 ประจ�ำเดือนตุลาคม พ.ศ.2559
เกษตร
เกษตรกรชาวจั ง หวั ด มหาสารคาม นิยมเลี้ยงจระเข้ ชูคืนก�ำไรเป็นเท่าตัว ความสูงของอิฐที่ก่อขึ ้นเพื่อใช้ เป็ นบ่อจระเข้
จระเข้ อายุ 2 ปี เพาะเลี ้ยงในบ่อซีเมนต์ราว 100 ตัว เพื่อรอจ�ำหน่ายเมื่ออายุ 3 - 5 ปี
ปั
จจุบนั บริ ษัทเอกชนหลายแห่งต้ องการจระเข้ เพื่อส่งออกผลิตภัณฑ์ที่มาจากจระเข้ จ�ำนวน มาก จึงท�ำให้ จระเข้ ไม่เพียงพอต่อความต้ องการ ในท้ องตลาด ส่งผลให้ บริ ษัทดังกล่าวเร่ งผลิตลูก พันธุ์จระเข้ เพื่อให้ เพียงพอต่อความต้ องการ ส่ง ผลให้ เกษตรกรหลายรายหันมาลงทุนเลี ้ยงจ�ำนวน มาก เนื่องจากคุ้มค่าต่อการลงทุน ถึงแม้ จระเข้ จะ สามารถเพาะเลีย้ งได้ แต่ต้องมี ใบอนุญาตจาก ส�ำนักงานประมงจังหวัดมหาสารคาม เพราะถ้ า หากเพาะเลีย้ งผิดกฎหมายจะมีโทษปรั บสูงถึง 40,000 บาท ทังนี ้ ้อาชีพเลี ้ยงจระเข้ ถือเป็ นทาง เลือกใหม่ที่ได้ รับความนิยมจากเกษตรกรภายใน จ.มหาสารคามหรื อผู้ที่ต้องการหารายได้ เสริ ม นายไพรั ช ธี ร ภัค สิ ริ อาชี พ ข้ า ราชครู ค.ศ.3 โรงเรี ยนอนุบาลกันทรวิชยั อ.กันทรวิชยั จ.มหาสารคาม เผยว่า ตนเลี ้ยงจระเข้ มาประมาณ 3 ปี หลังจากค�ำนวนค่าใช้ จ่ายเเล้ วเป็ นกิจการที่ เติบโตได้ ดี ปั จจุบนั เลี ้ยงมาทัง้ หมด 3 รุ่ น เมื่อ เปรี ยบเที ยบรายได้ กับต้ นทุนถื อว่าราคาอยู่ใน เกณฑ์ที่น่าพอใจ ส่วนการรับซื ้อจะวัดตามความ กว้ า งของผื น หนัง จระเข้ ถ้ า หากวัด รอบตัว ได้ ประมาณ 60 เซนติ เ มตร ราคาจะตกอยู่ ที่ เซนติเมตรละ 135-140 บาท ทังนี ้ ้ขึ ้นอยูก่ บั ขนาด เฉลี่ยประมาณ 9,000-10,000 บาท ต่อตัว จาก ต้ นทุนตัวละ1,800-2,800 บาท ต่อตัว คิดเป็ นก�ำไร ต่ อ ตั ว ป ร ะ ม า ณ 5 , 0 0 0 บ า ท ต่ อ 3 ปี
“หากมองการใช้ พื ้นที่ 1 ไร่ เลี ้ยงจระเข้ ได้ 300 ตัวต่อ 1 ไร่ มีรายได้ ขายไป 370,000 บาท ได้ ก� ำ ไรอยู่ ที่ 100,000 บาท พื น้ ที่ ต รงนั น้ ก็ จะมีก�ำไรตกอยูป่ ี ละ 300,000 บาท ถ้ าเราเปรี ยบ เทียบกับการท�ำเกษตร อย่างปลูกข้ าว 10 ไร่ อย่าง เก่งก็มีรายได้ ปีละ 50,000 บาท แต่ถ้าเลี ้ยงจระเข้ จะมีรายได้ ปีละ 30,000 บาทต่อไร่ ” นายไพรัช กล่าว ในส่วนของกระบวนการขายหลังจาก บริ ษั ท น� ำ ลูก จระเข้ ม าให้ เ พื่ อ เพาะเลี ย้ ง ถื อ ว่า เป็ นการท�ำสัญญาเรียบร้ อยในราคาทีบ่ ริษัทตกลง กับผู้ลงทุนพร้ อมทังรั้ บประกันเรื่องราคาการรับซื ้อ คืน อีกสาเหตุหนึ่งคือจระเข้ เป็ นที่ต้องการอย่าง มากในตลาดส่งผลให้ บริ ษัทผลิตลูกพันธุ์ไม่เพียง พอต่อความต้ องการ จึงท�ำให้ ไม่มีการผกผันเรื่ อง ราคา ถื อเป็ นเรื่ องที่ดีอย่างมากส�ำหรั บผู้ลงทุน ส� ำ หรั บ เกณฑ์ ก ารพิ จ ารณาราคานัน้ บริ ษัทจะวัดที่คณ ุ ภาพหนัง ซึง่ จะรับหนังจระเข้ ที่ โตเต็มวัยแล้ ว ในสถานะพร้ อมขาย ท�ำการวัด ขนาด วัดคุณภาพหนังและตรวจสอบ โดยการวัด ขนาดรอบอกจระเข้ ซึง่ ถือได้ วา่ เป็ นผลิตภัณฑ์หลัก ของจระเข้ ส่วนเนื ้อ กระดูก และเกร็ดเลือด ถือเป็ น ผลพลอยได้ อีกทังจระเข้ ้ ต้องมีอายุอย่างน้ อย 3 ปี จึงจะสามารถฟอกหนังได้ เพราะถ้ าหากต�่ำกว่า 3 ปี หนังจะไม่มีคณ ุ ภาพ ทังนี ้ ้ก่อนมีการเพาะเลี ้ยงจระเข้ ต้องท�ำ
การขออนุญาตจากส�ำนักงานประมงจังหวัดใน พื ้นที่นนั ้ ๆ เนื่องจากจะต้ องมีการตรวจสอบ ดู ความแข็งแรงของบ่อ ระยะทางที่ห่างจากชุมชน และการพิจารณาพืน้ ที่ที่เหมาะสมในการเลีย้ ง จระเข้ ซึ่งจระเข้ ส่วนใหญ่ จะเลีย้ งในที่ เงี ยบ ๆ เพราะเป็ นสัตว์ที่ตกใจง่ายมาก ถ้ าหากได้ ยินเสียง ดั ง จะตกใจจนท� ำ ให้ ชะงั ก การกิ น อาหารได้ นอกจากนี ้ยังต้ องระวังเรื่องโรคทีจ่ ะตามมา ทังทาง ้ น� ้ำและอาหาร แต่ปัจจุบนั ในกรณีที่จระเข้ ป่วยจะ มียาจากบริษทั ตัวหนึง่ คือยาฆ่าเชื ้อในน� ้ำใช้ ในการ ควบคุม ไม่ให้ เกิดการติดเชื ้อในน� ้ำ และประเภท ยาฆ่าเชื ้อทางอาหาร เพื่อไม่ให้ ติดเชื ้อในอาหาร เนื่องจากอาหารทีใ่ ห้ อาจมีเชื ้อโรคเจือปนจนท�ำให้ เกิดอันตรายได้ นายไพรัช กล่าวต่อว่า ในอนาคตจะมี การขยายบ่อเนื่องจากปั ญหาการทิ ้งระยะห่างจน เกินไป โดยตังเป้ ้ าไว้ ที่ปีละ 1 รุ่น เพื่อส่งขายปี ตอ่ ปี จากที่ปกติสง่ ในระยะเวลา 3 ปี เปลีย่ นเเปลงมา เป็ นการท�ำบ่อ 3 ระยะ คือ ระยะเตรี ยมขาย ระยะ ขุน ระยะฟั ก หลังจากเลี ้ยงเข้ าปี ที่ 2 ก็จะสัง่ ลูก พันธุ์เข้ ามาส�ำรองไว้ เป็ นชุดที่ 2 เมื่อเข้ าปี ที่ 3 ก็ จะสามารถพร้ อมขายได้ ทนั ที และรุ่นสองก็จะถูก เลื่อนเข้ าไป นับเป็ นวัฏจักร ถึงแม้ การเลี ้ยงจระเข้ ในปั จจุบนั ถือเป็ น ที่ แ พร่ หลายส� ำ หรั บ ผู้ที่ต้ อ งการหารายได้ เสริ ม โดยที่ไม่ใช้ เวลาในการดูแลมากนัก แต่ทงนี ั ้ ้ไม่ใช่ ว่าการเลี ้ยงจระเข้
จะสามารถซื ้อลูกของจระเข้ มาแล้ วท�ำการเลี ้ยง เเละเปิ ดฟาร์ มได้ ทนั ที เนื่องจากจระเข้ เป็ นสัตว์ คุ้มครอง จึงต้ องท�ำการขออนุญาตจากส�ำนักงาน ประมงจังหวัดที่ดแู ลในพื ้นที่นน ั้ นายทองสุข ฝาเทพ เจ้ าหน้ าที่ ง าน ประมงช� ำ นาญงาน ส� ำ นัก งานประมงจัง หวัด มหาสารคาม กล่าวว่า ตามหลักความเป็ นจริงแล้ ว ในแนวทางปฏิบตั ิ ก่อนเกษตรกรจะเลี ้ยงจระเข้ ต้ องศึกษารูปแบบการเลี ้ยงจากฟาร์ มทีป่ ระสบผล ส�ำเร็ จ จากนันต้ ้ องมาขอใบอนุญาตขึ ้นทะเบียน เพาะเลี ้ยง (สป.15) ซึง่ มีอายุ 3 ปี นับจากวันอนุมตั ิ ต่อมาต้ องขอใบอนุญาตให้ ค้าสัตว์ป่าคุ้มครองที่ ได้ มาจากการเพาะพันธุ์ (สป.11) ใบอนุญาตดัง กล่าวจะมีอายุ 1 ปี และขันตอนสุ ้ ดท้ ายเมื่อจระเข้ เติบโตพร้ อมจ�ำหน่ายแล้ ว ต้ องมาขอใบอนุญาต เคลื่อนย้ าย (สป.13) ซึง่ จะมีอายุเพียง 5 วัน หาก เกษตรกรไม่ท�ำตามขันตอนดั ้ งกล่าวจะต้ องระวาง โทษจ�ำคุก 4 ปี ปรับไม่เกิน 40,000 บาท หรื อทัง้ จ�ำทังปรั ้ บ ส่วนกรณีเคลื่อนย้ ายจระเข้ เพื่อการค้ า โดยไม่ได้ รับอนุญาตมีโทษปรับไม่เกิน 5,000 บาท อย่างไรก็ตาม มาตรการดูแลและควบคุมจระเข้ นนั ้ ส�ำนักงานประมงจังหวัดมหาสารคามไม่มบี ทบาท ที่รัดกุม เนื่องจากเจ้ าหน้ าที่ไม่เพียงพอและไม่มี เวลาลงพื น้ ที่ ค วบคุ ม มากนั ก แต่ จ ะใช้ วิ ธี ใ ห้ เกษตรกรสร้ างบ่อเพาะเลี ้ยงให้ ได้ มาตรฐานคือ ความสูงของอิฐไม่ต�่ำกว่า 7 ก้ อน และต้ องมีกรง ตาข่ายอย่างแน่นหนาเพือ่ ป้องกันไม่ให้ จระเข้ หลุด ออกจากบ่อ ในส่วนของจังหวัดมหาสารคามมี เกษตรกรที่เพาะเลี ้ยงจระเข้ ประมาณ 110-125 ราย เฉลี่ ย แล้ วมี จ ระเข้ รวมทั ง้ สิ น้ ภายใน จ.มหาสารคาม 14,000-14,500 ตัว ถึงแม้ การเลี ้ยงจระเข้ อาจจะใช้ เวลาไม่ นานมากนักในการดูแล แต่เนื่องจากการเพาะ เลีย้ งในระยะเวลานาน ถ้ าหากเที ยบกับความ ต้ องการท�ำให้ จระเข้ เป็ นทีต่ ้ องการของตลาดอย่าง มาก ถือได้ ว่าจระเข้ ในปั จจุบนั ยังขาดตลาดอยู่ อย่ า งเห็ น ได้ ชัด ส่ ง ผลให้ ใ นอนาคตอาจจะมี เกษตรกรหรื อผู้ที่สนใจหารายได้ เสริ ม หันมาเลี ้ยง จระเข้ เพิม่ มากขึ ้น เพือ่ สร้ างรายได้ ให้ กบั ตัวเองนับ เป็ นอีกทางเลือกเสริ มที่ก�ำลังน่าจับตามองเป็ น อย่างมาก
อยู่ดีมีแฮง
หนังสือพิมพ์สื่อมวลชน ปีที่ 15 ฉบับที่ 2 ประจ�ำเดือนตุลาคม พ.ศ.2559
หน้า 9
หน้า 10
หนังสือพิมพ์สื่อมวลชน ปีที่ 15 ฉบับที่ 2 ประจ�ำเดือนตุลาคม พ.ศ.2559
อยู่ดีมีแฮง
การแสดงหมอล�ำหุน่ กระติบข้ าวที่งานอีสานตุ้มโฮม จ.มหาสารคาม
“หยุด
เดินบนเส้ นทางแห่งความโกรธและ ความรุ นแรง นัน่ แลคือกรรม อัน ประเสริฐสุด องคุลมี าล แม้ ทะเลแห่งความทุกข์จะ กว้ างใหญ่ไพศาล จงหันหลังกลับไปดู แล้ วท่านจะ แลเห็น ฝั่ ง ” ค� ำ ร้ องตอนหนึ่งในเรื่ อ งองคุลีม าล จังหวะกลองระรัวไปพร้ อมกับเสียงแคนอันเสนาะ หู เสียงเย็นเอื ้อนเอ่ยอย่างไพเราะ ดวงตาสือ่ ความ หมายของเด็กชายร่างสูง ผิวคล� ้ำ สะกดความรู้สกึ ของผู้ชมอย่างต่อเนื่อง เรื่ องราวถูกถ่ายทอดผ่าน หุน่ กระติบข้ าว หรื อที่เรี ยกกันว่า “หมอล�ำกระติบ ข้ าว” แสงไฟยังคงท�ำหน้ าทีส่ อ่ งแสงมายังหุน่ 2 ตัว เด็ ก น้ อ ยตัว เล็ ก ต่ า งเป็ น ผู้อ อกค� ำ สั่ง ให้ เ จ้ า หุ่น กระติบเคลื่อนคล้ อยไปตามบทร้ อง ค�ำร้ องจากเด็กชายร่างสูง น�ำทางให้ เรา ออกเดินทางไปยังถิ่นก�ำเนิดหมอล�ำกระติบข้ าว เพื่อศึกษารากเหง้ าอันทรงเสน่ห์ ณ บ.หนองโนใต้ อ.นาดูน จ.มหาสารคาม เมื่อถึงจุดหมายก็ได้ พบ กับหุน่ กระติบข้ าวขนาดใหญ่ ตังอยู ้ ห่ น้ าโรงละคร หมอล�ำหุน่ เพื่อชุมชน โฮม ทอง ศรี อุปถัมภ์ ที่นนั่ มีชายสองคนยืนรอพบพวกเราอยู่ ชายคนหนึง่ คือ “ครูเซียง” หัวหน้ าคณะหมอล�ำหุน่ เด็กเทวดา และ “รุ่ง” สมาชิกคณะเด็กเทวดารุ่นแรก เมือ่ บทสนทนา แรกเริ่ มขึ ้น โลกของหุ่นหมอล�ำกระติบข้ าวก็เริ่ ม เปิ ดการแสดง
จุดเริ่มต้ นสู่แรงผลักดัน นายปรี ชา การุณ หรื อ ครูเซียง หัวหน้ า คณะหมอล�ำหุน่ เด็กเทวดา เปิ ดฉากเล่าถึงเรื่องราว ของหมอล�ำหุน่ กระติบข้ าวอย่างตังใจว่ ้ า “แรกเริ่มเดิมทียงั ไม่มลี ะครหุน่ เป็ นเพียง แค่ ก ระบวนการทางด้ านศิ ล ปะเพื่ อ พั ฒ นา ศักยภาพเด็กและเยาวชนในพื ้นที่ภาคอีสาน ครัง้ หนึง่ มีโอกาสได้ ร่วมท�ำแผนทีช่ มุ ชนกับเด็ก ๆ จึงได้ พบตายายคูห่ นึง่ นัง่ สานตะกร้ าและเหลือบไปเห็น กระติบข้ าวเหนียววางซ้ อนกันอยู่โดยใบเล็กซ้ อน
หมอล�ำหุน่ กระติบข้าว ยังไม่ไร้เสียงดนตรี อยู่บนใบใหญ่ รู้ สกึ ว่ามีรูปร่ างคล้ ายกับตัวคนจึง ลองประดิ ษ ฐ์ เป็ นหุ่ น ไม้ ไผ่ จ ากวั ส ดุ ที่ มี อ ยู่ ในท้ องถิ่น นับว่าเป็ นจุดเริ่ มต้ นของหุน่ ในปั จจุบนั เลยก็วา่ ได้ ” เอกลักษณ์ของวัสดุที่น�ำมาใช้ ท�ำเป็ นตัว หุน่ ล้ วนเป็ นวัสดุที่หาได้ จากท้ องถิ่น โดยมีกระติบ ข้ าวเป็ นหัวใจส�ำคัญ ทังยั ้ งออกแบบให้ ห่นุ แต่ละ ตัวมีท่าทางการเคลื่อนไหวที่แตกต่างกันออกไป เพื่อผสานให้ หนุ่ มีชีวิตชีวา นายรุ่งสุริยา บุญสิงห์ หรื อ รุ่ง วัย 17 ปี เด็กชายร่ างสูง ผิวคล� ้ำ ผู้เป็ นหมอล�ำหุ่นกระติบ ข้ าวรุ่นแรก เล่าเสริ มว่า นางลดาวัลย์ สีทิศ อดีตผู้ อ�ำนวยการโรงเรี ยนหนองโนใต้ อยากให้ เด็กเรี ยน วิชาที่เกี่ยวกับวิถีชีวิตชุมชน และต้ องการปลูกฝั ง ให้ เด็กได้ มีความรักความเข้ าใจต่อวัฒนธรรมของ ชุม ชนเอง จึง เชิ ญ พ่อ ทองจัน ทร์ ซึ่ง เป็ น พ่อ ครู หมอล�ำมาสอนวิชาเกี่ยวกับหมอล�ำให้ กบั เด็ก และ เชิญครูเซียงมาเป็ นวิทยากรในการท�ำหุน่ หมอล� ำ หุ่น กระติ บ ข้ า วของคณะเด็ ก เทวดา นับว่าเป็ นครัง้ แรกที่ท�ำให้ พวกเขาได้ ร้ ู จกั กับการน� ำหมอล�ำและศาสตร์ ของการละครมา ผสมผสานกัน เอกลักษณ์ที่หมอล�ำหุน่ เป็ นที่จดจ�ำ คือ การน�ำนิทานค�ำสอนพื ้นบ้ านอีสานที่มีความ ตลกขบขัน และปั ญหาที่มีอยูใ่ นชุมชนมาเล่าผ่าน ละครหุ่น เพื่อเป็ นคติสอนใจ ผสานกับดนตรี พื ้น บ้ านที่ชว่ ยสร้ างอรรถรสให้ กบั ผู้ชมไม่น้อย ศิลปะพัฒนาคน ครูเซียงเอ่ยถึงความพิเศษของหุน่ ว่า เมือ่ เด็กแสดง เขาจะรู้สกึ ปลอดภัย เพราะการเชิดหุน่ เป็ นเหมือนการเล่าเรื่ องราวผ่านตัวละคร เด็กจึง เริ่ มกล้ าแสดงออก ท�ำให้ เริ่ มมองเห็นว่าหุน่ ที่พวก เด็กใช้ เป็ นสือ่ นันสามารถดึ ้ งความสนใจในตัวเด็ก ให้ มาร่ วมเรี ยนรู้ สร้ างความมัน่ ใจว่าตนเองไม่ได้ เป็ นผู้เล่า แต่หนุ่ ต่างหากที่เป็ นผู้เล่า พวกเด็ก ๆ ได้
ลองมองเข้ าไปในชุมชนของพวกเขา ว่าพวกเขา คุ้นเคยภาษาท้ องถิ่นอีสานกับมหรสพ ที่เป็ นเรื่ อง ราวของหมอล�ำ และหัวใจส�ำคัญคือตัวชุมชนที่มี พ่อครูแม่ครูถ่ายทอดเรื่ องราวการล�ำได้ จึงพาเขา ไปเรี ยนรู้กลอนล�ำ พ่อครูแม่ครูสอนเด็กว่าหมอล�ำสมัยก่อน จะมีคติธรรมและค�ำสอนให้ ข้อคิด ซึ่งเด็ก ๆ ได้ เรี ยนรู้ ได้ ตีความเรื่ องราวและวิเคราะห์เรื่ องราวที่ พวกเขาเล่า ด้ ว ยตัว พวกเขาเอง ท� ำ ให้ มัน ช่ ว ย พั ฒ นาทั ก ษะของพวกเขาทั ง้ ด้ านจิ ต ใจและ บุคลิกภาพ ค่อย ๆ เปลี่ยนแปลงมาทีละเรื่ อง อีก ทังละครมั ้ นรวมทุกศาสตร์ อยูใ่ นตัว อาทิ ศิลปะการ แสดงและดนตรี จ�ำเป็ นต้ องใช้ คนหลายคนร่วมกัน สร้ างขึ ้นเป็ นละครหนึ่งเรื่ อง มันช่วยส่งเสริ มพวก เขาในด้ านความผูกพันกับผู้คน จึงมองเห็นว่า กระบวนการที่ เ กิ ด เป็ น ละครตัว นี ม้ ัน สามารถ พั ฒ นาเยาวชนได้ มองเห็ น ทรั พ ยากรที่ เ ป็ น วัตถุและยังมองเห็นบุคลากรที่ส�ำคัญในชุมชน และกลายมาเป็ นหุ่นกระติบข้ าวที่เล่า เรื่ องราวผ่านกลอนล�ำ “ผมไม่ได้ เป็ นผู้เชีย่ วชาญใน ด้ า นการแสดงละครนะ แต่ ผ มใช้ กระบวนการตรงนี ้เพื่อขัดเกลาเด็ก ไม่ว่าจะเป็ นดนตรี เรื่ องของศิลปะ ศาสตร์ ตรงนีส้ ามารถขัดเกลาพวก เขาได้ แม้ กระทัง่ ชุมชนเอง เด็ก ๆ จะ เป็ น คนพาผมไปเรี ย นรู้ กับ ปราชญ์ ท้ องถิ่น เขาก็มีแง่คดิ มีคติธรรมในการ สอน เด็ก ๆ ก็จะค่อย ๆ ซึมซับไป อย่า เรี ยกว่าสอนเลย พวกเขาเรี ยนรู้ ด้วย ตัวเอง” ครูเซียง เล่าด้ วยสีหน้ าจริ งจัง หมอล� ำ หุ่ น กระติ บ ข้ าวมี บทบาทช่วยในการพัฒนาชุมชน เพราะ มี การน� ำเรื่ องราวมาเป็ นต� ำนานและ นิทานมาผนวกเข้ ากับปั ญหาเล็ก ๆ
ภายในชุมชน ให้ เป็ นคติสอนใจคนในชุมชน ซึ่ง สามารถรั บ รู้ ปั ญ หาจากการเล่ า เรื่ อ งผ่ า นหุ่ น กระติบข้ าวและน�ำไปปรับใช้ ได้ รุ่ง ได้ เล่าถึงนิทานเรื่ องหนึง่ ที่มีคติสอน เด็กในชุมชนได้ นนั่ คือ “ต�ำนานผีเป้า” เป็ นเรื่องราว ของเด็กที่ไม่เชื่อฟั งพ่อแม่ เอาแต่เกเร งานบ้ านไม่ ช่วยท� ำ ไม่ช่วยสร้ างประโยชน์ ใด ๆ เลย ด้ วย บาปกรรมที่ก่อนัน้ ท�ำให้ ตายไปกลายเป็ นผีเป้า หากเทียบกับปั ญหาในชุมชนก็คอื ปั ญหาที่เด็กไม่ เชื่ อฟั งพ่อแม่ กุศโลบายในนิทานสามารถช่วย เปลี่ยนแปลงความคิดบางอย่างของเด็กเหล่านัน้ ได้ หลังจากนิทานจบลง วัฒนธรรม สู่ นวัตกรรม หลังจากทีพ่ วกเขาได้ รับการสนับสนุนใน หลายเรื่ อง ทังสถานที ้ ่การท�ำกิจกรรม การปลูกฝัง เยาวชนให้ ร้ ู รั ก และหวงแหน ท� ำ ให้ ห มอล� ำ หุ่น กระติบข้ าวได้ ร่วมเสริมสร้ างสังคม และเผยแพร่ วัฒนธรรมของตนเองไปยังหลายแห่งแล้ ว ประโยชน์ ข องหมอล� ำ หุ่น ยัง ไม่ ห มด เพี ย งเท่ า นี ้ กิ จ กรรมนี ย้ ัง สามารถ เปลี่ยนแปลงไปเป็ นนวัตกรรมได้ ไม่ ว่าจะเป็ นการแสดง สินค้ า และของ ที่ระลึก เป็ นต้ น รุ่ง เล่าให้ ฟังถึงราย ได้ ของคณะเด็กเทวดา ที่ ได้ มาจากการเดินทางไป แสดงหมอล� ำ หุ่น กระติ บ ข้ าวในที่ ต่าง ๆ และยังมี รายได้ จากการจ� ำ หน่ า ย สินค้ าจากหุ่นกระติบข้ าว ว่ า “เราคิ ด ค่ า จ้ างงาน แต่ละครัง้ วัดจากระยะทาง ว่ า งานไกลมาก แค่ ไ หน สู ง สุ ด ก็ 10,000 บาท
อยู่ดีมีแฮง
หนังสือพิมพ์สื่อมวลชน ปีที่ 15 ฉบับที่ 2 ประจ�ำเดือนตุลาคม พ.ศ.2559
หน้า 11
ชาวบ้ าน บ้ านหนองโนใต้ ร่วมกิจกรรมเปิ ดโรงละคร หมอล�ำหุน่ เพื่อชุมชน เมื่อแบ่งกับคนในคณะก็จะได้ ประมาณ 300-400 บาทต่อ คน ท� ำ ให้ เ ราพอมี ร ายได้ ไม่ ร บกวนผู้ ปกครอง นอกจากนี ้ คณะหมอล�ำหุ่นของเราก็มี สินค้ าผลิตภัณฑ์ของหุน่ กระติบข้ าว เป็ นหุน่ เล็ก ๆ ไม่วา่ จะเป็ นพวงกุญแจ หรือหุน่ ตังโต๊ ้ ะ กระติบข้ าว ที่น�ำมาท�ำ ทางคณะเราก็ซื ้อของคนในหมู่บ้านที่ สานกระติบข้ าวขาย สินค้ าเรามีขายทางเฟซบุ๊ก หรื อ ส่งไปขายที่อื่นบ้ าง นอกจากนี ้เราก็มีรายได้ จากการไปเผยแพร่ทชี่ มุ ชนต่าง ๆ ทีเ่ ดินสายไปเล่น ตามตลาดหรื อตามหมูบ่ ้ าน” จุดเปลี่ยนของเด็กชาย “ผมไม่ตา่ งจากเด็กทัว่ ไป” ก่อนหน้ าที่รุ่ง จะเข้ ามาเป็ นนักเชิดหุ่นกระติบข้ าวรุ่ นบุกเบิก รุ่ ง ไม่ได้ ต่างอะไรกับเด็กคนอื่น รุ่ งเล่าให้ เราฟั งว่า “ตอนนันผมเป็ ้ นเด็กติดเกม ท�ำตัวเกเร ผู้ใหญ่มอง ว่าเป็ นเด็กไม่ดี มันท�ำให้ ผมถูกสังคมประณามจาก สิง่ ที่เป็ น แต่พอมาอยูต่ รงนี ้ ได้ เชิดหุน่ ได้ ล�ำ และ ยังได้ พดู บทพระพุทธเจ้ า ซึง่ บางครัง้ พอเห็นคนดู ร้ องไห้ ตาม เห็นคนแก่นงั่ พนมมือตามบทที่พดู มัน ท�ำให้ ผมรู้สกึ ภาคภูมใิ จ รู้สกึ เห็นคุณค่าของตัวเอง ขึ ้นมาก” รุ่งเล่าด้ วยสีหน้ าภูมิใจ จากเด็กคนหนึ่งที่ใช้ ชีวิตไม่ต่างจากวัย รุ่นทัว่ ไป ไม่ร้ ูจกั ศิลปวัฒนธรรมสมัยก่อน ไม่ร้ ูวา่ กลอนล� ำ คื อ อะไร แต่ ห ลัง จากที่ ไ ด้ เ ข้ ามาท� ำ กิจกรรมร่วมกับกลุม่ เพื่อนและครูเซียง ท�ำให้ เด็ก คนหนึ่งที่เคยบอกว่าตัวเอง เป็ นเด็กเกเร ไม่เอา ไหน ได้ ร้ ู และเข้ าใจว่านี่แหละคือโอกาสในการ สร้ างแรงผลักดัน และพัฒนาตนเอง โชคดีทไี่ ด้ ร้ ูจกั กลอนล�ำและหมอล�ำหุน่ จากปั ญหากลายเป็ นจุดแข็ง ความสามัคคี ไม่ได้ เกิ ดขึน้ จากคนคน เดียว แต่มนั เกิดขึ ้นจากบุคคลหลาย ๆ คนมารวม ตัวกัน ที่ใดมีคนหมูม่ ากก็ยอ่ มมีปัญาเกิดขึ ้น ไม่วา่ จะเรื่ องเล็กหรื อเรื่ องใหญ่ “บางครั ง้ เวลาจะไปแสดง ด้ วยงบ ประมาณที่มีอยูไ่ ม่มาก อีกทังสมาชิ ้ กที่เล่นดนตรี ได้ นนมี ั ้ อยูน่ ้ อย ซึง่ มีกลองกับแคน เป็ นเครื่องดนตรี
หลักในคณะ จะมีเพียงคนเชิดกับคนพากย์เท่านัน้ จึงจ�ำเป็ นต้ องใช้ เงินในส่วนของค่าเดินทางไปจ้ าง นักดนตรี เพิ่ม ท�ำให้ ลำ� บากพอสมควร และในบาง ครั ง้ คนเล่นหุ่นไม่ว่าง แต่เราวางบทของทุกตัว ละครไว้ ให้ หมดแล้ ว ก็ต้องมาเริ่ มปรับกันใหม่ แต่ ตอนนี ้ปัญหาลดลง เนือ่ งจากหันมาใช้ วธิ ีให้ คนเล่น 1 คน สามารถเชิดหุน่ ได้ หลายตัว จ�ำบทละครให้ ได้ เกิดความเคยชินก็สามารถท�ำให้ 1 คน เล่นได้ หลายตัว” รุ่งเล่าถึงปั ญหาที่เกิดขึ ้นในคณะ ผุดโรงละครหมอล�ำหุ่น แม้ ว่าจะมีกลุ่มคณะแล้ ว แต่ยงั ขาดสิ่ง ส� ำ คัญ สิ่ ง หนึ่ ง ไป ถ้ า ไม่ มี สิ่ ง นี ก้ ็ จ ะไม่ ส ามารถ ถ่ายทอดความเป็ นศิลปวัฒนธรรมสู่ผ้ ูชมได้ เลย เราได้ เจอกับหญิงวัยชรา ที่มาพร้ อมกับ ร่างกายแข็งแรงและใบหน้ าเปื อ้ นยิ ้มดูอบอุน่ เธอ คือแม่สมศรี พาดีจนั ทร์ ผู้บริ จาคที่ดนิ เพื่อสร้ าง โรงละครหมอล� ำ หุ่น เพื่ อ ชุม ชน โฮม ทอง ศรี อุปถัมภ์ ให้ แก่เด็ก ๆ เราได้ เข้ าไปพูดคุยและถาม ถึ ง เรื่ อ งเหตุ ผ ลการบริ จ าคที่ ดิ น ให้ เป็ นพื น้ ที่ สร้ างสรรค์ส�ำหรับกลุม่ เด็กเทวดา “เมื่อก่อนเด็ก ๆ ต้ องไปท�ำกิจกรรมที่ โรงเรี ยน เพราะไม่มีสถานที่ แต่ก็มีเสียงสะท้ อน กลับมาทังในทางดี ้ และไม่ดี เกี่ยวกับการใช้ น� ้ำและ ไฟของโรงเรี ยน และการใช้ สถานที่เกินเวลา ท�ำให้ ต้ องกลับดึก แม่สมศรี ก็เลยคิดที่จะบริ จาคพื ้นที่ ของตัวเองไว้ ส�ำหรับท�ำกิจกรรม โรงละครนี ้สร้ าง เมื่อเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ.2559 เริ่ มจากรวมแรง ของชาวบ้ าน ร่วมกันสร้ างขึ ้นมา ครูเซียงก็เห็นด้ วย แม่ ก็ เ ลยสนัน สนุน มาโดยตลอดเป็ น ผู้อุป ถัม ภ์ มาต่ อ เนื่ อ ง ท� ำ ให้ เด็ ก ได้ มี พื น้ ที่ อ าศั ย และ ท�ำกิจกรรม” แม่สมศรี กล่าวด้ วยแววตาที่เปี่ ยม ไปด้ วยความภูมิใจ เจตนารมณ์ ท่ อี ยากส่ งต่ อ จากวันที่เริ่ มต้ นจนถึงปั จจุบนั หมอล�ำ คณะเด็กเทวดามีด้วยกันถึง 3 รุ่ น นักเชิดหุ่นรุ่ น แรกก็เหลือเพียง 3 คนเท่านัน้ ยังมีการถ่ายทอด วิ ช าจากคณะหนึ่ง สู่อี ก คณะหนึ่ง จากพี่ สู่น้ อ ง
“อยากให้สิ่งนี้อยู่คู่กับชุมชน เพราะไม่รู้ว่าหมอล�ำหุ่น กระติบข้าวจะอยู่ไปได้อีกนานแค่ไหน” ใครเชิดบทไหนก็สง่ บทต่อให้ รุ่นน้ องเพือ่ ขึ ้นมาแทน ได้ แต่หากมีเวลาว่างก็จะมาช่วยกัน แต่ในตอนนี ้ ต่ า งคนต่ า งไปเรี ย นต่ อ ตามทางของตนเอง มี โอกาสน้ อยครัง้ ที่จะรวมตัวกันเชิดหุน่ “อยากให้ สงิ่ นี ้อยูค่ กู่ บั ชุมชน เพราะไม่ร้ ู ว่าหมอล�ำหุ่นกระติบข้ าวจะอยู่ไปได้ อีกนานแค่ ไหน ท� ำ ได้ เ พี ย งแค่ รั ก ษามัน ไว้ เ ท่ า ที่ จ ะท� ำ ได้ พยายามให้ เยาวชนในชุมชนเห็นความส�ำคัญของ หุ่น เพราะหากเรี ยนจบไปแล้ วจะมีเวลาดูแลต่อ ไหม ซึง่ ตอนนี ้พยายามหาน้ องที่ร�ำได้ เริ่มสอนน้ อง ชัน้ ม.1 ม.2 ฯลฯ มีบ้างที่ตดิ งานแต่ก็พยายามอยู่ กับตรงนี ้ให้ เต็มที่เท่าที่จะมากได้ เพราะอยากให้ หุน่ ได้ มีชีวิตชีวาอย่างน้ อยซัก 4-5 ปี ตอ่ จากนี ้” รุ่ง กล่าวด้ วยน� ้ำเสียงที่มงุ่ มัน่ ความทุ่ ม เททัง้ กายและใจของคณะ หมอล�ำหุน่ เด็กเทวดา ที่ท�ำการแสดงหุน่ เชิดต่อกัน
มาจากรุ่นสูร่ ุ่น เผยแพร่วฒ ั นธรรมของท้ องถิ่นพวก เขาให้ เป็ นที่ร้ ู จกั ถึงผู้คนยุคหลัง สิ่งที่ยากยิ่งเสีย ก ว่ า ก า ร เ ริ่ ม ต้ น เ ชิ ด หุ่ น คื อ จ ะ ท� ำ อ ย่ า ง ไ ร ไม่ให้ วัฒนธรรมอันดีงามนัน้ หายไป ในสภาวะ ของสังคมที่เด็กสมัยใหม่สนใจสิง่ ที่อยูบ่ นโลกของ หน้ าจอสี่เหลี่ยมมากกว่าโลกที่อยูน่ อกจอ สิ่งหนึ่งที่คณะหมอล�ำหุ่นเด็กเทวดาได้ สะท้ อนให้ เห็น คือ การด�ำรงไว้ ของวัฒนธรรม ในชุมชน และอนุรักษ์ วัฒนธรรมท้ องถิ่ นอีสาน ทังหมอล� ้ ำกลอน วัฒนธรรมพื ้นบ้ าน ศิลปะการ ละครและยังมีการเล่นดนตรี ปฏิเสธไม่ได้ เลยว่า ทุ ก สิ่ ง อ ย่ า ง นั น้ ม า จ า ก เ ด็ ก ส มั ย ใ ห ม่ ที่ มี แรงผลักดันจะส่งต่อไปสู่อีกรุ่ น เพราะหากไม่มีผ้ ู สืบสานต่อ หมอล�ำหุน่ อาจเป็ นเพียงค�ำบอกเล่าที่ ไร้ เสี ย งดนตรี บนล� ำ กลอนที่ ส อนใจ และ หุน่ กระติบข้ าว ที่ไร้ ผ้ เู ชิด
หน้า 12
หนังสือพิมพ์สื่อมวลชน ปีที่ 15 ฉบับที่ 2 ประจ�ำเดือนตุลาคม พ.ศ.2559
กระเป๋าเดินทาง
ถ� ้ำค้ างคาวสูงชัน ต.ภูผาม่าน อ.ภูผาม่าน จ.ขอนแก่น จากระดับพื ้นดินประมาณ 100 เมตร เท่ากับตึก 20 ชัน้
“ถ�้ำค้างคาว” กล้าชนะกลัว
หน้ าต่ างบานแรก แสงแรกของวันใหม่สาดส่องไปทั่วทุก พื ้นที่ อาคารสิ่งปลูกสร้ างสะท้ อนแสงแดดนิด ๆ ตามการดูดกลืนของแสง กระจกด้ านในรถสะท้ อน ให้ เห็นภาพวันใหม่ทเี่ วียนมาถึง ฉันและกลุม่ เพือ่ น สาวอีก 4 คน เดินทางมาแสนไกล ผ่านหุบเขาและ ดินแดนที่แสนสงบ ภาพต้ นไม้ สีเขียวสดซ้ อนทับ กับความมืดจากผาเมฆ ความตื่นเต้ นปนสงสัย น�ำทางเราให้ มาพบกับสถานทีแ่ ห่งนี “ถ� ้ ้ำค้ างคาว” แหล่ ง ท่ อ งเที่ ย วในอุ ท ยานแห่ ง ชาติ ภู ผ าม่ า น บ.ภูผาม่าน ต.ภูผาม่าน อ.ภูผาม่าน จ.ขอนแก่น เหล่าต้ นข้ าวเขียวขจีเต้ นระบ�ำล้ อไปกับ สายลมอย่างช้ า ๆ บนแผ่นดินสีเขียวชอุม่ อันกว้ าง ใหญ่เบื ้องหลังคือหน้ าผาอันสูงชัน จากระดับพื ้น ดินประมาณ 100 เมตร ความสูงเท่ากับตึก 20 ชัน้ ปากถ�ำ้ สามารถมองเห็นได้ แต่ไกล ภายในถ�ำ้ มี ค้ างคาวขนาดเล็กอาศัยอยูน่ บั ล้ านตัว นางเดือนเพ็ญ ภูวนนท์ รองปลัดองค์การ บริ หารส่วนต�ำบลภูผาม่าน จ.ขอนแก่น หญิงสาว วัยกลางคน รู ปร่ างสมส่วน ผมยาวสลวยถูกรวบ มัดตึง ดวงตาฉายแววมุ่งมัน่ ปากเรี ยวหนาฉาย แววมั่น ใจพร้ อมกับ บอกเล่า เรื่ อ งราวให้ เ ราฟั ง อย่างตังใจ ้ “ค้ างคาวที่อาศัยอยู่ในถ� ำ้ แห่งนี ้ ส่วน ใหญ่เป็ นค้ างคาวหน้ าย่นที่มีขนาดล�ำตัวเล็ก เมื่อ บินอยูบ่ นท้ องฟ้ากระทบกับแสงอาทิตย์ที่ก�ำลังจะ ลับขอบฟ้า ล�ำตัวค้ างคาวจะเป็ นสีแดง ชาวบ้ าน แถวนี ้จึงเรี ยกว่า ค้ างคาวแดง หรื อ อีเจีย บริ เวณ เชิงเขาใกล้ ปากถ� ้ำจึงเป็ นแหล่งที่นกั ท่องเที่ยวมา ชมฝูงค้ างคาวบินออกไปหากินยามเย็น เหล่าเจ้ า นกมี หู ห้ อยหั ว ตามวิ ถี ข องมั น อย่ า งเคยชิ น บ้ างก็ตกลงตายสูพ่ ื ้นดิน ภาพเช่นนี ้จึงมีให้ เห็นอยู่ ประจ�ำ” หญิงวัยกลางคนเล่าด้ วยรอยยิ ้มอย่างเป็ น มิตร
ย�่ำเท้ าสู่ลำ� เนาไพร สองเท้ าของฉันก้ าวเดินอย่างมุง่ มัน่ ข้ าง ทางคือป่ ารกทอดยาวต้ นไม้ น้อยใหญ่ ขึ ้นกันเบียด เสียดจนถึงหน้ าผา มือของเราต่างประคับประคอง กันเพื่อไต่ขึ ้นไปยังจุดหมาย เศษดินค่อย ๆ แตก ระแหงพังลงตามรอยเท้ า รากไม้ ที่ดเู กะกะรกตา ถู ก ใช้ เป็ นสิ่ ง ยึ ด เพื่ อ กั น พลาดหากตกลงไป บรรยากาศยังคงเต็มไปด้ วยเสียงหัวเราะและมี ความสุขจนออกนอกหน้ า ร่างกายเริ่มสัน่ เนือ่ งจาก เสียเหงื่อเป็ นจ�ำนวนมาก ยามเมื่อย�่ำเท้ าก้ าวเดินต่อไปข้ างหน้ า พนาวัลย์รอบกายเปลี่ยนไปเรื่ อย ๆ หากแต่ยงั คง คล้ ายคลึงเดิม ยังมีต้นไม้ ที่มีล�ำต้ นเปลือกสีเข้ ม ประกอบใบไม้ สีเขียวเข้ มสลัว เล็กบ้ างใหญ่บ้าง สลับกันไป กลิ่นสาปของค้ างคาวเริ่ มโชยมาเป็ น ระยะ เพียงไม่กี่อดึ ใจ ฉันและเพื่อนสาวก็เดินทาง มาถึงจุดที่สงู ที่สดุ ของถ� ้ำค้ างคาว เมื่อหันหลังมอง ย้ อนกลับไป จะเห็นภาพวิวในไพรกว้ าง สายลมพัด แผ่วช่วยให้ ใบไม้ ระริ กไหวอย่างสวยงาม อากาศ ก�ำลังเย็นสบาย หินงอกหินย้ อยต่างวาดลวดลาย อวดกันอย่างสวยงาม ธรรมชาติบนโลกช่างน่า ประทับใจ แขกไม่ ได้ รับเชิญ ปั๊ก ปั๊ก ปั๊ก!! เสียงดังมาจากด้ านบนของ ถ� ้ำ ด้ านหลังหินจากผนังถ� ้ำที่ตงเด่ ั ้ นตระหง่าน มี เพียงความมืดสลัวทีแ่ ผ่ขยายไปรอบทิศ เราเริ่มลด เสียงเจื ้อยแจ้ วเพื่อหาต้ นตอของเสียงลึกลับ ในใจ เริ่ มหวาดหวั่นถึงภัยอันตรายที่ รออยู่เบือ้ งหน้ า ฉั น และเพื่ อ นสาวอี ก คนตัด สิ น ใจน� ำ เพือ่ นปี นขึ ้นไปยังด้ านหลังหินใหญ่ นัยน์ตาคมกริบ หรี่ ลงสังเกต เมื่อเห็นบางอย่างลิบ ๆ เบื ้องหน้ านัน้ มีอะไรซ่อนกายอยูท่ า่ มกลางความมืด ความอยาก รู้ อยากเห็นผลักดันให้ เท้ าก้ าวยาวขึ ้น ถี่ขึ ้น อะไร
กัน...เบือ้ งหน้ านัน้ มีบางอย่างรออยู่ เร็ วเข้ า !! ฝ่ าเท้ าหยุดชะงักกึกราวกับถูกตรอกตรึงด้ วยตะปู อันยาวใหญ่ ยามเมื่อกายโผล่พ้นหินใหญ่กว้ างที่ บดบัง ลมหายใจราวกับจะขาดห้ วง ภาพแรกที่อยู่ เบื ้องหน้ า คือชายหนุม่ สองคน อายุราว ๆ 18 - 19 ปี คนหนึ่งใส่เสื ้อสีส้ม ผิวด�ำเข้ มก�ำลังยืนด้ อม ๆ มอง ๆ แทรกตัวอยูใ่ นความมืด ส่วนอีกคนใส่เสื ้อ สีน� ้ำเงิน ฟุบหมอบราบตัวไปกับพื ้นถ� ้ำ อ�ำพรางตัว ไม่ให้ เห็น ทังสองหนุ ้ ่มท�ำตัวลุกลี ้ลุกลนคล้ ายกับ คนมีความผิด ฉันส่งสายตาเป็ นสัญญาณเตือน เพื่อนให้ ร้ ู ว่าสถานที่แห่งนี ไ้ ม่ปลอดภัยเสียแล้ ว ความมืดที่อยูเ่ บื ้องหลังท�ำพวกเราขวัญ กระเจิง เราตัดสินใจค่อย ๆ ขยับฝี เท้ าเข้ าไปดู แต่ ไม่วา่ จะเข้ าใกล้ เพียงใด ความมืดก็ยงั คงท�ำหน้ าที่ อ�ำพรางได้ ดเี ช่นล�ำแสงจากโทรศัพท์ทเี่ ราพยายาม สาดส่องเข้ าไปหวังจะเห็นใบหน้ าของคนแปลก หน้ า ก่อนเพื่อนอีกคนจะเอ่ยขึ ้นว่า “ถ้ าเราเข้ าไป เสียเปรียบเขาแน่ ๆ เขาอยู่ ในทีม่ ดื เราอยูใ่ นทีส่ ว่าง” ค�ำพูดของเพือ่ นสาวช่วย เตือนสติฉัน สองเท้ าค่อย ๆ ก้ าวถอยหลังกลับ มายังกลุ่มเพื่อน ขณะที่บางคนก็ก�ำลังเก็บภาพ ความงดงามนี ไ้ ว้ อี ก คนก� ำ ลัง ตื่ น ตาตื่ น ใจกับ ค้ างคาวตัวน้ อยที่ตกลงมาตายตรงหน้ า แววตา มุ่งมั่นแปรเปลี่ยนเป็ นความกลัว ถุงปุ๋ ยที่เปื อ้ น
คราบดินที่ขาดหลุดลุ่ย เศษขวดน� ้ำที่ผ่านการใช้ งานมาแล้ ว ยิ่งตอกย� ำ้ ว่าสถานที่ แห่งนี ไ้ ม่ได้ มี แค่เรา 5 คน เราต่ า งรี บ และลนลาน สองมื อ หอบ สัมภาระ สองเท้ าก้ าวลงอย่างทุลกั ทุเล เผลอลื่น ไถลลงไปตามกัน เสื ้อผ้ าเลอะเทอะ เต็มไปด้ วยขี ้ ดินสีแดง กลิน่ ดินฟุง้ กระจาย เสียงกระแอมทีด่ งั ไล่ หลังเหมือนอยากประกาศให้ ร้ ู ว่า ควรรี บออกไป จากตรงนี ้ให้ เร็วที่สดุ เมือ่ ลงมาถึงด้ านล่างเราไม่รอช้ า ควบคุม สติ และเข้ าไปถามเจ้ าหน้ าที่เทศบาลภูผาม่าน จึง ทราบว่า อาจเป็ นชาวบ้ านที่ลกั ลอบเข้ ามาเก็บขี ้ ค้ างคาว เพื่อน�ำไปขายเพราะมีราคาดี สาเหตุที่ ต้ อ งหลบ เป็ น เพราะกลัว ความผิ ด เนื่ อ งจาก อุทยานภูผาม่าน ได้ สงั่ ห้ ามชาวบ้ านเก็บขี ้ค้ างคาว เป็ นอันขาด ถึ ง ตอนนี ฉ้ ัน ยัง คงเฝ้า มองผื น ป่ าแห่ง ภูผ าม่ า น เหล่า ต้ น ไม้ น้ อ ยใหญ่ ต่า งร่ า เริ ง และ เต้ นร� ำพลิ ้วไหวไปตามสายลม แต่ละสิง่ ทีป่ ระกอบ ขึ ้นบนอาณาจักรนี ้ล้ วนเอื ้อประโยชน์สกู่ นั และกัน ตราบใดที่อาณาจักรชีวิตแห่งนี ้ยังด�ำรงอยู่ ทุกสิง่ ก็ จ ะยัง ด� ำ เนิ น วิ ถี ข องตน เสมื อ นจะเป็ น พัน ธะ สัญญาระหว่างกันและกัน ร่ วมขับขานบทเพลง แห่งธรรมชาตินี ้จนนิรันดร์
รูปปัน้ ค้ างคาวแดง รอต้ อนรับนักท่องเทีย่ วบริเวณหน้ า อบต.ภูผาม่าน จ.ขอนแก่น
บันเทิง
ก
หนังสือพิมพ์สื่อมวลชน ปีที่ 15 ฉบับที่ 2 ประจ�ำเดือนตุลาคม พ.ศ.2559
“กลองยาวศิ ล ป์ อี ส าน”
ลองยาวเป็ นเครื่ องดนตรี ดั ง้ เดิ ม มา แต่ โ บราณนั บ ว่ า เป็ นศิ ล ปวั ฒ นธรรม ที่มีคุณค่าต่อคนอีสาน นิยมใช้ ในงานประเพณี พิธีกรรมและประกอบศิลปะการแสดงเพื่อให้ มี ความสมบูรณ์ มากขึน้ รวมถึงช่วยปรุ งแต่งชีวิต ให้ มี สี สั น อี ก ทั ง้ บ่ ง บอกถึ ง ความเป็ นอี ส าน กลองยาวมีท่วงท�ำนองที่เป็ นเอกลักษณ์ค่คู วรแก่ การส่งเสริ มและรักษาไว้ ให้ ด�ำรงอยูส่ ืบไป
สืบสานงานศิลป์ ช่ างท�ำกลองยาว นายสมใจ ปั ดตะชารี ช่างท�ำกลองยาว ต.บ้ านหวาย อ.วาปี ปทุม จ.มหาสารคาม เล่าให้ ฟั งว่า เดิมที ตนมี อาชี พหลักเป็ นเกษตรกรและ ผลิตกลองยาวประกอบเป็ นอาชี พเสริ ม โดยมี การรวมตัว กัน ก่ อ ตัง้ กลุ่ม ผลิ ต กลองยาว และ คณะกลองยาวเทพนิ มิ ต โดยมี พ่ อ เที่ ย ง พิณทะปะกัง ศิลปิ นพื ้นบ้ าน เป็ นผู้ฝึกสอนท่าร� ำ และเป็ นผู้ ผลิ ต กลองยาวภู มิ ปั ญ ญาพื น้ บ้ าน ดั ง้ เดิ ม อยู่ ใ นขณะนั น้ ได้ ถ่ า ยทอดวิ ธี ก าร ผลิ ต กลองยาวให้ กั บ คนในชุ ม ชนเรื่ อยมา นายสมใจ เล่าต่อว่า กลองยาวอีสาน มีเอกลักษณ์ทแี่ ตกต่างจากภูมภิ าคอืน่ คือมีรูปทรง นับจากช่วงขึงหน้ ากลองเป็ นต้ นมาถึงตัวกลองยาว จะยาวกว่ า กลองยาวภาคกลาง ส่ ว นหาง กลองยาวภาคอี ส านจะสัน้ กว่า กลองยาวภาค กลาง และหางของกลองจะบานออกสามารถ ตังไว้ ้ ได้ อย่างมัน่ คง นอกจากนันการขึ ้ งหน้ ากลอง จะเอาด้ านนอก หรื อ ด้ านที่ มี ข นไว้ ข้ างนอก “โดยส่ ว นตั ว ตนเล็ ง เห็ น ถึ ง คุ ณ ค่ า ของศิ ล ปวั ฒ นธรรมอี ส านที่ ค วรอนุ รั ก ษ์ ไว้ ไม่ อ ยากปล่ อ ยให้ ขาดช่ ว งคนสานต่ อ การ ผลิตกลองยาว จึงอยากให้ คนรุ่ นหลังได้ อนุรักษ์ สานต่อภูมิปัญญาพืน้ บ้ านให้ อยู่คู่กับคนอีสาน และประเทศชาติสืบไป อีกทังเป็ ้ นการใช้ เวลาว่าง ให้ เกิดประโยชน์หลังว่างจากการท�ำเกษตรกรรม ด้ วย” นายสมใจ กล่าว
ผู ้ สื บ ส า น ต� ำ น า น ด น ต รี พื้ น บ้ า น
นายพงศธร ผิวขม มือกลองของวงดนตรีศลิ ป์ อีสาน วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
ได้ ก่ อ ตัง้ วงดนตรี ศิ ล ป์ อี ส านขึน้ เพื่ อ เสริ ม สร้ าง ทักษะและประสบการณ์ด้านวิชาชีพให้ แก่นสิ ติ ใน ขณะเดียวกันถือว่าเป็ นการส่งเสริมและปลูกฝังให้ ตระหนักถึงคุณค่าทีเ่ ป็ นเอกลักษณ์ ทางวัฒนธรรม ช่วยกันอนุรักษ์สมบัตขิ องชาติมใิ ห้ สญ ู หายไปตาม กาลเวลา อีกทังทางคณาจารย์ ้ มงุ่ เน้ นการถ่ายทอด วัฒนธรรมของคนอีสานให้ เป็ นที่ร้ ู จักทัง้ ภายใน ประเทศและระหว่างประเทศ นอกจากนี ้ วงดนตรี ศิ ล ป์ อี ส านยั ง สร้ างชื่ อ เสียงให้ แ ก่ ม หาวิ ทยาลัยมหาสารคาม โดยการคว้ ารางวัลชนะเลิศประกวดกลองยาว ในงานบุญบังไฟ ้ ต.พุเตย อ.วิเชียรบุรี จ.เพชรบูรณ์ เมื่อวันที่ 21 พฤษภาคม พ.ศ.2559 รางวัลรองชนะ เลิ ศ อัน ดับ ที่ 2 ในการประกวดดนตรี พื น้ บ้ า น โปงลางชิงถ้ วยพระราชทานสมเด็จพระนางเจ้ า สิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ เมื่อวันที่ 9 สิงหาคม พ.ศ.2558 และคว้ ารางวัลชนะเลิศในการประกวด กลองยาวพื น้ บ้ าน และการประกวดขบวน ตัง้ วงดนตรี ศลิ ป์ อีสานเพื่อการอนุรักษ์ แห่ออนซอนกลองยาวชิงถ้ วยพระราชทานสมเด็จ นายวีรยุทธ สีคณ ุ หลิ่ว อาจารย์ประจ�ำ พระเทพรั ต นราชสุด าฯ สยามบรมราชกุ ม ารี ภาควิชาดนตรี พืน้ บ้ าน วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ ระหว่ า งวั น ที่ 19-21 ธั น วาคม พ.ศ.2557 มหาวิ ท ยาลัย มหาสารคาม ให้ ข้ อ มูล ว่ า เพื่ อ รวมถึงคว้ ารางวัลต่าง ๆ อีกมากมายตลอดจนวง อนุรักษ์ และสืบสานวัฒนธรรมอีสาน ทางภาควิชา ดนตรี ศิลป์ อีสานได้ รับความนิยมในอันดับต้ น ๆ
ของภาคอีสานมีงานแสดงทีว่ ทิ ยาลัยดุริยางคศิลป์ ได้ รับการว่าจ้ างงานจ�ำนวนมาก ด้ านนายพงศธร ผิวขม นิสิตวิทยาลัย ดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม เล่าว่า ตนเริ่ มตี ก ลองมาตั ง้ แต่ อ ายุ 8 ขวบโดยมี นายเอกราช แสงชาติ อดี ต สมาชิ ก วงโปงลาง สะออนเป็ น วงต้ น แบบ หลัง จากนัน้ ตนฝึ ก ฝน การตีกลองเรื่ อยมาจนเข้ ามหาวิทยาลัยชันปี ้ ที่ 1 ได้ เข้ าร่ ว มวงดนตรี ศิ ล ป์ อี ส าน มี ก ารแสดง ตีกลองร่ วมกับวงดนตรี ในงานประชุมผู้ปกครอง เป็ นงานแรก ซึ่ ง เป็ นที่ ป ระทั บ ใจส� ำ หรั บ ตน ที่ ไ ด้ สื บ สานวั ฒ นธรรมอี ส าน ตลอดจนถึ ง ปั จจุ บั น ตนด� ำ รงต� ำ แหน่ ง ตี ก ลองประจ� ำ วง “คนที่ จ ะประสบความส� ำ เร็ จ ไม่ ไ ด้ ขึ น้ อยู่กับ พรสวรรค์ หากแต่ ค นเราจะประสบ ความส� ำ เร็ จ ได้ จ� ำ ต้ องมี พ รแสวงและความ ขยันหมั่นเพี ยรฝึ กฝนฝี มืออยู่เสมอ การได้ เป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ของวงดนตรี ศิ ล ป์ อี ส านเป็ น สิ่ ง หนึ่ ง ทีส่ ร้ างความประทับใจให้ ผมมาก เพราะได้ อนุรักษ์ สืบสานกลองยาวซึง่ เป็ นส่วนหนึ่งของภูมิปัญญา พื น้ บ้ านไว้ ให้ คนรุ่ น หลั ง ” นายพงศธรกล่ า ว ทังนี ้ ้ทางคณาจารย์ผ้ ดู แู ลวงดนตรี ศิลป์ อี ส าน ยั ง คอยเป็ นผู้ สนั บ สนุ น และส่ ง เสริ ม
หน้า 13
ให้ นิสิตผู้ที่มีใจรักในเสียงดนตรี มีความใฝ่ ฝันใน อ า ชี พ ศิ ล ปิ น แ ล ะ ไ ด้ ส า น ฝั น ข อ ง ต น เ อ ง ต้ น แบบสื บ สานผ่ า นเสี ย งส� ำ เนี ย งหมอล� ำ นายวงศกรณ์ โยวะราช ผู้ที่ชื่นชอบและ รั ก ในเสี ย งดนตรี ตลอดจนต้ องการสื บ สาน วัฒนธรรมอีสาน ให้ เป็ นที่ร้ ูจกั ผ่านความสามารถ ในการเล่นดนตรี อีสานชนิดต่าง ๆ นายวงศกรณ์ โยวะราช หรื อ ล�ำเพลิน นิ สิ ต วิ ท ยาลั ย ดุ ริ ยางคศิ ล ป์ มหาวิ ท ยาลั ย มหาสารคาม เล่าให้ ฟังว่า ตนชื่นชอบการร้ อง เพลงเป็ นชีวิตจิตใจและชอบถ่ายทอดเรื่ องราว ผ่านบทเพลง แต่ทัง้ นี ต้ ้ องอาศัยความช� ำนาญ ในการขับร้ อง ต้ องใช้ ส�ำเนี ยงทอ้ งถิ่ น เสียงสูง เสี ย งต�่ ำ ประกอบกับ เครื่ อ งดนตรี พื น้ บ้ า นเพื่ อ สร้ างความสนุก สนานให้ แ ก่ ผ้ ูช ม ตอนเด็ ก ๆ มารดาชอบร้ องหมอล� ำ ให้ ตนฟั งอยู่ บ่ อ ย ๆ จนเกิดหลงใหลในส�ำเนียงของหมอล�ำ เพลงแรก ที่ตนฝึ กร้ องหมอล�ำ คือเพลงกุหลาบแดง กระทัง่ ครู ที่ โ รงเรี ย นมั ธ ยมฯ เห็ น แววจึ ง ชั ก ชวนให้ เข้ า ร่ ว มวงโปงลางของโรงเรี ย น และปั จ จุบัน ตนได้ เข้ าศึ ก ษาต่ อ ที่ วิ ท ยาลั ย ดุ ริ ย างคศิ ล ป์ สาขาดนตรี พื ้นบ้ าน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม อีกทัง้ ยังเป็ นนักร้ องประจ� ำวงดนตรี ศิลป์ อีสาน “ตอนแรกแค่ฟังแม่ร้องทุกวันจนกลาย เป็ นความหลงใหลในภาษาเพลงที่มีเอกลักษณ์ และมีความหมาย ทุกอย่างเริ่ มจากความคุ้นชิน เปลี่ยนมาเป็ นความชอบ มาถึงวันนี ้เป็ นนักร้ อง ตามที่ใฝ่ ฝันเดินตามความฝันส�ำเร็จไปอีกขัน้ ได้ มี การเซ็นสัญญาและเป็ นนักร้ องในสังกัดบริ ษัท แกรมมี่โกลด์ จํากัด ตลอดจนได้ เป็ นส่วนหนึง่ ใน การอนุ รั ก ษ์ แ ละสื บ สานเพลงหมอล� ำ ซึ่ ง เป็ น วัฒนธรรมอีสาน” นายวงศกรณ์ กล่าว หลายคนรู้ จัก และเคยเห็ น กลองยาว ตามงานประเพณี หรื องานรื่ นเริงต่าง ๆ แต่จะมีสกั กี่คนทีม่ องลึกลงไปยังแก่นแท้ ของกลองยาว เสน่ห์ อันทรงคุณค่าความประณีตของกลองยาวว่า เกิด จากความริ เริ่ มสร้ างสรรค์จากวัสดุธรรมชาติใน ท้ องถิ่นของภูมิปัญญาชาวบ้ านที่สืบต่อกันมาช้ า นาน และยัง พัฒ นาต่อ ยอดออกมาเป็ น เครื่ อ ง ดนตรี อีสานอีกหลายชนิ ด นอกจากสร้ างเสียง ท� ำนองที่ ไพเราะให้ แก่ ผ้ ูฟัง เสียงดนตรี ยังช่วย กล่อมเกลาจิตใจแฝงไปด้ วยกลิ่นอายวิถีชีวิตของ วัฒนธรรมชาวอีสานที่ควรค่าแก่การอนุรักษ์ และ ให้ คนรุ่ น หลั ง ได้ สื บ สานต่ อ ไปไม่ ใ ห้ สู ญ หาย
หน้า 14
หนังสือพิมพ์สื่อมวลชน ปีที่ 15 ฉบับที่ 2 ประจ�ำเดือนตุลาคม พ.ศ.2559
ต่อหน้าหนึ่ง
ต่อจากหน้า 1 มมส รณรงค์สวมหมวกกันน็อค จากประเด็นที่มีการโพสต์ภาพพนักงาน รั ก ษ า ค ว า ม ป ล อ ด ภั ย ชู ป้ า ย ใ ห้ นิ สิ ต ใ น มหาวิทยาลัยมหาสารคาม (มมส) อ่านบทความ รณรงค์สวมหมวกกันน็อค ในวันที่ 12 กันยายน พ.ศ.2559 ลงในกลุ่ ม เฟชบุ๊ กมหาวิ ท ยาลั ย มหาสารคาม หากฝ่ าฝื นจะมีการหักคะแนนความ ประพฤติ ท�ำให้ มีการวิพากษ์ วิจารณ์กนั ในกลุม่ นิสิตถึงประเด็นดังกล่าวหลายด้ าน มีทงผู ั ้ ้ ที่เห็น ด้ วยและไม่เห็นด้ วย โดยผู้ที่เห็นด้ วยมองว่าเป็ น เรื่ องที่ควรเกิดขึ ้น เพื่อช่วยลดอุบตั ิเหตุบนท้ อง ถนนรอบ มมส ให้ ลดลง และเป็ นการปฏิบตั ติ าม กฎจราจร หากมีการตังด่ ้ านของเจ้ าหน้ าที่ต�ำรวจ ก็ จ ะไม่เ สี ย ค่า ปรั บ ข้ อ หาไม่ส วมหมวกกัน น็ อ ค ส่ว นคนที่ ไ ม่ เ ห็ น ด้ ว ยมองว่า หากมี ก ารรณรงค์ โครงการนี ้ ปั ญหาเรื่ องหมวกกันน็อคหายหรื อถูก ขโมยก็จะเพิม่ ขึ ้น และมองว่าเป็ นการรณรงค์ระยะ สันเท่ ้ านัน้ อีกทังมี ้ ค�ำถามเกิดขึ ้นว่าคะแนนความ ประพฤติที่จะหักมีจริ งหรื อไม่ นายจรัญ วิชาคุณ หัวหน้ างานวินยั นิสติ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม เปิ ดเผยว่า นิสิตทุก คนในมหาวิทยาลัยมีคะแนนความประพฤติตดิ ตัว คนละ 100 คะแนน ไม่เกี่ยวกับคะแนนในการเรียน ซึง่ หากตรวจพบนิสิตกระท�ำความผิดโดยไม่สวม หมวกกันน็อคจะถูกตัดคะแนน หากถูกตัดเกิน 40 คะแนน จะถูกพักการเรี ยน 1 ภาคการศึกษา หาก โดนตัดเต็ม 100 คะแนน จะถูกไล่ออกให้ พ้นสภาพ
นิสติ และไม่สามารถกลับมาเรี ยนที่ มมส ได้ นายจรัญ กล่าวต่อว่า การตัดคะแนน ความประพฤติเป็ นไปตามข้ อบังคับว่าด้ วยวินัย นิสติ พ.ศ.2554 ซึง่ อยูใ่ นคูม่ ือที่ทกุ คนมี แต่นิสติ ไม่ทราบเนื่องจากส่วนใหญ่ไม่คอ่ ยอ่าน หากใคร ท�ำผิดจะมีตารางให้ ดู ประกาศเรื่ องของจราจร ตังแต่ ้ พ.ศ.2554 เหมือนกันทัง้ 2 ฉบับ ซึง่ ในคูม่ ือ มี ร ะ บุ ไ ว้ คื อ ม า ต ร ก า ร วิ นั ย จ ร า จ ร ใ น เ ข ต มหาวิทยาลัย และมาตรการด�ำเนินการบังคับใช้ วินยั จราจรในเขตมหาวิทยาลัย พ.ศ.2554 ทังสอง ้ มาตรการนี จ้ ะกล่ า วถึ ง วิ นั ย จราจรในเขต มหาวิทยาลัย วิธีปฏิบตั ิของเจ้ าหน้ าที่ และวิธี ปฏิ บั ติ ข องนิ สิ ต เมื่ อ เข้ าไปในพื น้ ที่ ก ารตรวจ “เมื่อประมาณ พ.ศ.2551 ริเริ่มโครงการ ครัง้ แรก มีการน�ำนิสิตที่ถกู จับเรื่ องวินยั จราจรมา ช่วยงานและช่วยตังด่ ้ าน ขณะนันใช้ ้ วิธีการจดชื่อ ทุกคนทีไ่ ม่สวมหมวกกันน็อค ไม่คาดเข็มขัดนิรภัย ซ้ อนสาม ขับรถย้ อนศร แต่ก่อนเราคิดเป็ นกระทง โดนโทษฐานละ 5 คะแนน ซ้ อนสามคนและไม่ใส่ หมวกกันน็อคก็จะโดนคนละ 10 คะแนน เป็ นเรื่ อง จริ ง มี ก ารประชุ ม คณะกรรมการวิ นั ย ระดั บ มหาวิ ท ยาลัย ซึ่ง มี ทุก คณะเข้ า ร่ ว มเป็ น คณะ กรรมการด้ วย โดยจะประชุมกันก่อนว่าจะด�ำเนิน โครงการทางวินยั จราจร อีกทังได้ ้ เชิญรองคณบดี ฝ่ ายพัฒนานิสติ ของแต่ละคณะมาร่วมประชุมเรื่อง ดังกล่าว” นายจรัญ กล่าว
นายจรัญ เผยต่อว่า มาตรการดังกล่าว จะมีการรวบรวมรายชือ่ นิสติ ทีท่ ำ� ผิดวินยั จราจรมา ตัดคะแนน แล้ วแยกเป็ นแต่ละคณะ จากนันก็ ้ แจ้ ง ไปยังคณะ ถ้ าโดนตัดคะแนนต้ องมีการบ�ำเพ็ญ ประโยชน์ 2 คะแนนต่อ 1 ชัว่ โมง ถ้ าโดน 10 คะแนน ก็บ�ำเพ็ญประโยชน์ 5 ชัว่ โมง หลังจากส่งรายชื่อ ไปทีค่ ณะ ก็แล้ วแต่วา่ คณะจะให้ บำ� เพ็ญประโยชน์ อย่างไร เช่น ท�ำความสะอาดคณะ เป็ นต้ น หาก ถูกตัดเกิน 40 คะแนนจะถูกพักการเรี ยน 1 ภาค การศึกษา หากโดนตัดเต็ม 100 คะแนนจะพ้ น สภาพนิสติ “มาตรการนี ้ท�ำตังแต่ ้ ชว่ งประมาณ พ.ศ. 2551 คิดว่านิสติ คงใส่หมวกกันน็อคเป็ นปกติแล้ ว ทางมหาวิทยาลัยจึงได้ หนั มาให้ ความส�ำคัญเรื่ อง อื่น เช่น ยาเสพติด การพนัน ที่ดนู า่ เป็ นห่วง ส่วน เรื่ องขโมยกับเรื่ องหมวกกันน็อคหาย ปั ญหานี ้มี มานาน ทางมหาวิทยาลัยไปเฝ้าให้ ไม่ได้ ที่จริ ง อยากลองเสนอให้ แต่ละคณะท�ำที่เก็บให้ นิสิต” หัวหน้ างานวินยั นิสติ กล่าว นายจรัญ กล่าวอีกว่า ประมาณ 2 ปี ที่ แล้ วนิ สิ ต ที่ ไ ม่ ใ ส่ ห มวกกั น น็ อ คจะไม่ ใ ห้ เข้ า มหาวิทยาลัย ซึง่ เป็ นมาตรการที่ไม่ได้ ตดั คะแนน ซึง่ ก็เห็นแล้ วว่าดีขึ ้น นิสิตคงจะตระหนักได้ แล้ ว แต่ก็หายไปอีก ดังนันมหาวิ ้ ทยาลัยจึงอยากกลับ มาท�ำอีกอย่างจริ งจัง แต่ปีนี ้ไม่ตดั คะแนนก่อน แล้ วค่อยไปบ�ำเพ็ญประโยชน์ แต่จะจดรายชื่อ รวบรวมแล้ วให้ บ�ำเพ็ญประโยชน์ก่อน มีการให้ เป็ นชัว่ โมงจิตอาสาของกองทุนกู้ยมื เพือ่ การศึกษา (กยศ.) แต่ถ้าท�ำผิดวินยั ซ� ้ำ ยังมีรายชื่อเดิมจึงจะ ตัดคะแนน ซึง่ แต่เดิมตัดคะแนนก่อนค่อยบ�ำเพ็ญ ประโยชน์ โดยมีจดุ ประสงค์การรณรงค์ เนื่องจาก นิ สิ ต ได้ รั บ บาดเจ็ บ และเสี ย ชี วิ ต จากอุบัติ เ หตุ ทางการจราจรจ�ำนวนมาก “ปี ที่แล้ วมียอดนิสติ เสียชีวิต 21 ราย ซึง่ มหาวิทยาลัยจ่ายค่าอุบตั ิเหตุให้ ครอบครัวผู้เสีย ชีวิตจากอุบตั เิ หตุ รายละ 150,000 บาท กรณีผ้ ู บาดเจ็บที่น�ำใบเสร็ จมาเบิกค่ารักษาพยาบาลมี จ�ำนวนนับ 100 ราย จึงอยากให้ นิสติ สวมหมวก กันน็อคทุกคน ความจริ งก็ขึ ้นอยู่กบั ตัวนิสิตว่ามี จิตส�ำนึกหรื อไม่ เพราะวินัยนิ สิตคล้ ายกับกฎ จราจร คนที่ซ้อนก็ต้องสวมหมวกกันน็อคและก็ ห้ ามซ้ อน 3 คน อยากฝากถึงนิสติ อีกเรื่ องคือ ถนน เส้ นหน้ าตึกบรมราชกุมารี หรื อทางหลวงชนบท 2202 ต�ำรวจมีอำ� นาจตังด่ ้ านได้ หลายคนยังเข้ าใจ ผิดคิดว่าเจ้ าหน้ าที่ต�ำรวจไม่สามารถตังด่ ้ านใน มหาวิทยาลัย” นายจรัญ กล่าว นายจรัญ กล่าวทิ ้งท้ ายว่า “ระยะเวลา ของการรณรงค์จะยาวนานเพียงใดขึ ้นอยู่กบั การ ให้ ความร่ วมมือของนิสิตและอยู่ที่จิตส�ำนึกของ นิสติ หากท�ำตามระเบียบมหาวิทยาลัย ก็ไม่ต้องมี มาตรการมาบังคับให้ ใส่หมวกกันน็อกหรื อคาด เข็ ม ขัด ส่ว นระบบการจดชื่ อ เนื่ อ งจากนิ สิ ต มี จ�ำนวนมาก ทางมหาวิทยาลัยลงมติกนั ไว้ วา่ อยาก เอาแบบสแกนบัตร ยิงบาร์ โค้ ด แต่ต้องดูก่อนว่า ระบบสามารถเซ็ตได้ เลยหรือไม่ และสามารถท�ำได้ เร็ วที่สุดแค่ไหน เพราะการฝ่ าฝื นกฎจราจรหรื อ วินัยนิ สิต น� ำมาซึ่งความเสียหายต่อชี วิตและ ทรัพย์สิน เนื่องจากกฎหมายและวินยั นิสิตไม่มี การคุ้มครอง อยากให้ นิสิตตระหนักว่าเวลาเกิด อุบตั เิ หตุ นิสติ ควรมีจติ ส�ำนึกในเรื่องจราจรให้ มาก ดังนัน้ ควรสวมหมวกกันน็อคขณะขับขี่ เพื่อชีวิต และทรัพย์สนิ ของตนเองและผู้อื่น” นายประเสริฐ ชุม่ อภัย หัวหน้ างานจราจร
และรั ก ษาความปลอดภั ย มหาวิ ท ยาลั ย มหาสารคาม เปิ ดเผยว่า จุดเริ่ มต้ นของการตรวจ หมวกกันน็อค 100 เปอร์ เซ็นต์ เป็ นโครงการของ มหาวิทยาลัยโดยกองกิจการนิสติ เป็ นผู้รับผิดชอบ กับกองอาคารสถานทีฝ่ ่ ายจราจร เป็ นผู้เข้ าประชุม ร่ วม โดยมีนโยบายขันตอนแรกเป็ ้ นการตักเตือน คือการประชาสัมพันธ์ประมาณหนึง่ สัปดาห์ โดย มี เ จ้ าหน้ าที่ รั ก ษาความปลอดภั ย ฝ่ ายจราจร ด� ำ เนิ น การโบกรถนิ สิต ที่ ไ ม่ส วมหมวกกัน น็ อ ค ให้ กบั เจ้ าหน้ าที่กองกิจการนิสติ ที่ตงโต๊ ั ้ ะลงบันทึก ว่าไม่สวมหมวกกันน็อค เพื่อที่จะด�ำเนินการใน เรื่ องหักคะแนนความประพฤติ “แต่เนื่องจากตอนนี ้การที่เราจะตังด่ ้ าน จั บ หมวกกั น น็ อ คได้ ต้ องครบองค์ ป ระกอบ บุคลากร ซึง่ มีกองกิจการนิสติ และเจ้ าหน้ าที่รักษา ความปลอดภัยฝ่ ายจราจรเป็ นหลัก หากกอง กิจการนิสติ ไม่มา ก็ไม่สามารถตังด่ ้ านได้ เพราะ ไม่มีใครมารองรับในเรื่ องการตรวจหรื อลงบันทึก เพราะกองกิ จการนิสิตเป็ นเจ้ าภาพหลักในการ รณรงค์ครัง้ นี ้ ฝ่ ายอื่นจะไม่สามารถใช้ อ�ำนาจลง บันทึกได้ ” นายประเสริ ฐ กล่าว นายประเสริฐ กล่าวเพิม่ เติมว่า เมื่อก่อน ในช่วงที่เป็ นนโยบาย ฝ่ ายจราจรเป็ นผู้รับผิดชอบ กระแสด้ านลบที่ตามมาคือชาวบ้ านที่สญ ั จรผ่าน มหาวิทยาลัยบอกว่าเข้ มงวดเกินไป ท�ำให้ มีปาก เสี ย งกับ เจ้ า หน้ า ที่ รั ก ษาความปลอดภัย จึง ตัด ปั ญหาโดยตัดระบบนี ้ออกไป เนื่องจากมองว่า ตอนนันประสบความส� ้ ำเร็ จแล้ ว และนิสิตส่วน ใหญ่ปฎิบตั ติ าม และจะได้ น�ำบุคคลากรไปปฏิบตั ิ หน้ าที่ในส่วนอื่น ส่วนเรื่ องสวมหมวกกันน็อคขึ ้น อยู่กับ จิ ต ใต้ ส� ำ นึก ของนิ สิต หากค� ำ นึง ถึง เรื่ อ ง ระเบียบวินยั ถือเป็ นสิง่ ที่ควรปฎิบตั ติ าม “เรื่ อ งตัง้ ด่ า นหากมี ค� ำ สั่ง ก็ พ ร้ อมจะ ปฏิบตั ิ แต่ไม่สามารถท�ำเองได้ ต้ องรอให้ กอง กิจการนิสิตท�ำหนังสือมา เนื่องจากบุคลากรมี ภาระงานไม่สามารถด�ำเนินการตรงนี ้ การขอ ความอนุเคราะห์ให้ ด�ำเนินการต้ องตกลงกันอีกที ว่ า จะยึ ด บั ต รนิ สิ ต หรื อ ท� ำ โทษนิ สิ ต อย่ า งไร” นายประเสริ ฐ กล่าว นายปริ ญญา มหาโคตร นิสิตวิทยาลัย การเมืองการปกครอง มหาวิทยาลัยมหาสารคาม กล่ า วว่ า เรื่ องดั ง กล่ า วเป็ นระเบี ย บของ มหาวิทยาลัยต้ องปฏิบตั ิตาม แต่มีความคิดว่าไม่ ค่อยสะดวกสบาย เพราะต้ องหาซื ้อหมวกกันน็อค มาใส่ เช่น ถ้ าต้ องรี บไปเรี ยนแล้ วลืมหมวกกัน น็อค ก็จะเข้ ามหาวิทยาลัยไม่ได้ จึงเป็ นอุปสรรค พอสมควร แต่ เ ข้ า ใจว่ า เป็ น ความหวัง ดี ข อง มหาวิ ท ยาลั ย ที่ อ ยากให้ นิ สิ ต มี ร ะเบี ย บวิ นั ย ลดความเสี่ ย ง หากนิ สิต ปฏิ บัติ ต ามถื อ ว่า เป็ น ความส�ำเร็ จของมหาวิทยาลัย แต่การหักคะแนน ถือว่าหนักและมีความไม่เข้ าใจ ส่วนตัวไม่ทราบว่า มหาวิ ท ยาลั ย มี ค ะแนนความประพฤติ ด้ วย นายธิ ช ากร เอกทั ศ น์ นิ สิ ต คณะ สิ่งแวดล้ อมและทรัพยากรศาสตร์ มหาวิทยาลัย มหาสารคาม กล่าวว่า เห็นด้ วยกับโครงการรณรงค์ ใส่หมวกกันน็อค 100 เปอร์ เซ็นต์ของมหาวิทยาลัย แต่การที่จะท�ำให้ โครงการนี ้มีประสิทธิภาพมาก ที่สดุ ต้ องบังคับใช้ กฎเกณฑ์ให้ เด็ดขาด หากมี การหักคะแนนก็ต้องด�ำเนินการจริง แต่ตามที่เห็น ก็ไม่ได้ ด�ำเนินการอะไรสักอย่าง ช่วงแรกเห็นว่าจะ หักคะแนนความประพฤติและบ�ำเพ็ญประโยชน์ แต่ชว่ งหลังยังไม่เห็นมีความคืบหน้ าของโครงการ และไม่มีการตรวจหมวกกันน็อคอีกเลย
ห
ลังจากร่างรัฐธรรมนูญผ่านการลงประชามติ กฎหมายด้ านสิ่งแวดล้ อมยังเป็ นที่ถกเถียง กันในสังคมว่าจะช่วยคุ้มครองสิทธิของชุมชนได้ จริ ง ในทางปฏิ บัติ ม ากขึ น้ หรื อ น้ อ ยลงเพี ย งใด เนื่องจากร่างกฎหมายดังกล่าวได้ “ตัดสิทธิ’’ การ แสดงความคิดเห็นของประชาชนต่อโครงการของ รั ฐบาล และขัน้ ตอนการขอความเห็นชอบจาก องค์กรอิสระด้ านสิง่ แวดล้ อมก่อนด�ำเนินโครงการ ต่าง ๆ
ร่ างรั ฐธรรมนูญด้ านกฎหมายสิ่งแวดล้ อม หมวดสิทธิเสรีภาพของประชาชนในด้ าน สิง่ แวดล้ อม แตกต่างจากรัฐธรรมนูญ พ.ศ.2540 และ พ.ศ.2550 อย่างน่าสนใจ โดยภาครัฐเปลี่ยน สิทธิของประชาชนบางอย่างจากทีเ่ ดิมเคยก�ำหนด ให้ เป็ น “สิทธิ” ย้ ายไปไว้ ในหมวด “หน้ าที่ของรัฐ” ซึง่ ฝ่ ายที่เห็นด้ วยก็เชื่อว่าการบังคับให้ รัฐต้ องท�ำ นันจะเกิ ้ ดผลจริงได้ มากกว่า ส่วนฝ่ ายทีไ่ ม่เห็นด้ วย ก็ ม องว่ า โดยหลัก การแล้ ว ต้ อ งเป็ น สิ ท ธิ ข อง ประชาชน เรื่ องสิ ท ธิ ท างสิ่ ง แวดล้ อม แม้ ร่ า ง รั ฐธรรมนูญจะรั บรองสิทธิ ของประชาชน และ ชุมชนที่จะใช้ ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติ การจัดสรร และการรักษา แต่ไม่ได้ ระบุถงึ เรื่องสิทธิ ในการมีชีวิตในสิ่งแวดล้ อมที่ไม่เป็ นอันตรายไว้ เหมือนในรัฐธรรมนูญฉบับก่อน ๆ โดยตัดสิทธิของ ประชาชนที่ จ ะแสดงความคิ ด เห็ น ต่อ โครงการ ต่ า งๆ และไม่ ใ ห้ อ� ำ นาจองค์ ก รอิ ส ระด้ าน สิ่งแวดล้ อมท�ำหน้ าที่ให้ ความเห็นชอบโครงการ ของรัฐบาลอีกต่อไป แต่รัฐจะให้ สทิ ธิในมาตรา 43 บุคคลและชุมชนย่อมมีสทิ ธิ โดยให้ ชมุ ชนท้ องถิ่น มีส่วนร่ วมและรับฟั งความคิดเห็นของประชาชน ก่อนด�ำเนินโครงการต่าง ๆ ของรัฐแทน มาตรา 43 กับร่ างรั ฐธรรมนูญ พ.ศ.2559 ในประเด็นเรื่ องสิทธิชมุ ชนและสิทธิของ ประชาชนในการจัดการสิง่ แวดล้ อม ถูกเขียนไว้ ใน หมวดสิ ท ธิ แ ละเสรี ภ าพของปวงชนชาวไทย มาตรา 43 ดังนี ้ (1) อนุรักษ์ ฟื้นฟูหรื อส่งเสริ ม ภูมปิ ั ญญา ศิลปะ วัฒนธรรม ขนบธรรมเนียม และ จารี ตประเพณีอนั ดีงาม ทังของท้ ้ องถิ่นและของ ชาติ (2) จัดการ บ�ำรุงรักษา และใช้ ประโยชน์จาก ทรัพยากรธรรมชาติ สิง่ แวดล้ อมและความหลาก หลายทางชีวภาพอย่างสมดุลและยัง่ ยืนตามวิธี การทีก่ ฎหมายบัญญัติ (3) เข้ าชือ่ กันเพือ่ เสนอแนะ ต่อหน่วยงานของรั ฐให้ ด�ำเนินการใดอันจะเป็ น ประโยชน์ตอ่ ประชาชนหรื อชุมชน หรื องดเว้ นการ ด�ำเนินการใดอันจะกระทบต่อความเป็ นอยู่อย่าง สงบสุขของประชาชนหรื อชุมชน และได้ รับแจ้ งผล การพิจารณาโดยรวดเร็ ว ทังนี ้ ้หน่วยงานของรัฐ ต้ องพิจารณาข้ อเสนอแนะนันโดยให้ ้ ประชาชนที่ เกี่ยวข้ องมีส่วนร่ วมในการพิจารณาด้ วยตามวิธี การทีก่ ฎหมายบัญญัติ (4) จัดให้ มรี ะบบสวัสดิการ ของชุมชน สิทธิ ของบุคคลและชุมชนตามวรรค หนึ่ง หมายความรวมถึงสิทธิที่จะร่ วมกับองค์กร ปกครองส่ว นท้ อ งถิ่ น หรื อ รั ฐ ในการด� ำ เนิ น การ ดังกล่าวด้ วย นอกจากสิ ท ธิ ที่ ป ระชาชนจะได้ รั บ ใน มาตรา 43 แล้ ว ร่างรัฐธรรมนูญฉบับนี ้ยังก�ำหนด หน้ าทีข่ องรัฐในประเด็นทีเ่ กีย่ วข้ องเอาไว้ ในมาตรา 57-58 ก�ำหนดให้ รัฐอนุรักษ์ คุ้มครอง ฟื น้ ฟู และ ใช้ ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติ โดยให้ ชมุ ชน ท้ องถิ่นมีส่วนร่ วม รัฐต้ องท�ำรายงานผลกระทบ
สิ่งแวดล้อม
หนังสือพิมพ์สื่อมวลชน ปีที่ 15 ฉบับที่ 2 ประจ�ำเดือนตุลาคม พ.ศ.2559
หน้า 15
ทิ ศ ทางสิ ท ธิ ชุ ม ชนกั บ สิ่ง แวดล้ อ ม หลังรัฐธรรมนูญผ่านการลงประชามติ
ด้ านสิ่งแวดล้ อมและสุขภาพ (EIA และ EHIA) ครอบคลุมรับรองสิทธิชมุ ชนเป็ นการทัว่ ไป หรื อใน และรับฟั งความคิดเห็นของประชาชนก่อนด�ำเนิน ลักษณะสิทธิเฉพาะอย่างใดอย่างหนึง่ โครงการต่าง ๆ ดร.วนิ ด า ให้ ข้ อ มูล เพิ่ ม เติ ม ว่ า สิ ท ธิ หมายถึงการได้ รับความคุ้มครองตามที่กฎหมาย นักวิชาการย�ำ้ ชุมชนต้ องมีส่วนร่ วม รั บ รอง โดยเฉพาะอย่ า งยิ่ ง ประเทศไทยเป็ น ดร.ไชยณรงค์ เศรษฐเชื อ้ ภาควิ ช า ประเทศระบบประมวลกฎหมาย ดังนัน้ การได้ รับ สังคมวิทยา คณะมนุษยศาสตร์ และสังคมศาสตร์ ความคุ้มครองโดยมีกฎหมายบัญญัติรับรองไว้ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม และนักวิชาการด้ าน อย่างเป็ นลายลักษณ์อกั ษรจึงเป็ นเรื่องส�ำคัญ และ สิง่ แวดล้ อม ให้ ความคิดเห็นว่า มีสองเรื่ องหลัก ๆ ในขณะเดียวกัน นอกจากจะมีกฎหมายบัญญัติ คือเรื่ องแรกไม่จ�ำเป็ นต้ องใช้ รัฐธรรมนูญ เพราะ คุ้มครองไว้ แล้ ว ต่อไปอาจจะต้ องพิจารณาการ ตอนนี ้ใช้ มาตรา 44 ค�ำสัง่ เรื่ องการยกเลิกผังเมือง ตีความหรื อการบังคับใช้ กฎหมายประกอบกันไป 2 ฉบับและเรื่ องของการยกเลิกรายงานผลกระทบ ทั ง้ นี เ้ พื่ อ เป็ นหลั ก ประกั น ว่ า สิ ท ธิ ข องชุ ม ชน ด้ านสิง่ แวดล้ อม หรื อ EIA (Environmental Im- ที่ ไ ด้ รั บ การรั บ รองคุ้ มครองโดยกฎหมายนั น้ pact Assessment) จะเกิดขึ ้นจริ งในทางปฏิบตั ิ “นั บ เป็ นการประท้ วงขององค์ ก ร สิง่ แวดล้ อมต่อกฎหมายในเรื่องการยกเลิกผังเมือง สิทธิชุมชนกับสิ่งแวดล้ อม ฉบับนี ้ซึง่ ไม่เกี่ยวกับรัฐธรรมนูญแต่ท�ำให้ เกิดการ ส� ำ หรั บ ร่ า งรั ฐ ธรรมนูญ ฯ ฉบับ พ.ศ. ลัดขันตอนให้ ้ ใช้ ประโยชน์ไม่ได้ โดยโครงการจัด 2559 ได้ ตดั ถ้ อยค�ำรับรองสิทธิการด�ำรงชีวติ อยูใ่ น ท�ำโรงไฟฟ้าและเขตเศรษฐกิจพิเศษชายแดนท�ำได้ สิง่ แวดล้ อมทีป่ ลอดภัยไม่เป็ นอันตรายออกไปแล้ ว เลยไม่ ต้ อ งจั ด ท� ำ EIA ซึ่ ง ที่ ก ล่ า วมาทัง้ หมด ยังได้ บญ ั ญัตเิ ปลีย่ นแปลงสิทธิของประชาชนเป็ น เป็ น ค� ำ สั่ง ของคณะรั ก ษาความสงบแห่ ง ชาติ หมวดหน้ าที่ของรัฐแทน ตามมาตรา 58 ที่บญ ั ญัติ มาตรา 44 ในส่วนรัฐธรรมนูญฉบับ พ.ศ.2559 ที่ ว่า การด�ำเนินการใดของรัฐหรือทีร่ ัฐจะอนุญาตให้ ลงมติผ่านเห็นชัดเจนว่าไม่มีเรื่ องของสิทธิชมุ ชน ผู้ใดด�ำเนิ นการ ถ้ าการนัน้ อาจมี ผลกระทบต่อ ส่วนรัฐธรรมนูญฉบับ พ.ศ.2540 และ พ.ศ.2550 ทรัพยากรธรรมชาติ คุณภาพสิง่ แวดล้ อม สุขภาพ ชาวบ้ านจะอ้ างถึงหลักสิทธิ ชุมชน ชุมชนต้ องมี อนามัย คุณภาพชีวติ ส่วนได้ เสียส�ำคัญอื่นใดของ ส่วนร่วมในการจัดการทรัพยากรและคุณภาพชีวติ ประชาชนหรื อชุมชนและสิง่ แวดล้ อมอย่างรุนแรง ที่ดี รวมไปถึงเรื่ องของผลกระทบต่อสิ่งแวดล้ อม รัฐต้ องด�ำเนินการให้ มีการศึกษาพร้ อมทังประเมิ ้ น และสุขภาพที่จะต้ องจัดท�ำรายงานการวิเคราะห์ ผลกระทบต่อคุณภาพสิ่งแวดล้ อมสุขภาพของ ในการมี ส่ ว นร่ ว มของชุ ม ชนประกอบอยู่ ใ น ประชาชนในชุมชน โดยจัดให้ มกี ารรับฟั งความคิด กฎหมายด้ วย” ดร.ไชยณรงค์ กล่าว เห็นของผู้มีสว่ นได้ เสียของประชาชนและชุมชนที่ ดร.วนิดา พรมหล้ า อาจารย์วิทยาลัย เกี่ยวข้ องก่อน เพื่อน�ำมาประกอบการพิจารณา การเมืองการปกครอง มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ด� ำ เนิ น การตามขั น้ ตอนหรื ออนุ ญ าตตามที่ และนักวิชาการด้ านสิทธิ มองว่า เป็ นเรื่ องของ กฎหมายบัญญัติ การบังคับใช้ หรื อการตีความกฎหมาย สิทธิชมุ ชน นางสาวณัฐพร อาจหาญ นักอนุรักษ์ ถือเป็ นเรื่ องที่ส�ำคัญที่เป็ นหลักประกันความชอบ สิง่ แวดล้ อม มองว่า จากรัฐธรรมนูญฯ พ.ศ.2550 ธรรมในสัง คม และสิ ท ธิ ไ ด้ รั บ การรั บ รองและ ที่มีสทิ ธิชมุ ชนและกฎหมายอื่น ๆ ที่ยงั ไม่ซบั ซ้ อน ยอมรั บ เป็ น การทั่ว ไปตามสากลและกฎหมาย เหมือนร่างรัฐธรรมนูญในปั จจุบนั ท�ำให้ ชาวบ้ าน ระหว่ า งประเทศ เช่ น การรั บ รองสิ ท ธิ ชุ ม ชน ในชุ ม ชนยั ง น� ำ สิ ท ธิ ต รงนี ม้ าใช้ ได้ ข้ อดี คื อ
เมือ่ กฎหมาย รับรองไว้ ในรัฐธรรมนูญ การต่อสู้ของ ชาวบ้ านยังชอบธรรมอยู่ กระบวนการต่อสู้ในชัน้ ศาลเป็ นสิง่ ที่ชาวบ้ านสามารถท�ำได้ ทังนี ้ ้ รัฐธรรมนูญฉบับ พ.ศ. 2559 ด้ าน สิ่งแวดล้ อมและสิทธิชมุ ชนได้ ตดั สิทธิชมุ ชนออก อีกทัง้ เปลี่ยนเป็ นหน้ าที่ของรั ฐ ด้ านชุมชนจะมี ปั ญหามากขึ ้น เพราะไม่ได้ ถกู รับรองสิทธิชมุ ชนใน รั ฐ ธรรมนู ญ ฉบั บ พ.ศ.2559 ไว้ เนื อ้ หาใน รั ฐ ธรรมนูญ ให้ รั ฐ เป็ น ผู้จัด การดูแ ลรั บ ผิ ด ชอบ ทัง้ หมดและมี อ� ำ นาจร่ ว มในโครงการพัฒ นา โครงการต่าง ๆ จากบริษทั ภายในและนอกประเทศ ที่จะมาลงทุน ด้ านหน่ ว ยงานรั ฐ ได้ มี ก ารจั ด ให้ มี กระบวนการรั บฟั งความคิดเห็นของประชาชน อย่างทั่วถึง โดยได้ ร่างรั ฐธรรมนูญ พ.ศ.2559 มาตรา 41 หมวดสิทธิและเสรี ภาพของปวงชนชาว ไทย ระบุว่า บุคคลและชุมชนมีสิทธิรับทราบเข้ า ถึงข้ อมูลของหน่วยงานรัฐตามที่กฎหมายบัญญัติ ไว้ และยังมีสิทธิเสนอเรื่ องราวร้ องทุกข์ และฟ้อง หน่วยงานรัฐให้ รับแจ้ งผลการพิจารณาโดยเร็ว อีก ทัง้ ให้ รับผิดจากการกระท� ำของบุคลากรหน่วย งานรัฐได้ เมื่อน�ำร่ างรัฐธรรมนูญฉบับ พ.ศ.2559 มาเปรี ยบเทียบกับรัฐธรรมนูญ พ.ศ.2540 และ พ.ศ.2550 พบว่ า ร่ า งรั ฐ ธรรมนู ญ ฉบั บ ลง ประชามติ ไม่มกี ารเขียนถึงสิทธิแสดงความคิดเห็น ของบุคคลต่อการด�ำเนินโครงการต่าง ๆ ของรัฐ ซึง่ มีมาแต่รัฐธรรมนูญเดิม แต่ได้ มีการเพิ่มสิทธิของ ประชาชนที่จะรวบรวมรายชื่อเพื่อเสนอแนะต่อ หน่วยงานของรั ฐ กล่าวคือ การใช้ สิทธิ ที่ได้ รับ ความคุ้มครองเปลี่ยนจากการแสดงความคิดเห็น โดยบุคคลเดียว เป็ นการเข้ าชือ่ กัน โดยไม่มเี งือ่ นไข ว่าต้ องเข้ าชื่อเป็ นจ�ำนวนกี่คน สุดท้ ายถึงแม้ ร่างรัฐธรรมนูญ พ.ศ.2559 ในด้ านสิทธิชมุ ชนจะไม่รับรองสิทธิของประชาชน และชุมชน แต่ก็ยงั ดีที่มีมาตรา 43 เข้ ามารองรับ สิทธิของประชาชนและชุมชนให้ ได้ มีส่วนร่ วมใน การท�ำงานของภาครัฐ
หน้า 16
หนังสือพิมพ์สื่อมวลชน ปีที่ 15 ฉบับที่ 2 ประจ�ำเดือนตุลาคม พ.ศ.2559
ก
ว่าสองทศวรรษที่มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ไม่ ไ ด้ ปรั บอั ต ราค่ า หน่ ว ยกิ ตและค่ า ธรรมเนียมการศึกษา หากเทียบกับค่าครองชีพที่ เพิ่มสูงขึ ้น ความเจริ ญก้ าวหน้ าเริ่ มแผ่กระจายไป ยังทุกพื ้นที่ จากมหาวิทยาลัยที่มีเพียงตึกเรี ยนไม่ กี่ตกึ กลับพัฒนาอย่างต่อเนื่อง แตกต่างจาก 20 ปี ที่แล้ วอย่างเห็นได้ ชดั เช่นเดียวกันกับรายรับราย จ่ายของนักศึกษาที่ต้องเพิ่มขึ ้นตามความเจริ ญที่ ตามมา หรื อแม้ กระทัง่ มหาวิทยาลัยเองจ�ำต้ อง ปรั บตัวเพื่ อให้ สอดคล้ องกับภาระค่าใช้ จ่ายใน มหาวิทยาลัย และสวัสดิการด้ านต่าง ๆ ด้ วย ระบบเหมาจ่ ายคื อทางออกปั ญหาการเงิน กระแสความแตกตื่นในสังคมออนไลน์ ได้ เกิ ดขึ น้ เมื่ อร่ างระเบี ยบมหาวิ ท ยาลั ย มหาสารคาม ว่าด้ วยการเก็บเงินค่าหน่วยกิต และ ค่าธรรมเนียมการศึกษาแบบเหมาจ่าย ส่งต่อออก ไปเมื่ อ วัน ที่ 26 สิ ง หาคม พ.ศ.2559 ตัว แทน องค์การนิสิตมหาวิทยาลัยมหาสารคามกว่า 50 คน ได้ ยื่นหนังสือร้ องขอความเป็ นธรรมต่อผู้ว่า ราชการจังหวัดมหาสารคาม ณ ศาลากลางจังหวัด มหาสารคาม เหตุมาจากนิสติ ที่จะเข้ าศึกษาในปี การศึกษา พ.ศ.2561 นัน้ จะมีค่าหน่วยกิตและ ค่าธรรมเนียมที่สงู ถึง 50 เปอร์ เซ็นต์ และอาจจะ สูงถึง 70 เปอร์ เซ็นต์ในบางคณะ เมื่อวันที่ 31 สิงหาคม พ.ศ.2559 เวลา 17.00 น. คณะผู้บริหารมหาวิทยาลัยมหาสารคาม จึงได้ จดั เวทีพบปะนิสติ เพื่อรับฟั งความคิดเห็นใน ประเด็นของการขึ ้นค่าเทอมเป็ นระบบเหมาจ่าย ซึง่ จะเริ่ มใช้ ในปี การศึกษา 2561 สาระในวันนัน้ ทางมหาวิทยาลัยจะปรับขึ ้นตามความเหมาะสม ของแต่ละสาขา รวมไปถึงจะน�ำจากส่วนนัน้ ไป พัฒนามหาวิทยาลัย และเพิ่มเรื่ องสวัสดิการของ นิสติ ให้ ดีขึ ้น อีกทังการขึ ้ ้นค่าเทอมแบบเหมาจ่าย นันยั ้ งเป็ นการกระตุ้นให้ นิสิตตังใจเรี ้ ยนโดยเห็น คุณค่าของค่าหน่วยกิตที่จา่ ยไป การปรั บ ขึ น้ ค่ าเทอมเป็ นแบบเหมาจ่ าย ระบบสวัสดิการต้ องดีขนึ ้ นายเค (นามสมมุต)ิ นิสติ ที่เห็นด้ วยกับ การปรับขึ ้นค่าเทอมในระบบเหมาจ่าย เล่าให้ ฟัง ว่า จริ ง ๆ ต้ องเล็งเห็นด้ านเศรษฐกิจด้ วยว่าท�ำไม มหาวิทยาลัยถึงต้ องปรับขึ ้นค่าเทอม อีกทังการ ้ ปรับขึ ้นค่าเทอมของมหาวิทยาลัยนันส่ ้ งผลกระทบ แน่นอนต่อทังนิ ้ สติ และผู้ปกครอง ซึง่ ตอนนี ้ทางผู้ บริ หารยังคงเปิ ดให้ เข้ าไปถามค�ำถามได้ โดยตรง ซึง่ การขึ ้นค่าเทอมแบบเหมาจ่ายจะสามารถน�ำมา ช่ ว ยพั ฒ นาเรื่ องอาคาร และสิ่ ง ต่ า ง ๆ ใน มหาวิทยาลัย รวมไปถึงสวัสดิการของนิสติ ที่หาก มองในมุมมองของตนแล้ วคิดว่าทางมหาวิทยาลัย สามารถพัฒนาให้ ดีขึ ้นได้ เพราะผู้บริ หารจะต้ อง ค�ำนึงถึงคนหมู่มาก เพราะถ้ าหากสวัสดิการไม่ดี นันเด็ ้ กรุ่นต่อไปที่จะเข้ ามาศึกษาในมหาวิทยาลัย นันคงเลื ้ อกที่จะไปเรี ยนสถาบันอื่นที่มีสวัสดิการดี กว่านี ้ ระบบเหมาจ่ ายไม่ ใช่ ทางออก นาย เอ (นามสมมุติ) นิสติ มหาวิทยาลัย มหาสารคาม ได้ เผยให้ เห็นถึงมุมมองของตนเกี่ยว กับ การปรั บ ค่า เทอมเป็ น ระบบเหมาจ่ า ยไว้ ว่า
สารคดีเชิงข่าว
เสียงจากประชาคม มมส หลังผูบ้ ริหารตัง้ เวทีอภิปราย
“ร่างค่าเทอมระบบเหมาจ่าย” เล็งใช้ปี 2561
ขณะนี ท้ างผู้บริ หารก� ำลังมองว่าที่ นิสิตออกมา แสดงความคิดเห็นว่าไม่อยากให้ ปรับขึ ้นค่าเทอม จริ ง ๆ แล้ วไม่ใช่ไม่ให้ ปรั บขึน้ เพียงแต่บอกว่า ไม่อยากให้ ปรับเป็ นระบบแบบเหมาจ่าย เพราะ หากเป็ นระบบแบบเหมาจ่ายจะเกิดปัญหาตามมา อีกมาก เช่น ความเท่าเทียมกัน ส�ำหรั บผู้ที่ลง หน่วยกิตทีต่ า่ งกันแต่ต้องจ่ายค่าหน่วยกิตในราคา ที่เท่ากัน “หลังจากที่ได้ ฟังค�ำชี ้แจงจากผู้บริ หาร เห็นว่า ทางผู้บริ หารไม่ได้ มีแผนงานหลังจากปรับ ขึ ้นค่าเทอม เพราะทางกองทุนกู้ยืมเพื่อการศึกษา (กยศ.) แนะน�ำเป็ นระบบเหมาจ่าย ซึง่ จะเกิดข้ อดี ต่อมหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยสามารถค�ำนวณ เงิ นรายได้ จากค่าหน่วยกิ ตของนิ สิตในปี นัน้ ได้ อย่างตรงตัวตามจ� ำนวนนิสิตที่เข้ ามา” นายเอ กล่าว หากอ้ างอิงจากค�ำชี ้แจงของผู้บริหาร ถ้ า ท�ำแบบเหมาจ่ายในอัตราเดียว กยศ. จะสามารถ ตัดระบบง่าย แต่หากว่ากันตามเดิม ระบบการจ่าย เงินแบบเดิมที่เราใช้ กันมานัน้ ก็ไม่มีปัญหาอะไร หากมองตามมุมมองก็สามารถใช้ ระบบเดิมได้ ส่วนนิสติ นันไม่ ้ ได้ ก้ เู งินจากกองทุนทุกคนแล้ วนิสติ จะได้ รับเงินเต็มจ�ำนวนหรื อไม่หากเกินวงเงินของ กยศ. ซึ่งนิสิตจะต้ องจ่ายค่าส่วนต่างเอง หมาย ถึงว่านิสติ ที่เป็ นหนี ้อยูแ่ ล้ วต้ องมีภาระจากค่าส่วน ต่างเข้ ามาด้ วย “ต้ องอย่าลืมด้ วยว่า กยศ. นันเป็ ้ นการกู้ เงินไม่ใช่สวัสดิการส�ำหรั บนิสิต อีกประเด็นคือ ด้ า นสวัส ดิ ก ารและการปรั บ ปรุ ง สิ่ ง ต่ า ง ๆ ใน มหาวิทยาลัยเป็ นสิง่ ที่ทางผู้บริ หารต้ องจัดการอยู่ แล้ ว แต่สิ่งที่ผ้ ูบริ หารพูดมานันจ� ้ ำเป็ นต้ องมีเงิน ก่อนจึงจะพัฒนาได้ ซึง่ ไม่ใช่มนั ต้ องมีเงินก่อนถึง
จะท�ำได้ แต่ตอนนี ้มันคือสิ่งที่ต้องท�ำให้ นิสิตอยู่ แล้ ว” นายเอ กล่าว การบริหารไม่ มีธรรมาภิบาลอย่ างแท้ จริง ผศ.ดร.วิ รั ติ ปานศิ ล า ประธานสภา คณาจารย์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม กล่าวว่า ขณะนี ม้ ี ส องประเด็ น ที่ ทั บ ซ้ อนกั น อยู่ นั่ น คื อ ประเด็นขึ ้นค่าเทอม และการขึ ้นเป็ นระบบเหมา จ่าย ซึ่งเห็นด้ วยกับการขึ ้นค่าเทอมเพราะอัตรา ค่าธรรมเนียมที่ผา่ นมามีการใช้ มานานแล้ ว ควรที่ จะปรับขึ ้น เนื่องจากมหาวิทยาลัยต้ องดูแลนิสิต ทัง้ ด้ านความปลอดภัยและอุปกรณ์ ที่ใช้ ในการ เรี ยนการสอนให้ มีประสิทธิภาพมากขึ ้น ส่วนจะ ปรับขึ ้นเท่าไหร่นนเป็ ั ้ นอีกประเด็นหนึง่ เพราะต้ อง มีการศึกษารายละเอียดในการปรับขึ ้นให้ มากกว่า นี ้ ว่าการปรับขึ ้นจ�ำเป็ นมากน้ อยเพียงใดกับยุค สมัยปั จจุบนั ส่วนประเด็นการขึ ้นเป็ นระบบเหมาจ่าย นัน้ ตนยังไม่เห็นด้ วย เพราะจากโมเดลของระบบ เหมาจ่ายในตอนนี ้ ขึ ้นกับแต่ละคณะและมีอตั รา การเหมาจ่ายทีแ่ ตกต่างกัน ท�ำให้ เกิดข้ อสงสัยว่าที่ แต่ละคณะมีอตั ราการเหมาจ่ายที่ไม่เท่ากันนันวั ้ ด จากเกณฑ์ใด เพราะบางสาขาวิชานันได้ ้ ปรับค่า เทอมขึ ้นสูงอยูพ่ อสมควร ฉะนันการเหมาจ่ ้ ายอาจ สร้ างภาระให้ กบั นิสติ อย่างมากเพราะต้ องจ่ายเงิน ในครัง้ เดียว ดังนันต้ ้ องมองกลับมาดูก่อนว่าจะมี ช่องทางใดที่จะช่วยนิสติ ในการจ่ายเงิน ฐานะของ ครอบครัวนิสิตแต่ละคนนันไม่ ้ เท่ากัน เนื่องด้ วย อาชีพของผู้ปกครองการหาเงินมาเหมาจ่ายทีเดียว นัน้ อาจสร้ างความเดื อ ดร้ อน ทัง้ กับ นิ สิ ต และ ผู้ปกครองด้ วย ผศ.ดร.วิรัติ กล่าวต่อว่า ตนจะเห็นด้ วย
กับการปรับขึ ้นระบบเดิมแต่จะต้ องมีเกณฑ์และ ความจ�ำเป็ นว่าจะปรับเงินขึ ้นเท่าไหร่และใช้ เกณฑ์ อะไร ส่วนการเหมาจ่ายนันไม่ ้ เห็นด้ วย เพราะการ เหมาจ่ายนันสร้ ้ างความเดือดร้ อนให้ กับทังนิ ้ สิ ต และผู้ ปกครองเพราะต้ องช� ำ ระเงิ น เป็ นก้ อน ถ้ าหากจะต้ องปรับขึ ้นเป็ นเหมาจ่ายจริ ง ๆ จะต้ อง น� ำ ทัง้ ผู้ ปกครองและนิ สิ ต มาหารื อ ว่ า มี ท างที่ จะยืดหยุ่นได้ หรื อไม่ เพราะจะต้ องมีเกณฑ์ที่ให้ นิสิตสามารถจ่ายเงินได้ ทนั เวลา เพราะหากปรับ ขึ น้ เป็ นระบบเหมาจ่ า ย นิ สิ ต ไม่ มี เ งิ น จ่ า ย แล้ วต้ องลาออกจากมหาวิทยาลัยนันคงเป็ ้ นเรื่ อง ที่ไม่เห็นด้ วย “โดยหลักเมือ่ ปรับขึ ้นเงินระบบสวัสดิการ ภายในมหาวิทยาลัยนันจะต้ ้ องดีขึ ้นกว่าเดิม แต่ ตอนนี ้ขึ ้นอยูก่ บั ระบบการบริ หาร บางทีหากระบบ การบริ หารยังเป็ นอย่างทุกวันนี ้ก็ยงั ไม่น่าเชื่อถือ เท่ า ที่ ค วร เพราะการบริ หารมหาวิ ท ยาลั ย มหาสารคามในทุกวันนี ้มันไม่ใช่การบริ หารที่เป็ น ธรรมาภิบาลอย่างแท้ จริง เช่น สภาเกาหลังกับฝ่ าย บริ ห ารยัง เป็ น พวกเดี ย วกั น ตนในฐานะฝ่ าย ประชาคมไม่สามารถค้ านได้ สกั เรื่อง อะไรทีไ่ ม่เห็น ด้ วย อะไรที่ร้ ู สกึ ว่าไม่เหมาะสม อย่างเช่น เรื่ อง ความเดือดร้ อนของนิสิต ฯลฯ ฝ่ ายบริ หารไม่ฟัง แล้ วตัดสินใจโดยไม่ฟังค�ำชี ้แจง สภาก็อนุมตั ิ คน ที่ ย กมื อ ค้ า นก็ อ าจจะมี อ าจารย์ เ พี ย งคนเดี ย ว เทียบกับผู้แทนประชาคม 6-7 คนแล้ วจะมีความ หมายอะไร” ผศ.ดร. วิรัติ กล่าว ประธานสภาคณาจารย์ กล่า วต่อ ว่า ถ้ าการบริ หารไม่มีธรรมาภิบาลเพียงพอจะกลาย เป็ นบริ หารเงินแบบเฉื่อย ท�ำตามใจถึงแม้ สญ ั ญา กับนิสติ ไว้ แล้ วก็ตาม ถึงเวลากลับไม่ท�ำ เมื่อไม่ท�ำ แล้ วไม่มีใครสามารถเข้ ามาจัดการได้ เพราะคนที่ จัดการกับฝ่ ายบริ หารได้ นนคื ั ้ อสภา “วันที่มีการตังเวที ้ อาจารย์ไม่ได้ เข้ าไป เรื่ องการจัดเวทีนนอาจารย์ ั้ เห็นว่าเป็ นเรื่ องดีที่มี การให้ นิสิตเข้ ามาแลกเปลี่ยนความคิดเห็น แต่ อาจารย์ย� ้ำทุกครัง้ ว่าฟั งแล้ วได้ ยินด้ วยว่านิสติ นัน้ ต้ องการอะไร ไม่ใช่ว่านิสิตพูดกันแค่สองสามคน แต่คณ ุ ตอบยาวคนเดียวจนหมดเวลา มีแต่ฝ่าย บริ หารมาพูด แต่ไม่ได้ ฟังว่านิ สิตส่วนใหญ่ นัน้ ต้ องการอะไร” ผศ.ดร.วิรัติ กล่าวเสริ ม ถึ ง แม้ จะมี ก ารปรั บ เปลี่ ย นระบบขึ น้ ค่าเทอมเป็ นแบบเหมาจ่ายในปี การศึกษา 2561 และไม่ มี ผ ลกั บ นิ สิ ต ในปี การศึ ก ษาปั จจุ บั น และ 2560 ก็ตาม แต่ผ้ บู ริ หารมหาวิทยาลัยควร ท�ำความเข้ าใจถึงผลกระทบทัง้ ข้ อดีและข้ อเสีย ที่จะเกิดขึ ้น แม้ ว่าขณะนี บ้ ทสรุ ปเรื่ องราวของการ ปรับขึ ้นค่าเทอมแบบระบบเหมาจ่ายจะยังไม่ได้ ข้ อสรุ ปที่ชดั เจนในหลาย ๆ ด้ าน แต่คาดการณ์ ว่าการปรับขึ ้นค่าเทอมนันจะต้ ้ องเกิดขึ ้นแน่นอน ในปี การศึกษา 2561 กว่าทีจ่ ะถึงวันทีร่ ะบบถูกเปิ ด ใช้ อ ย่ า งเป็ น ทางการ อยากให้ คิ ด ว่ า ควรต้ อ ง ปรับปรุ งเนื ้อหาของระบบการขึ ้นค่าเทอมเพื่อให้ ทังทางนิ ้ สติ ผู้ปกครอง และมหาวิทยาลัยเห็นชอบ ร่วมกันในการปรับขึ ้นค่าเทอมของมหาวิทยาลัย
ม
นุษย์ทกุ คนย่อมเคยผ่านช่วงวัยเด็กมาด้ วย กันทังนั ้ น้ วัยเด็กของแต่ละคนแตกต่างกัน บางครอบครัวก็เลี ้ยงดูให้ เติบโตเหมาะสมกับช่วง วัย บ้ างก็เลี ้ยงดูแบบตามมีตามเกิด ก่อนจะออก มาเรี ยนรู้ การใช้ ชีวิตที่แท้ จริ ง แต่ด้วยความที่ไร้ เดียงสาของวัยเด็ก วัยอยากรู้อยากลองกับสิง่ ใหม่ ที่เข้ ามาในชีวิต จนเกิดเป็ นปั ญหาต่าง ๆ ของเด็ก ตามมาในสังคม และบางครัง้ ปั ญหาเหล่านันอาจ ้ ถูกละเลยไปบ้ าง แต่ยงั มีหลายหน่วยงานทีเ่ ล็งเห็น ถึงปั ญหาเหล่านี ้ จนเกิดเป็ นโครงการที่เกี่ยวข้ อง กับสิทธิเด็กขึ ้น
อนุสัญญาว่ าด้ วยสิทธิเด็ก ข้ อมูลจากยูนิเซฟ ระบุวา่ “อนุสญ ั ญาว่า ด้ วยสิทธิเด็ก” (Convention on the Rights of the Child) เป็ นอนุสญ ั ญาด้ านสิทธิมนุษยชนระหว่าง ประเทศทีไ่ ด้ รับความเห็นชอบมากทีส่ ดุ ในโลก โดย มีภาคีสมาชิกเข้ าร่วมประมาณ 195 ประเทศ และ ประเทศไทยได้ เข้ าเป็ นภาคีสมาชิกอนุสญ ั ญานี ้ เมื่อวันที่ 27 มีนาคม พ.ศ.2535 มีหลักการส�ำคัญ คือสิทธิ ของเด็กนัน้ ไม่ใช่เรื่ องที่รัฐหรื อใครให้ กับ เด็ก แต่เป็ นสิทธิของเด็กทุกคนที่มีตดิ ตัวมาตังแต่ ้ เกิด ที่ส�ำคัญที่สดุ คือต้ องยึดถือประโยชน์สงู สุด ของเด็ก ทังนี ้ สิ้ ทธิขนพื ั ้ ้นฐานของเด็กมี 4 ด้ านหลัก คือ สิทธิด้านการมีชีวิตรอด สิทธิในการคุ้มครอง สิทธิในการพัฒนา และสิทธิในการมีสว่ นร่วม อย่างไรก็ตาม ประเทศไทยก็เป็ นประเทศ ที่ มี ปั ญหาเด็กเกิ ดขึน้ ทุกด้ าน เช่น ปั ญหาเด็ก เร่ร่อน ถูกทอดทิ ้งจากพ่อแม่ จึงจ�ำเป็ นต้ องได้ รับ การเลี ้ยงดูให้ มีชีวิตอยู่รอด เพราะทุกชีวิตเกิดขึ ้น มาแล้ วต้ องได้ รับสิทธิการมีชีวิตอยูร่ อดจากสังคม ปั ญหาการละเมิดสิทธิเด็กที่พบในประเทศที่เห็น ได้ ชดั คือการค้ ามนุษย์ และการค้ าประเวณีในเด็ก และเยาวชน การกระท�ำดังกล่าวเป็ นการละเมิด สิทธิเด็กทุกข้ อ ปั ญหาเด็กไร้ ศกั ยภาพ พบมากใน ถิ่นทุรกันดาร ซึง่ ในประเทศไทยยังมีปัญหาเหล่านี ้ ต่อเนื่ อง ปั ญหาการไม่กล้ าแสดงความคิดเห็น เนื่องจากเด็กรู้ สึกว่าถูกจ�ำกัดการแสดงออกทาง ความคิดเห็นจากผู้ใหญ่ เพียงเพราะผู้ใหญ่คิดว่า ตนอาบน� ้ำร้ อนมาก่อนย่อมถูกเสมอ
สิทธิเด็ก
หนังสือพิมพ์สื่อมวลชน ปีที่ 15 ฉบับที่ 2 ประจ�ำเดือนตุลาคม พ.ศ.2559
โครงการ“กุดรังต�ำบลแห่งสิทธิเด็ก” จัดมาแล้วกว่า10ปี ไร้ความคืบหน้า
เด็กและเยาวชนให้ สอดคล้ องกับสิทธิ เด็กทัง้ 4 ด้ าน เด็กที่เล็งเห็นปั ญหาในชุมชนมารวมกลุม่ กัน เพื่อให้ กลุม่ เด็กเหล่านี ้สะท้ อนปั ญหาที่เกิดขึ ้นใน ชุมชน โดยสภาเด็กและเยาวชนจะมีตวั แทนจาก เด็กและเยาวชนเข้ าไปร่วมท�ำประชาคมในการจัด ท�ำแผนพัฒนาในด้ านต่าง ๆ และการจัดท�ำในเรื่อง ข้ อ บัญ ญั ติ ง บประมาณรายได้ ต่ า งๆ ของทาง องค์ ก ารบริ ห ารส่ว นต� ำ บลกุด รั ง (อบต.กุด รั ง ) อ.กุดรัง จ.มหาสารคาม ทัง้ นี ้ ล่ า สุด พ.ศ.2559 ได้ มี ก ารท� ำ โครงการให้ เด็กอยูร่ ่วมกับสังคมได้ ดี และตระหนัก ถึงความรับผิดชอบต่อสังคม ซึ่งแตกต่างไปจาก กิจกรรมสร้ างภูมิค้ มุ กันแก่เด็กอย่างที่ผา่ นมา เช่น การปิ ด ป่ าชุม ชน เพื่ อ รั ก ษาพื ช พัน ธุ์ ธ รรมชาติ ดังเดิ ้ มของชุมชนไว้ ให้ ได้ ศกึ ษาเรี ยนรู้ โครงการจัด ตัง้ ศูนย์ การเรี ยนรู้ ภายใน อบต. เพื่อเป็ นแหล่ง ความรู้ นอกห้ องเรี ยนให้ แก่เด็กและคนในชุมชน และการแลกเปลีย่ นครอบครัวของเด็ก เพื่อให้ เด็ก สามารถปรับตัวให้ เข้ ากับผู้อื่นในสังคมได้ เป็ นต้ น นายประวัติ กองเมืองปั ก นายกองค์การ บริ หารส่วนต�ำบลกุดรัง อ.กุดรัง จ.มหาสารคาม ผุดโครงการเพื่อลดปั ญหาเด็กในชุมชน ให้ ข้อมูลว่า เมื่อก่อนในชุมชนจะมีปัญหาเกี่ยวกับ ส�ำหรับ จ.มหาสารคาม ได้ ตระหนักถึง เด็กไม่วา่ เป็ นการทะเลาะวิวาท การดืม่ สุรามึนเมา สิทธิของเด็ก ดังนัน้ จึงเกิดโครงการ “กุดรัง ต�ำบล ติดการพนัน ทาง อบต. จึงเล็งเห็นความส�ำคัญ แห่งสิทธิเด็ก” เมื่อ พ.ศ.2549 เพื่อพัฒนาคุณภาพ ของปั ญ หาเหล่ า นี แ้ ละได้ จั ด ตัง้ สภาเด็ ก และ
เยาวชนขึน้ มา เพื่อให้ สอดคล้ องกับอนุสัญญา ว่ า ด้ ว ยสิ ท ธิ เ ด็ ก ที่ เ ด็ ก ควรจะได้ รั บ และคิ ด ว่ า จะสามารถช่วยลดปั ญหาเหล่านี ้ลงได้ “เมื่ อทราบถึงปั ญหาแล้ ว อบต.กุดรั ง ได้ มีการจัดตังโครงการรณรงค์ ้ ให้ ความรู้ เกี่ยวกับ โทษของยาเสพติดและโทษของสุรา เพื่อให้ เด็ก ได้ มี ก ารท� ำ กิ จ กรรมร่ ว มกัน เข้ า ใจถึ ง โทษของ ยาเสพติ ด การจั ด การอบรมให้ ความรู้ การ มี เ พศสั ม พั น ธ์ การตั ง้ ครรภ์ ก่ อ นวั ย อั น ควร เพื่ อ ป้อ งกัน การตัง้ ครรภ์ ก่ อ นวัย ควรและให้ ใ ช้ เวลาว่างให้ เกิ ดประโยชน์ ” นายประวัติ กล่าว ความไม่ เข้ าใจคือจุดเริ่มต้ น หากนับระยะเวลาของการจัดตังสภาเด็ ้ ก และเยาวชน ปี นี ้เป็ นปี ที่ 10 แล้ ว แต่โครงการเอง ยังไม่สามารถขับเคลือ่ นให้ เด็กหรือชุมชนตระหนัก ถึงสิทธิเด็กได้ ดีเท่าที่ควร เนื่องจากตัวเด็กยังขาด ความรู้ ความเข้ า ใจด้ า นสิ ท ธิ เ ด็ ก อย่ า งแท้ จ ริ ง สอดคล้ องกั บ นางสาวสุ ว รรณนิ ส า กาหลง หรื อน้ องแบม อายุ 18 ปี ตัวแทนสภาเด็ก และเยาวชน อบต.กุดรัง ให้ ข้อมูลว่า “สิทธิเด็กใน ความคิ ด ของตนนัน้ ไม่ส ามารถตอบได้ แ น่ ชัด ” น้ องแบมเล่ า ด้ วยน� ำ้ เสี ย งติ ด ขั ด และทวนค�ำถามซ� ้ำไปซ� ้ำมาหลายรอบ ทังยั ้ งให้ ค�ำตอบที่ไม่ตรงค�ำถาม สะท้ อนให้ เห็นว่าหากทาง
หน้า 17
อบต.กุ ด รั ง เน้ นย� ำ้ เรื่ อ งสิ ท ธิ เ ด็ ก กั บ สภาเด็ ก และเยาวชนจริ ง เหตุใดเด็กที่เป็ นแกนน�ำจึงไม่ สามารถแสดงความคิดเห็นในเรื่ องสิทธิเด็กได้ ด้ านนางสาววราทิพย์ ไพพา อายุ 17 ปี ตั ว แทนสภาเด็ ก และเยาวชน อบต.กุ ด รั ง จ.มหาสารคาม เล่าว่า อบต.กุดรัง ให้ ความรู้เรื่ อง สิทธิเด็กจริง โดยมีเจ้ าหน้ าที่เข้ ามาชี ้แจงเพียงครัง้ แรก แล้ วหลังจากนันก็ ้ เข้ าร่วมกิจกรรมเพียงอย่าง เดียว และยอมรับว่าสิทธิเด็กประกอบด้ วยด้ านใด บ้ างนันตนจ� ้ ำไม่ได้ ทังนี ้ ้ โครงการ “สภาเด็กและเยาวชน” เป็ น โครงการสนับ สนุน ให้ เ ด็ ก กล้ า แสดงออก สามารถอยูร่ ่วมกับคนในสังคมได้ ดี แต่เป็ นการให้ สิทธิเด็กที่ไม่ครบถ้ วนทุกด้ าน เด็กกลุม่ นี ้ไม่ทราบ ด้ วยซ� ้ำว่าปั ญหาที่เกิดขึ ้นเป็ นการละเมิดสิทธิพวก เขาด้ านใด อย่างไร และต้ องมีการรับมือกับปัญหา ที่เกิดขึ ้นอย่างไรบ้ าง กล่าวคือเด็กยังไม่มีความรู้ เรื่ องสิทธิเด็กที่เป็ นเรื่ องใกล้ ตวั พวกเขา และเป็ น เรื่ องพื ้นฐานที่ต้องมีความรู้ความเข้ าใจ ทังนี ้ ้ก็เพื่อ ให้ สามารถเอาตัวรอดจากสังคมภายนอกได้ ตลอด เวลายังแก้ ปัญหาไม่ ย่ ังยืน นายประวัติ กองเมืองปั ก นายกองค์การ บริ หารส่วนต�ำบลกุดรัง บอกด้ วยว่า ผลส�ำเร็จของ โครงการ “กุด รั ง ต� ำ บลแห่ง สิท ธิ เ ด็ก ” อาจไม่ ประสบความส�ำเร็จ 100 เปอร์ เซ็นต์ เพราะขึ ้นอยู่ กับพฤติกรรมพื ้นฐานของเด็กแต่ละคน เช่น เด็ก บางคนเมื่ออาศัยอยู่บ้านจะต่างจากตอนเข้ าร่ วม กิจกรรมอย่างชัดเจน ด้ วยเหตุนี ้จึงไม่สามารถดูแล และรับผิดชอบได้ ตลอดเวลา ซึง่ อาจเกิดขึ ้นได้ จาก หลายปั จจัย เช่น สภาพแวดล้ อม สังคมโรงเรี ยน สั ง คมเพื่ อ น และสภาพครอบครั ว เป็ นต้ น อีกปั จจัยที่สงั เกตเห็น คือ อบต. มีการ จัดกิจกรรมต่าง ๆ มากมายให้ สภาเด็กฯ เข้ าร่วม แต่ยงั ขาดการแทรกความรู้เรื่ องสิทธิเด็กให้ แก่เด็ก หาก อบต.กุ ด รั ง อยากให้ โครงการบรรลุ วัตถุประสงค์ที่ตงไว้ ั ้ ทาง อบต. ควรเน้ นย� ้ำราย ละเอียดของสิทธิเด็กแต่ละด้ านควบคูไ่ ปพร้ อมกับ การท� ำ กิ จ กรรมต่า ง ๆ เพื่ อ ให้ พ วกเขาที่ ก� ำ ลัง ด�ำเนินการอยูว่ า่ สอดคล้ องกับสิทธิเด็กด้ านใดบ้ าง ฉะนัน้ ควรมี กิจกรรมที่ หลากหลายที่ สอดแทรกความรู้เข้ าไปในระหว่างการท�ำกิจกรรม เพือ่ ให้ เด็กเข้ าใจสามารถอยูร่ ่วมกับคนในสังคมได้ ทุกรู ปแบบ และปั ญหาเหล่านี ้จะไม่เกิดซ� ้ำขึ ้นอีก นับเป็ นการแก้ ปัญหาอย่างยัง่ ยืน
หน้า 18
เทค
หนังสือพิมพ์สื่อมวลชน ปีที่ 15 ฉบับที่ 2 ประจ�ำเดือนตุลาคม พ.ศ.2559
โนโลยีการผสมผสานโลกเสมือน เ ข้ า กั บ โ ล ก แ ห่ ง ค ว า ม จ ริ ง (Augmented Reality: AR) ความล� ้ำหน้ าของ สังคมโลกยุคปั จจุบนั ที่แฝงมากับเทคโนโลยีโลก เสมือนจริ ง (Virtual Reality) สุดล� ้ำ ผนึกเข้ ากับ ระบบ GPS และระบบสามมิติ ปฏิกิริยาโต้ ตอบ ของเทคโนโลยีดงั กล่าวจะผสานเอาโลกแห่งความ เป็ น จริ ง (Real World) คน สัต ว์ สิ่งของและ สถานที่ เข้ ากับโลกเสมือนจริ ง (Virtual World) จนท� ำ ให้ เกิ ด การวิ พ ากษ์ วิ จ ารณ์ อ ย่ า งหนั ก โดยเฉพาะในด้ า นของความมั่น คงของนานา ประเทศ จากกลุ่มก่อการร้ ายหรื อการสอดส่อง ระหว่างประเทศ จุดเริ่มต้ นเทคโนโลยี AR หากมองย้ อนอดีตกลับไปเมือ่ พ.ศ.2547 เทคโนโลยี ด้ านสมาร์ ท โฟนเริ่ ม มี พั ฒ นาการ อย่ า งก้ าวกระโดด รวมถึ ง เกมแอนิ เ มชั่ น บนสมาร์ ทโฟนใน OS (Operating System) หลายระบบปฏิบตั กิ ารโดยเฉพาะ IOS จนกระทัง่ เทคโนโลยี AR ถูกพัฒนาขึ ้นมา ถือเป็ นเทคโนโลยี ที่มีมานานแล้ วแต่ถกู สร้ างเพื่อการศึกษาและให้ ข้ อมูลเกี่ยวกับสถานที่ สิง่ ของ หรื อแม้ แต่สงิ่ มีชีวติ ต่าง ๆ ขึ ้นอยูก่ บั ว่าจะน�ำเทคโนโลยีดงั กล่าวไปใช้ ในรูปแบบใด ซึง่ การท�ำงานของระบบ AR จะเห็น มุมมองโลกแห่งความจริ งเข้ ากับโลกเสมือนท�ำให้ มี ค วามน่า สนใจเป็ น อย่างมาก แต่ปั จจุบันคน ทัว่ ไปรู้จกั เทคโนโลยีที่เกิดมาคูก่ นั เสียมากกว่านัน่ ก็คือ Vitual Reality หรื อ VR (ระบบที่จ�ำลองแบบ ชีวิตจริ งหรื อเหตุการณ์จริ ง อุปกรณ์ส�ำหรับระบบ เหมื อ นจริ ง จะต้ อ งมี ค อมพิ ว เตอร์ แว่ น พิ เ ศษ ส�ำหรับมองจอภาพ ถุงมือพิเศษ) (https://dict. longdo.com/search/virtual+reality) เพราะเป็ น เทคโนโลยี ที่ เ พิ่ ง เติ บ โตเป็ น รู ป เป็ น ร่ า งให้ เ ห็ น ใน พ.ศ.2559 การท�ำงานของ VR จะสามารถ น�ำพาผู้ใช้ งานก้ าวเข้ าสูอ่ ีกโลกหรื ออีกมิติหนึง่ ที่มี สภาพเสมือนจริ งและเข้ าถึงผู้ใช้ งานทัว่ ไปได้ ง่าย ประโยชน์ ด้าน GPS อาจารย์ จ ตุภูมิ จวนชัย ภูมิ อาจารย์ ประจ�ำสาขาวิชาระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ คณะวิ ท ยาการสารสนเทศ มหาวิ ท ยาลั ย มหาสารคาม อธิบายว่า เมื่อก่อนเทคโนโลยี AR จะถูกใช้ ในพิพธิ ภัณฑ์ ปัจจุบนั กลายเป็ นการให้ นกั ท่องเที่ยวสวมแว่นหรื อใช้ สมาร์ ทโฟนที่ติดตัวส่อง ไปที่งานศิลปะนัน้ ๆ จะมีภาพเสมือนจริงพร้ อมค�ำ อธิบายขึ ้นมาให้ อา่ นโดยไม่จ�ำเป็ นต้ องพึง่ ไกด์มา คอยอธิ บายเหมือนเมื่อก่อน ท�ำให้ พิพิธภัณฑ์ มี สีสนั ไม่นา่ เบื่อและเพิ่มความน่าสนใจมากยิ่งขึ ้น “เทคโนโลยี AR ยัง สามารถจ� ำ ลอง สถานที่ ที่ ถูก ท� ำ ลายไปแล้ ว เช่น วิหารโบราณ ของกรี ก ที่พงั ทลายไปแล้ วนักส�ำรวจจะใช้ AR เข้ ามาซ้ อนทับรอยเดิม และเมื่อน�ำสมาร์ ทโฟน ส่องไปที่ตำ� แหน่งนันก็ ้ จะเห็นเป็ นวิหารเสมือนจริง ขึน้ มา ท�ำให้ เกิดอารมณ์ ร่วมเมื่อเข้ าชมสถานที่ นัน้ ๆ ส่วนข้ อเสียของการใช้ งานเทคโนโลยี AR ก็พบเช่นกัน ได้ แก่ ถ้ าเราอยู่ในพื ้นที่ ที่ไม่ได้ ระบุ ในโปรแกรมก็ จ ะไม่เ กิ ด ภาพเสมื อ นจริ ง ขึน้ บน สมาร์ ทโฟนหรื อบนแว่น Virtual Reality ทังนี ้ ้ขึ ้น อยูก่ บั เชิงพื ้นที่ ผู้ใช้ งานต้ องไปอยู่ ณ ต�ำแหน่งที่ ต้ อ งการเห็ น ภาพเสมื อ นจริ ง แนวคิ ด ที่ ส� ำ คัญ ของเทคโนโลยี AR คือการใช้ พิกัดเข้ ามาสร้ าง เรื่ องราวสถานที่ต่าง ๆ ขึ ้นมา ในอนาคตคาดว่า
เทคโนโลยี
ความก้าวหน้าเทคโนโลยี AR อี ก มิ ติ ข องการเชื่ อ มต่ อ โลกความจริงกับโลกเสมือน
เกมที่น�ำเทคโนโลยี AR เข้ ามาใช้ จะได้ รับความ นิยมจากผู้สร้ างเกมรายอื่นมากขึ ้นเพราะเมื่อเกม โปเกมอนโกท�ำได้ ส�ำเร็ จแล้ วย่อมมีหลายบริ ษัทที่ ต้ อ งการท� ำ ตาม” อาจารย์ จ ตุภูมิ กล่ า วเสริ ม เกมส์ แนว RPG ได้ รับความนิยม ดัง ที่ อ าจารย์ จ ตุภูมิ กล่ า วไว้ ข้ า งต้ น แล้ วว่าเกมแนวอาร์ พีจี (Role-playing game: RPG) ได้ รับความนิยมและประสบผลส�ำเร็ จเป็ น อย่ า งมาก ท� ำ ให้ ค่ า ยเกมอื่ น ต่ า งหัน มาสนใจ พัฒ นาเกมแนวเดี ย วกั น ออกมาตัว อย่ า งเช่ น Real Strike เกมแนวต่อสู้ด้วยอาวุธปื น โดยจะยิง ฝ่ ายตรงข้ าม (เพื่ อ นที่ เ ล่ น ด้ วย)ผ่ า นหน้ าจอ สมาร์ ทโฟน ซึ่ ง ตั ว เกมจะมี ภ ารกิ จ ให้ ผู้ เล่ น ได้ ปฏิบัติในพื น้ ที่ ต่าง ๆ และ Zombies, Run เป็ นเกมแนวออกล่าไอเท็มของเพื่ อนที่ เล่นเกม เหมื อ นกั บ เราหรื อไอเท็ ม จากตั ว เกม เพื่ อ น� ำ มาป้อ งกัน ตัว จากเหล่า ซอมบี ใ้ นเกม พื น้ ที่ บริ เวณข้ างนอกเหมื อนกับเกม Pokemon Go ซึ่ ง เราต้ องหนี ซ อมบี อ้ ยู่ ต ลอดเวลาเพื่ อ ไม่ ใ ห้ โดนซอมบี ก้ ั ด แน่ น อนว่ า เกมแนวอาร์ พี จี ในอนาคตจะถู ก พั ฒ นาออกมาให้ ใช้ งานกั น อีกมากมาย หรื ออาจจะเป็ นการปฏิวตั วิ งการเกม ก้ าวเข้ าสูย่ คุ ใหม่ดงั เช่นการหมดยุคของเกมเพลส์
เทคโนโลยี AR เป็ น ระบบเสมื อ นจริ ง อย่ า งไร ส� ำ หรั บ ผู้ ใช้ แล้ วเทคโนโลยี ส ามารถโต้ ตอบ กั บ มนุ ษ ย์ ใ นสิ่ ง แวดล้ อมที่ จ� ำ ลองขึ น้ มาจาก ระบบคอมพิวเตอร์ สามารถส่งข้ อความ พูดคุย ออกแบบหรือใช้ งานเกม รวมถึงแอพพลิเคชัน่ ต่างๆ แต่ ยัง ต้ อ งพึ่ง อุป กรณ์ ใ นการมองเห็ น เรื่ อ งราว ที่ ระบบสร้ างขึน้ โดยใช้ อุปกรณ์ แว่นตา 3 มิ ติ ประกอบกับการรับส่งข้ อมูลจากการเคลื่อนไหวที่ เรี ยกกันว่า VR ซึง่ เป็ นระบบสร้ างภาพเหตุการณ์ ต่าง ๆ ขึ ้นและตอบสนองการสัง่ การด้ วยวิธีปฏิบตั ิ ของผู้ใช้ งาน ซึ่งจะสามารถรับรู้ ได้ เสมือนอยู่ใน เหตุการณ์ จริ ง และในอนาคตอาจสามารถเพิ่ม ความรู้ สึกอื่น เช่น แรงตอบสนอง กลิ่น ภาพที่ เสมือนจริ งมากขึ ้นได้ อีกด้ วย ใช้ เทคโนโลยี AR ควบคู่การศึกษา ดร.สาธิ ต แสงประดิ ษ ฐ์ อาจารย์ ป ร ะ จ� ำ ภ า ค วิ ช า เ ท ค โ น โ ล ยี ส า ร ส น เ ท ศ คณะวิ ท ยาการสารสนเทศ มหาวิ ท ยาลั ย มหาสารคาม กล่าวถึงการน�ำระบบ GPS ผสาน เข้ ากับเทคโนโลยี AR ว่านี่เป็ นเพียงจุดเริ่ มต้ น เผยแพร่ สู่ว งกว้ า งเท่ า นัน้ ที่ เ ทคโนโลยี ทัง้ สอง สามารถน� ำ มาประยุ ก ต์ ใ ช้ งานด้ วยกั น ได้ ทั ง้ ใ น ด้ า น ก า ร ศึ ก ษ า ศ า ส ต ร์ ต่ า ง ๆ อ า ทิ
วิชาดาราศาสตร์ โดยจะจ� ำลองจักรวาลให้ เรา ได้ เห็นอย่างใกล้ ชิดเหมือนได้ อยู่ในอวกาศจริ ง ๆ วิ ช าศิ ล ปะออกแบบ นัก ศึก ษาสถาปั ต ยกรรม หรื อ ศาสตร์ ที่ เ กี่ ย วข้ องสามารถจ� ำ ลองและ สร้ างโมเดลขึน้ มาในโลกของจิตนาการได้ ทันที เทคนิคทางการแพทย์ ในด้ านการเรี ยนการสอน วิชาวิทยาศาสตร์ ใช้ แสดงภาพเสมือนของอวัยวะ ภายในของสิ่งมีชีวิตเทียบกับร่ างกายในโลกจริ ง และด้ านอุตสาหกรรมการจ�ำลองโครงสร้ างของ รถยนต์ หุ่น ยนต์ เครื่ อ งยนต์ ในการน� ำ เสนอ นวัตกรรมที่ องค์ กรนัน้ ๆ ได้ คิดค้ นขึน้ เพื่ อให้ ผ้ ู ลงทุนสนใจในงาน หรื อลูกค้ ามัน่ ใจในสินค้ ามาก ขึ ้นว่ามีความทันสมัยและแปลกตา “นอกจากนี ย้ ั ง มี ก ารน� ำ AR ไปใช้ ในรู ปแบบอื่น ๆ อีก เช่น การตลาด หน่วยงาน ทหาร ความบันเทิง การสื่อสารที่ล� ้ำกว่าโทรศัพท์ เช่น นัง่ คุยข้ าง ๆ กับคนอีกซีกโลกอย่างใกล้ ชิดแม้ จะสัมผัสกันไม่ได้ ท�ำให้ เกิ ดความถูกต้ อง พิกัด สถานทีแ่ ม่นย�ำสูง แต่ข้อเสียก็มเี ช่นกัน อย่าง GPS พาไปอยูใ่ นพิกดั ที่ไม่ควรเข้ าไปก็จะเป็ นการบุกรุก สถานทีน่ นั ้ ๆ หรื อการสอดส่องจากแฮกเกอร์ ทงใน ั้ และนอกประเทศ ทังนี ้ ้ เทคโนโลยี AR ยังไปได้ อีก ไกล รวมทัง้ อี กหนึ่งเทคโนโลยี เรี ยกว่า VR ใน อนาคตเราอาจเห็นเทคโนโลยีทงสามท� ั้ ำงานร่ วม กันอย่างมีประสิทธิภาพมากขึ ้นและสมบูรณ์แบบ ที่สดุ ” ดร.สาธิต กล่าว ภัยเงียบเทคโนโลยี AR หลังจากเกิดความนิยมจ�ำนวนมากและ ขยายไปทัว่ โลกอย่างรวดเร็ วของเทคโนโลยี AR ที่มากับเกมแนวอาร์ พีจีในระยะเวลาไม่ถึงเดือน ความมัน่ คงระดับประเทศหรือระดับนานาชาติ ถือ เป็ นเรื่ องอ่อนไหวส�ำหรับประเด็นดังกล่าว ซึง่ บาง ประเทศไม่มีประสิทธิภาพในการป้องกันการกระ ท�ำความผิดในด้ านมืดของแฮกเกอร์ ท�ำให้ หลาย ชาติเริ่มเกิดความไม่มนั่ ใจกับการใช้ เทคโนโลยี AR เพราะเทคโนโลยีมีการแลกเปลี่ยนข้ อมูลระหว่าง อุปกรณ์ ไอทีต่าง ๆ หากผู้ใช้ ลงข้ อมูลเชิงลึก ก็ สามารถตอบโต้ กนั ได้ พร้ อมทังสามารถเก็ ้ บข้ อมูล โดยจะอ้ างอิง ภาพ เสียง หรื อการสร้ างพิกดั บอก ต�ำแหน่งด้ วยระบบ GPS ท�ำให้ แฮกเกอร์ หรื อผู้ ก่อการร้ ายใช้ ชอ่ งโหว่จากผู้ใช้ งานทัว่ ไปเก็บข้ อมูล รายละเอียดต่าง ๆ ได้ เช่น การบันทึกเสียงผ่าน สมาร์ ทโฟน โน๊ ตบุ๊ค โดยที่เราไม่ร้ ูตวั หากมองในข้ อ ดี ข องเทคโนโลยี แ ล้ ว ถือว่ามีคณ ุ ค่าทางด้ านจิตใจของผู้ใช้ ธรรมดาทัว่ ไป รวมถึง เศรษฐกิ จ ทางการเงิ น เป็ น อย่า งมากใน ธุรกิจเทคโนโลยี เพราะหลังเกมแนวอาร์ พีจี ได้ ปล่อยออกมาให้ ผ้ คู นได้ โลดแล่นในโลกของความ เป็ นจริ ง สามารถท�ำให้ ผ้ เู ล่นตื่นตัวเป็ นอย่างมาก อย่างเทคโนโลยี AR ในเกมโปเกม่อนโกอาจช่วย ให้ คนที่ป่วยเป็ นโรคซึมเศร้ าได้ ออกมาข้ างนอก แทนที่จะเก็บตัวอยูใ่ นห้ องรวมถึงใช้ เทคโนโลยีใน การค้ าขายผ่านแว่นสามมิติ ซึง่ จะดึงดูดนักท่อง เที่ยวด้ วยภาพจ�ำลองหรื อแลนด์มาร์ ก ท้ า ยที่ สุด แล้ ว ในอนาคตเทคโนโลยี จะมีความก้ าวหน้ ามากน้ อยเพียงใด สิ่งส�ำคัญ ที่ สุดคือความก้ าวหน้ าของมนุษย์ ก็ต้องพัฒนา ควบคูก่ นั ไปด้ วย หากเรามีเทคโนโลยีล� ้ำสมัยให้ ใช้ แต่มนุษย์ ไม่ได้ เจริ ญตามเทคโนโลยี ด้วยความ ปลอดภัยบนโลกปั จจุบนั และโลกเสมือนจริ งก็คง เกิดขึ ้นได้ ยากประกอบกับความวุน่ วายทางสังคม ที่กระทบต่อผู้ที่ไม่ได้ ใช้ งานเทคโนโลยี AR
กีฬา
หนังสือพิมพ์สื่อมวลชน ปีที่ 15 ฉบับที่ 2 ประจ�ำเดือนตุลาคม พ.ศ.2559
ต� ำ รวจเร่ง กวดขั น โต๊ะพนั น บอล หวั่นเกิดเหตุอาชญากรรมรอบ มมส
ภาพเหตุการณ์จ�ำลองการจดโพยบอลเพื่อเตรี ยมลงทะเบียนทายผลบอลออนไลน์ ต�ำรวจสั่งตรวจเข้ มโต๊ ะพนันบอลรอบ มมส หวั่นเกิดเหตุอาชญากรรมเพิ่มขึน้ เพื่อน�ำเงิน ใช้ หนี พ้ นั นบอล ชีเ้ ขตท่ าขอนยางเป็ นกลุ่ม เสี่ยงติดพนันระดับต้ น ๆ ใน จ.มหาสารคาม ที่มีคดีลักทรัพย์ หรือจีช้ งิ ทรัพย์ โดยมีผ้ ูเข้ ามา แจ้ งความสู ง ถึ ง 60 เปอร์ เซ็ น ต์ ในช่ วงที่ ฟุตบอลท�ำการแข่ งขัน ส่ วนนิสิตเปิ ดใจเคย ตกเป็ นทาสผีพนันบอล เหตุมองว่ าลงทุนน้ อย แต่ ได้ กำ� ไรมาก ในขณะนี ้ลีกฟุตบอลต่างประเทศก�ำลัง เปิ ดศึกแข่งขันกันท�ำให้ เกิดธุรกิจผิดกฎหมายคือ การเปิ ดรับเสีย่ งทายผลฟุตบอลทังทางโต๊ ้ ะรับพนัน ฟุ ต บ อ ล โ ด ย ร อ บ ม ห า วิ ท ย า ลั ย แ ล ะ ท า ง อินเทอร์ เน็ตส่งผลให้ นิสิตบางกลุม่ หาเงินทางลัด โดยวิ ธี ก ารเสี่ ย งทายผลฟุ ต บอลจึ ง ท� ำ ให้ เกิ ด ปั ญหาอาชญากรรมกับนิ สิตที่ ติดหนี พ้ นันบอล และเป็ น ภัย ใกล้ ตัว กับ คนรอบข้ า ง ในขณะที่ ผ้ ู ประกอบกิ จการโต๊ ะพนันบอลผิดกฎหมายก็ไม่ เกรงกลัวความผิดตามพระราชบัญญัติการพนัน พ.ศ.2478 จึงท�ำให้ เจ้ าหน้ าที่ต�ำรวจต้ องท�ำงาน อย่ า งหนั ก ในการเร่ ง ปราบปรามโต๊ ะ รั บ พนัน ฟุตบอล และลดปั ญหาการก่อเหตุอาชญากรรม พ.ต.อ.วีระเดช เลขะวรกุล ผู้ก�ำกับการ สถานีตำ� รวจภูธรกันทรวิชยั (ผกก. สภ. กันทรวิชยั ) อ.กันทรวิชยั จ.มหาสารคาม เปิ ดเผยว่า ในพื ้นที่ เขต อ.กันทรวิชยั เป็ นพื ้นที่ลกั ลอบเล่นการพนัน ในพื น้ ที่ ต.ท่าขอนยาง เพราะเป็ นบริ เวณใกล้
มหาวิ ท ยาลั ย มหาสารคามซึ่ ง มี นิ สิ ต อาศั ย อยู่จ�ำนวนมาก ดังนันจึ ้ งมีนโยบายลงพื ้นที่ตรวจ สอบกวาดล้ า งเอาความผิ ด กับ ผู้ที่ ลัก ลอบเปิ ด กิจการทายผลฟุตบอล แต่ต้องเข้ าใจว่าในระบบ การพนันยุคสมัยนีม้ ีเทคโนโลยีเข้ ามาเกี่ ยวข้ อง เช่น การเล่นผ่านเว็บไซต์หรื อการโทรศัพท์หากัน ซึ่งทางต�ำรวจมีสถิติจบั กุมได้ ทงในส่ ั ้ วนที่ให้ สาย เข้ าไปล่อซื ้อหรื อบุกจูโ่ จมพื ้นที่ต้องสงสัย ซึง่ พบว่า มีการจับกุมทังเจ้ ้ ามือ และนักพนันในเขตท่าขอน ยางได้ โดยแบ่งเป็ นเจ้ ามื อ 2 รายและนักพนัน มากกว่า 10 คน พ.ต.อ.วีระเดช กล่าวต่อว่า ในการค�ำนึง ถึงผลอาชญากรรมต้ องคิดเสมอว่าการพนันย่อม เป็ นบ่อเกิดของอาชญากรรมเพราะคนที่เสียเงิน หรื อมีหนี ้สิน เมื่อหมดหนทางหาเงินมาใช้ หนี ้สิง่ ที่ พวกเขาคิดอย่างแรกคื อการลักทรั พย์ หรื อจี ช้ ิ ง ทรัพย์ เช่น แอบเข้ าไปงัดห้ องขโมยของในหอพัก ของนักศึกษาหรื อมีการขโมยรถจักรยานยนต์ไป จ�ำน�ำเพือ่ น�ำเงินมาใช้ หนี ้โดยในเขตท่าขอนยางนัน้ ถือว่าเป็ นกลุม่ พื ้นทีเ่ สีย่ งใน จ.มหาสารคาม ทีม่ คี ดี ลักทรัพย์ หรื อจี ้ชิงทรัพย์อยู่มากพอสมควรโดยมี ผู้เข้ ามาแจ้ งความสูงถึง 60 เปอร์ เซ็นต์ ในช่ ว งที่ ฟุต บอลท� ำ การแข่ ง ขัน หรื อ แม้ แ ต่ ตัว ของนิ สิ ต เองได้ มี ก ารลวงทรั พ ย์ ข อง ตนเอง คือการเอาสิง่ ของตนเองไปขายแล้ วมาแจ้ ง ความเท็จเพื่อที่จะไปขอเงินผู้ปกครองมาใช้ หนี ้ พนันฟุตบอล
“บทลงโทษของผู้ประกอบการและนัก พนันรวมถึงผู้ทกี่ อ่ เหตุอาชญากรรมต�ำรวจได้ มกี าร จับกุมด�ำเนินคดีมีโทษทังปรั ้ บ และจ�ำคุกโดยรอ ลงอาญาแต่ถ้าผู้กระท� ำผิดนัน้ ยังกระท� ำผิดอี ก กฎหมายก็จะตัดสินให้ จ�ำคุกทันทีโดยที่ไม่ต้องรอ ลงอาญา และเมื่อเราได้ ท�ำการตรวจเข้ มในพื ้นที่ก็ มีผลตอบรับไปในทางที่ดีคือเหตุอาชญากรรมลด น้ อยลงกว่าเดิม ปั จจุบนั ฟุตบอลลีกก�ำลังท�ำการแข่งขัน จะมีชุดสายตรวจเจ้ าหน้ าที่ต�ำรวจรวมถึงทหาร และอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ ายพลเรื อน (อปพร.) ทุกฝ่ ายก็ จัดวันเวลาลงตรวจพื น้ ที่ ในกลุ่มพื น้ ที่ เสี่ยงทุกสัปดาห์เพื่อไม่ให้ มีการลักลอบเปิ ดโต๊ ะ พนั น บอลขึ น้ หากช่ ว ยกั น จะท� ำ ให้ ปั ญ หา อาชญากรรมหมดไป” พ.ต.อ.วีระเดช กล่าวทิ ้งท้ าย ด้ าน ผศ.ดร.สุจิน บุตรดีสวุ รรณ คณบดี คณะวิ ท ยาการสารสนเทศ มหาวิ ท ยาลั ย มหาสารคาม กล่าวว่า การพนันฟุตบอลถือเป็ นภัย ใกล้ ตวั ทีอ่ าจจะท�ำให้ เกิดเหตุอาชญากรรมเพิม่ ขึ ้น หากนิสติ หลงงมงายอยูก่ บั อบายมุข สนใจในการ เรี ยนน้ อยลงหรื อมากไปกว่านัน้ เมื่อนิสิตติดหนี ้ พนันบอลอาจท�ำให้ หมดอนาคตเลยก็ได้ ดังนัน้ ทางมหาวิ ท ยาลัย ควรร่ ว มมื อ กับ หน่ ว ยงานที่ เกี่ ย วข้ อง เพื่ อ ลงมาดู แ ลเรื่ อ งนี อ้ ย่ า งจริ ง จั ง เพราะมหาวิทยาลัยไม่มีอ�ำนาจในทางกฎหมาย นอกเสียจากต้ องก�ำชับพร้ อมทังเตื ้ อนนิสิตคณะ ต่างๆ ชีใ้ ห้ เห็นโทษของการพนัน ส่วนหนึ่งก็ได้ ก� ำ หนดในความผิ ด ทางวิ นัย ของนิ สิ ต อยู่แ ล้ ว “หากพบเห็นนิสิตมีพฤติกรรมเข้ าข่าย หรื อเล่นการพนันต้ องเรี ยกมาตักเตือนเบื ้องต้ นถ้ า ยังพบเห็นอีกครัง้ คงต้ องใช้ มาตรการการลงโทษ ทางวินยั นิสิตอย่างเด็ดขาด ท้ ายสุดคงจะเป็ นตัว นิสิตเองที่ร้ ู การกระท�ำของตนเองว่าผิดชอบชัว่ ดี เป็ นอย่างไร การดูกีฬาเป็ นเรื่องทีด่ คี วรส่งเสริม แต่ ถ้ ามีการพนันเข้ ามาเกี่ยวข้ องก็จะส่งผลเสียต่อตัว นิสติ เองเช่นกัน” ผศ.ดร.สุจิน กล่าว แหล่งข่าวซึง่ เป็ นอดีตเจ้ าของกิจการโต๊ ะ รับพนันบอลในจังหวัดมหาสารคาม เผยว่า เหตุที่ เปิ ดโต๊ ะรับพนันบอล เพราะต้ องการมุง่ เน้ นลูกค้ า ที่เป็ นนิสิตนักศึกษาในมหาวิทยาลัย ถึงแม้ นิสิต
หน้า 19
จะมี เ งิ น ไม่ ม ากแต่ ก็ เ ล่ น พนั น บอลเช่ น กั น และหนึ่งในนันอาจจะมี ้ ลกู ค้ ารายใหญ่ปะปนอยู่ บ้ าง โดยอาจจะเล่นเงินสดด้ วยราคาเดิมพันทีน่ ้ อย ไปจนถึง เงิ น เดิ ม พัน ที่ สูง หรื อ อาจจะสมัค รเป็ น สมาชิก หรือ Member ส�ำหรับเล่นทีห่ ้ องพักโดยไม่ ต้ องมาที่ร้าน แหล่งข่าว เผยต่อว่า ส่วนมากนิสติ และ ชาวบ้ านจะเข้ ามาเสีย่ งทายผลฟุตบอลเกือบทุกวัน แต่ วัน หยุด สุด สัป ดาห์ นิ สิ ต จะเข้ า มาเล่ น พนัน ฟุตบอลเพิ่มมากขึ ้นเพราะมีทีมสโมสรใหญ่ ๆ ลง ท�ำการแข่งขัน ในการท�ำธุรกิจแบบนี ้คนเป็ นเจ้ า มือก็ต้องมีได้ มีเสียเป็ นธรรมดา แต่จะท�ำอย่างไร ให้ ได้ ก�ำไรมากกว่าเสียเงินออกไป “ส่วนมากคนที่มาเล่นพนันบอลนัน้ จะ เริ่มต้ นเดิมพันที่ 50 บาท แต่จะใส่เป็ นสเต็ปทีมเช่น 4 ทีมใน 1 บิล คือลงทุน 50 บาท จะได้ เงินอยูท่ ี่ ประมาณ 600-700 บาท หรื อบางคนก็จะเล่นเต็ง หรื อเล่นทีมเดียวส่วนมากจะอยูท่ ี่ 500 บาทขึ ้นสูง ถึง 10,000 บาท ถ้ าเป็ นผู้เล่นรายใหญ่ ในบางครัง้ หากวันไหนทางโต๊ ะของเรามีการเสียเงินมากกว่า ได้ ก�ำไร เราก็จะท�ำการปิ ดโต๊ ะให้ บริการสัก 2-3 วัน เพื่อหาเงินมาท�ำทุนต่อ ในแต่ละวันยอดเงินที่มีผ้ ู เสี่ยงทายจะไม่เท่ากัน เช่น วันธรรมดายอดเงินก็ จะตกอยูท่ ี่ในระดับ 50,000-100,000 บาทขึ ้นไป แต่ถ้าวันเสาร์ -อาทิตย์ยอดเงินของผู้เล่นจะตกอยู่ ที่ 200,000-300,000 บาทขึ ้นไป แล้ วแต่ช่วงที่มี ลีกฟุตบอลใหญ่ ๆ ลงท�ำการแข่งขัน” แหล่งข่าว กล่าวทิ ้งท้ าย นายอภิสทิ ธิ์ นนกระโท อดีตผู้เล่นพนัน ฟุตบอล กล่าวว่า ตนเคยเล่นพนันฟุตบอลเพราะ เห็นว่าลงทุนน้ อยแต่ได้ กำ� ไรมากถ้ าถูกทุกคูซ่ งึ่ ตอน แรกตนเริ่ มจากการเดิมพันที่ 50 บาท จนกล้ าวาง เงินเดิมพันถึงหลักพัน โดยเคยเดิมพันมากสุด 5,000 บาท แต่โชคร้ ายเสี่ยงทายไม่ถกู จนต้ องได้ น� ำ สิ่ ง ของไปจ� ำ น� ำ เพื่ อ น� ำ เงิ น มาใช้ ใ นการซื อ้ ของใช้ หรื อจ่ายค่าหอพัก เพราะเงินที่ผ้ ปู กครองให้ มาหมดไปกับพนันฟุตบอล นายชั ช ชั ย ชู ศัก ดิ์ อดี ต ผู้ เล่ น พนั น ฟุตบอล กล่าวว่า ตนเล่นพนันฟุตบอลเพราะอยาก เล่นสนุก ๆ ลุ้นเสี่ยงดวง เนื่องจากเป็ นการลงทุน น้ อยบางทีได้ หลายเท่าจึงลองเล่นดู เมื่อได้ เงิน พนัน ฟุต บอลมาก็ น� ำ เงิ น ที่ ไ ด้ ไ ปใช้ เ ช่น ไปเที่ ย ว สังสรรค์กบั เพือ่ นหรื อเก็บไว้ ใช้ ซื ้อของทัว่ ไป แต่ตน เลิกเล่นแล้ ว เพราะเสียมากกว่าได้ บางอาทิตย์ต้อง ขอเงินผู้ปกครองพอสมควร จึงท�ำให้ คิดได้ วา่ เงิน ที่เสียไปไม่ค้ มุ ค่าสู้เอาเงินไปใช้ อย่างอื่นจะดีกว่า