หนังสือไทลื้อ

Page 1

ไทลื้อ

ตัวตนคนไทลื้อเชียงคำ�



ไทลื้อ

ตัวตนคนไทลื้อเชียงคำ�



บทนำ� หนังสือเล่ ม นี ้ จั ด ทำ � ขึ ้ นมาเพื ่ อ ส่ ง เสริ ม การท่ อ งเที ่ ย วและเพื ่ อ ประชาสั ม พั น ธ์ ชุมชนไทลื ้ อ บ้ า นธาตุ ส บแวน อำ � เภอ เชียงคำ� จั ง หวั ดพะเยาให้ ท ุ ก ท่ า นได้ รู้ จ ั ก และเรี ย นรู ้ ช าติ พ ั น ธุ ์ ข องชุ ม ชน ไทลื้อเพื่อ รั ก ษาไว้ ซ ึ ่ ง คุ ณ ค่ า และเสน่ ห ์ ของชุ ม ชนผู ้ จั ด ทำ � หวั ง เป็ น อย่ า งยิ ่ ง ว่ า หนั ง สื อ เล่ ม นี ้ จ ะเป็ น ประโยชน์ ก ั บ ทุ ก ท่านต่อไป

จิตอารี ประดับ นักศึกษาวิชากราฟิกดีไซน์

เป็นส่วนหนึ่งของวิชาโครงการกราฟิกดีไซน์


สารบัญ ไทลื้อเชียงคำ� จังหวัดพะเยา

7-8

วิถีชีวิตของคนไทลื้อ -วิถีชีวิตการทอผ้าของไทลื้อ -การทอผ้าของไทลื้อ -การผลิตผ้าทอไทลื้อ -ข้อมูลการท่องเที่ยวชุมชนไทลื้อ เชียงคำ�

9-12 13-14 15-16 17-18 19-20

บ้านเรือนที่อยู่อาศัยไทลื้อ -ลักษณะบ้านของชาวไทลื้อ -ที่นอน -ครัวไฟ หรือ ห้องครัว

21-22 23-26 27-28 29-32

ศิลปวัฒนธรรมประเพณี -ศิลปะเด่นของไทลื้อเชียงคำ� -วัฒนธรรมประเพณี -งานสืบสานตำ�นานไทลื้อ

33-34 35-36 37-40 41-42


การแต่งกายไทลื้อ -การแต่งกายผู้ชาย -การแต่งกายผู้หญิง

43-44 45 46

อาหารไทลื้อ -อาหารคาว/แกง -อาหารว่าง

47-48 49-52 53-56

สินค้าผลิตภัณฑ์ไทลื้อเชียงคำ� -สินค้าไทลื้อเชียงคำ�

57-58 57-60

แผนที่หมู่บ้านไทลื้อบ้านธาตุสบแวนอำ�เภอเชียงคำ�

61-62


ไทลื้อเชียงคำ� จังหวัดพะเยา ทำ�ไมต้องไทลื้อเชียงคำ� เพราะ อำ�เภอ เชี ย งคำ � ของจั ง หวั ด พะเยานั้ น น่ า จะเรี ย ก ได้ ว่ า เป็ น ศู น ย์ ก ลางชาวไทลื้ อ ในเมื อ ง ไทยเลยก็ ว่ า ได้ โ ดยวั ด จากความหนา แน่ น ของประชากรไทลื้ อ และการรั ก ษา ขนบธรรมเนียมของตัวเองไว้ได้เป็นอย่าง ดี

ไทลื้อหรือไตลื้อ เป็นชาวไทกลุ่มหนึ่ง มี ถิ่ น ฐานเดิ ม อยู่ ใ นแถบสิ บ สองปั น นาของ จีนมีเอกลักษณ์ที่โดดเด่นคือการใช้ภาษา ไทลื้ อ และยั ง มี วั ฒ นธรรมอั น เป็ น เอก ลักษณ์อื่นๆ เช่น การแต่งกาย ศิลปะและ ประเพณีต่างๆ ชุ ม ชนไทลื้ อ จริ ง ๆเป็ น แหล่ ง ที่ น่ า ไปลอง เที่ ย วดู ม ากและไทลื้ อ ไม่ ไ ด้ มี แ ค่ ที่ ใ ดที่ หนึ่ ง แต่ เ ป็ น ทั่ ว โลกและทั่ ว จั ง หวั ด ใน ประเทศไทยที่ มี ค นลื้ อ อาศั ย อยู่ ไ ม่ เ ว้ น แม้ แ ต่ จั ง หวั ด เล็ ก ๆอย่ า งจั ง หวั ด พะเยา และจังหวัดพะเยาก็มีอยู่หลายอำ�เภอที่มี คนลื้ออาศัยอยู่และวันนี้เราจะพามารู้จัก ชาวไทลื้อบ้านธาตุสบแวน อำ�เภอเชียงคำ� จังหวัดพะเยา

อาณาจั ก รสิ บ สองปั น นาในอดี ต จั ด แบ่ ง การ ปกครองออกเป็นระบบ พันนา (อ่าน ว่า “ปันนา”) ซึ่งเป็นการควบคุมพื้นที่นา โดยใช้ ร ะบบเหมื อ งฝายประกอบด้ ว ยพั น นาเมืองหลวงพันนาเมืองแช่ พันนาเมือง ฮุน พันนาเมืองฮิง พันนาเชียงลอ พัน นาเชียงเจิง พันนาเมืองพง พันนาเมือง ลา พันนาเชียงทอง พันนาเมืองอู พันนา

7


ในชุมชนอยู่เสมอซึ่งกิจกรรมที่ว่านั้นเป็น กิ จ กรรมในระดั บ โลกเลยที เ ดี ย วนั่ น ก็ คือ“งานสืบสานตำ�นานไทลื้อโลก”

เมืองล้า และพันนาเชียงรุ่ง โดยมีพระเจ้า แผ่นดินเป็นประมุขเรียกว่าเจ้าแสนหวีฟ้า ประทั บ อยู่ ที่ เ มื อ งเชี ย งรุ่ ง ซึ่ ง จี น เรี ย กว่ า เมืองเชอหลี่นอกจากนี้ไทลื้อยังตั้งฐานอยู่ ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือของรัฐฉาน ในพม่าที่เมืองเชียงลาบ เมืองเลน เมือง ป่าแลว เมืองวะ เมืองนำ� เมืองฐาน เมือง ขัน เมืองพะยาก เมืองยอง เมืองยุ เมือง หลวง เป็นต้น

จุ ด เด่ น กั บ ความภาคภู มิ ใ จของไทลื้ อ มี ความรั ก หมู่ ค ณะและรั ก ชาติ กำ � เนิ ด มี เอกลั ก ษณ์ ท างภาษาการแต่ ง กายเป็ น ของตนเองมีความรักสงบ รู้รักสามัคคี มี เมตตา ซื่อสัตย์มีความสันโดษ มักน้อยมี ความเพียร มุ่งมั่น ขยัน อดทน มุมานะ และยึดมั่นใน ชาติ ศาสนา พราะมหา กษัตริย์

ความเป็ น อยู่ แ ละเอกลั ก ษณ์ ข องแต่ ล ะ เผ่าที่ต่างกัน “ไทลื้อ” ก็เป็นอีกชนเผ่า หนึ่ ง ที่ มี ถิ่ น อาศั ย อยู่ ใ นประเทศไทย เหมือนกับชนเผ่าอื่นๆ แต่ชุมชนชาวไท ลื้อถือเป็นชุมชนที่เข้มแข็งมีการรวมกลุ่ม กันจัดกิจกรรม เพื่อกระชับความสัมพันธ์

8


วิถีชีวิตของคนไทลื้อ

9


ฝาบ้ า นทำ � ด้ ว ยไม้ ไ ผ่ ขั ด แตะมี “ ปุ้ ม ปุ ก ” หรื อ ชั้ น ยกระดั บ ก่ อ นบั น ไดขั้ น แรก ใช้ เ ป็ น ที่ ว างรองเท้ า หรื อ เป็ น บ้ า นไม้ หลังคามุงด้วยแป้นเกล็ดก็มีชาวไทลื้อจะ ประกอบอาชีพทำ�ไร่ทำ�นาเมื่อหมดฤดูทำ� นาแล้ว ผู้หญิงชาวไทลื้อจะพากันทอผ้า ถือว่าผ้าทอไทลื้อมีเอกลักษณ์โดดเด่นไม่ แพ้ จ ากผ้ า ทอที่ ใ ดๆและการใช้ ชี วิ ต ของ คนไทลื้ อ อยู่ แ บบช่ ว ยเหลื อ เกื้ อ กู ล กั น เมื่อคนไทลื้อจะสร้างบ้านก็จะมีเพื่อนฝูง บ้ า นใกล้ เรื อ นเคี ย งมาช่ ว ยลงมื อ ลงแรง ร่ ว มกั น สร้ า งจนเสร็ จ ภายในวั น เดี ย ว คล้ า ยกั บ ประเพณี ล งแขกเกี่ ย วข้ า วของ คนไทยจากนั้ น เมื่ อ บ้ า นสร้ า งเสร็ จ ก็ จ ะ มา “กินหอมตอมม่วน” หรือคล้ายกับ การขึ้ น บ้ า นใหม่ ร วมทั้ ง เป็ น การเลี้ ย ง ขอบคุณคนที่มาช่วยสร้างบ้านด้วย

ที่ตั้งบ้านเรือน หรือหมู่บ้าน จะหาทำ�เล ที่ มี แ ม่ น�ำ ้ ลำ � คลองอยู่ ใ กล้ ห มู่ บ้ า นและ สะดวกในการเพาะปลูก ดำ�เนินชีวิตแบบ เรียบง่าย พอเพียง พึ่งพาตนเอง ชาวไท ลื้อมักจะอยู่รวมกันเป็นกลุ่ม มีความเอื้อ อาทรซึ่งกันและกัน การสร้างบ้านเรือน แต่ละหลังในหมู่บ้าน คนทั้งหมู่บ้านจะ มาช่วยกัน เวลาเก็บเกี่ยวข้าวก็จะช่วย กันให้เสร็จไปทีละเจ้า แต่เจ้าของนานั้น ต้องได้ไปช่วยเขามาก่อนแล้ว ถ้าหนุ่ม สาวคนใดเกียจคร้าน พ่อแม่บ่าวสาวจะ ตั้งข้อรังเกียจ ไม่ยอมให้แต่งงานด้วย วิ ถี ชี วิ ต แ ล ะ ค ว า ม เ ป็ น อ ยู่ ห ล า ย ๆ อ ย่ า ง ข อ ง ช า ว ไ ท ลื้ อ ส า ม า ร ถ เรี ย ก ไ ด้ ว่ า มี เ อ ก ลั ก ษ ณ์ ใ น ตั ว เ อ ง ไ ม่ ว่ า จ ะ เ ป็ น บ้ า น เ รื อ น ที่ ห า ก เ ป็ น บ้ า น ไ ท ลื้ อ ดั้ ง เ ดิ ม ก็ จ ะ เ ป็ น บ้ า น ใ ต้ ถุ น สู ง ห ลั ง ค า สู ง มุ ง ด้ ว ย ห ญ้ า ค า

10


11


12


13


วิถีชีวิตการทอผ้าของไทลื้อ

ผ้เอกลัากทอลายน� ้ ำ ไหลเป็ น ผ้ า ทอที่ เ ป็ น ษณ์ของชาวไทลื้อเมืองเก่ายังคง

ปั จ จุ บั น นี้ มี ก ารปลู ก ฝ้ า ยได้ ล ดลงบ้ า ง เพราะสภาพแวดล้อมไม่เอื้ออ�ำนวยแต่ก็ ไม่ถึงกับหมดไปในหมู่บ้านไทลื้อยังมีใช้ กันอยู่ ต่อมาได้จัดตั้งเครือข่ายขยายการ ปลูกฝ้าย ผลิตเส้นใย บางหมู่บ้านก็ทอผ้า และย้อมสีด้วยวัสดุธรรมชาติที่เหลือใช้ ในท้องถิ่นซึ่งไม่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ และสิ่งแวดล้อมแต่อย่างใด

รั ก ษาประเพณี วั ฒ นธรรมโบราณของ ตนเองสืบทอดมาจนถึงปัจจุบันซึ่งสันนิ ฐานว่าการออกแบบลายผ้าทอชาวไทลื้อ สืบเชื้อสายมาจากชาวไทลื้อในดินแดนสิบ สองปันนาประเทศจีน อพยพเข้ามาอยู่ใน ประเทศไทย ฝ้ายส�ำหรับทอผ้าไทลื้อชาวไทลื้อนิยม ปลูกฝ้ายไว้ทอใส่เอง ฝ้ายเป็นเส้นใยที่มี เสน่ ห ์ ด ้ ว ยด้ ว ยความงามที่ เรี ย บง่ า ย สัมผัสแล้วนุ่มนวลให้ความอบอุ่นในฤดู หนาวโปร่งสบายระบายอากาศได้ดีไม่ ร้อนในฤดูร้อนท�ำให้สวมใส่ได้ทุกฤดูกาล ท�ำให้ผู้นิยมความงดงามที่เรียบง่ายเป็น ธรรมชาติ ชื่ น ชอบในเสน่ ห ์ ข องผ้ า ฝ้ า ย ฝ้ายที่ปลูกมี 2 ชนิด คือ ฝ้ายขาว ฝ้าย ตุ่น ฝ้ายตุ่นนั้นไม่ต้องย้อมสีเป็นสีที่ได้ จากธรรมชาติอยู่ในตัวฝ้ายเอง คือ เป็นสี กากี อ ่ อ นๆหรื อ สี โ อวั ล ติ น ซึ่ ง ขึ้ น อยู ่ กั บ สภาพดินฟ้าอากาศและฤดูกาลด้วย 14


การทอผ้าของไทลื้อ

15


งดงามด้ ว ยการผสมผสานลวดลายและสี สั น ต่างๆ ซึ่งเทคนิคที่ชาวไทลื้อใช้ในการทอผ้า โดยสังเขปมีดังต่อไปนี้

วั ฒ นธรรมผ้ า ทอไทลื้ อ ในจั ง หวั ด พะเยาชาว ไทลื้อในจังหวัดพะเยาอาศัยอยู่ใน 2 อำ�เภอ คื อ อำ � เภอเชี ย งคำ � และอำ � เภอเชี ย งม่ ว นแต่ ลักษณะผ้าทอของชาวไทลื้อมีลักษณะที่แตก ต่างจากไทลื้อในจังหวัดน่าน ผ้าซิ่นไทลื้อ ของเชี ย งคำ � และเชี ย งม่ ว นมี โ ครงสร้ า งตาม มาตรฐานของ“ซิ่ น ตา”และมี ผ้ า ซิ่ น ที่ เ ป็ น เอกลักษณ์ของท้องถิ่นคือซิ่นที่มีลายตกแต่ง ขนาดเล็ ก ตรงกลางตั ว ซิ่ น ซึ่ ง ทอด้ ว ยเทคนิ ค เกาะลั ก ษณะลายคล้ า ยสายนำ้ � แต่ เรี ย กกั น ว่า“ลายผักแว่น” เป็นเส้นพุ่งทอสลับสี มีสี ที่ นิ ย มคื อ สี เขี ย วและสี ช มพู ส ดเทคนิ ค การ ทอผ้ า และวิ ธี ก ารสร้ า งลวดลายบนผ้ า ทอไท ลื้ อ เป็ น ที่ ท ราบกั น โดยทั่ ว ไปว่ า การทำ � ความ เข้ า ใจในชื่ อ เรี ย กเทคนิ ค วิ ธี ก ารทอผ้ า แบบ ต่ า งๆเป็ น สิ่ ง ที่ จำ � เป็ น ในการศึ ก ษาค้ น คว้ า ด้ า นผ้ า ทอและมั ก จะพบว่ า ตำ � ราด้ า นผ้ า ทอ ส่ ว นใหญ่ จ ะปรากฏชื่ อ เรี ย กเทคนิ ค การทอ ผ้ า ประกอบการอธิ บ ายเรื่ อ งราวของผ้ า ไว้ ด้ ว ยนอกจากนี้ ยั ง พบว่ า การเลื อ กใช้ สี สั น และการใช้ ล วดลายตลอดจนถึ ง เทคนิ ค ของ การทอผ้ า ยั ง สามารถบ่ ง บอกถึ ง เรื่ อ งราว ความเป็ น มาและทำ � ให้ ผู้ ศึ ก ษาสามารถแยก เอกลักษณ์ของผ้าทอในแต่ละพื้นที่ได้ กล่าว เฉพาะเทคนิ ค การทอผ้ า ในกลุ่ ม คนตระกู ล ไทก็ เ ป็ น ที่ ป ระจั ก ษ์ กั น โดยทั่ ว ไปว่ า ผู้ ห ญิ ง ชาวไทลื้ อ มี ค วามสามารถในการทอผ้ า ด้ ว ย เทคนิ ค ที่ ห ลากหลายทำ � ให้ ผ้ า ทอของไทลื้ อ

เกาะหรือล้วงเทคนิคเกาะคือการใช้เส้นด้าย พุ่ ง ธรรมดาหลายสี พุ่ ง ย้ อ นกลั บ ไปมาเป็ น ช่วงๆทอด้วยเทคนิคการขัดสานธรรมดา แต่ มีการเกาะเกี่ยวและผูกเป็นห่วงรอบด้ายเส้น ยื น เพื่ อ ยึ ด เส้ น พุ่ ง แต่ ล ะช่ ว งไว้ โ ดยไม่ ใช้ เ ส้ น พุ่ ง พิ เ ศษเพิ่ ม เข้ า ไปเป็ น เทคนิ ค การทอผ้ า ที่ รู้ จั ก กั น น้ อ ยในกลุ่ ม คนตระกู ล ไทและถื อ เป็ น อั ต ลั ก ษณ์ เ ฉพาะของชาวไทลื้ อ เทคนิ ค นี้ เ ป็ น ที่ นิ ย มในการทอลวดลายบนผ้ า ซิ่ น ของชาวไทลื้ อ ในแถบลุ่ ม แม่ น้ำ � โขงตอนบน ของประเทศลาวและพบในกลุ่มชาวไทลื้อใน จังหวัดน่าน เชียงราย และพะเยา สำ�หรับ ชาวไทลื้ อ ในจั ง หวั ด น่ า นได้ มี ก ารส่ ง เสริ ม ให้ ทอผ้าด้วยเทคนิคนี้จนเป็นผลผลิตที่รู้จักกัน เป็ น อย่ า งดี ว่ า “ผ้ า ทอลายน้ า ไหล”แต่ เ ป็ น ที่ น่ า ประหลาดใจว่ า ไม่ พ บหลั ก ฐานการทอ ด้วยเทคนิคนี้ในสิบสองพันนา จึงอาจเป็นไป ได้ ว่ า องค์ ค วามรู้ เรื่ อ งการทอด้ ว ยเทคนิ ค นี้ ได้สูญหายไปหรืออาจไม่เป็นที่รู้จักเลยในสิบ สองพั น นาก็ ไ ด้ ก ารศึ ก ษารู ป แบบและความ เชื่ อ เรื่ อ งผ้ า ทอที่ ใช้ ใ นพระพุ ท ธศาสนาของ ชาวไทลื้อเชียงคำ�

16


การผลิตผ้าทอไทลื้อ

1.หลังจากได้เส้นด้าย นำ�เส้นด้าย มากรอในหลอดใหญ่ เ พื่ อ ทำ � เส้ น ยื น ให้ ไ ด้ ตามที่ต้องการ จากนั้นเอาหลอดด้ายที่ได้ ตามขนาดแล้ว มาใส่อุปกรณ์สำ�หรับเดิน เส้นด้าย โดยเดินรอบเสาบ้านให้ได้ความ ยาวและจำ�นวนรอบตามที่ต้องการ(หน่วย วัดความยาว 4 วา เท่ากับ 1 ฮำ�) 2.นำ�เครือฮูกที่ได้ มาขึ้นกี่ละ 2 เส้น แล้วลอดรูเขาบน 1 เส้น ล่าง 1 เส้น จนกว่าจะครบทุกรู 17


3.นำ � เส้ น ด้ า ยมาต่ อ หรื อ มั ด เข้ า กับไม้ฮำ�(ไม้พันผ้า)จากนั้นก็เริ่มทอตาม ลายที่ ต้ อ งการ(โดยใช้ ด้ า ยพุ ง )ไทลื้ อ เชี ย งคำ � มั ก จะทอลายเดี ย วที่ บ่ อ ยที่ สุ ด คื อ ลายนำ �้ ไหลเพราะเป็ น ลายที่ ค นไท ลื้ อ เชี ย งคำ � ใช้ เ ป็ น ลายหลั ก และเป็ น เอ ลักษณ์ของตน

18


19


ข้

อมูลท่องเที่ยวผ้าทอไทลื้อเชียงคำ� จ.พะเยา บ้านธาตุสบแวน ต.หย่วน อ.เชียงคำ� จ.พะเยาห่างจากตัวเมืองพะเยาประมาณ๗๖กม. ใช้ทางหลวงหมายเลข 1021 (พะเยา-เชียงคำ�) จากที่ว่าการ อ.เชียงคำ� ให้ข้ามสะพาน ข้าม แม่น้ำ�ลาว แล้วเลี้ยวขวาผ่าน สภ.เชียงคำ� ไป ประมาณ 7 กม. ศูนย์หัตถกรรมทอผ้าไทลื้อ บ้าน ธาตุสบแวน 05441 5208 การท่องเที่ยวแห่ง ประเทศไทย สำ�นักงานเชียงราย 05371 7433, 05374 4674-5 ชมสาธิตการทอผ้าแบบดั้งเดิม การปั่นฝ้าย และเลือกซื้อผ้าทอไทลื้อ ทั้งแบบ ดั้งเดิมและ แบบประยุกต์ที่จอดรถ ห้องนำ�้ ร้าน ขายของที่ระลึก ตลอดทั้งปี ใต้ถุนเรือนไทลื้อ มี ผู้เฒ่าผู้แก่ มารวมกลุ่มทำ�งานหัตถกรรม แจ้งล่วง หน้าก่อนเข้าชม

20


21


บ้านเรือนที่อยู่อาศัยไทลื้อ ปั จ จุ บั น แม่ แ สงดาได้ อ นุ รั ก ษ์ บ้ า นหลั ง นี้ ให้คงสภาพเดิม ไม่ได้ปรับปรุงตกแต่งเพิ่ม เติมแต่ประการใด เพราะต้องการรักษาไว้ ให้คนรุ่นหลังได้เข้ามาเยี่ยมชม ศิลปะบ้าน โบราณแบบไทลื้อ(สิบสองปันนา) ที่นี่ยังมีชุดเสื้อผ้า เครื่องแต่งกายของชาว ไทลื้ อ ได้ เ ยี่ ย มชมและอุ ด หนุ น ได้ อี ก ด้ ว ย ใต้ถุนบ้านแม่แสงดายังทอผ้าแบบไทลื้อให้ คนมาเยี่ยมได้ชมการทอผ้าไทลื้ออีกด้วย

ชาวไทลื้ อ ในอำ � เภอเชี ย งคำ � มี วิ ถี ชี วิ ต อย่างเรียบง่าย บ้านเรือนตั้งอยู่ริมฝั่งนำ�้ เอกลั ก ษณ์ อ ย่ า งหนึ่ ง ของชาวไทลื้ อ คื อ จะ มีบ่อนำ้�ไว้ประจำ�ในแต่ละบ้านและทุกบ้าน จะมี ก ารปลู ก พื ช ผั ก สวนครั ว อยู่ ใ นบริ เวณ บ้านด้วยบ้านเรือนไทลื้อที่ยังหลงเหลืออยู่ ระหว่างวัดพระธาตุสบแวนมุ่งหน้าสู่สถานี ตำ � รวจเชี ย งคำ � จะพบกั บ บ้ า นไทลื้ อ ที่ อ าจ จะมี ก ารผสมผสานและเปลี่ ย นไปจากเดิ ม เยอะแต่ จ ะมี เ รื อ นไทลื้ อ ที่ ส มบู ร ณ์ แ บบ อยู่หนึ่งแห่ง คือ เฮือนไทลื้อป้าแสงดา ลักษณะเป็นบ้านไทลื้อโบราณ

22


ลักษณะบ้านของชาวไทลื้อ

23


เป็นเรือนไม้ยกใต้ถุนสูงใช้งานใต้ถุนเรือน ทางขั้ น บั น ไดหน้ า เพี ย งบั น ไดเดี ย วมี หลังคาคลุม หลังคาผืนใหญ่ ยื่นยาว และ ทำ�เป็นสองตับ จนแทบมองไม่เห็นผนัง มี และใช้ เ สาแหล่ ง หมามี บ ริ เ วณที่ เรี ย กว่ า หัวค่อมหรือค่อม เหมือนเติ๋นในเรือนล้าน นาแต่ นิ ย มทำ � ม้ า นั่ ง ยาวโดยรอบแทนการ ทำ�ราวกันตก มีหิ้งผีบรรพบุรุษติดตั้งกับ ฝาบ้านในห้องโถงมีหิ้งพระมีบ่อนำ�้ ประจำ� บ้านทุกบ้านทั้งหมดนี้คือลักษณะเด่นของ บ้านเรือนชาวไทลื้อเชียงคำ�

24


25


26


27


ที่นอน ภายในเรื อ นเป็ น โถงแบ่ ง พื้ น ที่ ซ้ า ย ขวาเป็ น ส่ ว นเอนกประสงค์ แ ละ ส่ ว นนอนซึ่ ง อาจแบ่ ง สองส่ ว นนี้ ด้วยฝาไม้หรือเพียงผ้าม่าน

28

ส่ ว นนอนจะกั้ น พื้ น ที่ แ ต่ ล ะคนด้ ว ย ผ้าม่านใช้เตียงหรือฟูกปูนอนและมี หมอนผ้ า ห่ ม ส่ ว นใหญ่ แ บบโบราณ มักนอนแบบปูพื้น


ครัวไฟ หรือ ห้องครัว โถงเอนกประสงค์ ใช้ พั ก ผ่ อ นครั ว ไฟ เ ก็ บ ข อ ง ส่ ว น ป ล า ย เ ป็ น ล า น ซั ก ล้ า งหรื อ จานกอนใช้ แ ม่ เ ตาไฟเป็ น กระบะไม้ดาดดินเหนียวใช้ตั้งเตาไฟ และใช้อุปกรณ์หม้อดินหริออุปกรณ์ เครื่องครัวต่างๆในครัวทั่วไป เช่น หม้อดิน,กาต้มนำ�้ ,ไหนึ่งข้าว เป็นต้น

29


30


31


32


33


ศิลปวัฒนธรรมประเพณี

ารเผยแพร่ วั ฒ นธรรมและเอกลั ก ษณ์ ข องชาวไทยลื อ จึ ง มี ส่ ว น สำ � คั ญ มากเพราะจะทำ � ให้ ผู้ ค นรุ่ น หลั ง และผู้ ค นที่ ไ ม่ รู้ จั ก ได้ รู้ จั ก ชาติ พั น ธ์ุ ช าวไทลื้ อ ดั้ ง นั้ น การต้ อ งการเผยแพร่ โ ดยการประชาสั ม พั น ธ์ ผ่ า น สื่ อ สิ่ ง พิ ม พ์ จ ะทำ � ให้ ผู้ ค นได้ เข้ า ถึ ง ง่ า ยและได้ ท ราบข้ อ มู ล อย่ า งลึ ก ซึ้ ง และเป็นประโยชน์ต่อประชาชนทั่วไปและเผยแพร่ความเป็นไทลื้อออก มาเป็นไทลื้อจริงๆ

34


ศิลปะเด่นของไทลื้อเชียงคำ�

35


ศิ ล ปะของชาวไทลื้ อ มี ห ลายด้ า นสำ � หรั บ ศิ ลปะการแสดงที่ โ ดดเด่น คงไม่พ้น การฟ้อน ดาบ ฟ้อนเจิง ตบมะพาบ ฟ้อนนก ฟ้อน ปอยบั้งไฟ ขับเป่าปี่ ขับป่าหาโหล (เข้าป่า หาฟืน) ขับโลงนำ้� โลงหนอง(ลงนำ้�ขับเกี้ยว บ่ า ว-สาว)เป็ น ศิ ล ปะการแสดงที่ เ ป็ น จุ ด เด่ น ของชาวไทลื้อมาช้านานและรักษากันไว้เป็น อย่างดีและเป็นสิ่งที่กระทำ�กันมาช้านาน

ศิ ล ปะที่ โ ดดเด่ น ของชาวไทลื้ อ เชี ย งคำ � ด้ า น งานหัถกรรมคือการทอผ้าทอ เครื่องจักสาน ทำ�เครื่องเงิน ทำ�เครื่องทอง ตีเหล็ก ตีมีด ทำ�เคียว ปลูกพืช เลี้ยงสัตว์ ปั้นหม้อ เป็นต้น และการทอผ้ายังมีลวดลายที่โดดเด่นของตัว เองคือลายน้ำ�ไหลที่ใช้ทอเป็นลายเอกลักษณ์ และเป็นหลักและยังมีลายของช้าง นก หงส์ คนเรือ เป็นต้นสีที่นำ�มาทอเป็นตุงในอดีตคือ สีขาวและสีครีม แต่สมัยนี้มีการประยุกต์ให้ สวยงามยิ่งขึ้นโดยมีการเพิ่มสี และลวดลาย หลากหลายแปลกตายิ่งขึ้น แต่ก็ยังคงไว้ซึ่ง เอกลักษณ์ที่โดดเด่นเช่นเดิม

36


วัฒนธรรมประเพณี

37


ชาวไทลื้ อ นั บ ถื อ พุ ท ธศาสนาร่ ว มกั บ ความ เชื่อเรื่องผีโดยเฉพาะผีบ้านผีเรือน ผีเจ้านาย ผีอารักษ์ ซึ่งเป็นความเชื่อดั้งเดิมก่อนการ นับถือพุทธศาสนา ต่อมาได้ผสมผสานความ เชื่ อ ระหว่ า งพุ ท ธศาสนาและการนั บ ถื อ ผี เช่นเดียวกับกลุ่มชาติพันธุ์อื่นในล้านนา ดัง ปรากฏประเพณี พิ ธี ก รรมสำ � คั ญ ในท้ อ งถิ่ น ทั้งพุทธศาสนาและการเลี้ยงผี

ชาวไทลื้ อ ได้ ตั้ ง บ้ า นเรื อ นอยู่ ร่ ว มกั บ กลุ่ ม ชาติพันธุ์อื่นในล้านนามายาวนาน ทำ�ให้เกิด การผสมผสานด้ า นวั ฒ นธรรมเข้ า ด้ ว ยกั น แต่ชาวไทลื้อยังคงเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรม เช่น ประเพณีพิธีกรรมของชาวไทลื้อ เป็นพิธี เลี้ ย งผี อ ารั ก ษ์ เรี ย กว่ า เข้ า ก๋ำ � หรื อ เข้ า กรรม มีตั้งแต่ก๋ำ�เฮือน หรือกรรมเรือน ไปจนถึง ก๋ำ�เมืองหรือกรรมเมือง ชาวไทลื้อให้ความ สำ � คั ญ กั บ การอนุ รั ก ษ์ สื บ สานงานประเพณี ในแต่ละพื้นที่ นอกจากนี้ ง ชาวไทลื้ อ ก็ ทำ � เหมื อ นชาวล้ า น นาปกติคือการบวช ลูกแก้ว ตานธรรม ตา นก๋วยสลาก ตานเข้าพรรษา ออกพรรษา ฮ้อ งขวัญควาย แฮกนา เลี้ยงผีเมือง เตวดาเฮือน (เทวดาเรือน) ผีหม้อนึ่ง เตาไฟ ผิดผีสาว สืบ ชาตาหลวง กินแขก ประเพณีสงกรานต์ สูมา ดำ�หัวผู้เฒ่าผู้แก่ 38


เดิมทีหญิงไทลื้อตั้งครรภ์เมื่อถึงเวลาคลอดจะ มี ผู้ ทำ � คลอดซึ่ ง อาจจะเป็ น แม่ ตั ว เองหรื อ แม่ สามีช่วยทำ�คลอดให้ เมื่อทารกตกถึงฟาก ผู้ ทำ�คลอดจะใช้ป่านผูกสายสะดือ ใช้มีดตัด สมัยโบราณใช้ตัดด้วยผิวไม้ไผ่ แลัวบรรจุลงใน กระบอกไม้ไผ่เจาะรูด้านข้างปิดอัดไว้ เพราะ คนลื้อมีความเชื่อว่าถ้าหากไม่เจาะรู จะทำ�ให้ เด็กหายใจไม่ได้ หลังจากนั้นจะทำ�ความสะอาด ผู้เป็นแม่และเด็กน้อย แล้วก็ส่งให้แม่รับ ซึ่งจะ เลือกจากหญิงที่ประวัติดี มีฐานะดีพอสมควร ไม่เป็นหม้ายหรือหย่าร้างมาก่อน แม่รับอุ้มเด็ก ไปวางในกระด้งที่เตรียมไว้ แล้วนำ�ไปวางไว้ที่ หัวบันได พร้อมกับตะโกนด้วยเสียงดังๆว่า“ผี จะกินก็กินเหแต่น้อย ผีบ่เล้งกูซิเล้ง”(ผีจะกิน ก็ขอให้เสียแต่ยังเด็ก ผีไม่เลี้ยงกูจะเลี้ยงเอง) จากนั้น ก็เอามามอบให้แม่ของเด็ก สำ�หรับ รกของเด็ก ผู้เป็นพ่อ จะเลือกหาวันดี แล้วนำ� กระบอกใส่รกไปแขวนไว้ที่กิ่งไม้ในป่าข้างบ้าน ขณะกลับถึงเรือน ถ้าเป็นลูกสาว พ่อของเด็กจะ จับเครือที่ทอผ้าก่อน ถ้าเป็นลูกชาย ก็จะจับมีด ตัดไม้ก่อนขึ้นเรือน ที่ทำ�เช่นนี้เพราะเชื่อว่า เมื่อ เด็กเติบโตขึ้น จะมีความอดทนและขยันหมั่น เพียรในการทำ�งาน 39


พิธีสู่ขวัญ หรือที่เรียกว่าการบายศรีสู่ขวัญ เป็น ประเพณีดั้งเดิมเก่าแก่ของชาวไทลื้อ นิยม กระทำ�สืบเนื่องติดต่อกันมาเป็นเวลาช้านาน ถือว่าเมื่อทำ�พิธีนี้แล้วจะเป็นสิริมงคลแก่ชีวิต เป็นกำ�ลังใจในการที่จะประกอบคุณงาม ความ ดีต่อไป ขวัญ ถือว่าเป็นสิ่งที่ไม่มีตัวตน ไม่สามารถเห็น หรือจับต้องได้เชื่อว่าขวัญมีลักษณะคล้ายกับ จิตหรือวิญญาณซึ่งแฝงอยู่ในตัวตนของคนและ สัตว์ตั้งแต่เกิดและจะต้องอยู่ประจำ�ตนตลอด เวลา“ขวั ญ ”ประจำ � ปกป้ อ งรั ก ษาตั ว ผู้ เ ป็ น เจ้าของขวัญเพื่อให้มีความสุไม่เจ็บป่วย แต่ถ้า ขวัญของคนใดคนหนึ่งหายไปจากตัวจะทำ�ให้ คนนั้นเกิดความเจ็บป่วย มีความทุกข์จนอาจ สิ้นชีวิตได้ เพื่อให้ขวัญได้อยู่กับเนื้อกับตัวตาม เดิมจึงได้มี “พิธีสู่ขวัญ” หรือเรียกว่า “พิธีเรียก ขวัญ” ขึ้น

ประเพณี ก ารถวายทานสลากภั ต ในล้ า นนา ไทย มีเรียกชื่อตามท้องถิ่นแตกต่างกันออกไป ชาวอำ�เภอเชียงคจังหวัดพะเยเรียกว่“ตานก๋วย สลาก” หรือ “ตานสลาก” แต่ในความหมาย เป็นอย่างเดียวกัน สำ�หรับวิธีการทำ�ก็มีความ แตกต่างกันออกไปตามท้องถิ่นนั้นๆ ซึ่งแน่นอน ประเพณี “ตานก๋วยสลาก” ชาวไทลื้อก็ทำ� เหมือนคนล้านนาและทำ�สืบทอดกันมาช้านาน การสื บ ชะตาเป็ น จารี ต ประเพณี ข องหมู่ บ้ า น ชาวไทลื้ อ และภาคเหนื อ มี วั ต ถุ ป ระสงค์ เ พื่ อ ให้ เ ป็ น สิ ริ ม งคลและขั บ ไล่ สิ่ ง ชั่ ว ร้ า ยที่ เ ป็ น เสนี ย ดจั ญ ไรให้ อ อกไปจากบุ ค คลหรื อ สถาน ที่พิธีสืบชะตาเป็นประเพณีได้รับอิทธิพลจาก ธรรมเนียมของพราหมณ์ซึ่งได้นำ�มาผสมผสาน กั บ พิ ธี ก รรของพุ ท ธศาสนาได้ อ ย่ า งกลมกลื น การสืบชะตาในหมู่บ้านไทลื้อมี๒ ประเภทคือ สืบชะตาคน และสืบชะตาหมู่บ้าน 40


งานสืบสานตำ�นานไทลื้อ

ความเป็ น อยู่ แ ละเอกลั ก ษณ์ ข องแต่ ล ะเผ่ า ที่ ต่ า งกั น “ไทลื้ อ ”ก็ เ ป็ น อี ก ชนเผ่ า หนึ่ ง ที่ มี ถิ่ น อาศัยอยู่ในประเทศไทย เหมือนกับชนเผ่าอื่นๆ แต่ ชุ ม ชนชาวไทลื้ อ ถื อ เป็ น ชุ ม ชนที่ เข้ ม แข็ ง มี การรวมกลุ่มกันจัดกิจกรรมเพื่อกระชับความ สัมพันธ์ในชุมชนอยู่เสมอซึ่งกิจกรรมที่ว่านั้น เป็นกิจกรรมในระดับโลกเลยที เดีย วนั่ นก็ คือ “งานสืบสานตำ�นานไทลื้อโลก” จั ง หวั ด พะเยจั ด งานดั ง กล่ า วขึ้ น ในทุ ก ปี ที่ บริเวณลาน เฮินลื้อ วัดพระธาตุสบแวน อำ�เภอ เชี ย งคจั ง หวั ด พะเยาเพื่ อ เป็ น การส่ ง เสริ ม อนุรักษ์วัฒนธรรมที่ดีงามวิถีชีวิตของชาวไทลื้อ ให้คงอยู่รวมทั้งเป็นการส่งเสริมเทศกาลการ ท่องเที่ยวทางวัฒนธรรมไทลื้อจังหวัด พะเยาสู่ สากล ภายในงานประกอบด้วย การแสดงศิลป วัฒนธรรมของชาวไทลื้อ ในพื้นที่ 7 จังหวัด ภาคเหนือทั้งในเรื่องของเครื่องแต่งกาย อาหาร ที่อยู่อาศัย ยารักษาโรค วิถีชีวิตความเป็นอยู่ และศิลปวัฒน ธรรมการแสดงของชาวไทลื้อ อย่างเช่น ขบวนแห่ที่ถูกประดับประดาสวยงาม ด้วยวัฒนธรรมไทลื้อ ที่แสดงออกถึงพิธีหลาก หลาย ทั้งการแต่งงานบวชลูกแก้ว วิถีชีวิต ชุมชนรวมถึงการแต่งกายที่สวยงามของชาวไท ลื้อ ตลอดจนการละเล่นของเด็กชาวไทยลื้อ ที่ เคลื่อนขบวนไปตามถนนในเขตเทศบาลตำ�บล เชียงคำ� 41


42


43


การแต่งกายไทลื้อ เครื ่ อ งแต่ ง กายของชาวไทลื ้ อ ก็ โ ดด เด่ น ไม่ เ หมื อ นใครเช่ น กั น โดยผู ้ ช าย จะสวมเสื ้ อ แขนยาวแล้ ว สวมทั บ ด้ ว ยเสื ้ อ กั ๊ ก ที ่ ป ั ก ลวดลายสวยงาม ส่ ว นผู ้ ห ญิ ง จะสวมเสื ้ อ แขนยาวที ่ เรี ย กว่ า “เสื ้ อ ปั ๊ ด ” และนุ ่ ง ซิ ่ น ทั ้ ง ชายและหญิ ง จะมี ผ ้ า โพกศี ร ษะโดย ผู ้ เ ฒ่ า ผู ้ แ ก่ ช าวไทลื ้ อ บางคนก็ ย ั ง คงแต่ ง กายเช่ น นี ้ อ ยู ่ เ รื ่ อ งภาษาก็ เป็ น เอกลั ก ษณ์ ท ี ่ ส ำ � คั ญ ของไทลื ้ อ เพราะคนไทลื ้ อ มี ภ าษาพู ด และตั ว อั ก ษรเขี ย นใช้ เ องมานาน

โดยภาษาไทลื ้ อ นั ้ น จั ด อยู ่ ใ นกลุ ่ ม ภาษาตระกู ล ไท(ไต) และคำ � บางคำ � ก็ ค ล้ า ยกั บ ภาษาเหนื อ

44


การแต่งกายผู้ชาย ผู้ชายไทลื้อส่วนใหญ่จะนิยมสวมเสื้อ ขาวแขนยาวสวมทั บ ด้ ว ยเสื้ อ กั๊ ก ปั ก ลวดลายด้ ว ยเลื่ อ มเรี ย กว่ า เสื้ อ ปา หรื อ บ้ า งก็ ใ ส่ เ เค่ เ สื้ อ แขนยาวสวม กางเกง[หม้ อ ห้ อ ม]ขายาวต่ อ หั ว กางเกงด้ ว ยผ้ า สี ข าว เรี ยกว่า เตี่ยว หัวขาว นิยมโพกศีรษะ เคียนหัว ด้วย ผ้ า สี ข าว สี ชมพ สะพายกระเป๋าย่าม

45


การแต่งกายผู้หญิง ผู้ ห ญิ ง จะสวมเสื้ อ แขนยาวที่ เรี ย กว่ า เสื้ อ ปั๊ ด เป็ น เสื้ อ ที่ ไ ม่ มี ก ระดุ ม แต่ ส าบ เสื้ อ จะป้ า ยเฉี ย งมาผู ก ไว้ ที่ เ อวด้ า น ข้ า ง)และนุ่ ง ซิ่ น ที่ ท อลายสวยงามที่ เรี ย กว่ า ผ้ า ซิ่ น ไทลื้ อ มี เ อกลั ก ษณ์ แ ละ ลวดลายของซิ่นที่มีความเฉพาะ จะมี ผ้าโพกศีรษะและสะพายกระเป๋าย่าม นิยมโพกศีรษะ (คียนหัว ด้วยผ้าสีขาว สีชมพู

46


47


อาหารไทลื้อ ของชาวไทลื ้ อ จะไม่ ค ่ อ ยมี ส ่ ว นผสมของไข มั น

ช า ว ไ ท ลื ้ อ เ ป็ น ก ลุ ่ ม ช า ติ พั น ธุ ์ ที ่ ท า น ข้ า วเหนี ย วเป็ น หลั ก เช่ น เดี ย วกั บ กลุ ่ ม ชาติ พ ั น ธุ ์ ไ ทอื ่ น ๆอาหารที ่ น ิ ย มรั บ ประทานมั ก จะเป็ น แกงผั ก ประกอบจาก ผั ก หรื อ พื ช พรรณธรรมชาติ ห รื อ อาหาร ที ่ ห าได้ ง ่ า ย เช่ น เห็ ด หน่ อ ไม้ ไข่ ม ดแดง สาหร่ า ยน ้ำ � จื ด ส่ ว นพื ช ผั ก สวนครั ว ทั ่ ว ไป มั ก จะปลู ก ตามข่ ว งบ้ า น ใช้ พ ริ ก แกงเป็ น เครื ่ อ งปรุ ง หลั ก ประกอบด้ ว ย พริ ก ตะไคร้ หอม กระเที ย ม ปลาร้ า หากเป็ น อาหาร ประเภทหน่ อ ไม้ จ ะใส่ น ้ำ � ปู ๋ ล งไปด้ ว ย เช่ น ยำ � หน่ อ ไม้ แกงหน่ อ ไม้ เป็ น ต้ น อาหาร

การกิ น อยู ่ ข องชาวเชี ย งคำ � มี ก ารกิ น อยู ่ อย่ า งง่ า ยๆไม่ พ ิ ถ ี พ ิ ถ ั น อาหารที ่ ห าได้ จ าก ธรรมชาติ ต ามฤดู ก าเช่ น หน่ อ ไม้ ผ ั ก ต่ ๆ รั บ ประทานข้ า วเหนี ย วเป็ น หลั ก แต่ ล ะมื ้ อ มั ก มี อ าหารเพี ย งอย่ า งเดี ย ว อาจเป็ น น้ ำ � พริ ก กั บ ผั ก นึ ่ ง แกงขนุ น อ่ อ นหรื อ แกงผั ก ต่ า งๆ อาหารที ่ ช าวเชี ย งคำ � นิ ย มรั บ ประทานกั น ทั ่ ว ไป

48


อาหารคาว/แกง

49


อาหารคาว/แกงจิ้ น ส้ า (ลาบ)แกงอ่ อ ม,ปลา ปิ ้ ง อบ,จิ้ น ไก่ อุ บ ,ข้ า วเหลื อ งเนื้ อ ไก่ , จิ้ น ซ�ำ พริก,ซีจิ้น(แกงส้มจิ้น)แกงหน่อไม้,ไกน�้ำของ, (ตะใคร่ น�้ ำ แม่ โ ขง)ส้ ม หนั ง ,น�้ ำ หนั ง , ส้ ม ผั ก กุ ่ ม , ส้ ม ผั ก กาด, จิ้ น ไก่ หมี่ (ต้ม ย�ำจิ้น ไก่) ตุ่ งด้ า ง(แกงกระด้ า ง)แกงหน่ อ ไม้ , หลามบอน, เป๊ อ ะหว่ า ง (เลื อดกระด้ าง) ฯลฯ

50


51


52


53


อาหารว่าง

อ า ห า ร ว่ า ง มี ข้ า ว โ ค บ , ข้ า ว แ ค บ , ข้ า ว แ ล่ ง ฟื น , ข้ า ว ต่ อ , ข้ า ว แ ต๋ น , ข้ า ว เ ม็ ด ก่ า ย,ข้ า วลอดซอง(ลอดช่ อ ง),น้ ำ � อ้ อ ย ก้ อ น , ข้ า ว ส่ ว ย , ข้ า ว ฟื น น้ ำ � อ้ อ ย , ข้ า ว เ ห ลื อ ง น้ ำ � อ้ อ ย ข้ า ว จี ่ ง า , ข้ า ว จี ่ ห ม ว ก ฯลฯ

54


55


56


57


สินค้าผลิตภัณฑ์ไทลื้อเชียงคำ� ผลิ ต ภั ณ ฑ์ แ ละสิ น ค้ า ของชาวไทลื ้ อ จะ มี ห ลากหลายทั ้ ง ทำ � ขายที ่ ศ ู น ย์ ท อผ้ า ไท ลื ้ อ พระธาตุ อ ำ � เอเชี ย งคำ � และเฮื อ นป้ า แสงดารวมไปถึ ง พื ้ น ที ่ ต ่ า งๆในเชี ย งคำ � เช่ น สถานี ข นส่ ง ผู ้ โ ดยสารเผื ่ อ สำ � หรั บ ผู ้ ต ้ อ งการของฝากและจุ ด สำ � คั ญ ต่ า งๆ และเวลาไปออกงานนอกสถานที ่ ใ ช้ เ ป็ น สิ น ค้ า o-top มี ท ั ้ ง งานทำ � โชว์ ใ ห้ ด ู ส ำ � หรั บ นั ก ท่ อ งเที ่ ย วและสิ น ค้ า ที ่ ใ ช้ ส ำ � หรั บ จั ด

จำ � หน่ า ยสิ น ค้ า ที ่ ไ ว้ ส ำ � หรั บ จำ � หน่ า ยก็ จ ะ มี ผ ้ า ทอ,เครื ่ อ งจั ก สาน,กาละแม,สิ น ค้ า แปรรู ป จากผ้ า ทอ,ชุ ด ไทลื ้ อ เป็ น ต้ น ส่ ว น ทำ � โชว์ แ ละมี จ ำ � หน่ า ยแต่ ไ ม่ แ พร่ ห ลาย เฉพาะจุ ด ที ่ ท ำ � ก็ จ ะมี ท ำ � เครื ่ อ งเงิ น ทำ � เครื ่ อ งทองตี เ หล็ ก ,ตี ม ี ด ,ทำ � เคี ย ว,ปลู ก พื ช ,เลี ้ ย งสั ต ว์ , ปั ้ น หม้ อ

58


สินค้าผลิตภัณฑ์ ไทลื้อเชียงคำ�

59


60


61


62


บรรณานุกรม เกษตรสมบูรณ์ประวัติพี่น้องไทลื้อ อำ�เภอเชียงคำ� . 23 สิงหาคม 2560. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : http://www.kasetsomboon.org/ ไทลื้อเชียงคำ�. 10 ตุลาคม 2560. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : www.hugchiangkham.com ไทลื้อ. 15 ตุลาคม 2560. [ออนไลน์]. เข้าถึงจาก : https://th.wikipedia. org/wiki/ไทลื้อ




Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.