TR3163
การจัดการทรัพยากรมนุษย์ ใน อุตสาหกรรมการท่ องเทีย่ ว
Human Resource Management in Tourism Industry
“ทรัพยากรมนุษย์ ” (Human Resource) มนุษย์เป็ นสิ่ งมีคุณค่า ใช้แทนคําว่า “คน” เพื่อบ่งบอกถึง คุณค่าของมนุษย์วา่ เป็ นสิ นทรัพย์ (Asset) หรื อ ทรัพยากรที่มีคุณค่าอย่างยิง่ ต่อองค์การ การลงทุนใน ทรัพยากรมนุษย์มีผลต่อความเจริ ญขององค์การ ยิง่ กว่า การลงทุนในปั จจัยอื่นๆ 1. (5M’s) Money Machine Materials Manpower Moral
อุตสาหกรรมการท่ องเทีย่ วและบริการ (Tourism Industry) • ธุรกิจท่องเที่ยวและบริ การขนาดใหญ่ที่ตอ้ งอาศัยแรงงาน และการลงทุนสูง ใช้เทคนิควิชาการเฉพาะ มีการวางแผน (Planning) การจัดองค์การ (Organizing) การควบคุม (Controlling) และการตลาด (Marketing) และครอบคลุมธุรกิจหลายประเภท
• • • • • •
ธุรกิจในอุตสาหกรรมการท่ องเทีย่ ว และการบริการ ธุรกิจการคมนาคมขนส่ ง ธุรกิจที่พกั แรม โรงแรม-รี สอร์ ท ธุรกิจอาหารและเครื่ องดื่ม ภัตตาคาร บันเทิง ธุรกิจนําเที่ยว มัคคุเทศก์ ธุรกิจสิ นค้าที่ระลึก * ธุรกิจอื่นๆ เช่น MICE –Meeting, Incentive, Convention, Exhibition
ความหมายของการจัดการทรัพยากรมนุษย์ • Mary L. Tanke การดําเนินกลยุทธ์ แผน และโปรแกรมที่จาํ เป็ นเพื่อใช้ดึงดูด จูงใจ พัฒนา ให้รางวัล และรักษา บุคลากรที่ดีที่สุด เพื่อให้บรรลุเป้ าหมาย และวัตถุประสงค์ของกิจการท่องเที่ยวโรงแรม
รศ.ดร.ราณี อิสิชัยกุล “การจัดการทรัพยากรมนุษย์ ” คือ กระบวนการในการดึงดูด ชักชวน คัดเลือก พัฒนา และบํารุ งรักษาทรัพยากรมนุษย์ ที่มีคุณสมบัติพึงประสงค์ขององค์การ เพื่อให้ทรัพยากรมนุษย์สามารถปฏิบตั ิงาน ได้สาํ เร็ จลุล่วงตามวัตถุประสงค์ขององค์การ
ความแตกต่ างระหว่ างการจัดการทรัพยากร มนุษย์ และการจัดการบุคคล 1. 2. 3. 4. 5.
การจัดการบุคคล การวางแผนบุคลากรระยะสั้น เน้นการให้พนักงานยินยอม ปฏิบตั ิตามคําสัง่ ตามสายการ บังคับบัญชา ใช้ปัจจัยภายนอกบุคคลควบคุม เช่น วินยั เป็ นต้น องค์การประกอบด้วยหลายฝ่ าย โครงสร้างองค์การแบบระบบ ราชการ
1. 2. 3. 4. 5.
การจัดการทรัพยากรมนุษย์ วางแผนบุคลากรระยะยาว เน้นการสร้างความผูกพันและ การมีส่วนร่ วมของพนักงานใน การทํางาน ให้พนักงานควบคุมตนเอง องค์การเน้นความเป็ นหนึ่งเดียว โครงสร้างองค์การแบบหมู่คณะ
ความแตกต่ างระหว่ างการจัดการทรัพยากร มนุษย์ และการจัดการบุคคล (ต่ อ) การจัดการบุคคล 6. พัฒนาพนักงานให้รอบรู ้ เฉพาะด้าน 7. เน้นการลดต้นทุนด้านบุคคล ให้ต่าํ ที่สุด
การจัดการทรัพยากรมนุษย์ 6. พัฒนาพนักงานให้เรี ยนรู้รอบ ด้านในภารกิจขององค์การ 7. เน้นการใช้ทรัพยากรมนุษย์ให้ เกิดประโยชน์สูงสุ ด
ปัจจัยแวดล้ อมทีม่ ผี ลต่ อการจัดการทรัพยากรมนุษย์ • ปัจจัยแวดล้ อมภายในองค์ การ (Internal Environment) - ลักษณะขององค์การ (Organizational Characteristics) เช่น ขนาด ประเภท ที่ต้ งั วัฒนธรรมของ องค์การ สไตล์การบริ หารงาน นโยบาย และกลยุทธ์ทางธุรกิจ - ความต้องการของผูถ้ ือหุน้ (Shareholder’ Needs) - ความต้องการของพนักงาน (Employees’ Needs) - สหภาพแรงงาน (Labor Union) - เทคโนโลยี (Technology) - ฐานะทางการเงินขององค์การ (Organizational Finances)
ปัจจัยแวดล้ อมทีม่ ผี ลต่ อการจัดการทรัพยากร ทรัพยากรมนุษย์ (ต่ อ) • ปัจจัยแวดล้ อมภายนอกองค์ การ (External Environment) - สังคม (Society) ความรับผิดชอบต่อสังคม - ความต้องการของลูกค้า (Customers’ Needs) - ตลาดแรงงาน (Labor Market) - สภาพเศรษฐกิจ (Economy) - กฎหมายและระเบียบข้อบังคับของรัฐบาล (Government Legislation) - การแข่งขันทางธุรกิจ (Business Competition)
การบรรลุเป้ าหมายของการจัดการทรัพยากรมนุษย์ • มี 4 ด้าน คือ 1. การดึงดูดหรื อจัดหาทรัพยากรมนุษย์เข้าสู่ องค์กร 2. การใช้ทรัพยากรมนุษย์ให้เกิดประโยชน์สูงสุ ดต่อองค์การ 3. การพัฒนาประสิ ทธิภาพของทรัพยากรมนุษย์ 4. การจูงใจและการเก็บรักษาทรัพยากรมนุษย์
หน้ าทีก่ ารจัดการทรัพยากรมนุษย์ หน้าที่สาํ คัญ 12 หน้าที่คือ 1. การวางแผนทรัพยากรมนุษย์ (Planning) 2. การสรรหาทรัพยากรมนุษย์ (Recruitment) 3. การคัดเลือกทรัพยากรมนุษย์ (Selection) 4. การบรรจุทรัพยากรมนุษย์ (Placement) 5. การปฐมนิเทศทรัพยากรมนุษย์ (Orientation) 6. การฝึ กอบรมทรัพยากรมนุษย์ (Training)
หน้ าทีก่ ารจัดการทรัพยากรมนุษย์ (ต่ อ) 7. การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ (Development) 8. การประเมินผลการปฏิบตั ิงานทรัพยากรมนุษย์ (Performance Appraisal) 9. การบริ หารค่าตอบแทนทรัพยากรมนุษย์ (Compensation Administration) 10. การบริ หารประโยชน์และบริ การทรัพยากรมนุษย์ (Benefit Administration) 11. สุ ขภาพและความปลอดภัยทรัพยากรมนุษย์ (Health and Safety) 12. แรงงานสัมพันธ์ (Labor Relations)
หน่ วยงานและผู้รับผิดชอบการจัดการ ทรัพยากรมนุษย์ กรรมการผูจ้ ดั การ
ผูจ้ ดั การ ฝ่ ายขายและ การตลาด
ผูจ้ ดั การ ฝ่ ายปฏิบตั ิการ
ผูจ้ ดั การ ฝ่ ายการเงิน และบัญชี
ผูจ้ ดั การฝ่ าย ทรัพยากรมนุษย์
ฝ่ ายทรัพยากรมนุษย์ - แผนกการพนักงาน - แผนกพัฒนา - แผนกเงินเดือนและสวัสดิการ - แผนกสุ ขภาพและความปลอดภัย - แผนกพนักงานสัมพันธ์
หน่ วยงานและผู้รับผิดชอบการจัดการ ทรัพยากรมนุษย์ • มีผอู ้ าํ นวยการฝ่ ายทรัพยากรมนุษย์ (Director of Human Resources) หรื อผูจ้ ดั การฝ่ ายทรัพยากรมนุษย์ (Human Resource Manager) เป็ น ผูบ้ งั คับบัญชาสูงสุ ด • และประกอบด้วยผูจ้ ดั การแผนกฝึ กอบรม ผูจ้ ดั การแผนกการ พนักงาน
หน่ วยงานและผู้รับผิดชอบการจัดการ ทรัพยากรมนุษย์ • ผูอ้ าํ นวยการฝ่ ายทรัพยากรมนุษย์มีหน้าที่ความรับผิดชอบด้านการจัดการ ทรัพยากรมนุษย์ ดังนี้ 1. ศึกษาและทําความเข้าใจนโยบายขององค์การ กฎหมายที่เกี่ยวข้อง และ ผลกระทบของนโยบายขององค์การ และกฎหมายต่อการตัดสิ นใจด้าน ทรัพยากรมนุษย์ 2. ให้ขอ้ มูล คําแนะนํา และฝึ กอบรมแก่ผจู ้ ดั การฝ่ ายต่างๆในการจัดการ พนักงานให้ปฏิบตั ิงานอย่างมีประสิ ทธิผล 3. กํากับดูแลการจัดการทรัพยากรมนุษย์ให้เป็ นไปตามนโยบายด้าน ทรัพยากรมนุษย์ และเจรจาต่อรองกับตัวแทนของพนักงานหรื อของสหภาพ แรงงาน หากมีปัญหาหรื อข้อขัดแย้งด้านแรงงานเกิดขึ้น
หน่ วยงานและผู้รับผิดชอบการจัดการ ทรัพยากรมนุษย์ 4. ให้ขอ้ มูลและแนวทางการประเมินผลปฏิบตั ิงานของพนักงาน และ เสนอแนะการพิจารณาจ่ายค่าตอบแทนพนักงาน 5. บริ หารฝ่ ายทรัพยากรมนุษย์และพนักงานในฝ่ ายให้ปฏิบตั ิหน้าที่ในการ จัดการทรัพยากรมนุษย์ให้ถกู ต้องครบถ้วน 6. พัฒนาและบริ หารประโยชน์บริ การให้สอดคล้องกับความต้องการของ พนักงานส่ วนใหญ่ โดยอยูภ่ ายใต้กรอบของงบประมาณขององค์การ 7. กํากับดูแลการบันทึกและเก็บรักษาข้อมูลพนักงานทั้งหมด 8. เข้าร่ วมประชุมคณะกรรมการบริ หารขององค์การ
นโยบายและแนวปฏิบตั ิดา้ นการจัดการทรัพยากรมนุษย์ที่เหมาะสมใน องค์การธุรกิจหน่วยงานและผูร้ ับผิดชอบการจัดการทรัพยากร มนุษย์ในอุตสาหกรรมท่องเที่ยวและการโรงแรมขึน้ อยู่กบั ขนาด ขององค์ การ - องค์ การขนาดเล็ก ผูจ้ ดั การทัว่ ไป หรื อหัวหน้าฝ่ าย มีหน้าที่ รับผิดชอบด้านการจัดการบุคคล รวมไปกับการจัดการด้านอื่นๆ - องค์ การขนาดกลาง ผูช้ ่วยผูจ้ ดั การมีหน้าที่รับผิดชอบด้านการ จัดการบุคคล รวมไปกับการจัดการด้านอื่นๆ - องค์ การขนาดใหญ่ มีการกําหนดผูบ้ ริ หารที่มีหน้าที่รับผิดชอบมี หน้าที่รับผิดชอบด้านการจัดการทรัพยากรมนุษย์
สรุป
• องค์การธุรกิจในอุตสาหกรรมท่องเที่ยวและการโรงแรมยังให้ ความสําคัญต่อการจัดการทรัพยากรมนุษย์ในฐานะที่เป็ น ส่ วนประกอบของการจัดการธุรกิจค่ อนข้ างน้ อย เหตุผลอาจเนื่องมาจากการประหยัดค่าใช้จ่ายด้านค่าตอบแทนของ องค์การ • องค์การขนาดใหญ่มีแนวโน้มที่จะพัฒนาการจัดการทรัพยากร มนุษย์ให้มีประสิ ทธิภาพและเป็ นส่ วนหนึ่งของการวางแผนกลยุทธ์ ขององค์การ • องค์การขนาดเล็กมองว่าเป็ นเพียงอุดมคติและปฏิบตั ิได้ยาก
คําถาม ? การจัดการทรัพยากรมนุษย์ในอุตสาหกรรม การท่องเที่ยวคือ... และมีความสําคัญอย่างไรต่ออุตสาหกรรม การท่องเที่ยวและการบริ การ...