THESIS PROPOSAL โครงการพิเศษออกเเบบนิเทศศิลป์
การใช้เทคนิิคดิจิตอล คอลลาจ
DIGITAL COLLAGE
ในการออกเเบบภาพประกอบหนังสือเรื่องประวัติศาสตร์ปรัชญาฉบับกะทัดรัด
A LITTLE HISTORY OF PHILOSOPHY
PRESENTATION LAYOUT
บทที่ 2
CHAPTER 2
บทที่ 1
CHAPTER 1
ที่มาเเละ ความสำ�คัญของปัญหา
PROBLEM
การออกเเบบภาพประกอบ
ILLUSTRATION
ศิลปินทีเ่ กีย ่ วข้อง
ARTIST
วัตถุประสงค์
OBJECTIVE
ขอบเขตของการศึกษา
SCOPE
DIGITAL COLLAGE
เทคนิคดิจิตอล คอลลาจ
A LITTLE HISTORY OF PHILOSOPHY
วรรณกรรมปรัชญา ผลที่คาดว่าจะได้รับ
EXPECTED
บทที ่ 3 CHAPTER 3 วิธีการดำ�เนินงาน
APPROACH
PROBLEM ที่มาเเละ ความสำ�คัญของปัญหา
PROCESS
DIGITAL AGE
ด้วยเทคโนโลยีในปัจจุบันการ สร้างสรรค์ผลงานทางศิลปะจึง สามารถ สร้างมิติได้หลากหลาย
มนุษย์คิดค้นเเก้ปัญหาพัฒนาเทคนิค กระบวนการสร้างผลงานทางศิลปะ มาทุกยุคทุกสมัย
ILLUSTRATION
โดยเฉพาะการสร้างภาพประกอบที่ เข้ามามีบทบาทต่อชีวิตประจำ�วันใน สังคมปัจจุบัน
บทบาทความสำ�คัญ ของภาพประกอบต่อ สื่อสิ่งพิมพ์
ILLUSTRATED
เป็นสิ่งที่สร้างความ น่าสนใจให้กับผู้อ่าน หรือผู้ที่พบเห็น เเสดงให้เห็นถึงเนื้อหา เรื่องราวได้เด่นชัด
ทำ�ให้ผู้อ่านเกิดจินตนาการร่วม ไปกับเรื่องราวภายในหนังสือ ช่วยส่งเสริมเพิ่มประสิทธิภาพใน การสื่อความหมายต่อเรื่องราว
BOOK
ดิจิตอล คอลลาจ
DIGITAL ARTS ศิลปะคอลลาจกับ ศิลปะดิจิตอล
COLLAGE ARTS
เป็นเทคนิคกระบวนการ สร้างสรรค์ประเภทหนึ่ง เป็นการสร้างสรรค์เชิง ภาพโดยการปะติดปะต่อ
DIGITAL COLLAGE ที่นำ�มาใช้ในการสร้างภาพ ประกอบให้กับหนังสือ ประวัติศาสตร์ปรัชญาฉบับกะทัดรัด
A LITTLE HISTORY หนังสือเเสดงถึงภาพรวมความคิดของ นักปรัชญาตะวันตกเเต่ละยุคสมัย
OF
นับตั้งเเต่เพลโตเเละโซเครตีสที่เป็นผู้สร้าง ต้นเเบบของความเป็นนักคิดนักปรัชญา จนถึงข้อถกเถียงร่วมสมัย เเละมโนทัศน์ หลากหลายที่ดำ�เนินไปในปัจจุบัน
PHILOSOPHY เพื่อที่จะสื่อให้เห็นถึงเรื่องราวที่เชื่อมโยง กับมโนทัศน์ความคิดของนักปรัชญาเเต่ ละบุคคลได้ชัดเจนขึ้น
การนำ�ดิิจิตอล คอลลาจมาใช้จึงเป็นการ ปะติดปะต่อภาพเรื่องราวมโนทัศน์ความคิด ต่างๆ ของนักปรัชญาเข้าไว้ด้วยกัน
OBJECTIVE วัตถุประสงค์
ILLUSTRATION
เพื่อศึกษาหลักการออกเเบบภาพประกอบ
2
1
DIGITAL COLLAGE เพื่อศึกษาการใช้ เทคนิคดิจิตอล คอลลาจ
A LITTLE HISTORY OF PHILOSOPHY
3
เพื่อศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับ หนังสือประวัติศาสตร์ ปรัชญาฉบับกะทัดรัด
A LITTLE HISTORY OF PHILOSOPHY BOOK เพื่อใช้เทคนิคดิจิตอล คอลลาจ ในการออกเเบบภาพประกอบ หนังสือเรื่องประวัติศาสตร์ ปรัชญาฉบับกะทัดรัด
4
SCOPE
ขอบเขตของการศึกษา
PROCESS เพื่อวิเคราะห์ศึกษากระบวนการ การใช้เทคนิคดิจิตอล คอลลาจ
CONCEPTION
เเละศึกษาข้อมูลในหนังสือเรื่อง ประวัติศาสตร์ปรัชญาฉบับกะทัดรัด
EXPECTED ผลที่คาดว่าจะได้รับ
DIGITAL COLLAGE
ได้รับความรู้เกี่ยวกับเเนวคิดความเป็น มาของเทคนิคกระบวนการทางศิลปะ เเละการนำ�เทคนิคกระบวนการเหล่านั้น ไปใช้ในการออกเเบบภาพประกอบ
A LITTLE HISTORY OF PHILOSOPHY
ได้รับความรู้เกี่ยวกับเเนวคิดความ เป็นมาของของนักปรัชญาเเต่ละบุคคล ภายในหนังสือประวัติศาสตร์ปรัชญา ฉบับกะทัดรัด
REVIEW LITERATURE ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง
DIGITAL COLLAGE
ความเป็นมาของลัทธิดาดา ความหมายของศิลปะคอลลาจ ความหมายของดิจิตอล อาร์ต
COLLAGE ARTISTS ศิลปินที่เกี่ยวข้องในการศึกษา เเนวคิดกระบวนการทำ�งาน คือ MAX SPENCER เเละ QUENTIN JONE
ILLUSTRATION การออกเเบบภาพประกอบ
ความหมายของภาพประกอบ ความสำ�คัญของภาพประกอบ ประเภทของภาพประกอบ
BOOK
หนังสือประวัติศาสตร์ปรัชญาฉบับ กะทัดรัดเป็นหนังสือที่รวบรวม ประเด็นความคิดของนักปรัชญา ต่างๆ มารวมไว้ด้วยกัน
DIGITAL COLLAGE
เป็นเทคนิคการออกเเบบที่มีการผสมผสาน กันระหว่างเทคโนโลยีดิจิตอลกับเทคนิคของ ลัทธิทางประวัติศาสตร์ศิลปะ ลัทธิดาดา
DIGITAL ARTS เป็นการสร้างผลงานทางศิลปะที่เกิดจาก กระบวนการผลิตขึ้นด้วยเทคโนโลยีดิจิตอล หรือจากการทำ�งานด้วยระบบคอมพิวเตอร์
MAX SPENCER เป็นเทคนิคกระบวนการสร้างสรรค์เชิงภาพ โดยการปะติดปะต่อองค์ประกอบต่างๆ เข้าด้วยกันเพื่อนำ�เสนอเรื่องราว
COLLAGE ARTS
เทคนิคหรือกรรมวิธีสร้างงานศิลปะโดยการปะติด เป็นวิธี สร้างงานเเบบ 2 มิติ โ ดยนําเอาเศษกระดาษ ผ้า หรือเศษ วัสดุตามธรรมชาติหรือ อื่นๆ ที่มีลักษณะเเบน
QUENTIN JONE
DADAISM เป็นการเคลื่อนไหวทางศิลปะของยุโรป ซึ่งมี ปฏิกิริยาคัดค้านศิลปกรรมเก่าในอดีต
ลัทธิดาดาเกิดขึ้นโดยมีพื้นฐานทางอารมณ์อันต้องการ ปลดเปลื้องความคิดผิดๆ ของคตินิยมเเบบเก่า
DADA MOVEMENT
การเเสดงออกของ ศิลปินเเต่ละคนมีเเนวไป ในทางเเดกดัน เยาะเย้ย ถากถาง มีความคิด ค่อนข้าง มองโลกในเเง่ ร้าย มีการสร้างสรรค์ ผลงานที่ผิดหลักความ เป็นจริง
ศิลปะไม่ใช่ของสูงส่งไม่ได้มีจุด มุ่งหมายเเค่ความสวยงาม เท่านั้น ดาดาไม่เชื่อในตรรก วิทยาหากเเต่ต้องการปลด ปล่อยจิตไร้สำ�นึกให้เเสดง พฤติกรรมอย่างอิสระเสรี อย่างเต็มที่
การนำ�ความคิดของลัทธิต่างๆ มาผสมปนเป นำ�เรื่องราวต่างๆ เข้ามาอยู่ในกรอบเดียวกัน เพื่อให้ได้สิ่งใหม่เกิดขึ้น
DADA RAOUL HAUSMANN 1886-1971
COLLAGE
KURT SCHWITTERS 1887-1948
FRANCIS PICABIA 1879-1953
ARTISTS
HANNAH HOCH 1889-1978
MAX ERNST 1891-1976
ROBERT MOTHERWELL 1915-1991
A LITTLE HISTORY OF PHILOSOPHY
SOCIAL
สำ�นวนภาษา เเละการอธิบาย มีรูปเเบบค่อน ข้างเรียบง่าย เเต่ยังขาดภาพ ประกอบที่จะเพ่ิม ความน่าสนใจ ให้เรื่องราว
MORAL
เพื่อที่จะสื่อให้เห็นถึงเรื่องราวที่เชื่อมโยง กับมโนทัศน์ความคิดของนักปรัชญาเเต่ ละบุคคลได้ชัดเจนขึ้น
วอร์เบอตัน ไนเจล เขียน ปราบดา หยุ่น เเละ รติพร ชัยปิยะพร เเปล สำ�นักหนังสือไต้ฝุ่น
LIFE
เนื้อหาในหนังสือภาพรวมเกี่ยว กับการเข้าใจภาพรวมคลื่น ความคิดของนักปรัชญา ตะวัน ตกที่มีพื้นฐานของความคิดตั้ง อยู่บนการถกเถียงเเลกเปลี่ยน การใช้เหตุผลในการตั้งคำ�ถาม เกี่ยวกับการเข้าใจธรรมชาติที่ เเท้ของการมีตัวตน เนื้อหาเเสดงให้เห็นถึงมโนทัศน์ความ คิดของนักปรัชญาเเต่ละยุคสมัยที่ ต่างมีเเนวคิดข้อถกเกียงที่ตามรอย ความเป็นมาเเละพัฒนาการของเเนว ความคิดที่มีวัฒนธรรมอันยาวนาน เกี่ยวกับประเด็นต่างๆ เช่น ชีวิต สังคม ความตาย ระบบศีลธรรม เเละพระเจ้า
DEATH GOD
การนำ�ดิิจิตอล คอลลาจมาใช้จึง เป็นการปะติดปะต่อภาพเรื่องราวมโน ทัศน์ความคิดต่างๆ ของนักปรัชญาเข้า ไว้ด้วยกัน
APPROACH วิธีการดำ�เนินงาน
ILLUSTRATION
2
A LITTLE HISTORY OF PHILOSOPHY
ศึกษาเอกสาร หนังสือ วิชาการ สื่อออนไลน์เกี่ยวกับ กระบวนการเเละเเนวคิดของ การออกเเบบภาพประกอบ เพื่อนำ�มาประยุกต์ใช้ในการ ออกเเบบภาพประกอบหนังสือ
1 DIGITAL COLLAGE ศึกษาเอกสาร หนังสือวิชาการ สื่อ ออนไลน์เกี่ยวกับกระบวนการเเละ เเนวคิดเพือ ่ นำ�มาสร้างภาพประกอบ
ศึกษาข้อมูลเเต่ละบทเพื่อนำ� มาวิเคราะห์ข้อมูลในการ เขียนภาพประกอบ
3
การใช้เทคนิคดิจิตอล คอลลาจ
DIGITAL COLLAGE
ศึกษาเอกสาร หนังสือ วิชาการ สื่อออนไลน์เกี่ยว กับกระบวนการเเละเเนวคิด สรุป สังเคราะห์ วิเคราะห์ให้เห็น ถึงความสำ�คัญของวัตถุประสงค์ ข้อ 1 ข้อ 2 เเละข้อ 3
4
จัดทำ�เเบบสเก็ตช์ส่งให้อาจารย์ที่ปรึกษา
ปรับเเก้ไขตามคำ�เเนะนำ�ของอาจารย์ทป ี่ รึกษา
ในการออกเเบบภาพประกอบหนังสือเรื่อง ประวัติศาสตร์ปรัชญาฉบับกะทัดรัด
A LITTLE
นำ�เสนอต่อคณะกรรมการ อภิปรายผล
FOR
HISTORY OF PHILOSOPHY
BOOK