รัฐธรรมนูญ กกต. พรรคการเมือง และการเลือกตั้ง โดย ปราโมทย์ นาครทรรพ ผมว่า มาแต่ต ้น ว่า กกต. คือ อุป สรรคสาคัญ ของประชาธิป ไตย เพราะ กกต. ตั้งขึ้นโดยกฎหมายที่ไม่สมประกอบ และตัว กกต. ทั้งห้าทุกคณะมีสติปัญญาและวิชาที่ ไม่สมประกอบ ตัวบทกฎหมายและระเบียบของ กกต. ตลอดจนกลไกและบุคคลากรของ กกต. ด้อยมาตรฐานอย่างสาหัส เป็นปัจจัยหลักสาหรับการรีดไถและคดโกงการเลือกตั้ง คราวนี้ก็ไ ม่รู้จะกาหนัดการเลือ กตั้งไปหาพระแสงอะไร พรรคทุก พรรคที่ สมัครขณะนี้ ล้วนแต่กระทาผิดกฎหมายทั้งสิ้น เริ่มตั้งแต่จัดตั้ง จนกระทั่งขบวนการคัดเลือกผู้สมัคร และหาเสียง ทุเรศจนสุดทน December 26, 2013
“พ้นสามเดือนไปแล้ว ผมขอเรียกร้องให้ รสช. สลายตัวและถวายพระราชอานาจคืน ผมขอ เรียกร้องให้สภานิติบัญญัติแห่งชาติสลายตัว หรือสมาชิกพากันลาออก เพื่อกลายเป็นส่วนหนึ่ง ของสมัชชาแห่งชาติ และขอพระราชทานรัฐธรรมนูญแบบราชประชาสมาสัย" December 26, 2014
1
จดหมายถึงอาจารย์ป๋วย เรื่องการยึดอานาจของ รสช. ปราโมทย์ นาครทรรพ มีนาคม 2534 1. ผมว่ า รสช. ยึ ด อ านาจ เพราะผู้ น าทหารบางคนคิ ด ว่ า ตนจะถู ก ปลดหรื อ ย้ า ยออกจาก ตาแหน่ง ซึ่งมิเพียงแต่จะเป็นการสูญเสียส่วนตัว แต่จะกระทบถึงขวัญและกาลังใจของกองทัพ และอนาคตของผู้ ที่เข้าแถวคอยคิวจะขึ้นตาแหน่งต่างๆ ตามการวางที่ค่อนข้างจะลงตัว ใน ทัศนะทหาร หากไม่มีการกลั่นแกล้งกันทางการเมือง 2. ผมว่าทหารยังมีความคิดและความรู้สึก (ซึ่งถ้าหากเป็นความจริง ก็เป็นความรู้สึกที่ไม่ถูกต้อง แต่ฝังลึก) ว่า จะต้องธารงศักดิ์ศรีและความเป็นใหญ่ของทหารในวงการเมืองไทยไว้ให้จงได้ เพราะในที่สุดแล้ว จะไม่มีใครรับผิดชอบอนาคตของชาติได้ดีกว่าทหาร 3. ผู้นาทหารอาจเคยมีส่วนร่วมหรือได้เคยรู้เห็น (เพราะตกอยู่ในภาวะจายอม หรือเพราะหลวม ตัวจนเคยตัวก็ดี) การเล่นการเมืองเพื่อผลประโยชน์ทางการเมืองเป็นสรณะ อันเต็มไปด้วย ความคดโกง เล่ห์เหลี่ยม น้าเน่าและการกินบ้านกินเมือง ทหารซึ่งฝังหัวในเรื่องรักชาติเป็นทุน อยู่แล้ว จึงเกิดสะอิดสะเอียนขยะแขยงจนทนไม่ได้ 4. ผู้นาทหารเป็นห่วง ต้องการพัฒนาชาติพัฒนาประชาธิปไตยอย่างจริงใจ เพราะผู้นาทหาร อาจจะคิดหรือรู้สึกว่า ทหารกับความเป็นผู้นาทางการเมืองไทยนั้นเป็นของคู่กัน ยิ่งผู้นาทหาร ยุคปัจจุบันมีปัญญา มีความรู้ มีความทั นสมัย มีกาลังทางเศรษฐกิจ จึงยิ่งมีความเหมาะสมที่จะ ปกครองประเทศ สอดคล้องกับคติอานาจนิยมในเมืองไทยถึงทหารไม่รู้หรือขาดอะไรก็เรียกใคร มาใช้ได้ง่ายๆ เมื่อเทียบกับนักการเมืองผู้ดีตื่นดก-คางคกขึ้นวอ ย่อมสู้ผู้นาทหารไม่ได้ เราลองให้คะแนนและจัดความสาคัญเหตุผลทั้ง 4 ข้อ หากเหตุผลข้อที่ 1 ถึง 4 ออกมาก่อน เรียงกันตามลาดับ หรือสลับแค่ 2 กับ 3 เมืองไทยคงลาบาก อนาคตประชาธิปไตยคงมืดมน แต่ ถ้ากลับกัน คะแนนลดหลั่นกันขึ้นมาจากข้อสุดท้าย คือ 4-3-2-1 ผมว่าเมืองไทยยังพอมีหวัง “ผมก็ ยั ง อดเสี ย ดายไม่ ไ ด้ ว่ า ทหารท าไปโดยรู้ เ ท่ า ไม่ ถึ ง การณ์ และไม่ เ ข้ า ใจถึ ง ความ เปลี่ยนแปลงของโลกและของยุคสมัย" มีนาคม 2534 ตีพิมพ์บางส่วนอีกครั้งใน "สภานิติบัญญัติกับวัฏจักรน้้าเน่า"
2
สภานิติบัญญัติกับวัฏจักรน้าเน่า โดย ปราโมทย์ นาครทรรพ 5 พฤศจิกายน 2549 เรื่องที่ผมจะเขียนวันนี้หนัก ท่านที่ต้องการอ่านเบาๆ มีสิทธิไม่ต้องคิด แต่ก็อย่าใช้เสรีภาพไปเผยแพร่ต่อผิดๆ ก็แล้วกัน มีสมาชิกผู้ทรงเกียรติแห่งสภานิติบัญญัติฯ โทรมาโอดครวญว่า ผมไปเปรียบเปรยท่านกับพวกเป็นควาย ผมเคยได้ยินแต่ว่าในสภามี เสือ-สิงห์-กระทิง-แรด บังเอิญ คาคมประจาวัน หรือ “QUOTATION OF THE DAY” นสพ.นิวยอร์กไทม์ ยั กษ์ใหญ่ของโลก วันที่ 3 พฤศจิกายน นี้ พูดถึงเสือกับแรด น่าสนใจ “เมื่อมนุษย (ชาติ) ตกอยู่ในหล่มแห่งความลาบาก มนุษย์จะปรับตัว เปลี่ยนจากหนทางเดิมได้เร็ว เหตุที่ เรายังมีแรดหรือเสืออยู่จนทุกวันนี้ ก็เพราะเราเห็นสัญญาณว่ามันกาลังจะสูญพันธุ์ เราจึงเข้าไปเปลี่ยนแนวโน้ม ดังกล่าว เห็นทีเราจะต้องทาอะไรสักอย่างเหมือนกัน (กับสัตว์น้า) ในทะเล” - QUOTATION OF THE DAY – “When humans get into trouble they are quick to change their ways. We still have rhinos and tigers and elephants because we saw a clear trend that was going down and we changed it. We have to do the same in the oceans.” - BORIS WORM, of Dalhousie University in Nova Scotia, on threats to fish species ทาอย่างไร “เสือ-สิงห์-กะทิง-แรด” ไม่ว่าจะ “ลากตั้ง” หรือ “เลือกตั้ง” จะสูญพันธุ์เสียที เห็นทีเรา จะต้องทาอะไรสักอย่าง
3
กล่าวกันว่าเสือ-สิงห์-กะทิง-แรด เหล่านี้เป็นสาเหตุ “วัฏจักรน้าเน่า” คู่แฝดของ “วงจรอุบาทว์” ใน วงการเมืองไทย ผมขอเล่าความหลัง โดยคัดลอกจดหมายบางส่ วนของผมที่มีถึงพลเอกชาติชาย ชุณหะวั ณ เมื่อวันที่ 14 ตุลาคม 2533 และถึงดร.ป๋วย อึ๊งภากรณ์ เมื่อวันที่ 29 เมษายน 2534 ตีพิมพ์ในสื่อยุคนั้น อนิจจาเอ๋ย บัดนี้ มันยังทันสมัยอยู่ ฉบับแรก เมื่อรัฐบาลพลเอกชาติชาย มีเค้าจะถูกยึดอานาจ ผมเตือนพลเอกอาทิตย์เดือนถัดมา ได้รับ ความขอบคุณว่า “อาจารย์มองโลกในแง่ร้าย ต่อไปนี้ ไม่มีทหารที่ไหนจะกล้าปฏิวัติ ” ยิ่งพลอากาศเอกเกษตร โรจนนิล นั้นลืมได้เลย เพราะ “ไอ้เต้ มันวิ่งซื้อโอเลี้ยงให้ผมกินตั้งแต่อยู่ ม. 4 ตอนอยู่สระบุรี” ฉบับที่ 2 เมื่ออาจารย์ป๋วย ผู้ปฏิเสธตาแหน่งนายกรัฐมนตรี 5 ครั้งก่อนรัฐบาลสัญญาสอง ต้องวิบาก กรรมเกือบเอาชีวิตไม่รอด หลบภัย 6 ตุลามหาโหดไปอยู่อังกฤษตั้งแต่ปี 2519 ดร.ป๋วยโทมนัสใจใหญ่หลวงอีก เพราะการยึดอานาจของ รสช. จดหมายถึงนายกฯ ชาติชาย เรื่องขอให้ช่วยป้องกันการยึดอานาจ 1. รัฐบาลชาติชายถือกาเนิดจากการเลือกตั้งในวันที่ 24 กรกฎาคม 2531 ก่อนการเลือกตั้งครั้งนั้น ผม ได้พูดในทีวีและต่อหน้าสาธารณะอย่างละ 1 ครั้งว่า ผลของการเลือกตั้งจะทาให้ระบบการเมืองไทยเวียน ว่ายอยู่ในระหว่าง “วัฏจักรน้าเน่า” กับ “วงจรอุบาทว์” อย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ 2. “วั ฏ จั ก รน้ าเน่ า ” ก็ คื อ “สิ่ ง ที่ พิ สู จ น์ ว่ า เกิ ด ขึ้ น ได้ แ ต่ ไ ม่ พู ด ถึ ง กั น อย่ า งเปิ ด เผย ทั้ ง นี้ เพราะตั ว กฎหมายรัฐธรรมนูญเปิดโอกาสให้มีการซื้อขายอธิปไตยของชาติ เริ่มตั้งแต่ผู้นาพรรคการเมืองซื้ อตัว ผู้สมัคร ส.ส. โดยไม่คานึงถึงอุดมการณ์หรือพรรคสังกัดเดิม ผู้สมัคร ส.ส.ซื้อเสียงหัวคะแนน หัวคะแนนซื้อ เสียงประชาชน พรรคการเมืองสมยอมอานาจของประชาชนกับอานาจนอกสภา พรรคแลกโควตารัฐมนตรี ส.ส.ขายเสียงในสภาให้ฝ่ายใดก็ได้แล้วแต่สนนราคา หรือกรณีรัฐมนตรีที่เป็นผู้นาพรรคถอนทุนคืน โดยการใช้อานาจของรัฐในการออกใบอนุญาตให้ สัมปทานหรือสนับสนุนโครงการหรือการประมูลในการแสวงหาขุดค้นแจกจ่ายทรัพยากรของแผ่นดิน และ 4
หลายกรณีก็ร่วมกับนายทุนและบริษัทต่างชาติ พรรคการเมืองแย่งกันเข้าคุมรัฐวิสาหกิจเพื่อประโยชน์ ข้างต้น รวมทั้งการจัดสรรฝากและเรียกเงินคนสมัครเข้างานฯลฯ” 3. “วงจรอุบาทว์” “อีกหน่อยอธิปไตยของชาติก็ถูกผูกขาดด้วยด้วยอานาจเงิน หลายคนจะลุกขึ้นมา เรียกร้อง อย่างนี้สู้ให้ทหารปฏิวัติไม่ดีกว่าหรือ เพราะอย่างน้อยทหารก็กินไม่เก่งเหมือนพ่อค้า อีกอย่างก็ เป็นคนไทยด้วยกัน... วงจรอุบาทว์หรือการยึดอานาจรัฐด้วยการใช้กาลังเข้าปฏิวัติรัฐประหารล้มล้างการเลือกตั้ง เป็นการถอย หลังเข้าคลอง ถอยกลับไปนับหนึ่งอีกครั้ง หากการได้อานาจรัฐมาด้วยเงินเป็นการซื้อขายอธิปไตยของชาติ อานาจรัฐที่ได้มาจากรถถังก็ไม่ผิดอะไร กับการปล้นอธิปไตยของชาติ การปฏิวัติหรือแม้แต่การใช้ศักยภาพของกองทัพทาการปฏิวัติเงียบ จะทาให้ประเทศเสื่อมเสียชื่อเสียง เศรษฐกิ จ ทรุ ด โทรม และจะเป็ น การท้ า ทายให้ มี ก ารต่ อ ต้ า น ซึ่ ง นั บ วั น จะโหดเหี้ ย มทารุ ณ ขึ้ น ด้ ว ย วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสมัยใหม่ ผมได้เรียกร้องให้พลเอกชาติชายตัดวงจรอุบาทว์ โดยกาจัดวัฏจักรน้าเน่า ภายในสภาผู้แทนราษฎร นายกรัฐมนตรีจะต้องเป็นผู้นาปฏิรูปเสียเอง ด้วยการร่วมมือกับสภา และประชาชน พลเอกชาติชายตอบผมโดยประกาศว่าจะยกเลิก ปร. 42 ประกาศคณะปฏิรูปและปฏิวัติทุกฉบับที่ขัดกับ ประชาธิปไตย นับได้ว่าเป็นการเริ่มต้น แต่หลายคนเห็นว่าไม่พอ จดหมายถึงอาจารย์ป๋วย เรื่องการยึดอานาจของ รสช. 1. ผมว่า รสช.ยึดอานาจ เพราะผู้นาทหารบางคนคิดว่าตนจะถูกปลดหรือย้ายออกจากตาแหน่ง ซึ่งมิ เพียงแต่จะเป็ น การสู ญเสี ยส่วนตั ว แต่จะกระทบถึงขวัญและกาลั งใจของกองทัพ และอนาคตของผู้ ที่ เข้า แถวคอยคิวจะขึ้นตาแหน่งต่างๆ ตามการวางที่ค่อนข้างจะลงตัวในทัศนะทหาร หากไม่มีการกลั่นแกล้งกันทาง การเมือง
5
2. ผมว่าทหารยังมีความคิดและความรู้สึก (ซึ่งถ้าหากเป็นความจริง ก็เป็นความรู้ สึกที่ไม่ถูกต้องแต่ฝัง ลึก) ว่า จะต้องธารงศักดิ์ศรีและความเป็นใหญ่ของทหารในวงการเมืองไทยไว้ให้จงได้ เพราะในที่สุดแล้ว จะไม่ มีใครรับผิดชอบอนาคตของชาติได้ดีกว่าทหาร 3. ผู้นาทหารอาจเคยมีส่วนร่วมหรือได้เคยรู้เห็น (เพราะตกอยู่ในภาวะจายอม หรือเพราะหลวมตัวจน เคยตัวก็ดี) การเล่นการเมืองเพื่อผลประโยชน์ทางการเมืองเป็ นสรณะ อันเต็มไปด้วยความคดโกง เล่ห์เหลี่ยม น้าเน่าและการกินบ้านกินเมือง ทหารซึ่งฝังหัวในเรื่องรักชาติเป็นทุนอยู่แล้ว จึงเกิดสะอิดสะเอียนขยะแขยงจน ทนไม่ได้ 4. ผู้นาทหารเป็นห่วง ต้องการพัฒนาชาติพัฒนาประชาธิปไตยอย่างจริงใจ เพราะผู้นาทหารอาจจะคิ ด หรือรู้สึกว่า ทหารกับความเป็นผู้นาทางการเมืองไทยนั้นเป็นของคู่กัน ยิ่งผู้นาทหารยุคปัจจุบันมีปัญญา มี ความรู้ มีความทันสมัย มีกาลังทางเศรษฐกิจ จึงยิ่งมีความเหมาะสมที่จะปกครองประเทศ สอดคล้องกับ คติ อานาจนิยมในเมืองไทยถึงทหารไม่รู้หรือขาดอะไรก็เรียกใครมาใช้ได้ง่ายๆ เมื่อเทียบกับนักการเมืองผู้ดีตื่นดกคางคกขึ้นวอ ย่อมสู้ผู้นาทหารไม่ได้ เราลองให้คะแนนและจัดความสาคัญเหตุผลทั้ง 4 ข้อ หากเหตุผลข้อที่ 1 ถึง 4 ออกมาก่อนเรียงกัน ตามลาดับ หรือสลับแค่ 2 กับ 3 เมืองไทยคงลาบาก อนาคตประชาธิปไตยคงมืดมน แต่ถ้ากลับกัน คะแนน ลดหลั่นกันขึ้นมาจากข้อสุดท้าย คือ 4-3-2-1 ผมว่าเมืองไทยยังพอมีหวัง “ผมก็ยังอดเสียดายไม่ได้ว่า ทหารทาไปโดยรู้เท่าไม่ถึงการณ์ และไม่เข้าใจถึงความเปลี่ยนแปลงของโลก และของยุคสมัย ขณะนี้ทั่วทั้งโลกเกิดกระแสใหญ่ ซึ่งไหลบ่า หนักแน่นและรุนแรง นั่นก็คือ กระแสแห่งประชาธิปไตย กระแสแห่งการกระจายอานาจ กระแสแห่งการระดมพลังของประชาชน” “พ้นสามเดือนไปแล้ว ผมขอเรียกร้องให้ รสช.สลายตัวและถวายพระราชอานาจคื น ผมขอเรียกร้อง ให้สภานิติบัญญัติแห่งชาติสลายตัว หรือสมาชิกพากันลาออก เพื่อกลายเป็นส่วนหนึ่งของสมัชชาแห่งชาติ และขอพระราชทานรัฐธรรมนูญแบบราชประชาสมาสัย
6
หากกระทาเช่นนี้ จะเกิดผลทันตาเห็น 2-3 ประการ ที่สาคัญยิ่งยวดต่อการดารงอยู่อย่างมีศักดิ์ศรีและมี อนาคตของชาติไทย 1. ประเทศไทยสามารถกลับคืนสู่สังคมโลกเคียงบ่าเคียงไหล่กับนานาอารยประเทศอย่างเต็มภาคภูมิ ไม่ ต้องรอคอยว่าจะเลือกตั้งเมื่อไร หรือเลือกตั้งอย่างไร ฯลฯ และ 3. เราจะได้รับรัฐธรรมนูญอันเป็นผลของความสมานฉันท์และฉันทานุมัติอย่างแท้จริง ไม่ มี ใ ครบี บ บั ง คั บ ใคร จะเป็ น รั ฐ ธรรมนู ญ ถาวร มิ ใ ช่ แ ต่ ชื่ อ แต่ ใ นความเป็ น จริ ง และพระราชทานโดย พระมหากษัตริย์ที่มีบุญญาธิการเอกอุ เป็นที่เคารพรักใคร่เหนือหัวเหนือเกล้าของปวงชนชาวไทย เป็นครั้ง แรกและครั้งเดียวในประวัติศาสตร์ไทย” ท่านผู้อ่านที่เคารพ ในคืนที่นายกฯ ชาติชายประกาศนั้น ธนาวุฒิ คลิ้งเชื้อ นักศึกษารามคาแหงได้เผา ตัวเองตายประท้วงรัฐบาล ซึ่งถึงแม้จะมาจากการเลือกตั้ง แต่เขาว่าเนื้อแท้เป็นเผด็จการ นั่นคือ 14 ตุลาคม 2533 ต่อมาอีก 16 ปี 1 พฤศจิ กา 2549 นวมทอง ไพรวั ล ย์ แท็กซี่พลี ชีพ ที่ ขับ รถชนรถถั ง ก็ ผู ก คอตาย ประท้วง ครป. ที่ล้มล้างรัฐธรรมนูญ ยึดอานาจจากรัฐบาลที่มาจากการเลือกตั้ง ทั้งสองเรื่องนี้หมายความว่าอย่างไร 16 ปีผ่านไป สังคมไทยเปลี่ยนไปบ้างหรือไม่ กรอบความคิดของคน ไทยเปลี่ยนไปอย่างไร สถาบันทหารยังเหมือนเดิมอยู่ หรือไม่ สภานิติบัญญัติฯ ยุค รสช. ต่างกับสภานิติ บัญญัติฯ ยุค คมช. อย่างไร ผมได้ทานายไว้ว่า ผลของการเลือกตั้งที่ทาให้พลเอกชาติชายได้เป็นนายกฯ นั้น จะทาให้ระบบการ เมืองไทยเวียนว่ายอยู่ในระหว่าง “วัฏจักรน้าเน่า” กับ “วงจรอุบาทว์” อย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ ถึงผมจะปฏิเสธอย่างไร แต่ก็เป็นการยากยิ่งที่ผมจะอธิบายต่อโลกภายนอกได้ว่า 19 กันยายน 2549 นั้น มิใช่วงจรอุบาทว์
7
เมื่อรัฐบาล คมช.ปิดฉากลง ผมไม่อยากทานายว่า วัฏจักรน้าเน่าจะกลับมา และทุกๆ 15 ปี วงจรอุบาทว์ ก็จะกลับมาอีก ผมให้คานิยามวัฏจักรน้าเน่าในข้อ 2 ของจดหมายถึงชาติชายแล้ว ขอให้ท่านผู้อ่านคิดเอาเองว่า แม้สภา ลากตั้งอย่าง สภานิติบัญญัติฯ ของ รสช. เป็นวัฏจักรน้าเน่าหรือไม่ ถ้าเป็นขอให้กลับไปอ่านคาคมวันนี้อีก ครั้ง เห็นทีมนุษย์จะต้องช่วยกันทาอะไรสักอย่าง
เป็นหรือไม่เป็น สภานิติบัญญัติฯ รสช.ก็เหมือนกับสภานิติบัญญัติฯ คมช.วันนี้ เพราะว่ามีประธานสภา คนเดียวกัน มีองค์ประกอบคล้ายคลึงกัน มีสมาชิกสภา รสช.ติดสอยห้อยตามประธานมาหลายคน สภานิติบัญญัติฯ รสช.เป็นผู้ผลิตรัฐธรรมนูญรสช.ซึ่งทาให้เกิดพฤษภาทมิฬขึ้ น หากไม่มีบารมีในหลวง ใครจะรับประกันได้ว่าจะไม่มีวงจรอุบาทว์เกิดขึ้นอีกด้วย แต่เดิมคาว่าน้าเน่านั้นเราใช้กับนวนิยายหรือ ละครทีวี ความลาเอียงยกตนข่มท่านของชนชั้นปกครอง ไทย ทาให้กล่าวหาว่าสภาที่มาจากการเลือกตั้งเป็นน้าเน่า ในสภานิติบัญญัติฯ รสช. การอภิปรายอย่าง-ลงมติอย่างกลุ่มผลประโยชน์ บล็อกโหวต และล็อกโหวต ก็ คื อ น้ าเน่ า ดี ๆ นี่ เ อง ผมเชื่ อ ว่ า นอกจาก “สภาคุ ก ” 5 ปี ข องระบอบทั ก ษิ ณ สภาเลื อ กตั้ ง มี คุ ณ สมบั ติ องค์ประกอบและความสามารถดีกว่าสภาลากตั้งด้วยซ้า ผมอดเป็นห่วง คมช.และรัฐบาลไม่ได้ว่าจะมอบมรดก “วงจรอุบาทว์และวัฏจักรน้าเน่า ” ให้สังคมไทย อีก เว้นแต่มีทางออก 2 อย่าง คือ (1) รัฐบาลเลือกตั้งระบอบทักษิณกลับมา และ (2) เทวดาฟ้าดินช่วย เทวดาฟ้ า ดิ น นี้ ผ มหมายถึ ง ราชประชาสมาสั ย องค์ ป ระกอบ โครงสร้ า งและพฤติ ก รรมการเมื อ ง ปัจจุบัน หากขาดราชประชาสมาสัยคือการมีส่วนร่วมของประชาชนรากแก้ว และบารมีของในหลวงแล้ว ต่อให้สิบ คมช. ก็เอาไม่อยู่.
8
เผด็จการไม่มีวันหมด หากไม่ปลดล็อคพรรค โดย ปราโมทย์ นาครทรรพ 31 พฤษภาคม 2552 วันนี้ผมนึกถึงคาโบราณที่ว่า ‘คนเดียวหัวหาย สองคนเพื่อนตาย’ ผมนึกถึงตัวเองกับศาสตราจารย์ ดร.อมร จันทรสมบูรณ์ ว่า จนแก่ตาย เพื่อนทั้งสองก็คงจะไม่มีปัญญา หรือความสามารถพอที่จะอธิบาย (พูด+เขียน+สอน+อภิปราย) ให้หมา เทวดา และคนในสั งคมไทยเข้าใจได้ว่า กฎหมายที่บังคับให้ตั้งพรรคการเมืองและบังคับให้ผู้สมัคร ส.ส. ต้องสังกัดพรรคการเมืองนั้น เป็นการสร้างและ รักษาเผด็จการไว้ให้ยืนยงในประเทศไทย ทั้งนี้ เพราะความคิดเรื่องความดีของการให้ ส.ส. สังกัดพรรคได้กลายเป็นความเชื่อหรือความรู้ที่หยั่งราก หรืออีกนัยหนึ่งเป็นกรอบความคิดหลัก-กรอบความคิดเดิมหรือ old paradigm ประจาสังคมไทยไปเสียแล้ว กรอบความคิดเดิมนี้ เดิมทีก็เป็ นของใหม่ แต่เป็นที่ถูกใจของชนชั้นปกครองที่ขึ้นมาครองอานาจตั้งแต่ การรัฐประหาร 8 พฤศจิกายน 2490 เป็นต้นมา ตอนนั้นพอเริ่มต้นก็ถูกอภิมหาอานาจใหม่ไร้ประสบการณ์ การเมืองโลก หลอกให้เกรงกลัวคอมมิวนิสต์จนขี้ขึ้นขมอง นอกจากตามก้นอเมริกันแล้ว เผด็จการก็ รังเกียจและราคาญผู้แทนราษฎรที่เป็นชนชั้นต่ากว่า ว่าจะพา กันมาเพ่นพ่านกดดันและรีดไถ จึงจาต้องหาทางป้องกันไว้ล่วงหน้าด้วยการจับมาเข้าคอกเสีย สื่ อและนั กวิช าการส่ ว นใหญ่ซึ่งผอมโซและหิ ว โหย ก็พากันเลี ยตีนเผด็จการ ทาหน้าที่ตอกย้ากรอบ ความคิด ด้วยการสรรหาข้อมูลสถิติและทฤษฎีต่างๆ นานามาเพื่อแลกกับอามิสสินจ้างและฐานันดร กรอบความคิ ด เรื่ อ งผู้ แ ทนราษฎรต้ อ งสั ง กั ด พรรคจึ ง กลายเป็ น ศาสนาของการเมื อ งไทย ทั้ ง ๆ ที่ มี ข้อเท็จจริงว่า ไม่มีประเทศประชาธิปไตยที่ไหนในโลกเชื่อหรือกระทาเช่นนั้นเลย การบังคับให้ ส.ส.สังกัดพรรคเท่ากับการทาลายสิทธิเสรีภาพขั้นพื้นฐานทางการเมือง ความเป็นจริงของ สังคมไทย ทาให้การเมืองตกอยู่ใต้อานาจผูกขาดของเผด็จการและนายทุน รัฐธรรมนูญทุกฉบับเข้าล็อกเผด็จการหมด ไม่เว้นแม้แต่ฉบับ 2517 ที่ผมมีส่วนเป็นกรรมการร่าง ฉบับ 2540 ยิ่งร้ายหนัก เพราะเปิดโอกาสให้ทุนผูกขาดได้เบ็ดเสร็จทั้งอานาจรัฐสภาและอานาจราชการ 9
ก่อนวันที่ 14 ตุลาคม 2516 ผมเป็นอาจารย์หัวแข็งของอธิการบดี สัญญา ธรรมศักดิ์ อดีตประธานศาล ฎีกา พอได้รับโปรดเกล้าฯ เป็นนายกรัฐมนตรี อาจารย์สัญญากลับขอร้องให้ผมไปช่วย ผมได้ทาความเข้าใจกับ ท่านนายกฯ ว่า ผมจะไม่ขอตาแหน่ง ไม่ไปงานบ้าน งานวันเกิด และขอแต่งกายอย่างสุภาพตามภูมิอากาศ เหมือนคนไทยทั่วไป สมัยนั้นยังไม่มีเสื้อพระราชทาน และพล.ท.เปรม ติณสูลานนท์ยังไม่ค่อยมีคนรู้จัก อาจารย์สัญญาแต่งตั้งผมเป็นกรรมการประสานงานของนายกรัฐมนตรีกับ ครม.กองทัพ กระทรวงและ กลุ่มต่างๆ จนเพียบ รวมทั้งให้ทางานการเมืองของเลขาธิการนายกรัฐมนตรี ซึ่งสุภาพบุรุษ พลโทชูศักดิ์ วัฒน รณชัย เลขาธิการตัวจริงไม่ยอมทา เพราะถือมารยาทว่าท่านสืบทอดตาแหน่งมาจากรัฐบาลจอมพลถนอม คอลัมนิสต์ชื่อพญาไม้ เลยด่าว่าผมแส่ทุกเรื่อง ทั้งๆ ที่งานอะไรนายกฯ ไม่สั่ง ผมจะไม่ทาและไม่ริเริ่ม งานที่ผมผิดหวังที่สุดคืองานร่างรัฐธรรมนูญ ที่นายกฯ อยากให้เสร็จเร็วๆ เป็นประชาธิปไตยและป้องกัน ปฏิวัติรัฐประหารได้ ดร.อมร จันทรสมบรณ์ เป็นหนึ่งในสามทหารเสือจากกฤษฎีกาที่มาร่วมเป็นกรรมการร่าง มีดร.สมภพ โห ตระกิตย์ เลขาธิการ และดร.อักขราทร จุฬารัตน์ ทาหน้าที่ผู้ช่วยเลขานุการ ส่วนมีชัย ฤชุพันธุ์ ในตอนนั้นเป็น อนุกรรมการและทาหน้าที่ติดตามดร.สมภพ หน้าที่หลังนี้ทาให้มีชัยเติบใหญ่ขึ้นมาในทางการเมือง คณะกรรมการร่างนอกจากผมและดร.อมร เฉพาะผู้ที่ยังมีชีวิตอยู่ ก็มี ดร.อักขราทร จุฬารัตน์ ดร.ชัย อนันต์ สมุทวณิช รศ.พงศ์เพ็ญ ศกุนตภัย พ่ อตานายกฯ อภิสิทธิ์ เอนก สิทธิประศาสน์ สรรเสริญ ไกรจิตติ และ หนึ่งเดียวคือ สุมาลี วีระไวทยะ คอลัมนิสต์และนักเคลื่อนไหวสตรี ส่วนผู้ที่ล่วงลับไปแล้ว ได้แก่ประธานคณะคือ ศ.ดร.ประกอบ หุตะสิงห์ ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช นายมนูญ บริสุทธิ์ อดีตเลขาธิการคณะรัฐมนตรี พลเอกสุรกิจ มัยลาภ นายโอสถ โกศิน ศ.ดร.สมภพ โหตระกิตย์ เสวตร เปี่ยมพงษ์สานต์ และไพศาล กุมาลย์วิสัย เป็นต้น เราร่างรัฐธรรมนูญเสร็จภายใน 4 เดือน และส่งไปให้สภานิติบัญญัติแห่งชาติ ความผิดหวังของผมทวีขึ้น หลายเท่า เมื่อสภานิติบัญญัติซึ่งผมเป็นสมาชิกอยู่ด้วยผ่านร่างที่ดร.ธวัช มกรพงศ์ ยกมือค้านอยู่คนเดียว ผมอยู่ ข้างดร.ธวัช แต่ในฐานะผู้ร่างเสียงข้างน้อย ผมทาได้แค่งดออกเสียง
10
ผมบอกไม่ถูกว่ารู้สึกละอายหรือสมเพชที่มีคนชมรัฐธรรมนูญ 2517 ว่าเป็นฉบับที่เป็นประชาธิปไตยที่สุด ผมไม่อาจคุยได้อย่าง ศ.ดร.บวรศักดิ์ ว่าฉบับที่ท่านร่าง (2540 ) เป็นรัฐธรรมนูญที่ดี 1 ใน 10 ของโลก รัฐธรรมนูญ 2517 มีลักษณะเผด็จการและมีปัญหาหลายประการ คือ 1. การติดยึดกรอบความคิดเดิม คือ กระบวนการร่างอย่างฝรั่งเศสซึ่งยาวรุงรังและใช้ภาษาคลุมเครือ 2. สงวนอานาจไว้ให้รัฐ โดยอ้างไว้ในถ้อยคาว่า ‘ทั้งนี้ตามแต่บทบัญญัติของกฎหมาย’ แท้จริงรัฐธรรมนูญ จะต้องสงวนอานาจไว้ให้ราษฎร รัฐบาลมีอานาจเพียงตามที่มอบหมาย นอกจากนั้นจะต้องขออนุมัติจากราษฎร (สภา) 3. สิทธิทางการเมืองของคนไทยไม่เท่าเทียมกัน เช่น สิทธิเลือกตั้งของคนไทยที่เป็นลูกคนต่างด้าว ซึ่งมี หน้าที่ทุกอย่างเท่ากับพลเมืองคนอื่น 4. สิทธิพื้นฐานทางการเมืองถูกจากัดโดยการบังคับสังกัดพรรค พรรคต้องส่งผู้สมัครเกินครึ่ง และเขต เลือกตั้งหนึ่งมีผู้แทนได้ 3 คน ฯลฯ โดยเฉพาะในข้อ 4 ทั้งดร.อมรและผมเห็นว่าเป็นต้นชี้ตายปลายชี้เป็น ทาให้การเมืองไทยด้อยพัฒนา เพราะส.ส.ต้องตกเป็นทาสนายทุนพรรค แต่กรรมการร่างและสภานิติบัญญัติ แห่งชาติคนอื่นกลับเห็นตรงกัน ข้าม เพราะเขากลัวคอมมิวนิสต์และกลัวผู้แทนขายตัว แต่ตราบใดที่ยังมีบทบัญญัตินี้ในกฎหมายเลือกตั้งหรือรัฐธรรมนูญ เมืองไทยไม่มีวันเป็นประชาธิปไตยได้ จะต้องวนเวียนอยู่ในวัฏจักรน้าเน่า และวงจรอุบาทว์สลับกันไปมา หาวันจบมิได้ ในสมัยคมช.และรัฐบาลสุรยุทธ์ ดร.อมร ได้พยายามทุกอย่างทั้งการเขียน พูดในที่ประชุ ม ชี้ภัยให้ผู้นา รัฐบาลและคมช.ได้สานึกว่า หากปล่อยให้มีเลือกตั้งโดยรักษากรอบความคิดเดิมไว้ บ้านเมืองก็จะเกิดกลียุคและ สงครามกลางเมือง ผมก็เช่นกัน และหลายๆ ครั้งก็ร่วมกัน แต่เหลว ดร.อมร เขี ย นและพู ด อย่ า งเป็ น นั ก วิ ช าการเต็ ม ตั ว มี ก ารเสนอทฤษฎี หลั ก การ สถิ ติ ข้ อ มู ล และ เอกสารอ้างอิงอย่างลึ กซึ้งน่าเชื่อถือ ลองเปิดดู google.co.th พิมพ์ชื่อนามสกุล ดร.อมร ภาษาไทย ก็จะมี รายชื่อบทความ ความเห็น และปาฐกถาในเรื่องเดียวกันนี้ถึง 6 หมื่นรายการ เหตุที่เมืองไทยติดยึดกรอบความคิดเดิมนี้ ดร.อมร เชื่อว่าเพราะ 1. ผู้ร่าง ผู้ใช้ และผู้ตีความรัฐธรรมนูญ ไม่มีความรู้มีแต่อวิชชา สังคมไทยโดยเฉพาะครูสอนกฎหมาย หลักสูตรกฎหมาย และนักรัฐศาสตร์ความรู้ยัง อ่อน สถานะทางวิชาการกฎหมายและรัฐศาสตร์เมืองไทยยังล้าหลัง และ 2. เมืองไทยขาดผู้นา และขาดรัฐบุรุษ 11
ที่มีสติปัญญากล้าหาญและเสียสละอย่างเดอร์โกลของฝรั่งเศสและวูดโรว วิลสัน ของอเมริกา ผมเคยขอร้อง พล.อ.เปรม พล.อ.ชาติชาย พล.อ.สุจินดา และนายอานันท์ ปันยารชุนให้เป็นผู้นาสร้างประชาธิปไตย อันมี พระมหากษัตริย์เป็นประมุขมาแล้ว ทุกคนปัดให้สภา ดร.อมรได้ไปแสดงปาฐกถาในมหาวิทยาลัยที่ วปอ. ที่ศาลปกครองสูงสุด ในที่ประชุมอธิการบดี ฯลฯ ครั้ง ล่ าสุ ดคือ การบรรยายวันที่ 18 เมษายน 2552 และบทความเรื่อง ‘คนไทยจะหาทางออกทางการเมืองได้ อย่างไร ‘วันที่ 10 พฤษภาคม 2552 ดร.อมร ได้เปรี ย บเทีย บกับ การบรรยายรายการเชื่อมั่นประเทศไทยกับนายกอภิสิ ทธิ์ ว่า มีสาระที่ แตกต่างกับความเห็นของท่านนายกรัฐมนตรีในทางตรงกันข้าม ดร.อมร ได้ยกตัวอย่างกระบวนการร่างและการปฏิรูปของนายกฯ อภิสิทธิ์ ที่เปลี่ยนไปเปลี่ยนมาจากการ ถามประชาชน ตั้ ง สถาบั น เป็ น กลาง ตั้ ง กรรมการร่ ว มของสภา ทั้ ง หมดนี้ ต รงข้ า มกั บ กระบวนการที่ เ ป็ น วิทยาศาสตร์ที่ดร.อมรนาเสนอ ดร.อมร มิได้ยกตัวอย่างที่นายกฯ อภิสิทธิ์เขียนไว้ใน ‘การเมืองไทยหลังรัฐประหาร’ ที่ยืนยัน กรอบ ความคิดเดิมเรื่องการบังคับสังกัดพรรคและกาหนด 90 วัน เพราะนายกฯ อภิสิทธิ์ก็ยังเชื่อว่า ถ้าจะไปถึงขั้น เปิดอิสระ จะทาให้สภาการเป็นตลาด ส.ส. ผมจะยังไม่ฝากความหวังไว้แม้แต่กับการเมืองใหม่ของพันธมิตรฯ ผมเองเขียนเรื่องนี้ไว้มากแล้ว และ จะเขียนโดยละเอียดสไตล์ ดร.อมร อีกสักครั้งหนึ่ง แล้วผมจึงจะสรุปว่าจะต้องพูดกับ ดร.อมร หรือไม่ว่า ‘ไว้ชาติหน้าบ่ายๆ ก็แล้วกันนะ สองคนเรา’
12
ยึดอานาจ (3) : ขายฝากชาติ ยึดอานาจยุค 3 ในอดีต อธิปไตย ไทยถูกปล้น แถมฉ้อฉล ปัจจุบัน กันไปหมด ซ้าจะบั่น เบื้องหน้า อนาคต เอาไปจด จานอง สิทธิของไทย โดย ปราโมทย์ นาครทรรพ 17 พฤษภาคม 2554 ปราโมทย์ นาครทรรพ นิวยอร์ก 24 มิถุนาน 2528 การยึดอานาจยุคที่ 3 เลวกว่ายุคที่ 2 และยุคที่ 2 เลวกว่ายุคที่ 1 หากมีการยึดแบบ 2 กับ 3 อีก จะเลวยิ่ง กว่าเดิม นักยึดยุค 2 เป็นพันธุ์ไทยแท้ๆ ไม่เคยเรียนหรือสัมผัสประชาธิปไตยในต่างประเทศ ไม่ใช่พันธุ์ผสมแบบยุค 1 ที่มีพลเรือน-ทหารบก-ทหารเรือครบ ซ้ามีนักคิดนักวิชาการแนวหน้าของตนเองเป็นผู้นา เช่น ปรีดี พนมยงค์ ยุค หลังเป็นทหารบกล้วนๆ ต้องไประดมนักวิชาการจากข้างนอกมาใช้ ได้มาทั้งคนดีและนักฉวยโอกาส ยุคที่ 3 ครั้ง 6 ตุลาคม 2519 เป็นผู้สืบสันดานมาจากยุคที่ 2 แท้ๆ เป็นอานาจนิยมตามก้นอเมริกัน หลังจาก ล้างรอยแค้น 14 ตุลา เข่นฆ่าไล่ล่านักศึกษาเข้าป่าและจัดการกับทหารทรยศแล้ว ก็กลับเข้าสู่วงจรอุบาทว์และวัฏ จักรน้าเน่าอย่างเดิม บังเอิญ พลเอกกฤษณ์ตายไปก่อน พลโทวิฑูรย์ ยะสวัสดิ์ เล่าให้ผมฟังว่า “มันจะฆ่าพี่อยู่แล้ว โชคดีครูเกรียง มาทัน” พลเอกเกรียงศักดิ์ช่วยให้หัวหน้าเทพไปลี้ภัยในญี่ปุ่นตาแหน่งผู้ดูแลนักเรียนไทย หากเราย้อนกลับไปอ่านคาแถลงการณ์ยึดอานาจทุกฉบับ ยกเว้นของคณะราษฎร คาแถลงการณ์นอกนั้น ล้วนแต่โกหก วิเคราะห์ปัญหาบ้านเมืองผิด แล้วยังทาสิ่งที่สัญญาไว้เกือบจะไม่ได้สักอย่าง คาแถลงการณ์ของจอม 13
พลสฤษดิ์เท่านั้นที่สั้นเพียง 84 คา มิได้ด่าใครหรือสัญญาอะไรเลย นอกจากจะบอกว่า “ขอให้พี่น้องประชาชน ทั้งหลายจงตั้งอยู่ในความสงบ และคอยฟังประกาศของคณะทหารต่อไป” มาตรา 17 ปรากฏโฉมใน “ธรรมนูญราชอาณาจักร” ให้อานาจสิทธิ์ขาดจอมพลสฤษดิ์ยิงเป้าคนที่เห็นว่า เป็นภัยต่อบ้านเมืองได้ มาตรา 17 กลายเป็น “ดาบนี้คืนสนอง” ยึดทรัพย์จอมพลสฤษดิ์ จอมพลถนอม และจอม พลประภาส เมื่อหมดอานาจ การยึดอานาจยุคที่ 3 ช่วงแรกมี 3 ครั้ง ทั้งๆ ที่ในตารามีเพียง 2 คือ 6 ต.ค. 2519 รัฐมนตรีกลาโหมรัฐบาล ประชาธิปัตย์ (พลเรือเอกสงัด ชลออยู่) ยึดอานาจจากรัฐบาลตนเอง พลเอกเปรมและยังเติร์ก จปร.7 เข้าร่วมเป็น ครั้งแรก ครั้งที่ 2 มี 2 ครั้งในวันเดียวกัน คือ 20 ต.ค. 2520 อุปโลกน์พลเรือเอกสงัด เป็นผู้นาอีก แต่ยังไม่ทัน ข้ามคืนก็โดนยังเติร์ก จปร.7 ใช้ปืนจี้ ยกตาแหน่งนายกฯ ให้พลเอกเกรียงศักดิ์ และ 28 ก.พ. 2523 จปร.7 จี้พล เอกเกรียงศักดิ์ออก ให้พลเอกเปรมขึ้นเป็นนายกฯ ในสภา 3 วันต่อมา 3 มีนาคม ช่วงที่ 2 รสช. พลเอกสุจินดา คราประยูร ผบ.ทบ. 26 ก.พ. 2534 เชิดพลเอกสุนทร คงสมพงษ์ เป็นหัวหน้า และครั้งล่าสุด 19 ก.ย. 2549 คมช. พลเอกสนธิ บุญยรัตกลิน ผบ.ทบ.ไล่รัฐบาลเผด็จการเลือกตั้งครบวงจรของ พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร การยึดอานาจและครองอานาจ มีบทแทรกหรือรัฐบาลสลับฉากต่างรูปแบบ เหตุการณ์ 14 ตุลาคม 2516 นิสิตนักศึกษาชุมนุมเรียกร้องรัฐธรรมนูญขับไล่รัฐบาล มิใช่ยึดอานาจ แต่เกิดช่องว่าง ทรงโปรดเกล้าฯ นายกรัฐมนตรีอาจารย์สัญญา สมัชชาสนามม้าและสภานิติบัญญัติ สองพี่น้อง คือ ม.ร.ว.เสนีย์ กับ ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช (ต.ค. 2516-ต.ค. 2519) ขับเคี่ยวกันเป็นรัฐบาล เลือกตั้ง หลงว่าเป็นประชาธิปไตยเต็มไป แต่ไม่ใช่ เป็นยุคที่เริ่มต่อรองโควตารัฐมนตรีโดยสัดส่วนเก้าอี้ผู้แทน แต่ อานาจเผด็จการทหารยังครอบรัฐและชีวิตคนไทยอยู่ ทหารพังบ้านนายกรัฐมนตรี นักการเมืองฝ่ายซ้าย เช่น ดร. บุญสนอง บุณโยทยาน ผู้นาแรงงาน ชาวนา และนักศึกษาถูกลอบสังหาร รัฐบาลไม่สามารถบังคับใช้กฎหมาย รัฐบาลธานินทร์ กรัยวิเชียร (8 ต.ค. 2519 - 20 ต.ค. 2520) และอานันท์ ปันยารชุน (2 มี.ค. 2534 - 7 เม.ย. 2535 กับ 10 มิ.ย. 2535 - 23 ก.ย. 2535) ก็คล้ายๆ พระยามโนปกรณ์ฯ ในยุคที่ 1 และนายควง อภัยวงศ์ (10 พ.ย. 2490 - 8 เม.ย. 2491) กับนายพจน์ สารสิน (21 ก.ย. 2500 - 1 ม.ค. 2501) ยุคที่ 2 และ 3 ความ แตกต่างในความเหมือนล้วนถูกอุปโลกน์ โดยทหารจะบีบก็ตาย จะคลายก็รอด เขาไล่เมื่อไรก็ต้องไป ข้อยกเว้นคือ รัฐบาลขิงแก่ พลเอกสุรยุทธ์ จุลานนท์ ยุค คมช.
14
นายกฯ อุปโลกน์เหล่านี้ สุจริตและเก่งแค่ไหน ก็เป็นเครื่องมือให้โครงสร้างและวัฒนธรรมการเมืองอานาจ นิยมแบบสมประโยชน์กับชนชั้นนา เกิดวงจรอุบาทว์ (ยึดอานาจ) และวัฏจักรน้าเน่า (ซื้อเลือกตั้ง) เคียงคู่หรือ สลับกันไปมาจนหยั่งรากลึกและสืบทอดกันมาถึงปัจจุบันเป็นเวลา 61 ปี (26 ปี+35 ปี) ที่ว่า “เอาไปจดจานองสิทธิของไทย” ไม่ใช่เสียแล้ว ที่ถูกคือขายฝาก เมื่อนายทุนผูกขาดอานาจซื้อเลือกตั้ง มากุมอานาจรัฐด้วยทุนครั้งละหลายหมื่นล้าน เพื่อคืนทุนตุนกาไรจากเมกะโปรเจกต์เป็นแสนๆ ล้าน การเลือกตั้ง เป็นเพียงหุ่นเชิดของประชาธิปไตย ตาราสรุปว่าไทยยึดอานาจสาเร็จ 10 ครั้ง ครัง้ สุดท้าย คือ คมช. 9 กันยายน 2549 ผมว่าไม่ถูก ควรนับ เฉพาะยึดอานาจที่อานาจรัฐเปลี่ยนมือเท่านั้น ไม่ควรนับการยึดอานาจจากลูกไล่ของทหาร เช่น นายควง และ นายธานินทร์ กับการยึดอานาจจากตนเองตอนจอมพล ป.พิบูลสงครามกับผิน และสฤษดิ์-ถนอมอีก 3 ครั้ง 30 พ.ย. 2514 ดร.ป๋วย อึ๊งภากรณ์ เขียนจดหมายเล่าการปฏิวัติหลอกๆ ของสฤษดิ์-ถนอม “เกี่ยวกับการ “ปฏิวัติ” นั้น คาว่า ปฏิวัติ ทั้งคราวก่อนและคราวนี้ เป็นการหมิ่นประมาทพวก Revolutionaries จริงๆ ตั้งแต่ French Revolution ลงมาถึง Che Quevera เพราะเป็นเรื่องที่คนมีอานาจแล้ว รวบอานาจหมดเอาเอง ไม่ต้องผจญภัยอะไรเลย มองอีกแง่หนึ่งก็มหาโจร บ่นว่าโจรเล็กๆ น้อยๆ กวนใจเลยทา เสียให้เข็ด” แต่ ส. ศิวรักษ์ ใน “ปริทัศน์รัฐไทย” เห็นว่าการเลือกตั้ง “กึ่งดิบกึ่งดี” “ก็ยังดีกว่าเผด็จการ ไม่ว่าจะใน รูปแบบ รสช.อันมีสุจินดา คราประยูร เป็นตัวหลัก หรือในแบบรัฐประหารอันมี ผิน ชุณหะวัณ เป็นตัวชูโรง ที่สุด จนในแบบปฏิวัติ ซึ่งมี สฤษดิ์ ธนะรัชต์ เป็นวีรบุรุษที่มอมเมาคนไทยได้อีกมิใช่น้อย มิไยต้องเอ่ยถึงการเมือง การ ปฏิรูปของธานินทร์ กรัยวิเชียร หรือประชาธิปไตยครึ่งใบในแบบอภิชนจอมปลอมอย่างเปรม ติณสูลานนท์” แท้จริง ประชาธิปไตยครึ่งใบเกิดก่อนยุคเปรม คือยุคที่ ม.ร.ว.เสนีย์ ปราโมช นิยามเผด็จการที่ยึดอานาจ เอาดื้อๆ ในยุค 2 แล้วก็จัดให้มีการเลือกตั้งเอา ส.ส.เข้ามารองบ่อน ตั้งพรรคของตนเองเอาไว้กวาดต้อนข้าทาส ต่างกันกับพลเอกเปรม ซึ่งใช้กองทัพเป็นฐานอานาจวางตัวอยู่เหนือการเมือง ไม่มีพรรคของตนเอง ปล่อยให้ พรรคเลือกตั้งแข่งขันกันเข้ามา แล้วก็จัดสรรปันตาแหน่งและแบ่งขั้วให้เสร็จสรรพ ตามสมการอานาจของตน การ ซื้อเสียงเลือกตั้งอย่างเป็นระบบโดยพรรคจึงเกิดขึ้นในยุคนี้ เมื่ออานาจขาดสมดุลและอยู่นานเกินไป รัฐบาลพลเอกเปรมจึงเป็นรัฐบาลที่ยุบสภามากที่สุดและมีการก่อ กบฏมากที่สุด รวมทั้งกบฏยังเติร์กซึ่งเป็นผู้นาพลเอกเปรมขึ้นสู่อานาจโดยตรง 15
รายนามคณะรัฐมนตรี คึกฤทธิ์-เปรม-ทักษิณ และชุดปัจจุบัน จึงเต็มไปด้วยนักการเมืองพันธุ์ใหม่พวก เดียวกัน คือ พ่อค้าใหญ่น้อยทั้งระดับท้องถิ่นและระดับชาติ ปฏิสนธิในครรภ์รัฐบาลคึกฤทธิ์และเติบใหญ่เป็น หนุ่มฉกรรจ์ในยุคพลเอกเปรม ตัวอย่างต้นตระกูลและผู้สืบสันดานรวมทั้ง ร.ต.ท.ทักษิณ หน้าห้องของปรีดา พัฒนถาบุตร รมต.ประจา สานักนายกรัฐมนตรีของรัฐบาลคึกฤทธิ์ มีบิดาของจาตุรนต์ ฉายแสง พงศ์เทพ เทพกาญจนา ปองพล อดิเรกสาร ประวิทย์ รัตนเพียร สรอรรถ กลิ่นประทุม และบิดาการเมืองของ มั่น พัธโนทัย คือ วัฒนา อัศวเหม รวมอยู่ใน ครม. เดียวกันครบครัน ส่วนบรรหาร ศิลปอาชา วีระ มุสิกพงศ์ มนตรี พงษ์พานิช ล้วนแต่มีโยงใยสัมพันธ์เกิดและโตในยุคเปรม ทั้งสิ้น ศ.ดร.อมร จันทรสมบูรณ์ สรุปว่า กฎหมายบังคับ ส.ส.สังกัดพรรค และกาหนดให้นายกรัฐมนตรีมาจาก ส.ส. ทาให้เกิดเผด็จการทุนนิยมผูกขาดยากที่จะแก้ได้ เพราะ 1. ส.ส.ที่ไหนจะมาแก้ทาลายประโยชน์ตนเอง 2. นัก กฎหมายและนักรัฐศาสตร์เมืองไทยยังโง่ สังคมไทยจึงถูกอวิชชาครอบงา 3. เมืองไทยไม่มี statesman ที่จะนา การปฏิรูป จึงยังมองไม่เห็นทางที่จะเป็นประชาธิปไตย ดร.อมรหลีกเลี่ยงไม่แปล statesman เป็นไทยเพราะไม่ อยากพาดพิงพลเอกเปรม ยึดอานาจ 2 ครั้งหลัง คือ รสช.กับ คมช. นายทุนกลับเข้มแข็งขึ้น ระบบ “กงจักร-กวนน้าเน่า” เบ่งบาน เพราะลาพังทหารไม่สามารถทานปัญญากับอามิสของทักษิณได้ แม้แต่รุ่นอภิสิทธิ์ ทหารยังตบแถวขอพึ่งใบบุญ นายทุนการเมืองมากขึ้น กองทัพไทยมิใช่กองทัพโปรตุเกส หรือตุรกีที่มีปัญญากล้าหาญ เมื่อนักการเมืองปล้นประชาธิปไตยไปได้ กองทัพก็กล้าที่จะยึดอานาจนาประชาธิปไตยมาคืนให้ประชาชน ยกเว้นครั้งแรก การยึดอานาจของไทยล้วนแต่สร้างเปรตให้กองทัพและระบอบการเมืองทั้งสิ้น (ต่อฉบับหน้า)
16
ยาพิษ Sunday, June 28, 2015
Anti-Thaksin Activist? ผมรักอเมริกา
17
แม้เมื่อ 23 มิ.ย.ที่ผ่านมา นายดับเบิลยู. แพทริก เมอร์ฟี อุปทูตรักษาการเอกอัครราชทูตสหรัฐอเมริกา จะ เดินทางไปมอบบัตรเชิญใหม่ให้แก่ ศ.ดร.ปราโมทย์ นาครทรรพ นักรัฐศาสตร์และนักวิชาการอิสระชื่อดัง เพื่อให้ เข้าร่วมงานฉลองครบรอบ 239 ปีแห่งการประกาศอิสรภาพของสหรัฐอเมริกา ที่จัดขึ้นในวันที่ 2 กรกฎาคมนี้ ที่ โรงแรมแกรนด์ ไฮแอท เอราวัณ หลังเกิดข้อผิดพลาดขึ้นเพราะบัตรเชิญครั้งแรกมีการใส่ตาแหน่ง ดร.ปราโมทย์ ว่าเป็น "Anti-Thaksin Activist" หรือนักเคลื่อนไหวต่อต้านทักษิณ แต่ ดร.ปราโมทย์ก็ยืนกรานว่า แม้สถานทูตสหรัฐจะมีการมาเชิญให้ไปร่วมงาน และมีการขอโทษแล้วถึงความ ผิดพลาดที่เกิดขึ้น แต่ก็ขอยืนยันว่า “ผมจะไม่ไปร่วมงานดังกล่าวแน่นอน ผมไม่ไป” “ดร.ปราโมทย์” ยังได้เล่าถึงเนื้อหาการพูดคุยกับแพทริก เมอร์ฟี ในวันดังกล่าวว่า เขาก็มาขอโทษผม ก็มาขอเจอ แล้วก็ยื่นบัตรเชิญใบใหม่ให้ ซึ่งเป็นบัตรที่เขียนชื่อโดดๆ แล้วเขาก็ขอให้ผมไปร่วมงาน โดยบอกว่าเป็นเรื่องของ ความผิดพลาดในการจัดพิมพ์ “ผมก็บอกเขาไปว่าความผิดพลาดที่เกิดจากเจ้าหน้าที่ หรือเสมียน ผมก็ไม่ว่าเขา หรือจะเป็นความผิดพลาดของ คนที่รบั คาสั่งมาจากคนระดับสูง ผมก็ไม่ว่า แต่ที่เป็นแนวคิดเพื่อให้เกิด Database ขึ้นมา แล้วก็มาแยกคนไทยให้ เป็นคนส่วนต่างๆ เป็นเรื่องที่ผิด เป็นเรื่องที่ให้อภัยไม่ได้” ผมรักประเทศสหรัฐอเมริกา ผมรักคนอเมริกัน แต่ผมไม่ไว้ใจรัฐบาลสหรัฐ และผมว่ารัฐบาลสหรัฐและกระทรวง การต่างประเทศของสหรัฐตอนนี้ไว้ใจไม่ได้ เพราะมีกิจกรรมที่ทาให้คนไทยแตกแยกกัน ตัวเองมาบอกว่าไม่ได้ถือ ฝักถือฝ่าย แต่ตัวเองจริงๆ แล้วกลับถือฝักถือฝ่าย ผมก็บอกเขาไปว่าแบบนี้ขอให้เลิกเสีย ผมบอกไปแบบนี้ เขาก็ตอบมาว่า มันไม่ใช่ ยูเข้าใจผิด แต่ผมก็แย้งไปว่าผมรู้การเมืองสหรัฐดี สอนคนสหรัฐมาได้แล้วเยอะ เขาก็ฟัง แล้วผมก็บอกเขาด้วยว่า ประเทศยู พอเห็นคาว่า Coup d'etat แล้วก็ไปเห็นภาพการปฏิวัติแบบที่อื่นๆ คาว่า Coup d'etat ผมก็บอกเขาว่า ประเทศยูยากจนคาพูดเอง คาว่า Coup d'etat ของประเทศไทย ลูกปืนนัดเดียวก็ ไม่ได้ยิง เลือกตั้งหัวคะแนนฆ่ากันตายมากกว่านี้หลายเท่า ยูรู้หรือเปล่า แล้วบอกไปอีกว่า อย่างในยุโรปที่โปรตุเกส ถ้าไม่มีการไล่รัฐบาลพลเรือน ป่านนี้ยุโรปไม่ได้เป็นประชาธิปไตยแล้ว ตอนนั้นมีการไล่รัฐบาลพลเรือนออกไป เพราะรัฐบาลพลเรือนถือโอกาสเป็นเผด็จการ แล้วทาไมไม่ไปต่อว่า โปรตุเกส ถ้าตอนนั้นทหารในโปรตุเกสไม่ทา ป่านนี้ยุโรปก็เป็นประชาธิปไตยไม่ได้ แล้วยุโรปกับสหรัฐจะมาเสือ กว่าเมืองไทยได้ยังไง ผมก็พูดตรงไปแบบนี้
18
“ดร.ปราโมทย์” ย้าว่า แม้เขาจะวิพากษ์วิจารณ์สหรัฐแบบแรงๆ เช่นนี้ แต่ยืนยันว่าตัวเอง Pro-American อย่าง ที่เคยบอกไว้จริงๆ ด้วยเหตุผลดังนี้ “ผม Pro-American จริงๆ ผมว่าสหรัฐ ประชาชนดีที่สุด เป็นคนที่หนีการข่มเหงกดขี่ไป ไปหาโอกาสในชีวิต แล้ว ก็เห็นใจคนที่ไปที่นั่นด้วย แล้วมันดี คือมีวิธีการดูแลกันเองสาหรับประชาชนด้วยกันเอง แล้วรัฐบาลท้องถิ่นก็ดี เช่น ให้การศึกษาฟรีตั้งแต่เลยอนุบาลมาจนถึง ม.6 ก็ฟรี ดูแลคนกันดี แต่รัฐบาลกลางมันไม่ดี นโยบายต่างประเทศมันไม่ดี มันไปเอาเปรียบคนอื่นเขา ไปเจ้ากี้เจ้าการ ถามว่าเรื่องนี้ผม ไม่รู้หรือ ทาไมผมจะไม่รู้ ผมอยู่สหรัฐมานาน” เมื่อผมรู้ ผมก็บอกเขาไปว่า รัฐบาลของยู ไอไม่ไว้วางใจ ผมก็อยากให้คนไทยกับคนสหรัฐที่เป็นมิตรกันมา 180 ปี แล้ว ไออยากให้ดีกันต่อไป ไม่มีประเทศในโลกที่ดีต่ออเมริกาเท่ากับไทย ผมว่าดีจนเกินไป จนวันหนึ่งเขาอาจเห็น ว่าจะเอายังไงก็ได้ แต่อเมริกาเขาก็ดี เขาทาผิด เขาก็ขอโทษ ไม่อาย เขาถึงเป็นประชาธิปไตยได้มากกว่าเรา “ผมชอบอเมริกา ผมบอกถ้าชาตินี้เมืองไทยเป็นประชาธิปไตยไม่สาเร็จ ผมจนตายแล้ว ผมหนีไปอเมริกาดีกว่า สบายใจกว่า” ส่วนนโยบายต่างประเทศของสหรัฐ จะเห็นได้ว่าเขาก็แทรกแซงประเทศอื่นตลอด จริงๆ แล้วเขาไม่มีสิทธิ์ที่จะมา แอนตี้รัฐบาล คสช. เป็นความโง่ของรัฐบาลอเมริกาที่จะมาทาลายมิตร 180 ปี เพื่อประโยชน์ต่างๆ แล้วก็อ้าง ประชาธิปไตย หรือเพื่อทักษิณบ้าง เป็นความโง่ของอเมริกา ถ้าจะเดินแบบนี้ต่อไป เขาก็จะแย่ ผมยังบอกอุปทูตสหรัฐเลยว่า ถ้าสมมุติผมเป็นรัฐบาล ผมไม่ส่งทูตไทยไปสหรัฐหรอก แล้วสหรัฐก็ไม่ต้องส่งทูต สหรัฐมาไทยหรอก ผมบอกเขาไปแบบนี้เลย แต่ของเราหงอไป คนที่เป็นทูตอวดอยากไปสหรัฐ ไม่เห็นต้องอยาก ไป เราไม่รู้จักวางตัวของเราอย่างมีศักดิ์ศรี “ดร.ปราโมทย์” ยังแนะนารัฐบาลในเรื่องนโยบายต่างประเทศของไทยต่อสหรัฐด้วยว่า สมมุติสหรัฐไม่เชิญนายก ฯ ของไทยไปสหรัฐ เพราะอ้างว่ามาจากรัฐประหาร มันเป็นเรื่องที่รับฟังไม่ได้ แล้วถ้าผมเป็นหัวหน้ารัฐบาล ผมจะ ไม่ให้รัฐมนตรีหรือข้าราชการคนไหนไปสักคน “ในเมื่อมาอยู่บ้านเราแล้วไม่เคารพกติกาบ้านเรา แล้วจะมาอยู่ทาไม แต่ของเราขาดความเคารพตัวเองและขาด การยืนหยัด” ที่ผ่านมาการทูตของไทยตกต่าลงไปมาก เพราะทักษิณ ชินวัตร ไปครอบงา เอาคนของตัวเองมา เอาเด็กมาข้าม หัวผู้ใหญ่ ใครไม่เอาใจก็หาทางกลั่นแกล้งทั้งทางตรงและทางอ้อม 19
ทูตเก่งๆ อย่างพี่ชาย กิตติรัตน์ ณ ระนอง (กิตติพงษ์ ณ ระนอง) อยู่สหรัฐ 1 ปี แล้วมีปัญหาก็ไปย้ายเขามาอยู่ เกาหลี แล้วย้ายไปลิเบีย สหรัฐแอนตี้ไทย โดยธรรมชาติของเขา ทักษิณมาฉวยโอกาส แต่เป็นปัจจัยรอง ไม่ใช่ ปัจจัยหลัก ปัจจัยหลักคือนโยบายต่างประเทศสหรัฐมันผิด ปัจจัยรองคือทักษิณฉวยใช้ไปจ้างล็อบบี้แล้วก็เลยไป กันใหญ่ แล้วก็ไทยเราไม่เอาจริง ก็ไปเกรงใจทักษิณ เพราะเคยเป็นลูกน้อง ก็เลยขยักขย่อนกัน ถ้าลองวันพรุ่งนี้พลเอกประยุทธ์บอกว่า ใครทาผิดกฎหมาย ศาลตัดสินแล้วให้ไปไล่จับทั้งนั้น มันก็จะแตกต่าง แล้ว คนก็จะเฮ ตอนนี้สหรัฐก็คอยพวกแบบทักษิณ เพราะชอบใจพวกแบบนี้ เว้นแต่ว่าทางสหรัฐการเมืองเขาจะ เปลี่ยน คือพรรครีพับลิกันขึ้นมาเป็นรัฐบาล ถามถึงว่ากรณีที่เกิดขึ้นกับบัตรเชิญดังกล่าว แสดงให้เห็นว่าสถานทูตสหรัฐมีการประมวลติดตามข่าวในประเทศ แล้วจัดกลุ่มคนเป็นคนกลุ่มต่างๆ “ดร.ปราโมทย์” ที่ถูกระบุในบัตรเชิญตอนแรกว่าเป็น Anti-Thaksin Activist ย้าเลยว่า ก็ใช่ คือวิธีคิดและระบบของเขาเป็นแบบนี้ มีการจัดกลุ่ม “ซึ่งไม่ใช่เรื่องปกติ สหรัฐมันเพี้ยน ประเทศอื่นเขาไม่ทา เขาเพี้ยน รัฐบาลสหรัฐยุคอื่นเขาก็ไม่ทากัน ต้องเขก กระบาล แต่ก็อย่างที่บอก ของเขาดี คือถ้าเรารู้ทัน เขาก็ยอมแก้ไข แต่เราก็ต้องทาตัวให้เขานับถือ อย่าให้เขา หัวเราะเยาะ เราต้องเป็นตัวของตัวเอง” ส่วนเรื่องที่ถกู บางฝ่ายมองว่าเป็นพวกต่อต้านระบอบทักษิณ “ดร.ปราโมทย์” แจงว่า ที่ผ่านมาได้เขียนบทความ อะไรต่างๆ ที่มีเนื้อหาว่าคณะ คมช.มากกว่าว่าทักษิณเยอะเลย แล้วตอนเขียนบทความ ผมก็แผ่เมตตาให้ทักษิณ ตลอด ผมบอกทักษิณตลอดว่าให้ลาออกเสีย ให้ลูกน้องขึ้นมาเป็นนายกฯ แก้ไขปัญหาเสีย อย่าทาในสิ่งที่คนเขา ว่า แล้วคุณก็จะอยู่ได้ เพราะเขาเป็นรัฐบาลที่มีเสียงข้างมาก เมื่อมีโอกาสก็ทาในสิ่งที่รัฐบาลอื่นที่ไม่มีเสียงขนาด เขาก็ต้องทา ...ผมไม่ได้ดูว่าคนนี้มันเลวเพราะมันชื่อนี้ แต่ดูที่การกระทา หากเห็นว่าไม่ถูก ผมก็วิเคราะห์การกระทา ผมเป็นคน ทีเ่ สื้อแดงเชิญไปพูด ผมก็ไป เสื้อเหลืองชวนไปพูด ผมก็ไปพูด แต่ผมไปพูดกับเสื้อเหลืองบ่อย เพราะเขาเชิญผม บ่อย แต่ถามว่าผมตาหนิเครือผู้จัดการไหม ผมก็ตาหนิ ผมตาหนิเยอะแยะ มีเป็นลายลักษณ์อักษร คุณไปหาอ่าน ได้ ถ้าผมเห็นว่าเขาทาผิด ขณะเดียวกันกับทักษิณ อันไหนเขาทาดี ผมก็บอกว่าเขาทาดี แต่อันไหนไม่ดีถึงขั้นจะเป็นอันตรายต่อประเทศชาติ ผมก็ต้องบอกว่าไม่ดี ยืนยันว่าผมไม่เคยได้เจอทักษิณอย่างที่มีการเขียนข้อมูลในอินเทอร์เน็ตกัน ถ้าคุณไปอ่านใน Google จะเห็นว่า บิดาของทักษิณและบิดาของอดีตภรรยาเขา (คุณหญิงพจมาน ณ ป้อมเพชร) เขาซูฮกผมทั้งสองคน 20
แล้วลูกพี่ทักษิณ ที่ปรึกษาทักษิณอย่าง ปรีดา พัฒนถาบุตร (อดีต รมต.สานักนายกรัฐมนตรี ที่ พ.ต.ท.ทักษิณเคย เป็นนายตารวจติดตาม) เขาก็เคยมาหาผม เขามาคุยกับผมว่า ทายังไงจะช่วยให้ทักษิณได้เป็นนายกฯ ได้ ผมก็ บอกว่าเออดี ก็ให้ไปตั้งใจทา แต่ผมก็ไม่ได้ไปเชียร์อะไรเขา ผมก็บอกเขาไปว่า ให้ไปบอกทักษิณว่าให้มาบอกผม ว่าอะไรคือปัญหาสาคัญที่สุดของเมืองไทย แล้วผมก็เห็นตอน นั้นว่าปัญหาที่สาคัญของเมืองไทยคือผู้มีอานาจทาลายกฎหมายและคอร์รัปชัน คุณจะแก้สองเรื่องนี้อย่างไร ขอให้ มาบอกผมด้วย ผมก็ฝากบอกปรีดาไป แล้วจากนั้นเขาก็หายไปเลย ทุกวันนี้ผมก็ยังแผ่เมตตาให้ทักษิณ แต่เขาต้อง กลับตัวกลับใจ ทาผิดก็ต้องยอมรับผิด “นักวิชาการอิสระ” ผู้นี้ยังวิเคราะห์ด้วยว่า หลังการเลือกตั้งที่จะมีขึ้นยังไง ระบอบทักษิณก็จะกลับมาอีกครั้ง 100 เปอร์เซ็นต์ เพราะว่ามันหยั่งราก คือคนที่แม้ไม่ใช่ทักษิณ แต่เขาคิดและทา คือพอมีอานาจแล้วโกง มันแผ่ซ่านไป ทั่วประเทศถึงระดับท้องถิ่น เช่น อบต. อบจ. ในระบบราชการ สิ่งนี้คือสิ่งท้าทายที่ คสช.ต้องแก้ไข ซึ่งต้องใช้เวลา ระบอบทักษิณคือคอร์รัปชัน ใช้อานาจทาลายกฎหมาย ใครก็ ตามที่ทาแบบนี้ ต้องมีการป้องกัน มันก็ต้องแก้ อย่างระบบราชการก็ต้องทาให้มีใจเป็นกลาง ไม่ใช่ไปเป็นขี้ข้า ทักษิณ ไม่ใช่ปล่อยให้คนของทักษิณยังกิน ยังฮั้ว เก็บเงินได้ ยังได้ตาแหน่ง ยังใช้วิธีที่ผิดอยู่ มันต้องใช้เวลามาก ต้องแก้ ไม่แก้ไม่ได้ ให้เขาต้องเป็นกลาง ไม่ใช่ว่าได้ตาแหน่งวันนี้เพราะพี่ให้ อย่าให้เกิดการ แทรกแซงอะไรกัน หลายอย่างพลเอกประยุทธ์ต้องทาให้ไหว ต้องแก้ คนถึงจะรู้ว่าเข้ามาเพราะบังเอิญ หรือหาก บังเอิญมาก็ต้องอยู่แก้ไขให้ได้ เมื่อถามว่า แต่ดูเหมือน 1 ปีที่ผ่านมา พลเอกประยุทธ์ไม่อยากไปยุ่งอะไรเกี่ยวกับระบอบทักษิณ “ดร.ปราโมทย์” ให้มุมมองว่า เขาอาจมีการกาหนดความสาคัญของวาระการทางาน ว่าเรื่องไหนสาคัญมากน้อย คือถ้าเราเชื่อว่า เขามาด้วยดี เราก็ต้องช่วยให้เขาอยู่ได้ดีเสียก่อน เพราะอย่างน้อยก็ยังดีกว่าที่เราเคยเห็น ...เราก็ต้องช่วยเขา แต่ไม่ใช่ว่าเราบูชาเผด็จการ ถ้าเป็นเผด็จการเมื่อไหร่ ผมหนีเลย คือต้องอยู่ให้ดี ทาให้ ประชาชนมีความสุข ทาเสร็จเรียบร้อยแล้วก็ไป อย่าให้เขาไล่ให้ไป แต่ก็อย่าเปิดตูดไปแล้วทิ้งปัญหาไว้ ไหนๆ ก็ ทาแล้ว...... ร่าง รธน.อาบยาพิษ คงจะนองเลือด ฆ่ากันตาย
21
ด้วยความที่อยู่ในแวดวงการเมืองมานานหลายสิบปี มีประสบการณ์การเมืองโดยตรงมาหลายครั้ง วิพากษ์วิจารณ์ การเมืองมาหลายยุคหลายสมัย รวมถึงเคยมีประสบการณ์การร่าง รธน.มาแล้วตอนเป็นสมาชิกสภาร่าง รัฐธรรมนูญปี 2517 ทาให้เมื่อครั้งที่ศูนย์ปรองดองสมานฉันท์เพื่อการปฏิรูป (ศปป.) ของ คสช. เชิญบุคคลจากหลายฝ่ายไปสนทนา เรื่องการเมืองและร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ เมื่อ 3 มิ.ย.ที่ผ่านมา ที่สโมสรทหารบก ซึ่งมีระดับแกนนาหลายฝ่ายไป ร่วมในวันดังกล่าว ตัว “ดร.ปราโมทย์” จึงมีชื่อได้รับเชิญจาก ศปป.ด้วย เพื่อไปให้ข้อคิดเห็นเรื่องการเมืองและ รัฐธรรมนูญ ความเห็น “ดร.ปราโมทย์” ถึงการร่าง รธน.ฉบับใหม่ในเวลานี้ เขามองว่า ผู้ยกร่าง รธน.ฉบับใหม่ยังคงใช้ แนวความคิดและกระบวนการเขียนแบบฝรั่งเศส ซึ่งเป็นแบบฝรั่งเศสโบราณ ไม่ใช่ฝรั่งเศสแบบล่าสุดที่เขียนสมัย ชาร์ล เดอ โกล ที่มีเจตจานงการเมืองต้องการล้างปัญหาเก่าของฝรั่งเศส เช่น การแก่งแย่งกัน การทะเลาะ กัน ตอนนี้ผู้ร่าง รธน. กาลังเขียนแบบ รธน.ฝรั่งเศสแบบเก่าที่ยอกย้อน ยืดยาว รธน.ไทยทุกฉบับยึดแบบการร่างมาจากการเขียน รธน.ฝรั่งเศสแบบโบราณที่ใช้ไม่ได้ เขียนเพียงเพื่อแก้ปัญหา การเมืองหรือปัญหาขององค์กรต่างๆ ในช่วงนั้นๆ ที่ต่อไปก็จะกลายเป็นอดีต เพราะเมื่อเวลาเปลี่ยนแปลงไปก็ใช้ ไม่ได้ ผมเคยเป็นกรรมการร่วมร่าง รธน.เมื่อช่วง 2516 พยายามจะให้เดินหนีการเขียนแบบฝรั่งเศส แต่ก็ทาไม่ได้ ซึ่ง รูปแบบการเขียน รธน.ของไทยเอาแบบฝรั่งเศสมาตั้งแต่ปี 2475 เพราะผู้นาของเราจบจากฝรั่งเศสมา ก็เลยเอา อย่างฝรั่งเศส ที่เขียนแบบยาว รธน.ที่ดีไม่ต้องยาว และไม่จาเป็นต้องใช้คนเขียนมาก เพราะ รธน.ดีๆ เขียนโดย คนน้อยคนและเขียนสั้นๆ รธน.ฉบับแรกที่เป็น รธน.ที่เป็นฉบับเขียน คือของสหรัฐ เขียนมา 228 ปีมาแล้ว มี 7 มาตรา แม้ใช้คนเขียนกว่า 50 คน แต่คนเขียนจริงๆ มีไม่กี่คน ประเทศไทยเวลาจะมีการเขียน รธน.แต่ละครั้ง ก็เขียนแบบยอกย้อน ยุ่งเหยิง ยืดยาว เหมือนที่ยุ่งเหยิงกันอยู่ ตอนนี้ จนทุกคนวิตกกันว่าประเทศไทยจะไปทางไหน จะมีปฏิวัติซ้อนไหม พลเอกประยุทธ์จะอยู่ต่อไปอย่างไร ร่าง รธน.จะผ่านไหม ซึ่งเป็นเรื่องเหลวไหลทั้งนั้น เพราะ รธน.ที่เรียกกันว่า รธน.มันมาจากที่เขาเรียกกันว่า "แมก นา คาร์ตา" ที่มีการฉลองครบรอบ 800 ปีไปเมื่อเร็วๆ นี้ อันนี้คือรากฐานของประชาธิปไตย ที่เป็นการต่อสู้กัน ระหว่างสามัญชนกับสถาบันปกครองหรือรัฐบาลสมัยนั้น ในสมัยนั้น "แมกนา คาร์ตา" ก็เลยออกมาเพื่อประกาศ ว่า แท้ที่จริงแล้วรัฐธรรมนูญประชาธิปไตยคือ 1.ประชาชนมีสิทธิเสรีภาพยิ่งใหญ่ เป็นการรับรองสิทธิเสรีภาพ ประชาชนที่เป็นหลักของ รธน. 2.รัฐบาลต้องอยู่ในอานาจที่จากัด จนเป็นภูมิหลังพัฒนาประชาธิปไตยมาเรื่อยๆ แต่ที่เรียกว่า รธน.ฉบับแรกคือของสหรัฐ ที่เรียกว่า constitution และฉบับที่ 2 ของฝรั่งเศส 22
“ของไทยเรา ต้นตระกูล รธน.เป็นนักเรียนฝรั่งเศส ก็เลยเขียนแบบฝรั่งเศส ยึดถือแนวทางนี้กันมา ก็เลยยุ่งเหยิง กันมาตลอด แล้วเขียนกันแบบกลัดกระดุมเม็ดแรกก็ผิดแล้ว เพราะแทนที่จะยึดหลักแบบ "แมกนา คาร์ตา" คือให้ประชาชนมี ส่วนร่วม และจากัดอานาจรัฐบาล แต่กลับไปสารองอานาจให้รัฐบาล” เห็นได้จากที่มักเขียนว่า ทั้งนี้แล้วแต่ตามที่กฎหมายบัญญัติ ที่เป็นการสงวนอานาจรัฐบาล แต่ไปจากัดเสรีภาพ ประชาชน อีกทั้งไปกีดกันอานาจของสถาบันกษัตริย์และประชาชน พวกที่มีอานาจปกครองแล้วยึดอานาจการ ปกครองไว้ แล้วใช้รัฐธรรมนูญเป็นเครื่องมือ ทาให้ที่ผ่านมารัฐธรรมนูญก็เป็นแค่เครื่องมือต่อสู้กันเพื่อเพิ่มอานาจ แล้วหลอกประชาชนว่า รธน.คือกฎหมายสูงสุดของแผ่นดิน ถ้าไม่มี รธน.แล้วจะปกครองไม่ได้ “ไปเขียนรัฐธรรมนูญผิดๆ ถูกๆ โดยเขียนแบบเอาเรื่องอดีตมาทานายเรื่องของอนาคต มันก็เลยมั่ว กลายเป็นยา พิษ นักวิชาการ นักกฎหมาย ใส่ยาพิษลงไปในรัฐธรรมนูญตามความต้องการของผู้มีอานาจทางการเมือง ประเทศ ก็เลยกินยาพิษตลอด ถ้ามันรุนแรงก็ฆ่ากันตาย เหมือน รธน.ในอดีต เช่น รธน.ปี 34 ปี 35 ปี 40 และ 50 ที่ก็ เขียนโดยคณะนี้แหละที่เคยเป็นแกนในตอนนั้น” ผมเคยเขียนเตือนไว้แล้วตอนร่าง รธน.เมื่อช่วงปี 2534-2535 ช่วงคณะ รสช. ว่าอย่าเขียน รธน.นองเลือด เคย เตือนไว้ว่าเลือกตั้งเมื่อไหร่จะฆ่ากันตาย แต่ก็ไม่เชื่อผม ห้ามแล้วไม่ฟัง ก็เลยเกิดปัญหาตามมาในปี 35 ตอนนี้มันก็ จะกลับไปเป็นแบบเก่า เพราะคนเขียนก็ชุดเก่า ถามความเห็นต่อร่างแรกของ รธน.ฉบับใหม่ที่เสร็จออกมาแล้วคิดอย่างไร "ดร.ปราโมทย์" กล่าวว่า ผมก็ไม่อยาก เสียเวลาไปดูเลยเพราะรู้ว่ามันผิด ข้อผิดพลาดมันมีมากมายเหลือคณานับ เช่นเขียนยืดยาว เยิ่นเย้อ ยอกย้อน เขียนแบบมากด้วยคาจากัดความ คือการเขียนถ้ายึดหลักฝรั่งเศสมันผิดทั้งเล่ม เพราะมันไม่เหมาะสมกับสังคมไทย ลักษณะของรัฐธรรมนูญมี 3 คุณสมบัติสาคัญ คือ ต้องสร้างกลไกขึ้นมาเพื่อรับใช้วัตถุประสงค์สองอย่าง ที่กล่าวไว้แต่ต้นคือ ส่งเสริมให้มีการค้า ประกันอานาจของประชาชนให้ได้ผล และต้องส่งเสริมให้มีการระบุและจากัดอานาจของรัฐบาลเอาไว้ให้ เหมาะสม ก็คือต้องสร้างกลไกอธิปไตยขึ้นมาเพื่อรับใช้สองอย่างนี้ ซึ่งการจะรับใช้อุดมการณ์สองอย่างนั้นต้อง คานึงถึงสภาวะ ความเป็นไป ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมของแต่ละประเทศ ซึ่งระบบแต่ละประเทศมันต่างกัน อย่างที่มันต่างกันของสองระบบตอนนี้ที่เราเห็น ก็คือระบบสาธารณรัฐ อย่างเช่นเยอรมนี, ฝรั่งเศส
23
...ทาไมนักร่าง รธน.ของเรามักกล่าวอ้าง แล้วก็ไปควานหาตัวอย่างจากระบบสาธารณรัฐทั้งสิ้น จนลืมไปว่า ประเทศไทยเป็นแบบราชอาณาจักร มันต้องเอาแบบอย่างรัฐธรรมนูญมาจากราชอาณาจักร ถามว่ามีไหม-มี ถาม ว่ามีผู้เชี่ยวชาญด้านรัฐธรรมนูญแบบราชอาณาจักรไหม-ก็มี และเก่ง เราก็หลอกประชาชนเรื่อยมา กมธ.ร่าง รธน.ก็เขียนกันจนประชาชนไม่รู้ว่า ถ้ามีรัฐธรรมนูญก็ดีแต่ต้องเป็น รธน. ประชาธิปไตย แต่ที่ผ่านมาสักแต่ว่าเขียนมา แต่ถามว่าเป็น รธน.ที่เป็นประชาธิปไตยหรือไม่ ก็ตอบว่าไม่เป็น ถ้า หากไม่เข้าลักษณะสามอย่างที่ว่ามาก็คือ สงวนอานาจทั้งหมดไว้ให้ประชาชน-จากัดและควบคุมอานาจรัฐบาล เพื่อทาให้ประชาชนมีความสุข ไม่ให้รัฐบาลมีอานาจมากจนเอามาทาร้ายประชาชนและตั้งกลไกให้เหมาะสม "นักวิชาการอิสระ" ผู้นี้กล่าวต่อไปว่า ถ้าประเทศเราใช้กฎหมายที่มีทุกฉบับซึ่งเขียนออกมาได้ดี มาก เช่น ประมวลกฎหมายอาญา-แพ่ง, ธรรมนูญศาลยุติธรรม, พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน ถ้ามีการบังคับใช้ โดยอานาจการเมืองไม่ไปทาลายกฎหมายเหล่านี้ ไม่มีรัฐธรรมนูญก็ไม่เห็นจะเป็นอะไร ถ้าจะมีให้โก้ก็ต้องเขียนให้ดี อย่าเขียนออกมาโดยเป็นยาพิษให้คนต้องฆ่ากัน พบว่าเวลานี้ไม่ได้ส่อว่าจะมีการ เขียนให้ถูกต้อง เมื่อคนเก่าเป็นคนเขียน แล้วคนเก่าเคยสร้างปัญหามาแล้ว แล้วไปเอาพวกนี้มาแก้ มันก็เข้า อีหรอบเดิม แล้วก็เข้ามาทาแบบเก่า ไปยึดแบบการเขียนของฝรั่งเศสแล้วจะได้ของใหม่ได้ยังไง ก็เขียนออกมา ยืดเยื้อ แล้วสุดท้ายก็จะไปเปิดช่องให้ไปร้องศาลรัฐธรรมนูญ ทาให้เกิดการเลือกตั้งแบบน้าเน่า เพราะการเมือง ไทยมันไม่เคยมีพรรค แต่พรรคการเมืองเกิดเพราะกฎหมายบอกให้ตั้ง ให้มีหัวหน้าพรรค ให้หัวหน้าพรรคไป บังคับลูกพรรค ก็เกิดระบบอั้งยี่ พรรคก็ไม่ยั่งยืน ดูอย่างอดีตที่ผ่านมา หัวหน้าพรรคตั้งพรรคมีกี่พรรคเหลือตอนนี้ มีจอมพล พลเอก ตั้งมากี่พรรคแล้ว จอมพล ถนอม กิตติขจร, พลเอกเกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์, พลเอกอาทิตย์ กาลังเอก, พลเอกเทียนชัย ศิริสัมพันธ์ หรือนาย ธนาคารที่มาตั้งพรรคอย่าง ประสิทธิ์ กาญจนวัฒน์, บุญชู โรจนเสถียร, อานวย วีรวรรณ พรรคที่ตั้งมาก็ไม่อยู่ ทั้งนั้น เพราะเมื่อหัวหน้าพรรคตั้ง พรรคการเมืองก็ขึ้นอยู่กับหัวหน้า ไม่ได้พัฒนาขึ้นกันมาอย่างจริงจัง แต่ เหมือนกับตั้งบริษัทรับเหมาทาถนนให้กรมทางหลวง เมื่อหัวหน้าพรรคสูญสิ้นไป พรรคก็สูญสิ้นไปด้วย เมืองไทยจึงไม่เคยมีพรรค แต่เป็นพวกแก๊งเลือกตั้ง พวกนี้คือปัญหาการเมืองไทยที่ต้องแก้ให้ได้ก่อน หากแก้ไม่ได้ ก็ต้องกลับมาเป็นแบบเก่า เมืองไทยก็เลยทาอะไรไม่ได้ ดังนั้น เมื่อ คสช.ทาแล้วยึดอานาจแล้วต้องแก้ปัญหาเหล่านี้ อย่าปล่อยให้พวกนี้กลับมาสร้างปัญหาอีก - แล้ว รธน.ที่เหมาะสมกับประเทศไทยควรเป็นแบบไหน?
24
ในหลวงท่านให้ไว้นานแล้ว เมืองไทยสมัย 400 ปีที่แล้ว ฝรั่งมาเที่ยว บอกว่ากรุงศรีอยุธยารุ่งเรือง สะอาด น่าอยู่ กว่าลอนดอน, ปารีส ถามว่าตอนนั้นมีการปกครองไหม มีรัฐธรรมนูญไหม ตายไหมไม่มีรัฐธรรมนูญ แต่มีการ ปกครองที่เป็นแบบทศพิธราชธรรม หรือเรียกว่าธรรมาธิปไตยก็ได้ ระบบของไทยเป็นระบบที่พระเจ้าอยู่หัวกับ ประชาชนอาศัยซึ่งกันและกัน ในหลวงก็ตั้งคานิยามขึ้นมาว่า ราชประชาสมาสัย แบบว่า พระเจ้าแผ่นดินกับ ราษฎรอาศัยซึ่งกันและกัน ถ้าเราอยากแก้ตอนนี้ก็เขียน รธน.แบบราชประชาสมาสัยขึ้นมา โดยอาศัยหลักที่ท่าน เคยบอกไว้ เช่น โกงบาทหนึ่งก็แช่ง ก็อย่าไปโกง เคารพหน้าที่ ถ้าเราแบ่งกันให้ถูกหลักก็เป็นประชาธิปไตยที่เข้า ทั้งหลักสากลและหลักของไทย แต่ที่มันขัดข้องเพราะนักการเมืองมันแย่ แล้วมันอาศัยรัฐธรรมนูญเป็นข้ออ้าง รธน.ที่ดีเขียนโดยคนไม่กี่คน รธน. ของอินเดียที่ยาวมากก็เขียนโดยคนคนเดียว รธน.ของเราในอดีตเขียนกันมาสิบกว่าฉบับก็ปกครองกันไม่ได้ เถียง กันเละ การร่าง รธน.ตอนนี้เสียทั้งเวลาเสียทั้งเงิน วันที่ 30 ส.ค.49 พลเอกสายหยุด เกิดผล เชิญผมกินข้าวเช้ากับอดีต ลูกน้องท่านที่เป็นแม่ทัพนายกองทั้งหลาย โดยได้มีการขอร้องกันว่า ได้ข่าวว่าจะมีการยึดอานาจ พลเอกสายหยุด ก็บอกว่าอย่ายึดเลย ยึดแล้วทหารก็ทาอะไรไม่เป็น ก็ต้องไปอาศัยนักกฎหมายอีก นักกฎหมายก็จะฉวยโอกาสให้ ออก รธน.ชั่วคราวให้ตั้งสภาร่าง รธน. ทาอะไรกันลวกๆ แล้วก็จะกลับมาปฏิวัติกันอีก ตอนนั้นพลเอกสายหยุดพูด จริงไหม-ก็จริง แล้วตอนนี้ก็กลับไปทาแบบเดิม แล้วก็จะจบแบบเก่าอีก เพียงแต่คราวนี้ตอนก่อนทารัฐประหาร พลเอกประยุทธ์ไม่ได้มีปัญหาเรื่องตาแหน่ง ผบ.ทบ. ไม่ถูกการเมืองรังแก แต่การรัฐประหารครั้งก่อนๆ เกิดเพราะผู้นาทหารกลัวเสียตาแหน่ง ทั้ง รสช.-คมช.ที่ผู้นากลัวโดนปลด กลัวเสีย ตาแหน่งก็เลยปฏิวัติ แต่ยุค คสช.พลเอกประยุทธ์ไม่มีปัญหาเรื่องจะถูกปลด แต่ที่ต้องทาปฏิวัติเพราะไม่อยากให้ เกิดปัญหาฆ่าฟันกันไม่สิ้นสุด แต่เมื่อได้รัฏฐาธิปัตย์มาแล้วจะมาบอกว่า จะมาดูแลให้ปรองดองกัน มันไม่พอ พลเอกประยุทธ์ต้องใช้อานาจให้สมบทบาทให้เต็มภาคภูมิ เพื่อแก้ปัญหาของประเทศโดยเฉพาะปัญหาการเมือง โดยจะปล่อยให้นักการเมืองมาแก้ก็ไม่ได้เพราะสุดท้ายก็จะเป็นแบบเก่า ก็ต้องช่วยให้พลเอกประยุทธ์รู้ตัวและ ประชาชนเข้าใจว่า หนึ่ง-รัฐบาลนี้เทียบกับรัฐบาลที่แล้วอันไหนดีกว่ากัน แต่ถ้าพลเอกประยุทธ์จะอยู่ต่อไปเพื่อให้ คนบางกลุ่มกลับใจมาปรองดองกัน มันไม่ได้หรอก จะเขียน รธน.ยังไงก็ไม่ได้ มันต้องใช้ภาวะผู้นาและเจตจานง ทางการเมือง หรือ Political Will แก้เสีย การปฏิรูปจะมาปฏิรูปแต่ปากมันไม่ได้ ต้องกาหนดวาระแห่งชาติ เช่น ขจัดการคอร์รัปชันแบบไม่เห็นแก่หน้า อินทร์หน้าพรหม ไม่เห็นแก่รุ่นพี่รุ่นน้องหรือเรียนโรงเรียนเดียวกันมาเด็ดขาด ใครผิดต้องผิด สอง-เรื่องตารวจ ต้องปฏิรูปตารวจ จะมาให้รัฐบาลหลังเลือกตั้งทามันไม่ได้ เขาก็ต้องปฏิรูปตารวจ หรือเรื่องการศึกษาที่ไม่มี 25
คุณภาพก็ต้องปฏิรูป ถามว่าเรื่องพวกนี้รอให้หลังเลือกตั้งทาได้ไหม-ก็ไม่ได้ ก็ต้องทาเลย แต่สาคัญต้องปูพื้นฐาน การให้มีการเมืองที่ดีในอนาคตเพื่อไม่ให้มีวงจรอุบาทว์กลับมาอีก ไม่อย่างนั้นก็วนเวียนกันอยู่อย่างนี้ คนไทยต้องคิดกันแล้วว่า ปัญหาที่มันวนเวียนอยู่อย่างนี้มันเป็นเพราะอะไร มีใครใส่ยาพิษเข้าไป ไม่ใช่ประชุม เขียน รธน.กันไปอะไรก็จะเอาแต่แบบเยอรมัน จะเอาเลือกตั้งแบบเยอรมัน หรือจะให้มีองค์กรต่างๆ แบบ ฝรั่งเศส-มันไม่ได้ มันต้องสอดคล้องกับความเป็นราชอาณาจักรและลักษณะของไทยด้วย ถามย้าว่า ร่าง รธน.ฉบับใหม่คงไม่นาประเทศไปสู่การปฏิรูปได้ "ดร.ปราโมทย์" ย้าว่า ไม่ใช่คงไม่นา แต่มันจะทา ให้เป็นแบบนี้ คือคงจะนองเลือด ฆ่ากันตาย ถ้าออกมาแล้วรีบเลือกตั้ง เพราะกลไกต่างๆ มันล้วนแต่สร้างความ ขัดแย้ง ทางเดินไปสู่อานาจนั้นเป็นทางที่ไม่ถูกต้อง เป็นทางเดินของรัฐธรรมนูญยาพิษ - ข้อเป็นห่วงตรงนี้จะเสนอแนะ กมธ. ยกร่าง รธน.ว่าควรต้องปรับแก้อย่างไร? ต้องพึ่งอานาจรัฏฐาธิปัตย์ ต้องฟันเลย คือเมื่อรู้อยู่แล้วว่าถ้าปล่อยไปมันก็วุ่นวายทะเลาะกัน โดยที่เขาไม่ จาเป็นต้องอ้างการใช้อานาจตามมาตรา 44 ก็ได้ เพราะหัวหน้า คสช.เป็นรัฏฐาธิปัตย์ มีอานาจเต็มอยู่แล้ว ก็บอกไปว่าในฐานะหัวหน้า คสช.รับผิดชอบประเทศ ถ้าปล่อยไว้แบบนี้ก็จะวุ่นวายอีก จะเถียงกันไม่มีที่สิ้นสุด ก็ สั่งเลิกการบังคับใช้ รธน.ชั่วคราวปี 57 เสียเลย เมื่อยกเลิก รธน.ชั่วคราวปี 57 อย่างอื่นที่จะตามมาก็จะถูกยกเลิก ไปด้วย แล้วก็เอา รธน.ในอดีตคือ รธน.ปี 50 มาประกาศใช้เสีย เพื่อจะโฆษณาว่าไม่ได้ทาลายรัฐธรรมนูญ แต่ไป เอารัฐธรรมนูญที่เป็นสัญลักษณ์ของประชาชนมา ประชาชนเขาชอบรธน.นี้ก็ไปเอามา แล้วหากมีมาตราไหนใน รธน.ปี 50 มันขัดข้อง มันทาไม่ได้ ก็ให้ประกาศงดใช้ชั่วคราว มาตราไหนมีปัญหา อาทิ การให้มีสภาผู้แทนราษฏรที่ต้องเป็นอิสระแต่กลับไม่เป็นอิสระ กลับมีการเสียบบัตร ลงคะแนนแทนกัน จ้างคนใกล้ชิดมารับตาแหน่งต่างๆ อันไหนมีปัญหาก็เลิกเลย อันไหนจะเก็บไว้ก็เก็บไว้ ส่วน หากเรื่องไหนที่อยากใช้แต่มันไม่อยู่ใน รธน.ปี 50 เช่นมาตรา 44 ใน รธน.ชั่วคราวที่จะยกเลิกไป ก็ให้ไปเขียนเพิ่ม ในบทเฉพาะกาลของ รธน.ปี 50 ที่นามาประกาศใช้จะเป็นอะไรไป รวมถึงสิ่งที่ต้องการทา เช่น เรื่องวาระ แห่งชาติในเรื่องต่างๆ ก็ใส่ไป รวมถึงวิธีการร่าง รธน.ใหม่ ถ้าเราทาแบบนี้โดยใช้ รธน.ปี 50 แล้วบ้านเมืองเรียบร้อย ไม่มีปัญหาเศรษฐกิจ คนเข้าใจและเข้ามามีส่วนร่วม ถ้าทาแบบนี้เขาจะใช้เวลาอีกเท่าไหร่ก็ใช้ไป จนทุกอย่างลงตัวแล้ว
26
"ดร.ปราโมทย์" กล่าวอีกว่า เวลานี้แม้ประเทศไทยจะมีการปกครองระบอบประชาธิปไตยมา 83 ปีแล้ว แต่เราอย่า หลอกตัวเองว่าเป็นประชาธิปไตย เรามีการทดลองเพื่อเป็นประชาธิปไตยที่ล้มเหลว แต่ถึงเราจะยังไม่เป็น ประชาธิปไตยแต่บางยุคสมัยก็ดี บางยุคก็เลว แต่ส่วนมากจะเลว ยุคทีว่ ่าเป็นการทดลองประชาธิปไตยแล้วน่าจะไปสู่ประชาธิปไตยได้ ถ้ายุคนั้นไม่ถูกทาลายไปก่อน ก็คือยุค 15 ปี ภายใต้ยุคของคณะราษฎร ตั้งแต่ 2475-2490 หลังจากนั้นมีการปฏิวัติโดยทหารที่ไม่เคยไปเรียนเมืองนอก ไม่เคย อยู่ในชีวิตที่เป็นประชาธิปไตย แล้วช่วงนั้นสหรัฐฯ ขึ้นมาเป็นใหญ่ในโลก หลังสงครามโลกครั้งที่สองสิ้นสุดลง แล้ว อเมริกาก็ยุให้มีการปฏิวัติ แล้วพอมีรัฐประหารครั้งนั้น ก็มีการรัฐประหารต่อเนื่องกันมาจากผลพวงความแค้น ต่างๆ ก็ทาให้กลายเป็นแบบอย่างเรื่อยมา ตั้งแต่ 2490 ก็ล้มเหลวเรื่อยมา ถอยหลังเข้าคลอง อย่างตอนนี้ คสช. ถอยหลังเข้าคลองไป 83 ปีเลย เช่น เรื่องสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ยุค คสช.ต้องอายุไม่ต่ากว่า 40 ปี แต่ สมัย คมช. เอา 35 ปี สมัยหลัง 2475 เอาแค่ 25 ปีเอง ทั้งที่ตอนนี้คนการศึกษาดีขึ้น ไม่ต้องรอถึงอายุ 40 ปี รัฐธรรมนูญฉบับชั่วคราวปี 57 แย่ๆ แบบนี้ออกมาได้ยังไง แต่ออกมาเพราะผู้มีอานาจไปซูฮกนักกฎหมายที่มาร่าง รธน.ฉบับชั่วคราวปี 57 ให้ เพราะตัวเองไม่มีความรู้เรื่องพวกนี้ ส่วนความเห็นว่า คสช.และพลเอกประยุทธ์ต้องรีบคืนอานาจให้ประชาชนโดยการจัดการเลือกตั้งให้เร็วที่สุด หรือไม่ "ดร.ปราโมทย์" บอกว่า คาว่าคืนอานาจให้ประชาชนเป็นวาทกรรมหลอกลวง ประชาชนถูกขโมยอานาจ มาตั้งแต่ปี 2475 แล้ว ที่บอกว่าคืนอานาจก็เป็นการคืนอานาจเพื่อให้ไปเลือกส.ส.ที่ประชาชนมีเวลาไม่กี่นาที ถ้า จะคืนอานาจให้ประชาชนต้องเป็นการเลือกตั้งเสรี ไม่มีใครครอบงาใคร เจ้าหน้าที่รัฐวางตัวเป็นกลาง มีเสรีจริงๆ ในด้านต่างๆ เช่น การสมัคร ส.ส.ไม่มีชาติไหนในโลกประชาธิปไตยมาบังคับให้ต้องเข้าสังกัดพรรค เพราะการให้ ผู้สมัคร ส.ส.ต้องสังกัดพรรคเป็นการทาลายสิทธิขั้นพื้นฐานทางการเมือง ถ้าผมอยากเป็น ส.ส.แล้วทาไมต้องมา จากัดสิทธิ์ไม่ให้ผมเป็น ถ้าผมไม่ได้สังกัดพรรค การคืนอานาจแท้ที่จริงจึงเป็นแค่วาทกรรม แท้ที่จริงแล้วต้องมีระบบที่ปวงชนมีส่วนร่วมอย่างจริงจังในวิถีทาง การเมือง ไม่ใช่เฉพาะแค่ในวันเลือกตั้งซึ่งในเมืองไทยยังไม่มีสิ่งนี้ จึงควรต้องตั้งต้นใหม่ ด้วยการคืนอานาจอธิปไตยที่แท้จริงให้ประชาชนมีส่วนร่วมในด้านต่างๆ ที่ตอนนี้ประชนไม่ มี จะมาอ้างเลือกตั้งอย่างเดียวไม่ได้ โทนี แบลร์ อดีตนายกรัฐมนตรีของอังกฤษก็บอก Voting ไม่ได้แปลว่า ประชาธิปไตย ...นายกฯ ถ้าอยู่แล้วทาดีใครจะว่าอะไร แต่ถ้าอยู่แล้วทาไม่ดี คนเขาก็ว่าเองว่าอยู่ไปทาไม เวลานี้เขามีอานาจ รัฏฐาธิปัตย์ที่เกิดมาด้วยความจาเป็น ซึ่งเมื่อเกิดอย่างเป็นธรรม อยู่อย่างเป็นธรรมแล้ว หมายถึงว่าอยู่อย่างดี ทาดี
27
ให้คนแซ่ซ้องสรรเสริญ ถ้าคนแซ่ซ้องสรรเสริญก็อยู่ไป วางพื้นฐานให้ชาติ เพราะปัญหาของประเทศบางเรื่องแก้ ไม่ได้ในช่วง 1-2 ปี บางเรื่องเช่นการทาเรื่องเกี่ยวกับการเลือกตั้ง บางด้านถ้าต้องใช้เวลาเท่าไหร่ก็ใช้ไป "การอยู่ก็มีวิธีตั้งร้อยแปด ตั้งรัฐบาลให้ดี ตั้งคนมาทางาน ให้ประชาชนมีส่วนร่วม ก็มีวิธีการมากมายก็อยู่ไป แต่ถ้า อยู่แล้วไม่ดีก็อย่าอยู่ พวกนอมินีอะไรต่างๆ ต้องไป หรือที่มีข่าวลือปฏิวัติอะไรต่างๆ คือถ้าอยู่แล้วบ้านเมืองวุ่นวาย ก็อย่าอยู่ ตัวเขาเองก็ต้องรู้ ถ้าตัวเองไม่รู้ คนอื่นเขารู้เขาก็จะมาไล่ ก็จะเกิดความวุ่นวาย" คาท้าทายของผมก็คือ ก็อยู่ไป แต่อยู่ให้ดี อยู่ให้ถูก เวลานี้ประเทศชาติต้องการคนจริง แล้วผมว่าพลเอกประยุทธ์ ไม่เลวหรอก เพราะต้องดูไปว่า ไม่ว่าใครมาเป็นรัฐบาลจริงๆ แล้วก็ไม่ได้มีใครเก่งกว่ากันสักเท่าไหร่ เราเอาคนที่มี ความจริงใจดีกว่า แต่ต้องรู้จักใช้คน รู้จักตัดสินใจและต้องกล้าแก้ไขปัญหา - แต่ถ้า คสช.จะอยู่ต่อ คนก็จะมองว่าไม่ทาตามโรดแม็พ ต้องการสืบทอดอานาจ? ผมตอบแทนเขาไม่ได้ว่าใครจะไปต่อว่าพลเอกประยุทธ์ และตัวพลเอกประยุทธ์ประเมินตัวเองว่าอย่างไร ผม ประเมินแทนไม่ได้ แต่ผมบอกว่าถ้าอยู่แล้วทาไม่ดี คนไม่ชอบ ก็อยู่ไม่ได้ แต่ถ้าอยู่แล้วดี คนชอบ ก็อยู่ได้ ไม่ต้องไปเอาประชาธิปไตย มาแปะหน้า ไม่ต้องเอาเลือกตั้งมาแปะหน้าผากหรอก ไม่ต้องไปให้ต่างประเทศมาบอกว่าต้องทายังไง ต่างประเทศมันเชื่อได้ที่ไหน ใครก็ตามทีข่ ึ้นมา ไม่ว่าจะลากตั้งหรือเลือกตั้งก็ไม่ได้เก่งกว่ากันเท่าไหร่ ข้อสาคัญคืออย่าโกง ต้องส่งเสริมคนดี ทา ระบบให้ดี ให้คนทางานกันได้ อย่าไปกลั่นแกล้งใคร โดยใช้มาตรการผิดๆ เวลาปีหนึ่งมันน้อยเกินไป เมืองไทย ปัญหามันหมกหมมมานาน เมื่อจาเป็นและกระโดดเข้ามาแล้วก็ต้องทางานให้ลุล่วง ไม่ใช่ว่าจวนตัวแล้วก็หนีไปเฉยๆ แล้วไม่ใช่เรื่องที่ใครจะ มาคิดโค่นล้มกันเพื่อเปลี่ยนม้ากลางลาธารกันตอนนี้ เพราะกลัวต่างประเทศมาต่อว่าเราว่าไม่เป็นประชาธิปไตย สหรัฐฯ เอง ดูตอนนี้หลายประเทศไม่ได้เป็นประชาธิปไตย แต่ไปเป็นลูกน้องสหรัฐ ทางสหรัฐก็เอาใจ อย่างพม่า ปากีสถาน หรืออียิปต์ ก็มาบอกว่าดีแล้วที่มีการยึดอานาจ เพราะถ้าไม่ยึดอานาจคนจะฆ่ากัน แต่ของไทยเราฆ่า กันอยู่เห็นๆ แล้วมีการยึดอานาจ จะมาว่าเราได้ยังไง.
28
อย่าให้ต้องนองเลือดเพราะรัฐธรรมนูญอีกเลย โดย ปราโมทย์ นาครทรรพ 25 มีนาคม 2550 เรียน คณะกรรมาธิการร่างรัฐธรรมนูญ ผมตระหนักดีว่า อย่างน้อย 18 ใน 20 ท่านที่เป็นกรรมาธิการ เป็นผู้ที่ผมเคารพ รักใคร่ นับถือ และบ้างก็ เคยร่วมงานต่างๆ กันมา รวมทั้งการร่างรัฐธรรมนูญ ขณะนี้ความรู้สึกดังกล่าว และความเป็นมิตรก็ยังมั่นคงอยู่ แต่สิ่งที่เหนือกว่าผลประโยชน์และความเป็นส่วนตัวก็คือส่วนรวมและประเทศชาติซึ่งสาคัญที่สุด ผมเชื่อมั่นว่า ทุกท่านก็ต้องคิดอย่างนี้เช่นกัน เมื่อเร็วๆ นี้ ผมได้ตีพิมพ์หนังสือเล่มหนึ่ง ชื่อว่า “จดหมายถึงนายเข้ม เย็นยิ่ง” ซึ่งส่วนหนึ่งเป็นการ วิจารณ์การเกิดขึ้น การดารงอยู่ และการดาเนินงานของคณะกรรมาธิการฯ ผมจึงขอมอบหนังสือดังกล่าว จานวน 2 เล่ม ให้แก่คณะกรรมาธิการด้วยความเคารพ ผมขอร้องให้ท่านทาใจให้เปิดกว้าง และอ่านพระราชหัตถเลขาของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาล ที่ 7 ด้วยความสนใจและพินิจพิเคราะห์เป็นพิเศษ จะได้แน่ใจว่าทัศนะของพระองค์ เรื่องความล้มเหลวของการ ร่างรัฐธรรมนูญและระบอบประชาธิปไตย เป็นอย่างไร ยังพอจะยึดถือนามาแก้ไขข้อขัดข้องในปัจจุบันได้หรือไม่ ในพระราชหัตถเลขา ซึ่งยาว 6 หน้านั้น พระองค์ทรงกล่าวถึง ผู้มีอานาจมิฟังเสียงราษฎรถึง 6 ครั้ง ด้วยกัน ผมขออัญเชิญคัดมาดังนี้ “...ให้ประชาราษฎรได้มีสิทธิที่จะออกเสียงในวิธีดาเนินการปกครองประเทศและนโยบายต่างๆ อันจะ เป็นผลได้เสียแก่ประชาชนทั่วไป” “...ผู้ก่อการฯ..หาได้กระทาให้บังเกิดมีความเสรีภาพในการเมืองอย่างบริบูรณ์ขึ้นไม่ และมิได้ฟังความ คิดเห็นของราษฎรโดยแท้จริง” “...ประชาชนไม่ได้มีโอกาสออกเสียงก่อนที่จะดาเนินนโยบายสาคัญต่างๆ จึงเป็นเหตุให้มีการกบฏขึ้น 29
ถึงกับต้องสู้ฆ่าฟันกันเองระหว่างคนไทย” “ข้าพเจ้าได้ขอร้องให้ราษฎรได้มีโอกาสออกเสียงก่อนที่จะเปลี่ยนหลักการ และนโยบายสาคัญ มีผลได้ เสียแก่พลเมือง รัฐบาลก็ไม่ยินยอม” “...ข้าพเจ้าไม่ยินยอมยกอานาจของข้าพเจ้าให้แก่ผู้ใดคณะใดโดยเฉพาะ เพื่อใช้อานาจนั้นโดยสิทธิขาด และโดยไม่ฟังเสียงอันแท้จริงของราษฎร” “...ความประสงค์ของข้าพเจ้าที่จะให้ราษฎรมีสิทธิออกเสียงในนโยบายของประเทศที่แท้จริงไม่เป็น ผลสาเร็จ” นอกจากนั้น พระราชหัตถเลขายังกล่าวถึง “...การยึดอานาจโดยกาลังทหารเป็นครั้งที่ 2” ซึ่งทาให้ “ความหวังที่จะให้การเปลี่ยนแปลงต่างๆ เป็นไปโดยความราบรื่นก็ลดน้อยลง” เหตุผลที่ผมเขียนข้อสังเกตและคาร้องขอถึงท่านทั้งหลาย ก็เพราะผมเชื่อว่า “การยึดอานาจโดยกาลัง ทหาร” นั้นเป็นอันตรายต่อระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข ไม่น้อยไปกว่าการซื้อเสียง เลือกตั้ง และการทุจริตคอร์รัปชัน ผมหวังจะให้ท่านทั้งหลายช่วยสืบพระราชปณิธาน ให้ “การเปลี่ยนแปลงต่างๆ เป็นไปโดยราบรื่น” โดย ร้องขอให้ “ราษฎรได้มีโอกาสออกเสียง” และขอให้ “ฟังเสียงอันแท้จริงของราษฎร” ขณะนี้น่าจะไม่เป็นการเกินเลย ถ้าผมจะกล่าวว่า มีความสับสน ไม่แน่ใจ และไม่ไว้วางใจ ว่าประเทศจะ เป็นประชาธิปไตย แม้แต่ความนึกคิดว่าอนาคตไม่แน่นอนเท่านั้น ความเสียหายก็เกิดขึ้นได้แล้วอย่างใหญ่หลวง กับประเทศชาติ มิพักต้องรอให้ความปั่นป่วนต่างๆ ปรากฏขึ้นจริง ซึ่งก็จะเสียหายยิ่งขึ้นเป็นทวีตรีคูณ วิธีที่จะ บรรเทาความเสียหาย และป้องกันมิให้ลุกลามต่อไปเห็นจะไม่มีอะไรดีกว่า การสร้างศรัทธา ความเชื่อมั่น และ ความชอบธรรม ให้กับคมช. รัฐบาล สภานิติบัญญัติ กับคณะกรรมาธิการร่างรัฐธรรมนูญ ด้วยการเร่งให้ใช้ อานาจที่ควรใช้ คืนที่ควรคืน และอย่ามัวแต่ชักช้า และทุกขณะทุกเรื่องควรประพฤติในกรอบประชาธิปไตยให้ ถูกต้อง ส่วนความชอบธรรม ความเชื่อมั่น และศรัทธาในคณะกรรมาธิการฯ นั้นจะมีหรือไม่ มากน้อยเพียงใด 30
ย่อมขึ้นกับสิ่งต่อไปนี้ 1. กาเนิดและที่มาของคณะกรรมาธิการฯ 2. องค์ประกอบและภูมิหลังของคณะกรรมาธิการฯ 3. วิธีการทางานของคณะกรรมาธิการฯ 4. ผลงานของคณะกรรมาธิการฯ ทั้ง 4 เรื่องนี้ ผมใคร่ฝากข้อสังเกตและคาร้องขอไว้ ข้อสังเกตนั้น ไม่จากัดว่าเป็นของผมคนเดียว เพราะได้ยิน และได้รับรู้มาอย่างกว้างขวาง ส่วนคาร้องขอนั้นเป็นของผมโดยเฉพาะ หากจะไปพ้องกับความคิดเห็นของผู้หนึ่งผู้ใด ไม่ว่าจะเป็นบุคคล กลุ่มบุคคล หรือองค์กรของคนไทยทั้งในและนอกประเทศ ยิ่งมาก ผมก็ยิ่งจะยินดี เพราะเป็นความบริสุทธิ์ของผู้ที่ รักและเป็นห่วงชาติบ้านเมือง ไม่ใช่การปลุกระดมอะไร ผมได้พิมพ์ข้อสังเกตและคาร้องขอดังกล่าวเป็นเอกเทศไว้ต่างหากจากจดหมายนี้ และจะได้จัดส่งทาง ไปรษณีย์ถึงกรรมาธิการฯ ทุกท่าน โดยจะยังมิเปิดเผยข้อความหรือเผยแพร่โฆษณาจนกว่าจะได้รับทราบความ คิดเห็น และปฏิกิริยาจากท่าน หรือคณะกรรมาธิการฯ ขอแสดงความนับถือ ผมไม่ทราบว่าท่านผู้อ่านกี่ท่านจับได้ว่าจดหมายนี้ มีที่ผิดและคลาดเคลื่อนสาคัญอยู่ คือ (1) จานวน กรรมาธิการร่างรัฐธรรมนูญมีเพียง 20 คนมิใช่ 35 (2) คาว่า คมช. ที่ถูกต้องควรเป็น รสช. แต่ “ความสับสน ไม่แน่ใจ และไม่ไว้วางใจ” ขณะนี้ก็คล้ายๆ กับทางเดินไปสู่พฤษภาทมิฬ ข้างต้นเป็นจดหมายถึงกรรมาธิการร่างรัฐธรรมนูญ รสช. ชุดประธานมีชัย ฤชุพันธุ์ ในวันที่ 15 กรกฎาคม 2534 ก่อนพฤษภาทมิฬ 11 เดือน มีอะไรแตกต่างกันกับวันนี้บ้าง ตัวบุคคล? วิธีการทางาน? ดังได้กล่าวในจดหมายเปิดผนึก 2 ฉบับถึงสภาร่าง ปัจจุบัน 31
เรายังวนอยู่ในอ่าง ไม่ฟังเสียงราษฎรอย่างแท้จริงตามพระราชหัตถเลขา เพียงแต่ฉาบฉวยด้วยป้ายโฆษณา สปอตในทีวี และคอนเสิร์ตระบาราร้องของนักร้องและดารา ตลอดจนประชาพิจารณ์แบบปาหี่อย่างเดิม พลเอกสะพรั่งอธิบายว่า ทหารอาจยึดอานาจอีกหากสภาพบีบบังคับ คราวนี้เลือดจะนองแผ่นดินยิ่งกว่าเดิม ทั้งนี้ การปฏิวัติเทคโนโล ยี คมนาคมและการสื่อสารอันมหัศจรรย์ โครงสร้างสังคมการเมืองเปลี่ยนการ แบ่งกลุ่มและแปลกแยกกันตามผลประ โยชน์ และความคิดของประชาชน แม้แต่พระสงฆ์ก็มากมายและรุนแรง ยิ่งขึ้น ฯลฯ ผมติดตามศึกษาการเปลี่ยนแปลงต่างๆ มาอย่างใกล้ชิด ผมเศร้าใจการทรงสภาพความล้าหลังทางการเมือง อันเกิดจากทหารเมาอานาจ นักการเมืองน้าเน่า นักกฎหมายและนักวิชาการขายตัว ทาให้สังคมไทยจมปลักอยู่กับ ที่เแพ้ฤทธิ์โรคมะเร็งที่ชื่อ “กงจักรกับน้าเน่า” ผมอยากจะเน้นพระราชหัตถเลขา 2 เรื่อง เพื่อจะตอกย้าให้เห็นว่า ทั้งทหารและนักการเมืองหาได้ใส่ใจ เคารพพระราชดาริของพระเจ้าอยู่หัวอย่างแท้จริงไม่ ผมหมายถึงพระเจ้าอยู่หัวทุกองค์ นั่นก็คือ (1) การไม่ยอมฟัง เสียงอันแท้จริงของราษฎร และไม่ให้โอกาสราษฎรได้ออกเสียงอย่างแท้จริง (2) การยึดอานาจโดยกาลังทหาร ทา ให้ความหวังที่จะให้การเปลี่ยนแปลงต่างๆ เป็นไปโดยความราบรื่นลดน้อยลง 1. การไม่ฟังเสียงราษฎรและไม่ให้โอกาสราษฎรออกเสียงอย่างแท้จริงมิได้หมายความแคบๆ ถึงการลง ประชามติรัฐธรรมนูญหรือการจัดให้มีการเลือกตั้งเท่านั้น แต่หมายถึงการมีส่วนร่วมและขบวนการเรียนรู้รับรู้ และ แลกเปลี่ยนความคิดเห็นซึ่งกันและกันทางโครงสร้างระหว่างราษฎรและรัฐบาล ซึ่งเป็นผู้รับใช้มิใช่นาย การโฆษณา ประชาสัมพันธ์และประชาพิจารณ์อย่างฉาบฉวยหาใช่การฟังเสียงราษฎรอย่างแท้จริงไม่ และการเลือกตั้งที่ถูก ครอบงาโดยอานาจแฝงทางการเมืองผ่านระบบราชการทาส การซื้อเสียงขายเสียงหรือสักแต่ให้มีการเลือกตั้ง ก็ เหมือนกับการเลือกตั้งครั้งที่แล้วที่ในหลวงทรงชี้ให้เห็นความไม่เป็นประชาธิปไตย อย่าว่าแต่เสียงราษฎรทั่วไปเลย แม้แต่ผมได้เพียรพยายามแค่ไหน ก็หาอาจฝ่าปราการของผู้มีอานาจและ พวกพ้องซึ่งชมเชยและเยินยอกันเองไปมา ภายใต้กรอบวาทกรรมรักชาติและปัญญาสามารถเหนือมนุษย์ที่อยู่วง นอกทุกคน ความไร้ระบบด้อยมาตรฐานและการวนเวียนอยู่ในอ่างจึงดารงอยู่ไม่ยอมเปลี่ยนตามกาลเวลา การที่ เมืองไทยขาดสื่อและสถาบันการศึกษาที่มีอิสระปัญญาและความรับผิดชอบที่จะวิเคราะห์เจาะลึกทาวิจัยเผยแพร่ 32
ล้างอวิชชาออกจากสังคม เป็นปัญหาหลักอันที่สอง 2. ผมทราบเรื่องการยึดอานาจของ รสช.มาก่อนเป็นปี ได้เตือนและขอให้ผู้บังคับบัญชารับผิดชอบห้ามปราม ป้องกันก็เหลว ผมทราบเรื่องการยึดอานาจ 19 กันยายน 2549 ล่วงหน้าเป็นเดือน ผมต่อต้านการยึดอานาจทุก ประเภท แต่ครั้งสุดท้ายนี้ผมรับได้ เพราะเป็นการล้มระบอบเผด็จการแอบแฝงที่ทาลายสิทธิมนุษยชน ทาลาย รัฐธรรมนูญ คดโกง และสูบกินทรัพยากรธรรมชาติและมนุษย์ของประเทศอย่างเลือดเย็น ไม่ว่าจะมองในทัศนะของ พุทธหรือในทฤษฎีสัญญาประชาคมก็สมควรที่จะถูกโค่นอย่างยิ่ง แต่การยึดอานาจโดดๆ และปราศจากเงื่อนไขคือการมีส่วนร่วมของประชาชน แบบ people power หรือ popular uprising เปรียบเสมือนการลักไก่ ซ่อนเร้นและไม่สง่างาม การรีบกลับเข้ากรอบของความเป็นประชาธิปไตย ไม่จาเป็นจะต้องเป็นการรีบออกรัฐธรรมนูญหรือรีบ เลือกตั้ง หากแต่เป็นการรู้จักใช้อานาจหรือความเป็นประชาธิป ไตยให้ถูกกาละเทศะ มิฉะนั้น ทหารและรัฐบาลก็ จะขาดความชอบธรรมลงโดยลาดับ การยึดอานาจก็จะเกิดขึ้นซ้าแล้วซ้าอีก เป็นอันตรายอย่างยิ่งต่อสถาบันกษัตริย์ระบอบประชาธิปไตย และ การเปลี่ยนแปลงที่ราบรื่น ผมมองไม่เห็นข้อแตกต่างด้านภูมิหลัง กรอบความคิด และอุปาทานแห่งอาชีพหรือแนวโน้มศักดินาอานาจ นิยมของผู้นา รสช.และคมช. แต่ผมเห็นความแตกต่างว่าผู้นา รสช.นั้นมักใหญ่ใฝ่สูง หวังจะเรียกเวลาและยศ ตาแหน่งที่ตนล้าหลังรุ่นน้องคือรุ่น จปร. 7 กลับคืนมา เพราะรัฐบาลชาติชายเล่นกับทหารไม่เป็น จะปลุกอิทธิพล ของรุ่น 7 ขึ้นมาคานรุ่น 5 อีก รุ่น 5 กลัวถูกปลดจึงยึดอานาจ ส่วนการยึดอานาจปัจจุบันไม่มีเอกภาพและเป้าหมายที่แน่นอน ผู้นาเป็นเพียงสัญลักษณ์ชุบมือเปิบ บนความ เสี่ยงของหน่วยกาลัง น่าจะมิใช่การยึดอานาจเพราะความมักใหญ่ใฝ่สูง น่าจะเป็นเพราะแรงหนุนจากประชาชนที่ เคลื่อนไหวกันมาอย่างต่อเนื่องจนเกิดขบวนการอันเติบโต น่าเสียดายยิ่งที่ทหารไทยไร้ปัญญาที่จะร่วมมือกับประชาชนสร้างแผนที่ไปสู่ประชาธิปไตยตามแบบ ขบวนการกองทัพโปรตุเกสที่ขับไล่เผด็จการและสร้างประชา ธิปไตยสาเร็จ ด้วยการยึดอานาจปี 1975 สิ่งที่ผมมองเห็น ไม่อยากให้เกิด และพร้อมที่จะต่อต้าน ก็คือการตกกระไดพลอยโจนในการสืบทอดอานาจ 33
เช่นเดียวกับการตกกระไดพลอยโจนในการยึดอานาจ ความขัดแย้งและเคลื่อนไหวของประชาชน แนวโน้มสงครามสามก๊ก ยังไม่น่ากลัวเท่าการออกรัฐธรรมนูญขุด หลุมฝังประชาธิปไตย อันจะเป็นเหตุให้นองเลือดเหมือนพฤษภาทมิฬ แต่จะโหดร้ายรุนแรงและสูญเสียมากมายกว่า ยิ่งนัก ไม่ทราบว่าไร้เดียงสา อวิชชาหรือขาดความรับผิดชอบ ที่ทาให้ผู้นาไปควักเอาหัวขบวนนักกฎหมายและ บริวารของกรรมาธิการร่างฯ ปี 2534 ของ รสช.มาเป็นแกนนาอีกครั้ง เลยยัดเยียดกรอบความคิด รวมทั้ง รัฐธรรมนูญฉบับชั่วคราวให้กับประเทศที่เคยล้มเหลวให้กับ ส.ส.ร. แม้น ส.ส.ร.จะมีนักคิดรุ่นใหม่และปัญญาชน อิสระอยู่บ้าง ก็ฝ่าวงล้อมออกมาไม่ได้ เพราะทหารหัวเก่าคอยยันไว้ เข้าข้างปัญญาชนหัวเก่าด้วยกัน โปรดจาไว้ว่า “การยึดอานาจโดยกาลังทหารเป็นครั้งที่ 2” จะทาให้ “ความหวังที่จะให้การเปลี่ยนแปลง ต่างๆ เป็นไปโดยความราบรื่นลดน้อยลง” และภาพที่ฉายในทีวีและเว็บไซต์ทั่วโลกตอนในหลวงทรงลงพระ ปรมาภิไธยต่อหน้าบรรดาแม่ทัพนายกอง เมื่อเปรียบกับภาพฉลองสิริราชสมบัติแล้วมีความงดงามลึกซึ้งแตกต่าง เหมือนมิใช่แผ่นดินเดียวกัน ใครเป็นคนผูกคนนั้นก็ต้องแก้ อย่ามัวแต่รอคอยการนองเลือดครั้งใหม่ แล้วจึงจะกลับมาเสนอหน้าสร้าง ประชาธิปไตยอีก คราวนี้ประชาชนจะไม่เอาอีกแล้ว
เมื่อนายกรัฐมนตรีปลดพระมหากษัตริย์ พฤศจิกายน 2494
ผมได้เขียนข้อความข้างล่างนี้ พร้อมแสดงเอกสารประกอบ ผมไม่ทราาบว่ามันอ่านยาก หรือผู้อ่าน ไม่สนใจ หรือว่าคนไทยไม่คิดอะไรแล้ว แล้วแต่ผู้มีอ้านาจหรือรัฐธรรมนูญจะลากไปทางไหน ผมรู้สึกเศร้าใจ และไม่อยากจะสื่ออะไรกับคนไทยต่อไปอีกแล้ว นอกจากจะเขียนบทความกึ่ง วิชาการไปตามหน้าที่
34
December 23 ขณะนี้ถ้าใครนึกว่าไทยมี(หรือเคยมี)การปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีมหากษัตริย์เป็นประมุขก็คือคนโง่กับคน แกล้งโง่เท่านั้น เพราะทั้งในทางปฏิบัติและทางทฤษฎีเราไม่เคยมีเลย ช่วยกันขอร้องและฝากความหวังสุดท้ายไว้กับหัวหน้า คสช. จะดีไหมเอ่ย โปรดอ่านและทาความเข้าใจว่า รธน. 2550 วางระเบิดเวลาไว้ทาลายสถาบันกษัตริย์อย่างไร ใครสุมหัวกันร่าง" ผู้สาเร็จราชการ..การชิงอานาจการเมืองและกษัตริย์โดยอาศัยอานาจและรัฐธรรมนูญ การออกแบบและการนาใช้” (คณะ)(หรือ) ผู้สาเร็จราชการแทนพระองค์ คือ วิธีเบียดบังและทาลายพระราชอานาจ พระมหากษัตริย์ในระบอบประชาธิปไตยอย่างสาคัญ โปรดศึกษาเรื่องนี้เทียบกับรัฐธรรมนูญ พ.ศ. ๒๕๕๐ ให้ดี
35
Pramote Nakornthab December 23, 2013
คนที่กระทาผิดซ้าซากไม่รู้จักเข็ดหลาบ ย่อมต้องได้รับโทษเพิ่มขึ้น นี่คือหลักกฎหมายธรรมดาๆที่ทุกคนควรจะเข้าใจ ถ้าเป็นเช่นนั้นจะเถียงกันอยู่ทาไมเรื่องเลือกตั้งหรือไม่เลือกตั้ง 1. ก็แก๊งนี้มิใช่หรือที่เดิมชื่อว่าพรรคไทยลักไทย กระทาผิดรัฐธรรมนูญ เป็นอันตรายต่อ ระบอบประชาธิปไตย ถูกคาสั่งศาลให้ยุบพรรคและตัดสิทธิผู้บริหาร 2. พรรคนี้เปลี่ยนชื่อมาเป็นพรรคพลังประชาชน ก็กระทาผิดทานองเดียวกันอีก ถูกคาสั่ง ศาลให้ยุบพรรคและตัดสิทธิผู้บริหาร 3. พรรคที่ 2 เปลี่ยนชื่อมาเป็นพรรคเผือไทย ก็ถูก ถูกคาสั่งศาลว่ากระทาผิดรัฐธรรมนูญ ทานองเดียวกันอีก แต่ครั้งนี้หนักกว่าเพราะทั้งผู้บริหารพรรคในรัฐบาลและขี้ข้าในสภาดา หน้ากันออกมาคว่าบาตรศาลรัฐธรรมนูญ ครั้งนี้ไม่แต่จะถูกยุบพรรคและตัดสิทธิอย่าง แน่นอนแล้ว ยังจะต้องพากันเข้าคุกอีก เอาเพียงแค่นี้ก่อนก็เห็นแล้วว่าเราจะผลาญเงินแผ่นดินเลือกตั้งภายใต้กากับของโจรคณะนี้ ต่อไปได่อย่างไร ถึงมันจะซื้อศาลและองค์กรอิสระอย่างไรก็ไม่มีทางหนีพ้นข้อเท็จจริงและ ข้อกฎหมายที่มัดตัวจนไม่มีทางดิ้นหลุดแน่ เอาแค่นี้ก่อนนะครับ สรุปให้ในตอนนี้ได้ก่อนนะครับ ว่าพรรคนี้เป็นพรรคนอกกฎหมายมา แต่ต้น จดทะเบียนเป็นพรรคได้และอยู่ได้ก็ด้วยอามิสและความอ่อนด้อยทางกฎหมายของ กกต.และผู้รักษากฎหมายอื่นๆ รวมทั้งพรรคการเมืองและสังคมไทย แต่บัดนี้ความจริงได้ ถูกเปิดเผยออกมาแล้ว พรรคอังยี่จะกุมอานาจครองประเทศและคุมเลือกตั้งต่อไปได้อย่างไร มองไม่เห็นทาง ยังมีเรื่องผู้บริหาร ตัวบุคคลและพฤติกรรมนอกกฎหมายต่างๆอีกมากมาย นอกจากจะไม่ได้ เลือกตั้งกลับมาแล้ว ยังจะต้องติดคุกหัวโตอีกหลายคนอีก คอยอ่านและคอยดู
36
เดี๋ยวนี้ไทยก็ยังไม่มีรัฐบาลของพระเจ้าอยู่หัว ไม่มีนายกรัฐมนตรีของพระเจ้าอยู่หัว ไม่มีรัฐมนตรีของพระเจ้าอยู่หัว ที่มีอยู่เป็นของใครผมก็ไม่รู้ ผมนี้ช่างโง่บัดซบจริงๆ ไม่มีรัฐมนตรีของพระเจ้าอยู่หัวในประเทศไทย Pramote Nakornthab December 22, 2014 โดย ปราโมทย์ นาครทรรพ 25 มกราคม 2553 ท่านผู้อ่านที่เคารพ ใครไม่อยากอ่านบทความของผม ท่านมีสิทธิหยุดตรงนี้เลยนะครับ แต่ท่านที่หวังจะจับผิดว่า ผมดีแต่ยกเมฆไม่เห็นยกตัวอย่าง ก็ขอเชิญอ่านต่อไป ในบรรดานายกรัฐมนตรีไทย อย่างน้อยมีหนึ่งที่เข้าใจและพูดถึงพระราชอานาจ คือนายอานันท์ ปันยารชุน ซึ่ง กล่าวว่า “พระราชอานาจซึ่งเป็นสิทธิของท่าน มีอานาจที่จะได้รับการปรึกษา อานาจในการที่จะเตือนสติ มีอานาจที่จะ ให้กาลังใจ มี 3 พระราชอานาจเท่านั้น ซึ่งคุณจะเขียนรัฐธรรมนูญมาอย่างไรก็แล้วแต่” บังเอิญนายอานันท์เป็นนายกรัฐมนตรีแต่งตั้ง ต่างกับในประเทศที่นายอานันท์ไปเรียนมาคืออังกฤษที่ไม่มี รัฐธรรมนูญเป็นตัวหนังสือ แต่มีธรรมเนียมที่นายกรัฐมนตรีมาจากสภาทั้งนั้น ยกเว้น Lord Home ซึ่งพระ ราชินีอลิซาเบธใช้พระราชอานาจแต่งตั้งโดยการปรึกษาและเห็นชอบของผู้นาการเมืองในปี 1963 เพื่อนา ประเทศฝ่าวิกฤตไม่ให้ล่มจม ในอังกฤษมีการประกาศ พูดถึง เขียนถึง Her Majesty’s Government, Her Majesty’s Prime Minister, Her Majesty’s Loyal Opposition, Her Majesty’s Minister แปลว่า รัฐบาลของพระบาทสมเด็จพระ 37
เจ้าอยู่หัว นายกรัฐมนตรีของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว หัวหน้าฝ่ายค้านของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และรัฐมนตรีของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว อยู่เสมอ พระเจ้าอยู่หัว คือ พระราชินีอลิซาเบธ ระบบพฤติกรรมหรือการกระทาใดๆ ในคณะรัฐมนตรี ในสภา และในการบริหารประเทศก็เป็นจริงและ สอดคล้องกับการเรียกขานดังกล่าว ในประเทศไทย พรรคการเมืองอัปรีย์พรรคหนึ่ง ทั้งๆ ที่มีเสียงพอ แต่ไม่สามารถตั้งหัวหน้าฝ่ายค้านตาม บทบัญญัติของรัฐธรรมนูญได้ และพรรคการเมืองอื่นๆ ก็ไม่สนใจหรือตั้งใจที่จะสร้างการเมืองระบบรัฐสภาให้เหมือนอังกฤษ มีแต่อ้าง คลั่ง เลือกตั้ง และหวังเป็นรัฐบาลท่าเดียว ตัวอย่างของการทารัฐสภาและระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุขให้สมจริงของอังกฤษมีอยู่ มาก แต่ขอยกมาเพียง 2 เรื่อง ที่นายอานันท์กล่าวถึงคือการที่นายกรัฐมนตรีจะต้องเข้าเฝ้าฯ เป็นประจา เพื่อ เปิดโอกาสให้ใช้พระราชอานาจหนึ่ง และการที่นายกรัฐมนตรีจะต้องฟังพระบรมราชวินิจฉัยเรื่องความเหมาะสม และคุณสมบัติผู้ที่จะทรงโปรดเกล้าฯ ให้เป็นรัฐมนตรีอีกหนึ่ง เรื่องหลังนี้อย่าเข้าใจผิดมั่วๆ ว่า กษัตริย์อังกฤษจะฝักใฝ่ให้พรรคใดพรรคหนึ่ง ไม่มีเลย ทรงเป็นกลางอย่าง เคร่งครัดและวินิจฉัยตามกรอบที่นายกทูลเกล้าฯ เท่านั้น นายอานันท์ได้สร้างตัวอย่าง “ถ้าจะให้ท่านลงพระปรมาภิไธย เรื่องแต่ละเรื่องทั้งนั้น ท่านก็ต้องทราบที่มาที่ไป ก็ เป็นหน้าที่ของนายกรัฐมนตรีจะต้องเข้าเฝ้าฯ เป็นการส่วนพระองค์ เป็นหน้าที่ที่เรียกว่า ถวายงาน อย่างเช่น มี พระราชบัญญัติสาคัญก็ต้องไปกราบบังคมทูลท่านว่าจะมีเข้ามาเพราะอะไร มีเจตจานงอย่างไร จะมีผลบังคับใช้ ในทางใด”
โอกาสที่ กกต.จะท้าลายประชาธิปไตยมีมากกว่าโอกาสที่ กกต.จะช่วยสร้างประชาธิปไตย กกต.และการเลือกตั้งมิใช่หลักประกันประชาธิปไตย Pramote Nakornthab December 20, 2013 38
โดย ปราโมทย์ นาครทรรพ 13 กันยายน 2549 ผมหยุดเขียนหนังสือไปเกือบหนึ่งเดือน เพราะเกิดความเซ็งขึ้นมาอย่างแสนสาหัส ทาให้นึกถึงผู้ใหญ่ที่เคารพนับ ถือท่านหนึ่ง คือนายศุขเล็กหรือคุณประยูร จรรยาวงศ์ นักเขียนการ์ตูนและสื่อแนวหน้า รางวัลแมกไซไซยุคต้นๆ ในบั้นปลายชีวิตยุคหลังการเปลี่ยนแปลง 14 ตุลาคม ท่านเกิดเซ็งวิบัติที่เกิดขึ้นในสังคมไทยจนหมดอาลัยตาย อยาก เวลาเจ็บป่วยก็ไม่ยอมรักษาพยาบาล ท่านเป็นผู้เดียวที่ยืนหยัดอยู่ข้างผม ไม่ยอมอนุมัติงบก้อนโตให้ศูนย์นิสิตฯ ไปเผยแพร่ประชาธิปไตย ผมถูกผู้นา นักศึกษาเกลียดเสียพอแรง ผมไม่เชื่อว่าประชาธิปไตยจะเผยแพร่ได้โดยคนที่ยังไม่เคยใช้ชีวิตอยู่อย่างประชาธิปไตย หรืออยู่ภายใต้องค์กรที่ เป็นประชาธิปไตย เช่นเดียวกับที่ผมไม่เชื่อในขณะนี้ว่า กกต.จะสามารถดาเนินการเลือกตั้งให้เป็นประชาธิปไตยได้ หรือจะเป็น หลักประกันอะไรให้กับประชาธิปไตยได้เลยแม้แต่น้อย โอกาสที่ กกต.จะทาลายประชาธิปไตยมีมากกว่าโอกาสที่ กกต.จะช่วยสร้างประชาธิปไตย ความเชื่อนี้ไม่เกี่ยวกับคุณสมบัติ ความสามารถ ความตั้งใจจริงของผู้ได้รับการคัดเลือก กระบวนการสรรหา หรือ แม้กระทั่งข้อกล่าวหาที่ว่ามีวุฒิสมาชิกกลุ่มหนึ่งทาตัวเป็นทาส พากันโหวตเป็นบล็อก เพื่อกีดกันบุคคลที่เชื่อว่า เป็นปฏิปักษ์ต่อพรรคไทยรักไทย แต่เป็นความเชื่อดั้งเดิม ที่ผมเห็นว่ารัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันไม่เป็นประชาธิปไตย การมีองค์กรอิสระ เช่นก กต. ที่มีอานาจเบ็ดเสร็จไม่เป็นประชาธิปไตย เมื่อได้เห็นองค์ประกอบและการปฏิบัติของ กกต.ชุดแรก ที่เลือกที่รัก มักที่ชังและมีการต่อรองกันเอง ผมก็ยิ่งแน่ใจ และได้เขียนทักท้วงไปแล้วหลายครั้ง ผมเข้าใจดีว่าการที่สังคมไทย พากันโมทนาสาธุการ กกต.นั้นเป็นเพราะสังคมไทยขี้เกียจคิดและมีความลาเอียงเป็นอุปาทาน สาหรับเหตุการณ์ปัจจุบัน ความเชื่อดั้งเดิมของผมก็ยิ่งหนักแน่นขึ้น ถ้าหากจะไม่นับปรากฏการณ์ทักษิณกับ ปรากฏการณ์สนธิ ซึ่งทาให้สังคมไทยหูตาสว่างและเข้าใจประชาธิปไตยมากขึ้น ความเห็นที่ผมได้จากการ สนทนาเร็วๆ นี้กับผู้ที่มบี ทบาทสาคัญ 2 ท่าน คือรักษาการประธานรัฐสภา กับพลเอกจารุภัทร เรืองสุวรรณ ก็
39
ยิ่งทาให้เรามีความเห็นคล้อยตามกันว่า การเลือกตั้งรังแต่จะทาให้ประเทศไทยหายนะ และโอกาสจะคืนตัวเป็น ประชาธิปไตยจะยิ่งยากขึ้น ไม่ว่า กกต.ที่เลือกขึ้นมาใหม่จะเก่งกล้าสามารถขนาดไหนก็ตาม ผมจะอ้างคาพูดของพลเอกจารุภัทรแต่ผู้เดียว ท่านผู้อ่านคงจาได้ว่า พลเอกจารุภัทรเป็น กกต.หนึ่งเดียวที่ ลาออกจากกลุ่ม กกต.ที่เหลืออยู่จนถูกศาลสั่งจาคุกทั้ง 3 คน แต่ท่านผู้อ่านอาจจะไม่ทราบว่าพลเอกจารุภัทร นอกจากจะจบจากโรงเรียนนายร้อย จปร.แล้ว ยังได้รับปริญญาเอกทางรัฐศาสตร์จากแคลร์มอนต์ มหาวิทยาลัย ชั้นนาของอเมริกาในแคลิฟอร์เนีย และยังเป็นน้องคนสุดท้องของคุณจารุบุตร เรืองสุวรรณ อดีตประธานรัฐสภา นักการเมืองประชาธิปไตยชั้นนาของภาคอีสาน ที่มีกิตติศัพท์เป็นที่รู้ทั่วกันว่าชอบด่าชาวบ้านที่มาขอเหล้ากิน แลกคะแนนเสียงว่า “กูไม่ให้ พวกมึงจะเอาประชาธิปไตยหรือประชาธิปตีน” พี่จารุบุตรเป็นผู้อุปถัมภ์พา นายแพทย์กระแส ชนะวงศ์มาเรียนหนังสือในกรุงเทพฯ พลเอกจารุภัทรเล่าให้ผมฟังว่าได้ตามพี่จารุบุตรไปหา เสียงทุกหนทุกแห่งตั้งแต่จาความได้ จึงน่าจะนับว่าพลเอกจารุภัทรเป็นผู้มีความรู้เรื่องการเลือกตั้งดีทั้งในทาง ทฤษฎีและในภาคปฏิบัติ พลเอกจารุภัทรสรุปให้ผมฟังว่า การเลือกตั้งที่เขารู้จักมาตั้งแต่อายุ 10 ขวบจนถึงทุกวันนี้ มีแต่เลวลง ยังไม่เคย เห็นมีดีขึ้นเลย สาหรับการเลือกตั้งครั้งต่อไป พลเอกจารุภัทรสลัดคราบอดีต กกต.และนายพลแห่งกองทัพบกมาวิเคราะห์ให้ผม ฟังอย่างนักรัฐศาสตร์ โดยใช้วิธี Input-Output Analysis ที่ผมขอเรียกง่ายๆ ว่า วิธี “เอาอะไรใส่เช้าไป-อันนั้นก็ กลับออกมา” (ถ้าหากไม่มีเงื่อนไขเงื่อนเวลาที่ใหญ่พอมาเป็นตัวแปร) ท่านบอกลองให้ผมคิดดูเอาเองว่าอะไรบ้าง ที่เปลี่ยน ผู้เลือกตั้งก็ยังเหมือนเดิม ผู้สมัครรับเลือกตั้งที่มีอยู่ 2-3 พันคนก็หน้าเดิมๆ ชนะไหนเข้าด้วยช่วย กระพือ พรรคหรือภาวะผู้นาพรรคการเมืองก็เดิมๆ กกต.ทั้งจังหวัดทั้งภาคก็เดิมๆ กลไกของรัฐที่ว่านอนสอนง่าย และเลียมือเลียเท้า ก็เดิมๆ ล้วนแล้วแต่เป็นสาเหตุที่เกิดวิกฤตการเมืองครั้งนี้ ต่อให้กกต.ที่เลือกมาใหม่ 5 คน เป็นเทวดา ก็อย่าหวังว่าอะไรจะเปลี่ยน ผมจึงสรุปเอาเองว่า เราอย่ามัวหวังลมๆ แล้งๆ ว่า ทุกอย่าง + 5 กกต. = ประชาธิปไตย เลย ทีนี้เรามาพูดกันถึงเลือกตั้งสักเล็กน้อย ผมอยากจะพูดถึงคนส่วนใหญ่ของประเทศ ที่พวกหนึ่งมีความเห็นว่า รีบๆ เลือกตั้งเสียเถอะ บ้านเมืองจะได้สงบเสียที อีกพวกหนึ่งกลับมีความเห็นว่า เลือกให้โง่เหรอ เลือกก็เข้าล็อก ทักษิณนะซี กูขี้เกียจประท้วงแล้วโว้ย ขืนรีบเลือก คราวนี้จะต้องประท้วงกันจนถึงลูกหลานแน่ๆ
40
นอกเหนือไปจากนี้ ยังมีสงครามวาทกรรมของบุคคลอีก 2 กลุ่ม ต่างก็อ้างว่าตนมีความรอบรู้และบริสุทธิ์เกินกว่า คนอื่น ไม่ว่าจะเป็นเรื่องประวัติศาสตร์การเมืองไทย หรือเรื่องทฤษฎีการเมืองตะวันตก ผมเองอยู่นอกวงของคน พวกนี้ แต่มักจะถูกอ้างหรือเตะเข้าไปเป็นพวกนี้บ้าง พวกนั้นบ้าง แล้วแต่เงื่อนไขและเงื่อนเวลาของสถานการณ์ จริงๆ แล้วผมเบื่อหน่ายทั้ง 2 พวก ผมเชื่อว่าความจริงในทางการเมืองนั้น หากมีเสรีภาพมากๆ และมีการ เปิดเผยความจริงให้หมดเปลือก คนที่จบ ป.4 ก็อาจจะเข้าใจได้ไม่แพ้คนจบปริญญาเอก และทุกคนย่อมมีสิทธิ ตัดสินใจอย่างลาเอียงเข้าข้างผลประโยชน์ของตน ผมจะไม่อธิบายอะไรให้ยืดยาว แต่อยากจะพูดว่า ระหว่างกลุ่ม “เมินกษัตริย์-กาหนัดเลือกตั้ง” กลับกลุ่ม “หน่ายเลือกตั้ง-คลั่งกษัตริย์” นั้น เราไม่ควรเชื่อทั้งคู่ เรามาช่วยกันคิดดีกว่าว่า ทาอย่างไรเราจึงจะช่วยกันสร้าง ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ เป็นประมุขได้ แน่นอนที่สุด ประชาธิปไตยจะต้องมีการเลือกตั้ง แต่การเลือกตั้งนั้นจะต้องเป็นประชาธิปไตย การเลือกตั้งทั่วไปเมื่อวันที่ 2 เมษายน 2549 นั้นไม่เป็นประชาธิปไตย เพราะนอกจากจะเป็นการเลือกตั้งระบบ พรรคเดียวแล้ว ศาลยังพิพากษาว่า กกต.ทาลายประชาธิปไตย จัดการเลือกตั้งแบบไม่สุจริตเที่ยงธรรมและ เข้าข้างพรรคไทยรักไทย ถ้าหากพระเจ้าอยู่หัวไม่ทรงโปรด ป่านนี้ประเทศไทยกลายเป็นการเมืองระบบพรรคเดียวอย่างสมบูรณ์แบบไป แล้ว เป็นแบบที่พล.ต.อ.วาสนา ประธาน กกต.ออกมาสวนพระราชดารัสว่า ผู้สมัครพรรคเดียวไม่เป็นประชาธิปไตย แล้วบัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญทาไม “น่าเสียดาย อยากจะพูดอะไรก็พูด” เป็นแบบที่ทักษิณพูดอย่างไม่อายฟ้าว่า “มีที่ไหนในโลกนี้ที่เรียกรัฐบาลพรรคเดียวว่าเผด็จการ มันจะผิดตรงไหน ในเมื่อประชาชนมีความเชื่อในตัวผม” เพราะเชื่อว่าประชาชนยังบูชาตนอยู่ทักษิณกับคณะจึงเรียกร้องให้มีการเลือกตั้งวันแล้ววันเล่า อ้างว่า การ เลือกตั้งคือหลักประกันสุดท้ายและอย่างเดียวของประชาธิปไตย โดยไม่คานึงว่า เมื่อเลือกตั้งมาเป็นรัฐบาลแล้ว รัฐบาลทักษิณและตัวทักษิณเองได้ทาลายประชาธิปไตย บทบัญญัติรัฐธรรมธรรมนูญและกฎหมายอื่นๆ อีกจน จะนับไม่ถ้วน ไม่ยอมให้มีการตรวจสอบ ไม่ยอมตอบคาถามใดๆ ว่าตนและรัฐบาลกระทาการฉ้อโกงและฝ่าฝืน กฎหมายกว่า 40 ข้อหา คงตั้งหน้าทาลายองค์กรและกลไกของรัฐธรรมนูญเพื่อจะให้ตนพ้นผิด และจะใช้การ เลือกตั้งเป็นเครื่องมือฟอกตัวลูกเดียว
41
ผมขอยกตัวอย่างทักษิณทาลายรัฐธรรมนูญและพระราชอานาจตามมาตรา 224 เรื่องเดียว คือการจงใจลงนาม สนธิสัญญาการค้าเสรี โดยไม่ผ่านรัฐสภา ปิดโอกาสมิให้ในหลวงทรงท้วงติงหรือแนะนาก่อนลงพระปรมาภิไธย ทาให้พระองค์ไม่สามารถคุ้มครองเกษตรกรผู้ปลูกหอมหัวใหญ่ มันเทศ มันฝรั่ง กะหล่าปรีหรือผลิตผลเกษตร อื่นๆ ปล่อยให้ผลผลิตราคาถูกจากต่างประเทศเข้ามาโจมตีตัดราคาจนย่อยยับเป็นต้น เรื่องอื่นๆ ยังมีอยู่นับไม่ ถ้วน มีอะไรเป็นหลักประกันว่าการเลือกตั้งครั้งต่อไปจะปราศจากการครอบงาด้วยอานาจและเงินของทักษิณและ คณะอีก เพราะกลไกอื่นๆนอกจาก กกต.ใหม่ได้ถูกวางไว้เรียบร้อยและทางานอยู่แล้ว มีอะไรเป็นหลักประกันว่า ทักษิณจะไม่ทาลายรัฐธรรมนูญและประชาธิปไตยอีก ดูแต่การใช้บล็อกโหวตในวุฒิสภาเพื่อเลือก กกต.ชุดใหม่ ดูแต่ผลการเลือกตั้งวุฒิสมาชิกใหม่เพียง 2 สัปดาห์ไล่ หลังการเลือกตั้งทั่วไปที่โมฆะครั้งที่แล้ว อันเป็นแบบซื้อเหล้าแถมเบียร์ โดยใช้การหาเสียงของ ส.ส.อุ้มลูกเมีย และชู้เข้าสภาตามโผไทยลักไทยไปอย่างสง่างาม ศาสตราจารย์ดร.บุญทัน ดอกไธสง อดีตรองประธานวุฒิสภาให้ ฉายาวุฒิสภาชุดที่แล้วว่า “ทายาทอสูร” อดีตประธานวุฒิอีกท่านหนึ่งบอกว่าชุดนี้ “โคตร” จะยิ่งกว่า หากไม่มี เสียเลย จะเป็นบุญแก่บ้านเมือง เราเข้าใจความกระเหี้ยนกระหือรือของพรรคไทยลักไทย และบรรดา “กระสือผีห่า” ที่คอย “ชนะไหนเข้าด้วย ช่วยกระพือ” ที่จะให้มีการเลือกตั้งในวันในพรุ่ง การแอบอ้างทฤษฎีประชาธิปไตยกับการเลือกตั้งก็เป็นเรื่องที่ เข้าใจได้ แต่การนาเอาพระเจ้าอยู่หัวมาแอบอ้างว่าพระองค์ทรงต้องการเลือกตั้งเร็วหรือเลือกตั้งช้าของแต่ละ ฝ่ายไม่บังควรกระทา และคนระดับประธานหรือสมาชิกวุฒิสภาก็มิควรเชื่อผู้ใด ที่อ้างว่าใกล้ชิดพระยุคลบาท ที่ นากระแสพระราชดาริมาบอกครั้งแล้วครั้งเล่า การเลือกตั้งนั้นสมควรและจาเป็นต้องมีแน่เมื่อถึงเวลา เมื่อไรจึงจะถึงเวลา ตอบว่าเมื่อมีความน่าเชื่อถือ พอสมควรว่าจะเป็นการเลือกตั้งที่เสรี มีความยุติธรรม มีผลอันเกิดจากคะแนนเสียงที่แน่นอน มีภาวะแห่งความ เป็นตัวแทนพอดี ปราศจากการแทรกแซงที่เงินและอานาจกลายเป็นปัจจัยชี้ขาดในระบอบทักษิณ วาระเช่นนั้นจะมาถึงก็ต่อเมื่อสังคมไทยมีความกล้า ทักษิณและบริวาร ทหารและประชาชน นักวิชาการ กลุ่ม อาชีพ พันธมิตรและศัตรูรับจ้าง ต่างก็มีความกล้าที่จะช่วยกันสร้างระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ เป็นประมุขที่กาลังถูกทาลายให้ฟื้นฟูกลับมาเสียก่อนด้วยการปฏิรูปอย่างจริงจัง ปฏิรูปเสียก่อนจึงเลือกตั้ง มิใช่เลือกตั้งแล้วจึงปฏิรูป
42
ถ้าหากเลือกตั้งแล้วจึงปฏิรูป เราก็จะได้การปฏิรูปตามแบบหรือความเชื่อของทักษิณ ชินวัตร กับ บรรหาร ศิลป อาชา การปฏิรูปแบบทักษิณ ชินวัตร กับ บรรหาร ศิลปอาชาเป็นอย่างไร เราควรจะเดาได้จากปากของคนทั้งคู่นี้ ทักษิณเคยบอกว่า “ประชาธิปไตยมิใช่เป้าหมายของผม ประชาธิปไตยเป็นเพียงเครื่องมือเท่านั้น” และบรรหาร ศิลปอาชาเคยบอกว่า “เป็นฝ่ายค้าน ต้องพากันอดอยากปากแห้งทุกข์ทรมานเหลือเกิน” ใครยังต้องการระบอบทักษิณกับระบอบหูฉลามอยู่อีกบ้าง โปรดยกมือขึ้น ยังมีบทเพลงง่ายๆ อยู่บทหนึ่ง “เลือกตั้ง เลือกตั้ง เลือกตั้ง เลือกตั้งทั้งที ต้องเลือกให้ดี ให้มีประชาธิปไตย เลือกตั้ง เลือกตั้ง เลือกตั้ง หากมันสังคังจะเลือกทาไม ดีไม่ดีพวกมันได้ใจ แอบทาจัญไรทาร้ายพ่อเรา” ใครอยากให้ลูกหลานหัดร้องเพลงนี้ โปรดยกมือขึ้น.
43
จดหมายถึงนายกรัฐมนตรีและพี่น้องชาวไทย โดย ปราโมทย์ นาครทรรพ 23 พฤษภาคม 2553 ฯพณฯนายกรัฐมนตรีและพี่น้องชาวไทยที่เคารพ จดหมายเปิดผนึกฉบับนี้แปลก เพราะเขียนถึงนายกรัฐมนตรีในฐานะประมุขผู้ปกครองและพี่น้องชาวไทยใน ฐานะผู้อยู่ใต้ปกครองในฉบับเดียวกัน ฐานะตามแนวความคิดและวัฒนธรรมการเมืองไทย เป็นแบบอานาจนิยม ความคาดหมายและสายสัมพันธ์อย่างฝรั่ง ก็จะเป็นอีกอย่างหนึ่ง เพราะเขาถือว่านายกรัฐมนตรีเป็นหัวหน้าผู้รับ ใช้ ประชาชนเป็นนาย ย่อมมีสิทธิที่จะสับโขกและตาหนิติเตียนอย่างไรและเมื่อใด จะเป็นธรรมหรือไม่ก็ได้ ท่านนายกรับคตินิยมฝรั่งได้ เพราะท่านได้พิสูจน์ขันติธรรมของผู้นาอย่างสูง ต่างกับอดีตนายกทักษิณที่ตั้งข้อหา คุกคามผู้กากับภาพยนต์ฐานทาลายความมั่นคงของรัฐ เพียงแต่เขาทาหนังล้อเลียนชื่อ “ยอดชายนายโอ็คอ็าค” เท่านั้น ฝรั่งเขายังมีคตินิยมอีกว่า ประชาชนเป็นยังไง รัฐบาลก็จะเป็นยังงั้น พูดเป็นสานวนว่า People deserve their government เทียบกับสานวนไทยได้ว่า ขนมสมน้ายา ในยุคโลกาภิวัต มีการปฏิวัติเทคโนโลยีสื่อสารและการคมนาคมทุกอย่างเหลือล้น “ลัทธิเอาอย่าง” และ “การ เปรียบเทียบที่ฉาบฉวย” อาจเป็นโทษมากกว่าเป็นคุณ เป็นเหตุยั่วหัวเราะหรือเป็นอันตรายมหันต์ก็ได้ เช่น การ พูด (โดยเฉพาะอย่างยิ่งจากนายกรัฐมนตรี รัฐบาล สื่อ และนักวิชาการ) ให้เข้าใจว่าการชุมนุมของเสื้อแดงเป็น การใช้สิทธิเสรีภาพตามระบอบประชาธิปไตย หรือการเปรียบนายกสุรยุทธ์ว่าเหมือนวินซตัน เชิชชิล และว่า ประเทศไทยโชคดีที่มีนายกรัฐมนตรีชื่ออภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ เป็นต้น ผมเองพูด เขียน และยืนยันมาตลอดว่าท่านนายกมีคุณสมบัติและคุณลักษณะเหมาะที่จะเป็นผู้นาประเทศ คนที่ไม่ชอบหรือคลางแคลงในตัวท่านนายกก็โจมตีผมว่า คนอย่างผมนี่แหละที่ทาให้ได้คนอย่างท่านนายกมา ทาลายชาติและความมั่นคงของสถาบัน
44
ผมพูดและเขียนอีกเหมือนกันว่าผมเสียดายที่รัฐบาลไม่ทาสิ่งที่ควรทา แต่กลับไปทาสิ่งที่ไม่ควรทา คนที่เป็นแฟน พันธุ์แท้ของท่านนายกและประชาธิปัตย์ก็รุมด่าผมสาดเสียเทเสีย หาว่าผมเอะอะเพราะเข้าไม่ถึงท่านนายก ผม คงจะหุบปากหากตั้งเป็นอะไรสักอย่าง ผมชอบเขียนและสอนหนังสือ ไม่อยากเป็นอย่างอื่น บางคนก็เยาะเย้ยว่า ตราบใดที่ผมยังสั่งสอนคนที่นามสกุลเดียวกันคือ นอ.อนุดิษฐ์ ไม่ได้ ผมไม่มีสิทธิจะวิจารณ์ หรือแนะนาอะไรใคร ระบบคิดเยี่ยงนี้ คงไม่มีวันเข้าใจว่าทาไมคนชื่อสุรนันท์ เวชชาชีวะ จึงสนับสนุนทักษิณ ทาไมพรรคกิจสังคมของ มรว.คึกฤทธิ์จึงล้มรัฐบาลประชาธิปัตย์ของมรว.เสนีย์ ปราโมช พี่ในไส้ ถ้าศาสนาพุทธดีจริง ทาไมจึงมีไทยพุทธไป ฆ่าข่มขืนแหม่มนักท่องเที่ยว ฯลฯ ท่านนายกครับ คนส่วนใหญ่ที่ขันแข็งอยู่ในระบบการเมืองไทยมักจะเป็นเช่นนี้แหละ เป็นพวกที่ใช้เท้าแทนหัว มี สมองเท่ารูเข็ม แต่ปากกว้างเท่าสนามฟุตบอล นี่คือพยานบ่งชี้ว่าการศึกษาของไทยล้มเหลว และถ้าหากไม่ปฏิรูปการศึกษาอย่างจริงจัง ไทยจะหนีไม่พ้นจาก การเป็นประเทศล้มเหลว ผมเสียใจที่จะต้องกล่าวว่า ท่านนายกโชคร้ายที่สุดที่ต้องมาเป็นนายกในเวลานี้ และประเทศไทยโชคไม่ดีที่มีท่าน นายกมาเป็นผู้นาในยามคับขัน ท่านนายกมิใช่ the right man in the right job at the right time ด้วยความเคารพ ผมคิดว่าถึงเวลาแล้วที่ ท่านนายกจะต้องแสดงความรับผิดชอบในความล้มเหลวด้านความมั่นคง ตั้งแต่ประชุมสุดยอดพัทยาล่มมาจนถึง การเผากรุงเทพและหัวเมืองครั้งล่าสุด การแสดงความรับผิดชอบนั้นมิใช่การยุบสภาหรือลาออกตามเงื่อนไขและเงื่อนเวลาของนปช. แต่เป็นการลาออก หลังจากเปิดช่องว่างหรือสุญญากาศทางการเมือง ตามข้อเขียนของท่านนายกเรื่อง “มาตรา 7 ข้อเสนอเพื่อ ปฏิเสธการนองเลือดและรัฐประหาร” แต่เนื่องจากบัดนี้ เลือดนองแผ่นดินเพราะสงครามกลางเมืองแล้ว ท่านนายกจาต้องรับผิดชอบนาพาความสงบ สุขกลับคืนมาให้สังคมและปูพื้นฐานให้เกิดการปฏิรูปที่แท้จริงให้ได้เสียก่อน การปฏิรูปที่แท้จริงไม่มีทางเป็นไป ได้ตามคาถา “การเมืองแก้การเมือง” โดยอาศัยองค์ประ กอบของพรรคและส.ส.ปัจจุบัน แท้ที่จริงคนพวกนี้ แหละคือต้นตอปัญหาของเมืองไทย 45
ท่านนายกที่เคารพ ผมยังยืนยันในคุณสมบัติและคุณลักษณะอันเลิศของท่าน และเห็นใจอย่างยิ่งที่ท่านนายก พลอยกลายเป็นปัญหาของบ้านเมืองไปด้วย ทั้งนี้ก็เพราะองค์ประกอบของพรรคและส.ส.โสโครกที่มีอยู่ ประกอบกับองค์ประกอบของตารวจ ข้าราชการ ทหาร ที่ดื้อแพ่งแข็งข้อต่อต้านท่านนายกภายในทาเนียบลงไป ถึงกองบัญชาการและรากหญ้า การผิดฝาผิดตัวดังกล่าว มันไม่ใช่เรื่องของปัจเจกบุคคลดอก มันเป็นเรื่องของโครงสร้างและองค์ประกอบ ทางการเมือง และกลไกของระบบราชการทหารตารวจที่ถูกครอบครองและครอบงาโดยคนประเภทที่บรรยาย มาข้างต้นทั้งสิ้น และคนประเภทนี้ถูกกดปุ่มโดยคนชั่วคนเดียวได้ง่ายๆ ผมเสียดายตั้งแต่คมช.จนกระทั่งถึงวันนี้ ผมนึกถึงพระราชดารัสวันที่ท่านนายกพาครม.เข้าถวายสัตย์ว่า “คน ทั่วๆ ไปทาไม่ดีคนหนึ่งคนใด ก็ทาให้ประเทศชาติล่มจมได้” ผมเสียดายที่พวกเราไม่ตั้งใจจับตาดูว่าคนไม่ดีคนหนึ่งคนใดนั้นมีกี่คนกันแน่ และแต่ละคนมันร่วมกันทาร้าย ประเทศชาติอย่างไรบ้าง ในเดือนเมษายน 2534 ผมเคยเขียนเตือน รสช. ว่า“สุภาษิตที่ว่า ปล่อยคนผิดเสีย 100 คน ยังดีกว่าจับ(ผิด)คน ถูกคนเดียว นั้นใช้ไม่ได้ เพราะบางทีการปล่อยคนผิดเพียงหนึ่งคน อาจจะพากันอับจนทั้งชาติได้” เราจะโทษรัฐบาล ศาลหรือตารวจดี ที่ปล่อยให้คนผิดเพียงหนึ่งคนเผาผลาญชาติจนจะวอดวาย พี่น้องชาวไทยที่เคารพ ประวัติศาสตร์กาลังจะซ้ารอย วันนี้พวกนักการเมืองที่เคยซ่องเสพย์กันมาทั้งในพรรค รัฐบาลพรรคร่วมและพรรคฝ่ายค้านกาลังพากันน้าลายไหลคิดถึงวันเลือกตั้งและพรบ.งบประมาณ จะพากัน เรียกร้องความปรองดองสมานฉันท์ด้วยการปล่อยโจรนับร้อยที่พากันเผาเมืองและเข่นฆ่าทหารกับประชาชนตา ดาๆไปหยกๆ ผมขอวิงวอนให้พี่น้องประชาชนเรียกร้องสนับสนุนให้ท่านนายกเข้มแข็งและบังคับใช้กฎหมายอย่างเคร่งครัด อย่าเห็นแก่พวกพ้องในอดีตมากกว่าความสงบสุขและขื่อแปของบ้านเมืองในอนาคต พี่น้องชาวไทยและท่านนายกที่เคารพ พวกเราอย่าเพิ่งพากันประมาทและคิดเอาง่ายๆว่าฝันร้ายผ่านไปแล้ว และ จะไม่หวนคืนมาอีก ผมเกรงว่าสงครามกลางเมือง การนองเลือด และวินาศกรรม ยังจะตามมาด้วยการลอบ สังหารผู้นาและการจับตัวคนสาคัญเป็นตัวประกัน อันเป็นธรรมชาติอันโหดร้ายของการต่อสู้ทางการเมือง
46
การมีส่วนร่วมอย่างแท้จริงของพี่น้องประชาชนกับรัฐบาลเท่านั้นจึงจะระงับเหตุร้ายต่างๆและนาสันติสุขกลับคืน มาได้ ผมอยากขอร้องให้พี่น้องประชาชนทุกภาคส่วนหันมาสนับสนุนท่านนายกรัฐมนตรีตราบเท่าที่ยังดารง ตาแหน่งอยู่จนกว่าจะกวาดล้างกบฎสาเร็จ ผมหวังว่าท่านนายกคงจาคาขอ 3 ข้อของผมก่อนที่จะได้เป็นนายกได้ ผมขอให้ท่านนายก (1)เข้าเฝ้าพระ เจ้าอยู่หัวเป็นประจาตามจารีตประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข (2)นาประชาธิปัตย์เข้าเป็นสมาชิก สมาคมพรรคอนุรักษ์นิยมสากล อันจะเป็นประโยชน์ต่อไทยในอียู (บัดนี้เพื่อนรุ่นน้องของท่านนายกก็ได้เป็น นายกรัฐมนตรีคนใหม่ของอังกฤษตามที่เราคาดกันแล้ว) และ(3) สร้างยุทธศาสตร์อีสานเพื่อนาประชาธิปัตย์ให้ พ้นสภาพแก๊งเลือกตั้งเป็นพรรคการเมืองที่แท้จริง ผมเสียดายเวลา 15 เดือนที่ผ่านไป นอกจากจะมิได้สร้างแล้ว รัฐบาลยังปล่อยให้พรรคนรกแดงปลุกปั่นคนอิสานทาลายประเทศไทยจนแทบจะพังพินาศ ท่านนายกที่เคารพ ไหนๆไม่นานท่านนายกก็จะต้องไป ผมขอร้องท่านนายกอย่าได้คิดนาพรรคร่วมเข้าสู่การ เลือกตั้งสมัยหน้าเลย ผมขอให้ท่านนายกร่วมกับพี่น้องชาวไทยปูพื้นฐานไปสู่การปฏิรูปและความสงบสุขจะดีกว่า ผมอยากเห็นพี่น้องประชาชนสนับสนุนท่านนายกให้ทาดังต่อไปนี้ครับ (1)ออกพระราชกฎษฎีกางดใช้รัฐธรรม นูญบางมาตราที่เป็นอุปสรรคในการปกครอง (2)เข้าเฝ้าถวายรายงานพระเจ้าอยู่หัว (3)ยุบสภา-ลาออกเพื่อให้ เกิดสุญญากาศ (4)สนับสนุนให้นาม.7และมาตราอื่นๆที่จะนาไปสู่การปฏิวัติประชาธิปไตยอย่างแท้จริง และ (5)ข้อสุดท้ายที่ควรนามาทาก่อนโดยเร็วที่สุด คือผ่านพ.ร.บ.ส่งเสริมเสรีภาพในการแสดงความคิดเห็นและการ ชุมนุมทางการเมืองที่จะเป็นหลักประกันความสงบและประชาธิปไตยอย่างแท้จริงตามแนว Public Order Act ของอังกฤษโดย (ก)กาหนดจานวนบุคคลและสถานที่ชุมนุมโดยไม่ต้องขออนุญาต(ข)จานวนที่จะต้องขออนุญาต (ค)ทะเบียนยานพาหนะและบุคคลผู้รับผิดชอบและการประกันล่วงหน้า(ง)กาหนดสถานที่ต้องห้ามเช่น โรงพยาบาล เขตพระราชฐาน ทาเนียบรัฐบาล รัฐสภา ทั้งนี้เพื่อยุติเด็ดขาดมิให้มีการชุมนุมกดหมู่ของโจรป่าที่ อ้างประชาธิปไตยมาทาลายบ้านเมืองได้ต่อไปอีกตลอดกาล ท่านนายกและพี่น้องชาวไทยที่เคารพ เชื่อผมเถิดครับ บรรดานักการเมืองที่มีอยู่รักษาบ้านเมืองประชาธิป ไตย และสถาบันไว้ไม่อยู่แน่ๆ โปรดร่วมกันเปิดหนทางให้ในหลวงปวงชนและกองทัพได้ช่วยกันสร้างประชาธิปไตยที่แท้จริงไว้เป็นมรดกให้ ลูกหลานและบ้านเมืองในครั้งนี้ด้วยเถิด ด้วยความเคารพยิ่งจากปราโมทย์ นาครทรรพ ๒๑ พฤษภาคม ๒๕๕๓ 47
จดหมายเปิดผนึกฉบับที่ 2 ถึงสภาร่างรัฐธรรมนูญ (ตอนที่2) โดย ปราโมทย์ นาครทรรพ 19 มีนาคม 2550 ผมขอเสนอวิธีตัดเชื้อโรคกงจักรกับน้าเน่าดังนี้ 1. การตัดน้าเชื้อซึ่งระบาดอยู่ใน ส.ส.ร.และ คมช. โดยเฉพาะอย่างยิ่งกรอบคิดที่จะยึดรัฐธรรมนูญ 2540 เป็นสรณะ กับแบบแผนและกรอบที่กรรมาธิการร่างฯ ดาเนินมาอยู่ในขณะนี้ เป็นการวนเวียนอยู่ในอ่าง เรื่อง ใครจะเป็นอะไรที่ไหนอย่างไร หรือเรื่องการวางหมาก วางเกมต่อสู้ชิงอานาจ เหมือนการร่างรัฐธรรมนูญหลัง รัฐประหารทั่วไป ถึงเวลาแล้วที่เราจะหันไปสู่กรอบรัฐธรรมนูญนิยมราชประชาสมาสัยคือ (1) ระบุการจากัด อานาจรัฐบาล ห้ามมีการสงวนอานาจรัฐบาลโดยใช้คาว่า ทั้งนี้หรือยกเว้นแต่จะมีกฎหมายบัญญัติไว้เป็นอย่าง อื่น (2) ย่อและสรุปสิทธิเสรีภาพพื้นฐานของประชาชนโดยไม่ต้องจาระไนทุกอย่าง โดยถือว่าสิ่งที่มิได้ห้ามไว้ และมิได้ระบุลงไป ถือว่าสงวนไว้เป็นสิทธิเสรีภาพของประชาชนทั้งสิ้น จะจากัดไว้ล่วงหน้า โดยคาว่า ทั้งนี้หรือ ยกเว้นแต่จะมีกฎหมายบัญญัติไว้เป็นอย่างอื่นไม่ได้ (3) การแบ่งแยกคานอานาจและกลไกของอธิปไตยทั้งสาม ให้มีประสิทธิภาพและพอเพียง ไม่จาต้องไปอาศัยองค์กรตรวจสอบอิสระให้เข้ามาเป็นอานาจอธิปไตยที่ 4 จน เกินขอบเขตและความจาเป็น (4) จัดระบบพระราชอานาจของพระมหากษัตริย์ในระบอบประชาธิปไตยให้ ถูกต้องตามจารีตประชาธิปไตยสากลและนิติราชประเพณีของไทย ในระหว่างที่มีการร่างฯ จะต้องให้มีทางเดินข้อมูลข่าวสารและการร่วมพิจารณาหลักการและมาตรการ ต่างๆ โดยสภา สถาบันต่างๆ อย่างกว้างขวาง รวมทั้งพระบรมราชวินิจฉัยอีกด้วย ผมขอกล่าวย้าถึงความสาคัญในข้อ (4) ผมยังไม่เห็นความผลงานของ ส.ส.ร.(หรือแม้แต่ คมช.) ที่จะให้มี การศึกษารวบรวมข้อคิดทฤษฎี กรณีศึกษาเปรียบเทียบและภาคปฏิบัติของเรื่องพระราชอานาจให้จริงจังเป็น ระบบเลย 2. ขยายการมีส่วนร่วมที่แท้จริงของประชาชน ผมเสนอแล้วว่าให้เริ่มต้นได้อย่างง่ายๆมีระบบและ ประหยัด และค่อยๆ ขยาย วิวัฒนาการไปเรื่อยๆ จนกระทั่งกลายเป็นสถาบัน “สมัชชาประชาธิปไตยแห่งชาติ” โดยไม่ต้องขี่ช้างจับตั๊กแตนออกกฎหมายหรืองบประมาณ การจัดตั้งส่วนราชการ หรือองค์กรมหาชนใดๆ ทั้งสิ้น เพียงแต่ ส.ส.ร.และคณะกรรมาธิการร่างฯ ทุกคนกรอกแบบฟอร์มที่เหมือนกัน 3 หมวด แต่ละหมวดให้ทุกคน เสนอความเห็นของตน 10 ถึง 15 ข้อ ว่าต้องเขียนอะไร ไม่ต้องเขียนอะไร และต้องไม่เขียนอะไรลงไปใน 48
รัฐธรรมนูญ เสร็จแล้วหรือพร้อมๆ กัน ก็รีบจัดให้ประชาชนและสถาบันต่างๆ โรงเรียน มหาวิทยาลัย วัด รวมทั้งกลุ่มการเมืองกรอกแบบฟอร์มอย่างเดียวกัน ตารางและคาอธิบายการเก็บ ตรวจสอบ และวิเคราะห์ข้อมูล ร่างรัฐธรรมนูญที่สามารถกระทาได้พร้อม กันทั้งประเทศ ข้อมูลที่ได้มาจะนามาเปรียบเทียบวิเคราะห์โดยใช้คอมพิวเตอร์และไอทีช่วยได้ในเวลาที่รวดเร็วเป็นจักร ผัน อย่าด่วนตัดสินว่าความคิดของใครผิดของใครถูก ขอให้เคารพในความคิดเห็นซึ่งกันและกัน แต่ต้องตระหนัก ว่าการสร้างสถาบันที่จะให้มีความมั่นคงด้วย และเป็นที่ยอมรับของนานาอารยประเทศด้วย ย่อมจะต้องมี มาตรการ มาตรฐาน ความคิดและทฤษฎีที่จาเป็นหรือเป็นแนวทางในการปรับและปรุงแต่ง มิใช่จะใช้ อานาจบาตรใหญ่หรือดีกรีสูงๆ เอาสีข้างเข้าถู เช่นเดียวกับธนาคาร หากเปิดปิดไม่เป็นเวลา กาหนดอัตรา ดอกเบี้ยหรืออัตราแลกเปลี่ยนตามใจ หลอกฮุบโครงการของลูกค้า หรือคอยกินกาไรจากใต้โต๊ะ ไม่ทาตาม มาตรฐานที่เป็นสากล ก็คงจะดาเนินการอยู่ไม่ได้ หรือเรียกว่าธนาคารไม่ได้ ฉันใดฉันนั้น ข้อมูลทั้งหมด อาจนามาประมวลโดยรวมทั้งประเทศ และ แยกกันเป็นหมวดหมู่ เช่น ความเห็นของ ส.ส.ร. ความเห็นของสมัชชาประชาชน ความเห็นของสถาบันศาสนา ของครู ของนักเรียน ของพรรคการเมือง ตัวอย่างและตารางข้างล่างนี้ บรรจุข้อมูลสมมุติ มิใช่ความเห็นของผม เช่น สมมติว่าเป็นความเห็นของ ส.ส.ร. 100 ท่าน ถ้าหากทุกคนเห็นตรงกันหมดก็จะมีข้อมูลหมวดละแค่ 15 ข้อ ถ้าต่างกันหมดทุกๆ ข้อ ก็อาจจะมี ข้อมูล= 100X15 ข้อ ซึ่งเป็นไปไม่ได้ทั้ง 2 กรณี ความเห็นกลุ่มอื่นๆ ก็จับกลุ่ม แตกกลุ่ม หรือกระจายเป็น หรือไม่เป็นสัดส่วนต่างๆ กัน แล้วแต่ขนาดของกลุ่ม แต่เรามีวิธีทางสถิติที่จะวิเคราะห์ได้ง่ายๆ ผมรับรองว่ามี วิธีการที่เป็นวิทยาศาสตร์ที่จะช่วยเราให้ตัดสินใจเลือกได้ดีและถูกต้องที่สุด (1) ประเด็นที่ต้องเขียนลงไปในรัฐธรรมนูญ ชื่อของกลุ่มหรือสถาบันและจานวนผู้เลือกหัวข้อนี้ หลักคิด และทฤษฎีสากล กรณีศึกษาในต่างประเทศ หลักกฎหมายและจารีตประเพณี และกรณีศึกษาการเมืองไทย ข้อมูลข้อเท็จจริงเอกสารสถิติและหลักเปรียบเทียบ 1. นายกรัฐมนตรีต้องมาจากการเลือกตั้ง ชื่อ/ส.ส.ร.จานวนเต็มผูอ้ อกเสียง/100 จานวนผู้เลือก ข้อนี้เสียง/ 63 49
2. ต้องระบุศาสนาประจาชาติ ชื่อ/ศูนย์พุทธก้าวหน้า จานวนเต็มผู้ออกเสียง/500,500 จานวนผู้เลือกข้อ นี้/500,108 3. ส.ส.ต้องสังกัดพรรค ชื่อ/กรรมาธิการร่างจานวนเต็มผู้ออกเสียง/35จานวนผู้เลือกข้อนี้/18 15. เลือกนายกรัฐมนตรีโดยตรง ชื่อ/กลุ่มรักไทจานวนเต็มผู้ออกเสียง/16 ล้าน จานวนผู้เลือก ข้อนี้/12 ล้าน (2) ประเด็นที่เขียนหรือไม่เขียนลงในรัฐธรรมนูญก็ได้ 1. พระมหากษัตริย์ทรงเป็นพุทธมามกะ ชื่อ/ยุวพุทธสมาคมจานวนเต็มผู้ออกเสียง/ 5,000 จานวนผู้เลือก ข้อนี้/ 2,501 2. บุรุษ สตรี กะเทย และคนพิการมีสิทธิเท่าเทียมกัน ชื่อ/สมาคมสตรีจานวนเต็มผู้ออกเสียง/100 จานวนผู้เลือกข้อนี้/ 50 3. ให้พุทธเป็นศาสนาประจาชาติ ชื่อ/พุทธผู้เบิกบานสมาคมจานวนเต็มผู้ออกเสียง/5,000 จานวนผู้เลือกข้อนี้/ 4,999 4. รัฐต้องส่งเสริม ระบบเศรษฐกิจพอเพียง ชื่อ/อบต.ทักษิณจานวนเต็มผู้ออกเสียง/5,000 จานวนผู้เลือกข้อนี้/4,999 12. พระราชอานาจพิเศษในการแต่งตั้งนายกรัฐมนตรี ชื่อ/กลุ่ม ม.7จานวนเต็มผู้ออกเสียง/ 1,000 จานวนผู้เลือกข้อนี้/1,000 (3) ประเด็นที่ต้องไม่เขียนลงในรัฐธรรมนูญ 1. ให้ศาสนาพุทธเป็นศาสนาประจาชาติ ชื่อ/กลุ่มศิษย์ระวีจานวนเต็มผู้ออกเสียง/2,000 จานวนผู้เลือกข้อนี้/2,000 2. ให้ไทยใช้ระบบเศรษฐกิจเสรีนิยม ชื่อ/ราษฎรอาวุโส จานวนเต็มผู้ออกเสียง/1,100 50
จานวนผู้เลือกข้อนี้/1,099 3. ภิกขุพุทธศาสนานอกจากมหานิกายและธรรมยุตินิกายไม่มีสิทธิเป็นสังฆราช 15. บุคคลเพศเดียวกันแต่งงานกันไม่ได้ ชื่อ/กลุ่มอะไรก็ได้จานวนเต็มผู้ออกเสียง/เท่าใดก็ได้จานวนผู้ เลือกข้อนี้/เท่าใดก็ได้ จะมีหมายเหตุ เพิ่มเติมหรือปรับปรุงให้ดีขึ้นอย่างไรก็ได้ หรือแยกวิเคราะห์แต่ละกลุ่มทุกหมวดก็ได้ ด้วย เนื้อที่จากัดจึงคละๆ ให้ดูพอเป็นตัวอย่าง ถ้าหากบุคคลหรือกลุ่มต้องการประชุมปรึกษาหารือกันหรือติดตามการมีส่วนร่วมและไปพร้อมกันกับ ส.ส.ร.หรือกรรมาธิการด้วย ก็สามารถจัดให้มีคอมพิวเตอร์ อินเทอร์เน็ต ทีวี วิทยุ โทรศัพท์ และข้อมูลต่างๆ ไว้ ที่ประชุม อบต. อบจ. เทศบาล อาเภอ และจังหวัดได้ทั่วประเทศ ซึ่งไม่ต้องตาน้าพริกละลายแม่น้า โดยท้องถิ่น กับรัฐจัดงบประมาณและอุปกรณ์สมทบเท่าที่จาเป็น ใช้ส่วนที่รัฐธรรมนูญเคยบังคับให้กระจายงบไปท้องถิ่นก็ยัง ได้ และขอให้เข้าใจว่าสามารถทาให้เป็นราชประชาสมาสัยได้ด้วย โดยการขอพระราชทานและบริจาคสมทบ โดยตรงหรือผ่านมูลนิธิราชประชาสมาสัยที่มีอยู่แล้ว เพียงแต่เพิ่มวัตถุประสงค์เข้าไป และจัดกลุ่มที่สนใจพระ ราชอานาจศึกษาเรื่องนี้ให้จริงจัง แม้กระทั่งการกราบบังคมทูลขอพระบรมราชวินิจฉัยในเรื่องสาคัญๆ ก็อาจ กระทาได้ สาหรับท่านที่ยังงงอยู่ ผมขออธิบายต่อว่า การขอความคิดเห็นประชาชนอย่างกว้างขวางอย่างนี้จะได้ กรอบใหญ่ กรอบใหม่และกรอบเปรียบเทียบที่บรรจุความคิดเห็นของประเทศไทยอย่างแท้จริง ความเห็นที่ไม่ ตรงกันนั้นก็อาจจะต่อรอง อธิบาย ประนีประนอมและชี้แจงให้เกิดความเข้าใจร่วมกันได้ โดยมีหลักคิดทฤษฎีทั้ง สากลและไทย ตลอดจนหลักฐานสถิติและข้อเปรียบเทียบที่มิได้เกิดจากอัจฉริยะหรือวาทศิลป์ของใคร ไม่มีใคร แอบอ้างใคร การเลือกก็ต้องกระทาด้วยเหตุผลมีหลักยึดถือว่านี่คือสิ่งที่ใกล้เคียงกับประชาธิปไตยอันมีพระมห หากษัตริย์เป็นประมุขมากที่สุด มีหลักฐานอ้างอิงและสถิติข้อมูลที่น่าเชื่อถือเป็นกลาง การกระทาประชามติในขั้นต่อไปก็จะเป็นเรื่องง่ายประหยัด หวังผลได้ สงบและสมานฉันท์ ด้วยความเคารพและหวังดีอย่างจริงใจ ปราโมทย์ นาครทรรพ
51
จดหมายเปิดผนึกฉบับที่ 1 ถึงสภาร่างรัฐธรรมนูญ โดย ปราโมทย์ นาครทรรพ 12 มีนาคม 2550 จดหมายนี้เขียนด้วยความเคารพในเกียรติยศ ศักดิ์ศรี ภูมิปัญญา ประสบการณ์ และความจริงใจของ ส.ส.ร.ทุกท่าน และด้วยความเป็นมิตรที่ไม่เคยเปลี่ยนแปลง โปรดกรุณาช่วยผมเรียกความนับถือในความเป็นมืออาชีพ ความเป็นผู้มีความสานึกรับผิดชอบและโยนิโส มนสิการของท่านกลับคืนมาด้วย ผมเกรงว่ามานะทิฐิและความมักง่ายจะทาให้ท่านเปลี่ยนเมืองไทยให้หมดความเป็นเมืองไทยที่เราเคยรู้จัก กลายเป็นเมืองที่มีแต่การช่วงชิงอานาจ และเพิ่มความโหดร้ายในการต่อสู้กันขึ้นทุกที ในที่สุดแม้ ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุขก็จะเป็นแต่เพียงคาขวัญลอยๆ ในตัวหนังสือ แต่ถ้าท่านแน่วแน่แก้ไขในสิ่งผิด พยายามปรับปรุงพฤติกรรมและระบบวิธีทางาน อย่าให้เป็นเหมือนที่ผ่าน มา เมืองไทยก็อาจจะยังพอมีโอกาส ผมจาเป็นต้องเขียนจดหมายนี้ และจะไม่ต่อความยาวสาวความยืด จะพูดตรงๆ สั้นๆ ถึงจุดอ่อนและ ข้อจากัดที่ ส.ส.ร.จะต้องแก้ไข 1. ส.ส.ร.เป็นองค์กรที่ขาดความชอบธรรมและมิใช่ตัวแทนของประชาชนตามหลักประชาธิปไตย ส.ส.ร. จัดตั้งขึ้นตามรัฐธรรมนูญฉบับชั่วคราว (เผด็จการ) และโดยคณะผู้ยึดอานาจการปกครอง หากค้นดูในเว็บไซต์ นานาชาติ ก็จะพบคาวิจารณ์หรือการประณามท่านอย่างเผ็ดร้อน ซึ่งมิใช่วัตถุประสงค์ของผมในการเขียน จดหมายนี้ คนหลายกลุ่มที่ไม่เกี่ยวกับทักษิณเลย อาจจะเรียกสภาร่างฯ ของท่านเบาๆ ว่า “a creature of the junta” คาว่า creature แปลให้เผ็ดร้อนมีอารมณ์แต่อาจจะไม่ถูกต้องนักว่า “สัตว์เลี้ยง (ของเผด็จการ)” จริงๆ แล้ว creature แปลว่า สิ่งที่มีชีวิต ถ้าจะให้เบาอาจจะแปลว่า “ผลิตผลหรือสิ่งที่มีชีวิตที่ คมช.เป็น ผู้ให้กาเนิด” ก็จะรื่นหูกว่า ในพจนานุกรม Longman มีการยกตัวอย่างถึงชายผู้ไร้ศักดิ์ศรีว่า He was a creature of the military government แปลว่า เขาเป็นคนอยู่ใต้อาณัติของรัฐบาลทหาร 52
2. องค์ประกอบของ ส.ส.ร.ประกอบด้วยชนชั้นปกครองอภิสิทธิชน ซึ่งซ่องเสพอานาจมาด้วยการเกื้อหนุน ซึ่งกันและกัน ปราศจากการยอมรับหรือความยินดียินร้ายของประชาชน คนส่วนใหญ่ของประเทศ ว่าไปแล้ว ส.ส.ร.ก็คือ ข้าราชการใหญ่และนักวิชาการดัง พร้อมกับตะกอนของพวกที่เคยลอยฟ่องในอดีตเกาะติดมาด้วย ยัง ไม่ยอมปล่อย คละเคล้าด้วยนักธุรกิจตัวเสริม นักวิชาการปากกล้าและบรรดานักเคลื่อนไหวต่อต้านทักษิณหยิบ มือหนึ่งพอเป็นกระษัย ส.ส.ร.มี แต่แทบจะไม่มีนักการเมืองที่ผ่านการเลือกตั้ง มีประสบการณ์เข้าใจวิถีแห่งการเมืองและความ ต้องการอันแท้จริงของประชาชนเลย หรือตัวแทนแท้ๆ ของกลุ่มชนที่หลากหลายอย่างแท้จริง ก็หาไม่เจอ ความขยะแขยงนักการเมืองเป็นเชื้อโรคติดต่อที่รุนแรงของชนชั้นปกครองและนักวิชาการไทย คนพวกนี้ มักจะ ยกเอาความยุติธรรมบ้าง ความเป็นกลางบ้าง ความรอบรู้เชี่ยวชาญในวิชาการบ้าง ความอิดหนาระอาใจ ในน้าเน่าบ้าง มาเป็นข้ออ้างบังหน้า เพื่อกาจัดความคิดหรือเสียงของนักการเมืองให้หมดไป 3. ที่ผมพูดมาทั้ง 2 ข้อข้างต้นนี้เป็นความผิดพลาดหลักของ คมช.กับ รัฐธรรมนูญฉบับชั่วคราว พ.ศ. 2549 ที่เป็นรัฐธรรมนูญถอยหลังเข้าคลองอย่างยิ่ง ทั้งนี้มิได้หมายความว่าผมนิยมประชาธิปไตยจอมปลอมระบอบ ทักษิณ ที่ฉกฉวยเอาเนื้อหาของเผด็จการมาใช้โดยการเอารัฐธรรมนูญมาปิดป้ายหลอกตบตา ทาให้คนไทยขี้เกียจ คิดและชาวต่างประเทศที่ดูเป็นแต่ยี่ห้อการเลือกตั้ง หลงเดือดดาลบ่นบ้า อยากขับไล่ คมช.ให้ไปในวันในพรุ่ง ผมเองยังมองโลกในแง่ดี และหวังว่าทั้ง ส.ส.ร. ครม. และ คมช.จะสานึกและปรับปรุงตัวเองได้ ผมสันนิษฐานว่า พวกท่านทั้งหลายยังเชื่อมั่นและเห็นแก่ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็น ประมุขอย่างแท้จริงเช่นเดียวกับผม แต่ถ้าเมื่อใดผมพิสูจน์ได้ว่าตรงกันข้าม ผมจะไม่ลังเลใจที่จะขับไล่ท่าน โดยจะยอมสู้ศึกสองหน้ากับระบอบ ทักษิณพร้อมๆ กันอีกด้วย 3. หันกลับมาดูกรอบคิด วิธีการ แบบแผน และพฤติกรรมในการร่างรัฐธรรมนูญของพวกท่าน ผมเสียใจที่ จะต้องพูดว่า ท่านหาได้สานึกแม้แต่น้อยในจุดด้อยที่พวกท่านขาดความชอบธรรม จาจะต้องเสริมด้วยการเข้าหา และร่วมพลังกับปวงชนชาวไทย ผ่านกลุ่มพลังที่ก้าวหน้าทางความคิดและใกล้ชิดกับประชาชน ท่านกลับยัง 53
ปลาบปลื้มอยู่ในสิ่งตอบแทนและเกียรติยศจอมปลอม จมปลักอยู่กับพฤติกรรมที่เหมือนกับอดีตตั้งแต่ปี 2490 เป็นต้นมาไม่มีเปลี่ยนแปลง บริบทและต้นแบบของรัฐธรรมนูญตั้งแต่ปี 2490 ด้อยกว่ารัฐธรรมนูญอื่นๆ ก่อนหน้ายุครัฐประหาร รัฐประหารปูรากฐานให้เผด็จการอานาจนิยมตามก้นอเมริกาให้เติบโตจนฝังรากลึก และจนบัดนี้ก็ยังไม่ยอมลดรา ผมเคยเล่าถึงความดีต่างๆ ของระบบอเมริกัน รวมทั้งปรัชญาการเมืองและรัฐธรรมนูญอเมริกัน เหตุไฉน ผู้นาไทยจึงไม่เคยเลือกเอาแก่นกลับเอาแต่ขี้หรือกระพี้ของอเมริกันมาแพร่เกร่อเมืองไทย แถมบางอย่างยังขี้ก้อน ใหญ่กว่าช้าง หรือเก่งกว่าตาราเสียอีก เช่น การค้าปริญญา ขยายอุดมศึกษานอกระบบ หรือการเลือกสมาชิกและ หน้าที่ของวุฒิสภา เป็นต้น นี่ก็กาลังจะอุตริเอาการจากัดเทอมประธานาธิบดีอเมริกันมาใช้กับสส.และนายกรัฐมนตรีโดยไม่เข้าใจความ ตื้นลึกหนาบางในกลไกของการสร้างผู้นาและระดมคนเข้าสู่ระบบ ที่ให้ความยาวนานหลากหลายและชั่วโมงบิน เป็นเครื่องกลั่นกรองเพิ่มประสิทธิภาพและภาวะผู้นาให้กับนักการเมืองในระบบรัฐสภา เราอยากเอาตัวอย่าง รวยแล้วเรียนลัด ยัดแล้วรีบเตลิดหนีแบบฝ่ายบริหารอเมริกัน โดยไม่สนใจว่า อเมริกามีแต่เรายังไม่มีกฎหมายหรือจารีต จริยธรรมหรือกลไกในการควบคุมที่มีความเด็ดขาดเป็นกลางอย่างของ เขา ฝ่ายนิติบัญญัติอเมริกันมีความต่อเนื่องและยาวนานที่สุดในโลก ทั้งๆที่ส.ส.ต้องเลือกตั้งใหม่ทุกๆ 2 ปี วุฒิมี อายุแค่ 6 ปี แต่บางคนได้รับเลือกต่อเนื่องตั้งแต่มีสิทธิจนกระทั่งอายุถึง 90 ปี จากปี 1789 จนถึงปัจจุบัน อเมริกามีวุฒิทั้งหมดเพียง 1 ,875 คนเท่านั้น ที่ทาสถิติอยู่นานที่สุด 20 คน อยู่ยาวจาก 38 ถึง 48 ปี ต้นตระกูลนักร่างรัฐธรรมนูญไทยสืบทอดมาถึงปัจจุบัน ติดยึดกรอบคิด พิธีกรรมและวิธีการร่างรัฐธรรมนูญ แบบฝรั่งเศส กล่าวคือ (1) รุ่มร่ามเยิ่นเย้อด้วยวาทศิลป์และอุดมการณ์ ในขณะที่คับแคบและคลุมเครือในอรรถ และพยัญชนะที่นามาใช้ตามแบบอย่างของประเทศที่ใช้ระบบประมวลกฎหมาย (2) มีเป้าหมายในการแก้ปัญหา และความขัดข้องทางการเมืองที่เกิดขึ้นในอดีตและเป็นเรื่องของยุคสมัยโดยเฉพาะที่อาจจะไม่หวนกลับคืนมา โดยเฉพาะอย่างยิ่งความขัดแย้งระหว่างองคาพยพและกลุ่มทางการเมือง ดังนั้นรัฐธรรมนูญฝรั่งเศสจึงต้องถูกฉีก ครั้งแล้วครั้งเล่า เสนอกลไกใหม่ เขียนขึ้นมาใหม่ครั้งใดก็เผชิญกับปัญหาใหม่ที่เกิดมาทีหลัง ดูเหมือนจะคล้ายแต่ ก็แตกต่างจากของเดิม เพราะวันเวลาและองคาพยพในทางการเมืองเปลี่ยนแปลงไป รัฐธรรมนูญที่ยั่งยืนที่สุดคือ 54
ฉบับปัจจุบันเป็นรัฐธรรมนูญพันทางที่เขียนโดยนายมิเชล เดอเบร เพื่อสนองวิสัยทัศน์ของนายพลเดอโกล แก้ไข เพิ่มเติมแล้ว 18 ครั้ง และใครก็ไม่สมควรจะเอาเป็นแบบอย่าง ยกเว้นแบบที่ผิดๆ เช่น ม.17 ของธรรมนูญการ ปกครองไทย ที่ยังคงร่องรอยอยู่ในหัวของนักกฎหมายทาสเผด็จการ (3)ซ่อนเร้นอยู่ใต้ผิวหนังของรัฐธรรมนูญ ฝรั่งเศสทุกฉบับคืออานาจและความเป็นหนึ่งของศูนย์รวมอานาจ มหานครปารีส เมืองหลวงของประเทศ "Everything emanates from and therefore controlled by Paris" นั่นคือรากเหง้าของระบบบริหาร แผ่นดินแบบ " รวมศูนย์-รวมอานาจ-เป็นทาสส่วนกลาง" ของไทย ที่มีการปกครองส่วนภูมิภาคเป็นกระดูกสัน หลัง อังกฤษ ญี่ปุ่น และประชาธิปไตยอื่นๆที่มีการปกครองท้องถิ่นที่แท้จริง จะไม่มีคนจากส่วนกลางมาคอยคุม และดูดซึมทรัพยากรทั้งมนุษย์และธรรมชาติไปประเคนให้เมืองหลวงหมด ทั้งนี้ผมมิได้พูดว่าระบบอบต.หรืออบจ.ของเราถูกต้องและพร้อมที่จะแทนที่ส่วนภูมิภาคได้ แต่สักวันหนึ่ง เร็วดีกว่าช้า เราต้องการการออกแบบที่แนบเนียนและกลมกลืนสาหรับอนาคตที่ดีกว่า ซึ่งไม่สามารถกระทาได้ถ้า พวกเรายังติดยึดกรอบความคิด วิธีร่าง และแม่แบบอย่างเก่า พร้อมจดหมายนี้ ผมขอมอบบทความเกี่ยวกับรัฐธรรมนูญมาอภินันทการท่าน 6 เรื่องคือ 1. รัฐธรรมนูญ ยุคดิจิตอลกับปี 2330 2. ได้โปรดเถิด ..อย่าลากรัฐธรรมนูญไปลงหลุมอีกเลย 3. พรรคหัวหน้าตั้งไม่ยั่งยืน (1) และ (2) 4. ต้องเขียน ไม่ต้องเขียน และต้องไม่เขียนลงในรัฐธรรมนูญ 5. คาขอโทษ ? 6. กาหนัด เลือกตั้ง VS หน่ายเลือกตั้ง บทความเหล่านี้เป็นส่วนประกอบของ “ผนึกกาลังฟ้าดินจากในหลวงถึงปวงชนสู่ราชประชาสมาสัย” เมื่อ จบบริบูรณ์ในตอนที่ 6 ในวันศุกร์หน้านี้ ผมจะส่งมาอภินัน ท นาการท่านเพิ่มเติม ขอกราบเท้าวิงวอนให้ท่าน อ่าน แล้วตอบว่าท่านเห็นด้วยหรือไม่เห็นด้วยราชประชาสมาสัยเพราะเหตุใด เพื่อจะให้บทความนี้บังเกิดผลสักอย่างหนึ่ง ซึ่งตรงกับเจตนาหรือการประชาสัมพันธ์ของท่านอยู่แล้ว ผมขอ วิงวอนให้ท่านนาข้อเสนอเรื่องการให้ประชาชนมีส่วนร่วมอย่างแท้จริงมาปฏิบัติ ตามบทความเรื่อง รัฐธรรมนูญ ยุคดิจิตอลฯ ดังนี้ สสร.และกรรมาธิการร่างทุกท่านนาแบบฟอร์มมากรอกว่าท่านเห็นว่า (1)จะต้องเขียนอะไร (2)ไม่ต้อง เขียนอะไร และ(3)ต้องไม่เขียนอะไร ลงไปในรัฐธรรมนูญบ้าง แต่ละหัวข้อท่านควรจะกรอกได้ 10-15 ข้อ หรือมากกว่านั้นก็ได้
55
ในขณะเดียวกัน ท่านก็ขอและอานวยความสะดวกให้ประชาชนทุกคน องค์กรภาคประชาชน สถาบัน ศึกษา องค์กรภาคธุรกิจ อุตสาหกรรม ข้าราชการ ทหารตารวจทั่วไป รวมทั้งคนที่เป็นแฟนและบริวารอดีต นายกฯทักษิณ และกลุ่มการเมืองต่างๆ ฯลฯ ให้กรอกแบบฟอร์มอย่างเดียวกัน คนละ 10-15 ข้อทั้ง 3 รายการเช่นเดียวกับท่าน เพื่อจะได้ส่งมาวิเคราะห์พร้อมๆกัน โดยใช้หลักการและหลักฐานทั้งไทยและเทศมา เปรียบเทียบก่อนที่จะตัดสินใจ ซึ่งทุกคนจะได้รับคาอธิบายให้ตรงกันว่าทาไม ท่านกับรัฐบาลสามารถใช้เทคโนโลยีสื่อสารง่ายๆระดมประชาชนทั่วประเทศให้เข้ามามีส่วนร่วมผ่าน สื่อ จุดหรือสถาบันต่างๆ ต่างก็มีสิทธิที่จะมีส่วนร่วมอย่างง่ายๆ ทั่วถึงและเป็นระบบด้วยวิธีดังกล่าว โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ที่ประชุม อบต. ที่ประชุมอาเภอ ที่ประชุมจังหวัด หรือที่ประชุมเทศบาลทุกระดับ ทั้งหมดนี้จะวิวัฒนาการเป็น “สมัชชาประชาธิปไตยแห่งชาติ”อันยิ่งใหญ่ สามารถล้มหรือรับรัฐธรรมนูญใน การแสดงประชามติอย่างแท้จริงได้ ทั้งนี้ขึ้นกับว่าผู้มีอานาจจะจริงใจ จริงจัง และเคารพเสียงของพวกเราที่เป็น ประชาชนหรือไม่ ถ้าท่านเป็นอย่างที่ดร.สุเมธว่า คือ พกเอาคาตอบสาเร็จรูปที่ท่านอยากได้ยินมายัดปากพวกเรา ก็คงจะถึง เวลาที่พวกเราจะปฏิเสธและลงโทษท่านให้สาสม ท่านก็มีสิทธิเลือก เราก็มีสิทธิเลือก ทาไมเราจึงไม่มาเลือกด้วยกัน แทนที่จะเข้าหาและประจบประแจงกองทัพที่ซอยเท้าอยู่กับที่ ทาไมท่านไม่เดินเข้ามาหา และร่วมพลังกับ ปวงชนชาวไทย ร่วมกับกลุ่มพลังที่ก้าวหน้าทางความคิดและใกล้ชิดกับประชาชน กับสถาบันที่เพวกเขา เคารพ บูชาและเชื่อใจ ด้วยความเคารพและหวังดีอย่างจริงใจ จากปราโมทย์ นาครทรรพ 11 มี.ค.2550
56
รัฐธรรมนูญยุคดิจิตอลกับตอนปี 2330 โดย ปราโมทย์ นาครทรรพ 8 มีนาคม 2550 ท่านผู้อ่านที่เคารพ ผมตระหนักดีว่า หน้ากระดาษที่จากัด หนึ่ง และสติปัญญาที่จากัดยิ่งของผม อีกหนึ่ง จะทาให้ผมไม่สามารถสื่อความหมายกับท่านผู้อ่านในเรื่องรัฐธรรมนูญได้อย่างเพียงพอ เว้นแต่จะเอาสติปัญญา ของท่านผู้อ่านมาเสริมของผม และมาร่วมกันถ่อมใจ ละทิ้งอุปาทานส่วนตัว เอาหลักฐานและหลักการบรรดามี มาตรวจสอบกันดู ก่อนที่จะสรุปว่า อันนี้ถูก อันนี้ดี อันนี้ไม่เหมาะ ฯลฯ ผมไม่คาดหวังว่าสภาร่างฯ และกรรมาธิการร่างฯ จะทาอย่างนั้น เพราะท่านเป็นผู้ทรงความรู้ มีความ มั่นใจในความเป็นสัพพัญญูในหมู่คณะของท่าน จึงจะพากันตัดสินใจด้วยอัจฉริยะ และวาทศิลป์ ประกอบกับการ ประนีประนอมแลกเปลี่ยน รักษาหน้าระหว่างกันเหมือนกับที่เคยเป็นมา ด้วยท่านทั้งหลายเคยเป็นใหญ่ มีความ เด่นดังในทางราชการและวิชาการมา ท่านจึงจมไม่ลง อันเป็นเหตุหนึ่งที่ดร.สุเมธ ตันติเวชกุล สรุปว่า ประชา วิจารณ์ทุกเรื่องโดยทางราชการล้วนแต่ล้มเหลวโดยสิ้นเชิง เพราะนอกจากท่านจะทาไม่เป็นแล้ว ท่านยังฟังเสียง ประชาชนไม่เป็น ท่านพกเอาความต้องการและข้อสรุปของท่านมาล่วงหน้าแล้ว ผมเพียงแต่หวังลมๆ แล้งๆ ว่า บทความของผมจะผ่านตาของท่านบางคนบ้าง ผมไม่หวังอะไรเกินกว่าที่จะ ให้ท่าน เอาหลักฐานและหลักการบรรดามีมาตรวจสอบกันดูก่อนที่จะสรุปอะไร โดยเฉพาะอย่างยิ่งเรื่องที่จะไป กากับจากัดอนาคตของประเทศชาติและลูกหลานที่จะเกิดมาในวันข้างหน้า ไม่มีใครในยุคนี้มีอานาจสิทธิขาดที่จะ ไปตัดสินอนาคตของคนรุ่นใหม่ที่ยังไม่เกิด อย่างน้อยที่สุด ท่านจะต้องเปิดหนทางไว้ให้คนที่จะเกิดมาฉลาดกว่า ท่าน ท่านผู้อ่านที่เคารพ ทาไมผมจึงเกรงว่าการร่างรัฐธรรมนูญปี 2550 ซึ่งอยู่ในยุคดิจิตอล จะแย่กว่าปี 2330 ซึ่งยังไม่มีเครื่องบันทึกเสียง ผมหมายถึงปี ค.ศ. 1787 เมื่อสหรัฐอเมริการ่างรัฐธรรมนูญของเขา 5 ปีหลังจาก สมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกเสด็จขึ้นครองราชสมบัติ สถาปนาราชวงศ์จักรี ผมเห็นว่าระบบอ้างอิงของเขา ทั้งการตรวจสอบหลักฐาน-หลักการในอดีตและปัจจุบัน กับการคาดการณ์ ในอนาคตมีระบบและความรับผิดชอบหรือโยนิโสมนสิการมากกว่าของเราในปัจจุบัน ผมถือโอกาสถามศาสตราจารย์ดร.สมบัติ จันทรวงศ์ว่าที่ผมสรุปเช่นนี้เป็นการ “เว่อร์” หรือขยายความ 57
มากเกินไปหรือไม่ อาจารย์สมบัติยืนยันว่าไม่ ขอให้ดูหลักฐานได้จากรายงานการประชุม หรือจากเฟเดอรัลลิสม์ เปเปอร์ ซึ่งเป็นหัวใจของรัฐธรรมนูญอเมริกันก็แล้วกัน ผมเป็นครูสอนวิชาการเมืองอเมริกันให้ฝรั่งได้ แต่ผมถือว่าดร.สมบัติ ซึ่งเป็นรุ่นน้องผม 10 ปี เป็นครูผม เรื่องความคิดและสถาบันการเมืองอเมริกัน มีอะไรที่สงสัยผมก็โทร.ไปหาความกระจ่างจากดร.สมบัติได้เสมอ ผม อ่านหนังสือเรื่อง “มหาชนรัฐและประชาธิปไตย : ความคิดทางการเมืองอเมริกัน ค.ศ. 1776-1800” ซึ่งเป็นเรื่อง เกี่ยวกับการปฏิวัติอเมริกัน การประกาศอิสรภาพ (1776) และการร่างรัฐธรรมนูญ (1787) ของอาจารย์สมบัติ หลายเที่ยว ผมจะเสียดายอย่างยิ่ง ถ้า ส.ส.ร.หรือกรรมาธิการร่างฯ ไม่เคยมีใครอ่านหรือปรึกษาอาจารย์สมบัติ เลย โดยเฉพาะอย่างยิ่งเรื่องการทานายอนาคต พัฒนาการและรูปแบบของความขัดกันระหว่างภาคเกษตรกับ ภาคอุตสาหกรรม ในขณะที่ร่างนั้นอเมริกายังเป็นสังคมเกษตร ปัญหาที่ถกเถียงกันเรื่องสองภาค ไม่ต่างกับ ปัญหาที่ประเทศไทยเผชิญในปัจจุบันมากนัก เป็นที่ยอมรับกันว่ารัฐธรรมนูญอเมริกันเป็นรัฐธรรมนูญที่ดีและยืดหยุ่นที่สุด แม้กระนั้นรัฐธรรมนูญฉบับ ดั้งเดิม ยังถูกโธมัส เจฟเฟอร์สันโจมตีอย่างหนัก “ประการแรก ที่ข้าพเจ้าไม่ชอบในรัฐธรรมนูญฉบับบี้ ก็คือ การ ละเว้นไม่บรรจุกฎบัตรว่าด้วยสิทธิที่กาหนดไว้อย่างชัดแจ้งโดยปราศจากข้อโต้แย้ง ว่าด้วยเสรีภาพในการนับถือ ศาสนา เสรีภาพของหนังสือพิมพ์ การป้องกันภัยจากกองทัพประจาการ การห้ามผูกขาด การควบคุมอานาจ จับกุมคุมขังของเจ้าหน้าที่ ฯลฯ” ในที่สุด เรื่องต่างๆ ดังกล่าว ก็ได้ถูกต่อเติมลงไปในบทผนวกหรือ Amendment 10 บทแรกเรียกว่า Bill of Rights หรือกฎบัตรว่าด้วยสิทธิเสรีภาพ มีข้อความกะทัดรัด ครอบคลุม ไม่เยิ่นเย้อ ยืดยาด เหมือนกับของเรา ในหัวข้อบทความนี้ ผมอ้างถึงยุคดิจิตอล ด้วยความประสงค์ที่จะมุ่งเน้นว่า ส.ส.ร.และคณะกรรมาธิการ ร่างฯ นอกจากจะต้องใช้วิชาบรรณารักษ์เบื้องต้นให้เป็นประโยชน์แล้ว ยังสามารถใช้เทคโนโลยีข่าวสารสาหรับ อ้างอิง ตรวจสอบและตัดสินใจในการร่างรัฐธรรมนูญครั้งนี้ เทคโนโลยีดิจิตอลทาให้ (1)สามารถสื่อสารและเรียกข้อมูลจากทุกมุมโลกได้ในเวลาพร้อมๆ กัน หรือที่ เรียกว่า real time เช่น การเปิดดูจากจอคอมพิวเตอร์ จากวิดีโอคอนเฟอเรนซิงหรือการประชุมข้ามแดนกับ ผู้เชี่ยวชาญ (2) เรียกหาและเก็บข้อมูลได้จากทุกแหล่งโดยไม่จากัดจานวนหรือเวลา (3)เปรียบเทียบ ทดสอบ คานวณหาข้อและค่าที่เหมือนกัน แตกต่างกัน จากคาพูด หัวข้อ สถิติได้ทุกชนิดตามหลักวิทยาศาสตร์ (4) ภาค ประชาชนอาศัยหรือร่วมกับที่ประชุม อบต. ที่ประชุมอาเภอ ที่ประชุมจังหวัด หรือที่ประชุมเทศบาลทุกระดับ 58
สามารถใช้เทคโนโลยีทั้ง 3 ข้างต้นได้พร้อมๆกับ ส.ส.ร. กรรมาธิการร่าง สนช.หรือรัฐบาล หรือจะเก็บข้อมูลไว้ ศึกษาในเวลาที่กาหนดให้ทันท่วงทีหรือไปพร้อมๆ กันได้ ผมไม่ทราบว่าสมาชิกผู้ทรงเกียรติจานวนกี่ท่านเข้าถึงเทคโนโลยีดังกล่าว แต่รู้ว่าท่านประธานมีชัยผู้หนึ่ง ละที่ช่าชอง แต่นี่มิใช่ปัญหาเลยเพราะท่านสามารถจ้างผู้เชี่ยวชาญเทคโนโลยีข่าวสาร และจัดตั้งระบบเทคโนโลยี ใช้ง่ายให้ใช้ตามวัตถุประสงค์ทั้งหมดได้ นอกจากนั้นรัฐยังสามารถปล่อยข้อมูลผ่านโทรศัพท์มือถือได้อย่าง ง่ายดายอีกด้วย เมื่อผมเสนอในบทความฉบับที่แล้วว่า ส.ส.ร. เราสมควร จะต้องเขียนอะไร ไม่ต้องเขียนอะไร และต้อง ไม่เขียนอะไร ลงไปในรัฐธรรมนูญบ้าง ผมมิได้บอกส่งเดชว่าแล้วแต่กรรมาธิการร่างกับ ส.ส.ร. ผมมีความเห็นว่าประชาชนทุกคน องค์กรภาคประชาชน สถาบันศึกษา องค์กรภาคธุรกิจ อุตสาหกรรม ข้าราชการ ทหารตารวจทั่วไป รวมทั้งคนที่เป็นแฟนและบริวารอดีตนายกฯทักษิณ ต่างก็มี สิทธิที่จะมีส่วนร่วมอย่างง่ายๆ ทั่วถึงและเป็นระบบด้วยวิธีดังกล่าว ด้วยการเขียนสิ่งที่ตนต้องการอย่างละ 10-15 ข้อลงไปในหัวข้อ (1) ท่านอยากให้ใส่อะไร (2) อะไรที่ใส่ก็ได้ไม่ใส่ก็ได้ (3) อะไรที่ใส่ลงไปไม่ได้เลย ส.ส.ร.กับกรรมาธิการร่างฯ จะต้องออกแบบฟอร์มที่จะลงข้อมูลแบบดิจิตอลในคอมพิวเตอร์ได้ ใน ขณะเดียวกันก็โฆษณาแนะนาให้ประชาชนทราบเพื่อจะได้ใช้แบบฟอร์มชนิดเดียวกัน เพื่อจะได้ตรวจสอบและ วิเคราะห์ข้อมูลได้รวดเร็วอย่างเป็นระบบ ส.ส.ร.กับกรรมาธิการร่างฯ จะต้องมีความถ่อมตัวถ่อมใจ อย่านึกว่าท่านเป็นผู้รอบรู้ วิเศษกว่าผู้อื่นที่ไม่มี ฐานะเช่นเดียวกับท่าน จะด้วยเหตุผลใดๆ ก็ตาม ท่านจะต้องเปิดทางไปสู่การมีส่วนร่วมอย่างเสมอภาคและเท่า เทียมกัน อย่าพูดแต่ปากแต่ต้องมีโยนิโสมนสิการในภาคปฏิบัติอย่างแท้จริง จึงจะไม่ได้ชื่อว่าเป็นผู้ยโสโอหัง เป็น ต้นเหตุให้ประชาพิจารณ์ทุกแห่งทุกเรื่องล้มเหลวอย่างที่ดร.สุเมธ ตันติเวชกุลสรุป เพราะว่าท่านถือตัวว่า เหนือกว่าผู้อื่น และมีธงอยู่ในใจเรียบร้อยแล้ว ผมขอเรียนตรงๆ ว่า ผมได้เห็นวิธีการร่างฯ และประเด็นต่างๆ ที่ท่านนามาสรุป จนถึงตอนที่ท่านไป สัมมนาอยู่ที่ชะอาแล้ว ผมรู้สึกสงสารท่านและสงสารประเทศไทยที่ท่านยังพากันวนเวียนอยู่ในอ่าง ตั้งโจทย์ผิด และสรรหาคาตอบสารพัดที่ไม่ต่างจากการร่างทุกครั้งที่ผ่านมาเลย และเหตุผลที่ท่านได้คาตอบมา 2 ข้อ (เพื่อจะ เลือกทีหลัง) หรือข้อเดียว ไม่ว่าจะเป็นเรื่องจานวนผู้แทน วิธีการเลือกตั้ง ล้วนแล้วแต่เป็นเหตุผลที่มาจาก 59
อัจฉริยะส่วนตัวหรืออุปาทานของท่านทั้งสิ้น หาได้มีหลักฐาน หลักการ หรือวิธีการคานวณถึงผลที่จะเกิดขึ้น เพื่อให้เกิดความสอดคล้องทางอุดมการณ์ ทฤษฎีการเลือกตั้ง หลักประชาธิปไตยหรือข้อเท็จจริงแท้ๆ ของ การเมืองไทยไม่ ผมจึงต้องขอโทษ และกราบเท้าวิงวอนท่านว่าให้รีบรวบรวมประมวลความคิดในทุกเรื่องของทุกคนมา เสียก่อน อย่าเพิ่งถืออะไรเป็นข้อยุติ จนกว่าจะได้นามาตรวจสอบกับหลักต่างๆ รวมทั้งหลักฐาน แล้วจึงสรุปรวม ความไปสู่การประนีประนอมและเห็นพ้องต้องกันให้มากที่สุดที่จะมากได้ เท่าที่ไม่ขัดกับหลักประชาธิปไตยอันมี พระมหากษัตริย์เป็นประมุข ผมขอยกตัวอย่าง เรื่องเลือกตั้งพวงเล็ก เลือกผู้แทนได้สามคน ผมเคยคัดค้านตั้งแต่ปี 2516 มาแล้ว ว่า ขัดกับทฤษฎีเลือกตั้งอย่างน้อยก็ 3 ข้อ กล่าวคือ (1) ประชาชนทั่วประเทศมีสิทธิไม่เท่ากัน ผู้ที่อยู่ในเขตเล็กอาจ เลือกผู้แทนได้เพียง 2 คนหรือคนเดียว (2) ผลของการเลือกตั้งไม่แน่นอน กล่าวคือผู้ที่อาจจะเป็นที่นิยมได้เลือก เป็นลาดับที่หนึ่งในบัตรเลือกตั้ง สองหมื่นใบ อาจจะมิได้รับเลือกเพราะผู้ที่ได้รับเลือกอันดับสามของบัตรเลือกตั้ง (ซึ่งได้อันดับหนึ่งในบัตรเลือกตั้งแค่ห้าพัน) ได้คะแนนรวมมากกว่า เมื่อรวมลาดับอื่นๆ ที่ทั้งสองคนได้รับเข้า ด้วยกัน (3) อาจมีคะแนนโดดและคะแนนบล็อก ซึ่งทาให้อุดมคติของการมีตัวแทนคลาดเคลื่อนไป ฯลฯ ส่วนเรื่องอื่นๆ ที่ผมได้อ่านรายงาน ถึงผมจะเคารพในความคิดเห็นของท่าน แต่ผมก็ยังรู้ว่ามีความเห็นแย้ง ทั้งที่เป็นของผู้อื่นและของผมเองอยู่มากมาย ซึ่งผมจะพูดถึงต่อไป ก่อนที่จะสรุปในวันศุกร์หน้าว่า ขอท่านได้ โปรดเถิด อย่าได้ทาลายราชประชาสมาสัยหรือประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข เพียงเพราะความ มักง่ายหรือถือตัวว่าเป็นผู้วิเศษเลย โปรดหัดฟังประชาชนให้เป็นและด้วยความจริงใจด้วยเถิด.
60
อะไรที่ต้องเขียน ไม่ต้องเขียน และต้องไม่เขียนลงในรัฐธรรมนูญ โดย ปราโมทย์ นาครทรรพ 4 มีนาคม 2550 ผมปล่อยไก่ตัวโตเผลอเขียนชื่อโธมัส เจฟเฟอร์สัน ลงไปแทนอเล็กซานเดอร์ แฮมิลตัน สองเสาหลัก รัฐธรรมนูญอเมริกัน รัฐธรรมนูญนี้ลงนาม 40 คน รวมทั้ง จอร์จ วอชิงตัน และ เบนจามิน แฟรงกลิน เจฟเฟอร์สัน ที่เขียนคาประกาศอิสรภาพอเมริกาดังลั่นโลก ตอนนั้นไม่อยู่ ไปเป็นทูตอยู่ที่ปารีส ผมไม่เคยเห็นมีที่ไหนที่เขาจัดลาดับรัฐธรรมนูญกัน แต่มีหลายคนที่หลงคาโฆษณาชวนเชื่อว่ารัฐธรรมนูญปี 2540 ของไทยเป็นหนึ่งในสิบของรัฐธรรมนูญที่ดีที่สุดในโลก เลยอาจจะผิดหวัง โกรธที่ได้ยินว่ารัฐธรรมนูญฉบับนี้ เป็นฉบับที่ห่วยที่สุดฉบับหนึ่ง ผมยืนยันทัศนะของผมต่อหน้านายกรัฐมนตรีและคณะที่ปรึกษาผู้ทรงคุณวุฒิของนายกฯ ว่า อย่างน้อยมีคน บ้ากับคนดีคู่หนึ่งที่เห็นตรงกันอย่างนั้น คนดีคนนั้น คือ ศ.ดร. อมร จันทรสมบูรณ์ ปรมาจารย์วิชารัฐธรรมนูญของ ไทย เราทั้งสองทราบดีว่าพอประชุมนัดแรกคณะกรรมาธิการก็ลงมติให้ยึดรัฐธรรมนูญ 2540 เป็นหลักในการร่าง รัฐธรรมนูญฉบับ คมช. ดร.อมรเคยทานายจุดจบของรัฐธรรมนูญฉบับ 2540 มาตลอด และยืนยันว่าสังคมไทยจะต้องออกจากมนต์ รักผีสิงของรัฐธรรมนูญฉบับนี้ให้ได้ จึงจะปฏิรูปการเมืองสาเร็จ ดร.อมรเห็นว่าคณะผู้ร่าง กระบวนการร่างและทิศ ทางการร่างครั้งนี้ไม่ใช่ แต่แก้ไขอะไรไม่ได้แล้ว ขอให้นายกรัฐมนตรีตั้งสติให้ดี เอาไว้เราคอยไปแก้กันในเกม การเมืองทีหลัง ผมเห็นว่าถึงเขาจะหามผีเข้าป่าช้าแล้ว ตราบใดที่ยังไม่เผา เราก็ยังแก้ไขได้ สาคัญว่า คมช.กับรัฐบาลจะมี กึ๋นหรือไม่ หาก คมช. ตระหนักว่าตนยังมีสิทธิและอานาจที่จะเรียกเอาความเป็นรัฐาธิปัตย์ของตนคืนมาจาก รัฐธรรมนูญฉบับชั่วคราวที่กาลังจะส่งประเทศไปสู่ทางตัน ก็ต้องเป็นหน้าที่ของคมช.ต่อแผ่นดินที่จะต้องแน่วแน่ แก้ไขในสิ่งผิด ผมเห็นรอยยิ้มทั้งทางปากและสายตาของพลเอกสุรยุทธ์ เมื่อท่านบอกว่าก็เป็นเรื่องที่จะต้องช่วยกันคิด ต่อไป 61
ผมนึกว่านายกฯ จะเครียด เพราะพึ่งได้รับใบลาออกของหม่อมอุ๋ยหมาดๆ ยังไม่ถึง 2 ชั่วโมงดี แต่นายกฯ หัวเราะไปคุยไปจนจบรายการอาหารเที่ยงมื้อนั้น หรือว่านายกฯ จะปลึ้มค้างมาจากเมื่อวาน ที่เลขาธิการสหพันธ์นักกฎหมายนานาชาติมาเข้าเยี่ยมคานับ เขาชมและยืนยันว่า สหพันธ์ได้ตรวจสอบแล้วมีความเชื่อมั่นว่านายกฯ สุรยุทธ์ได้พิสูจน์ทั้งโดยทางวาจาและการ ปฏิบัติว่าเป็นผู้ยึดมั่นและส่งเสริมสิทธิมนุษยชน ทั้งที่รัฐบาลนี้มิได้มาจาการเลือกตั้ง แต่ดีกว่ารัฐบาลที่แล้วหลาย ขุม สหพันธ์นักกฎหมายนานาชาติเลยขอตั้งสานักงานประจาภูมิภาคที่กรุงเทพฯ เสียเลย เพื่อยืนยันความ น่าเชื่อถือของประเทศไทย ทั้งหมดที่ผมเล่ามานี้ หวังว่าท่านผู้อ่านคงไม่ตาหนิว่านอกเรื่องนอกราว ความจริงเรื่องทั้งหมดเชื่อมโยงกัน และเชื่อมโยงกับหัวข้อบทความนี้ว่า อะไรที่ต้องเขียน ไม่ต้องเขียน และต้องไม่เขียนลงในรัฐธรรมนูญ ทาอย่างไรเราจึงจะรูแ้ ละตกลงกันได้ว่าอะไรจะต้องเขียน ไม่ต้องเขียน และต้องไม่เขียนลงในรัฐธรรมนูญ เรื่องนี้เป็นเรื่องสาคัญ สังคมจะแตกแยกหรือฆ่ากันตายก็เพราะความเห็นไม่ตรงกันในเรื่องนี้ โดยเฉพาะ ความเห็นของกลุ่มบุคคลที่มีทิฐิมานะและอุปาทานสูง ไม่ว่าจะเป็นพระ ฆราวาส ผู้หญิง คนพิการ หรือกลุ่มพลังที่ ผูกติดอยู่กับปัญหาหรือประเด็นทางสังคมเรื่องหนึ่งเรื่องใด จึงมีความรู้สึกอย่างแรงกล้าว่าถ้าเรื่องของตนไม่ถูก บรรจุลงในรัฐธรรมนูญละก้อ รัฐธรรมนูญนั้นจะไม่เป็นประชาธิปไตย และไม่มีความหมาย และในยุคสมัย และยามเช่นนี้ ก็ยากที่เรื่องจะลงเอยกันได้ด้วยดี ยกเว้นเสียต่อว่า ทุกคนมีความรู้ มีความสานึกและยอมรับว่า การร่างรัฐธรรมนูญนั้นย่อมจะต้องมี หลักคิด หรือทฤษฎีเกี่ยวกับรัฐธรรมนูญ ให้เป็นหลักยึดไว้เสียก่อน นั่นก็คือหลักรัฐธรรมนูญนิยมหรือ Constitutionalism ซึ่งเป็นหลักคู่กับหลักประชาธิปไตย เสร็จแล้วยังจะต้องมีประกอบอย่างน้อยอีก 4 หลัก ได้แก่ หลักเทศ หลักไทย หลักเทียบ หลักฐาน ดังที่ผม เคยกล่าวมา 62
หลักเทศ คือหลักที่มีความเป็นสากล เป็นที่เคารพนับถือ และใช้กันอยู่ในนานาประเทศ หลักไทย คือหลักของไทยเราเอง เช่น กรณีพระราชอานาจ นิติราชประเพณี หลักทศพิธราชธรรม เป็นต้น เรื่องอื่นๆ ก็มีกรณีที่เป็นแบบแผนปฏิบัติในทางที่สอดคล้องกับความเป็นสากล เช่น การแยกอานาจและถ่วง อานาจอธิปไตย หรือวัฒนธรรมประชาธิปไตยในสภาและรัฐบาลก่อนพ.ศ.2490 เป็นต้น หลักเทียบ คือหลักที่จะนาหลักต่างๆ มาเปรียบเทียบกัน ทั้งจากหลักเทศและหลักไทย เช่น เรื่องเกี่ยวกับ พรรคการเมือง เรื่องเขตเลือกตั้งและเรื่องวิธีการเลือกตั้งเป็นต้น หลักฐาน คือสถิติ ข้อมูล ข้อเขียน บทความ ทฤษฎี เอกสารอ้างอิง รูปแบบ การทานาย การทดสอบ และ การพิสูจน์ล่วงหน้า ฯลฯ ของประเด็นและกรณีต่างๆ ในหลักทุกหลัก ซึ่งถ้าปราศจากหลักนี้แล้ว ความน่าเชื่อถือ ในการตัดสินใจหรือเลือกว่าอะไรจะต้องเขียน ไม่ต้องเขียน และต้องไม่เขียนลงในรัฐธรรมนูญ และรัฐธรรมนูญจะ ออกมา ก็ย่อมจะง่อนแง่นคลอนแคลน ไม่เป็นที่ยอมรับนับถือ อเมริการ่างรัฐธรรมนูญก่อนของไทย145 ปี เขามีหลักฐานเพียบ เป็นระบบ น่าเชื่อถือยิ่งนัก จนกระทั่งทุก วันนี้ก็ไปเปิดหลักฐานดูได้ว่าใครพูดอะไรเมื่อใด มีข้อมูลอ้างอิงว่าอย่างไร มีหนังสือเขียนถึงเรื่องนั้นๆ มาก่อนกี่เล่ม และหลังจากนั้นมีอีกกี่เล่ม การร่างรัฐธรรมนูญของเรา อย่างดีก็มีตัวบทของครั้งก่อนๆ แม้กระทั่งการร่างครั้งนี้ ผม เชื่อว่า ของเราก็ยังห่างไกลจากเขาลิบลับ แม้จะพูดว่าเราเกือบจะไม่มีหลักฐานหรือระบบอ้างอิงที่น่าเชื่อถือใดๆ เลย ก็แทบจะไม่ผิด เพราะนักร่างของเราเป็นอัจฉริยะและมีวาทศิลป์อันเยี่ยมยอดทุกคน ไม่จาเป็นจะต้องอาศัย หลักฐานใดๆ ให้มากเรื่อง สัปดาห์ที่แล้ว ผมเขียนแหย่ๆ ไปเรื่องรัฐธรรมนูญอเมริกันกับเสรีภาพทางศาสนา ดังนี้ “จุดเด่นที่สุดของ รัฐธรรมนูญอเมริกัน นอกเหนือจากการสร้างระบบที่เรียกว่าเฟเดอรัลลิสม์แล้ว ก็ได้แก่การจากัดอานาจรัฐบาล (กลาง) การปกป้องสิทธิเสรีภาพพื้นฐานของประชาชน โดยเฉพาะอย่างยิ่งเสรีภาพของสื่อซึ่งจะออกกฎหมายใดๆ มาจากัดประการใดมิได้เลย และการเทิดทูนเสรีภาพทางศาสนาโดยห้ามมิให้สภาออกกฎหมายจัดตั้งหรือรับรอง ศาสนาใดๆ ทั้งสิ้น” เหมือนกับผมไปตีขนดหางพญานาค โดยโทร.ก่นด่าเสียกระบุงโกย ที่สาคัญหาว่าผมยกเมฆ เอาสิ่งที่ไม่เป็น ไม่มี ไม่จริงขึ้นมาอ้าง บางท่านก็อ้างว่ารู้ดี ทั้งท่านเองและญาติโยมก็เคยเห็น school prayer หรือการบังคับสวด 63
มนต์ในโรงเรียนอเมริกันอยู่ ผมอย่ามาแหกตาเลย ศาลสูงอเมริกันตัดสินไปนานแล้วว่าการบังคับสวดมนต์ในโรงเรียนผิดรัฐธรรมนูญ ผมจะลอกรัฐธรรมนูญ อเมริกันมาให้ดู โดยไม่ต้องแปลก็แล้วกัน เรื่องบัตรเลือกตั้งอังกฤษไม่มีระบุชื่อพรรคก็อีก หาว่าผมยกเมฆทั้งนั้น ถ้าเป็นอย่างที่ผมว่าจริง ครูบา อาจารย์และสื่อพากันไม่งมโข่งอยู่ที่ไหน เขาจะไม่รู้ได้อย่างไร ผมตอบว่าอังกฤษไม่บังคับผู้แทนให้สังกัดพรรค ไม่มีกฎหมายพรรคการเมืองไม่มีปฏิมากรพรรคการเมือง แบบบ้านเราที่คอยออกแบบพรรคการเมืองให้ เขามีแต่วิวัฒนา การ กับ พ.ร.บ.ว่าด้วยการลงทะเบียนพรรค การเมือง ค.ศ. 1998 (Registration of Political Parties Act 1998) พรรคของเขาจะต่างกันอย่างไรก็ได้ ท่านก็บอกว่านั่นมันของฝรั่งมังค่า เรื่องอะไรที่เราจะต้องไปยึดถือเอาตัวอย่างมัน ผมอยากจะพูดอย่างนี้ครับ ว่าโลกของเรามีการลอกแบบและเอาตัวอย่างกัน ทั้งทางวิทยาศาสตร์ สังคม และวัฒนธรรม หากจะอุปมาเรื่องรถยนต์ อย่างน้อยเราก็ต้องลอกแบบกลไกที่เป็นหลักสาคัญที่ทาให้รถวิ่งได้ หยุดได้และ เลี้ยวได้ ส่วนเราจะพ่นสี ประดับประดา แต่งคิ้ว ต่อตัวถังให้สวยงามถูกใจอย่างไรก็เป็นเรื่องของเรา ฉันใดก็ฉันนั้น ประชาธิปไตย Amendment I รัฐธรรมนูญอเมริกัน ห้ามเขียนกฎหมายเกี่ยวกับศาสนา Congress shall make no law respecting an establishment of religion, or prohibiting the free exercise thereof; or abridging the freedom of speech, or of the press; or the right of the people peaceably to assemble, and to petition the government for a redress of grievances. แถมรัฐธรรมนูญญี่ปุ่นให้ด้วยครับ Article 20: Freedom of religion is guaranteed to all. No religious organization shall receive any 64
privileges from the State, nor exercise any political authority. 2) No person shall be compelled to take part in any religious acts, celebration, rite or practice. 3) The State and its organs shall refrain from religious education or any other religious activity. ผมมีโอกาสได้ฟังดร.มหาโช ทางทีวี คล้ายๆกับท่านเชื่อว่ารัฐธรรมนูญเป็นต้นชี้ตายปลายชี้เป็น อะไรที่มิได้ บรรจุไว้ในรัฐธรรมนูญ รวมทั้งศาสนาพุทธ ก็จะกลับกลายเป็นของไร้ค่า ความเข้าใจผิดอีกอันหนึ่งเกี่ยวกับ รัฐธรรมนูญก็คือเรื่อง ถ้าไม่มี (ใน) กฎหมายแม่แล้วก็จะออกอะไรในกฎหมายลูกไม่ได้ นี่เป็นอวิชชาที่เพิ่งเกิดจาก รัฐธรรมนูญ ฉบับ 2540 แท้ๆ ทีนี้ เราจะรู้ได้อย่างไรว่าเรื่องอื่นๆ อะไรบ้างจะต้องเขียน อะไรบ้างไม่ต้องเขียน และอะไรบ้างต้องไม่เขียน ลงไปในรัฐธรรมนูญ ขอตอบว่า รู้ครับ ถ้าเรารู้หลักรัฐธรรมนูญ และหลักต่างๆ ที่ผมกล่าวมาแล้วข้างต้น ด้วยเนื้อที่จากัด เรา อาจจะสรุปเอาแต่หลักสาคัญ ดังนี้ 1.รัฐบาลเป็นความชั่วร้ายที่จาเป็น เพราะฉะนั้นจาเป็นต้องจากัดอานาจรัฐบาล โดยการระบุไปให้หมดว่า รัฐบาลมีอานาจอะไรบ้าง อานาจใดที่มิได้ระบุ รัฐบาลจะใช้ไม่ได้ นอกจากจะได้รับอนุญาตเป็นเรื่องๆ เป็นครั้งเป็น คราวจากประชาชน (ผ่านตัวแทนคือสภาบวกพระมหากษัตริย์) อานาจของรัฐบาลเปรียบเสมือนพลังไฟฟ้าที่ประจุ ไว้ในเครื่องใช้ต่างๆ จะต้องมีการควบคุมเปิดปิดและสวิตช์ 2. ประชาชนเป็นเจ้าอานาจอธิปไตย จึงมี อานาจเสมือนพลังไฟฟ้าที่อยู่ในอากาศ หาที่สุดมิได้ ไม่จาเป็น จะต้องสาธยายทุกข้อ อะไรก็ตามที่มิได้ระบุไว้ว่ายกให้เป็นอานาจหน้าที่รัฐบาล และมิได้ระบุต้องห้ามให้ประชาชน ให้ถือว่าสงวนไว้เป็นอานาจและสิทธิเสรีภาพของประชาชนทั้งสิ้น จะเขียนสงวนไว้ให้รัฐบาล โดยข้อความว่า “ตามแต่กฎหมายจะบัญญัติ” มิได้เด็ดขาด 3. กลไกการแยกและถ่วงดุลอานาจอธิปไตยทั้งสาม 4. พระราชอานาจพระมหากษัตริย์ตามจารีตประชาธิปไตยและนิติราชประเพณี ส่วนจะแยกเป็นข้อปลีกย่อยอย่างไร จานวนเท่าใด และเพราะเหตุใดนั้น เพื่อป้องกันความขัดแย้งแตกแยก 65
กันทางความคิดที่จะนาไปสู่ความวุ่นวายไม่สงบ ควรจะมีการสารวจและสอบถามความคิดเห็นกันอย่างเป็นระบบ และทั่วถึง ให้ทุกคน ไม่ว่าจะเป็นกรรมาธิการร่างหรือประชาชนเดินถนน ระบุมา ทั้งใน 3 ประเด็นๆ ละ 10 ถึง 15 ข้อ ว่าตนเห็นว่าจะต้องเขียนอะไร ไม่ต้องเขียนอะไร และต้องไม่เขียนอะไรลงไปในรัฐธรรมนูญบ้าง ใช้เวลาไม่เกิน 1 สัปดาห์ รวบรวมได้ข้อมูลครบถ้วนแล้วจึงนามาตรวจสอบกับหลักต่างๆ ที่วางไว้ และ อธิบายให้เกิดความเข้าใจที่ตรงกันทั่วประเทศ ไม่ยากใช่ไหมครับอย่างนี้ ผมกลัวแต่ว่าชนชั้นปกครองและนักวิชาการจะไม่เต็มใจ เพราะตนจะสูญเสีย อานาจผูกขาดเท่านั้น
66
ได้โปรดเถิด..อย่าลากรัฐธรรมนูญไปลงหลุมอีกเลย โดย ปราโมทย์ นาครทรรพ 26 กุมภาพันธ์ 2550
ความจริง ผมเตรียมต้นฉบับ “ผนึกกาลังฟ้าดินสู่ราชประชาสมาสัย (ตอนจบ)” ไว้นานพอสมควรแล้ว แต่ยิ่งนาน ก็ยิ่งเห็นว่าต้องกล่อมเกลาให้เข้าใจง่ายขึ้น จากปฏิกิริยาของท่านผู้อ่าน ผมตระหนักว่า จะต้องพยายามขึ้นอีกหลายเท่า เพราะพื้นเพฐานความคิดและฐานข้อมูลมีความหลากหลายแตกต่างกัน ผมจึงตัดสินใจรอเอาไว้ก่อน ทั้งๆ ที่ผมรู้แน่ๆล่วงหน้า ว่ากรอบความคิดเดิม ไม่มีทางร่างรัฐธรรมนูญให้ ออกมาพ้นหลุมได้ หลุมต่างๆ ผมเคยพูดถึง ทานายและท้วงติงมาหลายสิบปีแล้ว และทุกๆ ครั้งที่มีการร่าง รัฐธรรมนูญ ความจริงใน สนช.ก็ดี ใน ส.ส.ร.ก็ดี หรือในกรรมาธิการร่างก็ดี มิใช่จะมีแต่นักกฎหมายสับปะรังเคไป ทั้งหมด นักกฎหมายใหม่ๆ ดีๆ ก็มีไม่น้อย ที่ไม่ใช่นักกฎหมายแต่เป็นอดีตข้าราชการสาคัญ นักวิชาการมี ชื่อเสียง และผู้ทรงกิตติคุณในสาขาต่างๆ ก็มีอยู่มากเหมือนกัน เป็นผู้ที่ผมรู้จักรักใคร่เคารพทั้งสิ้น แต่ความเก่งกาจทันสมัยของท่านกลับมิใช่ประเด็น ที่เป็นประเด็นก็ตรงที่ท่านติดกรอบความคิดเก่าหรือ ถูกต้อนเข้าในในกรอบเก่า อันได้แก่แบบแผนของการร่างรัฐธรรมนูญที่พัฒนาตั้งแต่ปี 2490 เป็นต้นมา ปี 2490 เป็นจุดเปลี่ยนสาคัญยิ่งของการเมืองไทย มิใช่แต่เรารัฐประหารสร้างต้นแบบเผด็จการนิยม เท่านั้น แต่เป็นปีที่สังคมเราเริ่มต้นเดินหนีออกจากความเป็นคนไทย ทั้งในด้านความคิดและการปฏิบัติ ทาง เศรษฐกิจสังคมวัฒนธรรมและการศึกษา สาเหตุหลักก็เพราะความกลัวและความมักได้ติดยึดในลาภยศของชน ชั้นปกครองที่หวังพึ่งอานาจภายนอกคืออเมริกา วิกฤตและวิปริตต่างๆ ของสังคมไทย หากสาวลงไปลึกๆ ก็จะพบว่าสืบเนื่องมาจากจิตใจและต้นแบบ 2490 ทั้งสิ้น
67
ความสั่นสะเทือนของสังคมไทยในปี 2518 เมื่อ 3 ประเทศเพื่อนบ้านพ่ายแพ้คอมมิวนิสต์ทั้งหมด ยังไม่ เท่ากับปี 2490 เมื่อเหตุการณ์ใหญ่ในประเทศและโลกมาบรรจบกันถึง 4 อย่างคือ (1) พระบาทสมเด็จพระ เจ้าอยู่หัวอานันทมหิดลถูกลอบปลงพระชนม์ ในปี 2489 (2) เหมาเซตุงประสบชัยชนะเด็ดขาดสถาปนาระบบ คอมมิวนิสต์ในจีนแผ่นดินใหญ่(3) อเมริกาทะยานตัวขึ้นเป็นอภิมหาอานาจของโลก (4) อเมริกาประกาศตัวเป็น ผู้นาสงครามเย็นเพื่อหยุดยั้งสกัดความก้าวหน้าของระบบคอมมิวนิสต์และเปิดฉากการต่อสู้ในภูมิภาคเอเชีย ปฏิกิริยาและความเปลี่ยนแปลงทีละนิดๆ ที่เกิดขึ้นทาให้คนไทยไม่รู้สึกตัว เราทาลายแนวทางการพัฒนา ที่รัชกาลที่ 5 ทรงวางไว้ดีแล้ว ตัวอย่างเช่น (1) เราหยุดพัฒนาการขนส่งทางรถไฟมาสร้างถนนหนทางแทน ก่อนที่อุตสาหกรรมรถยนต์ญี่ปุ่นจะเข้ารูปเราก็มีถนนมิตรภาพเสียแล้ว(2)เราเร่งพัฒนาเขื่อนไฟฟ้าโดยลดอัตรา ความก้าวหน้าและพื้นที่ของการชลประทานลง (3)เราขยายและตั้งส่วนราชการและสานักงานของรัฐเพิ่มอย่าง รวดเร็วและมหาศาล จนกระทั่งเรากลายเป็นรัฐราชการ (4)เราขยายการศึกษาโดยลอกตัวอย่างผิดๆ มาจาก อเมริกา (5)การศึกษาของชนชั้นผู้นาทั้งทหารและพลเรือนทุ่มเทหันไปที่อเมริกาทั้งสิ้น แม้ส่วนที่เป็นทุนของ รัฐบาลไทยเองก็ตาม ทั้งสิ้นทั้งปวงนี้ ยังไม่เท่ากรอบความคิดในด้านการปกครองหรือหลักรัฐธรรมนูญที่ชนชั้นปกครองยัดเยียด ให้ประเทศยึดถือเป็นแนวทาง ผมขอเรียกว่า แนวทาง 2490 หรือกรอบความคิดเก่าในการร่างรัฐธรรมนูญ ซึ่งมี ลักษณะสาคัญ 2 ประการดังต่อไปนี้ 1. เป็นแนวทางเผด็จการหรืออานาจนิยม มุ่งเน้นอานาจคือความเข้มแข็งของฝ่ายบริหารหรือรัฐบาลเป็น หลัก โดยหาคานึงไม่ว่าหลักรัฐธรรมนูญหรือ Constitutionalism นั้นถือการจากัดอานาจรัฐบาลเป็นหัวใจ อานาจนิยมในรัฐธรรมนูญไทยมีแหล่งที่มาอย่างน้อย 3 แหล่งด้วยกัน คือ (1) ความต้องการของผู้มีอานาจ ทางการปกครอง ส่วนใหญ่เป็นทหาร (2) แรงบันดาลใจจากรัฐธรรมนูญเดอโกลของฝรั่งเศส ซึ่งนักวิชาการรุ่น เก่าคือหลวงวิจิตรวาทการและนักวิชาการรุ่นใหม่ที่รับใช้จอมพลสฤษดิ์พยายามลอกเลียนแบบมาเสนอเพื่อให้ ถูกใจนาย (3) แรงบันดาลใจจากระบอบประธานาธิบดีของอเมริกัน ซึ่งดูเผินๆ หัวหน้ารัฐบาลและฝ่ายบริหารมี อานาจและที่มาแยกจากฝ่ายนิติบัญญัติอย่างเด็ดขาด ผู้นาไทยที่เป็นผลผลิตของการศึกษาดูงานอเมริกานี้ มักจะโอ่ทะนงตน แบบรู้ครึ่งไม่รู้ครึ่ง ส่วนใหญ่จะไม่ เข้าใจรัฐธรรมนูญอเมริกัน สักแต่ว่าจบรัฐศาสตร์บ้าง การศึกษาบ้าง นิติศาสตร์บ้าง นึกจะลอกเรื่องวุฒิก็ลอก เอาดื้อๆ หรืออยากลอกการจากัดประธานาธิบดีไว้ 2 เทอมก็จะลอก โดยไม่เข้าใจที่มาเหตุผลและความเชื่อมโยง ของระบบซึ่งไม่เหมือนกับระบบรัฐสภา และไม่เข้าใจพืชฝรั่งกับดินไทย
68
รัฐธรรมนูญอเมริกันถือเป็นรัฐธรรมนูญลายลักษณ์อักษรที่ดีที่สุดฉบับแรกของโลก ตั้งแต่ประกาศใช้ยังไม่ มีการล้มล้างเลย มีแต่การเพิ่มเติมที่เรียกว่าAmendment นานๆ ก็ผนวกเข้าไปที เมื่อทุกฝ่ายเห็นว่ามีความ จาเป็น โดยไม่มีการขัดแย้งกันทางการเมืองเป็นมูลเหตุ จุดเด่นที่สุดของรัฐธรรมนูญอเมริกัน นอกเหนือจาการสร้างระบบที่เรียกว่าเฟเดอรัลลิสม์แล้ว ก็ได้แก่การ จากัดอานาจรัฐบาล (กลาง) การปกป้องสิทธิเสรีภาพพื้นฐานของประชาชน โดยเฉพาะอย่างยิ่งเสรีภาพของสื่อ ซึ่งจะออกกฎหมายใดๆ มาจากัดประการใดมิได้เลย และการเทิดทูนเสรีภาพทางศาสนาโดยห้ามมิให้สภาออก กฎหมายจัดตั้งหรือรับรองศาสนาใดๆทั้งสิ้น 2. ติดยึดกรอบความคิด กระบวนการและวิธีเขียนรัฐธรรมนูญของฝรั่งเศส ต้นตระกูลนักร่างรัฐธรรมนูญ ไทยเอาแบบและเลียนแบบตัวอย่างมาจากรัฐธรรมนูญฝรั่งเศสมิใช่จากอังกฤษ ซึ่งเป็นแบบประชาธิปไตยที่มี พระมหากษัตริย์เป็นประมุข เพราะไม่รู้จะลอกอย่างไร เนื่องจากอังกฤษไม่มีรัฐธรรมนูญ หรือพูดให้ถูกไม่มี รัฐธรรมนูญลายลักษณ์อักษรที่เขียนไว้เป็นตัวหนังสือ รัฐธรรมนูญฝรั่งเศสเขียนขึ้นหลังรัฐธรรมนูญอเมริกันไม่นาน แต่รัฐธรรมนูญอเมริกันฉบับดั้งเดิมยังอยู่ยง คงกะพัน ในขณะที่รัฐธรรมนูญฝรั่งเศสร่างแล้วฉีก ฉีกแล้วร่าง รวมแล้วยี่สิบกว่าฉบับ ตามความผันแปรและการ ต่อสู้ทางการเมือง กรอบความคิดหรือความมุ่งหมายของรัฐธรรมนูญฝรั่งเศสจึงได้แก่ การแก้ปัญหาทางการเมือง หรือพูดให้ ตรงขึ้นก็คือ การแก้ลาหรือขวางอานาจทางการเมืองระหว่างกลุ่มต่างๆ ที่ขัดกันอยู่เป็นประจา ผู้สืบตระกูลนักร่างรัฐธรรมนูญไทยได้นากรอบความคิดนี้มาฝังเข้าไปในกมลสันดาน และเผยแพร่จนเป็น สัจธรรมคู่เมืองไทย ว่าร่างรัฐธรรมนูญทุกครั้งบ้านเมืองจะดีขึ้น เพราะจะได้แก้ปัญหาที่ขัดข้องในอดีต เขียน อย่างไรก็จะต้องได้อย่างนั้น หัวใจของปัญหาที่กล่าวอ้างทุกครั้ง ยกเว้นหลังเหตุการณ์ 14 ตุลาคม และ 19 กันยายน 2549 จะฟังได้ จากคาประกาศของคณะปฏิวัติทุกคณะ และคาประกาศยุบสภาของ ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช และพลเอกเปรม ติณสูลานนท์ (วายร้ายของการเมืองไทยคือประชาชน และผู้แทนที่ฉ้อฉลซื้อเสียงมา) การร่างรัฐธรรมนูญสไตล์ฝรั่งเศส นอกจากครั้งสุดท้าย ก็คือการยกพวกมาตะโกนเถียงเอาชนะกันในที่ ประชุม 69
กระบวนการและวิธีร่างที่ไทยลอกเลียนมาก็คือการร่างโดยสภาที่มีกระบวนการ และวิธีการเหมือนการ ประชุมสภาผู้แทน ซึ่งเป็นวิธีที่กาหนดทิศทางและบริหารตามวัตถุประสงค์ได้ยาก และจะเสียเวลาที่สุดในการ ถกเถียง อวดอ้างภูมิ ความรักชาติและความเป็นอัจฉริยะของผู้ร่างแต่ละคน สมัยที่ผมเป็นกรรมการร่างปี 2516 นั้นเราเกือบจะออกจากวงจรอุบาทว์นี้สาเร็จ แต่เมื่อโยนร่างไปให้ สภานิติบัญญัติก็เข้าอีหรอบเดิมอีก รัฐธรรมนูญและการร่างแบบฝรั่งเศสไม่ใช่ตัวอย่างที่ดีที่สุด เป็นตัวอย่างที่ควรหลีกเลี่ยง และครั้งสุดท้าย ฝรั่งเศสเองก็หลีกเลี่ยง รัฐธรรมนูญของสาธารณรัฐที่ 5 หรือฉบับปัจจุบัน ประกาศใช้ในเดือนตุลาคม ค.ศ. 1958 ยังไม่มีวี่แววว่าจะถูกฉีกทิ้งแต่แก้ไขเพิ่มเติมมาแล้ว 18 ครั้ง มีชื่อเรียกอย่างไม่เป็นทางการว่ารัฐธรรมนูญ เดอโกล ต้นร่างร่างโดยบุคคลคนเดียวคือนายมิเชล เดเบร รัฐธรรมนูญที่อยู่ยงคงกะพัน เช่น รัฐธรรมนูญอเมริกัน รัฐธรรมนูญญี่ปุ่น รัฐธรรมนูญอินเดีย ตั้งแต่เริ่ม ร่างหรือเริ่มคิดก่อนจะร่างมีการถกเถียงและกาหนดหลักคิด หลักเทียบ และหลักฐานกันอย่างกว้างขวาง กระบวนการรับฟัง รับรู้และรับรองก็เช่นเดียวกัน แต่ผู้ร่างแต่ละฉบับมีเพียงคนหรือสองคนเท่านั้น ที่เป็นหลักในการร่างรัฐธรรมนูญอเมริกันก็คือ เจมส์ เมดิสัน กับโธมัส เจฟเฟอร์สันของอินเดียมีคนเดียว เป็นนักปราชญ์วรรณะจัณฑาลที่กลายมาเป็นผู้นาชาวพุทธชื่อ ดร.อัมเบ็ทกา รัฐธรรมนูญญี่ปุ่นมิได้ร่างด้วยคน ญี่ปุ่นเสียซ้าไป แต่ร่างด้วยสต๊าฟกฎหมายของนายพลแมคอาเธอร์ ผู้ยึดครองญี่ปุ่น ชื่อพันเอกมิโล โรเวล และ พันเอกคอร์ตนี่ วิตนีย์ รัฐธรรมนูญที่ดีไม่จาเป็นต้องยาว ใส่อะไรต่ออะไรเข้าไปรุงรังหมด รัฐธรรมนูญไทยยาวกว่ารัฐธรรมนูญ ฝรั่งเศสหลายเท่า ในกรณีที่บ้านเมืองเป็นสาธารณรัฐ สหพันธรัฐ รัฐเผ่าชน มีดินแดน ศาสนา วัฒนธรรมและ ภาษาซับซ้อนหลากหลาย หากรัฐธรรมนูญจะยาวสักนิดราวครึ่งหนึ่งของรัฐธรรมนูญไทยปี 2540 ก็อาจจะพอ ฟังได้ แต่ยิ่งยาวก็ยิ่งขยายขี้เท่อ ยิ่งชวนฝรั่งมังค่ามาดูการเขียนก็ยิ่งตลก อุทัย พิมพ์ใจชน เคยปรารภกับผมว่า อยากจะร่างรัฐธรรมนูญถาวรให้กับประเทศไทย มีเพียง 7 มาตรา จะได้หรือไม่ ผมตอบคุณอุทัยไปว่าทาไมจะไม่ได้ ของอังกฤษไม่เห็นมีเลยสักมาตรา ยังไงๆ 7 มาตรา ก็ให้ยาวทุก มาตราก็แล้วกัน คุณอุทัยยังบอกผมว่าไม่จาเป็น 70
คุณอุทัยมีความคิดดีๆ ในทางการเมืองเสมอ แต่เมื่อเข้าไปอยู่ในระบบ คุณอุทัยก็ถูกต้อนเข้ากรอบ ความคิดดีๆ ก็เป็นหมัน คุณอุทัยเป็นประธาน ส.ส.ร ปี 2549 ทาอย่างที่เล่าให้ผมฟังไม่ได้สักอย่างเดียว คุณอุทัย หนีออกจากกรอบทั้ง 2 ที่ผมกล่าวมาไม่ได้ เหมือนกับคนเก่งๆ ดีๆ ทั้งหลายที่เป็นเหยื่อของระบบที่เลว ผมอยากรบกวนสมาธิของส.ส.ร. และกรรมาธิการร่าง ขอให้ท่านไปหาหลักรัฐธรรมนูญที่ดีสัก 2-3 ประเทศที่ผมกล่าวมามาเปรียบเทียบ และเผยแพร่ เอาเฉพาะแต่ที่เป็นหัวใจของรัฐธรรมนูญจริงๆ คือ 1. การจากัดอานาจของรัฐบาล เขามีหลักและบัญญัติว่าอย่างไร มีข้อห้ามอะไรบ้าง 2. การค้าประกันสิทธิเสรีภาพของประชาชน ทาอย่างไรของเขาจึงกะทัดรัดแต่ครอบคลุม และได้ผล มี หลักและข้อห้ามอย่างไร ทาไมจึงไม่ต้องเขียนลงไปสารพัด 3. การกาหนดกลไกของอานาจอธิปไตยทั้งสามให้มีสมดุลเพื่อเป็นหลักประกันความเป็นจริงของหลักใน ข้อ 1 และ ข้อ 2 4. ในฐานะที่เรามีมหากษัตริย์ โปรดศึกษาเปรียบเทียบรวบรวมข้อมูลหลักฐานทฤษฎี และคาอธิบายพระ ราชอานาจของพระมหากษัตริย์ในระบอบประชาธิปไตยที่มีอยู่ในปัจจุบันทุกประเทศ และนิติราชประเพณีของ กษัตริย์ไทย ถ้าเขียนให้ครบทั้ง 4 ประเด็นนี้ ไม่ต้องเขียนอะไรอีกเลยก็ยังได้ จะให้ผมขอโทษผมก็จะขอโทษ จะให้ผมกราบเท้าผมก็จะกราบเท้า ขออย่างเดียว ได้โปรดเถิด..อย่าลากรัฐธรรมนูญไปลงหลุมอีกเลย
กกต. ทาลายประชาธิปไตย Pramote Nakornthab December 14, 2013
71
โดย ปราโมทย์ นาครทรรพ 13 กรกฎาคม 2554 ผมมีความเห็นมาแต่ต้นแล้วว่าการตั้ง กกต.นั้นเป็นการแส่หาเรื่องและสู่รู้ของนักกฎหมายและนักการเมืองที่เป็น ทาสลัทธิเอาอย่าง ที่ชอบจับแพะชนแกะหรือหัวมงกุฎท้ายมังกรลอกแบบมาจากองค์กรต่างประเทศที่โน่นบ้างที่นี่ บ้าง เสร็จแล้วก็ขี้ก้อนใหญ่กว่าช้างด้วยการสร้างงบประมาณและกาลังคนให้มโหฬารเพื่อสอดรับกับฐานันดร นักกฎหมายที่สู่รู้นั้นไม่ว่าจะมาจากกระทรวงมหาดไทย ในสภาหรือจากพรรคการเมือง ล้วนแต่มีมาตรฐานความรู้ ต่าทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติเรื่องพรรคการเมือง การเลือกตั้ง และประชาธิปไตยตามที่ ศ.ดร.อมร จันทรส มบูรณ์ ประเมินไว้ทุกประการ ผมเองพูดและเขียนไว้หลายครั้ง ว่าน่ากลัว กกต.ทั้งในฐานะองค์กร และตัวบุคคลที่เป็นกกต.จะเป็นผู้ถ่วง ความก้าวหน้าของประชาธิปไตยหรือแม้กระทั่งทาลายมิให้ประชาธิปไตยได้ผุดได้เกิดเสียเอง เพราะท่านเหล่านี้ ขาดความรู้และประสบการณ์ด้านประชาธิปไตยและการเลือกตั้ง ต่างก็มีมานะและอุปาทานที่จะใช้งบประมาณให้ เต็มที่ กฎหมายและระเบียบของ กกต.เป็นตัวอย่างของความไร้เหตุผล เช่น ความเป็นอิสระต่อกันและไร้เอกภาพของ กกต.ทั้ง 5 ซึ่งถ้ามีหนึ่งหรือสองคนฝักใฝ่กลุ่มการเมืองหรือไร้สมาธิขาดสมรรถภาพ กกต.ก็จะเป็นง่อย นอกจากนั้นเจ้าหน้าที่ของ กกต.ซึ่งแต่งตั้งมาต่างยุคต่างอานาจก็จ้องจะฟาดฟันขัดขวางกันเอง กกต.ท้องถิ่นก็ไม่มี ทางเลือกจากผู้ที่มคี วามสามารถและเป็นกลาง จึงต้องจายอมให้คนของพรรคการเมืองทั้งสิ้น ในกรณีที่มีการร้องเรียนหากการสืบสวนสอบสวนจากจังหวัดสานวนอ่อนและหละหลวม กกต.กลางก็เหมือนกับ เสียกะบาล ร้อยทั้งร้อยก็ต้องปล่อย ก่อนจะปล่อยก็ต้องยอมให้เงื่อนไขกับเงื่อนเวลาอานวยความสะดวกให้เกิด การวิ่งเต้นหากินและรีดไถ นอกจากนั้นอนุกรรมการคณะต่างๆ ก็มีบุคคลไม่ว่าจะเป็นอดีตผู้พิพากษาระดับสูงหรือ นายตารวจใหญ่ ซึ่งเคยเป็นหรือยังเป็นทาสของนักการเมืองเกือบทั้งนั้น เมื่อเป็นเช่นนี้ ถึงแม้จะมีหลักฐานอันควรเชื่อได้ว่าการเลือกตั้งจะไม่มีทางสุจริตเที่ยงธรรมเพราะมีการซื้อกันเป็น หมื่นๆ ล้าน (สู้ปฏิวัติเสียก็ยังจะดีกว่า) จากการให้สัมภาษณ์ของกกต.หนึ่งในห้า แต่กกต.จะทาอย่างไรได้นอกจาก ทางานต่อไปเหมือนเด็กอมมือ
72
พรรคหัวหน้าตั้งไม่ยั่งยืน (2) โดย ปราโมทย์ นาครทรรพ 18 กุมภาพันธ์ 2550 ผมอยากให้คนไทยช่วยกันสารวจว่า พรรคการเมืองที่หัวหน้าเป็นคนตั้ง มีพรรคใดบ้างที่ยั่งยืน และพรรคใด บ้างที่ยังเป็นข้อยกเว้นอยู่ชั่วคราว รอวันจบ ตั้งแต่ปี 2490 เป็นต้นมา เมืองไทยใช้รัฐธรรมนูญและพรรคการเมืองเปลือง มีเลือกตั้งใหม่หรือมีรัฐธรรมนูญ ใหม่เมื่อใด ก็มักจะมีพรรคการเมืองใหม่ดอดขึ้นมาเถลิงอานาจ พอหมดสมัยหรือหัวหน้าหาไม่ พรรคก็หายหัวไปด้วย เราแทบจะจาชื่อพรรคไม่ได้ จาได้แต่ชื่อหัวหน้า เช่น ป.พิบูลสงคราม สฤษดิ์ ธนะรัชต์ ถนอม กิตติขจร เกรียง ศักดิ์ ชมะนันทน์ ชวลิต ยงใจยุทธ จาลอง ศรีเมือง เป็นต้น พวกนี้เป็นทหาร มียศใหญ่ แต่ไม่ยักมีใครเป็น ประชาธิปไตยจริง ออกกฎหมายขอบรมราชานุญาตงดใช้ยศชั่วคราวขณะดารงตาแหน่งการเมือง ส่วนที่เป็นพลเรือนเท่าที่จาได้ก็ คึกฤทธิ์ ปราโมช เสวตร เปี่ยมพงศ์ศานต์ ประสิทธิ์ กาญจนวัฒน์ บุญชู โรจน เสถียร อุทัย พิมพ์ใจชน อาทิตย์ อุไรรัตน์ อานวย วีรวรรณ เป็นต้น นี่กล่าวเฉพาะรุ่นเฮฟวี่เวต ไม่นับรุ่นขี้คกขี้เจี้ยม ที่ กกต. และ ทรท. ประคบประหงมอยู่เป็นพรรคสารอง เมื่อพรรคการเมืองซึ่งเป็นสถาบันที่สาคัญที่สุดในระบอบประชาธิปไตย ไม่มีความยั่งยืนแล้ว ประชาธิปไตยจะ ยั่งยืนได้อย่างไร ที่พรรคการเมืองไม่ยั่งยืน เป็นเพราะวัฒนธรรมไทยเป็นแบบชนะไหนเข้าด้วยช่วยกระพือ เหมือนกระสือผีห่าลง หากิน ใช่หรือไม่ หรือว่าเป็นเพราะรัฐธรรมนูญเอื้ออานวยหรือบังคับให้เป็นหรือทั้งสองอย่างจะโทษคนหรือโทษโครงสร้างดี เหมือนเถียงกันเรื่องซ่องกับกะหรี่ คนหนึ่งบอกว่ามีซ่อง จึงมีกะหรี่ อีกคนหนึ่งโต้ว่า ไม่จริง มีกะหรี่ จึงมีซ่อง ผมว่าถูกทั้งคู่ ในปริทัศน์การเมืองไทย การสั่งปิดตายซ่อง จับพ่อเล้าแม่เล้าไปสัมมนาเมืองลาว หาอาชีพดีๆ ให้คุณตัวใหม่ และดัดสันดานลูกค้าประจา ให้เข็ด ทั้งหมดนี้เรียกว่าความกล้าหาญทางการเมือง political will หรือ courage ที่ผู้นาการเมืองไทยไม่เคยมี 73
ความคิดเป็นต้นแบบของการกระทา เมื่อคิดไม่ถูกก็กระทาไม่ถูก ผมว่าความล้มเหลวต่อเนื่องของการเมืองไทย ตั้งต้นด้วยความผิดที่ผิด แล้วมีทิฐิมานะไม่ยอมแก้ไขเปลี่ยนแนวทาง เนื่องจากความมักง่ายของผู้มีอานาจ ความ ประมาทหรือการขายตัวของนักวิชาการ การร่างรัฐธรรมนูญที่ดีจะต้องมีกระบวนการและหลักที่ดี กล่าวเฉพาะหลัก จะต้องถึงพร้อมด้วยหลัก 5 คือ หลักไทย หลักเทศ หลักเทียบ หลักฐาน และหลักคิดหรือหลักเลือก หลักเทศก็เพี้ยน หลักไทยก็ผิด หลักคิดก็ไม่ผ่าน หลักฐานก็ไม่พอ ทั้งหมดนี้ คือลักษณะของการทางานร่าง รัฐธรรมนูญทุกครั้งของไทย ตั้งแต่ปี 2490 เป็นต้นมา ครั้งที่ผมเป็นกรรมการร่างในปี 2516 ก็ไม่ยกเว้น นักร่างไทย ร่างรัฐธรรมนูญทุกฉบับด้วยภยาคติ ทั้งที่เป็นความกลัวและความลาเอียงเข้าข้างชนชั้นปกครองผู้มีอานาจ กลัวที่สุด คือกลัวอานาจผู้แทน กลัวผู้แทนเป็นปัญหา พากันตั้งกลุ่มต่อรอง จึงต้องหาทางป้องกันล่วงหน้าให้ฝ่ายบริหาร โดย บังคับให้ผู้แทนสังกัดพรรค อยู่ภายใต้กฎเหล็กของหัวหน้า จับผู้แทนมาติดคุกเหมือนที่นายเสนาะ เทียนทอง ว่า เมื่อหัวหน้าซ่องไม่ดี กะหรี่ก็น้าเน่า คนดีเข้ามาไม่ได้ จึงมีการซื้อเสียง ซื้อผู้แทน ซื้อกลุ่ม ซื้อพรรค เพื่อชิง อานาจรัฐโดยแก๊งเลือกตั้ง “รวมศูนย์-รวบอานาจ-เป็นทาสหัวหน้า” ใครทนไม่ได้จะออกไป ก็มีโซ่ล่ามขาไว้เสียอีก เราชอบอ้างว่า มีรัฐสภาและสถาบันกษัตริย์คล้ายอังกฤษ ในทางปฏิบัติ ไม่ว่าจะเป็นพฤติกรรมของฝ่ายบริหาร หรือฝ่ายนิติบัญญัติหรือพรรคการเมือง ไม่มีร่องรอยหรือมาตรฐานใดๆ เลยที่เราจะแอบอ้างว่าคล้ายคลึงกับของเขาได้ มันคนละโลก ลองศึกษาดูว่ากษัตริย์อังกฤษมีอานาจอะไรบ้าง แล้วหันมาดูของเรา ในรัฐธรรมนูญ ปี 2540 ในหลวงถูกรัฐสภา ส่ง พ.ร.บ.ที่ไม่อาจลงพระปรมาภิไธยได้ไปทูลเกล้าฯ ก็มี ที่ทรงลงพระปรมาภิไธยแล้วรัฐบาลเพิกเฉยไม่นาไปปฏิบัติก็มี ที่จะต้องลงพระปรมาภิไธยก่อนจึงจะมีผลเช่นตาแหน่งสาคัญก็มิส่งมาทูลเกล้าฯ ก็มี ที่ข้ามหัวสภานิติบัญญัติไปใช้ อานาจบริหารไม่เปิดโอกาสให้ลงพระปรมาภิไธยทั้งๆ ที่รัฐธรรมนูญบัญญัติไว้ก็มี ดั่งนี้เป็นต้น อาจารย์วิชารัฐศาสตร์และกฎหมายไทยแทบทุกสานัก และในสภาร่างทุกยุคหลังพ.ศ. 2490 ได้เผยแพร่และ สร้างมรดกทางความคิดประชาธิปไตยและรัฐธรรมนูญที่ผิด ผมคิดจนหัวจะแตกก็ไม่ออกว่า ท่านไปเอาทฤษฎีหรือ หลักฐานข้อเท็จจริงมาจากไหน ความคิดที่ว่าก็คือ ในโลกนี้ไม่มีรัฐบาลผสมหรือรัฐบาลเสียงข้างน้อยที่ไหนที่อยู่หรือบริหารประเทศได้ เพราะฉะนั้น รัฐธรรมนูญที่ดีต้องหาทางแก้อย่าให้เกิดรัฐบาลผสมหรือรัฐบาลเสียงข้างน้อยเลย นั่นคือ ยอดแห่งอวิชชาแท้ๆ เพราะแท้ที่จริงประเทศที่ประชาธิปไตยมั่นคง เช่น เดนมาร์ก สวีเดน นอร์เวย์ 74
ล้วนแต่มีรัฐบาลเสียงข้างน้อยเป็นเรื่องปกติ นานๆ จึงจะมีรัฐบาลผสมหรือรัฐบาลเสียงข้างมากสักที ทั้งนี้ ก็เพราะเขามีระบบพรรคการเมืองที่พัฒนา (1) มีระบบบริหารพรรคที่เข้มแข็ง เชื่อมั่นและวางเป้าหมายใน อนาคตไว้อย่างมั่นคง (2)โครงสร้างของฝ่ายนิติบัญญัติมีความหลากหลาย ไม่รวมศูนย์เป็นแนวดิ่ง ฝ่ายค้านมี ประสิทธิภาพ (3) การเลือกตั้งเป็นการแข่งขันที่แท้จริงและยุติธรรม พรรคการเมืองจึงไม่กระสันอยากจะเป็นรัฐบาล และรอคอยให้เงื่อนเวลาที่ถูกต้องมาถึง แต่ของเรากลัวอด อยากปากแห้งเพราะเป็นฝ่ายค้านอย่างที่บรรหารว่า ประชาธิปไตยอื่นๆ เช่น อิตาลี เบลเยียม และเนเธอร์แลนด์ ก็มีรัฐบาลผสมเกือบตลอดเวลา รัฐบาลผสม เนเธอร์แลนด์มีอายุยืนยาว ของอิตาลีสั้น เปลี่ยนบ่อย การเปลี่ยนแปลงบ่อยนี้นักวิชาการไทยใช้คาว่าล้มลุกคลุกคลาน ไร้เสถียรภาพ ซึ่งเป็นความเข้าใจผิดและตื้นเขินอย่างฉกรรจ์ เสถียรภาพทางการเมืองหมายถึงความสามารถในการรักษาระบบ แม้จะมีการเปลี่ยนตัวบุคคลบ่อยเพียงใดก็ไม่ กระทบกระเทือน ความมั่นคงทางการเมืองหมายถึงความเป็นปกติในการเปลี่ยนแปลงตามวาระหรือเมื่อใดก็ได้ตาม กติกาที่วางไว้โดยไม่ต้องล้มล้างกติกา ถึงจะมีการเปลี่ยนรัฐบาลบ่อยพรรคการเมืองของอิตาลีก็มั่นคง ระบบราชเป็น กลางและรักษากฎหมาย นายกรัฐมนตรีทาผิดก็ถูกจับเข้าคุก อิตาลีสามารถพัฒนาเศรษฐกิจในอัตราสูงกว่าอังกฤษที่ รัฐบาลอยู่นานกว่า เป็นต้น ประชาธิปไตยมิใช่ระบอบที่ดีที่สุด แต่เป็นระบอบที่ปลอดภัยที่สุด ประชาธิปไตยจึงเน้นความไว้เนื้อเชื่อใจหรือ หลักประกัน มิใช่เน้นหลักประสิทธิภาพ นักร่างรัฐธรรมนูญไทยฝันหาระบบพรรคการเมืองพรรคใหญ่ 2 พรรคหรือ มีนายกรัฐมนตรีหรือฝ่ายบริหารที่ เข้มแข็งแบบประธานาธิบดีซีอีโอ คิดว่าเขียนอย่างไรก็ได้อย่างนั้น หารู้ไม่ว่าประธานาธิบดีอเมริกันไม่เข้มแข็งเท่า นายกรัฐมนตรีอังกฤษ และมีอานาจจริงๆ น้อยกว่าสภาคองเกรส และระบบพรรคของเขาก็วิวัฒนาการขึ้นมาโดยไม่มี ข้อกาหนดในรัฐธรรมนูญ การเลือกตั้งทั่วไปของอังกฤษเพิ่งจะมีการระบุชื่อพรรคในบัตรเลือกตั้งเมื่อไม่กี่ปีมานี้เอง การนาการเลือกตัง้ ระบบบัญชีมาใช้โดยอ้างทฤษฎีว่าเพื่อให้พรรคเข้มแข็งเติบโตนั้นก็ยิ่งเพี้ยนหนัก เพราะการ เลือกตั้งระบบบัญชีนั้นเขาใช้ทั้งสัดส่วนและร้อยละ เพื่อจะเปิดหนทางให้พรรคเล็กๆหรือพรรคแนวทางใหม่ที่เกิดขึ้น ตามความเปลี่ยนแปลงของโลกเช่นพรรคกรีน เป็นต้น ได้มีโอกาสเข้ามามีที่นั่งในสภา พรรคการเมืองของไทยหลังรัฐประหาร 2490 เป็นต้นมาล้วนแต่มีพิมพ์เขียวและตราประทับของอานาจนิยม ทั้งสิ้น ยกเว้นพรรคประชาธิปัตย์ซึ่งพลิกแพลงอยู่ได้ กับพรรคพลังใหม่ซึ่งตายไปแล้ว ทุกพรรคล้วนแต่ตั้งโดยหัวหน้า 75
เป็นพรรคซื้อ-ขาย ยุบ-รวม ตัดต่อพันธุกรรมทางการเมือง โดยคานึงถึงที่นั่งในสภาเป็นใหญ่ การเปลี่ยนพรรคการเมืองของไทยจึงมีบ่อยและมีมากที่สุดในโลก ผมไม่เห็นด้วยบรรดาหัวหน้าพรรคและ นักวิชาการที่อธิบายว่าเป็นเรื่องธรรมดา เพราะมันไม่ธรรมดา เช่น อย่างในจังหวัดตรัง นายทวี สุระบาล เปลี่ยนมาเข้า พรรคนายชวน นายจองชัย เที่ยงธรรม เปลี่ยนมาเข้ากับนายบรรหาร แม้กระทั่งหัวหน้ายังไม่เข้าใจว่าการย้ายพรรคเป็นการบิดเบือนเจตนารมณ์ของประชาชน เขาไม่ทากันนอกจาก ในกรณีที่อุดมการณ์ขัดกันอย่างรุนแรง แต่ของเราทาเพื่อเพิ่มที่นั่งให้หัวหน้า การส่งเสริมระบบพรรคการเมืองมีหลายวิธี เช่นให้เงินอุดหนุนเฉพาะพรรค ให้งบโฆษณาประชาสัมพันธ์ ให้ที่ นั่งพิเศษในกรรมาธิการ ให้จับเบอร์ได้ก่อนและเหมือนกันทั้งพรรค ฯลฯ แต่การบังคับให้สังกัดพรรคมิใช่วิธีหนึ่ง การ ตั้งองค์กรอิสระหรือ กกต.ก็มิใช่ กกต.จะเอาคนมาจากไหนที่พอจะรู้อะไร และจะให้ใครคุม กกต. อานาจอธิปไตยมีอยู่ 3 เท่านั้น องค์กรอิสระเป็นอานาจอธิปไตยที่ 4 เช่นนั้นหรือ การที่เราบังคับตีทะเบียนผู้แทนเหมือนวัวควายเป็นการทาลายศักดิ์ศรีของประชาธิปไตย การบังคับให้พรรคจดทะเบียนเหมือนบริษัทรับเหมาสร้างถนนของกรมทางก็คือการทาลายระบบพรรค ทาไม จึงจะคิดกันไม่ออกหนอ บทบัญญัติของรัฐธรรมนูญ 2540 ก็น่าอายพอแล้ว แต่การขายพรรคขายผู้แทนของบรรดาผู้นาการเมืองไทยคือ ความอัปยศยิ่งกว่า เป็นรอยด่างของระบบพรรคการเมืองไทย ทาลายความเชื่อถือและความเข้าใจของประชาชนเป็น ซ้าสอง หนักเท่ากับความหลอกลวงทางวิชาการของปัญญาชน ถ้าหากการร่างรัฐธรรมนูญก็ดี คมช.ก็ดี รัฐบาลก็ดี ยังติดยึดอยู่ในกรอบความคิดเก่า พร้อมที่จะขานรับแก๊งที่ตั้ง โดยหัวหน้า ทั้งแก๊งเก่าแก๊งใหม่ อนาคตประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุขคงจะมืดมนเต็มที ทางออกที่เห็นอยู่ริบหรี่ คือการเคลื่อนไหวอย่างมีระบบของประชาชน เพื่อบีบการออกแบบให้มีเสรีภาพและ การมีส่วนร่วมอย่างแท้จริงตามครรลองและจารีตประชาธิปไตย โดยปวงชนชาวไทยและพระมหากษัตริย์ที่เขารักบูชา และเชื่อใจ
76
Pramote Nakornthab December 11, 2014 ผมเกรงว่ามานะทิฐิและความมักง่ายจะทาให้ท่าน(ผู้ร่างรัฐธรรมนูญ )เปลี่ยนเมืองไทยให้หมดความเป็นเมืองไทยที่ เราเคยรู้จัก กลายเป็นเมืองที่มีแต่การช่วงชิงอานาจ และเพิ่มความโหดร้ายในการต่อสู้กันขึ้นทุกที ในที่สุดแม้ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุขก็จะเป็นแต่เพียงคาขวัญลอยๆ ในตัวหนังสือ แต่ถ้าท่านแน่วแน่แก้ไขในสิ่งผิด พยายามปรับปรุงพฤติกรรมและระบบวิธีทางาน อย่าให้เป็นเหมือนที่ผ่านมา เมืองไทยก็อาจจะยังพอมีโอกาส ผมจาเป็นต้องเขียนจดหมายนี้ และจะไม่ต่อความยาวสาวความยืด จะพูดตรงๆ สั้นๆ ถึงจุดอ่อนและข้อจากัดที่ ส.ส.ร. จะต้องแก้ไข 1. ส.ส.ร. เป็นองค์กรที่ขาดความชอบธรรมและมิใช่ตัวแทนของประชาชนตามหลักประชาธิปไตย ส.ส.ร. จัดตั้งขึ้น ตามรัฐธรรมนูญฉบับชั่วคราว (เผด็จการ) และโดยคณะผู้ยึดอานาจการปกครอง หากค้นดูในเว็บไซต์นานาชาติ ก็ จะพบคาวิจารณ์หรือการประณามท่านอย่างเผ็ดร้อน ซึ่งมิใช่วัตถุประสงค์ของผมในการเขียนจดหมายนี้ คนหลาย กลุ่มที่ไม่เกี่ยวกับทักษิณเลย อาจจะเรียกสภาร่างฯ ของท่านเบาๆ ว่า “a creature of the junta” คาว่า creature แปลให้เผ็ดร้อนมีอารมณ์แต่อาจจะไม่ถูกต้องนักว่า “สัตว์เลี้ยง (ของเผด็จการ)” จริงๆ แล้ว creature แปลว่า สิ่งที่มีชีวิต ถ้าจะให้เบาอาจจะแปลว่า “ผลิตผลหรือสิ่งที่มีชีวิตที่ คมช. เป็นผู้ให้ กาเนิด” ก็จะรื่นหูกว่า ในพจนานุกรม Longman มีการยกตัวอย่างถึงชายผู้ไร้ศักดิ์ศรีว่า He was a creature of the military government แปลว่า เขาเป็นคนอยู่ใต้อาณัติของรัฐบาลทหาร 2. องค์ประกอบของ ส.ส.ร. ประกอบด้วยชนชั้นปกครองอภิสิทธิชน ซึ่งซ่องเสพอานาจมาด้วยการเกื้อหนุนซึ่งกัน และกัน ปราศจากการยอมรับหรือความยินดียินร้ายของประชาชน คนส่วนใหญ่ของประเทศ ว่าไปแล้ว ส.ส.ร. ก็ คือ ข้าราชการใหญ่และนักวิชาการดัง พร้อมกับตะกอนของพวกที่เคยลอยฟ่องในอดีตเกาะติดมาด้วย ยังไม่ยอม ปล่อย คละเคล้าด้วยนักธุรกิจตัวเสริม นักวิชาการปากกล้าและบรรดานักเคลื่อนไหวต่อต้านทักษิณหยิบมือหนึ่ง พอเป็นกระษัย ส.ส.ร. มีแต่แทบจะไม่มีนักการเมืองที่ผ่านการเลือกตั้ง มีประสบการณ์เข้าใจวิถีแห่งการเมืองและความต้องการ อันแท้จริงของประชาชนเลย หรือตัวแทนแท้ๆ ของกลุ่มชนที่หลากหลายอย่างแท้จริง ก็หาไม่เจอ
77
ความขยะแขยงนักการเมืองเป็นเชื้อโรคติดต่อที่รุนแรงของชนชั้นปกครองและนักวิชาการไทย คนพวกนี้มักจะยก เอาความยุติธรรมบ้าง ความเป็นกลางบ้าง ความรอบรู้เชี่ยวชาญในวิชาการบ้าง ความอิดหนาระอาใจในน้าเน่า บ้าง มาเป็นข้ออ้างบังหน้า เพื่อกาจัดความคิดหรือเสียงของนักการเมืองให้หมดไป 3. ที่ผมพูดมาทั้ง 2 ข้อข้างต้นนี้เป็นความผิดพลาดหลักของ คมช. กับ รัฐธรรมนูญฉบับชั่วคราว พ.ศ. 2549 ที่ เป็นรัฐธรรมนูญถอยหลังเข้าคลองอย่างยิ่ง ทั้งนี้มิได้หมายความว่าผมนิยมประชาธิปไตยจอมปลอมระบอบทักษิณ ที่ฉกฉวยเอาเนื้อหาของเผด็จการมาใช้โดยการเอารัฐธรรมนูญมาปิดป้ายหลอกตบตา ทาให้คนไทยขี้เกียจคิดและ ชาวต่างประเทศที่ดูเป็นแต่ยี่ห้อการเลือกตั้ง หลงเดือดดาลบ่นบ้า อยากขับไล่ คมช. ให้ไปในวันในพรุ่ง
78