โขน

Page 1

โขน โขน เป็ นนาฏศิลป์ ชั้นสู งที่เก่าแก่ของไทย มีมานานตั้งแต่สมัยกรุ งศรี อยุธยา ตามหลักฐานจาก จดหมายเหตุของลา ลูแบร์ ราชทูตฝรั่งเศสสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช ได้กล่าวถึงการเล่น โขนว่า เป็ นการเต้นออกท่าทางเข้ากับเสี ยงซอและเครื่ องดนตรี อื่นๆ ผูเ้ ต้นสวมหน้ากากและถือ อาวุธ โขนเป็ นที่รวมของ ศิลปะหลายแขนงคือ โขนนาวิธีเล่นและวิธีแต่งตัวบางอย่างมาจาก การเล่นชักนาคดึกดาบรรพ์ โขนนาท่าต่อสู ้โลดโผน ท่าราท่าเต้นมาจากกระบี่กระบอง และโขน นาศิลปะการพากย์การเจรจา หน้าพาทย์เพลงดนตรี การแสดงโขน ผูแ้ สดงสวมศีรษะคือหัวโขน ปิ ดหน้าหมด ยกเว้น เทวดา มนุษย์ และมเหสี ธิดาพระยายักษ์ มีตน้ เสี ยงและลูกคู่ร้องบทให้และ มีคนพากย์และเจรจาให้ดว้ ย เรื่ องที่แสดงนิยมแสดงเรื่ องรามเกียรติ์และอุณรุ ฑ ดนตรี ที่ใช้ ประกอบการแสดงโขนใช้วงปี่ พาทย์ ผูแ้ สดงโดยทัว่ ไปแบ่งเป็ น ตัวพระ(ฝ่ ายชาย) ตัวนาง(ฝ่ ายหญิง) ตัวยักษ์ และ ตัวลิง ประเภทของโขน แบ่งออกเป็ น ๕ ประเภท คือ ๑ โขนกลางแปลง ๒ โขนโรงนอก หรื อโขนนัง่ ราว ๓ โขนหน้าจอ ๔ โขนโรงใน ๕ โขนฉาก ๑. โขนกลางแปลง คือ การเล่นโขนบนพื้นดิน ณ กลางสนาม ไม่ตอ้ งสร้างโรงให้เล่น นิยมแสดง ตอนยกทัพรบกัน โขนกลางแปลงได้ววิ ฒั นาการมาจากการเล่นชักนาคดึกดาบรรพ์ เรื่ องกวนน้ า อมฤต เรื่ องมีอยูว่ า่ เทวดาและอสู รใคร่ จะเป็ นอมตะ จึงไปทูลพระนารายณ์ พระนารายณ์จึง แนะนาให้กวนน้ าอมฤต โดยใช้เขามนทคิรีเป็ นไม้กวน เอาพระยาวาสุ กรี เป็ นเชือกพันรอบเขา เทวดาชักทางหาง หมุนเขาไปมา พระยาวาสุ กรี พ่นพิษออกมา พระนารายณ์เชิญให้ พระอิศวร ดื่มพิษนั้นเสี ย พระอิศวรจึงมีศอสี นิลเพราะพิษไหม้ ครั้นกวนต่อไป เขามนทคิรีทะลุลงไปใต้ โลก พระนารายณ์จึงอวตารเป็ นเต่าไปรองรับเขามนทคิรีไว้ ครั้นได้น้ าอมฤตแล้ว เทวดาและ อสู รแย่งชิงน้ าอมฤตกันจนเกิดสงคราม พระนารายณ์จึงนาน้ าอมฤตไปเสี ย พวกอสู รไม่ได้ดื่มน้ า อมฤตก็ตายในที่รบเป็ นอันมาก เทวดาจึงเป็ นใหญ่ในสวรรค์ พระ นารายณ์เมื่อได้น้ าอมฤตไป แล้ว ก็แบ่งน้ าอมฤตให้เทวดาและอสู รดื่ม พระนารายณ์แปลงเป็ นนางงามริ นน้ าอมฤตให้เทวดา


แต่รินน้ าธรรมดาให้อสู ร ฝ่ ายราหูเป็ นพี่นอ้ งกับพระอาทิตย์และพระจันทร์แต่ราหูเป็ อสู ร ราหู เห็นเทวดาสดชื่นแข็งแรงเมื่อได้ดื่มน้ าอมฤต แต่อสูรยังคงอ่อนเพลียอยู่ เห็นผิดสังเกต จึงแปลง เป็ นเทวดาไปปะปนอยูใ่ นหมู่เทวดา จึงพลอยได้ดื่มน้ าอมฤตด้วย พระอาทิตย์และพระจันทร์ จึง แอบบอกพระนารายณ์ พระนารายณ์โกรธมากที่ราหูตบตาพระองค์ จึงขว้างจักรไปตัดกลางตัว ราหู ร่ างกายท่อนบนได้รับน้ าอมฤตก็เป็ นอมตะ แต่ร่างกายท่อนล่างตายไป ราหูจึงเป็ นยักษ์มี กายครึ่ งท่อน ราหูโกรธและอาฆาตพระอาทิตย์และพระจันทร์มาก พบที่ไหนก็อมทันที เกิด เป็ นราหูอมจันทร์หรื อจันทรคราสและสุ ริยคราส ต่อมาเมื่อพระพุทธเจ้ามาเทศนาให้ราหูเลิก พยาบาทจองเวร ราหูจึงได้คลายพระอาทิตย์หรื อพระจันทร์ออก การเล่นชักนาคดึกดาบรรพ์ เล่นในพิธีอินทราภิเษก มีปรากฏในกฎมณเฑียรบาลสมัย กรุ งศรี อยุธยา โขนกลาง แปลงนาวิธีการแสดงคือการจัดกระบวนทัพ การเต้นประกอบหน้า พาทย์ มาจากการเล่นชักนาคดึกดาบรรพ์ แต่เปลี่ยนมาเล่นเรื่ องรามเกียรติ์ และเล่นตอนฝ่ ายยักษ์ และฝ่ ายพระรามยกทัพรบกัน จึงมีการเต้นประกอบหน้าพาทย์ และอาจมีบทพาทย์และเจรจา บ้างแต่ไม่มีบทร้อง ๒ โขนโรงนอก หรื อโขนนัง่ ราว เป็ นการแสดงบนโรงมีหลังคา ไม่มีเตียงสาหรับตัวโขนนัง่ แต่มีราวพาดตามส่ วนยาวของโรงตรงหน้าฉาก (ม่าน) มีช่องทางให้ผแู ้ สดงเดินได้รอบราวแทน เตียง มีการพากย์และเจรจา แต่ไม่มีการร้อง ปี่ พาทย์บรรเลงเพลงหน้าพาทย์ มีปี่พาทย์ ๒ วง เพราะต้องบรรเลงมาก ตั้งหัวโรงท้ายโรง จึงเรี ยกว่าวงหัวและวงท้าย หรื อวงซ้ายและวงขวา วัน ก่อนแสดงโขนนัง่ ราวจะมีการโหมโรง และให้พวกโขนออกมากระทุง้ เส้าตามจังหวะเพลง พอ จบโหมโรงก็แสดงตอนพิราพออกเที่ยวป่ า จับสัตว์กินเป็ นอาหาร พระรามหลงเข้าสวนพวาทอง ของพราพ แล้วก็หยุดแสดง พักนอนค้างคืนที่โรงโขน รุ่ งขึ้นจึงแสดงตามเรื่ องที่เตรี ยมไว้ จึง เรี ยกว่า "โขนนอนโรง" ๓ โขนหน้าจอ คือ โขนที่เล่นตรงหน้าจอ ซึ่งเดิมเขาขึงไว้สาหรับเล่นหนังใหญ่ ในการเล่น หนังใหญ่น้ นั มีการเชิดหนังใหญ่อยูห่ น้าจอผ้าขาว การแสดงหนังใหญ่มีศิลปะสาคัญ คือการ พากย์และเจรจา มีดนตรี ปี่พาทย์ประกอบการแสดง ผูเ้ ชิดตัวหนังต้อง เต้นตามลีลาและจังหวะ ดนตรี นิยมแสดงเรื่ องรามเกียรติ์ ต่อมามีการปล่อยตัวแสดงออกมาแสดงหนังจอ แทนการเชิด หนังในบางตอน เรี ยกว่า "หนังติดตัวโขน" มีผนู ้ ิยมมากขึ้น เลยปล่อยตัวโขนออกมาแสดง หน้าจอตลอด ไม่มีการเชิดหนังเลย จึงกลายเป็ นโขนหน้าจอ และต้องแขวะจอเป็ นประตูออก ๒ ข้าง เรี ยกว่า "จอแขวะ"


๔ โขนโรงใน คือ โขนที่นาศิลปะของละครในเข้ามาผสม โขนโรงในมีปี่พาทย์บรรเลง ๒ วง ผลัดกัน การ แสดงก็มีท้ งั ออกท่าราเต้น ทีพากย์และเจรจาตามแบบโขน กับนาเพลงขับร้องและ เพลงประกอบกิริยาอาการ ของดนตรี แบบละครใน และมีการนาระบาราฟ้ อนผสมเข้าด้วย เป็ น การปรับปรุ งให้ววิ ฒั นาการขึ้นอีก การผสมผสานระหว่างโขนกับละครในสมัยรัชกาลที่ ๑ รัชกาลที่ ๒ ทั้งมีราชกวีภายในราชสานักช่วยปรับปรุ งขัดเกลา และประพันธ์บทพากย์บทเจรจา ให้ไพเราะสละสลวยขึ้นอีก โขนที่กรมศิลปากรนาออกแสดงในปั จจุบนั นี้ ก็ใช้ศิลปะการแสดงแบบโขนโรงใน ไม่ ว่าจะแสดงกลางแจ้งหรื อแสดงหน้าจอก็ตาม ๕ โขนฉาก เกิด ขึ้นในสมัยรัชกาลที่ ๕ เมื่อมีผคู ้ ิดสร้างฉากประกอบเรื่ องเมื่อแสดงโขนบน เวที คล้ายกับละครดึกดาบรรพ์ ส่ วนวิธีแสดงดาเนินเช่นเดียวกับโขนโรงใน แต่มีการแบ่งเป็ นชุด เป็ นตอน เป็ นฉาก และจัดฉากประกอบตามท้องเรื่ อง จึงมีการตัดต่อเรื่ องใหม่ไม่ให้ยอ้ นไปย้อน มา เพื่อสะดวกในการจัดฉาก กรม ศิลปากรได้ทาบทเป็ นชุดๆ ไว้หลายชุด เช่น ชุดปราบกากนา สู ร ชุดมัยราพณ์สะกดทัพ ชุดชุดนางลอย ชุดนาคบาศ ชุดพรหมาสตร์ ชุดศึกวิรุญจาบัง ชุด ทาลายพิธีหุงน้ าทิพย์ ชุดสี ดาลุยไฟและปราบบรรลัยกัลป์ ชุดหนุมานอาสา ชุดพระรามเดินดง ชุดพระรามครองเมือง การแสดงโขน โดยทัว่ ไปนิยมแสดงเรื่ อง "รามเกียรติ์" กรมศิลปากรเคยจัดแสดงเรื่ อง อุณรุ ฑ แต่ไม่เป็ นที่นิยมเท่าเรื่ องรามเกียรติ์ เรื่ องรามเกียรติ์ที่นามาแสดงโขนนั้นมีหลายสานวน ทั้งที่ประพันธ์ข้ ึนในสมัยกรุ งศรี อยุธยา กรุ งธนบุรีและกรุ งรัตนโกสิ นทร์ โดยเฉพาะบทในสมัย รัตนโกสิ นทร์ นิยมแสดงตามสานวนของรัชกาลที่ ๒ ที่ กรมศิลปากรปรับปรุ งเป็ นชุดเป็ นตอน เพื่อแสดงโขนฉาก ก็เดินเรื่ องตามสานวนของรัชกาลที่ ๒ รัชกาลที่ ๖ ก็เคยทรงพระราชนิพนธ์ บทร้องและบทพากย์ไว้ถึง ๖ ชุด คือ ชุดสี ดาหาย ชุดเผาลงกา ชุดพิเภกถูกขับ ชุดจองถนน ชุด ประเดิมศึกลงกา และชุดนาคบาศ

วีดีทศั น์การแสดงโขน https://www.youtube.com/watch?v=VlvHudf8JsI


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.