Nick indesign

Page 1

1


3 สรุปเนื้อหา จากวารสาร เมืองโบราณ ปีที่ 30 ฉบับที่ 3

1. ชานเมือง บนเส้นทางเข้าเมืองหรือนอกเมือง 2. ภายในตัวเมือง ใกล้กับเทวาลัยฮินดูที่มีมาก่อน

อโรคยาศาลวันวาน : เป็นภาพโบราณสถาน อโรคยาศาล 3. กลางใจเมือง หลังเก่าก่อนที่จะมีการบูรณะ หรือถูกรื้อถอน อโรคยาศาลในอีสาน อโรคยาศาล : ความรู้ทั่วไปและข้อสังเกตเบื้องต้น บอกถึง จากจารึกปราสาทตาพรมที่เมืองพระนคร จะได้ระบุจำ�นวนอ สาเหตุการสถาปนาอโรคยาศาล โดยมีการตั้งข้อสันนิษฐาน จากภาพสลักเช่น การเสด็จแสวงบุญของพระราชาที่เป็นโรค โรคยาศาล ในรัชสมัยของพระเจ้าชัยวรมันที่7 ว่ามีทั้งสิ้น 102 แห่ง ในทุกๆ “วิษัย” ทั่วราชอาณาจักร แต่สำ�หรับในดินแดน เรื้อน หรือพระบรมวงศานุวงศ์องค์ในองค์หนึ่ง หรืออาจเป็น เพียงภาพเหตุการณ์ประจำ�วันของอโรคยาศที่ต้องรักษาผู้ป่วย อีสานของประเทศไทย ซึ่งถือว่าเป็นฐานอำ�นาจของราชวงศ์ มหิธรปุระของพระองค์นั้น ปัจจุบันได้พบโบราณสถาน ที่เมื่อ โรคเรื้อน โดยไม่เกี่ยวข้องกับพระเจ้าชัยวรมันที่7 หรือพระ เปรียบเทียบรูปแบบสถาปัตยกรรม แผนผังและลวดลายศิลปะ ประยูรญาติ และในบทความจะกล่าวถึงเรื่อง จารึกอโรคยา ศาล ,อายุรเวท(ยา), วัสดุก่อสร้างและสถานที่ตั้ง, แผนผังและ แล้ว เชื่อได้ว่าเป็นอโรคยาศาลทั้งสิ้นเพียง 30 แห่ง โดยพบ กระจายอยู่มากในเขตอีสานใต้มีเพียงสองแห่งคือกู่แก้วบ้าน จีต กิ่งอำ�เภอกู่แก้ว จังหวัดอุดรธานี และกู่พันนา อำ�เภอสว่าง ดินแดน จังหวัดสกลนคร เท่านั้นที่นับเนื่องอยู่ในเขตอีสาน เหนือ อโรคยาศาล:โรงบาลขอมในมุมมองชาวบ้าน เป็นเรื่องราวและพิธีกรรมที่ชาวบ้านในชุมชนที่พบอโรคยา ศาลนั้นได้มีพิธีกรรมต่างๆ ก่อนที่กรมศิลปากรจะเข้าไปสำ�รวจ และได้ห้ามให้ชาวบ้านทำ�พิธีกรรม หลักฐานใหม่จากอโรคยาศาลปราสาทสระกำ�แพงน้อย

องค์ประกอบทางสถาปัตยกรรมของสุคตาลัย, วิวัฒนาการ และรูปแบบของสุคตาลัย, เหตุที่ไม่ปรากฏอโรคยาศาลในลุ่ม แม่น้ำ�เจ้าพระยา, รูปเคารพในอโรคยาศาล และอโรคยาศาล หลังรัชกาลพระเจ้าชัยวรมันที่7 ภูมิที่ตั้งอโรคยาศาล:ความสัมพันธ์กับบริบททางผังเมือง จากศิลาจารึกระบุว่าอาคารอโรคยาศาล ประกอบกับรูปแบบ ทางสถาปัตยกรรมที่เป็นแบบมาตรฐาน ประกอบไปด้วยวิหา รพระไภษัชยคุรุ มีตำ�แหน่งที่ตั้งอยู่ 3 ลักษณะ

จากหลักฐานการขุดแต่ง ปราสาทสระกำ�แพงน้อย ด้านหน้า ปราสาทประธานมีชาลากากบาทซึ่งมีทางเดินเชื่อมไปสู่บร รณาลัย และอาคารรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าที่ตั้งอยู่ทางทิศตะวัน ออกเฉียงเหนือของปราสาทประธาน ภายนอกกำ�แพงแก้วมี สระน้ำ�สามแห่งคือด้านทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ทิศตะวันออก และทิศตะวันตกเฉียงใต้ ภายหลังขุดแต่งมีการบูรณะด้วยวิธี อนัสติโลซิส นอกจากนี้ ยังพบโบราญวัตถุสำ�คัญ คือรูปนาง ปรัชญาปารมิตา ฐานกรอบคันฉ่องสำ�ริด เครื่องใช้ประกอบ พิธีกรรมและภาชนะดินเผาแบบต่างๆ การศึกษาด้านอุทกวิทยากับตำ�แหน่งที่ตั้งเมืองเขมร โบราณ ดร. แอคเคอร์ สังเกตว่าอโรคยาศาลา ที่พบในประเทศไทย ส่วนมากตั้งอยู่ใกล้กับชุมชนใหญ่หรือศูนย์กลางประชากร เพื่อ


4 ที่จะสามารถให้บริการแก่ผู้ป่วยจำ�นวนมากได้ ดังนั้นตำ�แหน่ง ของอโรคยาศาลาต่างๆ จึงมีความสำ�คัญและเป็นเสมือน ศูนย์กลางประชากรในศตวรรษที่ 13 และ หากสมมุติฐานที่ ว่าศูนย์กลางประชากรมักตั้งอยู่ในพื้นที่ที่มีระดับน้ำ�ใต้ดินสูง และสามารถทำ�การเพาะปลูกข้าวได้ผลดีด้วยนี้ถูกต้อง ระดับ น้ำ�ใต้ดินที่อยู่รอบอโรคยาศาลาต่างๆ ก็ควรจะสูง หรือสูงมาก ด้วย ดังนั้นเค้าจึงได้เก็บข้อมูลโดยวัดระดับน้ำ� ใต้ดินตามบารายต่างๆ ที่มักพบอยู่ใกล้อโรคยาศาลา

“บันทึกการเดินทางตามหา “ราชมรรคา” ถนนแห่งศรัทธา ของพระเจ้าชัยวรมันที่7.” เมื่อ 100 ปีก่อนทางเข้าสู่ปราสาทบายนนั้นเป็นต้นทางของราช มรรคา ต้นทางในการแผ่อำ�นาจทางวัฒนธรรมและการเมือง ผ่านกองทัพและข้าราชบริพาร ที่ส่งไปปกครองหัวเมืองต่างๆ ต้นทางในการดูแลประชากรของพระองค์ให้พ้นจากโรคภัยใคร เจ็บด้วยอโรคยาศาลเพราะ “โรคแห่งร่างกายของปวงชนนี้ เป็น โรคทางจิตใจที่เจ็บปวดยิ่ง เพราะความทุกข์ของราษฎร์ แม้ มิใช่ความทุกข์ของพระองค์ แต่เป็นความทุกข์ของเจ้าเมือง” อันเป็นเหตุให้พระองค์สร้างธรรมศาลาถึง 121 แห่งใน 5 เส้น ทางที่พุ่งออกจากหัวใจของราชอาณาจักร สร้างใจกลาง อาณาจักรให้เต็มไปด้วยพระพักตร์ของพระโพธิสัตว์ ซึ่งในมิติ หนึ่งอาจหมายถึงพระพักตร์ของพระองค์เองที่สอดส่องดูแล ราษฎร ไม่ว่าจะอยู่แห่งหนหนึ่งตำ�บลใด “ข้อคิดเห็นบางประการเกี่ยวกับปราสาทพระขรรค์และ อำ�นาจการเมืองของพระเจ้าชัยวรมันที่7.” จากปราสาทบ้านสำ�โรงเมื่อนำ�มาเปรียบเทียบกับข้อมูลที่พัก คนเดินทางในจารึกปราสาทพระขรรค์ ทำ�ให้ได้ข้อคิดเห็นบาง

5


6 ประการที่สำ�คัญเกี่ยวกับอาณาจักรเขมร โบราณสมัยพระเจ้า ชัยวรมันที่ 7 ค้นพบธรรมะศาลาประจำ�ที่พักคนเดินทางได้ไม่ ครบทั้ง 121 แห่งแต่การที่ได้ค้นพบธรรมศาลาประจำ�ที่พักคน เดินทางจำ�นวน 17 แห่งตามเส้นทางโบราณจากเมืองพระนคร ถึงเมืองพิมาย ตรงตามจารึกปราสาทพระขรรค์ และเมื่อ พิจารณาถึงลักษณะการกระจายตัวของธรรมศาลาพบว่าส่วน ใหญ่จำ�นวนประมาณ 112 แห่ง ตั้งอยู่ในประเทศกัมพูชาและมี ส่วนน้อยจำ�นวน 9 แห่ง ที่พบในภาคอีสานของประเทศไทย ลักษณะเช่นนี้ไม่เพียงแต่ธรรมศาลาเท่านั้น อโรคยาศาล หรือโรงพยาบาลสำ�หรับรักษาผู้ป่วยที่พระเจ้าชะยวรมันที่ 7 ทรงโปรดให้สร้างขึ้น 102 แห่ง ตามบ้านเมืองสำ�คัญทั่วราช อาณาจักร ซึ่งเป็นศาสนสถานที่สร้างขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์ เช่นเดียวกับธรรมศาลา คือเพื่อรับใช้ประชาชนทั่วไปซึ่งคน ส่วนใหญ่ของประเทศ ก็มีการกระจายตัวก็เช่นเดียวกันกับ ธรรมศาลาคือส่วนใหญ่ยังอยู่ในพื้นที่ประเทศกัมพูชา มีส่วน น้อยจำ�นวนประมาณไม่เกิน 30 แห่งที่พบในภาคอีสานของ ประเทศไทย

7

พ.ศ. 2508 ศาสตราจารย์ฟิลิปป์ สแตร์น ได้เขียนบทความ เรื่อง “โบราณสถานเขมรแบบบายนในสมัยพระเจ้าชัยวรมัน ที่ 7 “ ได้เสนอแนวคิดว่า ศาสนาสถานประจำ�โรงพยาบาล ในสมัยพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 น่าจะเป็นสิ่งที่สร้างเสริมขึ้นใหม่ อย่างเป็นระบบในช่วยเวลาใดเวลาหนึ่งในสถานที่เดิม และมี การนับถือบูชา พระโพธิสัตว์อวโลกิเตศวรตามความเชื่อแบบ ใหม่ คือ เชื่อว่าทรงเป็นผู้รักษาโรค การศึกษาข้อความในศิราจารึกยังช่วยให้เห็นความแตกต่าง หลายระดับของโรงพยาบาลตลอดจนความสำ�คัญของแต่ละ โรงพยาบาลแต่เป็นที่น่าเสียดายว่าจารึกโรงพยาบาลทั้งหมด ไม่เคยระบุชื่อเมืองที่โรงพยาบาลนั้นตั้งอยู่เลย ความสัมพันธ์ ระหว่างโรงพยาบาลกับเมืองที่ให้บริการ ทั้งนี้สามารถจัดกลุ่ม ตามระดับที่ปรากฏในจารึกได้ 4 ระดับ ระดับที่ 1 โรงพยาบาล 4 แห่งตั้งขึ้นในทิศต่างๆของ นครธม เมืองหลวงของอณาจักร โดยเป็นโรงพยาบาลที่สำ�คัญ มาก มีผู้ดูแลประมาณ 200 คนในแต่ละแห่ง

ระดับที่ 2 โรงพยาบาลที่พิมาย ในระดับนี้รู้จัก เพียงแห่งเดียว ซึ่งดูเหมือนว่ามีความสำ�คัญเทียบ เท่ากับโรงพยาบาลที่นครธม โดยดูจากอัตราภาษี อากรบำ�รุงท้องถิ่นซึ่งได้รับ แต่ ณ ที่นี้พระมหากษัตริย์ ไม่พระราชทานอะไรเลยสำ�หรับประกอบพิธีบวงสรวง ระดับที่ 3 โรงพยาบาลที่มีขนาดผู้ดูแล จาก วิทยานิพนธ์ ทิพย์วรรณ วงศ์อัสสไพบูลย์. การ ศึกษาร่องรอบของบ้านเมืองโบราณบริเวณใกล้เคียง ประมาณ 100 ตน พบศิลาจารึก 10 หลักและ 4 หลักพบ ศาสนสถานประจำ�โรงพยาบาลสมัยพระชัยวรมันที่ 7 ใน ในประเทศไทย คือ จารึกวัดกู่ จารึกพนมวัน จารึกด่านประคำ� ปละจารึกที่ให้ชื่อว่า “จารึกพบใหม่จากจังหวัดสุรินทร์” เขตจังหวัดนครราชสีมา สุรินทร์ บุรีรัมย์. ระดับที่ 4 โรงพยาบาลที่มีขนาดผู้ดูแลประมาณ 50 1.ประวัติการศึกษาเรื่อง อโรคยาศาล คน รู้จักจารึก 3หลัก โดยพบในประเทศไทย 2 หลัก คือ จารึก ปราสาทตาเมืองโต๊จ และจารึกครบุรี การศึกษาเรื่องอโรคยาศาลเริ่มขึ้นใน พ.ศ. 2446 เมื่อ ศาสตราจารย์หลุยส์ ฟีโนต์ ได้ทำ�การแปลศิลาจารึกจากเมือง มูลเหตุในการสถาปนาอโรคยาศาล ทรายฟอง ต่อมาในในปี พ.ศ. 2483 ศาสตราจารย์ ยอร์ช 1. ศาสตราจารย์เซเดย์ เสนอว่าเหตุที่พระเจ้าชัยวรมันที่ เซเดส์ ได้เขียนบทความเรื่อง “โรงพยาบาลของพระเจ้าชัย 7 ทรงสถาปนาอโรคยาศาลทั่วทั้งพระราชอาณาจักร วรมันที่ 7” อันเป็นการศึกษาว่าโบราณสถานแห่งใดบ้างที่ อาจเป็นเพราะพระองค์ทรงมุ่งหวังว่าการบำ�เพ็ญพระ เป็นศาสนสถานประจำ�โรงพยาบาลโยอาศัยหลักฐานจากศิรา กุศลในครั้งนี้ จะยังผลให้พระองค์หรือพระบรมวงศา จารึกและแผนผังในรายงานสำ�รวจของพันตรีลูเนต์ เดอ ลาจอ นุวงศ์พระองค์ใดพระองค์หนึ่งทรงบรรเทาจากอาการ งกิแยร์ ที่ตีพิมพ์ไว้ 3 ฉบับประกอบการพิจารณา และได้เสนอ ประชวรด้วยโรคร้าย คือโรคเรื้อนนั่นเอง รายชื่อศาสนสถานเอาไว้ 31 แห่ง ทั้งในประเทศกัมพูชาและ ประเทศไทย 2. บันทึกของโจวตากวนผู้เดินทางมาพร้อมขบวนทูตจีน

พ.ศ. 1839 กล่าวว่าเคยมีพระราชาเขมรเป็นโรค เรื้อน แต่โจวตากวนก็มิได้ระบุว่าเป็นพระเจ้าชัยวรันที่ 7 หรือพระราชาองค์ใดดังนั้นเรื่องที่พระราชาเขมรที่ ประชวรด้วยโรคเรื้อนก็อาจเป็นเพียงเรื่องล่ำ�ลือที่ชาว เขมรเล่าให้โจวตากวนฟังอย่างสนุกปาก 3.

เดียวกัน บรรณาลัย

ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ของปราสาทประธานขนานไป กับแนวกำ�แพงแก้วด้านทิศใต้ สร้างหันหน้าไปทางทิศตะวัน จากข้อความที่ปรากฏในจารึกแสดงให้เห็นว่าพระราช ตก ลักษณะคล้ายอาคารรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้ามีขนาดประมาณ ปณิธานหลักของพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 ทรงสถาปนา 5x8เมตร ตัวอาคารก่อด้วยศิลาแลง อโรคยาศาลขึ้นก็คือ เพื่อให้การรักษาประชาชนของ พระองค์ให้พ้นทุก๘จากโรคภัยทั้งปวง

เทคนิค แผนผัง และองค์ประกอบสถาปัตยากรรมของ ศาสนสถานประจำ�โรงพยาบาล ศาสตราจารย์เซเดย์ ได้กล่าวถึงศาสนสถานประจำ� โรงพยาบาลว่ามีลักษณะแผนผังและรูปแบบของอาคาร เป็นแบบเดียวกันและมีขนาดเท่ากัน สำ�หรับวัสดุที่ใช้นั้นใน ประเทศกัมพูชาโดยเฉพาะบริเวณเมืองพระนครหลวงจะ ก่อด้วยหินทราย และแกะสลักด้วยลวดลายทั้งหลัง ในส่วน ประเทศไทยส่วนใหญ่เป็นศิลาแลง และจะใช้หินทรายเฉพาะ ในส่วนที่เป็นองค์ประกอบทางสถาปัตยกรรม

แผนผังและองค์ประกอบทางสถาปัตยกรรม องค์ประกอบทางสถาปัตยกรรมที่สำ�คัญของศาสนสถาน ประจำ�โรงพยาบาล ได้แก่ ประสาทประธาน บรรณา ลัย โคปุระ กำ�แพงแก้ว และสระน้ำ�

โคปุระ(ซุ้มประตู) โคปุระตั้งอยู่บนแนวกำ�แพงแก้วด้านทิศตะวันออก มัผังรูป กากบาท สร้างด้ายศิลาแลง ส่วนกรอบประตูนิยมทำ�จาก หินทราย ภายในโคปุระแบ่งพื้นที่ออกเป็น 3 คูหาคือ คูหาด้าน ทิศเหนือ คูหากลาง และคูหาด้านทิศใต้โยมีสี่ประตู กำ�แพงแก้ว กำ�แพงแก้ว ก่อด้วยศิลาแลง มีผังรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า ขนาด ประมาณ 24x33เมตรด้านยาวอยู่บนแกนตะวันออกตะวันตก ตัวกำ�แพงแก้วมีฐานเตี้ยๆรองรับเหนือกำ�แพงมีทับ หลังครอบ สระน้ำ� สระน้ำ�มีแผนผังเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า ขนาดประมาณ 14x18 เมตร สร้างไว้ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือนอก กำ�แพงแก้ว ขอบสระกรุด้วยศิลาแลงเรียงลดหลั่นลงไปเป็นขั้น บันไดสามารถเดินลงไปได้ถึงระดับน้ำ� หรือก้นสระได้ รูปเคารพในศาสนาสถานประจำ�โรงพยาบาลและ ตำ�แหน่งที่ตั้ง

ปราสาทประธาน ปราสาทประธานจะสร้างไว้ตรงกับแนวโคปุระ หันหน้าไปทาง ทิศตะวันออก มีผังรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส ขนาดกว้างประมาณด้าน ละ 7 เมตรทางด้านทิศตะวันออกทำ�เป็นมุขยื่นออกมาคูหา ของมุขนี้มีผังรูปสี่เหลี่ยนจัตุรัส แต่ละด้านกว้างประมาณ 2 เมตรโดยตัวปราสาทประธานและมุขนี้ตั้งอยู่บนฐานศิลาแลง

1. พระวัชธร 2. ประติมากรรมบุรุษกุมวัตถุไว้ในมือทั้งสองข้าง 3. พระโพธิสัตว์อวโลกิเตศวร 4 กรประทับยืน 4. พระโพธิสัตว์ 4 กรประทับนั่ง 5. พระวัชรปาณีทรงครุฑ


8 สรุปเนื้อหา จากวารสาร เมืองโบราณ ปีที่ 30 ฉบับที่ 3 อโรคยาศาลวันวาน : เป็นภาพโบราณสถาน อโรคยาศาล หลังเก่าก่อนที่จะมีการบูรณะ หรือถูกรื้อถอน อโรคยาศาล : ความรู้ทั่วไปและข้อสังเกตเบื้องต้น บอกถึง สาเหตุการสถาปนาอโรคยาศาล โดยมีการตั้งข้อสันนิษฐาน จากภาพสลักเช่น การเสด็จแสวงบุญของพระราชาที่เป็นโรค เรื้อน หรือพระบรมวงศานุวงศ์องค์ในองค์หนึ่ง หรืออาจเป็น เพียงภาพเหตุการณ์ประจำ�วันของอโรคยาศที่ต้องรักษาผู้ป่วย โรคเรื้อน โดยไม่เกี่ยวข้องกับพระเจ้าชัยวรมันที่7 หรือพระ ประยูรญาติ และในบทความจะกล่าวถึงเรื่อง จารึกอโรคยา ศาล ,อายุรเวท(ยา), วัสดุก่อสร้างและสถานที่ตั้ง, แผนผังและ องค์ประกอบทางสถาปัตยกรรมของสุคตาลัย, วิวัฒนาการ และรูปแบบของสุคตาลัย, เหตุที่ไม่ปรากฏอโรคยาศาลในลุ่ม แม่น้ำ�เจ้าพระยา, รูปเคารพในอโรคยาศาล และอโรคยาศาล หลังรัชกาลพระเจ้าชัยวรมันที่7 ภูมิที่ตั้งอโรคยาศาล:ความสัมพันธ์กับบริบททางผังเมือง จากศิลาจารึกระบุว่าอาคารอโรคยาศาล ประกอบกับรูปแบบ ทางสถาปัตยกรรมที่เป็นแบบมาตรฐาน ประกอบไปด้วยวิหา รพระไภษัชยคุรุ มีตำ�แหน่งที่ตั้งอยู่ 3 ลักษณะ 1. ชานเมือง บนเส้นทางเข้าเมืองหรือนอกเมือง 2. ภายในตัวเมือง ใกล้กับเทวาลัยฮินดูที่มีมาก่อน 3. กลางใจเมือง อโรคยาศาลในอีสาน จากจารึกปราสาทตาพรมที่เมืองพระนคร จะได้ระบุจำ�นวนอ โรคยาศาล ในรัชสมัยของพระเจ้าชัยวรมันที่7 ว่ามีทั้งสิ้น 102 แห่ง ในทุกๆ “วิษัย” ทั่วราชอาณาจักร แต่สำ�หรับในดินแดน อีสานของประเทศไทย ซึ่งถือว่าเป็นฐานอำ�นาจของราชวงศ์ มหิธรปุระของพระองค์นั้น ปัจจุบันได้พบโบราณสถาน ที่เมื่อ เปรียบเทียบรูปแบบสถาปัตยกรรม แผนผังและลวดลายศิลปะ แล้ว เชื่อได้ว่าเป็นอโรคยาศาลทั้งสิ้นเพียง 30 แห่ง โดยพบ กระจายอยู่มากในเขตอีสานใต้มีเพียงสองแห่งคือกู่แก้วบ้าน จีต กิ่งอำ�เภอกู่แก้ว จังหวัดอุดรธานี และกู่พันนา อำ�เภอสว่าง

9 ดินแดน จังหวัดสกลนคร เท่านั้นที่นับเนื่องอยู่ในเขตอีสาน เหนือ อโรคยาศาล:โรงบาลขอมในมุมมองชาวบ้าน เป็นเรื่องราวและพิธีกรรมที่ชาวบ้านในชุมชนที่พบอโรคยา ศาลนั้นได้มีพิธีกรรมต่างๆ ก่อนที่กรมศิลปากรจะเข้าไปสำ�รวจ และได้ห้ามให้ชาวบ้านทำ�พิธีกรรม หลักฐานใหม่จากอโรคยาศาลปราสาทสระกำ�แพงน้อย จากหลักฐานการขุดแต่ง ปราสาทสระกำ�แพงน้อย ด้านหน้า ปราสาทประธานมีชาลากากบาทซึ่งมีทางเดินเชื่อมไปสู่บร รณาลัย และอาคารรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าที่ตั้งอยู่ทางทิศตะวัน ออกเฉียงเหนือของปราสาทประธาน ภายนอกกำ�แพงแก้วมี สระน้ำ�สามแห่งคือด้านทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ทิศตะวันออก และทิศตะวันตกเฉียงใต้ ภายหลังขุดแต่งมีการบูรณะด้วยวิธี อนัสติโลซิส นอกจากนี้ ยังพบโบราญวัตถุสำ�คัญ คือรูปนาง ปรัชญาปารมิตา ฐานกรอบคันฉ่องสำ�ริด เครื่องใช้ประกอบ พิธีกรรมและภาชนะดินเผาแบบต่างๆ การศึกษาด้านอุทกวิทยากับตำ�แหน่งที่ตั้งเมืองเขมร โบราณ ดร. แอคเคอร์ สังเกตว่าอโรคยาศาลา ที่พบในประเทศไทย ส่วนมากตั้งอยู่ใกล้กับชุมชนใหญ่หรือศูนย์กลางประชากร เพื่อ ที่จะสามารถให้บริการแก่ผู้ป่วยจำ�นวนมากได้ ดังนั้นตำ�แหน่ง ของอโรคยาศาลาต่างๆ จึงมีความสำ�คัญและเป็นเสมือน ศูนย์กลางประชากรในศตวรรษที่ 13 และ หากสมมุติฐานที่ ว่าศูนย์กลางประชากรมักตั้งอยู่ในพื้นที่ที่มีระดับน้ำ�ใต้ดินสูง และสามารถทำ�การเพาะปลูกข้าวได้ผลดีด้วยนี้ถูกต้อง ระดับ น้ำ�ใต้ดินที่อยู่รอบอโรคยาศาลาต่างๆ ก็ควรจะสูง หรือสูงมาก ด้วย ดังนั้นเค้าจึงได้เก็บข้อมูลโดยวัดระดับน้ำ� ใต้ดินตามบารายต่างๆ ที่มักพบอยู่ใกล้อโรคยาศาลา “บันทึกการเดินทางตามหา “ราชมรรคา” ถนนแห่งศรัทธา ของพระเจ้าชัยวรมันที่7.” เมื่อ 100 ปีก่อนทางเข้าสู่ปราสาทบายนนั้นเป็นต้นทางของราช มรรคา ต้นทางในการแผ่อำ�นาจทางวัฒนธรรมและการเมือง ผ่านกองทัพและข้าราชบริพาร ที่ส่งไปปกครองหัวเมืองต่างๆ ต้นทางในการดูแลประชากรของพระองค์ให้พ้นจากโรคภัยใคร

เขตจังหวัดนครราชสีมา สุรินทร์ บุรีรัมย์. เจ็บด้วยอโรคยาศาลเพราะ “โรคแห่งร่างกายของปวงชนนี้ เป็น โรคทางจิตใจที่เจ็บปวดยิ่ง เพราะความทุกข์ของราษฎร์ แม้ 1.ประวัติการศึกษาเรื่อง อโรคยาศาล มิใช่ความทุกข์ของพระองค์ แต่เป็นความทุกข์ของเจ้าเมือง” การศึกษาเรื่องอโรคยาศาลเริ่มขึ้นใน พ.ศ. 2446 เมื่อ อันเป็นเหตุให้พระองค์สร้างธรรมศาลาถึง 121 แห่งใน 5 เส้น ศาสตราจารย์หลุยส์ ฟีโนต์ ได้ทำ�การแปลศิลาจารึกจากเมือง ทางที่พุ่งออกจากหัวใจของราชอาณาจักร สร้างใจกลาง ทรายฟอง ต่อมาในในปี พ.ศ. 2483 ศาสตราจารย์ ยอร์ช อาณาจักรให้เต็มไปด้วยพระพักตร์ของพระโพธิสัตว์ ซึ่งในมิติ เซเดส์ ได้เขียนบทความเรื่อง “โรงพยาบาลของพระเจ้าชัย หนึ่งอาจหมายถึงพระพักตร์ของพระองค์เองที่สอดส่องดูแล วรมันที่ 7” อันเป็นการศึกษาว่าโบราณสถานแห่งใดบ้างที่ ราษฎร ไม่ว่าจะอยู่แห่งหนหนึ่งตำ�บลใด เป็นศาสนสถานประจำ�โรงพยาบาลโยอาศัยหลักฐานจากศิรา “ข้อคิดเห็นบางประการเกี่ยวกับปราสาทพระขรรค์และ จารึกและแผนผังในรายงานสำ�รวจของพันตรีลูเนต์ เดอ ลาจอ งกิแยร์ ที่ตีพิมพ์ไว้ 3 ฉบับประกอบการพิจารณา และได้เสนอ อำ�นาจการเมืองของพระเจ้าชัยวรมันที่7.” รายชื่อศาสนสถานเอาไว้ 31 แห่ง ทั้งในประเทศกัมพูชาและ จากปราสาทบ้านสำ�โรงเมื่อนำ�มาเปรียบเทียบกับข้อมูลที่พัก ประเทศไทย คนเดินทางในจารึกปราสาทพระขรรค์ ทำ�ให้ได้ข้อคิดเห็นบาง ประการที่สำ�คัญเกี่ยวกับอาณาจักรเขมร โบราณสมัยพระเจ้า พ.ศ. 2508 ศาสตราจารย์ฟิลิปป์ สแตร์น ได้เขียนบทความ ชัยวรมันที่ 7 ค้นพบธรรมะศาลาประจำ�ที่พักคนเดินทางได้ไม่ เรื่อง “โบราณสถานเขมรแบบบายนในสมัยพระเจ้าชัยวรมัน ครบทั้ง 121 แห่งแต่การที่ได้ค้นพบธรรมศาลาประจำ�ที่พักคน ที่ 7 “ ได้เสนอแนวคิดว่า ศาสนาสถานประจำ�โรงพยาบาล เดินทางจำ�นวน 17 แห่งตามเส้นทางโบราณจากเมืองพระนคร ในสมัยพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 น่าจะเป็นสิ่งที่สร้างเสริมขึ้นใหม่ อย่างเป็นระบบในช่วยเวลาใดเวลาหนึ่งในสถานที่เดิม และมี ถึงเมืองพิมาย ตรงตามจารึกปราสาทพระขรรค์ และเมื่อ พิจารณาถึงลักษณะการกระจายตัวของธรรมศาลาพบว่าส่วน การนับถือบูชา พระโพธิสัตว์อวโลกิเตศวรตามความเชื่อแบบ ใหญ่จำ�นวนประมาณ 112 แห่ง ตั้งอยู่ในประเทศกัมพูชาและมี ใหม่ คือ เชื่อว่าทรงเป็นผู้รักษาโรค ส่วนน้อยจำ�นวน 9 แห่ง ที่พบในภาคอีสานของประเทศไทย การศึกษาข้อความในศิราจารึกยังช่วยให้เห็นความแตกต่าง หลายระดับของโรงพยาบาลตลอดจนความสำ�คัญของแต่ละ ลักษณะเช่นนี้ไม่เพียงแต่ธรรมศาลาเท่านั้น อโรคยาศาล โรงพยาบาลแต่เป็นที่น่าเสียดายว่าจารึกโรงพยาบาลทั้งหมด หรือโรงพยาบาลสำ�หรับรักษาผู้ป่วยที่พระเจ้าชะยวรมันที่ 7 ไม่เคยระบุชื่อเมืองที่โรงพยาบาลนั้นตั้งอยู่เลย ความสัมพันธ์ ทรงโปรดให้สร้างขึ้น 102 แห่ง ตามบ้านเมืองสำ�คัญทั่วราช ระหว่างโรงพยาบาลกับเมืองที่ให้บริการ ทั้งนี้สามารถจัดกลุ่ม อาณาจักร ซึ่งเป็นศาสนสถานที่สร้างขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์ ตามระดับที่ปรากฏในจารึกได้ 4 ระดับ เช่นเดียวกับธรรมศาลา คือเพื่อรับใช้ประชาชนทั่วไปซึ่งคน ส่วนใหญ่ของประเทศ ก็มีการกระจายตัวก็เช่นเดียวกันกับ ระดับที่ 1 โรงพยาบาล 4 แห่งตั้งขึ้นในทิศต่างๆของ ธรรมศาลาคือส่วนใหญ่ยังอยู่ในพื้นที่ประเทศกัมพูชา มีส่วน นครธม เมืองหลวงของอณาจักร โดยเป็นโรงพยาบาลที่สำ�คัญ น้อยจำ�นวนประมาณไม่เกิน 30 แห่งที่พบในภาคอีสานของ มาก มีผู้ดูแลประมาณ 200 คนในแต่ละแห่ง ประเทศไทย ระดับที่ 2 โรงพยาบาลที่พิมาย ในระดับนี้รู้จัก เพียงแห่งเดียว ซึ่งดูเหมือนว่ามีความสำ�คัญเทียบ เท่ากับโรงพยาบาลที่นครธม โดยดูจากอัตราภาษี อากรบำ�รุงท้องถิ่นซึ่งได้รับ แต่ ณ ที่นี้พระมหากษัตริย์ ไม่พระราชทานอะไรเลยสำ�หรับประกอบพิธีบวงสรวง ระดับที่ 3 โรงพยาบาลที่มีขนาดผู้ดูแล จาก วิทยานิพนธ์ ทิพย์วรรณ วงศ์อัสสไพบูลย์. การ ศึกษาร่องรอบของบ้านเมืองโบราณบริเวณใกล้เคียง ประมาณ 100 ตน พบศิลาจารึก 10 หลักและ 4 หลักพบ ศาสนสถานประจำ�โรงพยาบาลสมัยพระชัยวรมันที่ 7 ใน ในประเทศไทย คือ จารึกวัดกู่ จารึกพนมวัน จารึกด่านประคำ�


10

11

ปละจารึกที่ให้ชื่อว่า “จารึกพบใหม่จากจังหวัดสุรินทร์” องค์ประกอบทางสถาปัตยกรรมที่สำ�คัญของศาสนสถาน ระดับที่ 4 โรงพยาบาลที่มีขนาดผู้ดูแลประมาณ 50 ประจำ�โรงพยาบาล ได้แก่ ประสาทประธาน บรรณา คน รู้จักจารึก 3หลัก โดยพบในประเทศไทย 2 หลัก คือ จารึก ลัย โคปุระ กำ�แพงแก้ว และสระน้ำ� ปราสาทตาเมืองโต๊จ และจารึกครบุรี ปราสาทประธาน มูลเหตุในการสถาปนาอโรคยาศาล ปราสาทประธานจะสร้างไว้ตรงกับแนวโคปุระ หันหน้าไปทาง 1. ศาสตราจารย์เซเดย์ เสนอว่าเหตุที่พระเจ้าชัยวรมันที่ ทิศตะวันออก มีผังรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส ขนาดกว้างประมาณด้าน 7 ทรงสถาปนาอโรคยาศาลทั่วทั้งพระราชอาณาจักร ละ 7 เมตรทางด้านทิศตะวันออกทำ�เป็นมุขยื่นออกมาคูหา อาจเป็นเพราะพระองค์ทรงมุ่งหวังว่าการบำ�เพ็ญพระ ของมุขนี้มีผังรูปสี่เหลี่ยนจัตุรัส แต่ละด้านกว้างประมาณ 2 กุศลในครั้งนี้ จะยังผลให้พระองค์หรือพระบรมวงศา เมตรโดยตัวปราสาทประธานและมุขนี้ตั้งอยู่บนฐานศิลาแลง นุวงศ์พระองค์ใดพระองค์หนึ่งทรงบรรเทาจากอาการ เดียวกัน ประชวรด้วยโรคร้าย คือโรคเรื้อนนั่นเอง บรรณาลัย 2. บันทึกของโจวตากวนผู้เดินทางมาพร้อมขบวนทูตจีน ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ของปราสาทประธานขนานไป พ.ศ. 1839 กล่าวว่าเคยมีพระราชาเขมรเป็นโรค กับแนวกำ�แพงแก้วด้านทิศใต้ สร้างหันหน้าไปทางทิศตะวัน เรื้อน แต่โจวตากวนก็มิได้ระบุว่าเป็นพระเจ้าชัยวรันที่ ตก ลักษณะคล้ายอาคารรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้ามีขนาดประมาณ 7 หรือพระราชาองค์ใดดังนั้นเรื่องที่พระราชาเขมรที่ 5x8เมตร ตัวอาคารก่อด้วยศิลาแลง ประชวรด้วยโรคเรื้อนก็อาจเป็นเพียงเรื่องล่ำ�ลือที่ชาว เขมรเล่าให้โจวตากวนฟังอย่างสนุกปาก จากข้อความที่ปรากฏในจารึกแสดงให้เห็นว่าพระราช ปณิธานหลักของพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 ทรงสถาปนา อโรคยาศาลขึ้นก็คือ เพื่อให้การรักษาประชาชนของ โคปุระ(ซุ้มประตู) พระองค์ให้พ้นทุก๘จากโรคภัยทั้งปวง โคปุระตั้งอยู่บนแนวกำ�แพงแก้วด้านทิศตะวันออก มัผังรูป กากบาท สร้างด้ายศิลาแลง ส่วนกรอบประตูนิยมทำ�จาก เทคนิค แผนผัง และองค์ประกอบสถาปัตยากรรมของ หินทราย ภายในโคปุระแบ่งพื้นที่ออกเป็น 3 คูหาคือ คูหาด้าน ศาสนสถานประจำ�โรงพยาบาล ทิศเหนือ คูหากลาง และคูหาด้านทิศใต้โยมีสี่ประตู ศาสตราจารย์เซเดย์ ได้กล่าวถึงศาสนสถานประจำ� กำ�แพงแก้ว โรงพยาบาลว่ามีลักษณะแผนผังและรูปแบบของอาคาร เป็นแบบเดียวกันและมีขนาดเท่ากัน สำ�หรับวัสดุที่ใช้นั้นใน กำ�แพงแก้ว ก่อด้วยศิลาแลง มีผังรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า ขนาด ประเทศกัมพูชาโดยเฉพาะบริเวณเมืองพระนครหลวงจะ ประมาณ 24x33เมตรด้านยาวอยู่บนแกนตะวันออกก่อด้วยหินทราย และแกะสลักด้วยลวดลายทั้งหลัง ในส่วน ตะวันตก ตัวกำ�แพงแก้วมีฐานเตี้ยๆรองรับเหนือกำ�แพงมีทับ ประเทศไทยส่วนใหญ่เป็นศิลาแลง และจะใช้หินทรายเฉพาะ หลังครอบ ในส่วนที่เป็นองค์ประกอบทางสถาปัตยกรรม สระน้ำ� 3.

แผนผังและองค์ประกอบทางสถาปัตยกรรม

สระน้ำ�มีแผนผังเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า ขนาดประมาณ 14x18 เมตร สร้างไว้ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือนอก กำ�แพงแก้ว ขอบสระกรุด้วยศิลาแลงเรียงลดหลั่นลงไปเป็นขั้น บันไดสามารถเดินลงไปได้ถึงระดับน้ำ� หรือก้นสระได้

รูปเคารพในศาสนาสถานประจำ�โรงพยาบาลและ ตำ�แหน่งที่ตั้ง 1. พระวัชธร 2. ประติมากรรมบุรุษกุมวัตถุไว้ในมือทั้งสองข้าง 3. พระโพธิสัตว์อวโลกิเตศวร 4 กรประทับยืน 4. พระโพธิสัตว์ 4 กรประทับนั่ง 5. พระวัชรปาณีทรงครุฑ

โรงเรียนวัฒโนทัยพายัพ 1.บทบาทหน้าที่ จากการที่ได้ไปสังเกตการณ์สอนที่โรงเรียนวัฒโนบทบาท หน้าที่หลักก็คือการไปสังเกตการเรียนการสอนของครูพี่เลี้ยง ในวิชาศิลปะ ในห้องเรียนก็ได้ช่วยครูพี่เลี้ยงสอนบ้างบางคาบ เรียนโดยส่วนใหญ่ระหว่างการสังเกตการสอนก็ได้ช่วยควบคุม นักเรียน ช่วยดูงานที่นักเรียนทำ� ให้ข้อแนะนำ�ต่างๆระหว่าง การเรียน นอกจากการสังเกตการณ์สอนก็ได้ทำ�งานอื่นๆ เช่น งานห้องพยาบาล และงานทำ�ฉาก เป็นต้น 2.ประสบการณ์ ประสบการณ์ที่ได้รับคือ ประสบการณ์ในการได้อยู่หน้าห้อง เรียนจริงๆ ได้สอนเด็กจริงๆ ได้สัมผัสถึงบรรยากาศในการเรียน การสอนในห้องเรียนจริงๆ อีกทั้งยังได้เรียนรู้เทคนิคการสอน ของครูเพื่อนำ�มาปรับและเป็นแบบอย่างได้ 3.ความประทับใจ ความประทับใจในการสังเกตการสอนที่โรงเรียนวัฒโนคือ ประทับใจในเรื่องความพร้อมของโรงเรียน ทั้งอาคารสถาน ที่ อุปกรณ์การเรียน เทคโนโลยีต่างๆ ประทับใจในตัวครูที่ มีเทคนิคการสอนที่ดีสามารถควบคุมนักเรียนได้ อีกทั้งยัง ประทับใจในตัวนักเรียนเพราะนักเรียนส่วนใหญ่ตั้งใจเรียน สนใจการเรียนดี โดยภาพรวมโรงเรียนไม่มีปัญหาอะไร ซึ่งเป็น ผลดีต่อการเรียนรู้ของนักเรียนและการสอนของครู โรงเรียนบ้านเชิงดอย 1.บทบาทหน้าที่ สังเกตทุกอย่างตั้งแต่นักเรียนเข้าโรงเรียนตลอดจนนักเรียน กลับบ้าน อาคารสถานที่ อาหารการกินและรวมไปถึงงาน ต่างๆที่ได้รับมอบหมายเช่น เขียนป้าย จัดบอร์ดและตัดสินผล งานกิจกรรมต่างๆของนักเรียน 2.ประสบการณ์ ได้เห็นบริบทของโรงเรียน นักเรียนที่มีความหลากหลายทาง ด้านเชื้อชาติและภาษา


12 3.ความประทับใจ

13 2.ประสบการณ์

ประทับใจในเรื่อง บุคลากรของโรงเรียนเอาใจใส่นักศึกษาที่มา ได้เห็นบทบาทของวิชาชีพครูที่ชัดเจนขึ้น เห็นบริบทของ โรงเรียนและปรับตัวเข้ากับโรงเรียนได้ ได้รู้วิธีการวางตัว การ พรีแพร์เป็นอย่างดี ปฏิบัติตนในการทำ�งานร่วมกับบุคคลในบทบาทต่างๆ รู้วิธี รับมือกับนักเรียนประเภทต่างๆ 3.ความประทับใจ บุคลากรให้การต้องรับเป็นอย่างดี คอยให้คำ�แนะนำ�ในเรื่อง การทำ�งานเสมอ และมีความเป็นกันเอง

ห้องพยาบาลอยู่ เวรหน้าโรงเรียน 2.ประสบการณ์ รู้เทคนิคการสอน/การทำ�งานของโรงเรียน และ ตร.หน้าที่ของ แต่ละบุคคลที่ต้องรับผิดชอบ 3.ความประทับใจ การทำ�งานมีความเป็นระบบเข้าใจง่าย,ทำ�งานง่าย เพราะแบ่ง เวร มีความร่วมมือ และ อัธยาศัยดี 4.ข้อคิดเห็นอื่นๆ ข้อเสีย คือ เข้าแถวนานเกินไป ร้อนเด็กเป็นลม

โรงเรียนหอพระ 1.บทบาทหน้าที่ ได้ทำ�หลายๆฝ่ายในโรงเรียน ตั้งแต่เป็นครูเวรเฝ้าหน้าประตู ตอนเช้า สังเกตการณ์เข้าแถวเค้ารพธงชาติหน้าเสาธง สังเกต การสอน ตรวจงาน ช่วยห้องธุระการ ห้องแนะแนว ห้อง พยาบาล รวมไปถึงได้เข้าร่วมกิจกรรมของโรงเรียน เช่น เช่น กิจกรรมอบรมคุณธรรมจริธรรม กิจกรรมวันไหว้ครู กิจกรรมลูก เสือเนตรนารี เป็นต้น 2. ปะสบการณ์

โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 1.บทบาทหน้าที่ งานวิชาเอก ได้ช่วยครูพี่เลี้ยงควบคุมชั้นเรียน ดูเด็กรายคน ช่วยแนะนำ�เทคนิคที่เรารู้และช่วยครูพี่เลี้ยงตรวจงาน งานอื่น ในโรงเรียน ได้ปฏิบัติงานกิจกรรมโรงเรียนเช่น วันไหว้ครู , ฝ่ายวัสดุเช็คอุปกรณ์, ฝ่ายทะเบียนจัดเตรียมคู่มือนักเรียน, งานห้องสมุด ,ฝ่ายธุรการเรียงเอกสารของโรงเรียน

ทำ�ให้เห็นถึงปัญหาต่างๆในโรงเรียน โดยเฉพาะปัญหาที่พบ จากการไปสังเกตการสอนวิชาศิลปะ สามารถเตรียมรับมือกับ ปัญหาที่จะเกิดขึ้นในการไปฝึกสอนในปีการศึกษาหน้า อีกทั้ง ยังได้คำ�แนะนำ� และเทคนิคการสอนศิลปะอีกมากมายจากครู พี่เลี้ยง 3.ความประทับใจ ก็คือการที่ได้มีส่วนได้ให้คำ�แนะนำ�และให้ ความรู้แก่นักเรียนในวิชาศิลปะ นักเรียนส่วนใหญ่ให้ความ สนใจกับการลงมือปฏิบัติงานมาก

2.ประสบการณ์

โรงเรียน กาวิละ

คือได้ฝึกการวางตัวและปฏิบัติตนในนักเรียนเชื่อถือ ได้ฝึก ความคุ้นเคยกับนักเรียนเพื่อที่จะได้ไม่เขินอายเวลาไปสอน จริงๆ ได้รู้เทคนิคการควบคุมชั้นเรียนจากครูพี่เลี้ยงและพี่ ฝึกสอน

1.บทบาทหน้าที่

3.ความประทับใจ

วิชาเอก=ได้ช่วยควบคุมชั้นเรียน ให้คำ�แนะนำ�กับนักเรียน ได้ช่วยสอนตัวต่อตัว ได้ช่วยกรอกคะแนน มีส่วนร่วมใน การพาเด็กไปแข่งทักษะ ฝ่ายอื่น=ช่วยจัดบอร์ด ช่วยฝ่าย ประชาสัมพันธ์ ช่วยดูแลนักเรียนในห้องพยาบาล

โรงเรียนพุทธิโสภน 1.บทบาทหน้าที่ ช่วยสอน/กรอกคะแนน/แต่งข้อสอบ/คุมนักเรียน/เวรประจำ�

ครูพี่เลี้ยงใจดีและช่วยเหลือให้ความร่วมมือเวลาที่เราไปขอ เก็บชั่วโมงพรีแพร, เด็กๆ ที่เราได้เจอน่ารักเชื่อฟังเรา

โรงเรียนยุพราช 1.บทบาทหน้าที่ ได้ทำ�งานช่วยสอน ตรวจงานเด็ก ลงคะแนนนักเรียน และได้ทำ� งานอื่นๆ เช่นจัดสถานที่ จัดผ้า จัดดอกไม้ 2.ประสบการณ์


14

15

ได้ลงพื้นที่จริงได้เรียนรู้วิธีการสอนเทคนิคการสอนต่างๆของครู ในโรงเรียน การทำ�สื่อต่างๆที่น่าสนใจ การควบคุมชั้นเรียนของ ครู

โรงเรียนมงฟอร์ตวิทยาลัย 1บทบาทหน้าที่

โรงเรียนน้ำ�แพร่ 1.บทบาทหน้าที่ จากการได้ไปพรีแพร์ครั้งนี้ ทำ�ให้ได้ทราบว่า ในหลายๆโรงเรียน ถึงจะอยู่ไม่ได้ไกลตัวเมืองมากนัก แต่ความพร้อมด้านอุปกรณ์ การเรียน ห้องเรียน หรือครูผู้สอนยังไม่มีเพียงพอ บางโรงเรียน จึงต้องใช้ครูที่เป็นครูวิชาเอกอื่นมาสอนแทน หรือให้นักศึกษา พรีแพร์ไปสอนแทน และนอกเหนือจากสอนวิชาศิลปะทัศน ศิลป์ที่ได้รับมอบหมายแล้ว มีงานอื่นๆอีกที่ได้ไปช่วยดูและ ศึกษาคือ การสังเกตการสอนของครูประจำ�วิชา ได้ช่วยทำ�งาน ด้านเอกสารให้ฝ่ายวิชาการของโรงเรียน ได้ทำ�งานบริการตัก ข้าวกลางวันให้เด็กนักเรียนชั้นเล็กๆ ได้ยืนเวรเช้ากับครูเวร ได้ ช่วยโรงเรียนทำ�บอร์ดนิทรรศการต่างๆเพื่อให้คนภายนอกได้ เข้ามาศึกษางานเป็นต้น 2.ประสบการณ์

ได้ช่วยคุมชั้นเรียนและช่วยสอน ในชั้นเรียน และช่วยงานทั่วไป ได้เห็นว่าโรงเรียนที่ไม่มีครูศิลปะโดยตรง และอยู่ไม่ไกลจากตัว ของโรงเรียนหากโรงเรียนขอ เมืองมากนัก ยังมีอยู่ 2.ประสบการณ์ 3.ความประทับใจ ได้เห็นถึงรูปแบบและความแตกต่างของผู้เรียน ระบบโรงเรียน เอกชนความแตกต่างกับรัฐบาล และบทบาทในมุมมองการ เป็นครู 3.ความประทับใจ ความใส่ใจของครูพี่เลี้ยงที่ไม่ได้เห็นเราเป็นแค่นักศึกษา ฝึกสอนแต่ให้เกียรติเทียบเท่ากับครูในโรงเรียนคนหนึ่ง และ กำ�ลังใจจากนักเรียนที่ทำ�ให้รู้สึกว่าไม่ได้มาเพื่อแค่นับเวลา หลับบ้าน

3.การเข้าไปช่วยงานฝ่ายต่างๆของโรงเรียน

โรงเรียนโสตศึกษาอนุสารสุนทร*

3.ความประทับใจ

1.บทบาทหน้าที่

3.ความประทับใจ ประทับใจครูพี่เลี้ยงเพราะครูพี่เลี้ยงจะคอยสอนสิ่งต่างๆให้ จากประสบการณ์ที่ครูเคยเจอ และที่สำ�คัญการมาโรงเรียนนี้ ได้เรียนรู้ในสิ่งที่เราไม่เคยรู้มาก่อนในบางเรื่องที่สามารถนำ�ไป ใช้ได้จริงในการเป็นครูในอนาคต

บุคลากร และเด็กนักเรียน

จากการได้ไปพรีแพร์ครั้งนี้ที่โรงเรียนน้ำ�แพร่ หางดง ได้ทั้ง ความสนุก ตื่นเต้น และประทับใจไปพร้อมๆกัน เนื่องจาก พอ ไปถึงโรงเรียน ครูต้อนรับดีมากๆ เพราะทีแรกครูคิดว่าจะมา สอนแล้ว แต่พอบอกครูไปว่ามาสังเกตการณ์สอนเท่านั้น ครู ก็ได้จัดแจงหน้าที่ให้ คือการไปสอนนั่นเอง ตื่นเต้นเพราะเป็น ประสบการณ์ครั้งแรกที่ได้ไปโรงเรียน ไปสอนจริงๆ นักเรียนให้ ความร่วมมือดีมาก บางคนเท่านั้นที่ลืมเอาอุปกรณ์การเรียน มาบ้าง ไม่พร้อมบ้าง แต่ก็สามารถทำ�การเรียนการสอนต่อไป ได้ มีพี่ๆฝึกสอนให้คำ�แนะนำ� ทั้งๆที่พี่เป็นครูวิชาเอกอื่น แต่พอ เห็นเราไปแล้วไม่มีพี่ที่ฝึกสอนวิชาศิลปะทัศนศิลป์ พี่เขาก็ช่วย เต็มที่ แนะนำ�เรื่องการคุมชั้นเรียน การวางตัวกับเด็กนักเรียน ต่างๆ ทำ�ให้เกิดความประทับใจมากๆ ทั้งต่อครู พี่ฝึกสอน

มีความประทับใจต่อการสอนของครูพี่เลี้ยง คือมีความเข้าใจ ธรรมชาติของผู้เรียน ที่เรียนวิชาศิลปะ มีความยืดหยุ่นเวลา ได้ทำ�หน้าที่ทุกอย่างตามที่กำ�หนดการไว้ ตั้งแต่การรับนักเรียน ทำ�งาน มีความทุ่มเทต่อการสอนผู้เรียน พร้อมจะสนับสนุนผู้ หน้าโรงเรียน เข้าแถว สังเกตการณ์สอน ช่วยงานครูพี่เลี้ยง ทำ� เรียนที่สนใจศิลปะอย่างเต็มที่ เช่นเมื่อมีการแข่งขัน ครูจะคอย กิจกรรมโรงเรียน สอนจัดหาอุปกรณ์ให้ผู้เรียนฝึกฝนอย่างเต็มที่ หรือขับรถไปรับ ไปส่งผู้เรียนแข่งขัน และประทับใจต่อสถานศึกษาที่ให้ความ 2.ประสบการณ์ สำ�คัญต่อการเรียนรู้ของผู้เรียน ผลักดันให้ผู้เรียนได้แสดงความ ได้ฝึกภาษามือและได้เรียนรู้เกี่ยวกับลักษณะเด็กที่บกพร่อง สามารถทั้งระดับจังหวัดไปจนถึงระดับประเทศอยู่เสมอ ทางการได้ยิน 3.ความประทับใจ เด็กมีมนุษย์สัมพันธ์ดีมาก เด็กส่วนมากรู้จักกันเกือบทั้ง โรงเรียนครูพี่เลี้ยง พี่ๆฝึกสอนใจดี เด็กบกพร่องทางการได้ยิน เรียนรู้ได้เพราะเขาคือเด็กปกติทั่วไป อาชีวะ 1.บทบาทหน้าที่ สังเกตการสอนและช่วยงานในฝ่ายต่างๆ ในส่วนของการ สังเกตการสอน ได้ไปสังเกตเทคนิควิธีการจัดการเรียนการ สอนของครูพี่เลี้ยงและพี่ฝึกสอนในวิชาศิลปะ ในหลายวิชาเช่น ลายไทย วาดเส้นพื้นฐาน สีน้ำ� เป็นต้น ทำ�ให้ได้ความรู้จาก เทคนิคการสอน การสาธิตการทำ�งาน การใช้สื่อ การควบคุม ชั้นเรียน ได้ช่วยครูพี่เลี้ยงควบคุมชั้นเรียนและให้คำ�แนะนำ�ใน การทำ�งานแก่นักเรียน นอกจากนี้ยังได้ร่วมกิจกรรมต่างๆของ ทางสาขาเช่น การพานักเรียนไปแข่งขันวาดภาพ การออกไป เพ้นท์ผนังโรงเรียน ในส่วนของการช่วยงานฝ่ายอื่นๆได้ช่วย งานฝ่ายวิชาการได้ไปช่วยจัดเรียนเอกสาร ไปจัดหนังสือใน ห้องสมุด 2.ประสบการณ์ที่ 1.ประสบการณ์จากการสังเกตเทคนิคการสอน ของครูพี่เลี้ยง การสาธิตการทำ�งาน การใช้สื่อ การควบคุมชั้นเรียน 2.การเข้าร่วมกิจกรรมของสาขา เช่นการพานักเรียนไปแข่งขัน วาดภาพ การออกไปเพ้นท์ผนังโรงเรียน

โรงเรียนเชียงใหม่คริสเตียน 1.บทบาทหน้าที่ ได้ช่วยงานในด้านการช่วยสอนทั้งในสาขาวิชาของตนเองและ ในสาขาวิชาอื่นๆ นอกจากนั้นยังได้ทำ�งานในฝ่ายงานทะเบียน ในการจัดเตรียมเอกสารของนักเรียน 2.ประสบการณ์ที่ จากการที่ได้ไปพรีแพร์ทำ�ให้เราได้เรียนรู้ที่จะเตรียมความ พร้อมของตนเองและมีประสบการณ์ในการรับมือกับนักเรียน ในอนาคตที่เราจะต้องได้ฝึกประสบการวิชาชีพครูว่าเราจะต้อง ได้พบอะไรบ้างในภายภาคหน้า 3.ความประทับใจ การที่จะเป็นครูที่ดีได้นั้นเราจะต้องยึดมั่นถือมั่นในวิชาชีพและ จะต้องมุ่งมั่นและมั่นใจในตนเองที่จะช่วยเหลือ แนะนำ�และ สั่งสอนให้นักเรียนของเรานั้นเป็นคนดีของสังคมและประสบ ความเร็จในอนาคต


โรงเรียนวัดสวนดอก 1.บทบาทหน้าที่ การช่วยครูพี่เลี้ยงในการสอนวิชาเอก(ครูพี่เลี้ยงจบดนตรี) ซ้อม อุปกรณ์(คอมพิวเตอร์ เครื่องปริ้นท์) สื่อและอุปกรณ์การเรียน การสอน(เครื่องดนตรี) ควบคุมการซ้อมดนตรี ทำ�งานในฝ่าย อาคารสถานที่ 2.ประสบการณ์ การได้เห็นการเรียนการสอนในระดับประถม การปรับตัวเข้า กับนักเรียน ปรับตัวเข้ากับคณะครู การได้ทำ�งานช่างภายใน โรงเรียน ขับรถของโรงเรียน 3.ความประทับใจ ประทับใจในสภาพแวดล้อมในโรงเรียน ไม่อึดอัดในสภาพ สังคมในโรงเรียน ครูพี่เลี้ยงมีความเป็นกันเอง สามารถปรับตัว เข้ากับนักเรียนได้ง่าย

โรงเรียนนวมินทราชูทิศ พายัพ 1.บทบาทหน้าที่ ได้ช่วยครูพี่เลี้ยงควบคุมชั้นเรียน ช่วยสอนเด็กนักเรียนแต่ละ กลุ่มบางเนื้อหา ช่วยครูพี่เลี้ยงทำ�งานของกลุ่มสาระ คือวาด ภาพดรออิ้งสีไม้ ครูที่จะเกษียณราชการ ตัดดอกไม้จัดทำ�บอร์ด ของสาระวิชา ร่วมกันทำ�สื่อการสื่อสอน ช่วยงานเอกสารฝ่าย ต่างๆในโรงเรียน เช่น ฝ่ายบุคคล ฝ่ายวิชาการ ตรวจการบ้าน และกรอกคะแนนเด็ก 2.ประสบการณ์


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.