สารบัญ ค�ำน�ำ สารผู้บริหาร ประวัติวิทยุกระจายเสียงไทย วิสัยทัศน์ พันธกิจ ยุทธศาสตร์ ท�ำเนียบผู้บริหาร การบริหารงาน สถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทย สรุปการเบิกจ่ายงบประมาณที่ได้รับจัดสรร ผลการด�ำเนินงานตามแผนงานโครงการประชาสัมพันธ์ยุทธศาสตร์ชาติ อาชีพผู้ประกาศ ฝันให้ ไกล... ไปให้ถึง “สืบสานต�ำนานเพลง” วงดนตรีกรมประชาสัมพันธ์ เบื้องหลังการถ่ายทอดเสียง พระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพ งานถ่ายทอดเสียงภาคภาษาอังกฤษ รางวัลคนดีประเทศไทย รางวัลแห่งความภาคภูมิใจของคนหลังไมค์ รายการสารคดี “จากฟ้า...สู่ดิน” เมื่อนายกลุงตู่พบชาวบ้าน ในการประชุมครม.ภูมิภาค DRM (Digital Radio Mondiale) ก้าวที่เทคโนโลยี วิทยุกระจายเสียง วิทยุแห่งประเทศไทย ภาคภาษาต่างประเทศ เติมรัก แต้มฝัน ปันสุข: CSR ฝ่าสายฝนและลมหนาว กรมประชาสัมพันธ์ กล่อมขวัญคืนนาคร เทคโนโลยีสารสนเทศ กับสื่อวิทยุกระจายเสียง กิจกรรมเด่น สถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทย ลูกทุ่งสามัคคี สวดมนต์ข้ามปี ไหว้ครูดนตรี กล่อมขวัญคืนนาคร ทีมงานสถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทย 2
ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2 5 6 0
4 5 9 12 13 14 16 17 19 21 24 28 29 31 33 36 38 40 44 49 56 61 61 65 66 68 75
การปฏิบัติราชการ ประจ�ำปี 2560
ค�ำน�ำ วิทยุกระจายเสียงไทย เดินทางมาครบรอบ 88 ปี ในปี พ.ศ. 2561 ถือเป็น ระยะเวลาที่ ย าวนาน จึ ง พิ สู จ น์ ไ ด้ ถึ ง ความมุ ่ ง มั่ น ในการท� ำ งานของบุ ค ลากรใน ทุกภาคส่วน ที่ร่วมกันพัฒนาและขับเคลื่อนกิจการกระจายเสียงไทย ท่ามกลาง กระแสลมแรงของเทคโนโลยี และสื่อโซเชียลที่พัฒนาอย่างรวดเร็วเช่นเดียวกัน สถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทย ซึ่งเป็นหน่วยงานของรัฐ สังกัด กรมประชาสัมพันธ์ ก็ได้ทุ่มเทพัฒนาทั้งบุคลากรและเทคโนโลยี เพื่อให้ทันต่อ การเปลีย่ นแปลงของโลก แม้กระทัง่ หนังสือ “88 ปี วิทยุกระจายเสียงไทย” เล่มนี้ ก็ยังได้พัฒนาตนเองให้ก้าวทันความเปลี่ยนแปลง ด้วยการปรากฏตัวในรูปโฉมของ หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เนื้อหาของหนังสือยังคงอัดแน่นไปด้วยเรื่องราวที่น่าอ่าน มากด้วยความ รอบรู ้ แ ละวิ ช าการ โดยเฉพาะเรื่ อ งราวแห่ ง ความทรงจ� ำ ที่ ไ ด้ ผ ่ า นไปในรอบปี หลายเรื่องราวมิเพียงอยู่ในใจของคนท�ำงานวิทยุ แต่ทว่ายังอยู่ในใจของคนไทย เช่นเดียวกัน กิจกรรมอันหลากหลาย ที่ส่งมอบความสุขให้กับประชาชน ยังคง สร้างสีสันอันสดใสให้กับทุกคนที่มีส่วนเกี่ยวข้อง ซึ่งอ่านและชมได้จากหนังสือ อิเล็กทรอนิกส์เล่มนี้เช่นเดียวกัน คณะผู้จัดท�ำขอขอบพระคุณเจ้าของบทความทุกบทความในหนังสือเล่มนี ้ และผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง ทั้งการหาภาพประกอบ และการติดตามทวงถามต้นฉบับ ท�ำให้งานลุล่วงไปได้อย่างดี และเหนืออื่นใด ขอขอบพระคุณผู้บริหารทุกท่าน ที่เอื้ออ�ำนวยและสนับสนุนการจัดท�ำหนังสือเล่มนี้ ให้ส�ำเร็จออกมาได้เป็นอย่างดี... คณะผู้จัดท�ำ
4
ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2 5 6 0
สารอธิบดีกรมประชาสัมพันธ์ พลโท สรรเสริญ แก้วก�ำเนิด เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ที่เชื่อว่า “สื่อ” เป็นกลไกที่ส�ำคัญที่สุดใน การเป็นผู้ก�ำหนด การสื่อสาร และวิถีชีวิตของผู้คน ที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงต่างๆ ในสังคมได้ ซึ่งสะท้อนชัดเจนในสื่อวิทยุปัจจุบันที่จ�ำเป็นต้องเพิ่มช่องทางในการรับฟังให้ มากขึ้น จากเดิมที่สื่อวิทยุจะสื่อเสียงผ่านเครื่องรับวิทยุเพียงช่องทางเดียวนั้น ได้กลับ กลายเป็นยุคของการสื่อสารผ่านสื่อดิจิทัล ที่ผู้ฟังสามารถรับฟังวิทยุได้ทั้งระบบเดิมและ ระบบสื่อสังคมออนไลน์แบบใหม่ อาทิ วิทยุแอพลิเคชั่น วิทยุอินเทอร์เน็ต วิทยุบนหน้า เฟซบุ ๊ ค เพจ รวมถึ ง การออกอากาศทั้ ง ภาพและเสี ย งพร้ อ มกั น ผ่ า นเฟซบุ ๊ ค ไลฟ์ (Facebook Live) และเว็บไซต์ (Website) ของสถานี เป็นต้น แม้เทคโนโลยีต่างๆ จะพัฒนาขึ้น แต่ผู้บริโภคไม่ได้ฟังวิทยุน้อยลง เพียงแต่ เปลี่ยนรูปแบบการรับฟังสู่ทางช่องทางการเผยแพร่อื่นๆ มากขึ้น และให้ความสนใจกับ สือ่ ออนไลน์มากกว่าการทีจ่ ะมานัง่ ฟังวิทยุในรูปแบบเดิมๆ โดยสิน้ เชิง ดังนัน้ ผูป้ ระกอบการ ธุรกิจวิทยุควรจะต้องคิดหาวิธีการดึงดูดผู้ฟังที่แตกต่างไปจากผู้ประกอบการรายอื่นๆ เพือ่ ให้ธรุ กิจวิทยุยงั คงอยู ่ ด้วยการสร้างความแปลกใหม่ เพือ่ ให้ผฟู้ งั สนใจและมีสว่ นร่วม ไปกับรายการ จึงจะส่งผลให้ผู้ประกอบการเองนั้นประสบความส�ำเร็จและสามารถที่จะ สู้กับคู่แข่งได้ ตลอดระยะเวลา 88 ปีที่ผ่านมา สื่อวิทยุกระจายเสียงสามารถปรับตัวเข้ากับ การเปลี่ยนแปลง สู่ยุคดิจิทัลได้อย่างดีเยี่ยม ผู้ฟังสามารถฟังวิทยุได้จากทุกที่ ทุกเวลา และทุกมุมโลก ผ่านอินเทอร์เน็ต เกิดการรับสื่อมากขึ้น นอกจากนี้ ข้อดีในตัวของสื่อ วิทยุที่ยังคงคุณสมบัติของความเป็นสื่อที่รวดเร็วที่สุด สามารถออกอากาศสดตลอดเวลา จึงท�ำให้วันนี้สื่อวิทยุยังเป็นสื่อที่มีอิทธิพลและเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายได้เป็นอย่างดี ดังนั้น หากทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องมีเป้าหมายร่วมกัน คือประโยชน์ของประเทศชาติเป็นส�ำคัญแล้ว กิจการวิทยุกระจายเสียง จะเจริญก้าวหน้า เพิ่มพูนคุณประโยชน์ และสร้างสรรค์สิ่งที่ดี งามให้สังคมไทยได้ตลอดไป
พลโท
(สรรเสริญ แก้วก�ำเนิด) รักษาราชการในต�ำแหน่งอธิบดีกรมประชาสัมพันธ์
ANNUAL REPORT 2017
5
สารรองอธิบดีกรมประชาสัมพันธ์ ดร.จรูญ ไชยศร 8 8 ปี ของกิ จ การวิ ท ยุ ก ระจายเสี ย งไทย สื่ อ วิ ท ยุ ก ระจายเสี ย งได้ พั ฒ นามา อย่างต่อเนื่อง จากที่ผู้ฟังเคยได้รับข้อมูลข่าวสารผ่านเสียงเพียงอย่างเดียว แต่ใน ยุคปัจจุบันสามารถรับฟังได้หลายช่องทางมากขึ้น สามารถเผยแพร่ภาพและเสียงผ่าน โซเชียลมีเดียในรูปแบบต่างๆ นั บ เป็ น ความท้ า ทายของผู ้ ป ระกอบวิ ช าชี พ ด้ า นสื่ อ วิ ท ยุ ทั้ ง ภาครั ฐ และ ภาคเอกชนในการน�ำเสนอรูปแบบทั้งข่าวสาร และสาระบันเทิง เพื่อให้เข้าถึงกลุ่มผู้ฟัง เป้าหมายได้อย่างใกล้ชิดรวดเร็ว และทันต่อสถานการณ์ ถึงแม้ว่าปัจจุบันความทันสมัย ด้านเทคโนโลยีจะเปลี่ยนไป วิทยุยังมีบทบาทส�ำคัญต่อประชาชนที่อยู่ห่างไกล หรือ สถานที่นั้นจะไม่มีระบบไฟฟ้า ไม่มีสัญญาณจากเครือข่ายมือถือทุกระบบ แต่เสน่ห์ของ วิทยุก็ยังเป็นสื่อชนิดพิเศษอยู่นั่นเอง ในโอกาสครบรอบ 88 ปี ของกิ จ การวิ ท ยุ ก ระจายเสี ย งไทย ขอให้ ส ถานี วิทยุกระจายเสียงทุกภาคส่วน มุ่งมั่น ก้าวเดินต่อไปในทางสร้างสรรค์ ด้วยบทบาท ส�ำคัญของการเป็นสถาบันสื่อสารมวลชนต่อไป
(ดร.จรูญ ไชยศร) รองอธิบดีกรมประชาสัมพันธ์
6
ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2 5 6 0
สารรองอธิบดีกรมประชาสัมพันธ์ พิชญา เมืองเนาว์ การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีการสื่อสารในยุคปัจจุบัน มีบทบาทส�ำคัญในการ ก�ำหนดพฤติกรรมของผู้บริโภค และมีผลกระทบต่ออุตสาหกรรมสื่อสารมวลชน ซึ่ง นอกจากจะเผชิญกับสถานการณ์การแข่งขันที่รุนแรงจากผู้ประกอบการด้วยกันแล้ว ยังต้องปรับกลยุทธ์การด�ำเนินธุรกิจให้ตอบสนองต่อพฤติกรรมของผู้บริโภคที่มีการ เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว และมีทางเลือกในการรับสื่อที่หลากหลาย สถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทย กรมประชาสัมพันธ์ ในฐานะสื่อสาร มวลชนของรัฐ ก็ได้มีการปรับตัวให้เท่าทันกับเทคโนโลยีทางการสื่อสารที่เกิดขึ้นใหม่ๆ ด้วยการน�ำสื่อดิจิทัลมาประยุกต์ใช้ในการด�ำเนินงาน เพื่อพัฒนาช่องทางการฟังให้ ครอบคลุ ม ขึ้ น และสามารถเข้ า ถึ ง ผู ้ ฟ ั ง ในทุ ก รู ป แบบ เช่ น การออกอากาศผ่ า น แอพลิเคชั่น อินเทอร์เน็ต เฟซบุ๊คเพจ เฟซบุ๊ค ไลฟ์ และเว็บไซต์ของสถานี อีกทั้งผู้ฟัง ยังสามารถเลือกรับฟังรายการย้อนหลัง และสามารถแสดงความคิดเห็นตอบกลับไปยัง สถานีได้ทั้งทางเฟซบุ๊ค และทางเว็บไซต์ได้อีกด้วย และที่ส�ำคัญ เรายังคงให้ความส�ำคัญ กับเนื้อหารายการ (Contents) ด้านข่าว สาระความรู้ และสาระบันเทิง ที่สร้างสรรค์ อย่างครบวงจร มุ่งเน้นการน�ำเสนอข้อมูลข่าวสารอย่างเป็นกลาง น่าเชื่อถือ และ มีคุณภาพ ด้วยความรับผิดชอบต่อสังคม และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย สมกับการเป็นสถานี วิทยุของรัฐที่ได้รับความเชื่อถือด้านข่าวสาร เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน และ สร้างภาพลักษณ์ที่ดีของประเทศ ท้ายที่สุดนี้ ขอขอบคุณหน่วยงานต่างๆ ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน ประชาชน ทั้ง ในประเทศและต่างประเทศ ที่ให้การสนับสนุนและให้ความร่วมมือในการด�ำเนินงาน ร่วมกับสถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทยตลอดมา และขอขอบคุณผู้บริหาร ตลอดจนเจ้าหน้าที่สถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทยทุกท่าน ที่ร่วมมือร่วมใจ ปฏิบัติหน้าที่ รวมถึงทุ่มเทในการท�ำงานอย่างเต็มก�ำลังความสามารถ เพื่อขับเคลื่อน องค์กรอย่างมีคุณภาพ สามารถด�ำเนินงานท่ามกลางการแข่งขันอย่างรุนแรงในเชิงธุรกิจ ได้อย่างแข็งแรง มั่นคง และก้าวสู่องค์การกระจายเสียงของรัฐที่ยั่งยืนในอนาคต
(นางพิชญา เมืองเนาว์) รองอธิบดีกรมประชาสัมพันธ์ อดีตผู้อ�ำนวยการสถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทย ANNUAL REPORT 2017
7
สารรองอธิบดีกรมประชาสัมพันธ์ ทัศนีย์ ผลชานิโก กิจการวิทยุกระจายเสียงไทย เกิดขึน้ พร้อมกับการถือก�ำเนิดสถานีวทิ ยุกระจายเสียง แห่งประเทศไทย โอกาสเข้าสู่ปีที่ 88 ในปีพุทธศักราช 2561 นี้ นับเป็นหน่วยงาน ราชการที่ปฏิบัติภารกิจใกล้ชิดประชาชน ทั้งการส่งกระจายเสียงที่ครอบคลุมทั่วถึง และกิ จ กรรมเชิ ง รุ ก ในพื้ น ที่ เช่ น การถ่ า ยทอดเสี ย งนอกสถานที่ การจั ด กิ จ กรรม พบผู้ฟังในพื้นที่ต่างๆ เป็นความคุ้นเคย จนประชาชนเชื่อถือและจดจ�ำมายาวนาน แม้ปัจจุบัน จะมีสื่อในรูปแบบต่างๆ เป็นทางเลือกให้กับประชาชนอย่างมากมาย แต่ก ็ ไม่ ส ามารถแทนสื่ อ วิ ท ยุ ก ระจายเสี ย งได้ ซึ่ ง ปั จ จุ บั น วิ ท ยุ ก ระจายเสี ย ง ก็ ไ ด้ พั ฒ นา เทคโนโลยีให้ประชาชนเข้าถึงได้ในหลายช่องทาง ผ่านโซเชียลมีเดียที่ประชาชนสามารถ เข้าถึงได้ มิเพียงพัฒนาในเทคโนโลยีเท่านั้น ในขณะเดียวกันก็ต้องท�ำงานเชิงรุกให้ทันกับ เทคโนโลยีที่ทันสมัยมากขึ้น เพื่อเสริมงานด้านการประชาสัมพันธ์ในช่องทางการ สื่อสารที่หลากหลาย เป็นศูนย์รวมความรู้ ข่าวสาร ที่ถูกต้องเที่ยงตรง พร้อมน้อมน�ำ หลักการแก้ปัญหา สร้างส�ำนึกของคนในชาติ สืบสานพระราชปณิธาน และน้อมเกล้า น้อมกระหม่อมร�ำลึกในพระมหากรุณาธิคุณของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา ภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร พร้อมร่วมสร้างสังคมจิตอาสา ท�ำความดีด้วยหัวใจ ตามพระราชประสงค์ของสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวให้ครอบคลุมทั่วประเทศ 88 ปีของกิจการวิทยุกระจายเสียงไทย ได้เดินทางมาอย่างยาวนาน มั่นคง และสร้างความเชื่อมั่นให้กับประชาชน จึงเป็นเกียรติและศักดิ์ศรีของบุคลากรและ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ขอให้วาระโอกาสนี้ เป็นสิ่งยืนยันอันหนักแน่นว่า กิจการวิทยุ กระจายเสียงไทย และสถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทย จะยังคงท�ำหน้าที่อย่าง เต็มศักยภาพ สร้างความเชื่อถือ เชื่อมั่น ให้กับประชาชนคนไทยตลอดไป
(นางทัศนีย์ ผลชานิโก) รองอธิบดีกรมประชาสัมพันธ์
8
ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2 5 6 0
ป ร ะ วั ติ
วิทยุกระจายเสียงไทย กิจการวิทยุกระจายเสียงไทย
เริม่ เปิดท�ำการส่งกระจายเสียงในวันที่ 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2473 ผู้ริเริ่มกิจการวิทยุกระจายเสียงในประเทศไทย นายพลเอก พระเจ้ า บรมวงศ์ เ ธอ พระองค์ เ จ้ า บุ ร ฉั ต รไชยากร กรมพระก� ำ แพงเพ็ ช รอั ค รโยธิ น ขณะที่ ทรงด�ำรงต�ำแหน่งเสนาบดีกระทรวงพาณิชย์และคมนาคม ในรั ช กาลพระบาทสมเด็ จ พระปกเกล้ า เจ้ า อยู ่ หั ว เป็ น ผู้ริเริ่มกิจการวิทยุกระจายเสียงขึ้นในประเทศไทย พระองค์เป็นนายทหารช่างที่ทรงฝักใฝ่พระหฤทัยใน งานด้ า นวิ ท ยุ อั น เป็ น วิ วั ฒ นาการใหม่ ข องโลกในยุ ค นั้ น อย่างจริงจัง ทรงตั้งเครื่องส่งวิทยุทดลองขนาดเล็กขึ้นใน วังบ้านดอกไม้ เพื่อค้นคว้าเป็นการส่วนพระองค์ เมื่อเสด็จ กลับจากการศึกษาด้านคมนาคมในต่างประเทศ ก็ทรงด�ำริ ตั้งสถานีวิทยุกระจายเสียงขึ้นเมื่อ พ.ศ.2471 โดยสั่งเครื่อง ส่ ง กระจายเสี ย งคลื่ น สั้ น เข้ า มาทดลอง ให้ อ ยู ่ ใ นความ ควบคุ ม ของช่ า งวิ ท ยุ กรมไปรษณี ย ์ โ ทรเลข ตั้ ง สถานี ณ ตึกที่ท�ำการไปรษณีย์ ปากคลองโอ่งอ่าง ต�ำบลวัดราช- บูรณะ (วัดเลียบ) กรุงเทพฯ เป็นครั้งแรก ใช้ชื่อสถานีว่า “สถานี 4 พี เ จ” ต่ อ มาได้ มี ก ารประกอบเครื่ อ งส่ ง คลื่ น ขนาดกลาง 1 กิ โ ลวั ต ต์ ท� ำ การทดลองส่ ง ที่ ต� ำ บล ศาลาแดง ใช้ ชื่ อ ว่ า “สถานี 11 พี เ จ” หรื อ ที่ เ รี ย กว่ า “สถานีวิทยุศาลาแดง” (พี เ จ. ย่ อ มาจากค� ำ ว่ า บุ ร ฉั ต รไชยากร อั น เป็ น พระนามเดิ ม ของนายพลเอก พระเจ้ า บรมวงศ์ เ ธอ พระองค์ เ จ้ า บุ ร ฉั ต รไชยากร กรมพระก� ำ แพงเพ็ ช รอั ค ร- โยธิน)
ANNUAL REPORT 2017
9
25 กุมภาพันธ์ 2473 วันนี้ ในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 7 เป็นวันพระราชพิธีฉัตรมงคลที่เวียนมาบรรจบ อีกครั้ง ถือเป็นปฐมฤกษ์ที่นายพลเอก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบุรฉัตรไชยากร กรมพระก�ำแพงเพ็ชรอัครโยธิน ได้ทรงเปิดการส่งวิทยุกระจายเสียงเป็นรายการประจ�ำ ณ สถานีวิทยุกระจายเสียงกรุงเทพฯ ที่พญาไท (ปัจจุบันคือ โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า) ใช้สัญญาณเรียกขานว่า HSP.1 ส�ำหรับขนาดคลื่นยาว 350 เมตร และใช้สัญญาณ HSP.2 ส�ำหรับคลื่นสั้น 41 เมตร พิธีเปิดสถานีกระท�ำโดยอัญเชิญกระแสพระราชด�ำรัส ของพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวซึ่งพระราชทาน แก่พระบรมวงศานุวงศ์และข้าทูลละอองธุลีพระบาท จาก พระทีน่ งั่ อัมรินทรวินจิ ฉัยในพระบรมมหาราชวัง มีไมโครโฟน ตั้งรับกระแสพระราชด�ำรัส ถ่ายทอดไปตามสายเข้าเครื่อง ส่งกระจายเสียงที่พญาไท แล้วกระจายเสียงสู่พสกนิกรได้รับ ฟังเป็นทีป่ ตี ยิ นิ ดีทวั่ กัน นับเป็นครัง้ แรกทีม่ กี ารถ่ายทอดเสียง ทางวิทยุในประเทศไทย กระแสพระราชด�ำรัสเปิดการส่งวิทยุกระจายเสียง ครั้งแรก มีข้อความดังนี้ “........การวิ ท ยุ ก ระจายเสี ย งที่ ไ ด้ เ ริ่ ม จั ด ขึ้ น และ ท� ำ การทดลองตลอดมานั้ น ก็ ด ้ ว ยความมุ ่ ง หมายว่ า จะ ส่งเสริมการศึกษา การค้าขาย และการบันเทิงแก่พ่อค้า ประชาชน เพื่อควบคุมการนี้เราให้แก้ไขพระราชบัญญัติดัง ที่ได้ประกาศใช้เมื่อเดือนกันยายนแล้ว และบัดนี้ได้สั่งเครื่อง กระจายเสี ย งอย่ า งดี ม าตั้ ง ที่ ส ถานี วิ ท ยุ โ ทรเลข พญาไท เสร็จแล้ว เราจึงขอถือโอกาสสั่งให้เปิดใช้เป็นปฐมฤกษ์ตั้งแต่ บัดนี้ไป.......” ต่อมา รัฐบาลโอนงานวิทยุฯ มาให้กรมประชาสัมพันธ์ จึงเปลี่ยนชื่อเป็นสถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทย จนทุกวันนี้ และหน่วยงานต่างๆ ก็ขออนุญาตจัดตั้งสถานี
10
ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2 5 6 0
สถานี วิ ท ยุ ก ระจายเสี ย งแห่ ง ประเทศไทย กรมประชาสัมพันธ์ เป็นสถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งชาติ เป็นสถานีหลัก ของประเทศ มีหน้าที่รับผิดชอบในการเผยแพร่ข่าวสารของ รัฐบาล และหน่วยราชการต่างๆ สู่ประชาชน เพื่อให้เกิด ความเข้าใจและรับรู้ในงานตามนโยบายของรัฐบาล ตลอด จนให้ความรู้ ความบันเทิง และสร้างความเข้าใจในหลักการ ปกครองระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรง เป็นประมุข รวมทั้งการเสริมสร้างวัฒนธรรม ความสามัคคี ความภูมิใจ ความรักชาติ ของประชาชนชาวไทยทุกกลุ่ม ทั้ง ในและนอกประเทศ กับสร้างความเข้าใจระหว่างชาวต่าง วิทยุกระจายเสียงในสังกัด ท�ำการส่งกระจายเสียงในภารกิจ ประเทศต่อประเทศไทย ปัจจุบันมีสถานีวิทยุกระจายเสียง หน่วยงานนั้นๆ มากมาย ปัจจุบันมีส�ำนักงานคณะกรรมการ แห่ ง ประเทศไทย ส่ ง กระจายเสี ย งครอบคลุ ม ทุ ก พื้ น ที ่ กิจการวิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ และโทรคมนาคม ทั่วประเทศจ�ำนวน 147 คลื่นความถี่ แห่ ง ชาติ (กสทช.) ก� ำ กั บ ดู แ ลการออกใบอนุ ญ าตและ ระเบียบการใช้ประโยชน์
ANNUAL REPORT 2017
11
สถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทย วิสัยทัศน์ พันธกิจ ยุทธศาสตร์
วิสยั ทัศน์
องค์กรหลักที่เป็นเลิศด้านการกระจายเสียงแบบมืออาชีพ เพื่อเผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร นำ�สังคมไทยสู่ประชาคมอาเซียน
พันธกิจ • กระจายเสียงเพื่อสนับสนุนการประชาสัมพันธ์ ของรัฐด้านนโยบาย ข้อมูลข่าวสาร และสะท้อนปัญหาของประชาชนสู่รัฐบาล ตลอดจนส่งเสริมความเข้าใจอันดีระหว่าง รัฐกับประชาชน • สนับสนุน ส่งเสริมการศึกษาและเผยแพร่ ศิลปวัฒนธรรม ทั้งภายในและภายนอกประเทศ เพื่อประโยชน์ด้านความมั่นคงและส่งเสริม ความเข้าใจเกี่ยวกับการปกครองในระบอบ ประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข • ปฏิบัติงานร่วมกันหรือสนับสนุนการปฏิบัติงาน ของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง หรือได้รับมอบหมาย
ยุทธศาสตร์ • ขับเคลื่อนการประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารนโยบาย และดำ�เนินงานของรัฐอย่างมีเอกภาพ และมีประสิทธิภาพ • พัฒนาประสิทธิภาพและคุณภาพด้านการกระจายเสียง • เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารและพัฒนาบุคลากร ให้มีความรู้ความสามารถเป็นที่ยอมรับอย่างมืออาชีพ และมีความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน 12
ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2 5 6 0
ทำเนียบผู บร�หาร
พ�ชญา เมืองเนาว
ผูอำนวยการสถานีวิทยุกระจายเสียงแหงประเทศไทย
สุกานดา โตษะสุข
สุภา เลียวกายะสุวรรณ
รักษาการผูอำนวยการสวนกระจายเสียงตางประเทศ
ผูอำนวยการสวนสื่อขาวและผลิตรายการขาว
จ�ระวรรณ ตันกุรานันท
ผูอำนวยการสวนกระจายเสียงในประเทศ
ณัฐกร ผโลประการ
สหัส ใจมั่น
ผูอำนวยการสถานีเครื่องสงวิทยุกระจายเสียง 1,000 กิโลวัตต
ผูอำนวยการสวนเทคนิค
ไชยวัฒน รัตนประสิทธ�์
ผูอำนวยการสถานีวิทยุกระจายเสียงแหงประเทศไทยเพื่อการศึกษา
สุรศักดิ์ จำลองกุล
สัญญลักษณ เจร�ญเป ยม
รักษาการผูอำนวยการสวนแผนงาน และพัฒนางานประชาสัมพันธ
ผูอำนวยการสวนผลิตรายการ
พ�ศมัย เลิศอิทธ�บาท หัวหนาฝายบริหารทั่วไป
ชัยพร ทับพวาธ�นท
รักษาการผูอำนวยการสวนบริหารการดนตรี
การบริหารงาน สถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทย สถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทย ส่วนกระจายเสียง ในประเทศ
ส่วนผลิตรายการ
ส่วนกระจายเสียง ต่างประเทศ
ส่วนสื่อข่าวและ ผลิตรายการข่าว
สถานีวิทยุกระจายเสียง แห่งประเทศไทย เพื่อการศึกษา ส่วนเทคนิค ส่วนแผนงานและพัฒนา งานประชาสัมพันธ์
ส่วนบริหารการดนตรี สถานีเครื่องส่งวิทยุกระจายเสียง 1,000 กิโลวัตต์ ฝ่ายบริหารทั่วไป
สถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทย กรุงเทพฯ F M 92.5 MHz / A M 891 KHz
สวท.เครือข่ายแห่งชาติ
Radio Thailand English Language Service
F M 88 MHz
A M 819 KHz
สวท.คลื่นส่งเสริมประชาธิปไตย และการถ่ายทอดเสียง
สวท.คลื่นศิลปวัฒนธรรม
F M 93.5 MHz
A M 837 KHz
สวท.คลื่นความรอบรู้ เพื่อคุณภาพชีวิต
สวท.คลื่นความรู้อาเซียน
F M 95.5 MHz
A M 918 KHz
สวท.คลื่นภาษาต่างประเทศ
สวท.คลื่นข่าวคุณภาพ
F M 97 MHz
A M 1467 KHz
สวท.คลื่นการศึกษา ทุกกลุ่มวัย
สวท.คลื่นเยาวชน และครอบครัว
F M 105 MHz
Short Wave 14 ความถี่
Radio Thailand World Service
สรุปการเบิกจ่ายงบประมาณทีไ่ ด้รบั จัดสรร จากกรมประชาสัมพันธ์ ประจ�ำปีงบประมาณ 2560
16
ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2 5 6 0
ผลการด�ำเนินงานตามแผนงาน โครงการประชาสัมพันธ์ยทุ ธศาสตร์ชาติ ประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 สถานีวทิ ยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทย สถานี วิ ท ยุ ก ระจายเสี ย งแห่ ง ประเทศไทยในฐานะ สื่ อ ของภาครั ฐ ปฏิ บั ติ ภ ารกิ จ ภายใต้ แ ผนยุ ท ธศาสตร์ กรมประชาสัมพันธ์ ประจ�ำปี พ.ศ. 2558 - 2562 และวิสยั ทัศน์ กรมประชาสัมพันธ์ “เป็นองค์การที่ได้รับความเชื่อถือด้าน ข่าวสาร เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน และสร้าง ภาพลักษณ์ที่ดีของประเทศ” ประกอบด้วย ยุทธศาสตร์ ดังนี้ 1 . ยุ ท ธศาสตร์ พั ฒ นานโยบายและแผนการ ประชาสัมพันธ์แห่งชาติให้สามารถน�ำสู่การปฏิบัติได้อย่าง มีเอกภาพ 2. ยุ ท ธศาสตร์ พั ฒ นาการประชาสั ม พั น ธ์ ข ้ อ มู ล ข่าวสารสนับสนุนการด�ำเนินการของภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคประชาชน เพื่อความสุขของประชาชน และภาพลักษณ์ ที่ดีของประเทศ 3. ยุทธศาสตร์ พัฒนาบทบาทการให้บริการด้านการ ประชาสัมพันธ์และสื่อสารมวลชนให้มีคุณภาพตอบสนอง ความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย 4. ยุ ท ธศาสตร์ พั ฒ นาระบบการบริ ห ารจั ด การ องค์การให้เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) น อกจากนี้ ยั ง มี บ ทบาทหน้ า ที่ ส� ำ คั ญ สนั บ สนุ น การ ประชาสัมพันธ์ยุทธศาสตร์ชาติ การขับเคลื่อนนโยบายและ แผนการประชาสัมพันธ์แห่งชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 -
2564) ไปสู่การปฏิบัติ และประชาสัมพันธ์นโยบายส�ำคัญ ของรัฐบาล ทั้งนี้ในรอบปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 ที่ผ่านมา ได้ผลิตและเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ ชาติและนโยบายส�ำคัญของรัฐบาลสู่ประชาชนอย่างทั่วถึง เพื่อสร้างการรับรู้ และเข้าใจให้กับประชาชน ภายใต้กรอบ ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี 6 ด้าน ประกอบด้วย 1. ด้านความมั่นคง 2. ด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน 3. ด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคน 4. ด้านการสร้างโอกาสความเสมอภาคและเท่าเทียม กันทางสังคม 5. ด้านการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็น มิตรกับสิ่งแวดล้อม 6. ด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหาร จัดการภาครัฐ ทั้งนี้ โครงการประชาสัมพันธ์ตามยุทธศาสตร์ชาติ ในปี ง บประมาณ พ.ศ. 2560 สถานี วิ ท ยุ ก ระจายเสี ย ง แห่งประเทศไทย ได้รับมอบหมายจากกรมประชาสัมพันธ์ จ� ำ นวน 19 โครงการ ได้ แ ก่ งบด� ำ เนิ น งานจ� ำ นวน 11 โครงการ งบรายจ่ายอื่น จ�ำนวน 6 โครงการ และงบเบิก แทนกันจ�ำนวน 2 โครงการ ซึ่งความส�ำเร็จจากการผลิต และเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารสู่ประชาชนอย่างทั่วถึง เป็นไป ตามแผนประชาสัมพันธ์ สรุปรายละเอียด ดังนี้
ANNUAL REPORT 2017
17
ลำ�ดับ งบดำ�เนินงาน
โครงการ/กิจกรรม ครั้ง
ผลผลิต ตอน สปอต
งบประมาณ (บาท)
1 2
โครงการประชาสัมพันธ์เทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์ โครงการประชาสัมพันธ์ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
10
140 64
2 3
306,000.207,000.-
6
โครงการประชาสัมพันธ์การปฏิรูปประเทศไทย
-
29
3
131,000.-
4 5 6 7
โครงการประชาสัมพันธ์เสริมสร้างความปรองดองสมานฉันท์ โครงการประชาสัมพันธ์ส่งเสริมการปกครองระบอบประชาธิปไตย โครงการประชาสัมพันธ์ส่งเสริมความเชื่อมั่นในนโยบายภาครัฐ โครงการประชาสัมพันธ์ค่านิยมหลักของคนไทย 12 ประการ (เรื่องวินัยจราจร สะท้อนวินัยชาติ) โครงการประชาสัมพันธ์การบริหารจัดการไม้มีค่า เพื่อประโยชน์ ของแผ่นดิน โครงการประชาสัมพันธ์รณรงค์ป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด
12 -
7 17 67
3 2 -
30,000.75,000.165,000.ไม่มีงบประมาณ
-
4
1
250
-
-
ไม่มีงบประมาณ
182
30 10
2 6
125,000.10,000.-
-
50 13 60
3 9 4
-
75
9
325,000.97,000.358,000.777,750.-
17 -
368 20
5 3
1,170,800.100,000.-
242 96
5
2
963,000.92,000.-
8 9 10 11
โครงการประชาสัมพันธ์ ประชาคมอาเซียน โครงการประชาสัมพันธ์สัตว์ปลอดโรค คนปลอดภัย จากโรคพิษสุนัขบ้า
ไม่มีงบประมาณ
งบรายจ่ายอื่น 1 2 6 4 5 6
โครงการประชาสัมพันธ์การสร้างสันติสุขจังหวัดชายแดนภาคใต้ โครงการประชาสัมพันธ์ แรงงานต่างด้าว โครงการประชาสัมพันธ์การบริหารจัดการขยะและสิ่งแวดล้อม โครงการประชาสัมพันธ์การป้องกัน ปราบปรามการทุจริต และประพฤติมิชอบ โครงการประชาสัมพันธ์ด้านต่างประเทศ โครงการประชาสัมพันธ์ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
งบเบิกแทนกัน 1 2
โครงการป้องกันแก้ไขปัญหายาเสพติด ผ่านสื่อ กปส. โครงการประชาสัมพันธ์การจัดการข้าราชการพลเรือน
ในรอบปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 สถานีวทิ ยุกระจายเสียง แห่งประเทศไทย สามารถผลิตสื่อตอบสนองยุทธศาสตร์ ของประเทศ นโยบายรัฐบาล วิสัยทัศน์และยุทธศาสตร์ของ กรมประชาสัมพันธ์ ตามแผนงาน โครงการ มีความชัดเจนใน 18
ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2 5 6 0
การด�ำเนินงาน เกิดความคุ้มค่า สามารถวัดผลการปฏิบัติได้ และผลลัพธ์สุดท้ายคือประชาชนได้รับประโยชน์จากการ ติดตามข้อมูลข่าวสาร เกิดการรับรู้และเข้าใจ ในยุทธศาสตร์ ชาติและนโยบายส�ำคัญของรัฐบาล
อาชีพผูป้ ระกาศ
ฝันให้ ไกล...ไปให้ถงึ ใครอยากเป็นผู้ประกาศ ยกมือขึ้น !!!!! ต้ อ งยอมรั บ ว่ า อาชี พ ผู ้ ป ระกาศ เป็ น อาชี พ หนึ่ ง ที่ หลายคนให้ความสนใจ และใฝ่ฝนั ทีจ่ ะก้าวเข้าสูเ่ ส้นทางสายนี ้ เพราะเป็นงานที่ท้าทาย และท�ำให้มีชื่อเสียงเป็นที่รู้จัก ผูป้ ระกาศ หมายถึง บุคคลทีท่ ำ� หน้าทีป่ ระกาศข่าวสาร ต่างๆ สู่ประชาชนผู้รับสาร ผ่านสื่อมวลชนประเภทต่างๆ คื อ วิ ท ยุ ก ระจายเสี ย ง วิ ท ยุ โ ทรทั ศ น์ และอิ น เทอร์ เ น็ ต ในปัจจุบันอาจหมายถึงผู้ด�ำเนินรายการประเภทข่าวและ สถานการณ์ปัจจุบันด้วย
ผู้ประกาศ….ส�ำคัญอย่างไร ผู้ประกาศส�ำคัญอย่างยิ่งต่อความส�ำเร็จของรายการ และสถานี เพราะเป็นผู้ท�ำหน้าที่ถ่ายทอดสาร ไปสู่ผู้ฟังผู้ชม โดยมีทีมงานผลิตข่าวหรือรายการสนับสนุนอยู่เบื้องหลัง ต้ อ งท� ำ งานสอดประสานกั น เพื่ อ ให้ เ กิ ด ผลสั ม ฤทธิ์ ผู้ประกาศที่ดีต้องสร้างสายสัมพันธ์ให้เกิดขึ้นกับผู้ฟังผู้ชม และสามารถตรึงผู้ฟังและผู้ชมไว้ ให้ติดตามจนจบรายการ รวมทั้งดึงดูดให้กลับมาติดตามในครั้งต่อไป คุณสมบัติเฉพาะตัว...ผู้ประกาศ “พรสวรรค์ทางด้านเสียง” ผู้ประกาศควรมีเสียงที ่ มีคุณภาพ มีน�้ำเสียงที่แจ่มใส ชัดเจน ชวนฟัง ไม่สั่นเครือ ANNUAL REPORT 2017
19
หรือแหบแห้ง มีความสามารถในการอ่านออกเสียงภาษาไทย ได้ถูกต้องตามอักขรวิธี และมีความสามารถในการถ่ายทอด สารได้อย่างมีประสิทธิภาพ หากขาดคุณสมบัติข้อนี้ ยาก เหลือเกิน ที่จะท�ำหน้าที่ผู้ประกาศที่ดีได้ “พรแสวงในการฝึกฝนและใฝ่หาความรู้” ผู้ประกาศ ที่ดีควรเป็นคนที่มีความสนใจใฝ่รู้ มีความกระตือรือร้น สนใจสถานการณ์ข่าวรอบตัว เพื่อเป็นพื้นฐานความรู้ ในการเชื่อมโยงหรือถ่ายทอดสู่ผู้ฟังผู้ชม ฝึกนิสัยให้เป็นคน รักการอ่าน อ่านหนังสือทุกประเภท ค�ำใดไม่แน่ใจว่าอ่าน เช่นไร ต้องท�ำการค้นคว้าหาค�ำตอบ หมั่นฝึกฝนและจดจ�ำ “องค์ประกอบทัว่ ไป” ผูป้ ระกาศควรเป็นคนอารมณ์ดี ซึ่งจะส่งผลให้เสียงฟังดูรื่นหู มีความสามารถในการตัดสินใจ มีความรับผิดชอบ สามารถควบคุมอารมณ์ความรู้สึกได้ดี และสามารถแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าได้ เพราะในขณะออกอากาศ อาจเกิดเหตุการณ์ท่ีไม่ คาดคิดขึ้นได้ นอกจากนั้น ต้องเป็นคนตรงต่อเวลา ด้วยงาน ผู้ประกาศนั้นเป็นงานที่ “มีนัด” กับประชาชน ซึ่งมิอาจ ผัดผ่อนได้ตามใจชอบ และประการส�ำคัญคือ ต้องมีความ เชื่ อ มั่ น ในตนเอง เพื่ อ เป็ น พื้ น ฐานในการสื่ อ สารอย่ า ง มั่นใจ ท�ำให้ผู้ฟังผู้ชมเกิดความศรัทธา และเชื่อถือ ในสารที่ สื่อออกไป ขอหยิ บ ยกบทกลอนซึ่ ง ประพั น ธ์ โ ดย รศ.นภาลั ย สุวรรณธาดา ผู้ที่ได้รับการยกย่องว่าเป็นครูกวีศรีสุนทร และ มีผลงานดีเด่นด้านการอนุรักษ์สืบสานรากเหง้าภาษาและ วรรณกรรมไทย ฝากไว้ ส� ำ หรั บ ผู ้ ที่ ส นใจก้ า วเข้ า สู ่ อ าชี พ “ผู้ประกาศ”
งานของ ผู้ประกาศ อาจดูง่าย ดูสบาย ส�ำรวย และสวยหรู แต่ความจริง เป็นงาน มือชั้นครู ใช้ความรู้ ความคิด และจิตใจ ต้องศึกษา หาความรู้ อยู่เป็นนิจ ต้องครุ่นคิด สร้างสรรค์ ผลงานใหม่ ต้องแม่นหลัก อักขรา ภาษาไทย ต้องแจ่มใส ทีท่า ต่อหน้าคน ต้องกล้ารับ ค�ำวิจารณ์ เมื่องานพลาด มีมรรยาท จรรยาบรรณ มั่นเหตุผล เกิดมาเพื่อ บริการ งานมวลชน ไม่อดทน แล้วอย่าก้าว เข้ามาเลย ทั้งหมดทั้งมวลนี้ คือคุณสมบัติของผู้ประกาศที่พึงมี ลองถามใจตัวเองอีกสักครั้ง หากมีความฝัน และมุ่งมั่นที่จะ ประกอบอาชีพนี้ จงอย่ารีรอ บุกบั่นฟันฝ่าและก้าวสู่เส้นทาง การเป็นผู้ประกาศ งานที่ท้าทาย และเต็มเปี่ยมไปด้วยเสน่ห์ ก�ำลังรออยู ่ ฝันให้ไกล...ไปให้ถึง
20
ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2 5 6 0
สื
“ บสานต�ำนานเพลง”
วงดนตรีกรมประชาสัมพันธ์
“ ครู เ อื้ อ สุ น ทรสนาน อดี ต หั ว หน้ า วงดนตรี กรมประชาสัมพันธ์” “ ค รู เ อื้ อ ” ด� ำ ร ง ต� ำ แ ห น ่ ง หั ว ห น ้ า ว ง ด น ต รี กรมประชาสัมพันธ์ตั้งแต่วันที่ 12 พฤศจิกายน 2482 โดย หลวงสุ ขุ ม นั ย ประดิ ษ ฐ์ ได้ ชั ก ชวนสมาชิ ก นั ก ดนตรี จ าก บริษัทภาพยนตร์ไทยฟิล์ม จ�ำกัด ซึ่งได้ปิดกิจการลง รวม ทั้งสิ้น 12 คนมาด�ำรงต�ำแหน่งเป็นนักดนตรีชุดแรก มีหน้าที่ บรรเลงเพลงเพื่อส่งกระจายเสียงทางสถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทย และสร้างความบันเทิงผ่านเสียงเพลง ตามค�ำขอจากหน่วยงานราชการและประชาชนทั่วไป รวม ถึ ง ถ่ า ยทอดผลงานเพลงที่ ผ ลิ ต ขึ้ น เพื่ อ ตอบสนองความ ต้องการของผู้ฟังอย่างหลากหลาย ค รู เ อื้ อ เกษี ย ณอายุ ร าชการเมื่ อ ปี 2512 แต่ ก รม ประชาสั ม พั น ธ์ ไ ด้ จ ้ า งครู เ อื้ อ เพื่ อ ดู แ ลวงต่ อ ไปอี ก 2 ปี ในฐานะผู ้ เ ชี่ ย วชาญพิ เ ศษ หลั ง จากนั้ น ก็ มี นั ก ร้ อ งชื่ อ ดั ง หลายท่าน รับช่วงเป็นหัวหน้าควบคุมวงต่อ อาทิ คุณวินัย จุลละบุษปะ, คุณศรีสดุ า รัชตะวรรณ, คุณมาริษา อมาตยกุล และ คุ ณ อโศก สุ ข ศิ ริ พ รฤทธิ์ ซึ่ ง ทุ ก คนล้ ว นแล้ ว แต่ เ ป็ น นักร้องชั้นน�ำที่มีชื่อเสียงของเมืองไทย
เวลาผ่านไป...นักร้องในอดีตที่เคยรุ่งเรืองเหล่านี้ได้ ทยอยจากไป บางท่านเกษียณอายุราชการ คงเหลือแต่เพียง คุณโฉมฉาย อรุณฉาน ทีเ่ ฝ้าฟูมฟักวงดนตรีกรมประชาสัมพันธ์ แม้เกษียณอายุราชการแล้วก็ยังคงอุทิศตนเป็นที่ปรึกษาให้ กับสถานีวทิ ยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทย กรมประชาสัมพันธ์ จวบจนปัจจุบัน
ANNUAL REPORT 2017
21
นั บ ตั้ ง แต่ ป ี 2500 เป็ น ต้ น มา เป็ น ช่ ว งเวลาที่ อ าจ กล่ า วได้ ว ่ า ไม่ มี ใ ครที่ ไ ม่ รู ้ จั ก ผลงานเพลงของวงดนตรี กรมประชาสัมพันธ์ ซึ่งถ่ายทอดผลงานเพลงหลากหลาย ทั้ ง เพลงปลุ ก ใจ เพลงประจ� ำ เทศกาล เพลงลี ล าศ ร� ำ วง เพลงสังคีตสัมพันธ์ มีการน�ำเครื่องดนตรีไทยกับเครื่องดนตรี สากลมาบรรเลงร่วมกัน โดยใช้ท�ำนองเพลงไทยเดิมเป็น หลัก เพื่อรักษาท�ำนองเพลงไทยเดิมให้คงอยู่ โดยนักร้องที่ มีชื่อเสียง เช่น คุณมัณฑนา โมรากุล, คุณชวลี ช่วงวิทย์, คุณเพ็ญศรี พุ่มชูศรี, คุณวินัย จุลละบุษปะ และ คุณเลิศ ประสมทรัพย์ เป็นต้น นอกจากวงดนตรี ก รมประชาสั ม พั น ธ์ จ ะมี บ ทบาท ในการอนุ รั ก ษ์ แ ละสื บ สานศิ ล ปวั ฒ นธรรมของไทยแล้ ว ยังท�ำหน้าที่เป็นสื่อกลางในการน�ำพาความสุขด้วยเสียงเพลง สู่พี่น้องประชาชน พร้อมทั้งสอดแทรกข้อมูลข่าวสาร ผ่าน ช่ อ งทางการกระจายเสี ย งของสถานี วิ ท ยุ ก ระจายเสี ย ง- แห่งประเทศไทย รวมทั้งการจัดแสดงดนตรี เพื่อสนับสนุน นโยบายของรัฐบาล อาทิ โครงการ “ดนตรีในสวน กรม ประชาสั ม พั น ธ์ คื น ความสุ ข ให้ ป ระชาชน” จั ด ขึ้ น เพื่ อ 22
ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2 5 6 0
สนับสนุนนโยบายสร้างความปรองดอง ซึ่งเริ่มด�ำเนินการ มาตั้ ง แต่ วั น ที่ 5 มิ ถุ น ายน 2557 เป็ น ประจ� ำ ทุ ก วั น พฤหั ส บดี รวม 68 ครั้ ง ทั้ ง ในกรุ ง เทพมหานครและ ต่างจังหวัด การจัดแสดงดนตรี “สะพานเชื่อมไทย ส่งใจ ไปปั ก ษ์ ใ ต้ ” เพื่ อ ส่ ง ความสุ ข และรอยยิ้ ม ให้ ป ระชาชนที่ ประสบอุทกภัยในจังหวัดสุราษฎร์ธานี ระหว่างวันที่ 25-26 มกราคม 2560 และการแสดงดนตรีเฉลิมพระเกียรติ เพื่อ สนองพระราชด� ำ ริ ส มเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว ฯ ในการแสดง ชุด “กรมประชาสัมพันธ์...กล่อมขวัญคืนนาคร” เมื่อวันที ่
17 มิถุนายน 2560 ณ พระลานพระราชวังดุสิต และหาก ผู้ฟังสนใจที่จะติดตามรับฟังบทเพลงอันทรงคุณค่า สามารถ ติ ด ตามฟั ง การแสดงดนตรี ส ดได้ ใ นรายการ “แว่ ว หวาน ต�ำนานเพลง” ทาง F.M.92.5 มฮ. ทุกวันพุธที่ 2 ของเดือน เวลา 13.00-15.00 น. และสามารถรับชมได้ทาง Facebook live ของสถานี วิ ท ยุ ก ระจายเสี ย งแห่ ง ประเทศไทย และ รายการ “สุ น ทรี ย ์ กั บ เสี ย งสวรรค์ ” ทาง F.M.105 มฮ. ทุกวันจันทร์-วันศุกร์ เวลา 22.30-24.00 น. วงดนตรีกรมประชาสัมพันธ์ ผ่านร้อนผ่านหนาวมา เกือบ 80 ปี มีบทเพลงอันเป็นเอกลักษณ์มากกว่า 1,000 บทเพลง มีการสืบทอด อนุรักษ์ และพัฒนาผลงานจากรุ่น
สู ่ รุ ่ น โดยนั ก ร้ อ งนั ก ดนตรี รุ ่ น ใหม่ ที่ ไ ด้ รั บ การถ่ า ยทอด องค์ความรู้ เพื่อสืบสานเจตนารมณ์ และปฏิบัติภารกิจส�ำคัญ ของวงดนตรีกรมประชาสัมพันธ์สืบต่อไป ด้วยความมุ่งมั่น และตั้งใจที่จะท�ำให้ผลงานออกมาดีที่สุด เพื่อให้ประชาชน ชื่นชมและให้การยอมรับ ณ วันนี้....ทุกหัวใจในวงดนตรีกรมประชาสัมพันธ์ ตัง้ ปณิธานแน่วแน่ทจี่ ะร่วมแรงร่วมใจ สืบสานต�ำนานเพลง... ให้อยู่คู่กับกรมประชาสัมพันธ์ตลอดไป
ANNUAL REPORT 2017
23
เบือ้ งหลังการถ่ายทอดเสียง
พระราชพิธถี วายพระเพลิงพระบรมศพ นั บ ตั้ ง แต่ ก ารเสด็ จ สรรคตของพระบาทสมเด็ จ พระปรมิ น ทรมหาภู มิ พ ลอดุ ล ยเดช บรมนาถบพิ ต ร เมื่ อ วั น ที่ 13 ตุ ล าคม 2559 จนถึ ง พระราชพิ ธี ถ วาย พระเพลิ ง พระบรมศพ เมื่ อ วั น ที่ 25-29 ตุ ล าคม 2560 ถือเป็นช่วงเวลาที่ยากล�ำบากอย่างยิ่งในการปฏิบัติหน้าที่ ของทีมถ่ายทอดเสียงวิทยุแห่งประเทศไทย... ยากในการ ที่จะท�ำใจกับความสูญเสียครั้งยิ่งใหญ่ของคนไทยทั้งชาติ ... ยากที่ จ ะเอื้ อ นเอ่ ย ค� ำ ใดเพื่ อ บรรยายถ่ า ยทอดเหตุ ก ารณ์ ในวันนั้นผ่านวิทยุกระจายเสียงไปยังผู้ฟังทั่วประเทศ การถ่ า ยทอดเสี ย งเริ่ ม ตั้ ง แต่ วั น ศุ ก ร์ ที่ 14 ตุ ล าคม 2559 ในการเชิญพระบรมศพจากโรงพยาบาลศิริราชไปยัง พระบรมมหาราชวัง และถ่ายทอดเสียงการบ�ำเพ็ญพระราช- กุ ศ ลตลอดระยะเวลา 100 วั น จนถึ ง พระราชพิ ธี ถ วาย พระเพลิงพระบรมศพ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา- ภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร เมื่อวันที่ 25-29 ตุลาคม 2560 24
ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2 5 6 0
เบื้ อ งหลั ง การท� ำ งานของ “ที ม ถ่ า ยทอดเสี ย งวิ ท ยุ แห่ ง ประเทศไทย” ทั้ ง ในส่ ว นของผู ้ บ รรยายและเทคนิ ค มีประชุมหารือในทีมเพือ่ วางแผนในการปฏิบตั งิ าน ตลอดจน ประสานและประชุมกับหน่วยงานต่างๆ ทีเ่ กีย่ วข้องเป็นระยะ มีการลงพื้นที่แต่ละจุด เข้าร่วมในการซักซ้อม เพื่อความ ชั ด เจนในการปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ และวางระบบต่ า งๆ ให้ ก าร ถ่ายทอดเสียงเป็นไปด้วยความเรียบร้อย และสมพระเกียรติ
ตลอดระยะเวลาประมาณ 1 ปี ผูบ้ รรยายต้องติดตาม ความคืบหน้าในด้านต่างๆ ของพระราชพิธี เข้ารับฟังการ บรรยายให้ความรู้ที่ถูกต้องจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องตลอด จนลงพื้ น ที่ จ ริ ง เป็ น ระยะ เพื่ อ รวบรวมข้ อ มู ล และน� ำ มา เรียบเรียงเตรียมถ่ายทอดในพระราชพิธีครั้งส�ำคัญ ซึ่งความ ถูกต้องของการใช้ภาษา ค�ำราชาศัพท์ การน�ำเสนอข้อมูล และเกร็ ด ความรู ้ ต ่ า งๆ โดยเฉพาะการบรรยายบอกเล่ า เหตุ ก ารณ์ ที่ เ กิ ด ขึ้ น ในขณะนั้ น ให้ ผู ้ ฟ ั ง ได้ เ ห็ น ภาพตาม ล้วนเป็นสิ่งส�ำคัญส�ำหรับงานวิทยุ ในพระราชพิ ธี ถ วายพระเพลิ ง พระบรมศพ พระ- บาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ระหว่างวันที่ 25-29 ตุลาคม 2560 ทีมถ่ายทอดเสียงวิทยุ แห่งประเทศไทยระดมก�ำลังคนลงพื้นที่ในจุดส�ำคัญทุกจุด เพื่อถ่ายทอดเสียงพระราชพิธีครั้งประวัติศาสตร์ โดยสถานี วิ ท ยุ ก ระจายเสี ย งแห่ ง ประเทศไทยเป็ น แม่ ข ่ า ยในการ ANNUAL REPORT 2017
25
ถ่ า ยทอดเสี ย งให้ ส ถานี วิ ท ยุ ทุ ก สั ง กั ด ทั่ ว ประเทศร่ ว มรั บ สัญญาณ ทั้งภาคภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ตลอดระยะ เวลา 5 วัน การบรรยายในพื้นที่จริง ท�ำให้ได้เห็นภาพเหตุการณ์ ได้สัมผัสถึงความรู้สึกและอารมณ์ของผู้คน เพื่อถ่ายทอด เรื่องราวต่างๆ สู่ผู้ฟัง แต่ในพระราชพิธีฯ ครั้งนี้ความยาก ของการบรรยายในพืน้ ทีจ่ ริงมีสงู มาก โดยเฉพาะวันพฤหัสบดี ที่ 26 ตุลาคม 2560 ซึ่งถือเป็นวันส�ำคัญที่ในช่วงเช้าเวลา 07.00 น. มี ก ารอั ญ เชิ ญ พระบรมโกศจากพระที่ นั่ ง ดุ สิ ต มหาปราสาท ในพระบรมมหาราชวั ง ไปยั ง พระเมรุ ม าศ มณฑลพิธที อ้ งสนามหลวง โดยริว้ ขบวนพระบรมราชอิสริยยศ 3 ริ้วขบวน และช่วงเย็นเวลา 16.30 น. และ 22.00 น. 26
ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2 5 6 0
มีการถวายพระเพลิงพระบรมศพ ประชาชนจากทุกสารทิศ หลั่ ง ไหลกั น เข้ า สู ่ ร อบพื้ น ที่ ใ นการพระราชพิ ธี ค รั้ ง นี้ ต่ า ง จับจองพื้นที่กันล่วงหน้าเป็นวัน ทุกพื้นที่เนืองแน่นไปด้วย ผู้คนในชุดสีด�ำ โดยผู้บรรยายถ่ายทอดเสียงและช่างเทคนิค ของวิทยุแห่งประเทศไทยต้องลงพื้นที่ตั้งแต่ 03.00 น. เพื่อ เตรียมปฏิบัติหน้าที่ในการถ่ายทอดเสียงบรรยายรับ-ส่งกัน ในแต่ละจุด เริ่มตั้งแต่เวลา 07.00 น. จุดแรกในพระบรมมหาราชวัง จุดที่ 2 บริเวณท่าราชวรดิฐ จุดที่ 3 บริเวณ ท่าเตียน จุดที่ 4 หน้าสวนสราญรมย์ จุดที่ 5 หน้าศาล- หลักเมือง และจุดที่ 6 บริเวณห้องบรรยายหลังพระที่นั่ง ทรงธรรม ในมณฑลพิ ธี ท ้ อ งสนามหลวง ซึ่ ง ที ม ถ่ า ยทอด มี ก ารเตรี ย มแผนส� ำ รองหากเกิ ด ปั ญ หาเฉพาะหน้ า หรื อ
เข้ า พื้ น ที่ จ ริ ง ไม่ ไ ด้ โดยเฉพาะ 3 จุ ด ที่ ต ้ อ งอยู ่ ท ่ า มกลาง ประชาชนจ�ำนวนมาก นัน่ คือจุดถ่ายทอดบริเวณท่าราชวรดิฐ, หน้าสวนสราญรมย์ และหน้าศาลหลักเมือง การปฏิบัติงานท่ามกลางบรรยากาศที่ปกคลุมไปด้วย ความโศกเศร้าของผู้คน การมีสติและควบคุมอารมณ์ในการ บรรยายถือเป็นเรื่องส�ำคัญ ... แม้ภาพที่ปรากฏอยู่เบื้องหน้า คือความวิจิตรงดงามสมพระเกียรติของริ้วขบวนพระบรมราชอิ ส ริ ย ยศในพระราชพิ ธี ถ วายพระเพลิ ง พระบรมศพ อันเป็นโบราณราชประเพณีของชาติ แต่รอบข้างเต็มไป ด้วยเสียงสะอื้นของผู้คน จนยากที่ผู้บรรยายหลายคนจะ กลั้นน�้ำตาไว้ได้ และบางขณะเสียงบรรยายจึงปนไปด้วย เสียงสะอื้น นั่ น เป็ น บรรยากาศและเบื้ อ งหลั ง การปฏิ บั ติ ง าน บางส่วนของการถ่ายทอดเสียงพระราชพิธีถวายพระเพลิง พระบรมศพ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ซึง่ “ทีมถ่ายทอดเสียงวิทยุแห่งประเทศไทย” ล้วนน้อมส�ำนึกในพระมหากรุณาธิคุณอันหาที่สุดมิได้ และ ร่วมแรงร่วมใจกันปฏิบัติหน้าที่อย่างเต็มก�ำลังความสามารถ ในการถ่ายทอดเสียงเหตุการณ์ส�ำคัญของชาติ พระราชพิธี ครั้งประวัติศาสตร์อย่างสมพระเกียรติ “พระผู้สถิตในดวงใจ ไทยนิรันดร์” นิรมล เหมือนจิต ANNUAL REPORT 2017
27
งานถ่ายทอดเสียง ภาคภาษาอังกฤษ
พระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพล อดุลยเดช บรมนาถบพิตร
เพื่ อ ให้ ช าวโลกได้ รั บ รู ้ ถึ ง พระราชพิ ธี อั น ยิ่ ง ใหญ่ สมพระเกียรติยศของพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรม- นาถบพิตร ส่วนกระจายเสียงต่างประเทศด�ำเนินการถ่ายทอด เสี ย งภาคภาษาอั ง กฤษงานพระราชพิ ธี ถ วายพระเพลิ ง พระบรมศพ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช บรมนาถบพิ ต ร และเป็ น แม่ ข ่ า ยให้ ส ถานี วิ ท ยุ ภ าคภาษา ต่างประเทศทุกสังกัด ถ่ายทอดเสียงควบคู่ไปด้วย ระหว่าง วันที่ 25-29 ตุลาคม 2560 โดยมีบุคลากรของส่วนกระจาย เสี ย งต่ า งประเทศ บุ ค ลากรของกรมประชาสั ม พั น ธ์ จ าก ส�ำนักการประชาสัมพันธ์ต่างประเทศ ได้แก่ นางวลีรัตน์ สาครพั น ธ์ รวมถึ ง ได้ รั บ เกี ย รติ จ ากบุ ค คลภายนอกผู ้ มี ประสบการณ์ แ ละความเชี่ยวชาญด้านภาษาอังกฤษและ การถ่ายทอดเสียง ประกอบด้วย นางสาวอมราภรณ์ รัฐวินิจ นางกุสุมาลย์ รชตะนันทน์ นาวาเอกสุรสันต์ คงสิริ นางสาว รัชดา รชตะนันทน์ นายปีย์ชนน สุคนธเคหา และนางสาว วัชรีภรณ์ สร้อยทอง
28
ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2 5 6 0
มิเพียงเท่านั้น วิทยุกระจายเสียงภาคภาษาอังกฤษ ส่วนกระจายเสียงต่างประเทศได้น�ำเสนอ สปอตอาเศียรวาท สารคดี บทความ เพลงพระราชนิ พ นธ์ บทสั ม ภาษณ์ ทู ต านุ ทู ต และรายงานพิ เ ศษภาคภาษาอั ง กฤษเกี่ ย วกั บ พระบาทสมเด็ จ พระปรมิ น ทรมหาภู มิ พ ลอดุ ล ยเดช บรมนาถบพิตร และข้อมูลข่าวสารงานพระราชพิธีฯ ตลอด เดือนตุลาคม ประสบการณ์ แ ละความทรงจ� ำ ที่ ไ ด้ รั บ จากการ ถ่ายทอดเสียงภาคภาษาอังกฤษพระราชพิธีดังกล่าว ยังคง ตราตรึ ง อยู ่ ใ นใจของเจ้ า หน้ า ที่ ภ าคภาษาอั ง กฤษทุ ก คน ภาพประชาชนชาวไทยสวมเสื้อผ้าสีด�ำ นั่งสงบเงียบกลาง แดดบนพื้ น ที่ ร ้ อ น เฝ้ า รอริ้ ว ขบวนพระบรมราชอิ ส ริ ย ยศ เคลื่ อ นอย่ า งงดงามประหนึ่ ง เคลื่ อ นบนหมู ่ เ มฆส่ ง เสด็ จ สู ่ ส วรรค์ ความรู ้ สึ ก นั้ น อธิ บ ายออกมาเป็ น ค� ำ พู ด ไม่ ถู ก เชื่ อ ว่ า ผู ้ ป ฏิ บั ติ ง านทุ ก คนสั ม ผั ส ได้ ถึ ง ความศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ แ ละ พลั ง ใจของคนไทยทุ ก ๆ คนที่ ส ่ ง ใจมารวมกั น ณ บริ เ วณ มณฑลพิธีท้องสนามหลวง การถวายงานครั้งนี้ เป็นความ ภูมิใจสูงสุดของชีวิต ภนิกษ์ณิชา ไกรฤกษ์
รางวัลคนดีประเทศไทย
รางวัลแห่งความภาคภูมิใจของคนหลังไมค์ รายการศี ล รั ก ษาใจ คลื่ น เอฟ.เอ็ ม . 92.5 มฮ. ทุกวันอาทิตย์ เวลา 14.00-15.00 น. ด�ำเนินรายการโดย นางสาวธัญลักษณ์ สายธนู นักสื่อสารมวลชน คู่กับวิทยากร นางชมภัสสร องค์พัฒนกิจ นับเป็นอีกรายการหนึ่ง ทาง สถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทย (สวท.) ที่ได้รับ ความชื่ น ชอบจากผู ้ ฟ ั ง เป็ น รายการส่ ง เสริ ม คุ ณ ธรรม จริ ย ธรรม ที่ เ น้ น ให้ ผู ้ ฟ ั ง ทุ ก กลุ ่ ม วั ย ปฏิ บั ติ ต นเป็ น คนดี มีจิตใจ แจ่มใส ร่าเริง ไม่เบียดเบียนผู้อื่น ปฏิบัติทางธรรมะ คู่กับการใช้ ชี วิ ต ประจ�ำวัน ให้ถูก ต้อง และสอดคล้ อ งกั บ สังคมในยุคปัจจุบัน ส�ำหรับผู้ได้รับรางวัลคนดีประเทศไทย สาขาสื่อสาร มวลชน ข่าวส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมคนดีเด่น ประจ�ำปี พ.ศ. 2559-2560 ครัง้ ที ่ 9 ซึง่ เป็นรางวัลแห่งความภาคภูมใิ จ ของคนหลังไมค์ นางสาวธัญลักษณ์ สายธนู (น้องหวาน) บอกว่า ในฐานะนักสื่อสารมวลชน เหมือนเราเกิดมาพร้อม
ANNUAL REPORT 2017
29
ท�ำหน้าที่คัดกรอง และบอกกล่าวสิ่งดีๆ เพื่อสร้างสรรค์ให้ สังคมเป็นสังคมแห่งคนดีเพิ่มมากขึ้น ทางด้านวิทยากร นางชมภัสสร องค์พฒ ั นกิจ ได้กล่าวว่า ธรรมะนั้นสอนให้เราพิจารณาเหตุแห่งทุกข์ รู้ทันจิตตนแล้ว ดับทุกข์เสียจึงจะพ้นทุกข์ได้ เปิดใจรับธรรมะ เพื่อน�ำไปเป็น แนวทางในการแก้ไขปัญหาชีวติ และจะพบว่าสามารถพ้นทุกข์ ได้จริง รายการศีลรักษาใจ ได้รับรางวัลคนดีประเทศไทย จากท่ า นเจ้ า คุ ณ พระพรหมบั ณ ฑิ ต (ประยู ร ธมมจิ ต โต) เจ้าอาวาสวัดพระยุรวงศาวาสวรวิหาร กรรมการมหาเถรสมาคม และอธิการบดีมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย นับเป็นอีกหนึ่งรายการทางสถานีวิทยุกระจายเสียงแห่ ง ประเทศไทย ที่ ส ร้ า งสรรค์ ร ายการให้ ต รงตามความ ต้องการของกลุ่มเป้าหมาย และได้รับประโยชน์สูงสุดจาก รายการ นุชรัตน์ ชาวชายโขง 30
ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2 5 6 0
รายการสารคดี
“จากฟ้า..สูด่ นิ ”
ตามแนวทางการรั ก ษาความมั่ น คงสถาบั น หลั ก ของชาติ ภายใต้ ก ารปกครองระบอบประชาธิ ป ไตยอั น มี พระมหากษั ต ริ ย ์ ท รงเป็ น ประมุ ข พุ ท ธศั ก ราช 2558 สถาบั น หลั ก ของชาติ อั น ประกอบด้ ว ย ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ เป็นสถาบันที่อยู่กับสังคมไทยมาช้านาน โดยเฉพาะอย่างยิ่ง สถาบันพระมหากษัตริย์ ซึ่งเป็นเสาหลัก ในการสร้างชาติให้เป็นปึกแผ่น เป็นศูนย์รวมจิตใจของปวงชน เป็นบ่อเกิดของความรัก ความสามัคคี น�ำพาประเทศชาติ ให้ผา่ นพ้นจากภัยคุกคามทุกรูปแบบ ไม่วา่ จะเป็นภัยจากการ ล่าอาณานิคมและการแผ่ขยายลัทธิการปกครอง รวมทั้ง มีบทบาทส�ำคัญในการพัฒนาชีวติ ความเป็นอยูข่ องประชาชน ในทั่วทุกภูมิภาค โดยเฉพาะอย่างยิ่งในท้องที่ห่างไกล ส่งผล ให้มีการยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนในทุกมิติ และ เป็นรากฐานให้ประเทศชาติมีความมั่นคงสืบมาจนปัจจุบัน สถาบันพระมหากษัตริย์เป็นสถาบันที่มีความส�ำคัญ และอยูค่ กู่ บั ประเทศไทยมาช้านาน และด้วยพระมหากรุณา- ธิคุณในพระมหากษัตริย์ไทยทุกพระองค์ โดยเฉพาะพระมหากษัตริย์แห่งราชวงศ์จักรีทุกพระองค์ ที่ทรงน�ำประเทศ ชาติ สู ่ ค วามเจริ ญ ทั น สมั ย ทั ด เที ย มนานาอารยประเทศ พร้อมกับการปรับปรุงกฎหมาย และการปกครองสู่ระบอบ ประชาธิ ป ไตยอั น มี พ ระมหากษั ต ริ ย ์ ท รงเป็ น พระประมุ ข พระมหากษัตริย์ทรงเป็นศูนย์รวมจิตใจของคนไทย และเป็น
สถาบันหลักของชาติด้วยพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและ พระบรมวงศานุ ว งศ์ ท รงมี พ ระมหากรุ ณ าธิ คุ ณ ต่ อ ปวง ประชาชนชาวไทยมาโดยตลอดตั้ ง แต่ อ ดี ต จนถึ ง ปั จ จุ บั น ทรงปฏิบัติพระราชกรณียกิจและพระกรณียกิจนานัปการ ดังจะเห็นได้จากโครงการอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ ซึ่ง ส�ำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการ อันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ (ส�ำนักงาน กปร.) รวบรวม ตั้ ง แต่ ป ี พ.ศ. 2495 – ปั จ จุ บั น มี จ� ำ นวนทั้ ง สิ้ น 4,685 โครงการ กระจายอยูท่ วั่ ทุกพืน้ ทีข่ องประเทศ โดยมีเป้าหมาย เพื่อแก้ไขปัญหาให้แก่คนส่วนใหญ่ของประเทศที่ยังอยู่ใน ฐานะยากจน พื้นที่ห่างไกลทุรกันดาร ให้มีคุณภาพชีวิตที ่ ดีขึ้น สามารถพึ่งพาตนเองได้ อันเป็นรากฐานการพัฒนา สังคมไทยให้เกิดความยั่งยืน ANNUAL REPORT 2017
31
กรมประชาสัมพันธ์ในฐานะหน่วยงานภาครัฐถือเป็น ภารกิจส�ำคัญล�ำดับแรกในการปกป้องและเทิดทูนสถาบัน พระมหากษั ต ริ ย ์ แ ละสถาบั น หลั ก ของชาติ จึ ง ได้ จั ด ท� ำ โครงการประชาสัมพันธ์เทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์ โดย มีวัตถุประสงค์เพื่อเผยแพร่พระราชประวัติพระมหากษัตริย์ ไทย พระราชกรณี ย กิ จ พระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว และพระบรมวงศานุวงศ์ทุกพระองค์ ให้เป็นที่ปรากฏแก่ ประชาชน เพื่อให้รับรู้ตระหนักและส�ำนึกในพระมหากรุณา- ธิ คุ ณ ที่ ท รงอุ ทิ ศ ตนและทรงงานหนั ก อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง เพื่ อ ประชาชนและประเทศชาติ รวมถึ ง ท� ำ ให้ ป ระชาชนทุ ก หมู่เหล่าเกิดความตระหนักรู้ ภาคภูมิใจ และเข้าใจบทบาท ของสถาบันหลักของขาติได้อย่างถูกต้อง ด้วยเหตุน ี้ ส่วนผลิตรายการ สถานีวทิ ยุกระจายเสียง- แห่งประเทศไทย ได้สนองนโยบายของกรมประชาสัมพันธ์ โดยด� ำ เนิ น การผลิ ต รายการสารคดี “จากฟ้ า ..สู ่ ดิ น ” ออกอากาศทางสถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทย
ความถี่ 819, 837, 891 กิ โ ลเฮิ ร ตซ์ ในระบบ เอเอ็ ม และ 92.5 เมกกะเฮิรตซ์ ในระบบ เอฟเอ็ม ทุกวันอาทิตย์ เวลา 08.30-09.00 น. ซึ่งได้น�ำเนื้อหาในการประชาสัมพันธ์ ดังนี้ พระราชพิ ธี พระราชประวั ติ ของพระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว สมเด็ จ พระนางเจ้ า ฯ พระบรมราชิ นี น าถ และพระบรมวงศานุวงศ์ โครงการพระราชด�ำริของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั สมเด็ จพระนางเจ้ า ฯ พระบรมราชิ นี นาถ และพระบรม- วงศานุวงศ์ ทุกมิติ ทั้งในประเทศและต่างประเทศ โครงการพระราชด�ำริของพระบาทสมเด็จพระเจ้า- อยู่หัว และน้อมน�ำแนวทางพระราชด�ำริ จ�ำนวน 4,000 กว่าโครงการ ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ�ำวัน โครงการอันเนือ่ งมาจากพระราชด�ำริของพระบาทสมเด็จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว และพระบรมวงศานุ ว งศ์ น� ำ เสนอสายใย ความสัมพันธ์ภายในพระบรมวงศานุวงศ์ทกุ พระองค์ สถาบัน พระมหากษัตริย์นั้นอยู่คู่กับสังคมไทยมานับแต่อดีตจนถึง ปัจจุบัน ส่วนผลิตรายการ สถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทย
32
ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2 5 6 0
เมือ่ นายกลุงตูพ ่ บชาวบ้าน ในการประชุม ครม. ภูมภิ าค มีค�ำบอกเล่ามาแต่โบราณแล้วว่า ท้าวพระยานั่งว่า ราชการแต่ในเมือง ย่อมไม่เห็นความเป็นอยู่ที่แท้จริงของ ประชาชนที่ต้องดูแล ดังนั้นการประชุมคณะรัฐมนตรีในส่วน ภูมิภาคของรัฐบาลชุด พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา จึง เหมือนเป็นการออกไปดูความเป็นอยู่ที่แท้จริงของประชาชน ในภูมิภาคต่างๆ ของประเทศ เพราะกรุงเทพมหานครไม่ใช่ ประเทศไทย ที่ส�ำคัญเป็นการไปติดตามและประเมินผลว่า ข้อ สั่ ง การนโยบายต่างๆ ที่รัฐบาลได้มอบหมายให้ แ ต่ ล ะ จังหวัด แต่ละพื้นที่ไปด�ำเนินการ ก้าวไปทางไหน มีอะไร ขาดตกบกพร่องและเป็นอุปสรรคอยู่บ้าง แล้วจะต้องแก้ไข กันอย่างไร เพราะรัฐบาลของพลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา ที่มอบนโยบายและแนวทางปฏิบัติ รวมทั้งงบประมาณไปให้ ในส่วนจังหวัดต่างๆนั้น ต้องบอกตามตรงว่า เยอะมากและ เป็นหน้าที่ของกรมประชาสัมพันธ์ โดยเฉพาะส่วนสื่อข่าว และผลิ ต รายการข่ า ว สถานี วิ ท ยุ ก ระจายเสี ย งแห่ ง ประเทศไทย ที่ จ ะต้ อ งตามติ ด รายงานสถานการณ์ แ ละ ภารกิจของนายกรัฐมนตรี รวมถึงท่านรัฐมนตรีกระทรวง ต่างๆ ทีมงานที่ลงไปปฏิบัติ ค่อนข้างจะมีความคุ้นเคยกับ ANNUAL REPORT 2017
33
คณะรัฐมนตรีอยู่แล้ว เพราะเป็นผู้สื่อข่าวประจ�ำท�ำเนียบ สภา และกระทรวงต่างๆ ท�ำให้งานที่ต้องปฏิบัติ ถือว่าไม่ หนักหนาสาหัส หรือล�ำบากมากนัก แต่ปัญหาคือความขยัน ของท่านนายกและรัฐมนตรีทั้งหลายนี่แหละ ที่ท�ำเอาเวลา การออกอากาศที่มีค่อนข้างจ�ำกัด แทบจะไม่พอบอกกล่าว กับพี่น้องประชาชนทั่วประเทศ ผ่านช่วงเวลาข่าวของสถานี วิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทย แต่ด้วยการประสานงาน และการอ� ำ นวยความสะดวกของท่ า นผอ.สวท. (พิ ช ญา เมืองเนาว์) ก็ท�ำให้บางเรื่องที่ไม่ได้เผยแพร่ในช่วงข่าว ก็ สามารถที่จะน�ำไปขยายผลในรายการต่างๆ ของทางสถานี ได้อย่างไม่ตกหล่น แต่ สิ่ ง ส� ำ คั ญ นอกเหนื อ ไปจากภารกิ จ ที่ ป ฏิ บั ติ ก็ คื อ ประสบการณ์ของผู้สื่อข่าวและคณะท�ำงานทุกคน แน่นอน ผู้สื่อ ข่ า วที่ ติ ด ตามนายกรัฐมนตรีห รือรัฐมนตรีท ่านต่ า งๆ ไปปฏิบัติงาน ถือเป็นเรื่องที่ปกติอยู่แล้ว แต่เป็นการท�ำงาน ที่ค่อนข้างเป็นทางการ ส่วนการปฏิบัติงานเพื่อการรายงาน ข่ า วครม. ภู มิ ภ าค ท� ำ ให้ ผู ้ สื่ อ ข่ า ว มี ช ่ ว งเวลาที่ ไ ม่ เ ป็ น ทางการ ได้เห็นและได้เรียนรู้กับสิ่งที่อาจจะไม่เคยเห็นมา ก่อน หรือมีช่วงเวลาที่ไม่เคยคิดว่าจะได้มีโอกาสดีๆ แบบนี้ และที่ส�ำคัญคือ การแก้ปัญหาเฉพาะหน้าทั้งในเรื่องของการ เดินทาง ก�ำหนดสถานที่ปฏิบัติงาน ช่วงเวลาของการท�ำงาน และอื่นๆ อีกมากมาย เพราะทุกอย่างไม่สามารถที่จะระบุให้ ชัดเจนได้ ต้องแก้ปัญหาหน้างาน หรือเอาเข้าจริงจะเรียก ว่าการแก้ปัญหาเฉพาะหน้า เพื่อให้สามารถที่จะปฏิบัติงาน 34
ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2 5 6 0
ได้อย่างไม่ติดขัด นั่นแหละคือสิ่งที่ได้เป็นกอบเป็นก�ำ ในการ เดินทางไปรายงานข่าวการประชุมคณะรัฐมนตรีในภูมิภาค และถือเป็นประสบการณ์ส�ำคัญที่ผู้สื่อข่าวทุกคนได้รับ ขณะเดียวกัน ในการประชุมคณะรัฐมนตรีในภูมิภาค ท�ำให้ได้เห็นโมเมนต์ ทีน่ า่ รักของนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรี หลายๆ ท่านที่เดินทางร่วมในคณะ ทั้งในเรื่องของอารมณ์ ขั น และความเข้ า ใจในความเป็ น อยู ่ ข องประชาชน ไม่ว่าจะเป็นค�ำถาม หรือการพูดคุย และนั่นท�ำให้การเดิน ทางไปท�ำข่าวการประชุมคณะรัฐมนตรีในส่วนภูมิภาคแต่ละ ครั้งมักจะมีเรื่องมาเล่าต่ออยู่เสมอ และต้องบอกว่า เป็น ประสบการณ์ที่ดีของผู้เกี่ยวข้องทุกคน โดยเฉพาะผู้สื่อข่าว ของเราที่เห็นแนวทางในการท�ำงานแบบที่เรียกว่าปัญหา ไม่มีไว้ให้บ่น แต่มีไว้ให้แก้ เพื่อให้ประชาชนที่รับฟังสถานี วิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทยได้ข้อมูลที่ตรงประเด็น และสามารถน�ำไปประยุกต์ใช้ รวมทั้งสามารถก้าวทันความ เปลี่ยนแปลงของข้อมูลข่าวสาร ที่เกิดขึ้นและส่งผลต่อการ ปรับตัวเพื่อให้สามารถที่จะด�ำรงชีวิตอยู่ได้อย่างมีความสุข สมภพ จันทร์ฟัก ANNUAL REPORT 2017
35
Drm
(Digital Radio Mondiale)
DRM (Digital Radio Mondiale) เป็นองค์การ นานาชาติทไี่ ม่แสวงหาผลก�ำไร ประกอบด้วย Broadcaster, Network Provider, Transmitter และผู้ผลิตเครื่องรับ ใช้งานที่ย่านความถี่ VHF Band III ซึ่งมีสมาชิกทั้งหมด 93 หน่ ว ยงาน และผู ้ ส นั บ สนุ น 90 จาก 39 ปะเทศ DRM ถูกจัดตั้งขึ้นที่ Guangzhou, Chaina ในปี 1998 โดยมี วั ต ถุ ป ระสงค์ ที่ จ ะเปลี่ ย นการใช้ ง านย่ า นความถี่ AM ไป จนถึง 30 MHz (long, medium and short-wave) ไป เป็ น ดิ จิ ทั ล ก� ำ หนดให้ ค วามถี่ ต�่ ำ กว่ า 30 MHz เรี ย กว่ า DRM30 DRM คื อ ระบบการส่ ง กระจายเสี ย งแบบ ดิ จิ ทั ล ถูกพัฒนาขึ้นมาแทนที่ระบบอนาล็อคในย่านความถี่ AM และ FM/VHF DRM30 ถู ก ออกแบบมาให้ ใ ช้ ใ นย่ า นความถี่ AM ต�่ำกว่า 30 MHz DRM+ ถูกออกแบบมาให้ใช้ในย่านความถี่ 30 MHz ถึง VHF band III
36
ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2 5 6 0
ท� ำ ไมเราต้ อ งเปลี่ ย นไปเป็ น ระบบดิ จิ ทั ล ในทาง เทคนิค DRM สามารถเลือกวิธีการส่งกระจายเสียง โดย สามารถปรับเปลี่ยน bit-rate, signal robustness, ก�ำลัง ส่ ง และรั ศ มี ก ารส่ ง กระจายเสี ย ง ทั้ ง นี้ อ าจขึ้ น อยู ่ กั บ ภูมิประเทศ กลุ่มผู้ฟัง ส�ำหรับธุรกิจ คือสามารถให้บริการ ได้ในรัศมีที่กว้างกว่า ง่ายต่อการเลือกรับฟังรายการต่างๆ พั ฒ นารู ป แบบการรั บ ฟั ง เป็ น Stereo หรื อ ระบบ Surround ในรถยนต์ คุณภาพเสียงที่ดีขึ้นกว่าเดิม สามารถ ส่งข้อมูล รูปภาพ การจราจร หรือบริการในรูปแบบอื่นๆ ได้ ตามต้องการ
การส่ ง กระจายเสี ย งในระบบดิ จิ ทั ล ในทางเทคนิ ค นั้นเป็นเรื่องง่าย แต่การที่จะท�ำให้ผู้ฟังหันมารับฟังผ่าน ระบบเป็นเรื่องที่มีความท้าทายมากกว่า มีหลายปัจจัยที่จะ สร้างกลุ่มผู้ฟังของวิทยุดิจิทัล โดยเริ่มจากการน�ำเครื่องรับ ดิจิทัลเข้าสู่ท้องตลาดในปริมาณมากๆ ส�ำหรับเทคโนโลยี ใหม่เราเริ่มจากผู้ฟังไม่มีเครื่องรับเลย การสร้างฐานผู้ฟังจะ ต้องเริ่มจากความตื่นเต้นในบริการใหม่ๆ ที่ตลาดมีให้ ผู้มี ส่วนเกี่ยวข้องทุกด้านต้องการที่จะเชื่อมั่นว่าการส่งกระจาย เสี ย งแบบดิ จิ ทั ล จะต้ อ งลดความเสี่ ย งทั้ ง หมด โดยปั จ จั ย แห่งความส�ำเร็จต้องรวมไปถึงความร่วมมือระหว่างองค์กร ภาครัฐ ผู้ส่งกระจายเสียงในภูมิภาคเดียวกันร่วมมือกันใน การให้บริการใหม่นี้ และได้รับความรับผู้จากผู้จัดจ�ำหน่าย รวมไปถึงผู้ผลิตเครื่องรับ
กระบวนการในการที่ จ ะเกิ ด นวั ต กรรมใหม่ ๆ จะ เริ่ ม ต้ น จากผู ้ บ ริ โ ภคไม่ ต ้ อ งการที่ จ ะซื้ อ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ใ หม่ จนกว่าจะหาเหตุผลที่จะซื้อได้ เช่น เนื้อหาใหม่ๆ บริการ เสริมใหม่ๆ หรือ คุณสมบัติใหม่ๆ ตัวแทนจ�ำหน่ายจะไม่สั่ง สินค้าจนกระทั่งจะเห็นความต้องการของลูกค้า ผู้ผลิตจะ ไม่ผลิตสินค้าถ้าตัวแทนจ�ำหน่ายไม่สั่งสินค้า ผู้ส่งกระจาย- เสียงจะไม่เริ่มบริการใหม่ๆ ถ้ายังไม่มีลูกค้า ผู้บริโภคต้องการเหตุผลที่จะซื้อ แรงขับที่ทรงพลัง ที่สุดของผู้ฟังในการตัดสินใจซื้อคือ เนื้อหาใหม่ๆ คุณภาพ ของเสียงที่ดีขึ้น เขตบริการที่เพิ่มขึ้น หรือราคาเครื่องรับ ก็ เป็นแค่ปัจจัยหนึ่งเท่านั้น ดังนั้นเราควรจะมุ่งไปที่เนื้อหาที่ คนฟังสนใจอย่างจริงจังมากกว่าสิ่งอื่นใด เนื้อหานั้นจ�ำเป็น จะต้ อ งมี ป ระโยชน์ ต ่ อ ผู ้ ฟ ั ง สามารถพั ฒ นาคุ ณ ภาพชี วิ ต หน้าที่การงาน หรือเป็นประโยชน์ต่อสังคม ผู้คนจะวิ่งเข้ามา หาเราเองถ้าเรามีสิ่งที่เขาต้องการฟัง บทความนี้เป็นเพียงการแนะน�ำ DRM เท่านั้น ท่าน ผู้อ่านต้องการรับทราบรายละเอียดให้มากยิ่งขึ้นโปรดไปที ่ www.drm.org
ANNUAL REPORT 2017
37
ก้าวที่
เทคโนโลยี
วิทยุกระจายเสียง
เครือ่ งมือสือ่ สารมวลชนของมนุษย์ทเี่ ป็นวิทยุกระจายเสียงซึ่งเป็นช่องทางหนึ่งในหลายๆ ช่องทาง พัฒนาการ เทคโนโลยีวทิ ยุกระจายเสียงเกิดขึน้ ตลอดเวลาเป็นล�ำดับ คนท�ำ วิทยุจะเข้าใจ หากแต่คนรับฟังวิทยุน้อยคนที่รู้ถึงพัฒนาการ เหล่านัน้ เนือ่ งจากว่าเป็นผูร้ บั สารอย่างเดียว สถานีวทิ ยุกระจายเสียง แห่ ง ประเทศไทย ฐานะวิ ท ยุ แ ห่ ง ชาติ ได้ น� ำ พั ฒ นาการ เทคโนโลยีวทิ ยุกระจายเสียงภาคพืน้ ดินจ�ำนวน 11 คลืน่ ความถี่ เป็นการส่งกระจายเสียงระบบเอฟเอ็ม 6 ความถี ่ ระบบ เอเอ็ม 4 ความถีแ่ ละคลืน่ สัน้ 1 ความถี ่ ภาคดาวเทียมจ�ำนวน 12 ช่อง ความถี่ และในระบบออนไลน์ ความส�ำคัญทุกระบบคือท�ำ อย่างไรให้ผู้ผลิตส่งถึงผู้รับ สามารถรับได้อย่างชัดเจน และ ครอบคลุมจ�ำนวนผูร้ บั และพืน้ ทีเ่ ขตบริการให้ได้มากทีส่ ดุ ดังนัน้ จึงมีความพยายามทุกวิถีทางที่ต้องด�ำเนินการให้บรรลุความ ส�ำคัญนี้ ก้ า วที่ เ ทคโนโลยี วิ ท ยุ ก ระจายเสี ย ง จ� ำ เป็ น ต้ อ งใช้ นวัตกรรมต่างๆ เพือ่ ให้ทนั ต่อการเปลีย่ นแปลงและการแข่งขัน ของตัวเทคโนโลยีเอง นับตัง้ แต่พฒ ั นาการระบบอนาลอกดัง้ เดิม
38
ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2 5 6 0
การใช้แถบแม่เหล็กบันทึกเสียง เช่น เทปเสียง แผ่นเสียง เป็นต้น สิ้นสุดลงหนึ่งทศวรรษที่ผ่านมา เปลี่ยนผ่านสู่ระบบดิจิทัล ตอนด้น เช่น แผ่นซีดี เป็นต้น ปัจจุบันพัฒนาการเข้าสู่ยุค ดิจิทัลเต็มรูปแบบ ทั้งนี้เพื่ออ�ำนวยความสะดวกทั้งคนรับฟัง และคนท�ำวิทยุ ในส่วนปฏิบตั กิ ารวิทยุกระจายเสียงนัน้ ได้มกี าร พัฒนาซอฟแวร์ประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์ ในการผลิตงานเพื่อ การส่ ง กระจายเสี ย งได้ อ ย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ ซึ่ ง เครื่ อ ง คอมพิวเตอร์มคี วามสามารถในการประมวลมิตเิ สียงได้ดมี คี วาม ผิดพลาดนัอยถึงไม่มคี วามผิดพลาดเลย จึงท�ำให้งานด้านระบบ การกระจายเสียงมีความสมบูรณ์มากยิง่ ขึน้ ซึง่ เทคโนโลยีการ การกระจายเสียงโดยใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ นิยมใช้กนั อย่าง แพร่หลายในวงการวิทยุกระจายเสียงในปัจจุบนั นอกจากนีพ้ ฒ ั นาการเทคโนโลยีวทิ ยุกระจายเสียงยังก้าว ไปสู่การกระจายเสียงที่เป็นสื่อผสม สื่อถึงการมีส่วนร่วมของ ผู้รับฟังกับผู้ผลิตรายการในสื่อวิทยุกระจายเสียงทุกระบบ บู ร ณาการทั้ ง ภาคพื้ น ดิ น และภาคออนไลน์ ผ ่ า นระบบ อินเทอร์เน็ตพบเห็นมีการใช้โดยแพร่หลายเช่นเดียวกัน ซึ่ง
สามารถสือ่ สารข้อมูลทัง้ ภาพและเสียงเช่นเดียวกับวิทยุโทรทัศน์ ผูฟ้ งั สามารถรับฟังและสือ่ สารข้อมูลผ่านโทรศัพท์สมาร์ทโฟน คอมพิวเตอร์อนิ เทอร์เน็ต เฟสบุค๊ สามารถฟัง ดู ทัง้ รายการสด และย้ อ นหลั ง ได้ เป็ น อี ก ก้ า วหนึ่ ง ของการเปลี่ ย นแปลง พัฒนาการวงการวิทยุกระจายเสียง ปัจจุบนั นีว้ ทิ ยุกระจายเสียงภาคพืน้ ดินของประเทศไทย ยังเป็นระบบอนาลอกอยู่ ในอนาคตอาจจะมีการเปลี่ยนเป็น ระบบดิจทิ ลั เช่นเดียวกับวิทยุโทรทัศน์ แต่คงเป็นก้าวต่อๆ ไป แต่กไ็ ม่ได้หมายความว่าระบบปัจจุบนั จะด้อยประสิทธิภาพใน การสื่อสารแต่อย่างใด วิทยุกระจายเสียงยังคงทรงพลัง และ มีความส�ำคัญทีใ่ ช้ในการสือ่ สารพัฒนาสังคม มีบทบาทในการ ขับเคลือ่ นการเรียนรูข้ องประชาชนต่อไป การผสมผสานพัฒนาการเทคโนโลยีวทิ ยุกระจายเสียงได้ อย่างกลมกลืนและเหมาะสมกับสถานการณ์จงึ เป็นเสน่หข์ อง วิทยุกระจายเสียง ในการปรับตัวให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลง ในอนาคตอันใกล้นี้สถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทย ได้รบั งบประมาณเพือ่ พัฒนาประสิทธิภาพการส่งกระจายเสียง
และประสิทธิภาพการผลิตรายการและข่าว รวมกว่า 295.5 ล้านบาท ซึ่งจะด�ำเนินการให้แล้วเสร็จภายในปี 2561 นี ้ นั่นหมายถึง การจัดหาเครื่องมืออุปกรณ์ดังกล่าวแล้ว โดยใช้ เทคโนโลยีที่พัฒนาสูงสุดในปัจจุบันมาใช้ปฏิบัติการให้เกิด ความทันสมัยนัน่ เอง เนือ่ งจากอุปกรณ์ทใี่ ช้ในปัจจุบนั ล้าสมัย ด้อยคุณภาพแล้ว เพื่อให้วิทยุแห่งชาติก้าวหน้าทัดเทียม นานาอารยประเทศ ประโยชน์จะเกิดกับประเทศชาติและ ประชาชนนัน่ เอง
ANNUAL REPORT 2017
39
วิ ท ยุ แ ห่ ง ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย
ภาคภาษาต่างประเทศ “สรรค์สร้างความไว้วางใจ ประยุกต์ ใช้เทคโนโลยี” ยุคปัจจุบัน การพัฒนาอย่างเข้มแข็งของวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและเครือข่ายสังคมออนไลน์ได้ท�ำให้การสื่อสาร มวลชนในโลกรวมทั้งวิทยุกระจายเสียงมีการเปลี่ยนแปลง อย่ า งรวดเร็ ว นี่ คื อ ทั้ ง ความท้ า ทายและโอกาสส� ำ หรั บ วิทยุกระจายเสียง สถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทยภาคภาษา ต่างประเทศ Radio Thailand World Service สถานีข่าว และรายการที่ เ ผยแพร่ ข ้ อ มู ล ข่ า วสาร นโยบาย ผลการ ด� ำ เนิ น งานของรั ฐ บาลจากแหล่ ง ข่ า วของทางราชการ รวมทั้ ง ข่ า วสารที่ เ กิ ด ขึ้ น ในรอบวั น แก่ ช าวไทยและชาว ต่างประเทศเพื่อความมั่นคงและความสัมพันธ์ที่ดีระหว่าง
40
ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2 5 6 0
ประเทศ จึงได้เดินหน้าตอบสนองความต้องการของผู้ฟังใน ยุคแห่งการผสมผสานการสื่อสารเทคโนโลยีและเครือข่าย สั ง คมออนไลน์ เ พื่ อ เพิ่ ม ความเชื่ อ มโยงแหล่ ง ข้ อ มู ล ที่ ค น รุ่นใหม่และผู้ฟังในอนาคตให้สามารถเข้าถึงได้มากที่สุด
การเชื่อมโยงกับผู้ฟัง ไม่เพียงแต่การออกอากาศข่าว การถ่ายทอดเสียง และรายการผ่านคลื่น FM 88 AM 918 เท่านั้น ภาคภาษาต่างประเทศได้น�ำเสนอข่าว บทความ และรายการภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ อาทิ อังกฤษ จี น กลาง ญี่ ปุ ่ น บาฮาซา มาลายู เยอรมั น ผ่ า นคลื่ น สั้ น ส่งสัญญาณรายการไปยังผู้ฟังชาวต่างประเทศในภูมิภาค ต่างๆ ของโลกอีกด้วย ผู้ฟังยังสามารถรับฟังระบบออนไลน์ ผ่านเว็บไซต์ http://nbt.prd.go.th/liveradio/live-fm88 .html และ Radio Thailand World Services (www. hsk9.org) ทางสถานีฯ ได้รับฟังความคิดเห็นของผู้ฟังเพื่อ พั ฒ นารายการที่ เ หมาะสมและตอบสนองความต้ อ งการ ของผู้ฟังมาโดยตลอด ส�ำหรับคลื่นสั้น มีจดหมาย โปสการ์ด อีเมล ของผู้ฟังชาวต่างประเทศที่ส่งรายงานการรับสัญญาณ มาถึ ง สถานี ฯ อย่ า งไม่ ข าดสาย ซึ่ ง ส่ ว นกระจายเสี ย ง ต่างประเทศได้น�ำส่ง QSL Card กลับไปยังผู้ฟังเป็นการ ตอบแทน ความร่วมมือกับต่างประเทศ นอกจากภารกิจด้าน การกระจายเสี ย งแล้ ว สถานี ฯ โดยส่ ว นกระจายเสี ย ง ต่ า งประเทศ ยั ง มี ค วามร่ ว มมื อ กั บ สื่ อ วิ ท ยุ ก ระจายเสี ย ง ประเทศต่างๆ ได้แก่ จีน เมียนมา กัมพูชา เวียดนาม บรูไน- ดารุ ส ซาลาม และอิ น โดนี เ ซี ย โดยได้ มี ก ารจั ด กิ จ กรรม
แสดงดนตรีและจัดรายการวิทยุร่วมกัน นอกจากนี้ยังมีการ แลกเปลี่ยนรายการและบุคลากรผู้ผลิตรายการ เพื่อการ พัฒนาศักยภาพงานวิทยุกระจายเสียงสู่สากล ส�ำหรับผู้ที่สนใจในข่าวสารความรู้ของประเทศต่างๆ สามารถรับฟังรายการที่แลกเปลี่ยนได้ทาง FM 88 ผ่าน รายการ Inter Corner เวลา 15.05 - 15.30 น. และ รายการภาคค�่ำเวลา 22.05 - 22.30 น. และล่าสุด กับความประทับใจของเจ้าหน้าทีผ่ ปู้ ฏิบตั งิ าน ด้านการกระจายเสียงต่างประเทศ ในเวทีระดับสากล โดย กรมประชาสัมพันธ์และสหภาพวิทยุโทรทัศน์แห่งเอเชีย- แปซิฟิก หรือ ABU ร่วมเป็นเจ้าภาพจัดงาน Radio Asia 2017 ระหว่างวันที่ 26-28 เมษายน 2560 ภายใต้แนวคิด ‘Creating Radio with Passion: Looking into the
ANNUAL REPORT 2017
41
World of Radio’ ที่โรงแรมสวิส โซเทล เลอ คองคอร์ด โดยมีผู้บริหารสถานีวิทยุจากประเทศต่างๆ และผู้เชี่ยวชาญ จากวงการสื่อสารมวลชนด้านวิทยุกระจายเสียงทั้งในและ ต่างประเทศ ให้ความสนใจเข้าร่วมประชุม Radio Asia 2017 จ�ำนวนมาก ในงานดังกล่าว สถานีวิทยุกระจายเสียง แห่งประเทศไทย ได้จัดนิทรรศการแสดงประวัติความเป็นมา ของสถานีฯ รวมถึงจัดห้องส่งจ�ำลอง โดยส่วนกระจายเสียง ต่ า งประเทศได้ สั ม ภาษณ์ แ ขกผู ้ มี เ กี ย รติ ทั้ ง ในและต่ า ง ประเทศที่ ม าร่ ว มงานในห้ อ งส่ ง จ� ำ ลอง พร้ อ มกั น นี้ ยั ง ได้
42
ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2 5 6 0
ถ่ายทอดเสียงภาษาอังกฤษพิธีเปิดการประชุม และน�ำเสนอ เนื้อหาการประชุมผ่านรายงานพิเศษในช่วงเวลาต่างๆ ของ ทางสถานีฯ ถือเป็นช่องทางส�ำคัญในการเผยแพร่ผลงาน ของ Radio Thailand World Service ให้เป็นที่ประจักษ์ สร้างความประทับใจทั้งแก่ผู้ปฏิบัติงานและผู้ร่วมงานเป็น อย่างยิ่ง น�ำเสนอรายการใหม่ “Thailand Outlook” เพื่ อ ให้ ส อดคล้ อ งกั บ นโยบายไทยแลนด์ 4.0 ของ รัฐบาล ซึ่งจะช่วยให้มิติต่างๆ ของสื่อวิทยุภาครัฐสู่ยุคดิจิทัล ส่ ว นกระจายเสี ย งต่ า งประเทศ สถานี วิ ท ยุ ก ระจายเสี ย ง แห่งประเทศไทย จึงได้นำ� เสนอรายการใหม่ คือ “Thailand Outlook” รายการรูปแบบ Daily Magazine ความยาว 15 นาที ทุ ก วั นจั นทร์ ถึ ง วั นศุ ก ร์ ระหว่ า งเวลา 18.45 – 19.00 น. ผ่านการสนทนาภาษาอังกฤษของผูด้ ำ� เนินรายการ หนุ่มสาวคนรุ่นใหม่ ให้ผู้ฟังเข้าถึงยุทธศาสตร์ชาติ นโยบาย ส�ำคัญของรัฐบาลได้ง่ายยิ่งขึ้น โดยสร้างความน่าติดตาม จากช่วงต่างๆ ของรายการ ได้แก่ ประมวลข่าวสารที่ทัน ต่อเหตุการณ์ปัจจุบัน ปฏิทินกิจกรรมในรอบสัปดาห์ บท
สัมภาษณ์ผู้บริหารภาครัฐและบุคคลส�ำคัญ สลับกับเพลง ฟังสบายๆ ก่อนจะน�ำผู้ฟังไปรับฟังข่าวภาคหลัก 19.00 น. ของทางสถานีฯ ซึ่งผู้ฟังสามารถเข้าถึงรายการย้อนหลังทาง Youtube โดยค้ น หาค� ำ ว่ า Thailand Outlook และ Facebook ของ Radio Thailand World Service จากการด�ำเนินงานที่ผ่านมาจวบจนปัจจุบันของส่วน กระจายเสี ย งต่ า งประเทศ สถานี วิ ท ยุ ก ระจายเสี ย งแห่ ง ประเทศไทย เราพร้ อ มมุ ่ ง มั่ น พั ฒ นาศั ก ยภาพด้ า นการ กระจายเสียงต่างประเทศ สู่ความเป็นเลิศด้านข่าว รายการ
และสาระบันเทิงอย่างไม่หยุดยั้ง โดยหวังว่าผู้ฟังทั้งชาวไทย และชาวต่ า งชาติ จ ะได้ รั บ ความรู ้ ความเข้ า ใจ และเกิ ด ทั ศ นคติ ที่ ดี ต ่ อ นโยบายรั ฐ สถาบั น ชาติ ศาสนา และ พระมหากษัตริย์ ต่อไป ภนิกษ์ณิชา ไกรฤกษ์
ANNUAL REPORT 2017
43
เติมรัก แต้มฝัน ปันสุข:
CSR ฝ่าสายฝน และลมหนาว ปลายเดือนธันวาคมก่อนสิ้นปี พ.ศ. 2560 รายการ ถนนดนตรี แ ละรายการแว่ ว หวานต� ำ นานเพลง ได้ รั บ มอบหมายให้ร่วมกันจัดกิจกรรมส่งท้ายปีเก่าต้อนรับปีใหม่ โดยมีแนวคิดเป็นกิจกรรมที่มีส่วนร่วมรับผิดชอบต่อสังคม ของ สวท. ถนนดนตรีจึงน�ำเสนอการจัดกิจกรรมเพื่อสังคม โดยร่วมกับกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของ มนุษย์ น�ำกลุ่มผู้สูงอายุ เด็กพิการ และด้อยโอกาส ซึ่งอยู่ใน ความดูแล มาร่วมกิจกรรม โดยมีการร่วมรับประทานอาหาร รั บ ชมดนตรี และทาง สวท.มี ก ารมอบของขวั ญ ให้ เ ป็ น ที่ระลึก
44
ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2 5 6 0
ANNUAL REPORT 2017
45
ในการจัดกิจกรรม “เติมรัก แต้มฝัน ปันสุข” สวท. พร้อมคลื่นพันธมิตร และเครือข่ายของผู้ด�ำเนินรายการของ สวท. ต่างพากันน�ำอาหาร เครื่องดื่ม ของขวัญ และการ แสดงมาร่วมกิจกรรมจ�ำนวนมาก อาทิ รายการแว่วหวาน ต�ำนานเพลง น�ำเสนอการแสดงของวงดนตรีกรมประชาสัมพันธ์ ซึ่งก็เป็นที่ชื่นชอบของกลุ่มผู้สูงอายุจากบ้านต่างๆ วงดนตรี ผู ้ พิ ก ารทางสายตา จากสมาคมดนตรี ค นตาบอดแห่ ง ประเทศไทย วงเอสทูเอส และรายการถนนดนตรีได้เชิญ วงดนตรีเพื่อครอบครัว โฮปแฟมมิลี่ ซึ่งมีความคุ้นเคยกับ เด็กๆ และเยาวชนจากบ้านต่างๆ มาร่วมแสดงดนตรี ใน ครั้งนี้ด้วย
46
ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2 5 6 0
บรรยากาศกิจกรรม “เติมรัก แต้มฝัน ปันสุข” ใน วันที่ 27 ธันวาคม 2560 ด�ำเนินไปพร้อมสภาพอากาศที่ แปรปรวน สายฝนได้โปรยปรายลงมาตลอดคืนก่อนวันงาน ต่อเนื่องมาตลอดทั้งวันจัดงาน พร้อมกับอากาศที่หนาวเย็น ได้กลับมาให้เราสัมผัสกันอีกระลอกในเมืองหลวง แน่นอน ว่าการเตรียมการเป็นไปอย่างทุลักทุเล โดยเฉพาะระบบ แสงเสียง เวที ที่ต้องท�ำงานกลางสายฝนที่พร�ำลงมาอย่าง ไม่ ข าดสาย ซุ ้ ม ร้ า นอาหารกว่ า 30 ร้ า น ที่ ม าร่ ว มงาน ทุกอย่างไม่เป็นไปตามแผนทีก่ ำ� หนดไว้ ต้องมีการปรับเปลีย่ น อย่างเร่งด่วน แต่ด้วยการอ�ำนวยการของท่าน ผอ.พิชญา เมื อ งเนาว์ (ต� ำ แหน่ ง ในขณะนั้ น ) และแรงสนั บ สนุ น ของ เจ้าหน้าที่ทุกฝ่าย โดยเฉพาะฝ่ายบริหาร ฝ่ายเทคนิค และ เจ้าหน้าที่ สวท. ทุกส่วนฝ่าย ที่ร่วมแรงร่วมใจกันในการ แก้ไขสถานการณ์ จนท�ำให้งาน “เติมรัก แต้มฝัน ปันสุข” ผ่านไปได้ด้วยดี
ANNUAL REPORT 2017
47
รอยยิ้ม ค�ำขอบคุณ และค�ำอวยพรของเหล่าผู้สูงอายุ เสียงร้องเพลง การลุกขึ้นเต้นร�ำ เสียงร้องเชียร์เพื่อนๆ ตอน ลุ้นการจับสลากของขวัญของเด็กๆ ท่ามกลางสายฝนและ ความหนาวเย็น แต่เราพวกเราชาว สวท. กลับรับรู้ได้แต่ ความรูส้ กึ อันอบอุน่ อิม่ เอมใจ และภาคภูมใิ จในสิง่ ทีไ่ ด้รว่ มกัน ท�ำเพื่อพวกเขาเหล่านั้น...
โดย พิณโญ รุ่งสมัย
48
ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2 5 6 0
“กรมประชาสัมพันธ์ : กล่อมขวัญคืนนาคร” นับตัง้ แต่วนั แรกทีพ่ วกเราชาววงดนตรีกรมประชาสัมพันธ์ ได้ ท ราบข่ า วว่ า สมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว ทรงพระกรุ ณ า โปรดเกล้าฯ ให้มีการจัดการแสดงดนตรีเฉลิมพระเกียรติ เพื่ อ น้ อ มร� ำ ลึ ก ถึ ง พระมหากรุ ณ าธิ คุ ณ และเผยแพร่ พระปรี ช าสามารถของพระบาทสมเด็ จ พระปรมิ น ทร- มหาภูมพิ ลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร อีกทัง้ เพือ่ พระราชทาน ความสุขแก่พสกนิกรชาวไทย พวกเราทุกคนล้วนเกิดความ
ปีติยินดีที่ได้รับเกียรติให้เป็นหนึ่งในวงดนตรีที่มีโอกาสเข้า ร่วมแสดงในครั้งนี้ หัวใจที่พร้อมจะน�ำพา “เสียงเพลง” อัน เป็นสื่อกลาง จึงได้หลอมรวมกันเพื่อ “กล่อมขวัญ” คืน ก�ำลังใจและมอบความสุขให้แก่ “นาคร” ซึ่งก็คือ พ่อแม่ พีน่ อ้ งประชาชนชาวไทยของเรา ให้เกิดความเข้มแข็ง ร่วมกัน ก้าวเดินต่อไป สู่การพัฒนาประเทศไทยให้มั่นคง มั่งคั่ง และ ยั่งยืน
“ฟังดนตรี อย่างมีความสุข” และ ร่วมถวายสักการะพระบรมราชานุสาวรีย์พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 ถวายสักการะพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลที่ 9 ณ พระลานพระราชวังดุสิต วันเสาร์ที่ 17 มิถุนายน 2560 เวลา 18.00 - 21.00 น. ANNUAL REPORT 2017
49
“..น้อมบังคมบรมบาท พระราชนิพนธ์พิลาส ประชาชาติประนมกร พระนครเรืองราม งามวสันตฤดู เป็นอยู่แต่ก่อนกาล งานค้างานขาย ก้าวไปในกระแส แง่งามอัตลักษณ์ ก้าวให้ถึงหลักชัย..” 50
ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2 5 6 0
ร่วมกล่อมขวัญทั่วกรุงโดย.. วงดนตรีกรมประชาสัมพันธ์ พร้อมศิลปินรับเชิญ อาทิ ธนิสร์ ศรีกลิ่นดี ศิลปินแห่งชาติ, มาริษา อมาตยกุล, อโศก สุขศิริพรฤทธิ์, ไชยา มิตรชัย, นนทิยา จิวบางป่า, รุ่ง สุริยา, แอน มิตรชัย, ชมพู ฟรุตตี้, โฉมฉาย อรุณฉาน และนักร้องประสานเสียง The Bangkok Voices ANNUAL REPORT 2017
51
52
ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2 5 6 0
ก�ำลังใจเต็มเปี่ยม จากท่าน อปส. พล.ท.สรรเสริญ แก้วก�ำเนิด และ ผอ.สวท.พิชญา เมืองเนาว์ (ปัจจุบันด�ำรงต�ำแหน่ง รปส.) ให้เกียรติมาร่วมรับชมการฝึกซ้อมอย่างเข้มข้นและอบอุ่นค่ะ ANNUAL REPORT 2017
53
ได้รับก�ำลังใจมากมายจากท่านผู้บริหารระดับสูง และชาวกรมประชาสัมพันธ์ ที่หัวใจทุกดวงล้วนเต็มเปี่ยมไปด้วยความภาคภูมิใจและความปีติยินดียิ่ง ส่วนบริหารการดนตรีต้องขอกราบขอบพระคุณ ณ โอกาสนี้ค่ะ
54
ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2 5 6 0
มงคลของชาวกรมประชาสัมพันธ์ : ความภาคภูมิใจอย่างหาที่สุดมิได้ ความสุขล้นเมื่อได้มีโอกาสแสดงดนตรีเฉลิมพระเกียรติ โดย ดร.นิตยา อรุณวงศ์ (โฉมฉาย อรุณฉาน) สุรีย์พร กร่างสะอาด ANNUAL REPORT 2017
55
เทคโนโลยีสารสนเทศ กับสื่อวิทยุกระจายเสียง
QR Code (คิวอาร์ โค้ด) คืออะไร ปั จ จุ บั น เรามั ก เห็ น สั ญ ลั ก ษณ์ เ ส้ น สี ด� ำ หั ก มุ ม แลดู ยึกยือในกรอบสี่เหลี่ยมพื้นสีขาว คล้ายกับเกมหาทางออก ปรากฏอยู่ในโฆษณาสินค้าในสื่อต่างๆ เช่น หนังสือพิมพ์ นิตยสาร ป้ายโฆษณา และนามบัตร สัญลักษณ์นี้เรียกว่า คิวอาร์โค้ด ซึ่งซ่อนความหมาย และรายละเอียดที่ต้องการ แสดงเอาไว้ ผู้ประกอบการบางราย ก็จะท�ำลิงก์ไว้ภายใน คิวอาร์โค้ดเพื่อให้เข้าเว็บไซต์ของบริษัทได้ทันที QR Code (คิวอาร์ โค้ด) คือ สัญลัก ษณ์สี่ เ หลี่ ย ม ที่เ ริ่มเห็ น แพร่ ห ลายในบ้านเรามากขึ้น ไม่ว่าจะเป็ นจาก หนังสือพิมพ์หรือนิตยสาร เรียกว่า QR Code (คิวอาร์ โค้ด) ย่อมาจาก Quick Response (ควิ๊ก เรสปอน) เป็น บาร์โค้ด 2 มิติ ที่มีต้นก�ำเนิดมาจากประเทศญี่ปุ่น โดยบริษัท DensoWave (เดนโซ-เวฟ) ตั้งแต่ปี 1994
56
ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2 5 6 0
คุณสมบัติของ QR code คือ เป็นสัญลักษณ์แทน ข้อมูลต่างๆ ที่มีการตอบสนองที่รวดเร็ว ซึ่งส่วนใหญ่จะน�ำ มาใช้กับสินค้า สื่อโฆษณาต่างๆ เพื่อให้ข้อมูลเพิ่มเติม หรือ จะเป็น URL (ยูอาร์แอล) เว็บไซต์ เมื่อน�ำกล้องของโทรศัพท์ มือถือไปถ่าย QR Code ก็จะเข้าสูเ่ ว็บไซต์ได้ทนั ทีโดยไม่ตอ้ ง เสียเวลาพิมพ์
ประโยชน์ของ QR Code เราสามารถน�ำ QR Code มาประยุกต์ใช้ได้หลาก หลายรูปแบบ เช่น แสดง URL ของเว็บไซต์, ข้อความ, เบอร์ โทรศัพท์ และข้อมูลที่เป็นตัวอักษรได้อีกมากมาย ปัจจุบัน QR Code ถู ก น� ำ ไปใช้ ใ นหลายๆ ด้ า น เนื่ อ งจากความ รวดเร็ว เพราะทุกวันนีค้ นส่วนใหญ่จะมีมอื ถือกันทุกคน และ มื อ ถื อ เดี๋ ย วนี้ ก็ มี ก ล้ อ งเกื อ บทุ ก รุ ่ น แล้ ว ประโยชน์ ที่ เ ห็ น
ได้ชัดที่สุดของ QR Code คือการแสดง URL ของเว็บไซต์ เพราะ URL โดยปกติแล้วจะจดจ�ำยากเพราะยาว และบางที ก็จะซับซ้อนมาก แต่ด้วย QR Code เราเพียงแค่ยกมือถือ มาสแกน QR Code ที่ เ ราพบเห็ น ตามผลิ ต ภั ณ ฑ์ ต ่ า งๆ, นามบัตร, นิตยสาร ฯลฯ แล้วมือถือ จะลิ้งค์เข้าเว็บเพจที ่ QR Code นั้นๆ บันทึกข้อมูลอยู่โดยอัตโนมัติ จะเห็นได้ว่า QR Code ได้ เ ข้ า มามี ส ่ ว นร่ ว มในชี วิ ต ประจ� ำ วั น ใน ยุคปัจจุบันอย่างมาก ไม่ใช่มีแค่การสแกนแล้วเป็นเว็บไซต์ หรือข้อมูลสินค้า ในที่นี้ QR Code ยังสามารถสแกนเพื่อ ช�ำระเงินได้ด้วย ซึ่งถือเป็นการช�ำระเงินในรูปแบบใหม่อีก ด้วยเข้าเว็บไซด์ SCAN QR CODE ซื้อสินค้าโอนเงิน
QR Code กับสื่อวิทยุกระจายเสียง สถานี วิ ท ยุ ก ระจายเสี ย งแห่ ง ประเทศไทย เป็ น สื่ อ ของรั ฐ มี ห น้ า ที่ ป ระชาสั ม พั น ธ์ เผยแพร่ ข้ อ มู ล ข่ า วสาร ความรู้ และสร้างความเข้าใจระหว่างรัฐกับประชาชน ได้ เห็ น ถึ ง ความส� ำ คั ญ การน� ำ คิ ว อาร์ โ ค้ ด (QR Code) มา ประยุกต์ใช้กับการเผยแพร่ รายการ ข้อมูล ข่าวสาร โดยน�ำ คิ ว อาร์ โ ค้ ด (QR Code) มาใช้ ป ระโยชน์ กั บ การเข้ า ถึ ง เว็ บ ไซต์ เฟสบุ ๊ ค ยู ทู ป และทวิ ต เตอร์ ของสถานี วิ ท ยุ กระจายเสียงแห่งประเทศไทย เพื่อให้เข้าถึงข้อมูลข่าวสาร ได้ง่ายสะดวก และรวดเร็วยิ่งขึ้น
ANNUAL REPORT 2017
57
คิวอาร์โค้ด (QR Code) สามารถเข้าถึงสถานีวิทยุ- กระจายเสียงแห่งประทศไทยได้ 6 ช่องทาง
เฟสบุ๊ค สถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งประไทย @radiothailand
ทวิตเตอร์ สถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทย https://twitter.com/Radiothailand23
เฟสบุ๊ค radiothailandlive @radiothailandlive
วิทยุออนไลน์ Radio On Mobile (android)
ยูทูป RADIO THAILAND PRD
58
ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2 5 6 0
เว็บไซต์ http://nbt.prd.go.th
เทคโนโลยีสารสนเทศ กับวิทยุกระจายเสียง สื่อวิทยุกระจายเสียงเป็นสื่อดั้งเดิมที่มีมาเป็นระยะ เวลาอันยาวนาน เป็นการกระจายเสียงระบบอนาล็อกทัง้ การ กระจายเสี ย งระบบเอเอ็ ม และระบบเอฟเอ็ ม ซึ่ ง เป็ น การส่งกระจายเสียงภาคพื้น (Terrestrial Broadcasting) ด้วยข้อจ�ำการส่งวิทยุกระจายเสียงมีเขตให้บริการรับฟังที่ จ�ำกัด โดยสัญญาณของเครื่องส่งวิทยุ เอเอ็ม (Ampiltude Modulation) เป็นการส่งแบบคลื่นดิน (Ground wave) จะ ส่งสัญญาณคลื่นความถี่วิทยุไปได้ประมาณ 150 กิโลเมตร และระบบเอฟเอ็ ม (Frequency Modulation) เป็ น ส่ ง คลื่ น ระยะสายตาหรื อ Direct Wave สั ญ ญาณคลื่ น
ความถี่ไปไกลสุดประมาณ 60 กิโลเมตร เมื่อสิ้นสุดระยะ เขตบริการก็จะไม่สามารถรับฟังรายการวิทยุของสถานีนั้นได้ ปั จ จุ บั น ระบบเทคโนโลยี ส ารสนเทศ มี ก ารพั ฒ นา ไปได้อย่างรวดเร็ว ทั้งระบบคอมพิวเตอร์ ระบบเชื่อมโยง โครงข่ า ยการให้ บ ริ ก าร บริ ก ารบรอดแบนด์ ค วามเร็ ว สู ง แบบใช้สาย (Fiber optic) และไม่ใช้สาย (Wireless) 3G 4GLTE, ระบบการให้บริการ Clould และอืน่ ๆ มีการพัฒนา อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง ท� ำ ให้ ร ะบบเทคโนโลยี ส ารสนเทศมี ค วาม ส�ำคัญอย่างมากในปัจจุบันและอนาคต สามารถรองรับการ ให้บริการในรูปแบบมัลติมีเดีย เทค เสียง ภาพ และวิดีโอ
ANNUAL REPORT 2017
59
เทคโนโลยี ก ารให้ บ ริ ก ารบรอดแบนด์ ค วามเร็ ว สู ง มี เ ชื่ อ ม ระบบโครงข่ า ยกั บ ผู ้ ใ ห้ บ ริ ก ารโทรศั พ ท์ เ คลื่ อ นที่ Smart Phone และ Talet ซึ่งเป็นอุปกรณ์พกพาติดตัว ส�ำหรับ สื่อสารแบบเข้าถึงตัวบุคคลได้ ทุกที่ ทุกเวลา ทุกสถานที่ และเป็นการสื่อสารแบบสองทาง จึงมีข้อดีและข้อได้เปรียบ กว่ า การส่ ง กระจายเสี ย งระบบอนาล็ อ ก เอเอ็ ม เอฟเอ็ ม ในแบบเดิม สถานี วิ ท ยุ ก ระจายเสี ย งแห่ ง ประเทศไทย จึ ง เห็ น ความส�ำคัญของการพัฒนาการส่งกระจายเสียงผ่านวงจร โครงข่ายบรอดแบนด์ ซึ่งสามารถให้บริการส่งข้อมูลข่าวสาร ไปสู่ประชาชนได้อย่างทั่วถึง ไม่ข้อมีข้อจ�ำกัดด้านระยะทาง เขตการให้บริการ สามารถรับฟังได้ทั่วโลก จะฟังรายการสด หรือฟังย้อนหลังได้ไม่ขดี จ�ำกัดเรือ่ งเวลา ผ่านสือ่ โซเชียลมีเดีย เพี ย งมี คู ่ ส ายอิ น เทอร์ เ น็ ต WIFI หรื อ สั ญ ญาณโครงข่ า ย โทรศัพท์เคลื่อนที่ ก็สามารถเข้าถึงข้อมูลข่าวสารแบบเข้าถึง ตัวบุคคล และเป็นการสื่อสารแบบสองทาง (Two Way) ผู้ฟังสามารถร่วมแสดงความคิดเห็นผ่านโซเชียลมีเดียได้ทุก ที่ ทุกเวลา ผ่านอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ (Pc) Smart Phone และ Talet ปั จ จุ บั น สถานี วิ ท ยุ ก ระจายเสี ย งแห่ ง ประเทศไทย มี ก ารบริ ก ารกระจายเสี ย งบอร์ ด แบนด์ ผ่ า นโซเชี ย ล (Socail Media) 6 รูปแบบประกอบไปด้วย
- เฟสบุ๊ค สถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทย @radiothailand
- เฟสบุ๊ค Radio Thailand Live @radiothailandlive
- ทวิตเตอร์ https://twitter.com/RadioThailand23
- ยูทูป RADIO THAILAND PRD
- เว็บไซด์ สถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทย http://nbt.prd.go.th - วิทยุ Radio On Mobile (android) http://nbt.prd.go.th/r_live/bkk/bkk925.html
60
ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2 5 6 0
ฝ่ายเทคโนโลยีสารสนเทศ สถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทย
กิจกรรมเด่น สถานีวทิ ยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทย ลูกทุง่ สามัคคี สถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทย วันที่ 15 พฤษภาคม 2560
62
ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2 5 6 0
ANNUAL REPORT 2017
63
64
ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2 5 6 0
สวดมนต์ขา้ มปี สถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทย วันที่ 31 ธันวาคม 2560
ANNUAL REPORT 2017
65
ไหว้ครูดนตรี สถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทย วันที่ 3 สิงหาคม 2560
66
ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2 5 6 0
ANNUAL REPORT 2017
67
กล่อมขวัญคืนนาคร ณ พระลานพระราชวังดุสิต วันเสาร์ที่ 17 มิถุนายน 2560
68
ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2 5 6 0
ANNUAL REPORT 2017
69
70
ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2 5 6 0
กล่อมขวัญคืนนาคร ANNUAL REPORT 2017
71
72
ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2 5 6 0
ANNUAL REPORT 2017
73
74
ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2 5 6 0
ทีมงาน สถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทย
ส่วนกระจายเสียงในประเทศ
ส่วนกระจายเสียงต่างประเทศ ANNUAL REPORT 2017
75
ส่วนสื่อข่าวและผลิตรายการข่าว
ส่วนผลิตรายการ 76
ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2 5 6 0
ส่วนบริหารการดนตรี
ส่วนเทคนิค ANNUAL REPORT 2017
77
ส่วนแผนงานและพัฒนางานประชาสัมพันธ์
สถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทยเพื่อการศึกษา 78
ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2 5 6 0
สวศ.กรุงเทพฯ (รังสิต)
ส่วนสถานีเครื่องส่ง 1000 กิโลวัตต์
ฝ่ายบริหารทั่วไป ANNUAL REPORT 2017
79
จัดทำ�โดย สถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทย กรมประชาสัมพันธ์ สำ�นักนายกรัฐมนตรี