แผนการจัดการเรี ยนรู้ ท่ ี 2 หน่ วยการเรี ยนรู้ ท่ ี 9 การแสดงนาฏศิลป์ เรื่ อง นาฏศิลป์พืน้ บ้ าน
ชัน้ มัธยมศึกษาปี ที่ 1
เวลา 2 ชั่วโมง
สาระสาคัญ / ความคิดรวบยอด ศิลปะการแสดงของไทยมีความหลากหลาย มีแบบฉบับและเอกลักษณ์เฉพาะทั ้งเนื ้อร้ อง ทานองเพลง การแต่ง กาย และลีลาท่าราของแต่ละภาคนั ้นๆ ที่สามารถสือ่ ความหมายของเรื่องราว ค่านิยม ศาสนา ประเพณี พิธีกรรม วิถีชีวิต และการประกอบอาชีพของชุมชนนั ้นๆ
ตัวชีว้ ัด / จุดประสงค์ การเรี ยนรู้ ตัวชีว้ ัด ศ 3.1 ม.1/3 แสดงนาฏศิลป์และละครในรูปแบบง่ายๆ จุดประสงค์ การเรี ยนรู้ 1. บอกความเป็ นมาของนาฏศิลป์พื ้นบ้ านแต่ละภาคได้ 2. จาแนกการแสดงนาฏศิลป์พื ้นบ้ านได้
สาระการเรี ยนรู้ สาระการเรี ยนรู้ แกนกลาง รูปแบบการแสดงนาฏศิลป์ - นาฏศิลป์พื ้นบ้ าน
สมรรถนะสาคัญของผู้เรี ยน ความสามารถในการคิด - ทักษะการคิดวิเคราะห์ - ทักษะการคิดสร้ างสรรค์
ความสามารถในการใช้ ทักษะชีวิต - กระบวนการปฏิบต ัิ - กระบวนการทางานกลุม ่
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1. มีวินยั 2. ใฝ่ เรี ยนรู้ 3. รักความเป็ นไทย
กิจกรรมการเรียนรู้ (วิธีสอนโดยการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ : เทคนิคการต่อเรื่องราว (Jigsaw))
ชัว่ โมงที่ 1-2 1. ครูทบทวนและเล่าเรื่องประเพณี วัฒนธรรมของแต่ละท้ องถิ่นให้ นกั เรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับประเพณี
วัฒนธรรม ที่มีอิทธิพลของนาฏศิลป์พื ้นบ้ านและแสดงถึงเอกลักษณ์ของท้ องถิ่นนั ้นๆ เช่น การแต่งกาย การแสดงดนตรี การร้ อง สถานที่แสดง และโอกาสที่ ใช้ ในการแสดง 2. ครูอภิปรายสรุปในประเด็นที่นกั เรียนแสดงความคิดเห็น 3. นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 4 คน กาหนดหมายเลขให้ สมาชิกแต่ละคน ตั ้งแต่หมายเลข 1-4 ซึง่ เรียกกลุม ่ นี ้ว่า กลุม่ บ้ าน
จากนั ้นให้ สมาชิกแต่ละกลุม่ ที่มีหมายเลขเดียวกันไปรวมกลุม่ ใหม่ เรียกว่า กลุม่ ผู้เชี่ยวชาญ แล้ วให้ แต่ละกลุม่ ศึกษา ความรู้ ดังนี ้ - หมายเลข 1
ศึกษาความรู้เรื่อง การแสดงพื ้นบ้ านภาคเหนือ “ชุดฟ้อนเงี ้ยว”
- หมายเลข 2
ศึกษาความรู้เรื่อง การแสดงพื ้นบ้ านภาคอีสาน “ชุดเซิ ้งกระติบข้ าว”
- หมายเลข 3
ศึกษาความรู้เรื่อง การแสดงพื ้นบ้ านภาคกลาง “ชุดราเหย่ย”
- หมายเลข 4
ศึกษาความรู้เรื่อง การแสดงพื ้นบ้ านภาคใต้ “ชุดรองเง็ง”
4. เมื่อนักเรียนแต่ละหมายเลขศึกษาความรู้ที่ได้ รับมอบหมายจนเข้ าใจแล้ ว ให้ กลับมาที่กลุม ่ บ้ าน จากนั ้นให้ แต่ละ
หมายเลขอธิบายความรู้ ให้ สมาชิกหมายเลขอื่นๆ ฟั ง จนเข้ าใจตรงกัน 5. ครูเตรียมกล่อง 4 กล่อง แต่ละกล่องติดภาคทั ้ง 4 ภาคให้ นกั เรียนสามารถมองเห็นชื่อภาคได้ ชด ั เจน จากนั ้นครูแจก
กระดาษให้ แต่ละกลุม่ กลุม่ ละ 1 สี (ไม่ซ ้ากัน) ให้ แต่ละกลุม่ เขียนชื่อการแสดงของแต่ละภาคให้ ได้ มากที่สดุ แล้ วให้ นาไป หย่อนลงในกล่อง
6. ครูเปิ ดกล่องเพื่อนับคะแนน จากนั ้นรวบรวมคะแนน ครูประกาศผลและชื่นชมกลุม ่ ที่ได้ คะแนนสูงสุด และให้ กาลังใจ
กลุม่ ที่ได้ คะแนนน้ อย 7. ครูให้ นักเรียนดูซีดีการแสดงนาฏศิลป์พื ้นบ้ านของภาคต่างๆ โดยให้ นกั เรี ยนสังเกตเครื่องแต่งกายและเพลงที่ใช้ ในการ
แสดงของแต่ละภาคว่า มีความแตกต่างกันอย่างไร แล้ วให้ แต่ละกลุม่ สรุปจดลงในสมุด 8. ครู สม ุ่ เรี ยกนักเรียนประมาณ 2-3 กลุม่ ออกมานาเสนอผลการสรุปหน้ าชั ้นเรียน 9. ครูให้ นักเรียนทาใบงานที่ 2.1 เรื่อง นาฏศิลป์พื ้นบ้ าน โดยให้ นกั เรียนสรุปความรู้เกี่ยวกับการแสดงนาฏศิลป์ของแต่ละ
ภาค 10. ครูและนักเรี ยนร่ วมกัน กาหนดระยะเวลาในการส่งผลงาน 11. ครูและนักเรี ยนช่วยกันสรุปความรู้เกี่ยวกับนาฏศิลป์พื ้นบ้ าน
การวัดผลและประเมินผล
วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์ ตรวจใบงานที่ 2.1 ใบงานที่ 2.1 ร้ อยละ 60 ผ่านเกณฑ์ ประเมินการนาเสนอผลงาน แบบประเมินการนาเสนอผลงาน ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์ สังเกตพฤติกรรมการทางานกลุม่ แบบสังเกตพฤติกรรมการทางานกลุม่ ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์
สือ่ / แหล่งการเรียนรู้ สือ่ การเรียนรู้ 1. หนังสือเรี ยน ดนตรี - นาฏศิลป์ ม.1 2. กล่อง กระดาษสี 3. ซีดีการแสดงนาฏศิลป์พื ้นบ้ าน 4. ใบงานที่ 2.1 เรื่อง นาฏศิลป์พื ้นบ้ าน
แหล่งการเรี ยนรู้ 1. ห้ องสมุด 2. แหล่งข้ อมูลสารสนเทศ - www.aksorn.com/LC/Mu&Pa/M1/23