นางสาว วิลยั พร พิณพงษ์ รหัสนักศึกษา ๕๗๑๐๑๑๑๒๑๙๐๐๙ สาขาวิชา นาฏศิลป์ ไทย ชั้นปี ที่ ๔
คานา รายงานเล่มนี้เป็ นส่ วนหนึ่ งของวิชานวัตกรรมทางนาฏศิลป์ ไทยจัดทาขึ้นเพื่อให้ผูอ้ ่านได้ ศึกษา ความรู ้เกี่ยวกับภูมิปัญญาผ้าไหมแพรวาผูจ้ ดั ทาหวังว่าจะให้ความรู ้และประโยชน์แก่ผอู ้ ่าน ถ้าผิดพลาดประการใด ขออภัยไว้ ณ โอกาสนี้
This report is part of Thai Dramatic Arts Innovation, designed for readers to study. Knowledge of Wisdom, Silk, Praewa, Worshipers hope to provide knowledge and benefit to readers. If this is the case, please forgive me.
วิลยั พร พิณพงษ์ ผู้จัดทา
สารบัญ เรื่ อง
หน้ า
บทที่ ๑ ประวัตคิ วามเป็ นมาผ้ าไหมแพรวา
๑
แบบฝึ กหัดก่อนเรี ยน บทที่ ๑
๒
แบบฝึ กหัดหลังเรี ยน บทที่ ๑
๕
บทที่ ๒ ลวดลายผ้ าไหมแพรวาและกรรมวิธีการทอผ้ า
๖
แบบฝึ กหัดก่อนเรี ยน บทที่ ๒
๗
แบบฝึ กหัดหลังเรี ยน บทที่ ๒
๑๑
บทที่ ๓ การทอในปัจจุบัน
๑๒
แบบฝึ กหัดก่อนเรี ยน บทที่ ๓
๑๓
แบบฝึ กหัดหลังเรี ยน บทที่ ๓
๑๕
บทที่ ๔ แหล่งผลิตผ้ าไหมแพรวาทีส่ าคัญในประเทศไทย
๑๖
แบบฝึ กหัดก่อนเรี ยน บทที่ ๔
๑๗
แบบฝึ กหัดหลังเรี ยน บทที่ ๔
๑๙
สรุปเนื้อหา
๒๐
๑
บทที่ ๑ ประวัติความเป็นมาผ้าไหมแพรวา
๒ แบบฝึ กหัดก่อนเรียน บทที่ ๑ ๑. ผ้าไหมแพรวาเป็ นเอกลักษณ์ของชาวกลุ่มใด ก. ชาวม้ง
ข.ชาวภูไท
ค. ชาวเขา
ง. ชาวดอย
๒. ผ้าไหมแพรวาเกิดขึ้นครั้งแรกที่อาเภอใดและจังหวัดใด ก. อาเภอสมเด็จ จังหวัดกาฬสิ นธุ์ ข. อาเภอห้วยผึ้ง จังหวัดกาฬสิ นธุ์ ค. อาเภอกมลาไสย จังหวัดกาฬสิ นธุ์ ง. อาเภอคาม่วง จังหวัดกาฬสิ นธุ์ ๓. ผ้าไหมแพรวา ความหมายรวมกันว่าอย่างไร ก. ขนาดความยาว ๑ วา หรื อ ๑ ช่วงแขน ข. ขนาดความยาว ๒ วา หรื อ ๒ ช่วงแขน ค. ขนาดความยาว ๓ วา หรื อ ๓ ช่วงแขน ง. ขนาดความยาว ๔ วา หรื อ ๔ ช่วงแขน ๔. สมเด็จพระนางเจ้าฯพระบรมราชินีนาถ เสด็จเยีย่ มพสกนิกรชาวอาเภอคาม่วง เมื่อปี พ.ศ. ใด ก. พ.ศ. ๒๕๒๒
ข. พ.ศ. ๒๕๒๑
ค. พ.ศ. ๒๕๒๐
ง. พ.ศ. ๒๕๑๙
๓ แพรวา หรื อ ผ้าไหมแพรวาเป็ นผ้าทอมืออันเป็ นเอกลักษณ์ของชาวผูไ้ ทยหรื อภูไท การทอผ้าแพรวา มี ม าพร้ อ มกับ วัฒ นธรรมของชาวภู ไ ท ซึ่ งเป็ นชนกลุ่ ม หนึ่ ง มี ถิ่ น ก าเนิ ด ในบริ เ วณแคว้น สิ บ สองจุ ไ ทย (ดิ นแดนส่ วนเหนื อของลาว และ เวียดนาม ซึ่ งติ ดต่อกับดิ นแดน ภาคใต้ของจี น) อพยพเคลื่ อนย้ายผ่านเวียดนาม ลาว แล้วข้ามฝั่ ง แม่น้ าโขงเข้ามาตั้งหลักแหล่งอยูแ่ ถบเทือกเขาภูพานทางภาคอีสาน ของไทย ซึ่ งส่ วนใหญ่อยูใ่ นจังหวัดกาฬสิ นธุ์ นครพนม มุกดาหาร สกลนคร โดยยังคงรั กษาวัฒนธรรมประเพณี ความเชื่ อ การแต่ง กาย และการทอผ้าไหมที่มีภูมิปัญญาในการทอด้วยการเก็บลายจาก การเก็บขิด และการจก ที่มีลวดลายโดดเด่น ที่มีภูมิปัญญาที่ได้รับ การถ่ายทอดมาจาก บรรพบุรุษและพัฒนามาอย่างต่อเนื่ อง ผ้าแพร วาจึงเปรี ยบเสมือนเป็ นสัญลักษณ์ของกลุ่มชนที่สืบเชื้อสายมาจาก กลุ่มภูไท
ผ้าแพรวามีความหมายรวมกันว่า ผ้าทอเป็ นผืนที่มีขนาดความยาว ๑ วา หรื อ ๑ ช่วงแขน ใช้สาหรับ คลุมไหล่หรื อห่ มสไบเฉี ยงที่เรี ยกว่าผ้าเบี่ยงของชาวผูไ้ ทย ซึ่ งใช้ในโอกาสที่มีงานเทศกาลบุญประเพณี หรื อ งานสาคัญอื่นๆ โดยประเพณี ทางวัฒนธรรมของหญิงสาวชาวภูไทจะต้องยึดถือปฏิบตั ิคือ จะต้องตัดเย็บผ้ า ทอ ๓ อย่างคือ เสื้ อดา ตาแพร (หมายถึงการทอผ้าแพรวา) ซิ่ นไหม ผ้าแพรวานิ ยมทอด้วยไหมทั้งผืน มีสีสัน ลวดลาย ที่หลากหลายนับเป็ นผ้าไทยอีกรู ปแบบหนึ่ ง ที่ได้นบั ความนิ ยมสู ง ในหมู่ผนู ้ ิ ยมผ้าไทยทั้งที่อยู่ใน ประเทศและต่างประเทศ โดยเฉพาะที่บา้ นโพน อาเภอคาม่วง จังหวัดกาฬสิ นธุ์เป็ นจังหวัดที่มีการทอผ้าไหม แพรวาที่งดงามและมีชื่อเสี ยง
๔ ผ้าแพรวาได้รับการสนับสนุ นและส่ งเสริ มจากโครงการศูนย์ศิลปาชี พพิเศษในสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชิ นีนาถ เมื่อครั้งเสด็จเยี่ยมพสกนิ กรชาวอาเภอคาม่วง เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๒๐ ได้ทอดพระเนตรเห็น ชาวภูไท บ้านโพน แต่งตัวโดยใช้ผา้ แพรวาห่ มตามแบบสไบเฉี ยง หรื อเรี ยกว่า ผ้าเบี่ยง ได้ทรงสนพระทัย มากจึงโปรดให้มีการสนับสนุ น และได้มีพระราชดาริ ให้ขยายหน้าผ้าให้กว้างขึ้น เพื่อที่จะได้นาไปใช้เป็ นผ้า ผืนสาหรับตัดเสื้ อผ้าได้ อีกทั้งพัฒนาลวดลายให้เหมาะสมตามความต้องการของตลาด การพัฒนาการทอผ้า แพรวาเกิดขึ้นเพราะพระบารมีของสมเด็จพระนางเจ้า ฯ พระบรมราชินีนาถที่ได้ทรงทอดพระเนตรเห็นความ งาม และคุณค่าแห่งศิลปะชิ้นนี้ในครั้งนั้น
ลักษณะการแต่งกายของของชาวภูไทจะแต่งกายด้วยเสื้ อสี ดา แถบแดง ห่มผ้าเบี่ยง (แพรวา)
The costumes of the Phu Tai people are dressed in black and red striped shirt (Praewa).
นุ่งผ้าไหมมัดหมี่สีค่อนข้างเข้มโทนดาต่อตีนซิ่ น Mudmee silk is a darker color than black.
๕ แบบฝึ กหัดหลังเรียน บทที่ ๑ ๑. ผ้าไหมแพรวาเป็ นเอกลักษณ์ของชาวกลุ่มใด ก. ชาวม้ง
ข.ชาวภูไท
ค. ชาวเขา
ง. ชาวดอย
๒. ผ้าไหมแพรวาเกิดขึ้นครั้งแรกที่อาเภอใดและจังหวัดใด ก. อาเภอสมเด็จ จังหวัดกาฬสิ นธุ์ ข. อาเภอห้วยผึ้ง จังหวัดกาฬสิ นธุ์ ค. อาเภอกมลาไสย จังหวัดกาฬสิ นธุ์ ง. อาเภอคาม่วง จังหวัดกาฬสิ นธุ์ ๓. ผ้าไหมแพรวา ความหมายรวมกันว่าอย่างไร ก. ขนาดความยาว ๑ วา หรื อ ๑ ช่วงแขน ข. ขนาดความยาว ๒ วา หรื อ ๒ ช่วงแขน ค. ขนาดความยาว ๓ วา หรื อ ๓ ช่วงแขน ง. ขนาดความยาว ๔ วา หรื อ ๔ ช่วงแขน ๔. สมเด็จพระนางเจ้าฯพระบรมราชิ นีนาถ เสด็จเยีย่ มพสกนิกรชาวอาเภอคาม่วง เมื่อปี พ.ศ. ใด ก. พ.ศ. ๒๕๒๒
ข. พ.ศ. ๒๕๒๑
ค. พ.ศ. ๒๕๒๐
ง. พ.ศ. ๒๕๑๙
๖
บทที่ ๒ ลวดลายผ้าไหมแพรวาและกรรมวิธีการทอ
๗ แบบฝึ กหัดก่อนเรียน บทที่ ๒ ๑. ผ้าแซ่ว คือผ้าอะไร? ก. ลวดลายของผ้า
ข. ผ้าซิ่ น
ค. ผ้าขนาดยาว
ง. ผ้าไหม
๒. ผ้าแซ่ว มีขนาดเท่าใด? ก. ขนาด ๒๖×๔๐ เซนติเมตร
ข. ขนาด ๒๘×๕๐ เซนติเมตร
ค.ขนาด ๒๕×๓๐ เซนติเมตร
ง. ขนาด ๒๒×๔๐ เซนติเมตร
๓. ลวดลายผ้าไหมแพรวาประกบด้วยตัวลายทั้งหมดกี่ส่วน อะไรบ้าง ก. ประกอบด้วย ๒ ส่ วน คือ ลายนอก ลายใน ข. ประกอบด้วย ๑ ส่ วน คือ ลายหลัก ค. ประกอบด้วย ๔ ส่ วน คือ ลายนอก ลายหลัก ลายใน ลายคัน่ ง. ประกอบด้วย ๓ ส่ วน คือ ลายหลัก ลายคัน่ ลายช่อปลายเชิง หรื อ ลายเชิงผ้า ๔. ผ้าแพรวาลายล่วง มีลกั ษณะอย่างไร ก. ผ้าแพรวาที่มีลวดลายและสี สันหลายสี เกาะเกี่ยวพันกันไป ข. ผ้าแพรวาที่มีลวดลายเรี ยบง่าย มีสองสี สี หนึ่งเป็ นสี พ้นื ส่ วนอีกสี เป็ นลวดลาย ค. ผ้าแพรวาที่มีลายดอกขนาดใหญ่ ง. ผ้าแพรวาลายล่วงที่มีการเพิ่มความพิเศษโดยการจกเพิ่มดอกเข้าไปในลายล่วงบนผืนผ้า ๕.
เป็ นผ้าแพรวาประเภทใด?
ก. ผ้าแพรวาลายกระจก
ข. ผ้าแพรวาลายล่วง
ค. ผ้าแพรวาลายเกาะ
ง. ผ้าแพรว่าลายขิด
๘ ลวดลายผ้าแพรวานับเป็ นผ้ามรดกของครอบครัว โดยในแต่ละ ครั ว เรื อ น จะมี ผ้ า แซ่ ว ซึ่ งเป็ นผ้า ไหมส่ ว นใหญ่ ท อพื้ น สี ข าว ขนาด ประมาณ ๒๕×๓๐ เซนติเมตร มีลวดลายต่าง ๆ เป็ นต้นแบบลายดั้งเดิ ม แต่โบราณที่ทอไว้บนในผืนผ้าเป็ นแม่แบบดั้งเดิ มที่สืบต่อมาจากบรรพ บุรุษ บนผ้าแซ่วผืนหนึ่งๆมีอาจลวดลายมากถึงประมาณกว่าร้อยลาย การ ทอผ้าจะดู ลวดลายจากต้นแบบในผ้าแซ่ วโดยจะจัดวางลายใดตรงส่ วน ไหน หรื อให้สีใดขึ้นอยูก่ บั ความต้องการของผูท้ อ เกิดเป็ นเอกลักษณ์ของ ผ้าแพรวาจากการวางองค์ประกอบของลวดลายต้นแบบและการให้สีสัน ของผูท้ อ ลวดลายของแพรวามีลกั ษณะคล้ายคลึ งกับลายขิดอีสาน แตกต่างกันอยูบ่ า้ งที่ ความหลากหลายของ สี สันในแต่ละลวดลาย แต่มีลกั ษณะรวมกันคือ ลายหลักมักเป็ นรู ปสี่ เหลี่ยมขนมเปี ยกปูน ซึ่ งเป็ นโครงสร้าง พื้นฐานของลายผ้า ส่ วนสี สันบนผ้าแพรวาแต่เดิมนิ ยมพื้นสี แดงคล้ าย้อมด้วยครั่ง มีลายจกสี เหลือง สี น้ าเงิ น สี ขาว และสี เขียวเข้มกระจายทั้งผืนผ้าสอดสลับในแต่ละลายแต่ละแถว ลวดลายที่ปรากฏบนผ้ าทอแพรวาที่ถือว่ าเป็ นเอกลักษณ์ ของผ้ าประเภทนี้ จะประกอบด้ วยตัวลาย ทั้งหมด 3 ส่ วน ดังนี้ ๑. ลายหลัก คือ ลายที่มีขนาดใหญ่ ซึ่ งปรากฏอยูใ่ นพื้นที่ส่วนใหญ่ของลายผ้าในแนวนอน ลายหลัก แต่ละลายมีความกว้างของลายสม่าเสมอกัน คือกว้างประมาณแถวละ ๘-๑๒ เซนติเมตร ใน แพรวาผืนหนึ่งๆ จะมี ล ายหลัก ประมาณ ๑๓ แถว ลายหลัก ต่ า งๆ เช่ น ลายนาค สี่ แ ขน ลายพัน ธุ์ ม หา ลายดอกสา ฯลฯ ส่ วนประกอบสาคัญของลายหลัก คือ ลายนอก ลายใน และ ลายเครื อ ๑.๑ ลายนอก คือส่ วนที่มีลกั ษณะเป็ นตารางสามเหลี่ยม ประกอบสองข้างของลายใน มี ลวดลายครึ่ งหนึ่งของลายในตลอดความกว้างของผืนผ้า ๑.๒ ลายใน คือส่ วนที่อยูต่ รงกลางของแถวหลัก มีลวดลายเต็มรู ปอยูใ่ นกรอบสี่ เหลี่ยม ขนม เปี ยกปูนตลอดความกว้างของผืนผ้าเช่นกัน ๑.๓ ลายเครื อ คือส่ วนที่อยูใ่ นกรอบแถวบนของกรอบสี่ เหลี่ยมขนมเปี ยกปูนในแต่ละแนว มีก่ ึงกลางของลายหลักเป็ นส่ วนยอดของลายเครื อ ๒. ลายคั่น หรื อลายแถบ คื อ ลายที่มีขนาดเล็กอยู่ในแนวขวางผืนผ้า ความกว้างของลายประมาณ ๔ -๖ เซนติเมตร ทาหน้าที่เป็ นตัวแบ่งลายใหญ่ออกเป็ นช่ วงสลับกันไป เช่ น ลายตาไก่ ลายงู ลอย ลายขาเข ฯลฯ ๓. ลายช่ อปลายเชิ ง หรื อลายเชิ งผ้ า คือลายที่ปรากฏอยู่ตรงช่ วงปลายของผ้าทั้งสองข้าง ทอติดกับ ลายคัน่ ท าหน้า ที่ เป็ นตัวเริ่ มและตัวจบของลายผ้า มี ความกว้า งประมาณ ๔-๑๐ เซนติ เมตร เช่ น ลายช่ อ ขันหมาก ลายดอกบัวน้อย ลายใบบุ่นน้อย ฯลฯ
๙ ผ้าแพรวาแต่ เดิมนิยมพืน้ สี แดงคลา้ มีลายจกสี เหลือง สี ดา สี ขาว และสี เขียวเข้ ม ประกอบด้ วยลาย ๓ ส่ วน คือ ลายหลัก ลายคั่น และลายช่ อเชิงปลาย
ส่ วนประกอบของผ้าแพรวา ผ้าแพรวา เป็ นผ้าทอจากเส้นใยไหม ที่มีลกั ษณะลวดลายผสมกันระหว่างลายขิดและจกบนผืนผ้า ใน กระบวนการขิดจะใช้วธิ ี เก็บลายขิดบนผ้าพื้นเรี ยบโดยใช้ไม้เก็บขิด คัดเก็บขิดยกลายโดยต้องนับจานวนเส้น ไหมแล้วใช้ไม้ลายขิดสานเป็ นลายเก็บไว้ ในการทอเก็บลายจะแบ่งเป็ นช่วง แต่ละช่วงเก็บลายไม่เหมือนกัน ส่ วนที่อยูต่ รงปลายต่อกับผ้าเรี ยบเป็ นการเก็บขิดดอกเล็ก ส่ วนต่อไปเป็ นการเก็บขิดดอกใหญ่ เรี ยกว่า “ดอก ลายผ้า” ใช้ไม้ในการเก็บลายต่างกัน ส่ วนกรรมวิธีการจกซึ่ งคือกรรมวิธี ยกเส้นด้ายยืน แล้วสอดเส้นไหมสี ซึ่ งเป็ นเส้นพุ่งพิเศษเข้าไปในผืนผ้า ทาให้เกิดลวดลายผ้าที่ตอ้ งการนั้น การทอแพรวาแบบผูไ้ ทแท้น้ นั จะไม่ ใช้อุปกรณ์อื่นช่วย ไม่วา่ จะเป็ นเข็ม ไม้ หรื อขนเม่น แต่จะใช้นิ้วก้อยจกเกาะเกี่ยว และสอดเส้นไหมสี ซ่ ึ งเป็ น เส้นพุง่ พิเศษแล้วผูกเก็บปมเส้นด้ายด้านบนเพื่อให้เกิดลวดลาย โดยใช้การเกาะลายด้วยนิ้วก้อยตลอดจากริ ม ผ้าข้างหนึ่ งไปยังอีกข้างหนึ่ งตลอดทั้งแถว เขาไม้หนึ่ งจะเกาะสองครั้งเพื่อให้ลวดลายมีความสวยงาม โดย ลวดลายจะอยูด่ า้ นล่างของผืนผ้าในขณะทอ กรรมวิธีการเก็บลายขิด
กรรมวิธีใช้ นิว้ ก้อยจกยกเส้ นด้ ายยืน
๑๐ จุดเด่นและความเป็ นเอกลักษณ์ของผ้าแพรวาคือลวดลายสี สัน และความมีระเบียบ ความเรี ยบ ความ เงางามของผืนผ้า ในผ้าแพรวาผืนหนึ่ งจะมีอยูป่ ระมาณ ๑๐ หรื อ ๑๒ ลาย ใช้เส้นไหมในการทอตั้งแต่ ๒-๙ สี สอดสลับในแต่ละลายแต่ละแถว ลวดลายที่ปรากฏจะประณี ตเรี ยบเนียนเป็ นเนื้อเดียวกันตลอดทั้งผืนผ้า ลักษณะลายผ้าของแพรวาที่ทอในปั จจุบนั แบ่งเป็ น ๓ ประเภทใหญ่ๆ ได้แก่ ผ้าแพรวาลายล่วง ผ้า แพรวาลายจก และผ้าแพรวาลายเกาะ ผ้ าแพรวาลายล่ วง หมายถึง ผ้าแพรวาที่มีลวดลายเรี ยบง่าย มีสองสี สี หนึ่ งเป็ นสี พ้ืนส่ วนอีกสี เป็ น ลวดลาย ผ้าแพรวาลายจก หมายถึง ผ้าแพรวาลายล่วงที่มีการเพิ่มความพิเศษโดยการจกเพิ่มดอกเข้าไปในลาย ล่วงบนผืนผ้า เพื่อแต้มสี สันให้สวยงามยิง่ ขึ้นแต่สีจะไม่หลากหลายสดใสเหมือน แพรวาลายเกาะ ผ้าแพรวาลายเกาะ หมายถึง ผ้าแพรวาที่มีลวดลายและสี สันหลายสี เกาะเกี่ยวพันกันไป ลวดลายที่ใช้ ทอแพรวาลายเกาะส่ วนใหญ่เป็ นลายดอกใหญ่ซ่ ึ งเป็ นลายหลักของการทอผ้าแพรวา อาจจะทอไม่ให้ซ้ าลาย กันเลยในแต่ละแนวก็ได้
ผ้าแพรวาลายล่วง
Ramie ผ้าแพรวาลายเกาะ
Plai Wai Island
ผ้าแพรวาลายจก
Plai wa
๑๑ แบบฝึ กหัดหลังเรี ยน บทที่ ๒ ๑. ผ้าแซ่ว คือผ้าอะไร? ก. ลวดลายของผ้า
ข. ผ้าซิ่ น
ค. ผ้าขนาดยาว
ง. ผ้าไหม
๒. ผ้าแซ่ว มีขนาดเท่าใด? ก. ขนาด ๒๖×๔๐ เซนติเมตร
ข. ขนาด ๒๘×๕๐ เซนติเมตร
ค.ขนาด ๒๕×๓๐ เซนติเมตร
ง. ขนาด ๒๒×๔๐ เซนติเมตร
๓. ลวดลายผ้าไหมแพรวาประกบด้วยตัวลายทั้งหมดกี่ส่วน อะไรบ้าง ก. ประกอบด้วย ๒ ส่ วน คือ ลายนอก ลายใน ข. ประกอบด้วย ๑ ส่ วน คือ ลายหลัก ค. ประกอบด้วย ๔ ส่ วน คือ ลายนอก ลายหลัก ลายใน ลายคัน่ ง. ประกอบด้วย ๓ ส่ วน คือ ลายหลัก ลายคัน่ ลายช่อปลายเชิง หรื อ ลายเชิงผ้า ๔. ผ้าแพรวาลายล่วง มีลกั ษณะอย่างไร ก. ผ้าแพรวาที่มีลวดลายและสี สันหลายสี เกาะเกี่ยวพันกันไป ข. ผ้าแพรวาที่มีลวดลายเรี ยบง่าย มีสองสี สี หนึ่งเป็ นสี พ้นื ส่ วนอีกสี เป็ นลวดลาย ค. ผ้าแพรวาที่มีลายดอกขนาดใหญ่ ง. ผ้าแพรวาลายล่วงที่มีการเพิ่มความพิเศษโดยการจกเพิ่มดอกเข้าไปในลายล่วงบนผืนผ้า ๕.
เป็ นผ้าแพรวาประเภทใด?
ก. ผ้าแพรวาลายกระจก
ข. ผ้าแพรวาลายล่วง
ค. ผ้าแพรวาลายเกาะ
ง. ผ้าแพรวาลายขิด
๑๒
บทที่ ๓ การทอในปัจจุบัน
๑๓ แบบฝึ กหัดก่อนเรียน บทที่ ๓ ๑. การทอผ้าไหมแพรวาในปั จจุบนั ทอแบบใด? ก. วิธียกเขา ข. วิธีนิ้วยกด้ายสอด ค. วิธีใช้เครื่ องจักรกล ง. วิธีพิมพ์ลาย ๒. ผ้าแพรวาในปัจจุบนั ใช้เส้นอะไรทอ? ก. เส้นด้าย ข. เส้นฝ้าย ค. เส้นไหม ง. เส้นใย
๑๔ การทอผ้าแพรวาปั จจุบนั ได้รับการส่ งเสริ มจากมูลนิ ธิส่งเสริ มศิลปาชี พในสมเด็จพระนางเจ้าสิ ริกิต์ ิ พระบรมราชิ นีนาถ ทาให้มีการสื บทอดศิลปะการทอผ้าแพรวาแพร่ หลายมากขึ้น จึงมีความพยายามผลิตผ้า ให้ผูค้ นได้ซ้ื อหลากหลายทั้งในด้านลวดลาย สี สัน และยังใช้วิธียกเขา เพื่อความรวดเร็ ว แทนที่จะใช้นิ้วยก ด้ายสอดเช่นเดิม ความประณี ตของลวดลายจึงลดลงไป เนื่ องจากการยกเขานั้นเหมือนการทาพิมพ์ที่จะต้อง ปรากฏลายซ้ าๆ เป็ นช่วงๆ ความสวยงามของผ้านั้น อยู่ที่ความประณี ตของการทอ ความสม่ าเสมอของลวดลาย ไม่หลุ ดตก บกพร่ อง หรื อขาด หากทอด้วยมื อทั้งผืน ความสม่ าเสมอของลวดลายจะน้อยกว่าการใช้เขาเก็บลาย แต่ ลวดลายจะมีความอ่อนช้อย แน่ น ไม่โปร่ ง ด้านหลังของผ้ามีความเป็ นระเบียบ ไม่โยงเส้นด้ายยาวเกิ นไป และใช้สีสันที่หลากหลายกว่า ปั จจุบนั มีการส่ งเสริ มการทอผ้าแพรวาในโครงการส่ งเสริ มศิลปาชีพฯ หลายแห่งในภาคอีสาน โดย ใช้เส้นไหมจากโรงงาน
๑๕ แบบฝึ กหัดหลังเรียน บทที่ ๓ ๑. การทอผ้าไหมแพรวาในปั จจุบนั ทอแบบใด? ก. วิธียกเขา ข. วิธีนิ้วยกด้ายสอด ค. วิธีใช้เครื่ องจักรกล ง. วิธีพิมพ์ลาย ๒. ผ้าแพรวาในปัจจุบนั ใช้เส้นอะไรทอ? ก. เส้นด้าย ข. เส้นฝ้าย ค. เส้นไหม ง. เส้นใย
.
๑๖
บทที่ ๔
แหล่งผลิตผ้าไหมแพรวาที่สาคัญในประเทศไทย
๑๗ แบบฝึ กหัดก่อนเรียน บทที่ ๔ ๑. ปั จจุบนั การผลิตผ้าไหมแพรวาที่สาคัญอยูท่ ี่ใด? ก. บ้านโพน อาเภอคาม่วง จังหวัดกาฬสิ นธุ์ ข. บ้านโนนสาราญ อาเภอห้วยผึ้ง จังหวัดกาฬสิ นธุ์ ค. บ้านลิ้นฟ้า อาเภอจตุรพักตรพิมาน จังหวัดร้อยเอ็ด ง. บ้านสวนมอญ อาเภอจตุรพักตรพิมาน จังหวัดร้อยเอ็ด ๒. โครงการส่ งเสริ มศิลปาชี พผ้าไหมแพรวา นอกจากอยูจ่ งั หวัดกาฬสิ นธุ์แล้ว ยังมีอยูท่ ี่จงั ใดบ้าง ก. จังหวัดร้อยเอ็ด ข. จังหวัดมหาสารคาม ค. จังหวัดสกลนคร ง. จังหวัดเลย
๑๘
แหล่งผลิตผ้าแพรวาที่สาคัญ คือ ที่บา้ นโพน อาเภอคาม่วง จังหวัดกาฬสิ นธุ์ นอกจากนั้นยังมีที่ศูนย์ ศิลปาชีพกุดนาขาม จังหวัดสกลนคร และโครงการส่ งเสริ มศิลปาชีพอื่นๆ ในแถบจังหวัดนครพนม สกลนคร หนองคาย และมุกดาหาร
๑๙ แบบฝึ กหัดหลังเรี ยน บทที่ ๔ ๑. ปั จจุบนั การผลิตผ้าไหมแพรวาที่สาคัญอยูท่ ี่ใด? ก. บ้านโพน อาเภอคาม่วง จังหวัดกาฬสิ นธุ์ ข. บ้านโนนสาราญ อาเภอห้วยผึ้ง จังหวัดกาฬสิ นธุ์ ค. บ้านลิ้นฟ้า อาเภอจตุรพักตรพิมาน จังหวัดร้อยเอ็ด ง. บ้านสวนมอญ อาเภอจตุรพักตรพิมาน จังหวัดร้อยเอ็ด ๒. โครงการส่ งเสริ มศิลปาชี พผ้าไหมแพรวา นอกจากอยูจ่ งั หวัดกาฬสิ นธุ์แล้ว ยังมีอยูท่ ี่จงั ใดบ้าง ก. จังหวัดร้อยเอ็ด ข. จังหวัดมหาสารคาม ค. จังหวัดสกลนคร ง. จังหวัดเลย
๒๐ สรุ ปเนื้อหา Content summary แพรวา หรื อ ผ้าไหมแพรวาเป็ นผ้าทอมืออันเป็ นเอกลักษณ์ของชาวผูไ้ ทยหรื อภูไท การทอผ้าแพรวา มี ม าพร้ อ มกับ วัฒ นธรรมของชาวภู ไ ท ซึ่ งเป็ นชนกลุ่ ม หนึ่ ง มี ถิ่ น ก าเนิ ด ในบริ เ วณแคว้น สิ บ สองจุ ไ ทย (ดินแดนส่ วนเหนือของลาวและเวียดนามซึ่ งติดต่อกับดินแดนภาคใต้ของจีน) อพยพเคลื่อนย้ายผ่านเวียดนาม ลาว แล้วข้ามฝั่งแม่น้ าโขงเข้ามาตั้งหลักแหล่งอยูแ่ ถบเทือกเขาภูพานทางภาคอีสานของไทย ซึ่ งส่ วนใหญ่อยู่ ในจังหวัดกาฬสิ นธุ์ นครพนม มุกดาหาร สกลนคร โดยยังคงรักษาวัฒนธรรมประเพณี ความเชื่ อ การแต่ง กาย และการทอผ้าไหมที่มีภูมิปัญญาในการทอด้วยการเก็บลายจากการเก็บขิด และการจก ที่มีลวดลายโดด เด่ น ที่ มี ภู มิ ปั ญ ญาที่ ไ ด้ รั บ การถ่ า ยทอดมาจาก บรรพบุ รุ ษ และพัฒ นามาอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง ผ้า แพรวาจึ ง เปรี ยบเสมือนเป็ นสัญลักษณ์ของกลุ่มชนที่สืบเชื้อสายมาจาก กลุ่มภูไท ผ้าแพรวามีความหมายรวมกันว่า ผ้า ทอเป็ นผืนที่มีขนาดความยาว 1 วา หรื อ 1 ช่วงแขน ใช้สาหรับคลุมไหล่หรื อห่ มสไบเฉี ยงที่เรี ยกว่าผ้าเบี่ยง ของชาวผูไ้ ทย ซึ่งใช้ในโอกาสที่มีงานเทศกาลบุญประเพณี หรื องานสาคัญอื่นๆ ผ้าแพรวาได้รับการสนับสนุ นและส่ งเสริ มจากโครงการศูนย์ศิลปาชีพพิเศษในสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ เมื่อครั้งเสด็จเยี่ยมพสกนิ กรชาวอาเภอคาม่วง เมื่อปี พ.ศ. 2520 ได้ทอดพระเนตรเห็นชาว ภูไท บ้านโพน แต่งตัวโดยใช้ผา้ แพรวาห่มตามแบบสไบเฉี ยง หรื อเรี ยกว่า ผ้าเบี่ยง ได้ทรงสนพระทัยมากจึง โปรดให้มีการสนับสนุ น และได้มีพระราชดาริ ให้ขยายหน้าผ้าให้กว้างขึ้น เพื่อที่จะได้นาไปใช้เป็ นผ้าผืน สาหรับตัดเสื้ อผ้าได้ อีกทั้งพัฒนาลวดลายให้เหมาะสมตามความต้องการของตลาด การพัฒนาการทอผ้าแพร วาเกิดขึ้นเพราะพระบารมีของสมเด็จพระนางเจ้า ฯ พระบรมราชินีนาถที่ได้ทรงทอดพระเนตรเห็นความงาม และคุณค่าแห่งศิลปะชิ้นนี้ในครั้งนั้น ลวดลายและกรรมวิธีการทอ ลวดลายผ้าแพรวานับเป็ นผ้ามรดกของครอบครัว โดยในแต่ละครัวเรื อน จะมี ผ้าแซ่ ว ซึ่ งเป็ นผ้าไหม ส่ วนใหญ่ทอพื้นสี ขาว ขนาดประมาณ 25 x 30 เซนติเมตร มีลวดลายต่าง ๆ เป็ นต้นแบบลายดั้งเดิมแต่โบราณ ที่ทอไว้บนในผืนผ้าเป็ นแม่แบบดั้งเดิมที่สืบต่อมาจากบรรพบุรุษ บนผ้าแซ่ วผืนหนึ่ งๆมีอาจลวดลายมากถึ ง ประมาณกว่าร้อยลาย การทอผ้าจะดู ลวดลายจากต้นแบบในผ้าแซ่ วโดยจะจัดวางลายใดตรงส่ วนไหน หรื อ ให้สี ใดขึ้ นอยู่ก ับความต้องการของผูท้ อ เกิ ดเป็ นเอกลัก ษณ์ ข องผ้า แพรวาจากการวางองค์ประกอบของ ลวดลายต้นแบบและการให้สีสันของผูท้ อ ลวดลายของแพรวามีลกั ษณะคล้ายคลึงกับลายขิดอีสาน แตกต่าง กันอยู่บ ้า งที่ ความหลากหลายของสี สั น ในแต่ ล ะลวดลาย แต่ มี ล ัก ษณะรวมกัน คื อ ลายหลัก มัก เป็ นรู ป สี่ เหลี่ยมขนมเปี ยกปูน ซึ่ งเป็ นโครงสร้างพื้นฐานของลายผ้า ส่ วนสี สันบนผ้าแพรวาแต่เดิมนิ ยมพื้นสี แดงคล้ า ย้อมด้วยครั่ง มีลายจกสี เหลือง สี น้ าเงิน สี ขาว และสี เขียวเข้มกระจายทั้งผืนผ้าสอดสลับในแต่ละลายแต่ละ แถว