NEBULA เนบิวลา
User
เนบิวลาดาวเคราะห (อังกฤษ: planetary nebula) คือสวนที่เคย เปนแกสและฝุนผงชั้นผิวนอกของดาวฤกษที่มีมวลนอย เมื่อดาวฤกษดวง นั้นไดเปลี่ยนสภาพเปนดาวยักษแดง และเชื้อเพลิงไฮโดรเจนไดหมดลง แลว แกนกลางของดาวก็จะยุบลงกลายเปนดาวแคระขาว สังเกตไดจาก จุดสีขาวตรงกลางภาพ และสวนนอกนั้นเองทีแ่ ผกระจายออกไปใน อวกาศ เรียกวา เนบิวลาดาวเคราะห ซึ่งจะกลายเปนวัตถุดิบในการ สรางดาวฤกษและระบบสุริยะรุนถัดไป และทําใหเอกภพมีธาตุอน่ื ๆ เพิ่มขึ้น นอกเหนือจากไฮโดรเจนและฮีเลียม แทจริงแลวเนบิวลาดาวเคราะหไมไดเกี่ยวของกับดาวเคราะหแต อยางใด เพียงแตวา นักดาราศาสตรในสมัยกอนมองเห็นเนบิวลาดาว เคราะหมีลักษณะคลายดาวเคราะหแกส เนบิวลาดาวเคราะหจัดเปนชวง ชีวิตของดาวที่สั้นมาก คือประมาณสิบปหรือพันป เมื่อเทียบกับอายุขัย ของดาวที่มีมากเปนพันลานป
เนบิวลาดาวเคราะหจัดเปนวัตถุทองฟาที่จางมาก มองไมเห็นดวยตา เปลา คนแรกที่คนพบเนบิวลาดาวเคราะหคือ ชาลส เมสสิเยร (Charles Messier) นักดาราศาสตรชาวฝรั่งเศส ซึ่งเนบิวลานั้นมีชอื่ วา เนบิวลา ดัมเบล คนพบเมือ่ ป พ.ศ. 2307 ในขณะนั้นเทคโนโลยีทางดาราศาสตรยัง ไมกาวหนา และมีการคนพบเนบิวลาดาวเคราะหที่คลายกับดาวเคราะหแกส จึงมีการเรียกชื่อวัตถุทองฟาชนิดนี้วาเนบิวลาดาวเคราะห ในเวลาตอมา วิลเลียม ฮักกิน (William Huggin) นักดาราศาสตร ชาวอังกฤษ ไดทําการศึกษาธรรมชาติของเนบิวลาดาวเคราะห โดยการใช การแยกแสงของวัตถุทองฟาผานปริซมึ เขาคนพบวาเมื่อเขาสังเกตดาราจักร แอนโดรเมดา พบวาในแถบสเปกตรัมมีเสนดูดกลืนอยูมาก ตอมาก็คนพบ เชนนี้กับวัตถุทองฟาอื่น ๆ ซึ่งในเวลาตอมาวัตถุทองฟาเหลานั้นเรียกวา ดาราจักร พอเขาสังเกตเนบิวลาตาแมว เขาไดผลที่เปลี่ยนไปคือ พบเสน สเปกตรัมเปลงแสงออกมาเปนจํานวนนอย ในชั้นแรกก็สงสัยวาเปนธาตุ ปริศนาคลายฮีเลียม จนถูกตั้งชื่อวา เนบิวเลียม(nebulium) ครั้นตอมาไดมีการศึกษาสเปกตรัมของแสงอาทิตย พบวามีฮีเลียม แต ไมพบเนบิวเลียม จนเฮนรี นอรริส รัสเซล (Henry Norris Russel) นัก ดาราศาสตรชาวอเมริกัน เสนอวา "เนบิวเลียม" เปนธาตุที่เราคุนเคยกันดี แตอยูในสภาวะที่เราไมทราบ ตอมาคนพบวาใจกลางของเนบิวลาดาว เคราะห (คือดาวแคระขาว) มีอุณหภูมิสูงมากแตมีแสงจางมาก ขณะที่ ชั้นนอกของดาวยักษแดงดวงเดิมขยายตัวออกสูอวกาศเสมอ จนเกิดแนวคิด วาเนบิวลาดาวเคราะหเปนจุดจบของดาวฤกษที่มีมวลนอย (ตางกับซูเปอร โนวาที่เปนจุดจบของดาวฤกษที่มีมวลมาก)
เนบิวลาดาวเคราะห เกิดเมื่อดาวฤกษที่มีมวลนอยหรือมวลปานกลาง เชนดวงอาทิตย ไดเขาสูระยะสุดทายที่จะเปลงแสง สําหรับดาวฤกษที่มวล มากกวานีก้ ็จะเกิดการระเบิด ซึ่งเรียกวา มหานวดารา หรือซูเปอรโน วา แทน ชวงชีวิตสวนใหญของดาวฤกษก็คือ การสองแสงสวางอันเปนพลังงาน จากปฏิกิรยิ าฟวชันในแกนกลางดาว ซึ่งหลอมไฮโดรเจนใหเปนฮีเลียม พลังงานที่ไดนี้ยังชวยตานทานแรงโนมถวงภายในดาว ทําใหดาวทรงรูปอยู ได พอเวลาผานไปหลายพันลานป เชื้อเพลิงของดาว คือไฮโดรเจน มีปริมาณ ลดลงเรือ่ ย ๆ จนหมดในที่สุด ทําใหไมมีพลังงานที่สามารถทานแรงโนมถวง ได ดาวจึงยุบตัวลงและมีอุณหภูมิสูงขึ้นมาก ในเวลาปกติ อุณหภูมิที่แกนของ ดาวฤกษโดยประมาณคือ 15 ลานเคลวิน แตเมือ่ เกิดการยุบตัว อุณหภูมิ ภายในแกนอาจสูงถึง 100 ลานเคลวิน เพื่อใหดาวอยูในสภาพสมดุลอีกครั้ง เปลือกนอกของดาวก็ขยายตัวออกไปเชนเดียวกับการขยายตัวของวัตถุเมื่อ ถูกความรอน จากนัน้ อุณหภูมิดาวก็จะลดลงเปนอยางมาก เรียกดาวฤกษใน ระยะนี้วา ดาวยักษแดง (red giant) ทวาแกนของดาวยังคงยุบตัวตอไป และมีอุณหภูมิสูงขึ้นเรื่อย ๆ จนกระทั่งฮีเลียมหลอมตัวไดคารบอนกับ ออกซิเจน ในที่สุดแกนของดาวก็หยุดการยุบตัว ปฏิกิริยาฟวชันของฮีเลียมจัดเปนปฏิกิรยิ าที่ไวตออุณหภูมิมาก นั่นคือ หากอัตราการเพิ่มของอุณหภูมิเพิ่มขึ้นมากกวาสองเทาของอัตราการ เกิดปฏิกิรยิ าเพียงรอยละสอง ก็จะเกิดการปลดปลอยพลังงานมาก ทําให แกนของดาวเกิดการหดตัวและขยายตัวสลับกัน จนในที่สุดพลังงานที่ไดนี้ก็ จะทําใหผิวนอกของดาวหลุดออกไปในอวกาศ และรังสีอัลตราไวโอเลตที่ ปลดปลอยออกมาจากแกนดาว ก็จะทําใหแกสที่หลุดไปนั้นแตกตัวเปน พลาสมาและเปลงแสงสีสันสวยงามออกมา