สารบัญ หน้า แบบทดสอบก่อนเรียน
๑
ลายเส้นบนพื้นธงชาติในประเทศสมาชิกอาเซียน
๒
ธงประจาชาติ ๑๐ ประเทศอาเซียน
๓-๔
การแต่งกายของประเทศสมาชิกอาเซียน
๕-๙
ดอกไม้ประจาชาติของประเทศสมาชิกอาเซียน
๑๐-๑๓
มรดกโลก ๒๘ แห่ง ของประเทศสมาชิกอาเซียน
๑๔-๒๗
อาหารยอดนิยมของประเทศสมาชิกอาเซียน
๒๘-๓๒
แบบทดสอบหลังเรียน
๓๓
เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน
๓๔
แบบทดสอบก่อนเรียน 1. ธงชาติของประเทศในอาเซียน ประเทศใดที่มี ลายเส้นเป็นเส้นตรงแนวนอน, เส้นตรงแนวตั้ง, เส้นโค้งรูปตัวซีและเส้นหยัก ก. สาธารณรัฐแห่งสหภาพพม่า ข. สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ค. มาเลเซีย
[หน ้าที่
๑]
4. จากรูปด้านล่างคือ หล่าเพ็ด (Lahpet) เป็น อาหารที่นําใบชาหมักมาทานกับเครื่องเคียง เช่น กระเทียมเจียว ถั่วชนิดต่าง ๆ งาคั่ว กุ้งแห้ง ขิง มะพร้าวคั่ว คล้ายคลึงกับเมี่ยงคําของประเทศไทย ถามว่าหล่าเพ็ดเป็นอาหารยอดนิยมของประเทศ ใด
ง. ไทย
ก. สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว 2. ชุดประจําชาติของประเทศใด ที่ผู้หญิงจะสวมใส่ ข. บรูไน ดารุสซาลาม ค. สาธารณรัฐแห่งสหภาพพม่า ชุดที่มีลักษณะเป็นเสื้อแขนยาว ปักฉลุเป็นลาย ง. ราชอาณาจักรกัมพูชา ลูกไม้ และผ้าถุงที่ใช้จะเป็นผ้าถุงแบบบาติก 5. จากภาพด้านล่างเป็นนาขั้นบันได ที่แสดงถึง ก. สาธารณรัฐฟิลิปปินส์ ความกลมกลืนระหว่างมนุษย์กับสิ่งแวดล้อม เป็น ข. สาธารณรัฐอินโดนีเซีย การแสดงออกของประเพณีอันศักดิ์สิทธิ์ และสืบ ค. สาธารณรัฐสิงคโปร์ ทอดอาชีพทํานาจากบรรพบุรุษสู่ลูกหลานรุ่น ง. สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม ปัจจุบัน ถามว่าสถานที่สําคัญดังกล่าวอยู่ใน 3. ดอกไม้ประจําชาติสาธารณรัฐฟิลิปปินส์ มีกลีบ ประเทศใด ดอกรูปดาวสีขาวที่บานตลอดทั้งปีแย้มดอกตอน กลางคืน และมีกลิ่นหอม มีชื่อเรียกว่าอะไร ก. Moon Orchid
ข. Rumdul ค. Champa ง. Sampaguita Jasmine
ก. ไทย ข. ราชอาณาจักรกัมพูชา ค. สาธารณรัฐสหภาพพม่า ง. สาธารณรัฐฟิลิปปินส์
[หน ้าที่
ลายเส้นบนผืน้ ธงชาติในประเทศสมาชิกอาเซียน
ประเภทของลายเส้น
บูรณาการอาเซียนกลุ่มสาระการเรียนรูก้ ารงานอาชีพและเทคโนโลยีระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น
๒]
[หน ้าที่
๓]
ธงประจาชาติ ๑๐ ประเทศอาเซียน
(บรูไน ดารุสซาลาม) Brunei Darussalam
(สาธารณรัฐประชาธิปไตย ประชาชนลาว - สปป ลาว) Lao People’s Democratic Republic
(ราชอาณาจักรกัมพูชา) Kingdom of Cambodia
(มาเลเซีย) Malaysia
(สาธารณรัฐอินโดนีเซีย) Republic of Indonesia
(สาธารณรัฐแห่งสหภาพพม่า) Republic of the Union of Myanmar
บูรณาการอาเซียนกลุ่มสาระการเรียนรูก้ ารงานอาชีพและเทคโนโลยีระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น
[หน ้าที่
๔]
ธงประจาชาติ 10 ประเทศอาเซียน
(สาธารณรัฐฟิลิปปินส์) Republic of the Philippines
(ราชอาณาจักรไทย) Kingdom of Thailand
(สาธารณรัฐสิงคโปร์) Republic of Singapore
(สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม) Socialist Republic of Vietnam
บูรณาการอาเซียนกลุ่มสาระการเรียนรูก้ ารงานอาชีพและเทคโนโลยีระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น
[หน ้าที่
๕]
การแต่งกายของประเทศสมาชิกอาเซียน การแต่งกายของบรูไน สํ า หรั บ ชุ ด ของผู้ ช าย เรี ย กว่ า บาจู มลายู (Baju Melayu) ส่วนของชุดผู้หญิง เรียกว่า บาจูกุรัง (Baja Kurung) คล้ายกับชุด ประจําชาติของประเทศมาเลเซีย ผู้หญิงบรูไน จะแต่งกายด้วยเสื้อผ้าที่มีสีสันสดใสโดยมาก มั ก จะเป็ น เสื้ อ ผ้ า ที่ ค ลุ ม ร่ า งกายตั้ ง แต่ ศ รี ษ ะ จรดเท้า ส่ วนผู้ช ายจะแต่ งกายด้วยเสื้อ แขน ยาว ตั ว เสื้ อยาวถึง หั วเข่า นุ่ ง กางเกงขายาว แล้วนุ่งโสร่ง การแต่งกายของกัมพูชา ซัมปอต (Sampot) เป็นเครื่องแต่งกาย ประจ าชาติ ข องประเทศกั ม พู ช า ส าหรั บชุ ด ผู้หญิง ซึ่งมีความคล้ายคลึงกับผ้านุ่งของ ประเทศลาวและไทย มี ห ลายหลายรู ป แบบ สาหรับผู้ชายนั้นมักสวมใส่เสื้อที่ทาจากผ้าไหม หรือผ้าฝ้ายทั้งแขนสั้นและแขนยาว พร้อมทั้ง สวมกางเกงขายาว
บรูไน ดารุสซาลาม
ราชอาณาจักรกัมพูชา
บูรณาการอาเซียนกลุ่มสาระการเรียนรูก้ ารงานอาชีพและเทคโนโลยีระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น
[หน ้าที่
๖]
การแต่งกายของประเทศสมาชิกอาเซียน การแต่งกายของอินโดนีเซีย เคบาย่า (Kebaya) เป็นชุดประจําชาติ ของประเทศอิ น โดนี เ ซี ย สํ า หรั บ ผู้ ห ญิ ง มี ลักษณะเป็นเสื้อแขนยาวผ่าหน้า กลัดกระดุม ตั ว เสื้ อ จะมี สี สั น สดใส ปั ก ฉลุ เ ป็ น ลายลู ก ไม้ ส่วนผ้าถุงที่ใช้จะเป็นผ้าถุงแบบบาติกสํา หรับ การแต่งกายของผู้ชายมักจะสวมใส่เสื้อแบบ บาติกและนุ่งกางเกงขายาว และนุ่งโสร่งเมื่อ อยู่บ้านหรือประกอบพิธีละหมาดที่มัสยิด
การแต่งกายของลาว ผู้หญิงลาวจะนุ่งผ้าซิ่น และเสื้อแขนยาว ทรงกระบอก ส าหรั บผู้ ช ายมัก แต่ ง กายแบบ สากลหรือนุ่งโจงกระเบน สวมเสื้อชั้นนอกกระ ดุกเจ็ดเม็ดคล้ายเสื้อพระราชทานของไทย
สาธารณรัฐอินโดนีเซีย
สาธารณรัฐประชาธิปไตย ประชาชนลาว
บูรณาการอาเซียนกลุ่มสาระการเรียนรูก้ ารงานอาชีพและเทคโนโลยีระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น
[หน ้าที่
๗]
การแต่งกายของประเทศสมาชิกอาเซียน การแต่งกายของมาเลเซีย สาหรับชุดของผู้ชาย เรียกว่า บาจู มลายู (Beju Melayu) ประกอบด้วยเสื้อแขนยาว และกางเกงขายาวที่ทาจากผ้าไหม ผ้าฝ้ายหรือ โพลีเอสเตอร์ที่มีส่วนผสมของผ้าฝ้าย สาหรับ ชุ ด ของผู้ ห ญิ ง เรี ย นกว่ า บาจู กุ รุ ง ( Baja Kurung) ประกอบด้วยเสื้อคลุมแขนยาวและ กระโปรงยาว
มาเลเซีย
การแต่งกายของฟิลิปปินส์ ผู้ชายจะนุ่งกางเกงขายาวและสวมเสื้อที่
เรียกว่า บารองตากาล็อก ซึ่งตัดเย็บด้วยผ้าใย สัปปะรด มีบ่า คอตั้ง แขนยาว ที่ปลายแขน เสื้ อ ที่ ข้ อ มื อ จะปั ก ลวดลาย ส่ ว นผู้ ห ญิ ง นุ่ ง กระโปรงยาว ใส่เ สื้อ แขนสั้ นจั บจี บยกตั้ งขึ้ น เหนือไหล่คล้ายปีกผีเสื้อ เรียกว่า บาลินตาวัก
สาธารณรัฐฟิลิปปินส์
บูรณาการอาเซียนกลุ่มสาระการเรียนรูก้ ารงานอาชีพและเทคโนโลยีระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น
[หน ้าที่
๘]
การแต่งกายของประเทศสมาชิกอาเซียน การแต่งกายของสิงคโปร์ สิงคโปร์ไม่มีชุดประจําชาติเป็นของตนเอง เนื่องจากประเทศสิงคโปร์แบ่งออกเป็น 4 เชื้อ ชาติหลัก ได้แก่ จีน มาเลย์ อินเดีย และชาว ยุโรป ซึ่งแต่ละเชื้อชาติก็มีชุดประจําชาติเป็น ของตนเอง เช่น ผู้หญิงมลายูในสิงคโปร์ จะใส่ ชุดเกบาย่า (Kebaya) ตัวเสื้อจะมีสีสันสดใส ปักฉลุเป็นลายลูกไม้ หากเป็นชาวจีน ก็จะสวม เสื้อแขนขาว คอจีน เสื้อผ้าซ่อนกระดุม สวม กางเกงขายาว โดยเสื้อจะใช้ผ้าสีเรียบหรือผ้า แพรจีนก็ได้ การแต่งกายของพม่า ลองยี เป็นชุ ดแต่งกายประจําชาติของ ประเทศพม่ า โดยมี ก ารออกแบบในรู ป ทรงกระบอก มี ค วามยาวจากเอวจรดปลาย เท้า การสวมใส่ใช้วิธีการขมวดผ้าเข้าด้วยกัน โดยไม่ มั ด หรื อ พั บ ขึ้ น มาถึ ง หั ว เข่ า เพื่ อ ความ สะดวกในการสวมใส่
สาธารณรัฐสิงคโปร์
สาธารณรัฐแห่งสหภาพพม่า
บูรณาการอาเซียนกลุ่มสาระการเรียนรูก้ ารงานอาชีพและเทคโนโลยีระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น
[หน ้าที่
๙]
การแต่งกายของประเทศสมาชิกอาเซียน การแต่งกายของไทย สาหรับชุดผู้หญิงคือ ชุดไทยจักรี เป็นชุด ไทยที่ ป ระกอบด้ ว ยสไบเฉี ย ง ใช้ ผ้ า ยกมี เ ชิ ง หรือยกทั้งตัวซิ่นมีจีบยกข้างหน้า มีชายพกใช้ เข็มขัดไทยคาด ส่วนท่อนบนเป็นสไบ จะเย็บ ให้ติดกับซิ่นเป็นท่อนเดียวกันหรือ จะมีผ้าสไบ ห่มต่างหากก็ได้ เปิดบ่าข้างหนึ่ง ชายสไบคลุม ไหล่ ทิ้ ง ชายด้ า นหลั ง ยาวตามที่ เ ห็ น สมควร ความสวยงามอยู่ที่เนื้อผ้าการเย็บและรู ปทรง ของผู้ ที่ ส วยใช้ เ ครื่ อ งประดั บ ได้ ง ดงาม สม โอกาสในเวลาค่าคืน สาหรับชุดผู้ชายคือ ใส่ เสื้อพระราชทาน การแต่งกายของเวียดนาม อ่าวหญ่าย เป็นชุดประจาชาติของประเทศ เวียดนามที่ประกอบไปด้วยชุดผ้าไหมที่พอดี ตัวสวมทับกางเกงขาวยาวซึ่งเป็นชุดที่มักสวม ใส่ ใ นงานแต่ ง งานและพิ ธี ก ารส าคั ญ ของ ประเทศมี ลั ก ษณะคล้ ายชุ ด กี่ เพ้ า ของจี น ใน ปัจ จุ บั น เป็ นชุ ด ที่ ไ ด้ รั บความนิ ย มจากผู้ ห ญิ ง เวีย ดนาม ส่ว นผู้ ช ายเวี ยดนามจะสวมใส่ ชุ ด อ่าหญ่ายในพิธีแต่งานหรือพิธีศพ
ราชอาณาจักรไทย
สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม
บูรณาการอาเซียนกลุ่มสาระการเรียนรูก้ ารงานอาชีพและเทคโนโลยีระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น
[หน ้าที่
๑๐]
ดอกไม้ประจาชาติในประเทศสมาชิกอาเซียน ดอกไม้ประจาชาติบรูไนดารุสซาลาม ดอก Simpor (Dillenia Suffruticosa) เป็นดอกไม้ที่มีกลีบดอกขนาดใหญ่สีเหลือ ง เมื่อบานเต็มที่กลีบดอกจะบานออกคล้าย กับร่ม
บรูไน ดารุสซาลาม
ดอกไม้ประจาชาติสาธารณรัฐอินโดนีเซีย ดอก Moon Orchid หรือกล้วยไม้ราตรี เป็น กล้วยไม้ในสายพันธุ์ Phalaenopsis Amabilis สาธารณรัฐอินโดนีเซีย ดอกไม้ประจาชาติราชอาณาจักรกัมพูชา ดอก Rumdul หรือดอกลาดวน ดอกลาดวน เป็นดอกสีขาวเหลือง อยู่บนใบเดี่ยวมีกลิ่นหอม ในเวลาค่า
ราชอาณาจักรกัมพูชา บูรณาการอาเซียนกลุ่มสาระการเรียนรูก้ ารงานอาชีพและเทคโนโลยีระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น
[หน ้าที่
๑๑]
ดอกไม้ประจาชาติในประเทศสมาชิกอาเซียน ดอกไม้ประจาชาติสาธารณรัฐประชาธิปไตย ประชาชนลาว ดอก Champa หรือดอกลีลาวดี มีกลิ่นหอม และมีหลายสี เช่น สีแดง สีเหลือง สีชมพู และ โทนสีอ่อนต่างๆ ดอก Champa เป็นตัวแทน ของความจริงใจและความสุขในชีวิต
สาธารณรัฐประชาธิปไตย ประชาชนลาว
ดอกไม้ประจาชาติมาเลเซีย ดอก Bunga raya หรือดอกพู่ระหง โดยทั้ง 5 กลีบดอกเป็นตัวแทน 5 หลักการแห่งความ เป็ น ชาติ ข องมาเลเซี ย ซึ่ ง เป็ น ปรั ช ญาเพื่ อ
เสริมสร้างความเป็นปึกแผ่นและความอดทน ในชาติ
มาเลเซีย
บูรณาการอาเซียนกลุ่มสาระการเรียนรูก้ ารงานอาชีพและเทคโนโลยีระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น
[หน ้าที่
๑๒]
ดอกไม้ประจาชาติในประเทศสมาชิกอาเซียน ดอกไม้ประจาชาติสาธารณรัฐแห่งสหภาพ เมียนมาร์ ดอก Paduak หรือดอกประดู่ ผลิดอกสี เหลืองทอง และส่งกลิ่นหอมหลังฤดูฝนแรก ของเดือนเมษายน
สาธารณรัฐ แห่งสหภาพเมียนมาร์
ดอกไม้ประจาชาติสาธารณรัฐฟิลิปปินส์ ดอก Sampaguita JasmineSampaguita Jasmine มีกลีบดอกรูปดาวสีขาวที่บานตลอด ทั้งปีแย้มดอกตอนกลางคืน และมีกลิ่นหอม สาธารณรัฐฟิลิปปินส์ ดอกไม้ประจาชาติสาธารณรัฐสิงคโปร์ ดอก Vanda Miss Joaquim เป็นดอกล้วยไม้ ซึ่งเป็นที่รู้จักกัน มากที่สุดในประเทศสิงคโปร์ โดยตั้งชื่อตาม ผู้ผสมพันธุ์มีสีม่วงและรูปลักษณ์
ที่สวยงาม สาธารณรัฐสิงคโปร์ บูรณาการอาเซียนกลุ่มสาระการเรียนรูก้ ารงานอาชีพและเทคโนโลยีระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น
[หน ้าที่
๑๓]
ดอกไม้ประจาชาติในประเทศสมาชิกอาเซียน ดอกไม้ประจาชาติราชอาณาจักรไทย ต้น Ratchaphruek หรือราชพฤกษ์ มีช่อดอก
สีเหลืองที่สวยงาม ชาวไทยถือว่าสีเหลืองของ ดอกไม้ชนิดนี้ คือ สีของพระพุทธศาสนา และ ความรุ่ ง โรจน์ อี ก ทั้ ง ยั ง เป็ น สั ญ ลั ก ษณ์ ข อง
ราชอาณาจักรไทย
ความสามัคคีปรองดองของคนไทย
ดอกไม้ประจาชาติสาธารณรัฐสังคมนิยม เวียดนาม ดอก Lotus หรือดอกบัว เป็นดอกไม้ที่ชาว เวียดนาม ถือว่าเป็น 1 ใน 4 ดอกไม้และพืชที่ มีความสง่างาม
สาธารณรัฐสังคม นิยมเวียดนาม
บูรณาการอาเซียนกลุ่มสาระการเรียนรูก้ ารงานอาชีพและเทคโนโลยีระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น
[หน ้าที่
๑๔]
มรดกโลกของประเทศสมาชิกอาเซียนทั้ง ๒๘ แห่ง อุ ท ยานแห่ ง ชาติ ล อเรนซ์ อยู่ ใ นประเทศ อินโดนีเซีย มีพื้นที่ 2.5 ล้านเฮคเตอร์ เป็นเขต อนุรักษ์ที่ใหญ่ที่สุดในภูมิภาคเอเชียตะวันออก เฉียงใต้ เป็นพื้นที่เพียงแห่งเดียวในโลก ที่เชื่อม พื้นที่ยอดเขามีหิมะปกคลุมกับสิ่งแวดล้อมทาง ทะเลเขตร้อนรวมถึงพื้นที่ชุ่มน้ํา โดยที่บริเวณ นี้ ตั้ ง อยู่ บ นจุ ด บรรจบของสองแผ่ น ทวี ป ที่ เคลื่อนเข้าหากัน พื้นที่จึงมีความซับซ้อนทาง ธรณี วิ ท ยา มี ก ารก่ อ ตั ว ของภู เ ขาและธาร น้ํ า แข็ ง บริ เ วณนี้ ยั ง มี แ หล่ ง ฟอสซิ ล ซึ่ ง เป็ น หลั ก ฐานของวิ วั ฒ นาการของชี วิ ต บนเกาะ นิ ว กิ นี และมี ค วามหลากหลายทางชี ว ภาพ สูงสุดในภูมิภาค
กลุ่มวัดพรัมบานัน (Prambanan Temple Compounds)
อุทยานแห่งชาติลอเรนซ์ (Lorentz National Park)
กลุ่มวัดพรัมบานัน อยู่ในประเทศอินโดนีเซีย พื้นที่บริเวณนี้สร้างขึ้นใคริสนศตวรรษที่ ๑๐ (พุทธศตวรรษที่ ๑๕) เป็นวัดในศาสนาฮินดูที่ ใหญ่ ที่ สุ ด เพื่ อ บู ช าพระศิ ว ะในอิ น โดนิ เ ซี ย เหนือขึ้ นไปจากศูน ย์กลางของพื้นที่สี่ เหลี่ย ม จตุ รั ส คื อ โบสถ์ ๓ หลั ง มี ภ าพแกะสลั ก เล่ า เรื่ องรามเกีย รติ์ เพื่ ออุ ทิศ ถวายแด่เ ทพเจ้ า ที่ ยิ่ ง ใหญ่ ทั้ ง ๓ องค์ ข องฮิ น ดู (พระศิ ว ะ พระ วิษณุ และพระพรหม) และสัตว์เทพพาหนะ
บูรณาการอาเซียน กลุ่มสาระการเรียนรูก้ ารงานอาชีพและเทคโนโลยี ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น
[หน ้าที่
๑๕]
มรดกโลกของประเทศสมาชิกอาเซียนทั้ง ๒๘ แห่ง อุ ท ยานแห่ ง ชาติ โ คโมโด อยู่ ใ นประเทส อิ น โดนี เ ซี ย เป็ น เกาะภู เ ขาไฟ ซึ่ ง เป็ น ที่ อ ยู่ อาศัยของสัตว์เลื้อยคลานขนาดใหญ่ ๕,๗๐๐ ตัว ด้วยลักษณะและนิสัยใจคอที่ก้าวร้าว ทํา ให้พวกมันถูกเรียกว่า “มังกรโคโมโด” สัตว์ เหล่านี้ไม่มีที่อื่นในโลก ดังนั้นจึงเป็นที่น่าสนใจ ของบรรดานั ก วิ ท ยาศาสตร์ ที่ จ ะมาศึ ก ษา ทฤษฎีของวิวัฒนาการ เนินเขาที่ขรุขระของ ท้ อ งทุ่ ง ที่ ป ราศจากต้ น ไม้ แ ละบริ เ วณที่ มี พื ช หนาม ตรงข้ า มกั น อย่ า งสิ้ น เชิ ง กั บ หาด ทรายขาวกระจ่าง และน้ําสีฟ้าม้วนตัวไปเหนือ ปะการัง
อุทยานแห่งชาติอูจุงกูลอน (Ujung Kulon National Park)
อุทยานแห่งชาติโคโมโด (Komodo National Park)
อุ ท ยานแห่ ง ชาติ อู จุง กู ล อน ตั้ ง ในประเทศ อิ น โดนี เ ซีย อยู่ ทิ ศ ตะวัน ตกเฉี ย งใต้ ข องชวา แถบไหล่ทวีปซุนดา รวมคาบสมุทรอูจุงกูลอน เ ก า ะ น อ ก ฝั่ ง แ ล ะ ร ว ม ถึ ง เ ข ต อ นุ รั ก ษ์ ธ ร ร ม ช า ติ ก ร า ก ะ ตั้ ว ( Krakatoa)ด้ ว ย นอกเหนื อ จากธรรมชาติ ส วยงามพร้ อ มกั บ ลั ก ษณะธรณีวิท ยาที่ น่ า สนใจเพื่ อ การศึ ก ษา ภูเขาไฟบนแผ่นดินตอนใน อุทยานแห่งชาตินี้ ยังมีป่าฝนพื้นที่ต่ําในที่ราบชวา สัตว์และพืช ใกล้สูญพันธุ์ รวมถึงแรดชวา
บูรณาการอาเซียน กลุ่มสาระการเรียนรูก้ ารงานอาชีพและเทคโนโลยี ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น
[หน ้าที่
๑๖]
มรดกโลกของประเทศสมาชิกอาเซียนทั้ง ๒๘ แห่ง แหล่งมนุษย์ยุคเริ่มแรกซังงีรัน อยู่ในประเทศ อิ น โดนี เ ซี ย ที่ ตั้ ง แหล่ ง โบราณคดี ขุ ด ค้ น พบ ตั้ ง แ ต่ ปี ค ริ ส ต์ ศั ก ร า ช ๑ ๙ ๓ ๖ -๑ ๙ ๔ ๑ (พุ ท ธศั ก ราช ๒๔๗๙-๒๔๘๖) พบฟอสซิ ล ม นุ ษ ย์ แ ล ะ ต่ อ ม า ก็ พ บ ฟ อ ส ซิ ล ข อ ง Meganthropus erectus/Homo erectus จํ า นวน ๕๐ ซาก โดยครึ่ ง หนึ่ ง เป็ น ฟอสซิ ล มนุษย์ เป็นที่อยู่อาศัยมาในอดีตราว ๑ ล้านปี ครึ่ง ซังงีรันเป็นสถานที่สําคัญที่ทําให้เราเข้าใจ วิวัฒนาการของมนุษย์มากขึ้น
โบสถ์บาโรคแห่งฟิลิปปินส์ (Baroque Churches of the Philippines)
แหล่งมนุษย์ยุคเริ่มแรกซังงีรัน (Sangiran Early Man Site)
โบสถ์บาโรคแห่งฟิลิปปินส์ โบสถ์ทั้ง ๔ หลัง ซึ่ ง หลั ง แรกสร้ า งโดยชาวสเปนในปลาย คริสต์ศตวรรษที่ ๑๖ (พุทธศตวรรษที่ ๒๑) นั้น ตั้งอยู่ในกรุงมะนิลา ซานตามาเรีย ปาโออาย และมิ อ ากาโอ รู ปแบบทางสถาปั ต ยกรรมที่ เป็นเอกลักษณ์คือการแสดงความเป็นบาโรค ของยุโรปโดยช่างฝีมือชาวจีนและฟิลิปปินส์
บูรณาการอาเซียน กลุ่มสาระการเรียนรูก้ ารงานอาชีพและเทคโนโลยี ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น
[หน ้าที่
๑๗]
มรดกโลกของประเทศสมาชิกอาเซียนทั้ง ๒๘ แห่ง อุทยานปะการังทางทะเลทุบบาตาฮะ อยู่ใน ประเทศฟิลิปปินส์ ครอบคลุมพื้นที่ ๓๓,๒๐๐ เฮคเตอร์ รวมถึงเกาะปะการังทางเหนือและใต้ เป็ น ตั ว อย่ า งของเกาะปะการั ง ที่ มี พั น ธุ์ สั ต ว์ ทะเลหนาแน่นมาก เกาะเล็ก ๆ ทางเหนือเป็น ที่ อ ยู่ ข องนกและเต่ า ทะเล บริ เ วณนี้ เ ป็ น ตัวอย่างที่ดีที่สุดของแนวปะการังเก่าแก่ ที่ก่อ ตั ว เป็ น กํ า แพงสู ง ถึ ง ๑๐๐ เมตร ทะเลสาบ กว้างใหญ่และเกาะปะการัง ๒ เกาะ
อุทยานแห่งชาติแม่น้าใต้ดินปวยร์โต-ปรินเซซา (Puerto-Princesa Subterranean River National Park)
อุทยานปะการังทางทะเลทุบบาตาฮะ (Tubbataha Reefs Natural Park) อุทยานแห่งชาติแม่น้าใต้ดินปวยร์โต-ปรินเซ ซา อยู่ในประเทศฟิลิปปินส์ แสดงให้เห็นภูมิ ทัศน์ที่แปลกตาของภูเขาหินปูนที่มีแม่น้ําอยู่ใต้ ดิ น ลั ก ษณะเด่ น ของแม่ น้ํ า ก็ คื อ ไหลตรงไปสู่ ทะเล และส่วนที่อยู่ต่ําลงไปนั้นอยู่ใต้อิทธิพล ของกระแสน้ําขึ้นน้ําลง บริเวณนี้ยังแสดงให้ เห็นถิ่น ฐานสํา คัญ สํา หรับการอนุรัก ษ์ความ แตกต่างทางชีวภาพ บริเวณนี้มีระบบนิเ วศน์ แบบ "ภูเขาถึงทะเล" และมีผืนป่าที่สําคัญที่สุด ในเอเซียอยู่หลายแห่ง
บูรณาการอาเซียน กลุ่มสาระการเรียนรูก้ ารงานอาชีพและเทคโนโลยี ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น
[หน ้าที่
๑๘]
มรดกโลกของประเทศสมาชิกอาเซียนทั้ง ๒๘ แห่ง มะละกาและจอร์จทาวน์ อยู่ในประเทศทาเล เซีย เมืองแห่งนี้ได้พัฒนามานานกว่า ๕๐๐ ปี ด้ า นการค้ า ขายและการแลกเปลี่ ย นทาง วัฒนธรรมระหว่างตะวันออกกับตะวันตกบน ช่องแคบมะละกา อิทธิพลของเอเชียและยุโรป ได้ผสมผสานทางวัฒนธรรม ตึกที่ทําการของ รัฐบาล โบสถ์ จตุรัส และป้อมปราการต่าง ๆ ทํ า ใ ห้ เ ห็ น ภ า พ ม ะ ล ะ ก า ใ น ยุ ค ต้ น ข อ ง ประวัติศาสตร์ ซึ่งมีต้นกําเนิดมาจากรัฐสุลต่าน มาเลย์ ในคริสต์ศตวรรษที่ ๑๕ (พุทธศตวรรษ ที่ ๒๐)
อุทยานแห่งชาติฟง งา-เค บัง (Phong Nha-Ke Bang National Park)
มะละกา และจอร์จทาวน์ นคร ประวัติศาสตร์บนช่องแคบมะละกา (Melaka and George Town, Historic Cities of the Straits of Malacca) อุ ท ยานแห่ ง ชาติ ฟ ง งา-เค บั ง (Phong Nha-Ke Bang National Park) อยู่ใน ประเทศเวี ย ดนาม อุ ท ยานแห่ ง ชาติ แ ห่ ง นี้ มี วิ วั ฒ นาการมาตั้ ง แต่ ยุ ค น้ํ า แข็ ง (ราว ๔๐๐ ล้านปี) ดังนั้นบริเวณนี้จึงเป็นพื้นที่ภูมิประเทศ แบบหินปูนที่เก่าแก่ที่สุดในเอเซีย เนื่องมาจาก การเปลี่ยนแปลงของพื้นผิวโลกอย่างมาก ภูมิ ทัศน์ของอุทยานมีความซับซ้อนด้วยรูปแบบ ทางธรณีวิทยาหลากหลาย บริเวณที่กว้างขวาง ทอดยาวไปถึ ง ชายแดนของสาธารณรั ฐ ประชาชนลาวนั้น เต็มไปด้วยหินรูปร่างต่าง ๆ รวมถึ ง ถ้ํ า และแม่ น้ํ า ใต้ ดิ น ความยาว ๖๕ กิโลเมตร
บูรณาการอาเซียน กลุ่มสาระการเรียนรูก้ ารงานอาชีพและเทคโนโลยี ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น
[หน ้าที่
๑๙]
มรดกโลกของประเทศสมาชิกอาเซียนทั้ง ๒๘ แห่ง สถานที่ ศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ ห มี เ ซิ น (My Son Sanctuary) ตั้งอยู่ในประเทสเวียดนาม เป็น โ บ ร า ณ ส ถ า น ที่ อ ยู่ ม น ช่ ว ง ร ะ ห ว่ า ง คริสต์ศตวรรษ ๔-๑๓ (พุทธศตวรรษที่ ๙-๑๘) เอกลั ก ษณ์ วั ฒ นธรรมซึ่ ง มี ต้ น กํ า เนิ ด มาจาก ศาสนาฮิ น ดู ข องอิ น เดีย ที่ พั ฒ นามาตามแนว ชายฝั่งของเวียดนามในสมัยเดียวกัน แสดงให้ เห็ น ถึ ง ร่ อ งรอยที่ เ หลื อ ของวั ด ที่ เ ป็ น หอสู ง ตั้งอยู่ในบริ เวณที่ง ดงามของเมือ งหลวงด้า น การเมืองและศาสนาของอาณาจักรจามในยุค นั้นส่วนใหญ่
เมืองโบราณฮอยอัน (Hoi An Ancient Town)
สถานที่ศักดิ์สิทธิ์หมีเซิน (My Son Sanctuary)
เมืองโบราณฮอยอัน (Hoi An Ancient Town) ตั้งอยู่ที่ประเทศเวียดนาม เมืองนี้เป็น ตัวอย่างของเมืองท่าในเอเซียตะวันออกเฉียง ใต้ ซึ่ ง สร้ า งตั้ ง แต่ ค ริ ส ต์ ศ ตวรรษที่ ๑๕-๑๙ (พุทธศตวรรษที่ ๒๐-๒๔) ที่ได้รับการอนุรักษ์ เป็นอย่างดี อาคารต่าง ๆ และการวางผังถนน สะท้ อ นให้ เ ห็ น อิ ท ธิ พ ลของพื้ น เมื อ งและ ต่างประเทศ ซึ่งได้ผ สมผสานกันไว้ได้อย่างมี เอกลักษณ์
บูรณาการอาเซียน กลุ่มสาระการเรียนรูก้ ารงานอาชีพและเทคโนโลยี ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น
[หน ้าที่
๒๐]
มรดกโลกของประเทศสมาชิกอาเซียนทั้ง ๒๘ แห่ง เมืองเว้ ถูกสร้างเป็นเมืองหลวงของเวียดนาม ในปี คริ ส ต์ ศั ก ราช ๑๘๐๒ (พุ ท ธศั ก ราช ๒๓๔๕) เมืองเว้ไม่เพียงแต่เป็นศูนย์กลางทาง การเมืองเท่านั้น แต่ยังเป็นศูนย์กลางศาสนา และวัฒนธรรมด้วย ภายใต้การปกครองของ ราชวงศ์ เ หงี ย น (Nguyen) จนถึ ง ปี คริ ส ต์ ศั ก ราช ๑๙๔๕ (พุ ท ธศัก ราช ๒๔๘๘) แม่น้ําหอม (Perfume) ไหลคดเคี้ยวผ่านกลาง เมื อ งหลวง เมื อ งอิ ม พิ เ รี ย ล เมื อ งต้ อ งห้ า ม (Forbidden Purple City) และเมืองชั้นใน ทําให้เมืองนี้ตั้งอยู่ท่ามกลางธรรมชาติงดงาม
อุทยานคินาบาลู (Kinabalu Park)
หมู่โบราณสถานเมืองเว้ (Complex of Hue Monuments)
อุทยานคินาบาลู อุทยานนี้ตั้งอยู่ในรัฐซาบาห์ ทางเหนื อ สุ ด ของเกาะบอร์ เ นี ย ว ประเทศ มาเลเซีย ภูเขาคินาบาลูสูง ๔,๐๙๕ เมตร ตั้ง ตระหง่านสูงที่สุดอยู่ระหว่างภูเขาหิมาลัยกับ นิวกีนี บริ เวณนี้เต็ มไปด้ วยพื ชพัน ธุ์มากมาย ตั้งแต่ป่าทึบที่ลุ่มต่ําเขตร้อน ภูเขาที่เป็นป่าฝน ไปจนถึ งป่าภู เ ขาเขตร้ อ น ป่าค่ อนข้ างหนาว และป่าละเมาะบนพื้นที่สูง บริเวณนี้เหมาะกับ เป็ น ศู น ย์ ก ลางความหลากหลายของพื ช ใน เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตั้งแต่พืชประจําถิ่นใน หิมาลัย จีน ออสเตรเลีย มาเลเซีย และพันธุ์ไม้ เขตร้อนทั้งหมด
บูรณาการอาเซียน กลุ่มสาระการเรียนรูก้ ารงานอาชีพและเทคโนโลยี ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น
[หน ้าที่
๒๑]
มรดกโลกของประเทศสมาชิกอาเซียนทั้ง ๒๘ แห่ง
ปราสาทพระวิหาร สถานที่นี้ตั้งอยู่บนเนินสูง ซึ่งอยู่เหนือที่ราบของเขมร ปราสาทนี้สร้างขึ้น เพื่อถวายแด่พระศิวะ ตัววิหารประกอบด้วย แนวอาคารต่อเนื่องเชื่อมโดยระเบียงคด และ บันไดที่มีความยาวมากกว่า ๘๐๐ เมตร และ ย้อนเวลากลับไปถึงครึ่งแรกของคริสต์ศตวรรษ ที่ ๑๑ (พุ ท ธศตวรรษที่ ๑๖) แม้ ก ระนั้ น ก็ ดี ประวั ติ ศ าสตร์ ที่ ซั บ ซ้ อ น อาจสื บ ย้ อ นไปถึ ง คริสต์ศตวรรษที่ ๙ (พุทธศตวรรษที่ ๑๔) เมื่อ สถานที่นี้ถูกค้นพบ
อังกอร์ หรือนครวัด (Angko)
ปราสาทพระวิหาร (Temple of Preah Vihear) แองกอร์ เป็นโบราณสถานที่สําคัญที่สุดแห่ง หนึ่งในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีพื้นที่กว้าง ใหญ่กว่า ๔๐๐ ตารางกิโลเมตร รวมบริเวณป่า ด้วย อุทยานโบราณแองกอร์เป็นที่ตั้งของซาก ที่เหลือของเมืองหลวงต่าง ๆ ของอาณาจักร เขมร ตั้ ง แต่ ค ริ ส ต์ ศ ตวรรษที่ ๙-๑๕ (พุ ท ธ ศตวรรษที่ ๑๔-๒๐) รวมถึ ง นครวั ด นครธม ปราสาทบายน อั น งดงามด้ ว ยการประดั บ ประดาด้วยประติมากรรมมากมาย UNESCO ได้จัดตั้งโครงการอย่างกว้างขวาง เพื่อป้องกัน สถานที่และบริเวณโดยรอบ
บูรณาการอาเซียน กลุ่มสาระการเรียนรูก้ ารงานอาชีพและเทคโนโลยี ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น
[หน ้าที่
๒๒]
มรดกโลกของประเทศสมาชิกอาเซียนทั้ง ๒๘ แห่ง ปราสาทหินวัดพูและสิ่งก่อสร้างใกล้เคียงใน แขวงจาปาสัก ตั้งอยู่ในประเทศลาว ภูมิทัศน์ ทางวัฒนธรรมของจําปาสักและอาณาบริเวณ ของวัด พู เป็ น ภู มิ ทั ศ น์ ที่ ไ ด้ ว างผั ง และรั ก ษา สภาพเดิมไว้เป็นอย่างดีมานานกว่า ๑,๐๐๐ ปี เป็นรูปแบบของศาสนาฮินดูที่มีความสัมพันธ์ ระหว่างธรรมชาติกับ มนุษย์ ใช้แกนจากยอด เขาไปยั ง ฝั่ ง แม่ น้ํ า แสดงให้ เ ห็ น รู ป แบบวั ด อาราม การประปาบนพื้ น ที่ ป ระมาณ ๑๐ ตารางกิโลเมตร การวางผังเมืองริมฝั่งแม่น้ํา โขงเป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ของบริ เ วณนี้ เ ช่ น เดี ย วกั บ ภูเขาภูเก้า ทั้งหมดนี้แสดงถึงพัฒนาการตั้งแต่ คริ ส ต์ ศ ตวรรษที่ ๕-๑๕ (พุ ท ธศตวรรษที่ ๑๐-๒๐) ที่มีความสัมพันธ์กับอาณาจักรเขมร
เมืองหลวงพระบาง (Town of Luang Prabang)
ปราสาทหินวัดพูและสิ่งก่อสร้างใกล้เคียง ในแขวงจาปาสัก (Vat Phou and Associated Ancient Settlements within the Champasak Cultural Landscape)
หลวงพระบาง ตั้ ง อยู่ ใ นประเทศลาว เป็ น ตั ว อ ย่ า ง ที่ ชั ด เ จ น ข อ ง ก า ร ห ล อ ม ร ว ม สถาปั ต ยกรรมตามประเพณี ดั้ ง เดิ ม และ โครงสร้างเมืองของลาวกับสถาปัตยกรรมยุโรป ยุ ค อาณานิ ค ม ในคริ ส ต์ ศ ตวรรษที่ ๑๙-๒๐ (พุ ท ธศตวรรษที่ ๒๔-๒๕) มี ก ารอนุ รั ก ษ์ ภู มิ ทัศน์เมืองไว้เป็นอย่างดี แสดงให้เห็นขั้นตอน สําคัญในการผสมผสานวัฒนธรรมที่แตกต่าง ๒ วัฒนธรรมเข้าด้วยกัน
บูรณาการอาเซียน กลุ่มสาระการเรียนรูก้ ารงานอาชีพและเทคโนโลยี ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น
[หน ้าที่
๒๓]
มรดกโลกของประเทศสมาชิกอาเซียนทั้ง ๒๘ แห่ง ผื น ป่ า ดงพญาเย็ น -เขาใหญ่ บริ เ วณนี้ ครอบคลุมพื้นที่ ๒๓ กิโลเมตร ระหว่างอุทยาน แห่ ง ชาติ ต าพระยาที่ ช ายแดนติ ด กั บกั ม พู ช า ทางตะวันออกและอุท ยานแห่ งชาติเ ขาใหญ่ ทางตะวันตก บริเวณนี้เป็นที่อยู่ของพืชพันธุ์ไม้ มากกว่า ๘๐๐ ตระกูล สั ตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ๑๑๒ สายพันธุ์ (ในจํานวนสัตว์เหล่านั้นมีชะนี ๒ ส า ย พั น ธุ์ ) มี น ก ๓ ๙ ๒ ต ร ะ กู ล สัตว์เลื้อยคลาน ๒๐๐ พันธุ์ รวมทั้งสัตว์ครึ่ง บกครึ่งน้ํา
นครประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยา และเมืองบริวาร (Historic City of Ayutthaya)
ผืนป่าดงพญาเย็น-เขาใหญ่ (Dong Phayayen-Khao Yai Forest Complex)
นครประวั ติ ศ าสตร์ พ ระนครศรี อ ยุ ธ ยา และเมืองบริวาร อยุธยาเป็นเมืองหลวงแห่งที่ ๒ ของประเทศไทย สร้างขึ้นในปี คริสต์ศักราช ๑๓๕๐ (พุทธศักราช ๑๘๙๓) ต่อจากสุโขทัย เมื อ งนี้ ถู ก พม่ า ทํ า ลายลงในคริ ส ต์ ศ ตวรรษที่ ๑๘ (พุ ท ธศตวรรษที่ ๒๓) ซากที่ เ หลื อ อยู่ ประกอบด้วยศาสนสถานแสดงความยิ่งใหญ่ใน ประวัติศาสตร์
บูรณาการอาเซียน กลุ่มสาระการเรียนรูก้ ารงานอาชีพและเทคโนโลยี ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น
[หน ้าที่
๒๔]
มรดกโลกของประเทศสมาชิกอาเซียนทั้ง ๒๘ แห่ง
แหล่งโบราณคดีบ้านเชียง ตั้งอยู่ในประเทศ ไทย ได้ชื่อว่าเป็นถิ่นฐานยุคก่อนประวัติศาสตร์ ที่ สํ า คั ญ ที่ ค้ น พบในเอเซี ย ตะวั น ออกเฉี ย งใต้ แสดงให้เห็นขั้นตอนสําคัญของวิวัฒนาการทาง วั ฒ นธรรม สั ง คม และวิ ช าการของมนุ ษ ย์ รวมทั้ ง แสดงหลั ก ฐานของการเกษตรกรรม แหล่งผลิตและการใช้โลหะในภูมิภาค
เมืองประวัติศาสตร์สุโขทัย และเมืองบริวาร (Historic Town of Sukhothai and Associated Historic Towns)
แหล่งโบราณคดีบ้านเชียง (Ban Chiang Archaeological Site)
สุโขทัย ตั้งอยู่ในประเทศไทย เป็นเมืองหลวง แ ร ก ข อ ง อ า ณ า จั ก ร ส ย า ม ร ะ ห ว่ า ง คริ ส ต์ ศ ตวรรษที่ ๑๓-๑๔ (พุ ท ธศตวรรษที่ ๑๘-๑๙) เมืองนี้มีสิ่งก่อสร้างสวยงามมากมาย ที่แสดงให้เห็นถึงยุคเริ่มแรกของสถาปัตยกรรม ไทย อารยธรรมที่ ยิ่ ง ใหญ่ ซึ่ ง พั ฒ นาอยู่ ใ น อาณาจั ก รสุ โ ขทั ย ได้ ซึ ม ซั บ อิ ท ธิ พ ลและ ป ร ะ เ พ ณี โ บ ร า ณ ม า ก ม า ย ข อ ง ท้ อ ง ถิ่ น ผสมผสานเข้ากันเป็นศิลปะสุโขทัย
บูรณาการอาเซียน กลุ่มสาระการเรียนรูก้ ารงานอาชีพและเทคโนโลยี ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น
[หน ้าที่
๒๕]
มรดกโลกของประเทศสมาชิกอาเซียนทั้ง ๒๘ แห่ง อ่าวฮาลอง (Vịnh Hạ Long) หรือ ฮาลอง เบย์ (Halong Bay) เป็นอ่าวแห่งหนึ่งในพื้นที่ ของอ่าวตังเกี๋ยทางตอนเหนือของสาธารณรัฐ สั ง คมนิ ย มเวีย ดนาม ใกล้ ช ายแดนติ ด ต่ อ กั บ สาธารณรัฐประชาชนจีน ชื่อในภาษาเวียดนาม หมายถึง "อ่าวแห่งมังกรผู้ดําดิ่ง" อ่าวฮาลอง (Halong Bay)
อุทยานแห่งชาติกูนุงมูลู (Gunung Mulu National Park)
อุทยานแห่งชาติกุนุงมูลู (Gunung Mulu National Park) เป็นอุทยานที่ตั้งอยู่ในบน เกาะบอร์เนียว รัฐซาราวัก ประเทศมาเลเซีย ติดกับชายแดนของประเทศบรูไน เป็นพื้นที่ที่มี ความหลากหลายในด้ า นชี ว วิ ท ยาและ ธรณีวิทยาเป็นอย่างมาก มีพันธุ์พืชกว่า 3,500 ชนิด และมีพันธุ์ปาล์มกว่า 109 ชนิด
บูรณาการอาเซียน กลุ่มสาระการเรียนรูก้ ารงานอาชีพและเทคโนโลยี ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น
[หน ้าที่
๒๖]
มรดกโลกของประเทศสมาชิกอาเซียนทั้ง ๒๘ แห่ง
เขตรั กษาพั นธุ์สั ต ว์ ป่าทุ่ ง ใหญ่ -ห้ ว ยขาแข้ ง เป็นสถานที่ธรรมชาติแห่งแรกของประเทศไทย และภูมิภาคเอเชียออกเฉียงใต้ที่ได้เป็นมรดก โลกในปี พ.ศ.2534 ประกอบด้ วยผื นป่า อนุรักษ์ 3 แห่ง ได้แก่ เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าทุ่ง ใหญ่นเรศวรด้านตะวันตก เขตรักษาพันธุ์สัตว์ ป่าด้านตะวันออก และเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง
นาขั้นบันไดแห่งเทือกเขาฟิลิปปินส์ (Rice Terraces of the Philipine Cordilleras)
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าทุ่งใหญ่นเรศวร และห้วยขาแข้ง (Thungyai-Huai Kha Khaeng Wildlife Sanctuaries) นาขั้นบันไดแห่งเทือกเขาฟิลิปปินส์ ตั้งอยู่ที่ เกาะลู ซ อนต อนเหนื อ ของสาธารณรั ฐ ฟิลิปปินส์ โดยชาวพื้นเมืองอิฟูเกา (Ifugao) ที่ สร้างนาขั้นบันไดแห่งนี้มากว่า 2,000 ปีแล้ว ด้วยเครื่องมือที่เรียบง่ายและแรงงานคน ซึ่ง ลูกหลานชาวนาสืบเชื้อสายมาจากชาว Ifugao ในปัจจุบันก็ยังคงยึดอาชีพทํานาเช่นเดียวกับ บรรพบุรุษของพวกเขา โดยความรู้นี้ได้ถูกส่ง ต่อกันมาจากรุ่นสู่รุ่น และ การแสดงออกของ ประเพณี อั น ศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ และความสมดุ ล ของ สั ง คมที่ ล ะเอี ย ดอ่ อ น ได้ ช่ ว ยกั น สร้ า งสรรค์ ความงามของภู มิ ทั ศ น์ ซึ่ ง แสดงถึ ง ความ กลมกลืนระหว่างมนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
บูรณาการอาเซียน กลุ่มสาระการเรียนรูก้ ารงานอาชีพและเทคโนโลยี ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น
[หน ้าที่
๒๗]
มรดกโลกของประเทศสมาชิกอาเซียนทั้ง ๒๘ แห่ง มหาสถูปบุโรพุทโธ หรือ บรมพุทโธ (ภาษา อินโดนีเซีย: Chandi Borobudur) เป็น สถานที่ ท่ อ งเที่ ย วที่ มี ชื่ อ เสี ย งของประเทศ อินโดนี เซี ย ตั้ง อยู่ ในภาคกลางของเกาะชวา โดยบุโรพุทโธเป็นศาสนสถานของศาสนาพุทธ นิกายมหายาน ถ้าไม่นับนครวัดของกัมพูชาซึ่ง เป็นทั้งศาสนสถานของศาสนาพราหมณ์ -ฮินดู และศาสนาพุทธ บุโรพุทโธจะเป็นศาสนสถาน ของศาสนาพุทธที่ใหญ่ที่สุดในโลก
นครประวัติศาสตร์วีกัน (Historic Town of Vigan)
กลุ่มวัดบรมพุทโธ (Borobuder Temple Compounds)
นครประวัติศาสตร์วีกัน เมืองวีกันเป็นเมือง ริ ม ท ะเ ลด้ า นต ะวั น ต ก ของ เก าะลู ซอ น สาธารณรัฐฟิลิปปินส์ ห่างจากซานเฟร์นันโด รวม 140 กม. วีกันเป็นเมืองที่สเปนเคยมาตั้ง ค่ายไว้ มีบ้านเรือนเก่าแก่ทรงสเปน ที่ยังสภาพ สมบูรณ์อยู่มากในเขตเมืองเก่า มีโบสถ์เก่าแก่ และมีตําบลใกล้ๆริมทะเล และยังมีที่พักดั้งเดิม บนตึกเก่าแก่น่าพักอีกมากมายรอบๆ เขตเมือง เก่า ถนนและตึกแบบสเปน
บูรณาการอาเซียน กลุ่มสาระการเรียนรูก้ ารงานอาชีพและเทคโนโลยี ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น
[หน ้าที่
๒๘]
อาหารยอดนิยมของประเทศสมาชิกอาเซียน อัมบูยัต (Ambuyat) เป็นอาหารยอดนิยม ของบรูไน มีลักษณะเด่นอยู่ที่ตัวแป้งจะเหนียว ข้นคล้ายข้าวต้ม หรือโจ๊ก โดยมีแป้งสาคูเป็น ส่วนผสมหลัก ตัวแป้งอัมบูยัต เอง ไม่มีรสชาติ แต่ความอร่อยจะอยู่ที่การจิ้มกับซอสผลไม้ที่มี รสเปรี้ยว นอกจากนี้ยังมีเครื่องเคียงอีก 2-3 ชนิด เช่น ผักสด เนื้อห่อใบตองย่าง หรือเนื้อ ทอด ทั้ ง นี้ การรั บ ประทานอั ม บู ยั ต ให้ ไ ด้
อัมบูยัต (Ambuyat)
รสชาติ ต้องรับประทานตอนร้อน ๆ จึงจะดี ที่สุด
อาม็อก (Amok)
อาม็อก (Amok) เป็นอาหารคาวยอด นิยมของกัมพูชา มีลักษณะคล้ายห่อหมกของ ไทย โดยเป็นการนําเนื้อปลาสด ๆ ลวกพริก เครื่ อ งแกง และกะทิ แล้ ว ทํ า ให้ สุ ก โดยการ นําไปนึ่ง ซึ่งนอกจากจะใช้เนื้อปลาแล้ว อาจ เลื อ กใช้ เ นื้ อ ไก่ แ ทนก็ ไ ด้ ส่ ว นสาเหตุ ที่ ค นใน ปร ะ เ ทศ กั ม พู ช า นิ ยม รั บ ปร ะ ท าน ป ล า เนื่องจากสภาพภูมิประเทศของกัมพูชามีแหล่ง น้ํ า อุ ด มสมบู ร ณ์ ทํ า ให้ ป ลาเป็ น อาหารที่ ห า รับประทานได้ง่ายนั่นเอง
บูรณาการอาเซียน กลุ่มสาระการเรียนรูก้ ารงานอาชีพและเทคโนโลยี ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น
[หน ้าที
๒๙]
อาหารยอดนิยมของประเทศสมาชิกอาเซียน กาโด กาโด (Gado Gado) อาหารยอดนิยม ของประเทศอินโดนีเซีย ประกอบไปด้วยผัก และธั ญ พื ช หลากหลายชนิ ด ทั้ ง แครอท มันฝรั่ง กะหล่ําปลี ถั่วงอก ถั่วเขียว นอกจากนี้ ยัง มี เ ต้ า หู้ และไข่ ต้ ม สุ ก ด้ ว ย กาโด กาโดจะ นํา มารับประทานกับ ซอสถั่ว ที่ค ล้า ยกั บซอส สะเต๊ะ อย่างไรก็ตาม ด้วยเครื่องสมุนไพรใน ซอส อาทิ รากผั ก ชี หอมแดง กระเที ย ม ตะไคร้ ทํ าให้ เ มื่ อ รั บ ประทานแล้ว จะไม่ รู้ สึ ก
สลัดหลวงพระบาง (Luang Prabang Salad)
กาโด กาโด (Gado Gado) สลัดหลวงพระบาง (Luang Prabang Salad) เป็ น อาหารขึ้ น ชื่ อ อี ก ชนิ ด หนึ่ ง เนื่องจากมีรสชาติกลาง ๆ ทําให้รับประทานได้ ทั้ ง ช า ว ต ะ วั น อ อ ก แ ล ะ ต ะ วั น ต ก โ ด ย ส่วนประกอบสําคัญคือ ผักน้ํา ซึ่งเป็นผักป่าที่ ขึ้นตามริมธารน้ําไหล และยังมีส่วนประกอบ อื่น ๆ เช่น มันแกว แตงกวา มะเขือเทศ ไข่ต้ม ผักกาดหอม และหมูสับลวกสุก ส่วนวิธี ปรุ ง รสคื อ ราดด้ ว ยน้ํ า สลั ด ชนิ ด ใส คลุ ก ส่วนผสมทั้งหมดเข้าด้วยกัน แล้วโรยหน้าด้วย
บูรณาการอาเซียน กลุ่มสาระการเรียนรูก้ ารงานอาชีพและเทคโนโลยี ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น
[หน ้าที่
๓๐]
อาหารยอดนิยมของประเทศสมาชิกอาเซียน นาซิ เลอมัก (Nasi Lemak) อาหารยอด นิยมของประเทศมาเลเซีย โดยนาซิ เลอ มัก จะเป็นข้าวหุงกับกะทิ และใบเตย ทาน พร้อมเครื่องเคียง 4
อย่าง ได้แก่ ปลา
กะตั ก ทอดกรอบ แตงกวาหั่ น ไข่ ต้ ม สุ ก และถั่วอบ ซึ่งนาซิ เลอมักแบบดั้งเดิมจะ ห่อด้วยใบตอง และมักทานเป็นอาหารเช้า
นาซิ เลอมัก (Nasi Lemak)
แต่ในปัจจุบัน กลายเป็นอาหารยอดนิยมที่ ทานได้ ทุ ก มื้ อ และแพร่ ห ลายในประเทศ เพื่ อ นบ้ า นอี ก หลายแห่ ง เช่ น สิ ง คโปร์
อโดโบ้ (Adobo) เป็นอาหารยอดนิยม ของประเทศฟิลิปปินส์ ทําจากเนื้อหมู หรือเนื้อ ไก่ ที่ ผ่ า นการหมั ก และปรุ ง รส โดยจะใส่ น้ําส้มสายชู ซีอิ๊วขาว กระเทียมสับ ใบกระวาน
พริ ก ไทยดํ า นํ า ไปทํ า ให้ สุ ก โดยอบในเตาอบ หรื อ ทอด แล้ ว นํ า มารั บประทานกั บ ข้ า วสวย ร้อน ๆ ส่วนผสมของอโดโบ้สามารถเก็บรักษา อโดโบ้ (Adobo)
ไว้ได้นาน เหมาะสําหรับพกไว้เป็นเสบียงอาหาร ระหว่ า งการเดิ น ทาง ซึ่ ง ปั จ จุ บั น อโดโบ้ ไ ด้
กลายเป็นอาหารยอดนิยมที่นํามารับประทาน กันได้ทุกที่ทุกเวลา
บูรณาการอาเซียน กลุ่มสาระการเรียนรูก้ ารงานอาชีพและเทคโนโลยี ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น
[หน ้าที่
๓๑]
อาหารยอดนิยมของประเทศสมาชิกอาเซียน ลักซา (Laksa) อาหารขึ้นชื่อของประเทศ สิงคโปร์ ลักซามีลักษณะคล้ายก๋วยเตี๋ยวต้มยํา ใส่กะทิ ทําให้รสชาติเข้มข้น คล้ายคลึงกับข้าว ซอยของไทย โดยลักซาจะมีส่วนผสมของ กุ้ง แห้ ง พริ ก กุ้ ง ต้ ม และหอยแครง เหมาะ สําหรับคนที่ชอบรับประทานอาหารทะเลเป็น อย่ า งยิ่ ง อย่ า งไรก็ ต าม ลั ก ซามี ทั้ ง แบบที่ ใ ส่
กะทิ และไม่ใส่กะทิ ทว่า แบบที่ใส่กะทิจะเป็น ที่นิยมมากกว่า
ต้มยากุ้ง (Tom Yam Goong)
ลักซา (Laksa) ต้มยากุ้ง (Tom Yam Goong) แค่ เอ่ยชื่อก็เป็นที่ทราบกันดีอยู่แล้วว่า ต้มยํากุ้ง เป็นอาหารคาวที่เหมาะสําหรับรับประทาน กับข้าวสวยร้อน ๆ กลิ่นหอมของสมุนไพรที่ เป็นส่วนประกอบในต้มยํากุ้ง ทําให้รู้สึกสดชื่น ช่ ว ยกระตุ้ น การเจริ ญ อาหารได้ เ ป็ น อย่ า ง ดี ต้มยํากุ้งเป็นอาหารที่มีรสเปรี้ยว และ เผ็ดเป็นหลัก ทําให้รับประทานแล้วไม่เลี่ยน จึงทําให้ต้มยํากุ้งเป็นอาหารที่ได้รับความนิยม ในทั่ ว ทุ ก ภาคของประเทศไทย รวมถึ ง ชาวต่างชาติเองก็ติดอกติดใจในความอร่อย ของต้มยํากุ้งเช่นเดียวกัน
บูรณาการอาเซียน กลุ่มสาระการเรียนรูก้ ารงานอาชีพและเทคโนโลยี ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น
[หน ้าที่
๓๒]
อาหารยอดนิยมของประเทศสมาชิกอาเซียน เปาะเปี๊ ย ะเวี ย ดนาม (Vietnamese Spring Rolls) ถือเป็นหนึ่งในอาหารพื้นเมือง ที่ โ ด่ ง ดั ง ที่ สุ ด ของประเทศเวี ย ดนาม ความ อร่ อ ยของเปาะเปี๊ ย ะเวีย ดนาม อยู่ ที่ ก ารนํ า แผ่นแป้งซึ่งทําจากข้าวจ้าวมาห่อไส้ ซึ่งอาจจะ เป็นไก่ หมู กุ้ง หรือหมูยอ โดยนํามารวมกับ ผั ก สมุ น ไพรอี ก หลายชนิ ด เช่ น สะระแหน่ ผักกาดหอม และนํามารับประทานคู่กับน้ําจิ้ม เปาะเปี๊ยะเวียดนาม หวาน โดยจะมีถั่วคั่ว แครอทซอย ไชเท้าซอย (Vietnamese Spring Rolls) ให้เติมตามใจชอบ และบางครั้งอาจมีเครื่อง เคียงอย่างอื่นเพิ่มด้วย หล่าเพ็ด (Lahpet) เป็นอาหารยอดนิยมของ พม่า โดยการนําใบชาหมักมาทานกับเครื่อ ง เคียง เช่น กระเทียมเจียว ถั่วชนิดต่าง ๆ งาคั่ว กุ้งแห้ง ขิง มะพร้าวคั่ว เรียกได้ว่า มีลักษณะ คล้ า ยคลึ ง กั บ เมี่ ย งคํ า ของประเทศไทย ซึ่ ง หล่ า เพ็ ด นี้ จะเป็น เมนู อ าหารที่ ข าดไม่ ไ ด้ ใ น โอกาสพิ เ ศษหรื อ เทศกาลสํ า คั ญ ๆ ของ ประเทศพม่า โดยกล่าวกันว่า หากงานเลี้ยง หล่าเพ็ด หรืองานเฉลิมฉลองใดไม่มี หล่าเพ็ด จะถือว่า (Lahpet) การนั้ น เป็ น งานที่ ข าดความสมบู ร ณ์ ไ ปเลย
บูรณาการอาเซียน กลุ่มสาระการเรียนรูก้ ารงานอาชีพและเทคโนโลยี ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น
แบบทดสอบหลังเรียน 1. ธงชาติของประเทศในอาเซียน ประเทศใดที่มี ลายเส้นเป็นเส้นตรงแนวนอน, เส้นตรงแนวตั้ง, เส้นโค้งรูปตัวซีและเส้นหยัก ก. สาธารณรัฐแห่งสหภาพพม่า ข. สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ค. มาเลเซีย
[หน ้าที่
๓๓ ]
4. จากรูปด้านล่างคือ หล่าเพ็ด (Lahpet) เป็น อาหารที่นําใบชาหมักมาทานกับเครื่องเคียง เช่น กระเทียมเจียว ถั่วชนิดต่าง ๆ งาคั่ว กุ้งแห้ง ขิง มะพร้าวคั่ว คล้ายคลึงกับเมี่ยงคําของประเทศไทย ถามว่าหล่าเพ็ดเป็นอาหารยอดนิยมของประเทศ ใด
ง. ไทย
ก. สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว 2. ชุดประจําชาติของประเทศใด ที่ผู้หญิงจะสวมใส่ ข. บรูไน ดารุสซาลาม ค. สาธารณรัฐแห่งสหภาพพม่า ชุดที่มีลักษณะเป็นเสื้อแขนยาว ปักฉลุเป็นลาย ง. ราชอาณาจักรกัมพูชา ลูกไม้ และผ้าถุงที่ใช้จะเป็นผ้าถุงแบบบาติก 5. จากภาพด้านล่างเป็นนาขั้นบันได ที่แสดงถึง ก. สาธารณรัฐฟิลิปปินส์ ความกลมกลืนระหว่างมนุษย์กับสิ่งแวดล้อม เป็น ข. สาธารณรัฐอินโดนีเซีย การแสดงออกของประเพณีอันศักดิ์สิทธิ์ และสืบ ค. สาธารณรัฐสิงคโปร์ ทอดอาชีพทํานาจากบรรพบุรุษสู่ลูกหลานรุ่น ง. สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม ปัจจุบัน ถามว่าสถานที่สําคัญดังกล่าวอยู่ใน 3. ดอกไม้ประจําชาติสาธารณรัฐฟิลิปปินส์ มีกลีบ ประเทศใด ดอกรูปดาวสีขาวที่บานตลอดทั้งปีแย้มดอกตอน กลางคืน และมีกลิ่นหอม มีชื่อเรียกว่าอะไร ก. Moon Orchid
ข. Rumdul ค. Champa ง. Sampaguita Jasmine
ก. ไทย ข. ราชอาณาจักรกัมพูชา ค. สาธารณรัฐสหภาพพม่า ง. สาธารณรัฐฟิลิปปินส์
เฉลย แบบทดสอบหลังเรียน 1. ค
2.ข
3.ง
4. ค
5. ง
[หน ้าที่
๓๔ ]
ผู้จัดทำ
นางสาวสมพร พุทธสถาพร ตาแหน่ง ครูชานาญการพิเศษ
นางสาวอุมาพร บริรักษ์ ตาแหน่ง ครู
โรงเรียนเทพศิรินทร์ สมุทรปราการ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 6 จังหวัดสมุทรปราการ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ดูแลการผลิต โดย กานต์พิชชา จีระศิริ ครูชานาญการพิเศษ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนเทพศิรินทร์ สมุทรปราการ www.debsirinsp.ac.th