Forward Magazine

Page 1

Forward Moving our city forward

June 2016

Co-create Charoenkrung


Contents Went there 4 Playground 5 Seminar 6 Main course 8 Green please 14 Through the lens 15 Then and now 16 For word 19


Editor's Talk

Live a Better Life ว่าจะเป็นสิ่งใดในโลก เมื่อถึงเวลาก็ต้องเปลี่ยน บางอย่างเปลี่ยนไปในทางที่ดีขึ้น ในขณะที่บางอย่างเปลี่ยนไปไม่ถูกทางก็แย่ลง เรื่องของเมืองเป็นสิ่งหนึ่งที่เราเห็นการ เปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ ทั้งรูปร่างของอาคาร บ้านเรือน ระบบขนส่ง การจราจร หรือแม้ กระทั่งผู้คนที่เข้ามาอาศัยหรือย้ายออก เราเห็นตัวอย่างของการเปลี่ยนแปลงเมืองจากสื่อในหลากหลายประเทศทั่วโลก เช่นเมืองที่เปลี่ยนจากการท�ำเกษตรกรรมเป็นอุตสาหกรรม เมืองที่รักษาศิลปะของ อาคารบ้านเรือน เมืองที่เอื้อให้คนใช้จักรยาน เมืองที่สนับสนุนงานศิลปะ แล้วเราก็มักจะ พบว่าการเปลี่ยนแปลงของเมืองสร้างการเปลี่ยนแปลงให้กับคนด้วย การอยู่ในเมืองเช่น ไร มีผลต่อการใช้ชีวิตประจ�ำวัน ตลอดจนลักษณะนิสัย การเปลี่ยนแปลงที่น่าสนใจในช่วงเวลาที่ผ่านมาคือการเปลี่ยนเมืองให้เป็นเมือง สร้างสรรค์ที่หลายๆประเทศในโลกก�ำลังท�ำให้เกิด ในกรุงเทพฯก็เช่นเดียวกัน เรามีทุน และทรัพยากรเพียงพอที่จะท�ำให้เกิดขึ้นได้ แต่ก็มีหลายปัจจัยให้ค�ำนึงถึงเช่นความเข้าใจ ของคนที่อยู่ในพื้นที่นั้นๆ หรือแม้กระทั่งคนนอกที่มองเข้ามา แต่ถึงอย่างไรเราก็เริ่มเห็น ว่าเจริญกรุง ย่านความเจริญเก่าแก่ ก�ำลังบุกเบิกแนวคิดนี้ ด้วยความจริงที่ว่า

ไม่ว่าใครๆก็อยากอยู่ในเมืองที่ท�ำให้ชีวิตดีขึ้น

นันท์นภัส พลเศรษฐเลิศ บรรณาธิการบริหาร


Went there

Unforgettable

ทันทีที่ก้าวเท้าเข้าไปใน ห้อง Do Visual Lab คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุÌาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พลังจากความกึ่งสุข กึ่งเศร้า ผ่าน บทเพลง มนุษย์ลืม ของแสตมปŠ อภิวัชร์ และชิ้นงานสะท้อนความทรงจ�า ก็กระทบกับใจของเจ้าของเท้าคู่นั้น ราวกับว่าตัวเขากับผู้จัด The EXhibition นิทรรศการที่ยกเอาทุกอย่างใน MV มนุษย์ลืมมาจัดแสดง มีความรู้สึกร่วมกัน คือการพยายามจ�าบางสิ่ง และลืมบางอย่าง เขานึกถึงเรื่องราวในอดีตที่จบลงอย่างไม่สวยงาม ความรู้สึกแรกของเขาอยู่ตอนท้ายสุดของเรื่อง หลังจากนั้นก็หนีไม่พ้นความคิดที่พา เขาวนกลับไปที่ต้นเหตุของปัญหา วนซ�้าแล้วซ�้าเล่าเหมือนกับเพลงในนิทรรศการที่เปิดวนไปวนมา ประกอบกับข้อความที่คอยตอกย�้าเขา ก่อนจะคิด ปลอบใจตัวเองว่านั่นเป็นความเรื่องธรรมดาของความสัมพันธ์ สักพักเขาหลุดจากความรู้สึกของตัวเอง มาสังเกตสีหน้า ตาที่แดงก�่า มือที่กุมผ้าเช็ดหน้า และตัวหนังสือที่เขียนถึงคนที่ลืมไม่ลงบนแผ่น กระดาษ แล้วเขาก็พบว่า การมีความทรงจ�าเป็นเรื่องพิเศษ เขาได้แต่บอกว่าไม่ทันตั้งตัว ว่าจะต้องมารู้สึกแบบนี้ ไม่ทันได้ถามว่าเขารู้สึกดีขึ้นบ้างไหม แต่คิดว่าทันทีที่ก้าวเท้าออกไป เขาคงได้เรียนรู้ว่าเขาสามารถอยู่กับความทรงจ�าเหล่านั้นได้

Forward 4


n o s l i e N

Playground

Hays

Library ด้านหน้าของงานเป็นโต ะส�าหรับจ่ายเงิน ผู้ที่นั่งประจ�าที่ก็คือ Stephen Colbourn อาสาสมัครผูร้ ว่ มจัดงาน Stephen คลายข้อสงสัย ให้ฟังว่าหนังสือที่มาจ�าหน่ายในแต่ละปีได้มาจากการบริจาค โดยเงินที่ได้ จากการจ�าหน่ายหนังสือก็จะเอาไปใช้บ�ารุงห้องสมุดเช่นซ่อมพื้นหรือซ่อม หลังคา และน�าไปจ่ายให้กับเจ้าหน้าที่ ซึ่งความตั้งใจของห้องสมุดแห่งนี้ ก็คือการท�าให้ห้องสมุดเป็นสถานที่ส�าหรับการรวมตัวของผู้คน แม้ว่าที่ นี่จะก่อตั้งและด�าเนินการโดยชาวต่างชาติ แต่คนไทยก็สามารถมาร่วมท�า กิจกรรมได้ โดยมีหนังสือเป็นตัวเชื่อม ในความเข้าใจของคนทั่วไปห้องสมุดคือสถานที่ที่มีหนังสือให้ เมื่ อ เราถามว่ า ในฐานะของคนที่ ท� า งานเกี่ ย วกั บ หนั ง สื อ ว่ า อ่านหรือยืม แต่ค�าจ�ากัดความเพียงเท่านั้นอาจใช้ไม่ได้กับ Neilson Hays หนังสือมีสว่ นช่วยในการพัฒนาคนอย่างไร Stephen ก�าลังยุง่ กับการพูด Library ห้องสมุดสถาปัตยกรรมแบบนีโอ คลาสสิก ทีร่ บั การขนานนาม คุยกับลูกค้าและเพื่อนร่วมงาน จึงตอบสั้นๆว่า ว่า ทัชมาÎาลเมืองไทย จากการที่หมอ Thomas Heywood Hays สร้าง ให้ภรรยาของเขา Jennie Neilson Hays ผู้ก่อตั้ง “The Bangkok “ A Life without books is Ladies Library Association” สถานที่ส�าหรับแลกเปลี่ยนหนังสือในหมู่ ชาวต่างชาติ

a life not worth living ” ที่นี่ไม่ใช่เพียงแค่ห้องสมุดแต่เป็นคอมมูนิตี้ส�าหรับการแลก เปลี่ยน เรียนรู้เช่นกิจกรรมเล่านิทานส�าหรับเด็กในวันเสาร์ เป็นอาร์ต แกลลอรี่ เป็นพื้นที่ส�าหรับจัดงานอีเว้นท์ และในแต่ละปียังมีงาน Book sale จ�าหน่ายหนังสือภาษาอังกÄษจากทั่วทุกมุมโลกในราคาที่เป็นมิตร ณัฐ ฉมามา หนึ่งในผู้ร่วมงาน Book sale เล่าว่ามาร่วมงาน เป็นปีที่ 3 แล้ว ที่นี่มีหนังสือทั้งเก่าและใหม่ ทั้งนวนิยานและเรื่องจริง บาง เล่มเป็นหนังสือเมื่อปีทีแล้ว หรือสองปีที่แล้ววางขาย และทุกเล่มถือว่า สภาพดี ท�าให้ได้หนังสือดีๆจากที่นี่ไปเยอะพอสมควร ซึ่งปีนี้คนเยอะกว่า ปีที่ผ่านมามาก

Forward 5


PAPA Seminar

You’re Handsome

คนหนึง่ คนมีมากกว่าหนึง่ สถานภาพ ซึง่

ใหม่ แต่ในมุมมองของคนที่ยังไม่มีลูกเราเองก็เชื่อว่าความคิดแบบนี้มันมีเหตุ บ่อยครั้งบทบาท หน้าที่ของสถานภาพที่มีก็ต้องท�างานพร้อมกัน ประสาน มีผลพอสมควร อย่างไรก็ดีก®ของสิ่งมีชีวิตบนโลกเป็นเรื่องพื้นฐานที่จะต้อง มีคนรุ่นถัดมา ที่จะต้องอยู่ต้องเติบโตในสังคม” กั น หรื อ สนั บ สนุ น กั น ดั ง เช่ น ส�าหรับอธิคม การมีลกู แลกมาด้วย การสูญเสียลักษณะเฉพาะบาง สถานภาพที่เรารู้จักคือบรรณาธิการนิตยสาร way ที่เฉียบคมทั้ง อย่าง ความคิด และตัวหนังสือ ในขณะเดียวกันเขามีสถานภาพเป็นพ่อของเด็กหญิง “ค�าโบราณบอกว่าราหุล หรือห่วงเป็นเรือ่ งจริง เพราะค่อย ๆ เรียน วัยสิบขวบ ที่เขาเองยอมรับว่าไม่มีความรู้ ความเชื่อว่าจะสามารถเป็น พ่อ รู้ได้จากชีวิตที่ไม่สามารถเป็นตัวของตัวเองได้ 100% ท้าทายว่าแล้วเราจะหา ใ น ค ว า ม ห ม า ย ที่ ส ม บู ร ณ ์ แ บ บ ไ ด ้ จุดสมดุลได้ยังไง ”

อธิ ค ม คุ ณ าวุ ฒิ

บรรยากาศ ณ จุดสมดุลของสองสถานภาพ

อธิคม คุณาวุติ บอกเล่าความรู้สึกตอนที่ได้รู้ว่าจะได้เป็นพ่อคนว่า “เหมือนกับที่หลาย ๆ คนพูดว่าความคิดของคนปัจจุบัน คนหนุ่มคนสาวไม่ “ ไม่ได้มีความพยายามอย่างจริงจังที่จะต้องสร้างบรรยากาศของ ค่อยอยากจะมีลูกหรือรู้สึกว่าโลกไม่ได้น่าอยู่ส�าหรับสิ่งมีชีวิต อย่างเราเกิด การเรียนรู้ให้กับลูก แต่มันเกิดขึ้นโดยปกติเช่นกระตุ้นหนึ่งเรื่องแล้วก็ถามว่า มาแล้วเราก็จ�าเป็นต้องอยู่ หลายคนก็จะพูดกันว่าสงสารชีวิตที่จะเกิดขึ้นมา ชอบหรือเปล่า ชอบไหม ท�าไมถึงชอบ ท�าไมถึงไม่ชอบ วันก่อนดูหนังเรื่องซู โทเปีย ลูกบอกว่าเป็นการ์ตนู ทีช่ อบทีส่ ดุ ตัง้ แต่เคยดูมา เราต้องตัง้ ค�าถามเพือ่ ให้ลูก½ƒกการอธิบายว่าท�าไมถึงชอบที่สุด อะไรที่รู้สึกว่าชอบมากกว่าหนัง การ์ตูนหลายเรื่องที่เคยดูมา ฝƒกให้เกิดบทสนทนาให้เกิดการเรียบเรียงความคิดความรู้สึกและ พูดออกมา ผลิตค�าพูด ความคิด ทางภาษา บางครั้งก็จงใจที่จะใช้ภาษาที่ ลูกมักจะบอกว่า พ่อมักจะใช้ภาษาที่ชาวบ้านไม่พูดกัน จะให้เค้าได้รู้จักภาษา หลายแบบคือภาษามันเป็นตัวแทนของสิง่ ทีอ่ ยูใ่ นหัว มันผลิตความหลากหลาย ของความคิด มันสร้างกระบวนการสื่อสาร ยกตัวอย่างค�าที่มันแทนความ รู้สึกได้มากกว่าความดีใจ เช่นรู้จักค�าว่าปิติไหม สะอื้น เสียใจมันมีอะไรที่แทน มากกว่าความเศร้า มันมีค�าไหนที่ให้อารมณ์ความรู้สึกที่ตรงกับสิ่งที่เรารู้สึก จริ ง ๆมากกว่ า เศร้ า ใจ แต่ ก็ ไ ม่ ไ ด้ เ ป็ น ระเบี ย บแบบแผนอะไรก็ เ กิ ด ขึ้ น โดย ธรรมชาติ”

Forward 6


อุปสรรคที่ขัดขวางบรรยากาศของการเรียนรู้ “ ยกตัวอย่างการคุยบนโต ะอาหารลูกถามขึน้ มาว่าท�าไมทหารต้อง ปกครองประเทศ เราก็ต้องคิดพอสมควรว่าเรื่องเหล่านี้มันอยู่ในช่วงเวลาที่ เหมาะสมทีจ่ ะพูดได้มากน้อยแค่ไหน บางค�าถามรูส้ กึ ว่าเด็กเป็นผ้าขาวดีๆอย่า พึง่ รู้เลยเดี๋ยวโตขึน้ ก็ร้เู อง คุณเชือ่ แบบนั้นมั๊ย เด็กก็มีสีสันของเด็กเค้าเรียกว่า มายาคติหรือว่าวาทะกรรมที่พูดว่าเด็กเป็นผ้าขาวมันเป็นสิ่งที่พูดกันมาจริง บ้างไม่จริงบ้างเราก็ไม่รขู้ าวจริงหรือเปล่า ใสสะอาดจริงไหม ผมว่าไม่จริงหรอก บางทีก็เจ้าเล่ห์จะตายบางทีก็เอาชนะเราได้ด้วยความอ่อนโยนก็มีโดยที่เราก็ไม่ ได้สอน ”

ธรรมชาติของเด็กไม่ใช่ผ้าขาว “ เด็กมันไม่ใช่ผ้าขาวที่จริงหรอกเพราะมันต้องผ่านโรงเรียน ผ่าน เรื่องเล่า เรื่องราวของคนในบ้าน VS คนนอกบ้าน ครู ผ่านเพื่อน สิ่งที่หล่อหลอมเค้าขึ้นมา มันคือเรื่องเล่า เรื่องราว เรื่องเล่า ที่คุณครูที่โรงเรียนเล่าว่าอย่างนี้ เรื่องเล่าที่เพื่อนแสดงความเห็นว่าอย่างนี้ เป็นจริตของคนชนชั้นกลางไม่น้อยที่จะพยายามสร้างแคปซูลสูญ เพื่อนคนนั้นก็ไปฟังเรื่องราวจากที่บ้านมา.” ญากาศให้กบั ลูกเช่นเลือกโรงเรียน ปิดกัน้ เรือ่ งราวต่างๆทีจ่ ะผ่านเข้ามา เพราะ เชื่อว่าจะท�าให้ลูกอยู่รอดปลอดภัยในสังคมแบบนี้ แต่ผมคิดว่ามันเป็นแค่ กระบวนการหลอกตัวเองว่าจริงๆมันต้องสวยงามแบบนัน้ สุดท้ายก็ตอ้ งออก ไปเจอ ทุกคนไม่ได้ผ่านโรงเรียนอนุบาลมาแบบเดียวกัน ถ้าวันนึงเค้าเจอเรื่อง เรื่องเล่า แบบอธิคมที่จะใส่ไปในตัวลูก ราวข้างนอกพวกเราก็ต้องแพ้อยู่แล้ว เพราะโลกมันเป็นอย่างนั้น คนแบบเรา เรามันเป็นคนที่ไม่ใช่คนส่วนใหญ่อยู่แล้วไม่ว่าจะในหมวดหมู่ใดก็ตาม เพราะ “ สร้างเรื่องราวแบบของเราขึ้น เพื่อให้เค้าไปต่อสู้กับสิ่งที่เค้าได้รับ ฉะนั้นสิ่งที่จะเกิดขึ้นกับคนรุ่นลูกก็คือว่า เราแค่บอกกับลูกว่า นอกเหนือจาก นอกบ้าน กระบวนการผลิตเรื่องราวเหล่านี้มันจ�าเป็นส�าหรับทุกบ้าน มันน่า เรื่องเล่าหลักแล้วมันมีเรื่องเล่ารองอีกนะลูก จะเป็นแกนกระดูกที่ส�าคัญ ของคนในช่วงวัยหนึ่งด้วยซ�้าไป เพราะว่าพอหมด จากวัยที่เค้านั่งฟังแล้ว พอเค้าเริ่มเถียงเค้าก็คงไม่อยากคุยกะเราแล้ว แต่เรื่อง ราวระหว่างที่เขาจะอายุ 10 ขวบมันจะอยู่กับเขาก็เลยพยามใส่สิ่งเหล่านี้ เข้าไป “ อธิคม พยายามจะบอกว่าตัวเขาเองก็ไม่ได้หล่อ เหมือนอย่าง ที่คนอ่านหนังสือพ่อหล่อสอนลูกเชื่อ บางเวลาก็อาจจะโมโห แต่โมโหของ เขามีการพูดคุยกันด้วยเหตุและผลอย่างมีสติประกอบอยู่ด้วย ให้เป็นไปตาม บรรยากาศที่คนเป็นหัวหน้าครอบครัวอย่างเขาออกแบบไว้ ซึ่งนั่นยิ่งท�าให้เราเชื่อว่า เขาเป็นพ่อที่หล่อจริงๆ

“ เปšนจริตของคนชนชัéนกÅางไม่น้อย ที่จะพยายามสร้างแคป«ÙÅสÙÞÞากาÈãË้กับÅÙก แต่¼มคิดว่ามันเปšนแค่กระบวนการËÅอกตัวเองว่าจริงæมันต้องสวยงามแบบนัéน ”

Forward 7


Co-create Charoenkrung ดด

Forward 8


ความปกติ ธรรมดาอย่างหนึ่งของย่านธุรกิจทั่วโลกคือ เมื่อถึงจุดที่มีความ เจริญจนถึงขีดสุด ก็จะต้องมีการขยับขยาย กระจายออกไป การกระจาย ตัวของผู้คน น�ำเอาวิถีชีวิต วัฒนธรรม ความคิด หรือสิ่งที่มีในตัวคนๆนั้นไปด้วย เจริญกรุง ย่านธุรกิจการค้า และแหล่งต้นก�ำเนิดความศิวิไลเช่น ถนนสายแรกใน ประเทศ รถรางสายแรกๆในเอเชีย ก็เช่นกัน ความเจริญที่เข้ามาตั้งแต่ที่ไทยตัดสินใจท�ำสนธิสัญญาเบาริ่ง เป็นจุดเริ่มต้นของการ เปลี่ยนแปลงในย่านเจริญกรุงทั้งอาคาร สถาปัตยกรรมตามแบบตะวันตก เรื่อย มาจนถึงปัจจุบน ั ทีม ่ กี ารเปลีย ่ นพืน ้ ทีเ่ ก่าให้เป็นคอนโด ห้างสรรพสินค้า แต่สด ุ ท้าย วงจร ย่านธุรกิจก็ยังคงท�ำงาน เมืองขยายตัวออกไป ย่านสีลม สาทร สยาม ….

เจริญกรุงจึงเงียบเหงา ไม่คก ึ คักเหมือนเมือ ่ ก่อน ผูค้ นทีเ่ ข้ามาใช้พนื้ ทีห่ รือ ใช้ย่านนี้ เป็นเพียงแค่ผู้เข้ามาท�ำธุระชั่วคราวเช่น มาเรียนหนังสือ มาท�ำงาน หลังจาก นัน ้ ก็ออกจากพืน ้ ทีแ่ ยกย้ายกันไปตามทีพ ่ ก ั อาศัย ทีย ่ งั คงอยูก ่ ค ็ อ ื ผูค ้ นทีท ่ ำ� มาค้าขายใน ย่านนั้นเป็นระยะเวลานาน หรือคนในชุมชนเท่านั้น ตลอดสองข้างทางบนถนนเจริญกรุง ยังคงสัมผัสได้ถึงกลิ่นอายของความ ดั้งเดิมผ่านผู้คนหลายเชื้อชาติทั้งไทย จีน ฝรั่ง แขก ตลอดจนตึก อาคารทรงโบราณ สมัยร้อยกว่าปีก่อน ในขณะเดียวกันตาม ตรอก ซอก ซอย มีอาร์ตแกลลอรี่ ร้าน กาแฟ ผลงานศิลปะบนผนัง ที่อยู่ร่วมกันกับความเก่าแก่ได้อย่างลงตัว

ในวั น ที่ ใ ครๆต่ า งก็ พู ด ว่ า ศู น ย์ ก ลางความเจริ ญ ไม่ ไ ด้ อ ยู ่ ที่ นี่ แ ล้ ว เจริญกรุงยังคงเป็นย่านที่มีศักยภาพ ทั้งศักยภาพของคนที่อยู่ดั้งเดิม คนในชุมชนที่ ลุ่มรวยวัฒนธรรมจากซีกโลกต่างๆ ผู้ประกอบการ และคนที่รุ่นใหม่ที่ย้ายเข้ามาท�ำ ธุรกิจขายความคิดสร้างสรรค์ ประกอบกับต้นทุนด้านอาคาร สถาปัตยกรรมที่บอก เล่าประวัติศาสตร์ส�ำคัญในยุคที่ประเทศเริ่มติดต่อกับต่างชาติ เจริญกรุง ในวันนี้ก�ำลังจะเปลี่ยนจากย่านที่เจริญด้วยธุรกิจการค้าไปเป็นย่านที่เจริญ ด้วยความคิด โดยที่ยังคงรักษาของเก่าไปพร้อมๆกับการสร้างสรรค์สิ่งใหม่ รักษา อย่างไร สร้างสรรค์แบบไหน ให้ตัวอักษรบนหน้ากระดาษต่อไปนี้เล่าให้ฟัง

Forward 9


Keep the old things โบราณกล่าวไว้ว่า คนไม่มีอดีตคือคนไม่มีอนาคต หากอยากจะสร้างอนาคตควรศึกษาอดีต เพราะการเก็บอดีต ไว้ศึกษาเป็นหนทางสู่การสร้างอนาคต

เกçบอย่างไร

“ตั้งใจจะท�าพิพิธภัณ±์ แต่มันมีค่าใช้จ่ายสูง เสียค่าใช้จ่ายเองก็คง ดูแลไม่ไหว ตัดสินใจยกให้กทม. โดยไม่มีหลักเกณ±์อะไร ถามว่าเค้าเอามั๊ย เรามีอย่างงี้ จะเอามั๊ย เราไม่ได้จ�าเป็นอะไรต้องพยายามยกให้ เราไม่ได้ผล บ้านไม้สองชั้น ทรงปัœนหยาในซอยเจริญกรุง 43 อาจจะไม่คุ้นหูใน ประโยชน์อะไร สมมติจะให้เช่าบ้านหลังนี้ให้ค่าเช่าเดือนละแสนก็ให้เช่าได้ ชื่อพิพิธภัณ±์ท้องถิ่นกรุงเทพมหานครเขตบางรัก แต่คุ้นตาในฉากละครเมื่อ อาจารย์คิดเลขได้ สามารถขายได้ตลอดเวลา ทุกคนคิดเลขเป็น แต่เหตุผลที่ จะขายหรือไม่ขายเป็นเหตุผลของเค้า มันไม่จ�าเป็นต้องบอกว่าให้ท�าไม แต่ ดอกรักบาน และไทรโศกทางช่อง 3 อาจารย์อยากให้ ” บ้านหลังนี้เคยเป็นทีอ่ ยูอ่ าศัยของนางสอาง สุรวดี ชาวบางรัก ใน ช่วงก่อนสงครามโลกครั้งที่สอง ก่อนจะตกทอดมาสู่ อาจารย์วราพร สุรวดี ถ้าอนาคตมันเปÅี่ยนแปÅง ผู้มอบบ้านและที่ดินผืนนี้ให้กับกรุงเทพมหานครเพื่อจัดตั้งเป็นพิพิธภัณ±์ชาว อนาคตมันก็ต้องเปลี่ยนแปลง แต่มันจะพัฒนาหรือเปล่าไม่แน่ใจ บางกอก การเปลี่ยนแปลงย่อมมีอยู่เสมอแน่นอน มันต้องเปลี่ยนตลอดเวลา อนิจจัง ทíาไมอาจารย์ถÖงคิดว่า ควรจะเกçบสิ่งนีéเอาไว้

ดีขึ้น

อนัตตา แต่ การพัฒนาคือการเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ อาจารย์วราพร ผู้อ�านวยการส�านักทะเบียนและประมวลผล ในทางทีท่ า� ให้เกิดความเจริญขึน้ ถ้าเปลีย่ นแปลงคืออาจารย์สร้างคอนโด ใหญ่ ม.เกษมบัณ±ิต วัย 80 ปี ใช้เวลาว่างในวันหยุด นั่งเล่นเกมส์ไพ่หน้า สูงเป็นตึก เนี่ยเปลี่ยนแปลง มีคนอยู่เยอะแยะ แต่ไม่พัฒนา ส�าหรับอาจารย์ คอมพิวเตอร์ก่อนจะหันมาตอบว่า ถ้าพัฒนามันต้องให้คนมาใช้ประโยชน์ มีการศึกษา มีความ “ เรามีพพิ ธิ ภัณ±์ทใี่ หญ่ๆโตๆ เราก็ตอ้ งมีพพิ ธิ ภัณ±์ทเี่ ป็นชาวบ้าน เข้าใจ อาจารย์ถือว่าอาจารย์เก็บที่นี่เป็นการพัฒนา เพราะ บ้างว่าเราอยู่กันยังไง ไหนๆมีโอกาสแล้ว ของก็มีอยู่ บางคนเข้ามาดูจาน ฉะนั้นการสร้างก็ไม่ใช่การพัฒนาเสมอไป ชาม ก็บอก ฉันก็มลี ายนี้ ลายโน้น บางคนน่ะมี แต่ไม่ได้มกี ระบวนการจัดการ เพราะฉะนั้นมีอยู่ก็ไม่ได้มีประโยชน์ ไม่ได้เอาไว้ให้คนศึกษา การที่เอามาจัดเอา มาเก็บเป็นการท�าให้ทุกคนเห็นว่ามันก็ดีเหมือนกัน ที่จริงเรามีอยู่ เราไม่รู้ คุณค่าของมัน กระตุ้นให้ทุกคนกลับไปดูว่าตัวเองก็มีข้าวของที่มีคุณค่า มี ราคาอยู่กับตัว มีศักดิì มีศรีอยู่ในตัวทุกบ้าน ชาวบ้านเราคนไทยเนี่ยก็มีศักดิì มีศรีทุกคน เป็นวัฒนธรรมที่เรามีอยู่ ไม่ใช่ให้ฝรั่งมาตั้งแล้วเราไปดู เพราะ ฉะนั้นถ้าหากเราท�าได้ เราก็ต้องท�า ” Forward 10


Built the new things (Wisely) การเปÅี่ยนแปÅงของตÅาดสะท้อนการเปÅี่ยนแปÅงย่าน

“ กรุงเทพก็เหมือนคนหัวโต ตัวลีบ คือโตอย่างเดียว ไม่ใช่เฉพาะ “ ก่อนที่จะอยู่ที่นี่อยู่สีลมมาก่อน พอดีจะหมดสัญญา คุณปู่เป็น ย่านนี้นะ ทุกย่านมันเป็นอย่างงี้” ช่างไม้มาก่อน ช่วงที่เข้ามาเป็นช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง คุณปู่มากับชุมชน ดัง้ เดิมทีเ่ ป็นผูน้ า� คอยดูแลคนอืน่ แต่สนใจค้าขายมากกว่า เพราะได้เงินเร็วกว่า คนËัวâต ตัวÅีบãนมุมมองของพ่อค้าที่เรียนสถาป˜ตย์ พอดีได้ตา� ราได้สตู รท�าซีอวิ๊ ท�าน�า้ สมุนไพรจากจีน ซึง่ คนจีนในยุคนัน้ ก็มาอยู่ มองเรื่องการอนุรกั ษ์ตึกเก่า เรือ่ งนี้ยงั ไม่มีสถาบันไหนดูแลได้อย่าง ในย่านส�าเพ็ง เยาวราชแล้วก็ไล่ลงมาแถบเจริญกรุง ” ชัดเจนแล้วเราก็ปล่อยให้มนั ล้มหายตายจากไปอย่างน่าเสียดาย เรามีตกึ สวยๆ ประวิทย์ สิทธิพลากร ทายาทรุน่ ที่ 3 ของน�า้ ซีอวิ๊ หยัน่ หว่อ หยุน่ ตั้งเยอะมันเป็นสไตล์โคโรเนียล แล้วเราก็ปล่อยให้คนที่อยู่พังมันทิ้ง งานฝีมือ ที่มีหน้าร้านอยู่ตรงข้ามกับตลาดบางรัก ตลาดที่เขาบอกว่าเป็นตลาดขนาด ยุคก่อน การประดับตกแต่ง หน่วยงานที่ดูแลรักษาตรงนี้ไม่แข็งแรงพอ ไม่มี งบประมาณพอ คนที่ท�าจริงๆจังๆไม่มี คงจะมีแต่ถือว่าน้อยมาก เมื่อเปรียบ ใหญ่ ศูนย์รวมของอาหารทะเลที่ภัตตาคารดังๆต้องมาเพื่อซื้อวัตถุดิบ เทียบกับปีนงั สิงคโปร์ อย่างยุโรปข้างนอกเก่าหมด แต่ขา้ งในใหม่ อันนีย้ อมรับ “ เมื่อก่อนตลาดบางรักเป็นตลาดสดที่ใหญ่ เป็นแหล่งอาหารทะเล ได้ 100 ปีที่แล้วเป็นยังไงก็ยังเป็นอย่างงั้นไม่ดูแล เรื่องสีที่จะใช้กับอาคารเรา สืบเนื่องมาจากตรงนี้มันจะมีสะพานปลา ตรงวัดสุทธิ ของมันจะผ่านตรงนี้ ซัดกันแบบตามใจฉัน รสนิยมสีเราก็ไม่ถอื ว่าดีนกั เราต้องให้ความรูก้ บั เค้า แต่ แล้วส่งเข้าบางรัก ตี 3 ตี 4 เขามาซื้อของกันแล้ว ตลาดบางรักเป็นตลาดเช้า บางทีก็ไม่ได้รับความร่วมมือ เราหยิบฉวยแต่ละอย่าง แต่เราไม่เจาะลึก มัน ส�าหรับร้านอาหารใหญ่ๆมาหาวัตถุดิบ ข้างหน้าเป็นร้านขายดอกไม้ พวง ไม่ควรจะเป็นอย่างงั้น มาลัย เริ่มเย็นมีไ¿หลอดสว่างสวย กลิ่นดอกมะลิจะโชยมา หอมชื่นใจมาก ข้างๆตลาดจะมีวินสองแถวหน้ากบเล็กๆ เวลานั่งเข่าจะชนกัน ” ตอนนี้ตลาดบางรักกลายเป็นตลาดสดเล็กๆที่ไม่มีเสน่ห์ ตลาด ลดขนาดไปซ่อนตัวอยู่ด้านหลัง “ การเปลี่ยนแปลงมันมีมาตลอด แต่ว่าในช่วง 20 ปีหลังมันเร็ว มาก ไม่เหมือนเมื่อก่อนที่จะปรับตัวไปตามจังหวะ แต่หลังๆมันเร็ว มาจาก เทคโนโลยี ทีเ่ ห็นได้อย่างชัดเจน เรือ่ งอาคาร คนในเมืองไทยเราไม่ใช่ Invention แต่เป็น Innovation คือรับอย่างเดียว รับมาเร็ว คนไทยจะชอบอะไรทีม่ นั ทันที แต่ไม่เคยศึกษาระบบก็คือรับมาแต่ไม่เคยเอาระบบมาศึกษา รับๆๆอย่างเดียว เราจะเกิดผลเสียตรงที่เรามีแต่เราแก้ไขมันไม่ได้ ปรับปรุงมันไม่ได้ Forward 11


To Be Creative ฏDistrict

การพัฒนาเมืองอย่างดีที่สุดคือ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์ เพราะการออกแบบความคิด สร้างสรรค์สามารถที่จะพัฒนา คุณภาพชีวิต ” Project manager แห่ง

TCDC บอกเล่าถึงความตั้งใจ ปลายปีนี้ TCDC หรือศูนย์ออกแบบงาน สร้างสรรค์ จะย้ายมาอยู่ที่ไปรษณีย์กลางบางรัก และจะเป็นตัวกลางในการเชื่อมคนในย่าน ให้ร่วม กันสร้างสรรค์เจริญกรุง

ความตั้งใจนี้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของสสส ในเรื่องการพัฒนาสุขภาพคนไทยในมิติของเมือง เมืองที่จะท�ำให้สุขภาวะของคนดีขึ้น ก็คือเมืองที่ บันดาลใจคน หรือเมืองสร้างสรรค์ทางความคิด จึงเกิดเป็น Co-create Charoenkrung

“ เราไม่อยากอยูแู่ ค่ในตึก อยากจะท�ำงาน กับคนในย่านอยากจะอยู่กับคนในย่าน ซึ่ง TCDC ปัจจุบันมีบทบาทหน้าที่เปลี่ยนไป ไม่ใช่เป็นแค่ห้อง สมุดแต่จะท�ำให้ความคิดสร้างสรรค์มนั พัฒนาเป็น วงกว้ า งมากยิ่ ง ขึ้ น ไม่ ใ ช่ แ ค่ นั ก ศึ ก ษาหรื อ นั ก ออกแบบแต่รวมถึงประชาชนคนทัว่ ไปนักธุรกิจหรือ เรื่องของเมือง เราเชื่อว่า

“ เราท�ำวิจัยอันนี้ขนึ้ มาตั้งแต่ปลายปีที่แล้วรวมกับ ทางอาจารย์สถาปัตย์ผังเมือง ธรรมศาสตร์ และ บริษัท Shma Soen เราสามคนรวมกันเป็นหนึ่ง ลงไปพื้ น ที่ ห าข้ อ มู ล หาปั ญ หา หาโอกาส หา ศักยภาพของย่าน จากนั้นลงไปออกแบบร่วมกัน เรียกว่า design thinking และท�ำออกมาจริงๆใน สัดส่วนหนึ่งต่อหนึ่ง เพื่อให้คนมาสัมผัสจริง Forward 12


ความËÅากËÅายของคนãนย่านเปšน อุปสรรคมากน้อยแค่ไËน

ทíาอะไรแÅะเปÅี่ยนอย่างไร Reband :ย่ า นเจริ ญ กรุ ง เป็ น ย่ า นที่ มี สิ น ทรั พ ย์ คื อ ริ ม น�้ า แต่ ค นไม่ ส ามารถเข้ า ถึ ง ได้ เนื่องจากพื้นที่ติดกันเป็นที่ของเอกชน และย่านนี้ กลางคืนเงียบเหงามากเพราะว่าไม่มพี นื้ ทีส่ าธารณะ เพราะฉะนั้นเราต้องหาพื้นที่ริมน�้าท�าให้เป็นพื้นที่ สาธารณะและจัดกิจกรรม เรามีอาคารริมน�้าที่มี คุณค่าทางประวัติศาสตร์สามารถท�าให้ชื่อเสียง ของเจริญกรุงกลับขึ้นมาอีกครั้งได้ Revival : พลิกฟ„œนย่านที่ไม่เคยถูกใช้ ทíาร่วมกันอย่างไร กลับมาให้ใช้ประโยชน์เช่นพื้นที่ริมน�้า อาคารที่ถูก ปล่อยให้รกร้างพัฒนามาเป็น Co-workingspace ตามกระบวนการวิจยั คือเก็บ ข้อมูลเกิด เป็นสถานที่พบปะ แลกเปลี่ยนกัน เป็นเมนไอเดียแล้วเราก็ไปท�าพั²นาแบบกับชุมชน ทุกชุมชนในเจริญกรุงรวมถึงผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย Relink : คนส่วนใหญ่เดินถนนเส้นหลัก ทั้งหมด ตั้งแต่หน่วยงานรัฐจนถึงผู้ประกอบการ ถ้าเราเชือ่ มตรอก ซอกซอยกับถนนใหญ่ คนจะค้น จนได้มาเป็นแบบนี้ หลังจากนั้นก็ให้คนในและนอก พบความมหัศจรรย์ของย่านที่เป็นอยู่ไม่ว่าจะเป็น พื้นที่ประเมิน เรามีหน้าที่เอาไปเสนอเขต เสนอก สถาปัตยกรรม ชุมชนเก่าร้านค้าธุรกิจ เป็นการ ทม. ส่วนของเราคือท�าให้เค้าเชือ่ โชว์ให้เขาเห็นว่ามัน กระตุ้นเศรษฐกิจในย่าน มีความต้องการมันมีการออกแบบที่เป็นวิธีการ เมือ่ เกิดการเดินเกิดขึน้ ก็พบว่า ย่านนีไ้ ม่ ท�าให้เขาเชื่อว่ามันเกิดขึ้นได้จริงๆ ค่อยมีพนื้ ทีส่ เี ขียว จึงกลายเป็นทีม่ าของการสร้าง เก่าãËม่อยÙ่ร่วมกันอย่างไร พื้นที่สีเขียวหน้าไปรษณีย์กลางบางรัก คนใหม่ที่เข้ามาอยู่เรามองว่าคนแบบ พวกที่ ท� า งานสร้ า งสรรค์ เ ราเชื่ อ ว่ า คนแบบนี้ มี ทíาไมต้องเปšนไปรÉณีย์กÅาง บางรัก ศักยภาพที่จะพัฒนาย่านไปในทิศทางที่ดแี ละดึงดูด คนที่เข้ามาในย่านเช่นงานศิลปะ บุกรุกเพราะมันมี ย่านนี้งานอาร์ตเจ๋งเจ๋งอยู่เยอะมาก แค่ งานเพนติ้งๆดีมันก็จะมีคนเข้ามามันเป็นทั้งการ ตึกมันเจ๋งมันก็น่าอยู่แล้ว สภาพแวดล้อมมันต้อง ท่องเที่ยวเป็นทั้งการท�าให้เมืองมันน่าอยู่ คนใน มีทงั้ ความเก่า ความใหม่ มีเรือ่ งราว เหมือนทีเ่ มือง ชุมชนจะต้องอยู่แล้วรักย่านที่ตัวเองอยู่ไม่อยาก นอกมี Ted modern เปลี่ยนจากตึกเก่า โรงไฟฟ้า ย้ายออก คนนอกอยากที่จะเข้ามาอยู่ในย่านที่มี ให้เป็น Museum คุณภาพแล้วอยากดึงคนเข้ามา

อะไรเปšนต้นแบบของâครงการ เมืองนอกกับเมืองไทยมีอุตสาหกรรมที่ ตายแล้วเหมือนกัน มันเหมือนโมเดลต่างประเทศที่ เอาพื้นที่ที่ตายไปแล้ว เก่าแล้ว ให้พวกเราเข้าไปอยู่ แล้วเปลีย่ นแปลงได้ ตอนนีไ้ ต้หวันเองก็พยายามท�า เพราะอุตสาหกรรมที่ตายแล้ว ตึกเก่าก็เหลือเยอะ คนที่เป็นเจ้าของก็ยังไม่เดิอดร้อนเรื่องการเงิน ทิ้ง ตึกไว้เฉยๆ เราก็พยายามหาตึกพวกนั้น สร้าง ความเข้าใจ ให้คนที่มีความคิดมาอยู่รวมตัวกัน

Forward 13

ความพิ เ ศษของความหลากหลายมี ตั้งแต่ศาสนา ไปจนถึงธุรกิจมีตั้งแต่ระดับล่างไป จนถึงห้าดาว ชนชาติ สัญชาติ นักท่องเที่ยวคนที่ เป็นธุรกิจท้องถิน่ กับธุรกิจทีเ่ ข้ามาใหม่มนั ยากมาก เราเพิ่งเริ่มได้ไม่นาน ไม่กี่ปีเอง เป็นหน้าที่ของ TCDC ทีจ่ ะต้องมาท�าความรูจ้ กั กับคนในย่านมาก ยิ่งขึ้น ถือว่าเป็นความร่วมมือที่ดี แต่บางคนยังไม่ เข้าใจว่าโครงการท�าไปเพือ่ อะไร ท�ายังไง เอกชนเอง ก็ไม่เข้าใจอะไรก็ตามมันไม่มีใครเห็นภาพแต่เชื่อว่า หลังจากนี้มันจะดีขึ้น

สร้างความเข้าãจãË้กับคนได้อย่างไร จัดกิจกรรมให้มากขึ้น ท�าให้คนมารวม กัน ท�าให้คนเห็นแล้วชวนคนอื่นมา ท�าเราท�าคน เดียวไม่ไหวหรอก เรารูว้ า่ เราต้องการแบบนีแ้ ต่ทาง ที่ไปมันจะซิกแซ็กยังไงอันนี้ต้องช่วยกัน

ทําไมถึงเชื�อว่ า เมืองบันดาลใจ คน เราไปเรี ยนเมืองนอก เราก็เลือกเมือง ว่าจะไปที�ไหน ไปทํางานเราก็เลือกเมือง เลือก เมืองที�มนั เข้ ากับเรา เราเลือกเมืองที�มนั ให้ แรง บันดาลใจเรา เราเลือกเมืองที�เข้ ากับธุรกิจของ เรา เช่นคนทํางานเป็ นฟรี แลนซ์ เขาจะเลือกอยู่ เมืองที�อินเตอร์ เน็ตความเร็ วตํ�าไหมแค่นนเอง ั� มันอยูท่ ี�เราว่าเราจะเลือกอยู่ เราก็จะเลือกเมือง ที�ทําให้ คณ ุ ภาพชีวติ เราดีขึ �นแล้ วแต่ความพอใจ เมืองมันสัมพันธ์กับชีวิตประจ�าวันเราอยู่แล้ว อยู่ ในเมืองทีด่ กี ระตุน้ ให้เกิดการคิดและสร้างสรรค์ มัน ก็จะซึมซับ


Green please

Protect our trees ในวันที่ความหวังเรื่องพรบ.คุ้มครองต้นไม้ใหญ่ริบหรี่ เรายัง เห็นแสงสว่างจาก เครือข่ายประชาชน

ในขณะที่เราพร�่าบ่นว่า โลกร้อนหรืออากาÈร้อน

ต้นไม้อยู่ได้ คนก็อยู่ได้ ร่วมรักษาต้นไม้ไปพร้อมๆกันได้ที่

อาจจะเป็นช่วงเวลาเดียวกับที่

ต้นไม้ใหญ่ในกรุงเทพมหานคร

เพจ “Big trees” และ “เครือข่ายต้นไม้ãนเมือง”

ถูกตัด

เนือ่ งจากการทีต่ น้ ไม้ไปรุกล�า้ พืน้ ที่ และอาจจะป็นช่วงเวลาเดียวกันกับ ที่ต้นไม้ถูกตัดจนเหี้ยนอย่างผิดวิธี จนไม่เหลือกิ่งก้านสาขาให้ร่มเงา เป็นเหตุให้ ต้นไม้ในเมืองลดลงเรื่อยๆ จนท�าให้ผู้ที่รักต้นไม้รวมกลุ่มกันก่อตั้งเป็น

Big trees

เรียกร้องให้เกิด พรบ.คุ้มครองต้นไม้ใหญ่ แน่อนว่าไม่ใช่แค่การคุ้มครองต้นไม้ แต่ยังหมายถึงการคุ้มครองคน เพราะ ทั้งคนและต้นไม้เราต่างพึ่งพา อาศัยกัน ต้นไม้ช่วยฟอกอากาศ ลดอุณหภูมิ มลภาวะ ผ่อนคลาย ความเครียด ท�าให้เราสามารถอยู่ข้างนอก ได้พบปะผู้คนในบรรยากาศที่ สวยงาม รื่นรมย์ ไม่ร้อน พอเห็นคุณค่าของธรรมชาติ จิตใจจะอ่อนโยน มี เมตตากับทั้งมนุษย์และสิ่งมีชีวิตอื่นๆ มากขึ้น และไม่ท�าลายสิ่งแวดล้อม Big Trees อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างต้นไม้กับคนเมือง ก่อนจะเสริม ว่าการรอให้ภาครัฐเข้ามาดูแลเพียงอย่างเดียวอาจเป็นเรื่องยาก แต่เรื่องง่าย กว่าคือการเข้ามาเป็นส่วนหนึ่ง ซึ่งท�าได้โดย

Forward 14


On Bangkok streets

Through the lens

Instagram /noithepa Designer Forward 15


Then and now

Do Something th matter คลิปปลาวาฬ รู้ สู้ ฟลัด ที่เป็นที่รู้จักกัน ทั่วประเทศเมื่อครั้งน�้ำท่วมใหญ่ปี 54 คือผลงาน ของอดีตครีเอทีพโฆษณาในเอเจนซีโ่ ฆษณาอันดับหนึง่ ของอุตสาหกรรมโฆษณา ที่ในวันนี้ผันตัวเองมาเป็น ครีเอทีพโฆษณาเพื่อสังคมอย่างเต็มตัว เขาคืออู๋

ธวัชชัย แสงธรรมชัย

ผู้พบความสุขและความหมายของการมีชีวิตจาก ธุรกิจและแนวคิดเพื่อสังคม

อะไรที่ท�ำให้ตัดสินใจทิ้งต�ำแหน่งครีเอทีฟในบริษัทดังที่หลายคนใฝ่ฝัน เราเป็นเด็กเรียนนิเทศ หมกมุ่นกับการเรียนโฆษณามาก ชอบดูโฆษณา แล้วก็ปวารณาตนอย่างชัดเจนมากว่าจะต้องท�ำโฆษณาให้ได้ แต่พอเราเข้าไป อยูใ่ นวงการโฆษณาจริงๆ เราก็คน้ พบมุมข้างในทีค่ นนอกไม่เห็น ทัง้ นีไ้ ม่ได้เกลียดหรือไม่เผาผีกนั อะไรอย่างงีไ้ ม่ใช่นะ เหมือนแบบแค่ไม่มคี วามสุขกับการอยูข่ า้ ง ในนั้น เกิดอาการที่เห้ยเราต้องท�ำให้คนที่เค้ามีความสุขปกติดีดูทีวีอยู่ที่บ้านกับสามีของเค้าแล้วก็ได้ยิน “คุณก�ำลังเป็นทุกเพราะจักกะแร้ด�ำใช่มั๊ย” มึงออกจาก บ้านเดี๋ยวนี้เลยไปเซเว่นซื้อวิตามิน โรออนของกูมีวิตามินอีนะ ช่วยซึมเข้าผิวนะ จักกะแร้มึงจะขาวมาก ผัวรักเลย แล้วเค้าก็เป็นทุกข์ จักกะแร้ที่เคยเป็นความ สุขดีของเค้า ก็กลายเป็นทุกข์ขนึ้ มา อะไรอย่างงี้ เราก็เริม่ ไม่แน่ใจว่า เราต้องท�ำอย่างงี้กับ ไก่ทอดที่ไม่ได้มีประโยชน์อะไรเท่าไหร่ เราก็เริม่ ไม่แน่ใจว่า เราต้องการ ท�ำให้คนอยากมีมือถือเครื่องใหม่จริงๆหรือเปล่า เราก็เริ่มไม่ชัวร์ว่ามันใช่ป่าววะเนี่ย มันถูกป่าววะเนี่ย เราก็เป็นทุกข์ ตอนนั้นคือไม่เอาแล้วงานโฆษณา

Forward 16


hat

เอาจริงแล้วมันมีสาระซ่อนอยู่ สาระมันคือการชวนคน การปลุกคน การ ท�ำให้คนเชือ่ คนเห็นในสิง่ ใหม่ มันแปลว่า ไอ่ศาสตร์เดียวกันนีท้ ที่ ำ� ให้คนเป็น ทุกข์เพราะจักกะแร้ด�ำกลับมาเป็น กูเป็นทุกข์เพราะกูเห็นป่ามันถูกท�ำลาย กู จะลงมือสร้างให้มันดีเหมือนเดิม กูเป็นทุกข์เพราะกูเห็นคนที่ถูกเอาเปรียบ เหลื่อมล�้ำ คนพิการที่ไม่มีสิทธิมีเสียงในสังคม กูอยากไปท�ำให้มันดีขึ้นอ่ะ มันเหมือนมีดเล่มนึง เราจะเอาไปแทงคนตายหรือไปหัน่ หมูทำ� อาหารก็ได้ มัน คือเครื่องมือ มันไม่ได้เลวร้ายในตัวมันเอง

I care ท�ำให้เกิด Why Not Social Enterprise หรือเปล่า พูดอย่างงั้นก็ได้เลย ตอนท�ำ I care โปรเจคแรกที่ท�ำ คือการพา นักศึกษาไปท�ำงานร่วมกับ NGO ท�ำงานร่วมกับองค์กรเพื่อสังคม พัฒนา กันว่าคนรุ่นใหม่กับงานของคนรุ่นเก่ามันจะผสานกันยังไง พากลุ่มนี้ 20 กว่าคนไปอยู่บนป่าต้นน�้ำที่เชียงดาว แล้วก็เจอลุงคนหนึ่งชื่อลุงนิคม เป็น คนท�ำค่ายเยาวชนให้เด็กๆที่นั่น ก่อนจะกลับที่ท่ารถบขส ลุงนิคมเดินมา ตบไหล่แล้วบอกว่า อู๋ ขอบคุณมากนะ พาเด็กมาช่วยกัน ท�ำงานมา 20 30 ปี ไม่เคยมีใครมาช่วยกัน วินาทีรู้สึกว่ากูแม่งมีค่าสัดๆ กูแม่งเหมือนแบบได้ คานส์แล้ว ได้รางวัลแล้ว ระดับโลก ที่ I care มันเป็นแบบนี้ เป็นการ ท�ำงานที่ท�ำให้เราเห็นค่าในตัวเองมากเลยว่าความรู้ที่เรามี ศาสตร์ที่เราชวนคนลุกจากเก้าอี้ไปท�ำอะไรบางอย่าง ท�ำให้เด็กได้ เห็นว่ามีแรงงานที่ได้รับการเอาเปรียบ ถูกกระท�ำอย่างรุนแรงที่สมุทรสาคร ท�ำให้เด็กเห็นว่าการกินอยู่อย่างปลอดภัย อาหารที่ดีต่อสุขภาพคุณมันเป็น อย่างงี้นะ แล้วเราก็รู้สึกว่าเราดีใจที่ได้ท�ำ เราได้รู้ว่าความหมายของการมี ชีวติ อยูข่ องเราคืออะไร นัน่ ท�ำให้มคี วามสุขมาก วันนึงเราก็คดิ ว่าจะไปได้ไกล กว่านี้ได้ยังไง แล้วก็มาคิดว่าไม่ใช่ว่าเราต้องท�ำฟรีเสมอไป ไม่ใช่ต้องพึ่งเงิน สปอนเซอร์เท่านัน้ จริงๆทักษะนีอ้ งค์กรเพือ่ สังคมพร้อมจะจ่ายค่าบริการนะ จ่ายค่าบริการให้เราเข้าไปใช้ความสามารถเหล่านี้ได้ ก็เลยคิดว่าจะออกมา เปิดเอง เป็นที่มาของ Why not social enterprise ให้บริการด้านความ คิดสร้างสรรค์ ด้านการท�ำงาน รณรงค์สอื่ ประชาสัมพันธ์ตา่ งๆกับองค์กร ที่มีภาระกิจทางสังคม

เป็นทุกข์กับงานโฆษณาแล้วท�ำไมตอนนี้ยังอยู่ ในแวดวงโฆษณา หลังจากทีเ่ ราออกจากงาน เราก็ไปท�ำไปท�ำงานภาคสังคมกึง่ ๆ NGO อยู่ช่วงหนึ่ง มันก็ไม่เชิง NGO หรอก ต้องเรียกว่ามันเป็นองค์กรเกิดใหม่ คือ มีผใู้ หญ่ให้ทนุ มาแล้วบอกว่าช่วยเอาเงินก้อนนีไ้ ปท�ำประโยชน์ให้สงั คมไหน่อยสิ ท�ำอะไรก็ได้ ช่วยคิดมา เราก็มาคิดว่าไอ่เราก็ไม่ใช่หมอรักษาคนก็คงท�ำไม่เป็น แต่ทำ� โฆษณาเป็น ก็เลยคิดว่างัน้ เราท�ำอย่างงีด้ มี ยั๊ เราท�ำโฆษณาให้คน องค์กร ทีท่ ำ� ประโยชน์เพือ่ สังคมฟรี ก็เลยเป็นก�ำเนิดขององค์กรหนึง่ ทีช่ อื่ I care เป็น จุดเริ่มต้นที่ท�ำให้เห็นว่าเครื่องมือที่เราหลอกให้คนเป็นทุกข์ว่าจักกะแร้เค้าด�ำ

พาคนรุ่นใหม่ออกไปท�ำงานเพื่อสังคม แสดงว่า เชื่อมั่นในพลังของคนรุ่นใหม่ใช่ไหม เราไม่ได้มีปัญหากับคนรุ่นใหม่ แล้วก็ไม่ได้มีปัญหากับคนรุ่นเก่า ด้วย ทีม่ ปี ญ ั หาคือทัศนคติทจี่ ำ� แนกบุคคล ทัศนคติทคี่ นรุน่ เก่า stereotype คนรุน่ ใหม่วา่ พวกมึงก็เป็นอย่างงีก้ นั หมดทุกคน ในขณะทีค่ นรุน่ ใหม่ก็ stereotype คนรุ่นเก่าว่า ไอ่พวกคนแก่แม่งคิดอย่างงี้ทุกคนแหละ ไม่ให้โอกาส กีดกัน หัวโบราณ ไม่เปิดรับการเปลี่ยนแปลง คิดว่าการ Stereotype คน จับคนยัดใส่กล่องที่ท�ำให้เราไม่สามารถคิด หรือแก้ปัญหาหรือพัฒนาอะไร ใหม่ๆให้มนั เกิดประโยชน์แก่ผคู้ นในวงกว้าง เราเชือ่ ว่าทุกคนพร้อมสร้างการ เปลี่ยนแปลงขึ้นมาอย่างที่ตัวเองเชื่อ มันอยู่ที่ว่าคุณมีทัศนคติที่พร้อมจะ เริ่มที่ตัวเองหรือยัง คนรุ่นใหม่ไม่ได้มีอิทธิพลในการเปลี่ยนแปลงสังคมให้ดี

Forward 17


ขึ้น เฉกเช่นเดียวกับคนรุ่นเก่า แต่คนที่มีอิทธิต่อการเปลี่ยนแปลงสังคมให้ดี เป็นที่ตั้งด้วย ไม่รับเงินด้วย อยากท�ำสื่อที่เป็นกลางจริงๆ ขึ้นคือคนที่คิดว่าฉันท�ำอะไรได้มากกว่าบอกว่าคนอื่นสร้างปัญหายังไง

แล้วท�ำไมไม่ท�ำต่อ

ท�ำไมช่วงนี้มีจิตอาสาเกิดขึ้นเยอะมาก

ก็เพราะมันไม่ใช่ความจริง เราอยู่แบบนั้นไปตลอดไม่ได้ เราอยู่ใน สังคมโลกทุนนิยม มันก็ต้องท�ำมาหากิน ก็เลยท�ำ Why not แทน คนก็ดัน รู้จักเราจากงานที่เราท�ำโดยไม่หวังเงินด้วยซ�้ำ มันต่อยอดมาถึงเราท�ำบริษัท บังเอิญ เราได้ท�ำงานที่ท�ำแล้วมีความสุข ท�ำงานให้กับองค์กรที่เราศรัทธาใน ภาระกิขของเค้า เราก็เอาความรู้ของเราไปเป็นอาวุธให้เค้าไปท�ำให้คนเชื่อ แลก กับที่เค้าให้เงินเรา เราก็อยู่ได้

บริบทในสังคมมันเอื้ออ�ำนวยให้เราเห็นโอกาส เห็นช่องทาง เห็น คนในสังคมที่ท�ำแบบนี้ และร่วมสนับสนุนคนที่คิดและท�ำแบบนี้ได้มากขึ้นและ ง่ายขึ้น ลองนึกย้อนว่าถ้าน�้ำท่วมปี 2554 ไม่มียูทูป ไม่มีเฟสบุ้ค ความเชื่อ ทีล่ กุ ขึน้ มาว่าคนแม่งสับสนว่ะ คนแม่งไม่เข้าใจว่าน�ำ้ ท่วมมันคืออะไรกันแน่ ต้อง เข้าใจก่อนถึงจะท�ำตัวถูก นั่นก็จะไม่เกิดขึ้น ถ้าตอนนั้นไม่มีสื่อ อย่างมากเต็ม ที่ก็ท�ำโปสเตอร์ไปติดตามท้องถนน แต่พอมันมีอินเตอร์เน็ต มันมีช่องทางให้ มันง่ายขึ้น โอกาสที่เราเห็นว่าเราท�ำอะไรได้บ้าง มันก็เลยมากขึ้น ทัศนคติที่ พูดถึงการท�ำเพื่อสังคมมาตลอด สังคมที่ดี ต้อง เห็นและอยากท�ำแบบนี้ มันมีมาตัง้ แต่กอ่ นการณ์แล้ว ยุคไหนมันก็มี ยุคโทรเลข เป็นอย่างไร ก็มีคนคิดแบบนี้แล้วแหละแต่เค้าก็จะมีวิธีท�ำแบบเค้า สังคมที่ดีคือสังคมที่ทุกคนต้องเห็นคนอื่นๆในสังคม มอบอะไรให้ ยุคนึงเราเห็นมด วนิดาน�ำชาวบ้านคนจนขึ้นมาที่ถนนในกรุงเทพ คนอื่น แสดงบทบาททั้งตามหน้าที่และเกินกว่าหน้าที่เพื่อพาสังคมไปในที่ที่เรา แล้วก็บอกว่าเค้าได้รบั ผลกระทบอะไรบ้างจากการเป็นคนจนของเค้า นโยบาย อยากเห็น สังคมที่ดีคือสังคมที่ทุกคนมีสิทธิมีเสียงและช่วยกันคิดว่าที่ดีกว่า รัฐ กดทับเค้ายังไง นโยบายรัฐดึงเค้าออกจากวิถีที่จะท�ำให้เค้ามีความสุขหรือ มันน่าจะเป็นแบบนี้ ช่วยกันคิด ช่วยกันแสดงออก ช่วยกันท�ำ มีคนไม่เห็นด้วย ดุแลตัวเองได้ยังไง สมัยนั้นมันไม่มีอินเตอร์เน็ตอยากให้คนรู้ต้องท�ำไง เราไม่ ก็ช่วยกันคุย เพราะดีของแต่ละคนมันไม่เหมือนกัน ช่วยกันหาวิธีที่ดียิ่งๆขึ้น ได้เป็นเจ้าของสื่อ ไม่มีตังค์ซื้อโฆษณา งั้นฉันท�ำเอง พาคนมาที่ท�ำเนียบ แต่ ไป วันนี้เราเห็นโอกาสเยอะขึ้น เครื่องมือเยอะขึ้น พี่เชื่อว่าอินเตอร์เน็ตเป็นเครื่อง มือที่เปลี่ยนเกมพอสมควร เปลี่ยนมากด้วย ไม่ใช่คนรุ่นใหม่หรือจิตใจอะไร กรุงเทพที่ดีก็ควรจะเป็นอย่างงั้นใช่ไหม หรอก จิตใจที่อยากท�ำเพื่อคนอื่นมันมีอยู่เสมอมา แต่โอกาสและช่องทางมี ใช่ เราอยากเห็นกรุงเทพเป็นเมืองที่ทุกคนมีสิทธิมีเสียง เมืองที่ทุก มากขึ้น เครื่องมือมันเปิดโอกาสให้มี Face bank , chang.org เว็บไซต์ คนลุกมาท�ำเรื่องส่วนรวม คนลุกขึ้นมาท�ำในแบบที่คิดว่ามันดีกับคนอื่นแล้ว ภัยพิบัติ หรือคลิปน�้ำท่วมไม่จ�ำเป็นต้องไปขอช่องออกอากาศยูทูปก็ท�ำได้ พอเห็นว่ามันดีไม่ตรงกันก็ช่วยกันคุย ช่วยกันคิด พัฒนาให้ดีขึ้นไป กรุงเทพ เป็นเมืองใหญ่ที่สะท้อนภาพของสังคมไทย สังคมที่ต้องปากกัดตีนถีบ วันนี้มองย้อนกลับไป คลิป รู้ สู้ฟลัด ให้อะไร สังคมที่ต้องเอาตัวรอด ท�ำให้การคิดถึงคนอื่นคิดถึงส่วนรวมเป็นทองค�ำ บ้าง เป็นอัญมณี เป็นเครื่องประดับที่ฟุ่งเฟ้อ ทั้งๆที่ความจริงมันควรจะเป็นเรื่อง ตอนนั้นเป็นช่วงเวลาที่เรามีความสุข เป็นช่วงเวลาที่เราไม่ต้องคิด ที่ทุกคนท�ำไม่ใช่เหรอ การคิดถึงคนอื่น เป็นเรื่องน่ายกย่องเหมือนที่เราถูก เรื่องงานเรื่องอะไร มันเหมือนบวช อยู่กับออฟฟิศ สตูดิโอ งานอื่นก็ไม่ได้ท�ำ สัมภาษณ์เหรอ เรากลับคิดว่าคนที่ท�ำเพื่อคนอื่นควรถูกมองว่าเป็นหน้าที่ หน้าที่หนึ่ง เป็นปกติไม่ใช่เป็นเรื่องวิเศษวิโส เป็นเจ้าของสาธารณะสมบัติ เพราะน�้ำท่วม ลูกค้าก็เลื่อนหมด ตั้งใจท�ำงานอยู่กับเพื่อน รู้สึกดีที่เรา ร่วมกัน เราไม่อยากอยู่ในสังคมแบบนั้นกันเหรอ ถ้าเราอยากอยู่ในสังคม ถวายแรงกายแรงสมองกับงาน โดยที่ไม่เอาอะไรไปแลก มันมีค่ามากเลย จ้างร้อยล้านก็ท�ำไม่ได้ ตอนนั้นมันเอาคนมือดีที่สุดมาอยู่รวมกันโดยที่ไม่มี แบบนั้นการคิดถึงคนอื่นก็ควรเป็นเรื่องปกติสิ ใครคิดค่าตัวสักบาท อยากช่วยเหรอ เอาข้าวสักหม้อมาเลี้ยงตอนเย็นแล้ว กัน มันเป็นช่วงเวลาที่เราละวางเรื่องอื่น ตั้งใจท�ำงาน โดยที่มาเอาตัวเอง

ในกรุงเทพเราเห็นงานสร้างสรรค์เพื่อสังคมน้อย มากเมื่อเทียบกับเมืองใหญ่อื่นๆในโลก อะไรคือ สิ่งที่ปิดกั้น ไม่มีอะไรปิดกั้น ไม่ค่อยท�ำกัน หมายความว่าเรายังท�ำงานดีไม่พอ แปลว่าวงการที่คนท�ำงานเพื่อแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์มันยังมีคนน้อยเกิน ไป ไม่อยากจะโทษอะไรนอกจากโทษตัวเองว่ายังท�ำงานดีไม่พอ ถ้าพูดถึงปัจจัย อื่นมันพูดได้หมดแหละร้อยพัน แต่พูดไปแล้วมันได้อะไร เราชอบคิดลบแล้วตั้ง ค�ำถามว่า Why ท�ำไมการศึกษาไทยถึงห่วยแตกเหลือเกิน ท�ำไมนายกถึงเป็น อย่างงี้ ท�ำไมคนยากจน ท�ำไมชาวนาน่าสงสารจัง ท�ำไมๆเต็มไปหมดเลย แล้ว ห็หยุดแค่นั้น แต่เราไม่มองไปที่วิธี ไม่ตั้งค�ำถามว่าท�ำไมไม่ลอง ไม่ถามหา ทางออกซึ่งมันดีกว่าการพร�่ำบ่นถึงปัญหา

Forward 18


For word

Develop a passion for learning. If you do , you will never cease to grow Anthony J. D’Angelo

Forward 19



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.