สรุปนโยบายและแนวทางปฎิบัติ 3
AQUADAPT
www.aquadapt.org การเพาะเลี้ยงสัตว์น้าและการปรับตัว สู่การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมอ ิ ากาศ
การเปลีย ่ นแปลงภูมอ ิ ากาศต่อการผลิตปลานิลในบ่อดิน
ในเขตภาคเหนือของประเทศไทย
ความเสีย ่ งจากการเปลีย ่ นแปลงภูมอ ิ ากาศต่อการผลิตปลานิลในบ่อดิน 1. ความเสีย ่ งจากอุณหภูมน ิ า้ สูงในช่วงฤดูรอ ้ น ช่วงฤดูร้อนมีแสงแดดมากท้าให้เกิดการแยกชั้นของน้้า ในบ่อเลี้ยง โดยบริเวณผิวน้้ามีอุณหภูมส ิ ูงถึง 33 องศา เซลเซียส ผลจากการแยกชั้นของน้้านีท ้ ้าให้น้าบริเวณ พื้นบ่อขาดออกซิเจนและปลาไม่สามารถอาศัยอยูไ ่ ด้อีก ทั้งอุณหภูมิที่สงู ในฤดูร้อนยังท้าให้เกิดการย่อยสลาย สารอินทรีย์มากขึ้นจึงมีการสะสมของสารพิษ เช่น แอมโมเนียบริเวณพื้นบ่อมากขึ้น ซึง่ ผลจากการขาด ออกซิเจนในน้้าและพิษของแอมโมเนียที่สูงขึ้นส่งผลให้ ปลาที่เลี้ยงลดการกินอาหาร เกิดความเครียดหรือตาย ฉับพลันได้ (ภาพที่ 1)
2. ความเสีย ่ งจากอากาศเย็นในช่วงฤดูหนาว ช่วงฤดูหนาวอุณหภูมิน้าในบ่อเลี้ยงปลาจะลดลงท้าให้ ปลากินอาหารได้น้อย เนื่องจากอากาศที่เย็นท้าให้ปลา ย่อยอาหารได้ช้า น้้าย่อยในกระเพาะและล้าไส้ท้างานได้ ไม่เต็มทีป ่ ลาจึงไม่กินอาหารส่งผลให้ปลาโตช้า และใช้ ระยะเวลาในการเลี้ยงนานขึ้น
3. ความเสีย ่ งจากการเกิดน้า้ ท่วม
ภาพที่ 1: การแยกชัน ้ ของน้้าถาวรในช่วงฤดูรอ ้ น
ช่วงฤดูน้าหลากหรือฤดูฝนจะมีปริมาณน้้ามากอาจท้าให้ น้้าท่วมบ่อเลี้ยงปลา โดยเฉพาะในเขตภาคเหนือตอนล่าง
“ถ้าอากาศหนาวจัดปลาจะไม่คอ ่ ยกินอาหาร
และภาคกลางตอนบนของประเทศไทยซึ่งเป็นพื้นที่ลุ่มและ
ถ้าวันทีร่ อ ้ นเกินไปปลาก็จะปรับสภาพไม่คอ ่ ยทัน”
มักประสบปัญหาน้้าท่วมบ่อเลี้ยงปลาในช่วงฝนตกหนัก ต่อเนือ ่ งส่งผลให้เกิดความเสียหายต่อคันบ่อทีพ ่ ังเสียหาย
สมจิตร จันตา / เชียงใหม่
จากน้้าท่วม ปลาที่เลี้ยงหลุดออกจากบ่อท้าให้ผลผลิต ลดลง และมีปลาชนิดอื่นเข้ามาปนกับปลาที่เลี้ยงในบ่อ
4. ความเสีย ่ งจากการขาดแคลนน้า้ ในฤดูแล้ง ช่วงฤดูแล้งเกษตรกรมักประสบกับปัญหาการขาดแคลน น้้าทีใ่ ช้ในการเปลี่ยนถ่ายน้้าในบ่อเลี้ยงปลา โดยเฉพาะ บ่อทีอ ่ ยู่นอกเขตชลประทานและเขตทีห ่ ่างไกลจากบ่อพัก น้้าส่งผลให้การจัดสรรน้้าไม่ทั่วถึง บ่อเลี้ยงที่มป ี ลาขนาด ใหญ่ก็จะมีความเสี่ยงมากขึน ้ เนื่องจากสภาพอากาศร้อน และปริมาณน้้าในบ่อทีน ่ ้อยลงในช่วงฤดูแล้งจะมีผลต่อ อุณหภูมิและคุณสมบัติของน้้าในบ่อมีการเปลี่ยนแปลง ท้า ให้มป ี ริมาณแพลงก์ตอนพืชในบ่อมากเกินไป ส่งผลให้ คุณภาพน้้าในบ่อลดลงไม่เหมาะสมต่อการเลี้ยงปลาอาจ ส่งผลให้ปลาเกิดความเครียด อ่อนแอ และตาย
“ช่วงมีนา-เมษา-พฤษภาถ้าแล้งยาวนานมันก็มป ี ญ ั หาทุกปีครับ แต่ถา้ น้า้ ไม่
หน่ วยวิ จั ย สั ง คมและสิ่ งแวดล้ อ ม
แห้งในระหว่างเลีย ้ งก็จะไม่คอ ่ ยมีปญ ั หา ปลาจะไม่ตาย “
คณะสังคมศาสตร์ มหาวิ ทยาลัยเชียงใหม่
ใจ ปิน ่ ทอง / อุตรดิตถ์
จ. เชียงใหม่ 50200
USER www.sea-user.org 053 854 898
สรุปนโยบายและแนวทางปฎิบัติ 3
AQUADAPT
www.aquadapt.org การเพาะเลี้ยงสัตว์น้าและการปรับตัว
การเปลีย ่ นแปลงภูมอ ิ ากาศต่อการผลิตปลานิลในบ่อดิน
สู่การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมอ ิ ากาศ ในเขตภาคเหนือของประเทศไทย
5. ความเสีย ่ งจากการขาดออกซิเจนในบ่อช่วงฤดูฝน ช่วงเปลี่ยนแปลงฤดูกาลจากฤดูรอ ้ นไปฤดูฝน เกษตรกรมัก เจอปัญหาปลาตายฉับพลันโดยมีสาเหตุหลักมาจากการขาด ออกซิเจน และพิษของแอมโมเนียที่สะสมบริเวณพื้นบ่อมีการ ฟุ้งกระจาย ปัจจัยหลักที่มีผลต่อการสร้างออกซิเจนในบ่อดิน คือ ปริมาณแสง ในช่วงรอยต่อระหว่างฤดูร้อนและฤดูฝนเป็น ช่วงทีว ่ ิกฤตของเกษตรกรเนื่องจากในช่วงกลางวันมีการสร้าง และสะสมออกซิเจนไว้ใช้ในตอนกลางคืน อย่างไรก็ตามการ สังเคราะห์แสงเกิดขึ้นอย่างจ้ากัดเนื่องจากมีเมฆมาบดบัง แสงอาทิตย์ ออกซิเจนที่สร้างจึงไม่เพียงพอทีป ่ ลาจะใช้ใน ตอนกลางคืน และในเวลาเดียวกัน ถ้ามีฝนแรกของฤดูจะ ส่งผลเสียต่อปลาในบ่อดินเนื่องจากอุณหภูมท ิ ี่เย็นลงของน้้า จะท้าให้เกิดการพลิกตัวซึง่ ส่งผลให้ของเสียบริเวณพื้นบ่อ กระจายทั่วบ่อ เกษตรกรทีม ่ ีปลาขนาดใหญ่จงึ มักจะประสบ ปัญหาปลาตายในช่วงรอยต่อของฤดูกาลดังกล่าว (ภาพที่ 2)
ภาพที่ 2: กระบวนการต่างๆ ทีเ่ กิดขึน ้ ในบ่อเลีย ้ งปลาช่วงฤดูฝน
ข้อควรปฏิบต ั เิ พือ ่ ลดความเสีย ่ งจากการเปลีย ่ นแปลงภูมอ ิ ากาศ 1. เกษตรกรควรติดตัง้ ระบบการให้อากาศในบ่อทีม ่ ีปลาขนาดตลาดหรือรอจับขาย หาก ปลาที่เลี้ยงลอยคอขึน ้ มาฮุบอากาศแสดงว่าบ่อเลี้ยงนั้นอยูใ ่ นภาวะขาดออกซิเจน และมี ความเสี่ยงที่ปลาจะตายได้ ซึง่ เป็นทีท ่ ราบกันโดยทั่วไปว่าการให้อากาศเป็นการเพิม ่ ออกซิเจนและเพิ่มการผสมของน้้าชัน ้ บน (ผิวน้้า) และ ชัน ้ ล่าง (พืน ้ บ่อ) การให้อากาศอาจ ใช้เครือ ่ งตีน้า หรือปั๊มลมที่ตด ิ ตัง้ กับหัวทราย นอกจากนี้ยงั ช่วยลดการสะสมของก๊าซ คาร์บอนไดออกไซด์ในน้้าอีกด้วย 2. เกษตรกรควรมีการจัดการเปลี่ยนถ่ายน้้าตามความเหมาะสม และควรรักษาปริมาณของ แพลงก์ตอนพืชไม่ให้มีมากจนเกินไป โดยระดับที่เหมาะสมคือที่ 30 เซนติเมตรของจาน ขาวด้า (secchi disk) หากแพลงก์ตอนพืชมีมากเกินไป (มากกว่า 500 ไมโครกรัมต่อ ลิตร หรือที่ 20 เซนติเมตรของจานขาว ด้า) จะส่งผลให้บ่อเลี้ยงมีค่าออกซิเจนอยู่ในขั้น วิกฤตคือ น้อยกว่า 1 มิลลิกรัมต่อลิตร ซึ่งเป็นอันตรายต่อปลานิล 3. เกษตรกรควรมีการจัดการด้านอาหาร การให้อาหารมากจนเกินไปจะเป็นการเพิม ่ ของ เสียและแอมโมเนียในน้้าซึ่งจะท้าให้ปลาเครียดและตายได้ ในช่วงทีไ่ ม่มน ี ้าเปลี่ยนถ่าย หรือช่วงที่อุณหภูมต ิ ่้าปลาจะกินอาหารได้นอ ้ ยลง 4. เกษตรกรควรวางแผนการผลิตให้เหมาะกับฤดูกาลเพื่อลดภาวะเสี่ยงจากน้า้ ท่วมหรือ น้้าแล้ง หรือควรมีการอนุบาลลูกปลาเพือ ่ ใช้เอง 5. เกษตรกรควรปรับตัวในการเลี้ยงปลานิล เช่น ควรปล่อยลูกปลาขนาดใหญ่เพื่อลด ระยะเวลาการเลี้ยง หรือเกษตรกรควรปล่อยปลาที่ความหนาแน่นต่้าที่ 2 ตัวต่อตารางเมตร ผลจากการปรับตัวนีท ้ ้าให้ได้ปลาที่มค ี ณ ุ ภาพและให้ก้าไรสูง
หน่ วยวิ จั ย สั ง คมและสิ่ งแวดล้ อ ม คณะสังคมศาสตร์ มหาวิ ทยาลัยเชียงใหม่ จ. เชียงใหม่ 50200
USER www.seauser.org 053 854 898