Ch an at i pCh ai l ek
คํานํา “เขากําลังคิดอะไรอยูเ่ วลาทํางานคราฟต์” แขนงในจุดต่างๆ มาแต่กําเนิด ไม่วา่ จะเป็ นหุน่ กะลา ช่างทําว่าว ทําขนม สานหมวก หรื อ การ น้ อม ศิลปะการประดิด ชดช้ อยและน่าสัมผัส ช่าง 10 ใหม่เองก็เช่นเดียวกัน าหวังใจอย่างเงียบๆ ว่า จะสืบสานศิลปิ นผู้สืบสร้ างงานศิลป์ของอัมพวาได้ อย่างละเมียดหมดจด กลุมนักเขียนและชางภาพ สารคดีอสิ ระ – สายลม
เด็กชายทองเอกวิงท้ าลม กระตุกสายป่ าน ก่อนแหงนหน้ าขึนมอง ว่า วของเขาทีโผบิน สู่ท้ องฟ้ า แววตาภาคภูมิ ใ จ ทังฝี มื อในการควบคุม ทิศทางว่าวของตน และฝี มือในการทําว่าวให้ สามารถเหินขึนไปเฉิดฉาย กลางอากาศ เป็ นผลจากการฝึ กปรื อฝี มือมาตังแต่อายุ
ปี
เสี ย งปื น เสี ย งระเบิ ด กลิ นควัน ในบรรยากาศสงครามโลก ครังที มาพร้ อมกับการขาดแคลนกระดาษและอุปกรณ์ทําว่าว งานอดิเรก นีจึงต้ องหยุดลงชัวคราว ฟ้ ามืดครึมไม่มีวา่ วขึนไปเต้ นระบําอยูบ่ นนัน คุ ณลุ งทองเอก นาคพะวั น วัย
ปี กลับมานังทําว่าวไทย
อีกครั งบนชานเรื อนไทยในสวนผลไม้ อาชี พดังเดิมของเขาคือชาวสวน ปลูก ลินจี มะพร้ าว ส้ ม โอ ฯลฯ เช่ น เดี ย วกับ ชาวสมุท รสงครามในลุ่ม แม่นําแม่กลองตอนบน ก่อนทีขาจะเป็ นแผลติดเชือและต้ องตัดทิงทังสอง ข้ าง การนังอยูก่ บั ทีทําให้ คณ ุ ลุงหันกลับไปทํากิจกรรมเดิมทีเคยหลงใหล “ทําแล้ วมันไม่ค้ มุ หรอกแต่ก็ทําอะไรไม่ได้ แผลไม่ใหญ่แต่มนั ปวด และลามไปไกล ถ้ าไม่ตดั ก็ตาย” ทีว่าไม่ค้ ุม เพราะการทํ าว่า วเป็ นงานที ใช้ เ วลามหาศาล ด้ ว ย รายละเอียดเล็กๆ น้ อยๆ ทีมีผลเป็ นตัวตัดสินว่าว่าวทีทําออกมาจะบินขึน
ไปปะทะกระแสลมได้ จริ งหรื อไม่ สําหรับชาวสวนทัวไป การทําว่าวเป็ น กิจกรรมผ่อนคลายจากงานสวนเสียมากกว่า “ให้ ทําว่าวเป็ นอาชีพไม่ได้ หรอก เดียวจะไม่มีข้าวรั บประทาน” ลุงไชยะ บัวจู สมาชิกในกลุม่ หัตถกรรมว่าวไทยบางนางลีพูดติดตลกแล้ ว หัวเราะ แต่ถึงอย่างนัน คําสังซือว่าวไทยก็มีมาอย่างสมําเสมอ โดยเฉพาะ ตอนนีคุณลุงทองเอกและเพือนต้ องเร่ งประดิษฐ์ ว่าวจุฬาเพือส่งไปขาย ทีอเมริ กาจํานวนถึง
ตัว
ขันตอนการทําว่าวจุฬาเริ มจากการหาไม้ ไผ่สีสกุ เพือมาทําโครง เจาะจงเป็ นไม้ แ ก่ เ พื อความคงทน จํ า นวน ชิ น ขนาดความยาวตาม สัดส่วนของว่าว นําไม้ เหล่านันมาเหลาและลนไฟ ใช้ มีดตอกปาดเนือไม้ ลบมุมไปเรื อยๆ โดยมีท่านังจับไม้ เฉพาะตัว หมุนเพือเปลียนองศาสัมผัส ระหว่างเนือไม้ และคมมีด ตบแต่งมุมทีบิดงอด้ วยการใช้ ไฟแช็กลนแล้ วดัด ขัดตรงข้ อไม้ ด้วยกระดาษทราย จนกระทังแท่งไม้ กลมกลึงไร้ ทีติ งานฝี มือ ละเอียดอ่อนระดับนี แม้ แต่มืออาชีพก็ยงั ใช้ เวลาเป็ นชัวโมงๆ ต่อการเหลา ไม้ เพียงหนึงชิน ต่างจากว่าวชนิดทําง่าย อย่างว่าวปั กเป้าทีใช้ ไม้ ทรงแบน มือใหม่ ทีเริ มหัดทําว่าวจุฬามักจะท้ อแท้ ทีจุดเริ มต้ นนี เพราะไม่อาจเหลาไม้ ให้ กลม
ได้ อย่างใจ หากใจไม่รักจริ ง ฝึ กเป็ นเดือนก็ ไม่คืบหน้ า พาลอยากจะลัด ขันตอนไปทํ า อย่ า งอื นแทน แต่ ก ารเหลาไม้ เ ป็ นหัว ใจของการทํ า ว่ า ว เพราะไม้ ทีได้ รูปทรงก็จะทําให้ ได้ โครงว่าวทีสมบูรณ์ไม่ต่างกับโครงกระดูก ของสิงมีชีวิตทังหลาย “ว่าวจุฬานีไม่ได้ เลย ส่วนสําคัญทีสุดก็ คือการเหลาไม้ อย่างนี เรี ยกว่าเป็ นว่าวชันครู” ลุงรัตน์ จูพิบูลย์ ผ้ ชู ํานาญการเหลาไม้ นงชั ั นขาขึน ก้ มหน้ าปาด ไม้ ออกทีละนิดๆ บนศาลาท่านําระหว่างทีสายนําในแม่นําก็ไหลเอือยไป ไม่เร่งร้ อน เมื อไม้ ทัง วางเรี ย งพร้ อมหน้ า ก็ เ ป็ นเวลาของการขึนโครง ประกอบด้ วยไม้ สว่ นอก ชิน ส่วนปี ก ชิน และส่วนขากบอีก ชิน นํามา ติดกันให้ ได้ สดั ส่วนเพือทําให้ ว่าวส่ายสวยสมกับทีเป็ นว่าวจุฬา แล้ ววาง หมอนรองประกบไม้ ว่ า วจุ ฬ าขนาดมาตรฐานที กลุ่ม คุณ ลุง ทองเอก ประดิษฐ์ มีขนาดตังแต่หนึงศอกครึงถึงห้ าศอก “ทุก ส่ว นของว่ า วมัน มี ผ ลกับ การส่า ย แต่ มัน ก็ ต้ อ งขึ นอยู่กั บ สัดส่วนด้ วยนะ ถ้ าเราจะทําขายาว เราก็ต้องทําหัวยาว” คุณลุงไชยะกล่าว ไม่อย่างนันแล้ วว่าวจุฬาทีหน้ าตาดูภาคภูมิ ก็จะกลายเป็ นเพียง ว่าวทีหมุนปั นไร้ ทิศทางบนท้ องฟ้ า
เพียงติดไม้ เข้ าด้ วยกันทือๆ ยังไม่พอ ต้ องรวบและดึงปลายไม้ ให้ โค้ งงอเข้ าทรงว่าวจุฬาโดยใช้ ด้ายผูกไม้ โยงกันเป็ นเส้ นตาหมากรุ กและตา ทแยงเพื อเหนียวรั งโครงสร้ างทังหมดไว้ ซึงด้ ายที ใช้ ผูกก็ มีทังชนิด ด้ า ย หลอดและเอ็นไนลอนขึนอยูก่ บั ส่วนทีผูก “ต้ องผูกปี กล่างก่อน ผูกปี กนีเสร็ จแล้ วก็รวบมาผูกอีกด้ าน เมือ ทําแล้ วก็ต้องวัดก่อนนะ ว่าทังสองซีกเท่ากันไหม ถ้ าไม้ ไม่เท่าก็ต้องนวดไม้ ให้ มนั เท่ากัน การนวดก็คือค่อยๆ ดัดไปเรื อยๆ เดียวมันก็กลม นวดเสร็ จ ก็ต้องเอามาต่อตรงขากบ” ตารางก่อตัวขึนตามเส้ นด้ ายเล็กๆ ร้ อยรัดกันเป็ นจังหวะช่องไฟ นีเป็ นอีกขันตอนหนึงทียืนยันว่าการทําว่าวไม่ใช่เรื องง่าย และต้ องอาศัย ชัวโมงบินสูง กล่องเหล็ก หลอดด้ าย และกระปุกกาวตังอยู่บนโต๊ ะทํางานของ คุณลุงทองเอก ด้ านในบ้ านเรื อนไทยมีโครงว่าวปั กเป้าและว่าวจุฬาวาง พาดกันเพือรอเข้ าสูก่ ระบวนการถัดไป คุณลุงไชยะยืนคําเสาหันมาถามด้ วยอารมณ์ขนั “ทําโครงเสร็ จ ไม่ติดกระดาษ มันจะขึนได้ ไหม”
“ได้ !.. เอาไปขึ นยอดพร้ าวโน่ น ” คุณ ลุง รั ต น์ ต อบสวนกลับ ไป หน้ าตาย คนรอบข้ างหัวเราะร่วน ใบมะพร้ าวโบกไหวตามลมร้ อน เหมือ นจะเล่นล้ อ การอ้ า งถึ ง จากบรรดาชาวสวน คุ ณ ลุ ง ทองเอกนํ า รู ป ภาพขาวดํ า สมั ย รั ช กาลที ออกมา ประกอบกับอธิ บายว่าว่าวจุฬาเป็ นศิลปะจากในวัง คุณลุงเองก็ สืบทอด อย่างจริ งจังมาเป็ นเวลานับสิบปี แล้ ว ตังแต่ทสมเด็ ี จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงสนับสนุน “นีไม่ใช่ของเรา เริ มมาจากของในหลวง”คุณลุงกล่าวด้ วยสีหน้ า จริ งจัง ว่า วจุฬ ามี ทังทรงมนุษ ย์ ทรงลิง และทรงยัก ษ์ ดูจ ากสัด ส่ว น ของปี กและขา ซึ งจะมี ผ ลต่ อ การเคลื อนไหวของว่ า วกลางอากาศ เช่น ทรงมนุษย์ จะส่ายอ้ อนแอ้ นอรชร ทรงยักษ์ จะส่ายขึงขัง ส่วนทรงลิง หน้ าตาป้อมสัน คุณลุงทองเอกนังติดกระดาษฟางลงบนโครงทีขึนไว้ แล้ ว ขันตอน ต่อไปคือการติด ‘ดอกแหน’ กระดาษสีเล็กๆ ทากาวแป้งเปี ยก ติดตรง จุดตัดของเชือกทีไขว้ กนั อยูใ่ ห้ ประกบกับกระดาษฟาง เพือป้องกันไม่ให้ ลม กระพือกระดาษจนเส้ นด้ ายหลุดขณะทําการบิน การทําดอกแหนเริ มจาก
นํากระดาษมาซ้ อนกันประมาณ 4 ชัน แล้ วตอกด้ วยบล็อกแม่พิมพ์เพือตัด ออกมาให้ ได้ รูปร่ างตามทีต้ องการ ซึงลายทีเป็ นมาตรฐานทีสุดก็ คือลาย วงกลมนันเอง ขันตอนสุดท้ ายทีสําคัญไม่แพ้ กนั คือ ‘การผูกคอซุง’ โดยการเจาะ รู 4 รู ใกล้ แนวไม้ สว่ นอก เพือผูกเชือกซุงยืนออกมาต่อเข้ ากับสายป่ านอีกที หนึง ทําให้ วา่ วได้ สมดุลเมือชักบังคับทิศทาง เมือตัวว่าวสมบูรณ์แล้ ว การทีจะเก็บไว้ เล่นได้ นานๆ สมกับทีได้ ใช้ เวลามากโขในการทําขึนมาหนึงตัว ก็ต้องมีการบํารุ งรักษา เช่น เมือว่าว โดนลมตีกระดาษหย่อน ก็ ต้องใช้ นําฉี ดพรมแล้ วนําไปตากแดด เพือให้ กลับมาตึงเหมือนเติม และทุกครังทีว่าวตกลงมาทีพืน ก็ต้องปล่อยให้ ลง นอนราบก่อน ไม่ควรปล่อยให้ สว่ นหัวและปี กไถไปกับพืนจนไม้ หกั และว่าว เสียสภาพ ปั จจุบนั ทีกลุม่ หัตถกรรมว่าวในชุมชนใกล้ เคียงอยูห่ ลายกลุม่ เช่น กลุม่ บางลี กลุม่ บางลีใหญ่ กลุม่ บางกะพ้ อ ฯลฯ ประดิษฐ์ ว่าวขึนมาเพือทํา แข่งกันช่วงเดือนมีนาคมของทุกปี การแข่งขันมีทงตั ั ดสินจากความสูงและ จากลีลาการส่าย ตัดสินโดยคนเล่นว่าวเป็ นด้ วยกันเองส่องดูผ่านกล้ อง ส่องทางไกล
“พอแข่งขันแล้ วได้ ถ้วย คนก็จะรู้ จกั และรู้ แหล่ง” จากนันคําสังซือ ก็จะตามมาเป็ นผลพลอยได้ จากความสนุกสนานของศิลปิ นว่าว สําหรั บกลุ่มหัตกรรมบางนางลีทีลุง เอกเป็ นผู้นําอยู่ ปั จจุบัน มี สมาชิก 30-40 คนรวมตัวกันอย่างหลวมๆ แต่สามัคคี เห็นได้ จากว่าวยักษ์ ขนาด 11 ศอก ที ใช้ เวลาร่ ว มกัน ทํ า ถึ ง หนึ งเดื อ นครึ ง และสามารถนํ า กลับไปขึนซําได้ ทกุ ปี “เราเริ มฟื นฟูก่อน ไม่มีอะไรทํา ก็ทําว่าวไปแข่ง เกิดการรวมกลุม่ แล้ วจากนันกลุม่ ก็แยกย้ ายกันไปทําตามบ้ าน” ปั จจุบนั มีเด็กๆ แวะเวียนกันเข้ ามาเรี ยนรู้ ภูมิปัญญาการทําว่าว จากคุณลุงอยู่เสมอๆ ไม่เว้ นแม้ แต่ชาวต่างชาติ แต่การทําว่าวไม่ใช่เรื อง ง่าย คุณลุงจึงให้ เริ มจากว่าวพืนฐานอย่างว่าวปั กเป้าก่อนเป็ นอันดับแรก เพราะมีส่วนประกอบไม้ เพียง ชิน ส่วนงานอีกด้ านของคุณลุงก็คือการ ผลิตว่าวตามคําสังซือ ราคาเริ มต้ นตังแต่
บาท ตามขนาดและความ
ละเอียดอ่อนของชินงาน “ตอนนี มัน ติ ด ตลาดแล้ ว เราเอาว่า วดีข ายให้ เขา ถ้ าว่า วไม่ดี เขาไม่มาหรอก มาทีเดียวเขาก็เลิก เราก็ต้องรับรองทุกตัวว่าขึนได้ ถ้ าขึน ไม่ได้ ก็ให้ เขาเอามาเปลียน ตอนนีทีกรุ งเทพฯ สมุทรปราการ มาทีนีกันทัว
เลย จดแบบไปก็มี สมัยก่อนคนเขาไม่ให้ หรอกนะ หวงกัน แต่เราก็ให้ เขา เพราะเดียวเขาก็มาสอนเราเหมือนกัน” สองแขนของคุณ ลุงยังทํ างานตรงหน้ า ต่อไปอย่างขะมักเขม้ น ตรงนันต้ องดัด ตรงนีต้ องผูก อีกทีต้ องปะกาว ชัวโมงประสบการณ์ สงสม ั จนเมื อทํ า เสร็ จ ก็ รั บ ประกัน ได้ ว่า บิ น ขึนได้ แ น่น อน เป็ นสองมื อ ที นํ า พา อิสรภาพให้ วา่ วได้ ทะยานขึนสูท่ ้ องฟ้ ามาแล้ วมากมาย สองมือของช่างประดิษฐ์ ว่าวยังคงทําให้ ใครหลายคนได้ วิงเล่น ในลานกว้ างด้ วยแววตาร่าเริ งต่อไป
เงียบสนิทจนได้ ยินเสียงกระดิกของนาฬิกา ห้ องสีขาวสะอาดขนาดบรรจุประมาณ 70 คนถูกถมทับด้ วย ความเงี ย บของยามบ่ า ย ทุ ก คนต่ า งจ่ อ มจมอยู่ กั บ ชิ นงานตรงหน้ า ป้ายระบายพู่กันลงอย่างเบามือลงไปบนลวดลายละเอียดยิบทีทาบทับ เครื องปั นดินเผาเนือดี บ้ างกําลังเสกสรรดอกไม้ สวย บ้ างกําลังลงสีเหล่า ทวยเทพ บ้ า งแต่ ง เติ ม ลายไทยให้ อ่ อ นช้ อยงดงาม ที ตังอยู่ไ ม่ ไ กลคื อ เครื องเซรามิกต้ นฉบับ ทีเป็ นลวดลายเก่าแก่สบื ทอดมาตังแต่ยดุ โบราณ ถ้ วยสีเซรามิกทีตังอยู่ด้านหน้ ามีหลากเฉด แต่ล้วนมาจาก 5 สี พื นฐาน ดํ า แดง เขี ย ว นํ าเงิ น เหลื อ ง ที ผ่ า นการผสมด้ ว ยมื อ ของผู้มี ประสบการณ์ แม้ ตอนนีจะซีดจาง แต่หลังจากผ่านอุณหภูมิ 1,280 องศา เซลเซียส สีเหล่านันจะกลับมีชีวิต เปลียนถ้ วยชามให้ งดงามราวกับประดับ ด้ วยเพชรนิลจินดา กว่า พวกเขาและเธอจะฝึ กจนได้ ล ายพู่กัน ที อ่อ นช้ อ ย งดงาม ต่างก็ต้องใช้ เวลาเป็ นแรมปี โดยเริ มจากถ้ วยชามชินเล็กๆ ก่อนจะพัฒนา มาแต่งแต้ มจาน ชาม แก้ วนํา หรื อโถใส่อาหาร ทีโดยปกติจะใช้ เวลาราว 4 วันทังวาดลายและลงสี ผมย่องเงี ยบกริ บกับเพือนช่างภาพ เพือไปพักหายใจแรงๆ ใน ห้ องด้ านข้ าง
แสงไฟสีเ หลือ งสบายตาจับ ต้ อ งเครื องเซรามิก แวววาวที ผ่า น การเจี ย ระไนจนเสร็ จ สมบูร ณ์ เ ป็ น ‘เบญจรงค์ ’ จัด วางอยู่บ นโต๊ ะ เตี ยๆ กลางห้ อ ง มี ตังแต่ถ้ ว ยชาขนาดเล็ก แก้ ว กาแฟพร้ อมจานรอง และโถ สําหรับใส่อาหาร สวยงามและเปราะบาง จนช่างภาพต้ องกดชัตเตอร์ เบาๆ รอบห้ องถู ก ประดับ ด้ วยเบญจรงค์ จ ากหลากยุค หลายสมัย ไม่ตา่ งจากพิพิธภัณฑ์สาํ รับสําหรับรับประทานอาหารของชนชันสูง บางชิน ถูกวางเคียงอยูก่ บั ใบประกาศทีรับรองถึงความวิจิตร เดินสํารวจอยู่ไม่นาน คุ ณลุ งวิรัตน์ ปิ นสุ วรรณ ก็ เดินเข้ ามา ทักทาย ท่าทางกระฉับกระเฉงของเขาดูไม่เหมือนชายในวัยเกือบเก้ าสิบปี เรานังลง สบนัยน์ตาอ่อนโยน ก่อนทีเรื องราวของลุงวิรัตน์จะถูกบอกเล่า ด้ วยนําเสียงกังวานก้ อง เขาเติบโตมาโดยกําพร้ าแม่ตงแต่ ั อายุ ขวบทีจังหวัดสุพรรณบุรี จึงอาศัยร่ มกาสาวพัสตร์ เพือเล่าเรี ยนจนแตกฉานในภาษาไทย และเริ ม อ่านออกเขียนได้ ในภาษาขอม ก่อนจะมีกฎหมายให้ ประชาชนทุกคนต้ อง เข้ า โรงเรี ย น คุณ ลุง วิ รั ต น์ จึ ง เข้ า ไปเล่า เรี ย นในโรงเรี ย นราษฎร พอจบ การศึกษาก็ผา่ นงานหลายด้ าน ทังครู ประชาบาล นายช่าง และข้ าราชการ อาชีพทีทําให้ เขาได้ พบกับภรรยา
“ผมกับภรรยารู้ จกั กันตังแต่สมัยทํางานในอําเภอ เพราะเขาเป็ น คนสมุทรสงคราม เอามะพร้ าวไปขายทีสุพรรณบุรี สมัยนันมันหลังสงคราม เวลาบรรทุกนําตาลมะพร้ าวไปขายก็ต้องไปแจ้ งว่าบรรทุกมาเท่าไร แล้ ว เวลาขายของเสร็ จ จะบรรทุก ข้ า วสารกลับ สมุท รสงคราม ก็ ต้ อ งติ ด ต่ อ ราชการทําเรื องผ่านเขต” คุณลุงวิรัตน์ตดั สินใจย้ ายจากสุพรรณบุรีมาทีบ้ านเกิดภรรยาคือ สมุทรสงคราม ก่อนจะผันตัวเองเป็ นพ่อค้ าขายของเก่าตังแต่ปี พ.ศ. เป็ นจุดเริ มต้ นของการคลุกคลีในแวดวงศิลปะ “พ่อค้ ากรุ งเทพฯมาหาซือของเก่า ไอ้ เราก็ ไม่ร้ ู ว่าของเก่ามันคือ อะไรก็ลองพาเขาไป เขาซือทุกชนิด ทังตู้โชว์ ถ้ วยโถโอชาม แม้ กระทังโลงผี เก่าๆ เขาก็ซือ” ราคาที พ่อ ค้ าจากกรุ ง เทพฯ ซื อไปทํา ให้ คุณ ลุง วิรั ต น์ ส งสัย ถึ ง ‘คุณค่า’ทีแฝงฝั งในชินงานเหล่านัน ก่อนจะเริ มศึกษาและซือของเก่าเอง ตังแต่ พ.ศ.2514 ครู พกั ลักจําเอาวิธีซ่อมเครื องเบญจรงค์มาจากพ่อค้ า ของเก่าทีตลาดนําอัมพวา ลองซ่อมของเก่าทีพ่อค้ าไม่เลือกซือเนืองจากมี ตําหนิ แล้ วจึงนําไปวางขายทีท้ องสนามหลวง “พ่อค้ ากรุ งเทพฯ มาเห็นเราซ่อมก็บอกว่าเราซ่อมสวย ก็เลยมา จ้ างให้ เราซ่อม เราได้ เงินก็รับจ้ างซ่อม ตอนนันก็เป็ นทังพ่อค้ าของเก่าด้ วย แล้ วก็รับซ่อมของเก่าด้ วย
”อย่างชามทีมันร้ าวแตก เราก็จะเอานํายาอีพ็อกซีติด ขูดขัดให้ มัน เกลี ยง แล้ ว เอานํ ายาผสมไล้ ใ ห้ มัน มองไม่ เ ห็ น แนว มองดูเ ป็ นของ สมบูรณ์ เวลาเราซ่อมเราไม่ได้ ซ่อมแบบพ่อค้ ากรุ งเทพฯ เพราะพวกพ่อค้ า กรุงเทพฯ เขาจะใช้ สกี ระป๋ องมาทา แต่ของเราจะใช้ สีอะคริ ลิก งานของเรา เลยสวยกว่า” หลังจากฝึ กฝี มือจากการซ่อมจนชํานาญ คุณลุงวิรัตน์ก็มองเห็น โอกาสบนชามลายครามมีตําหนิทีดูไร้ ค่า โดยทดลองนํามาวาดลวดลาย และลงสีทีผสมเกินไว้ จากทีใช้ ในการซ่อมเบญจรงค์ “เราก็เอาเครื องลายครามมาซ่อมจนสวยงาม เอานํายามาเคลือบ ทังข้ างนอกข้ างใน พอทําทุกอย่างเสร็ จ เราก็เอาชามลายเทพพนมมาตังไว้ ข้ างๆ แล้ วใช้ วิชาวาดเขียนทีเราเคยเรี ยน อุปกรณ์ก็ไม่มีอะไรมาก ดินสอ พูก่ นั แล้ วก็สี “พอลงดินสอเสร็ จก็ จะตัดให้ มันเป็ นเส้ น เปรี ย บเที ยบกับชาม ตัวอย่างว่าเทพพนมกีองค์ ส่วนมากก็จะเป็ นของคู่ เช่นเทพพนมคู่ นรสิงห์คู่ ชามแรกทีทําขนาดเทพพนมสามขึนลายเป็ นเบญจรงค์ทีทําด้ วยมือของเรา เอง นีเป็ นจุดเริ มต้ นของการทําเบญจรงค์เทียม” งานของคุณลุงวิ รัต น์ ส ะดุดตาพ่อค้ าชาวกรุ งเทพฯ ทีมาซื อไป ในราคาไม่แพงมากเพราะลุงวิรัตน์บอกเสมอว่านีคือของเทียม แต่เขากลับ เอาไปหลอกขายให้ คนกรุงเทพฯในราคาแพง
“เราทําชุดหนึงไม่เกิน 3,000 – 3,500 บาท แต่คนทีซือเขาเอาไป ขายหลายหมืน บางชุดก็เป็ นแสน เพราะเขาขายเป็ นเบญจรงค์เก่า “แม่ค้าทีรับไปขายฐานะเปลียนไปเลย ทางครอบครัวได้ มาก็เอา มาจับจ่ายใช้ สอย ซือไร่ ซือนา แต่เวรกรรมมันตามทัน เพราะไปหลอกไป ลวงคนอืนเขา พอไปส่งของเก่ามาก็มาตายทีสมุทรสาคร พอตายไปแล้ ว ครอบครัวก็แย่ลง ในทีสุดสมบัติก็อนั ตรธาน เราก็สะดุ้งเพราะไม่ร้ ู จะโดน หรื อเปล่า ก็เราเป็ นคนทํา แต่เราก็กราบไหว้ บอกเล่าว่าทําเพือเลียงปาก เลียงท้ อง ไม่เคยหลอกลวงใครว่าเป็ นเบญจรงค์แท้ ” หลังจากเหตุการณ์ครังนัน คุณลุงวิรัตน์ก็ตงใจว่ ั าจะเรี ยนรู้ การทํา เบญจรงค์ แ ท้ โดยเดิ น ทางไปขอความรู้ เรื องเครื องปั นดิ น เผาที ราชบุรี ก่อนจะได้ ไปเรี ย นรู้ ทีศูน ย์ วิจัยเครื องปั นดินเผา กล้ วยนํ าไทย โดยเรี ย น ตังแต่การขึนรูป ทํานําเคลือบ การเผา และเขียนลาย หลังจากลองผิดครั งแล้ วครั งเล่า ในทีสุดลุงวิรัตน์ ก็ตงต้ ั นสร้ าง กิจการ ‘ปิ นสุวรรณเบญจรงค์’ ซึงปั จจุบนั ตังอยูไ่ ม่ไกลจากตลาดนําอัมพวา โดยมีศิลปิ นคือเด็กๆ ชาวสมุทรสงครามทีผ่านการฝึ กสอนโดยคุณลุงวิรัตน์ เป็ นผู้ว าดลายและลงสี ซึงทํ า งานอยู่ที นี ไม่ต่ า งจากลูก หลาน บางคน ร่วมงานกันมาเกือบ
ปี
ปั จจุบนั คุณลุงวิรัตน์ยงั ทํางานอย่างต่อเนือง โดยทําหน้ าทีผสมสี เองเพือให้ ได้ เฉดและโทนทีต้ องการ ซึงหากเทียบกับเบญจรงค์ทวไปที ั ใช้ สี สําเร็ จรูป จะให้ ความรู้สกึ ลึกและนุม่ กว่า “งานเบญจรงค์ ต้องใช้ สี สีเพือทําเฉดให้ เหมือนกับธรรมชาติ อย่างถ้ าเรามองออกไปข้ างนอก สีฟ้าของท้ องฟ้ า สีของใบไม้ ก็มีหลายเฉด ขึนอยูก่ บั ทีเราจะผสม ถ้ าเราซือสีของเขา เฉดก็ใช้ ได้ แต่ไม่เหมือนกับทีเรา ผสมเอง ถ้ าเราผสมเองจะได้ ความนิมนวล ขรึ มขลัง เป็ นอํานาจของสีทีอยู่ ในตัวของมัน” ความเฉพาะตัวของปิ นสุวรรณเบญจรงค์ นอกจากสีทีผสมเอง โดยคุ ณ ลุ ง วิ รั ต น์ แ ล้ ว ที นี ยั ง ยึ ด ถื อ เรื องความซื อสั ต ย์ แ ละสิ น ค้ าที คุณ ภาพสูง โดยจะต้ อ งตรวจสอบข้ อ บกพร่ อ งและซ่อ มสีหลัง ออกจาก เตาเผา ก่อนส่งถึงมือลูกค้ า อีกทังลวดลายทํามือทีช่างวาดต้ องฝึ กปรื อจน ผูกลายให้ เหมือนกับผ่านออกมาจากลายดินสอด้ ามเดียวกัน ต้ อ งยอมรั บ ว่า การทํ า เครื องปั นดิ น เผาราคาแพงค่อ นข้ า งอยู่ ในช่ ว งขาลง แต่คุณ ลุง วิ รั ต น์ ก็ ยัง ไม่ ท้ อ และคิ ด จะสร้ างผลงานที เป็ น รู ปแบบใหม่ นอกเหนือจากรู ปแบบอนุรักษ์ ทีทําอยู่ในปั จจุบนั โดยการใช้ ดินพอร์ ซเลนคุณภาพสูง เพือทําเครื องปั นดินเผาเนือดีทีจะบางและเบากว่า แบบเก่า
“รายได้ ก็ไม่ดีเท่าทีควร หลายรายก็เจ๊ งไปเยอะแล้ ว แต่เราจะบอก ว่าเบือแล้ วหยุดทํา แล้ วลูกล่ะ ลูกของเราทุกคน เพราะช่างทุกคนก็เรี ยกเรา ว่าพ่อ แล้ วเราจะเห็นแก่ตวั หรื อ “เมือเรายังอยู่ ก็ต้องมาคิดผลงานใหม่ให้ มนั ดี ลายทีเรากําลังจะ สร้ างนับว่าเป็ นรุ่นแรกเป็ นศิลปะไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ยคุ ใหม่ สมัยรัชกาล ที ” ใบหน้ าของคุณลุงระบายด้ วยความมุง่ มัน
ไม่ใ ช่ช าวบ้ านทุก คนจะสังเกตเห็ นว่า ห้ อ งสีเหลียมทีมี ชานยื น ออกไปริ มแม่นาแม่ ํ กลองปรุงขนมจ่ามงกุฎเป็ น ,
ชินต่อวัน
กลินหอมนวลลอยฟุ้ง ปรุงเป็ นรสชาติหวานนุ่มในอากาศ ต้ นเหตุ มาจากกระทะหนึงใบในครัวไม้ เล็กๆ ริ มนํา ผนังไม้ ซบั กลินใบเตย แล้ วแผ่ รังสีรวมกับแดดอุ่นด้ านนอก การนังเฉยๆ ดูจะเป็ นความผิดอันอุฉกรรจ์ เมือจ่ามงกุฎ, ข้ าวตู, เมียงคําสําเร็ จรู ป, กาละแมร์ มดั จิวและขนมโก๋หลาก รส นอนนิงรอให้ ลมชิ ิ มจากในตะกร้ าสาน กล่ า วขานกั น ว่ า เป็ นขนมดังเดิ ม ของจั ง หวัด สมุ ท รสงคราม ป้าอรพิน ประชานิยม ผู้ก่อตังกลุม่ วิสาหกิจขนมไทยโบราณและจักสาน นําความทรงจําทีมีครังยังเด็กกับคุณยายมาปรุ งให้ เป็ นจ่ามงกุฎเนือหวาน รวบรวมสมาชิ ก อี ก ไม่ถึ ง
คนมารวมหุ้น กัน ในปี พ.ศ.
เรี ย นรู้
เพิมเติมจากศูนย์พฒ ั นาแรงงาน แล้ วอาศัยเรื อขายขนมเป็ นสือกลางจน ชือเสียงเริ มลอยตามแม่นาไปไกล ํ ในจังหวะทีความละมุนของใบเตยเลียปลายจมูก สําเนียงหวาน ของป้าอรพินก็เริ มบอกเล่าเข้ าหู แป้งข้ าวเหนียว กิโลกรัม นําตาล กิโลกรัม หัวกะทิ กิโลกรัม ใช้ ไม้ พายจิกก้ นกระทะนิดหนึงเพือไม่ให้ นอนก้ น กวนไปในทางเดียวกัน เรื อยๆ เรื อยๆ จนครบ ชัวโมง แล้ วจึงบรรจุใส่หอ่ วางเม็ดแตง เม็ด แล้ ว จึงส่งต่อหน้ าทีให้ ต้ อู บพลังงานแสงอาทิตย์
“ถ้ าสมัยนีเขาจะใช้ เครื องกวน แต่ป้าว่ามันนิมนวลสู้สตู รโบราณ ไม่ได้ ” แต่โบราณว่าอย่างไร ไม่วา่ อย่างนันเสมอไป สูตรกรอบนอกนุ่มในของจ่ามงกุฎสีเขียวอ่อนมีทีมาจากการขบ คิดหลายส่วน โบราณเน้ นหวานจัดเพราะต้ องการคุมให้ ขนมอยูไ่ ด้ หลายวัน ป้าก็ลดความหวานลง % แล้ วใช้ การกวนแป้งให้ นานขึนทดแทน วัย รุ่ น หนุ่ม สาวจึ ง ลิมลองได้ คํ า ต่อ คํ า เพราะไม่ต้ อ งห่ว งเรื อง สัดส่วนห่วงยาง การันตีได้ ด้วยตําแหน่งหนึงในโครงการคนไทยไร้ พุงของ จังหวัดสมุทรสงคราม ตู้อบพลังงานแสงอาทิตย์ จะช่วยทําให้ ขนมแตะความร้ อนทุก ส่วนไม่เหมือนตากในกระด้ ง ทีต้ องอาศัยแดดเคลือบจนเนือขนมแห้ งเกาะ หากฝนตกลงมาก็พลันต้ องยืดเวลาออกไปอีก กลืนนําลายลงคอกีครังยังนับได้ ไม่ถ้วน จ่ามงกุฎสีสวยเคียวหนึบ นุม่ หนับ เสน่ห์เรี ยบง่ายคือไม่หวานโดด แต่เจือความหอมของใบเตยแทรก ใบตอง กลืนลงคอแล้ วยังทิงรสชาติไว้ ทีปลายลิน ป้าอรพินท้ วง ความพิถีพิถนั ยังไม่หมดเพียงเท่านัน
ใช้ กระทะทองจะช่วยขับให้ สีเนียนสวย วัตถุดิบไม่ปนแป้งถัวแต่ ใช้ แป้งสด ต้ องกวนให้ แห้ ง หรื อแม้ กระทังสีทีใส่ ก็ใช้ ใบเตยธรรมชาติเป็ น วัตถุดิบหลัก ห่อกลับด้ วยใบตองแห้ ง ช่วยขับให้ จ่ามงกุฎจรุงจรวยขึนไปอีก “เป็ นเอกลัก ษณ์ ข องเราที จะใช้ วัส ดุใ นท้ อ งถิ นทังหมดอย่ า ง ไม้ กลัดก็คือไม้ ไผ่ แล้ วใบตองเป็ นใบตองกล้ วยตานี ต้ องกล้ วยตานีเท่านัน และเป็ นยอดตอง เพราะจะมีกลินหอม พอตัดมาจากต้ นก็จะมาลนไฟ แล้ ว ก็ตากแดด กลินมันจะเริ มฟุ้งออกมา” สติเตลิดตามกลินฟุ้งนันไปเสียแล้ ว ในช่วงปี พ.ศ.
-
เอกลักษณ์ของรสชาติเริ มกลายเป็ นที
จับจ้ องเพราะจ่ามงกุฎของกลุม่ วิสาหกิจขนมไทยโบราณและจักสานได้ เป็ น หนึงตําบลหนึงผลิตภัณฑ์ ดาว แล้ วจึง ไล่เรื อยมาเป็ น ดาวในเวลา ต่อมา และยังได้ รางวัลพระราชทานในปลายปี พ.ศ.
จนรายการสังซือ
เต็มเอียดทุกวัน “ป้าว่ารางวัลเหล่านีมันทําให้ ตลาดตืนตัวนะ มีการคัดสรรดาว มี หน่วยราชการลงมาหาตลาดให้ เรา ให้ เรามีจุดขาย มันก็ กระจายต่อไป เรื อยๆ ทําให้ เรามีอาชีพทําหลายทางนะ อย่างใบตอง แต่ก่อนถ้ าจะใช้ ก็จะ เอาไปทําแค่บายศรี หรื อไม่ก็เป็ นดอกไม้ เล็กๆ น้ อยๆ หรื อเย็บกระทง แต่ เดียวนีมาทําใบตองแห้ งก็ได้ เงินแล้ ว”
หน่วยงานราชการ หรื อองค์การบริ หารส่วนตําบลต่างเป็ นลูกค้ า ประจําของกลุม่ ทังนัน รายการสังซือล้ นทุกวัน สมาชิกกลุม่ ทังหมดเพียง คนแบ่งงานกันทําตามสัดส่วน บางครังก็ล้าไปบ้ าง เพราะจ่ามงกุฎชินจิว เป็ นงานละเอียดยิบตา ยังไม่นบั ข้ าวตู, กาละแมร์ มดั จิว, ขนมโก๋หลากรสหรื อลูกชุบวุ้นที จะมีรายการสังมาเป็ นระลอกๆ อีกด้ วย “ทุกอย่างมันเล็กไปหมดน่ะหนู ต้ องทําด้ วยความปราณีต แล้ วป้า ทําทุกวัน วันหนึง
กว่าห่อ ต้ องมีความประดิดประดอย แล้ วคนที
ทํางานประดิดประดอยก็หายาก แต่เรารักษาแล้ ว ก็ต้องคงให้ มนั เป็ นของ สวย” ของสวยคํ า ที สิบ กว่า ๆ กํ า ลัง จะเข้ า กระเพาะไปอย่า งเพลิน ๆ อัมพวาเมื องขนมทํ าให้ ผ้ ูมาเยือนวูบไหวเพราะรสชาติน วลจัด ซับกลิน ความอร่อยบางๆ ของช่างทําขนมทีมันรักในความโบราณอันซับซ้ อน
ขนมพระยาเสวย ดาราทอง ทองเอกกระจัง จ่ามงกุฎ ไม่ว่าจะ เรี ยกชือไหน แต่ขนมทีมีชือปรากฏอยู่ใน กาพย์เห่ชมเครื องคาวหวาน พระ ราชนิพนธ์ในรัชกาลที ก็กลายเป็ นขนมกระจิริดทีผูกสัมผัสหวานกรอบไว้ ตังแต่แรกชิม
หากใต้ ท้องเรื อมีความรู้ สึกเวลาทีมันล่องกระทบสายนําตลอด ทังวันจะเย็นไปถึงขัวไหนของหัวใจ เดินผ่านความทรงจําของเด็กหนุ่มสาวชาวแม่กลองอาจพบว่ามี ส่วนเสียวใหญ่ๆ ทีเป็ นภาพเรื อไม้ ในสายนํา นังจ่อมลงบันไดท่านํา มือไม้ พัดโบกเรี ยกลุงป้าบนเรื อใส่หมวกจักสานขายก๋วยเตียวขายโอเลียงกัน ตังแต่ต ะวันยังไม่ร อนแรม พาหนะไม้ ท รงตัว บนนํานุ่ม นวลแทรกกอบัว เอียวตัวหลบผักตบชวา เรื อพาย เรื อแจว เรื อโล้ เรื อถ่อหรื อแม้ กระทังเรื อกรรเชียงลอย สวนกันในคลองสายตา อนันต์ ชัย ชุนนิตินันท์ ชา่ งต่อเรื อจําลองเห็นภาพนันมาตังแต่ยงั เด็กเพราะต้ องนังเรื อหางยาวไปเรี ยนหนังสือทุกวันเริ มผูกพันและสานต่อ ความทรงจํ า อี ก ครั งเมื อเป็ นนั ก ศึ ก ษาคณะสถาปั ตยกรรมศาสตร์ อ่ า นหนั ง สื อ เรื องนํ า บ่ อ เกิ ด ของวั ฒ นธรรมไทย และเรี ยนรู้ เรื อง ความเกี ยวโยงของศิ ล ปวัฒ นธรรมไทยกับ สายนํ า ความเชื อของผู้ค น ตลอดจนศิลปะแขนงต่างๆ ทีเกิดจากสายนํา เขาเริ มสะสมเรื อจําลองหลังจากปี พ.ศ. 2541 ก็กลายมาเป็ น นักเรี ยนของวิทยาลัยการต่อเรื อพระนครศรี อยุธยาเพียงคนเดียวในชันเรี ยน
นังตัดไม้ อ่านแบบเรื อทําโมเดลเป็ นเวลา 1 เดือนจนรู้ พืนฐานของเรื อ กระแชง เรื อฉลอมและเรื อมาดเก๋ง หลักสูตรรวดเร็ ว แต่การสร้ างจริ งต้ องเนิบช้ าและมีรายละเอียด “ความยากในตอนแรกอยู่ทีการอ่านแบบเพราะเรื อจริ งบางลํา มันไม่มีแบบ บวกกับความรู้ของเราก็ไม่ได้ มากอะไร เมือแบบไม่ได้ ละเอียด มากก็เลยต้ องมาสังเกตจากเรื อจริ งทีมีอยู่ ก็ไปดูตามพิพิธภัณฑ์เองด้ วย แล้ วเราก็จดบันทึกถ่ายภาพเก็บไว้ จนดูมากๆ เข้ าทําบ่อยๆ เข้ าก็เลยเข้ าใจ” อดี ต สถาปนิ ก แซมรอยยิ มเล่า เรื องเรื อ ไทย แต่ล ะลํา มี รู ป ร่ า ง หน้ าตาแตกต่ า งกั น แม้ จะเป็ นชนิ ด ที เรี ย บง่ า ยมากๆ ก็ ยั ง มี ส ัด ส่ ว น ทีไม่เท่ากันเพราะการต่อเรื อเป็ นงานพืนบ้ านใช้ วสั ดุในการทําแบบตามมีตามเกิด ไม้ คนละชนิดวัสดุคนละชุด เมือไม่มีมาตรฐานผูกขาด ช่างต่อเรื อ จําลองแต่ละคนจึงต้ องตามหาสัดส่วนของตัวเองให้ เจอ สัดส่วนอาจจะลอยไปปรากฏอยู่ไกลถึงงานจิตรกรรม แต่ศิลปะ แขนงนี เป็ นงานเหนื อ จริ ง เรื อ ที ถู ก วาดและลงสี อ ยู่ ใ นนันก็ เ หนื อ จริ ง ตามไปด้ วย ช่างต่อเรื อจึงต้ องแกะแบบคร่าวๆ แล้ วตบเท้ าเข้ าหอจดหมายเหตุ ดูภาพเก่าเอกสารหนังสือรวมถึงสัมภาษณ์ผ้ รู ้ ูทีสามารถลงรายละเอียด ของลักษณะเรื อได้ ลกึ ซึง
“ความสนุกของการต่อเรื ออันดับแรกเลยคือต้ องลุ้นว่ามันออก มาแล้ วจะเป็ นอย่างทีเราคิดหรื อเปล่า เหมือนกับระหว่างทีทํา เราค้ นคว้ า ไปด้ วยลองผิดลองถูก อันนีจะติดหรื อยัง หรื อจะแก้ ก่อน อันนีใหญ่ไปไหม เล็กไปไหม ในการทําเรื อแรกๆ ทีไม่เคยทําเลยมันจะสนุก แบบทีต้ องมา ศึกษาใหม่ ต้ องมาลองทํา” อาจจะไม่ใช่ฝีพายพลัง บู๊ทีเอาแต่จ้วงไปข้ างหน้ าแต่ต้ องใส่ใ จ รายละเอี ย ดของแผ่น นํ า เข้ า ใจแผนที เดิ น เรื อ ดูทิ ศ ทางนํ าทิ ศ ทางลม แล้ วค่อยลงมือแกะร่องรอยความคลุมเครื อให้ ชดั เจนขึนมา พื นฐานเชิ ง โครงสร้ างจากอาชี พ สถาปนิ ก ไม่ไ ด้ ช่ ว ยทุก อย่า ง ลายไม้ จะมาไม้ ไหนก็ต้องดูให้ เป็ น “เราต้ องเริ มตังแต่เลือกไม้ เลย เพราะว่าในเรื อหนึงลํา ของเรา มันไม่ได้ เป็ นไม้ ชินเดียวกันทังหมด ก็คือต้ องเลือกลายและสีให้ สอดคล้ อง ไปในแนวเดียวกันทังสีใกล้ เคียงกันด้ วย” เยือไม้ ทงฝุ่ ั นปลิวเคลือนบนโต๊ ะเบาๆ ตุปัดตุเป๋ ทับสิวไม้ บรรทัด และบรรดาท่อนไม้ ทีมีรูปร่างคลับคล้ ายเรื อลําเล็กทีถูกตัดแซะขูด อนันต์ชยั หยิบอุปกรณ์หน้ าตาไม่ค้ นุ ขึนมาวางเรี ยงกันจนเต็มพืนที เล่าเรี ยบๆ ว่าใช้ งานทุกชนิด
เริ มตังแต่มีด หลังจากวาดแม่แบบและกะเกณฑ์สดั ส่วนของเรื อ ตามระยะและความลึกแล้ วก็ทาบแบบตัวเรื อลงบนท่อนไม้ สกั ใช้ เลือยตัด มุมออกไปก่อนและเก็บไว้ จากนันใช้ มีดถากตัวเรื อทีเป็ นเหลียมให้ มีความโค้ ง เก็บรายละเอียดโดยใช้ กกไสไม้ ให้ ตวั เรื อโค้ งอย่างประณีตแล้ วจึงนํา ชินส่วนมุมเล็กๆ ทีเก็บไว้ มาเสริ มหัวท้ ายแต่งหน้ าตาเรื อให้ เหมือนในแบบ จนเรื อไม้ เรี ยบสวย เยือไม้ และผงไม้ สนี าตาลอ่ ํ อนเข้ มทีกระจัดกระจายบนโต๊ ะมาจาก การใช้ ส ว่า นเจาะตรงกลางเรื อ ให้ เ ป็ นรู พ รุ น แล้ ว งัด เนื อไม้ อ อกด้ ว ยสิ ว กร่อนลงไปๆ เรื อยๆ แล้ วจึงใช้ สวเล็ ิ บขุดออกให้ เว้ าลงผ่านไปราว 1 ชัวโมงก็ ยกให้ เป็ นเรื องราวของงานละเอีย ด ใช้ ก ระดาษทรายขัด ให้ เรี ยบเนี ย น ประกอบไม้ ปูพืนเรื อ ประทุนเรื อ ไม้ แจว หางเสือก้ าน และพังงาบังคับเรื อ เข้ ากันเป็ นอันเสร็ จกระบวนการ ยิงเล็กยิงบอบบางยิงยาก เรื อจําลองใช้ เวลาประกอบอย่างน้ อย 2 วันแต่ถ้ามือหนักก็ยืดเวลาออกไปอีก เรื อจํ าลองแล่นไม่ได้ หน้ าทีของมันคือตังอยู่ในพิพิธภัณฑ์ หรื อ ชันวางบ้ า นนัก สะสม ไม่แ ตะนํ าคลองแม้ ป ลายไม้ แ จว คนสร้ างสรรค์ ทีหลงใหลจนอยากลงเรื อลําเดียวกันกับศาสตร์ นีก็น้อยลงไปอีก การสร้ าง พิพิธภัณฑ์เก็บดีไซน์ทงใหม่ ั และเก่าจึงเป็ นห้ องสมุดทีดีสําหรับช่างต่อเรื อ หรื อคนช่างสนใจ
อนันต์ชยั ประดิษฐ์ เรื อมามากกว่า 20 รูปแบบไม่รวมเรื อปลีกย่อย อย่างเรื อสําเภาเรื อยนต์ และเรื อยาว เชือในแนวคิดของการประยุกต์เรื อ จํ าลองให้ ร่วมสมัย เขาใส่ดีไซน์ เติมเข้ าไปให้ ศิลปะมีความหลากหลาย ไม่มงุ่ เน้ นทีงานอนุรักษ์ เพียงอย่างเดียว ใช้ ภมู ิปัญญาเป็ นพืนฐานแล้ วพายออกไปให้ ไกลกว่านัน “มักจะมีคําถามจากคนรุ่ นใหม่เสมอว่ารู้ ไปแล้ วมันได้ อะไร ก็เลย ลองทํางานทีออกแบบจากภูมิปัญญาดังเดิมขึนมาอย่างลําแรก ทําเป็ นเรื อ สําเภามีโคมไฟต่อยอดมาจากเรื อสําเภาไทย ตอนนันได้ เป็ นโอทอปด้ วย” พิพิ ธภัณฑ์ อนันต์ ชัย ไทยโบทเกิ ด ขึนเป็ นรู ปเป็ นร่ า งราวปี พ.ศ. 2550 เมือการสังทําเรื อเฉพาะรู ปแบบและการขายเรื อจําลองสร้ างรายได้ ให้ เขามากพอ การจัดเวิร์กช็อปต่อเรื อก็ เป็ นงานช้ างทีจะต่อจิ นตนาการ ของผู้มาเข้ าร่ วมให้ เข้ าใจถึงความยาก มีการรับรู้ ทีต่างออกไป และผูกพัน มากกว่าการเดินดูเรื อจําลองในตู้โชว์เฉยๆ “ตลาดบ้ านเราเห็นงานพวกนีเป็ นของไม่จําเป็ น แต่พวกอุปกรณ์ ไฮเทคเท่าไหร่ก็ส้ ู ตอนทีเอาเรื อมาแสดงมันได้ การรับรู้และทําให้ นิทรรศการ หรื อพิพิธภัณฑ์ทีมีกิจกรรมมันดูมีชีวิตขึนมา เกิดการสือสารสองทางเพราะ บางทีเด็กๆ เรี ยนรู้ ด้ วยการเล่นเขาก็ซึมเข้ าไป มันเป็ นวิธีทีเราจะสือสาร กับคนในพิพิธภัณฑ์”
ช่างต่อเรื อจําลองใช้ ชีวิตส่วนมากบนบกปะติดปะต่อชินส่วนของ เรื อทีรู้จกั และกําลังจะรู้จกั อาจเปรี ยบได้ เหมือนเรื อมาด เรี ยบง่ายแต่สวยลึก ดูแวบแรกไม่สวยแต่ต้องดูอย่างยาวนาน
สมัย นัน ไม่ ใ ช่ ทุ ก คนจะมี โ อกาสได้ ไปโรงเรี ย น เด็ ก หญิ ง วัย ขวบ เดินกลับเข้ าบ้ านมาหลังเลิกเรี ยน เห็นพีๆ ทังสามกําลังสานหมวก อย่า งคล่องแคล่ว บางจังหวะมื อ พวกเขาทํ างานสานต่อ เนื องโดยที ตา ไม่ต้องมองงาน สิงทีเด็กน้ อยคิดมีเพียง “แหม เท่ อยากทําเป็ น” หมวกสานที ว่ า คื อ ‘หมวกไห่ห นํ าโล้ ย ’ หัต ถกรรมที นํ า เข้ า มา พร้ อมกั บ การอพยพหนี ส งครามของชาวจี น ปลายสมั ย รั ช กาลที ป้าบุปผา อันจินดา วัย
ปี หรื อเด็กสาว ขวบในวันนันเล่าให้ ฟังว่า
อาชี พของทีบ้ านขณะนันมีอยู่เพียงสองอย่าง หนึงคือ เป็ นชาวสวนตาล ปี นขึนต้ นตาลเพือหาเลียงชีพ พอตาลในสวนหมดจึงผลัดมาเป็ นเวลานัง ทํางานจักสาน เช่น กระด้ ง กระบุง กระจาด “บ้ านคนสมั ย ก่ อ นมี ย้ ุ งข้ าวทุ ก บ้ าน ทํ า เครื องสานไปแลก ข้ าวเปลือกมาใส่ย้ งุ ไว้ กิน” ส่วนหมวกไห่ห นําโล้ ย ภูมิปั ญญาทีชาวจี นถ่ ายทอดมาให้ ใน สมัยนันชาวบ้ านเรี ยกกันเพียนติดปากไปว่า หมวกกะโล่ เป็ นทีนิยมสวมใส่ ถึ ง ขนาดที แถบคลองอัม พวามี ร้ านรั บ ซื อหมวก - ร้ าน แม้ เวลาใด สวนตาลจะไม่ใ ห้ ผ ลผลิ ต แต่ค รอบครั ว ก็ นังสานหมวกกัน ในครั ว เรื อ น ทํากินได้ อีกทาง ในราคาลูกละ
บาท (ตามค่าเงินในสมัยนัน)
เมือคิดแล้ วว่าต้ องทําให้ ได้ เด็กหญิงตัวน้ อยจึงแอบเก็บเศษไม้ ไผ่ ทีพีๆ ตัดทิงออกมาจากขอบหมวกเมือสานเสร็ จ มาลองผิดลองถูก หัดสาน ด้ วยตัวเองคนเดียว เมือมันใจแล้ วว่าสามารถรื อออกแล้ วสานใหม่ได้ อย่าง ถูกต้ อง จึงหวังจะเอาไปโชว์ฝีมือจักสานต่อหน้ า ‘แม่คณ ุ ’ หรื อคุณยาย ผู้นํา งานจักสานในบ้ าน “แม่คณ ุ แกก็ดู ยิม แล้ วก็โยนทิง แม่คณ ุ บอกว่า มา เดียวก่อให้ดู” การสืบ ทอดภูมิ ปั ญ ญาจึ ง เกิ ด ขึน แม่ คุณ ทํ า แป้ นสํา หรั บ สาน หมวกขึ นมาใหม่ อี ก อัน สํ า หรั บ ให้ ป้ าบุป ผาใช้ เรี ย นควบคู่ ไ ป สองมื อ ของคนสองคนจับงานสานในมือของตนเอง สายตาเด็กน้ อยต้ องมองตาม เส้ น ทางการเคลือนที ของนิ วมื อ และเส้ น ไผ่ข องแม่คุณ แล้ ว เลีย นแบบ ตามไปทีละขัน ทีละขัน “มันจับมือสอนกันไม่ได้ ” ป้าบุปผาบอกว่าอย่างนัน แต่ก ว่าจะเก่ งเท่าแม่คุณ ต้ องใช้ เวลาอีกโข ป้ าบุปผาเล่า ด้ ว ย แววตาชื นชมว่า ตกกลางคื น ไม่มีไ ฟฟ้ าใช้ แต่แ ม่คุณก็ ส ามารถนังสาน หมวกบนแคร่หน้ ายุ้งข้ าวได้ โดยไม่ต้องอาศัยตะเกียงส่องสว่างเลย ระหว่างเล่าเรื อง บางถ้ อยคํา แผ่วเครื อลง งานสานไม่ได้ มีแ ค่ การก่อร่ าง มันยังประกอบไปด้ วยกระบวนการตัด เฉาะ และกําจัดส่วนที ไม่ต้องการทิงไปเพือให้ ชินงานสมบูรณ์ บางครังก็เจ็บปวด
ป้าบุปผาเอียงขาให้ ดรู อยแผลเป็ น มีดตอกบาดลึกน่าหวาดเสียว แม้ รักษาหายได้ ด้วยสมุนไพรสมานแผลแต่ก็ฝากรอยจําเอาไว้ จนถึงวันนี รวมถึงแผลทางใจอืนๆ ในหนหลัง “บรรดาพีน้ อง คน ฉันมีผวั มาทีหลังเพือน ตังใจว่าจะไม่มีแล้ ว ...เอ้ อ แต่คนเราดวงไม่ดี ไม่คอ่ ยได้ ทําบุญไว้ ” ผมสีดอกเลา รูปร่างผอมบาง แต่แข็งแรง และริ วรอยบนใบหน้ า บอกกลายๆ ว่าแกผ่านสงครามชีวิตมา เนินนานเหลือเกิน ปั ญหาชีวิตรุ มเร้ า สามีเป็ นโรคพิการทางสายตา ลูกหลงคนเล็ก อายุ ขวบเกิ ด มาทุพ ลภาพ ต้ อ งนอนอยู่ติ ด บ้ า น ป้ าบุป ผาตัด สิ น ใจ เด็ ด เดียวว่าจะไม่อยู่เ ป็ นภาระของพี น้ อ งที บ้ า นหลัง เดิ ม ซึงอยู่ย่า นวัด เกตุการาม อําเภอบางคนที “เหลือเราคนเดียวจะไปพอกินอะไร คิดขึนมาว่าทีวัดอาหารเยอะ นึกอย่างเดียวว่าไปทีไหนก็ได้ ทีเขามีงานให้ เราทํา” สินเสียงบรรยายก็อด ไม่ได้ ทีจะอุทานให้ กบั เส้ นทางรันทดของตัวเอง “โฮ้ !... ชีวิต” แม้ พี น้ อ งจะตามให้ กลับ บ้ าน ป้ าบุป ผายื น กรานจะอยู่ ที วัด มีพืนทีใต้ แท็งก์นาเป็ ํ นรังหลับ ไม่สนใจว่าคนทางบ้ านจะโกรธหรื อไม่ เมือเป็ นคนอยู่วัด ป้าบุปผาจึงทํางานให้ หลวงพีและบรรดาคน ทีมาทํางานบุญ งานบวช หรื องานศพทีวัดโดยปริ ยาย ทําตังแต่ล้างชาม
หุงข้ าว จนถึงเตรี ยมสํารั บ อาหาร ใครถูกใจผลงานก็ ให้ ข้าวสุกข้ าวสาร นํ าพริ ก กะปิ นํ าปลา พูด กัน ถึ ง ขันว่า “มี ย ายผาคนเดี ย วก็ ส บายไป อย่าง” “ถ้ าเราไปขอเงินเขา เขาก็ให้ แต่วา่ เดียวเขาก็จะว่า อีกแล้ ว ขออีก แล้ ว” ป้าบุปผาคิดจะสร้ างบุญกุศลผ่านวัดและการทําทานให้ แมวและสุนขั จรจัดเพือกรรมดีในชาติตอ่ ไปเสียมากกว่า แกก้ มลงพรมนําให้ ไม้ ไผ่ชืนลืน แล้ วลงมือสานหมวกต่อ ในบ้ าน ไม้ หลังเล็กๆ ใต้ ถนุ สูง มีลกู ชายนอนส่งเสียงฮึมฮําอยู่ใกล้ ๆ และสามีนอน อยูใ่ นมุ้งใต้ ถนุ เรื อน “เอาเหอะ สู้ เดียวก็ตายแล้ ว” แกยิม สายตาวาววับ สวนทางกับ เรื องสีหม่นทีกําลังเล่า ราว ๆ พ.ศ.
เจ้ าหน้ าทีโครงการอัมพวาชัยพัฒนานุรักษ์ ก็
ตามหาป้าบุปผาจนเจอ นอกจากงานเผาถ่านและเก็บขวดหากินทีทําเป็ น ประจําแล้ ว งานฝี มือจักสานทีคิดว่าเหลือไว้ เป็ นเพียงความทรงจําระหว่าง แกกับแม่คณ ุ ก็ได้ เวลารื อฟื น “เขาถือใบหมวกไปเทียวตระเวนหา - ปี จนกระทังเพือนเขา บอกว่า ป้าผาทีแกมาอยูว่ ดั นีแหละ ทําหมวกแบบนีได้ ”
ป้าผาเริ มสานหมวกแล้ วนําไปขายทีมูลนิธิชยั พัฒนา ราคาเริ มต้ น บาท ต่อมามูลนิธิฯ เริ มสนับสนุนให้ ค้าขายเป็ นหลักเป็ นฐาน มีเงิ น ประจําให้ และตังราคาหมวกได้ ถึง
บาทต่อใบ ทีน่าทึงคือไม่มีอาทิตย์
ไหนทีขายไม่ได้ กาลเวลาเปลียน หมวกไห่หนําโล้ ยทีเป็ นของสามัญของชาวบ้ าน กลับมีมลู ค่าเพิมทีไม่อาจวัดได้ ด้วยราคาวัสดุเท่านัน หนึงสัปดาห์คือเวลาที ต้ องแลกกับหมวกสาน ใบ เริ มตังแต่ใช้ มีดตอกมาตัด เลือยและเหลา ใบไผ่ ใช้ หวายสําหรับสานเข้ าทรงหมวกถึง
เส้ น วางบนแป้นและสาน
ไปเรื อยๆ ตามเข็มวินาทีทีกระดิก มือสาน ฝ่ าเท้ ายึดเหยียบปี กหมวก ติก.... ติ ก.... ติ ก.... ติ ก... เมื อออกมาเป็ นทรงก็ นํ า ขึ นเขี ย ง ใช้ ไม้ คี บ เพือเข้ าขอบหมวก “มันโขอยู่ งานละเอียด หมวกลูกนีลงทุนไม่เท่าไหร่หรอก แต่เวลา ทีทํามันแพง” สิงทีป้าบุปผากังวล ไม่ใ ช่ความเหน็ด เหนือยจากงานหนัก แต่ กลับ เป็ นศัก ยภาพของตัว เองที ทํ า หมวกไม่ทัน ขาย และบอกว่า ตัว เอง ทํางานไม่ค้ มุ ค่าจ้ างมากมายทีได้ มาประจํา ได้เงิ นมากเกิ นไป แกบอก
รายได้ จากการขายหมวกสานบวกกับรายได้ อืนๆ แต่ละสัปดาห์ ป้าบุปผาหาเลียงสามกระเพาะในบ้ านด้ วยเงินเพียง 2,
บาท ในบ้ านไม้
หลังเล็กทีได้ รับบริ จาคมา นําตารื นหยดลงผสมความชืนของนําทีใช้ พรม หมวกเปรอะฝาเรื อน แกหยุดมือทีสานอยู่ แล้ วเงยหน้ าขึนมายํากับเราด้ วยเสียงหนัก แน่นว่า “ตอนนีชีวิตดีขนค่ ึ อนหนึงแล้ ว! ดีขนมากเลย!” ึ