ข้อมูลสุก เอกสารแผ่นพับประกอบงานสัมมนาประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ธุรกิจขอนแก่นได้หรือเสีย

Page 1

ศูนย์ขมุ ทองเพื่อการลงทุน รายงานข้อมูล สิงหาคม 2555

ผูร้ บั ผิดชอบ อ.ประเสริฐ วิจติ รนพรัตน์

ข้อมูลสุก เอกสารแผ่นพับประกอบงานสัมมนา ประชาคมเศรษฐกิ จอาเซียน ( AEC) ธุรกิ จขอนแก่นได้หรือ เสีย ควรปรับตัวอย่างไร ประกอบด้วย ข้อมูลพืน้ ฐานจังหวัดขอนแก่นและความโดดเด่นของจังหวัด ขอนแก่น , ข้อมูลพืน้ ฐานของประชาคมเศรษฐกิ จอาเซียน , ข้อมูลเปรียบเทียบ 10 ประเทศอาเซียน , ข้อมูลเปรียบเทียบเมืองหลักทางภูมิภาคและกลุม่ ประเทศอาเซียน

โครงการความร่วมมือ หอการค้าจังหวัดขอนแก่น และคณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ภายใต้การสนับสนุนงบประมาณของ องค์การบริหารส่วนจังหวัดขอนแก่น เทศบาลนครขอนแก่น


การค้ าปลีก ค้ าส่ ง อุตสาหกรรม อุตสาหกรรมที่มีการลงทุนมากสุด 5 อันดับแรก ได้ แก่ อโลหะ ผลิตภัณฑ์ โลหะ ขนส่ ง อาหาร และการเกษตร

มีธุรกิจประเภทการค้ าปลีกค้ าส่ งมากสุด มีสูงถึง 40,088 ราย อีกทัง้ ปั จจุบนั เกิด Community Mall กว่ า 5 แห่ ง

ที่มา : สสว, จากการสารวจ

การคมนาคม ขนส่ ง ขอนแก่ นถือเป็ นศูนย์ กลางด้ านการคมนาคมขนส่ ง ได้ เปรียบด้ านภูมิศาสตร์ ตงั ้ อยู่ในแนวระเบียงเศรษฐกิจ ตะวันออก ตะวันตก (East West Economic Corridor)

ข้ อมูลพื้นฐานของจังหวัด ประชากร : 1,767,601 คน ( ปี 2553 ) เขตการปกครอง : 26 อาเภอ 198 ตาบล 2,331 หมู่บ้าน 280 ชุมชน พืน้ ที่ : 6.8 ล้ านไร่ ผลิตภัณฑ์ มวลรวมจังหวัด GPP : 155,469 ล้ านบาท ( ปี 2553 ) รายได้ เฉลี่ยต่ อหัว : 82,211 บาท ( ปี 2553 ) ค่ าแรงขัน้ ต่า : 233.8 บาท/วัน ( ปี 2555 ) กาลังแรงงาน : 1,038,522 คน ( ปี 2554 ) การว่ างงาน : 9,765 คน ( ปี 2554 )

เศรษฐกิจหลักขอนแก่ นส่ วนใหญ่ คือ อุตสาหกรรม การค้ า เกษตรกรรมและการศึกษา

อสังหาริมทรั พย์ มีคอนโดมิเนียมขนาดใหญ่ เกิดขึน้ ปี 2554-2555 มากกว่ า 13 โครงการ ซึ่งมีแนวโน้ มขยายตัวและแข่ งขัน อย่ างรุ นแรง

จังหวัดขอนแก่ น

และด้ วยจานวนผู้โดยสารสายการบินไทยเส้ นทางกรุ งเทพฯขอนแก่ น,ขอนแก่ น-กรุ งเทพฯ ปี 2554 คิดเป็ นสัดส่ วนสูง ถึง 80.45% จากจานวนที่น่ ังทัง้ หมด

สัดส่วนผลิตภัณ ์มวลรวม จังหวัดขอนแก่ น ปี 2553 หน่ วย : เปอร์ เซ็นต์

ที่มา : บริษัทการบินไทย

ที่มา : จากการสารวจ

รวบรวมข้ อมูลโดยศูนย์ ขุมทองเพื่อการลงทุน ศูนย์ฯเป็ นความร่ วมมือระหว่างหอการค้ าจังหวัดขอนแก่นและศูนย์วิจยั ธุรกิจและ เศรษฐกิจอีสาน คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ภายใต้ การสนับสนุนงบประมาณ ขององค์การบริ หารส่วน จังหวัด , เทศบาลนครขอนแก่น , สานักงานพาณิชย์ จังหวัดขอนแก่น ติดต่ อขอข้ อมูลได้ ท่ ี kkcc.gold@gmail.com Download ข้ อมูลที่น่าสนใจอื่นๆได้ ที่ www.goldkkcc.blogspot.com

ที่มา : สศช.


แนวโน้ มเศรษฐกิจขอนแก่ นเติบโตสูงขึน้

จานวนนักท่ องเที่ยว (คน) ชาวไทย ชาวต่างประเทศ รายได้ จากการท่ องเที่ยว (ล้ านบาท) ชาวไทย ชาวต่างประเทศ จานวนผู้เข้ าพักแรม (คน) ชาวไทย

SMEs มากสุด ถึง 81,865 ราย

ความโดดเด่ นของจังหวัด

จานวนนักท่ องเที่ยวชาวไทยและต่ างชาติ ปี 2553 สูงกว่ า 1.8 ล้ านคน

ชาวต่างประเทศ

การศึกษา

1,811,647 1,760,501 51,146 6,258 6,001 257 962,393 930,469 31,924

ที่มา : สสช.

ขอนแก่ นเมืองแห่ งการจัดประชุม สัมมนาและแสดงสินค้ า โดยมีศักยภาพและความพร้ อมของห้ องพักประเภท โรงแรมไม่ ต่ากว่ า 4,000 ห้ อง ปี 2555 จานวนโรงแรม (แห่ ง)

โครงสร้ างอายุประชากร วัยทางานสูงถึง 69%

2553 วัยชรา 60 ปี ขึน้ ไป 12 % วัยทางาน15-59 ปี 69 % วัยเด็ก 0-14 ปี 19 % :

.

43

จานวนห้ องพักประเภทโรงแรม (ห้ อง) จานวนหอพัก อพาร์ ทเม้ นท์ (แห่ ง)

4,321 418

จานวนห้ องพักประเภทหอพัก อพาร์ ทเม้ นท์ (ห้ อง)

29,311

ที่มา : จากการสารวจ

โรงงานอุตสาหกรรมที่จดทะเบียนและได้ รับอนุญาต ให้ ประกอบกิจการ ณ สิน้ ปี 2554 สูงถึง 4,935 โรงงาน จานวนโรงงาน เงินทุนจดทะเบียน (ล้ านบาท) จานวนคนงาน (คน) ที่มา : สสช.

4,935 79,302 57,475

ขอนแก่นถือเป็ นศูนย์กลางทางการศึกษาเนื่องจากมี สถาบันการศึกษาที่มชี ื่อเสียงและมีจานวนสถานศึกษา นักเรี ยนและนักศึกษาจานวนมาก ดังนี ้  จานวนนักเรี ยน 331,305 คน ครู 13,599 คน และโรงเรี ยน 1,365 แห่ง (ปี 2553)  สถาบันอุดมศึกษา 6 แห่ง (ปี 2553)  นักศึกษามข. 39,517 คน (ปี 2555)  โรงเรี ยนกวดวิชากว่า 50 ราย (ปี 2555 ) และในวันที่ 22 กุมภาพันธ์ 2555 ได้ รับความเห็นชอบจาก คณะรัฐมนตรีในการจัดตังโครงการ ้ Science Park มูลค่า 3.7 พันล้ านบาท (ที่มา : สานักงานจังหวัดขอนแก่น ,จากการสารวจ)

การแพทย์ ขอนแก่นถือเป็ นศูนย์กลางทางการแพทย์เนื่องจากมี โรงพยาบาลที่มชี ื่อเสียงและใหญ่ที่สดุ ในภาคอีสาน ประกอบกับมีสถานพยาบาลและบุคลากรทางการแพทย์ จานวนมากดังนี ้  โรงพยาบาลจานวน 32 แห่ง เป็ นโรงพยาบาลเอกชน 3 แห่ง ( ปี 2554)  จานวนแพทย์ 888 คน ทันตแพทย์ 209 คน เภสัชกร 288 คน พยาบาล 3,489 คน (ปี 2554) และในวันที่ 22 กุมภาพันธ์ 2555 ได้ รับความเห็นชอบจาก คณะรัฐมนตรีในการจัดตัง้ Medical Hubมูลค่า 2.4 พันล้ านบาท (ที่มา : สานักงานจังหวัดขอนแก่น,)


ข้ อมูลเปรี ยบเทียบทางเศรษฐกิจของ ประเทศสมาชิก ASEAN 10 ประเทศ การเปรียบเทียบดัชนีทางเศรษฐกิจที่สาคัญปี 2554

รวบรวมข้ อมูลโดยศูนย์ ขุมทองเพื่อการลงทุน ศูนย์ฯเป็ นความร่วมมือระหว่างหอการค้ าจังหวัดขอนแก่นและ ศูนย์วิจยั ธุรกิจและเศรษฐกิจอีสาน คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัย ขอนแก่น ภายใต้ การสนับสนุนงบประมาณของ องค์การบริหารส่วนจังหวัด, เทศบาลนครขอนแก่น, สานักงานพาณิชย์ จังหวัดขอนแก่น ติดต่ อขอข้ อมูลได้ ท่ ี kkcc.gold@gmail.com Download ข้ อมูลที่น่าสนใจอื่นๆได้ ที่ www.goldkkcc.blogspot.com

ดัชนีทางเศรษฐกิจที่สาคัญของประเทศอาเซียน 10 ประเทศ ในแต่ละด้ านมีดงั ต่อไปนี ้ ด้ านจานวนประชากร พบว่า อินโดนี เซียมีจานวนประชากรมากสุด 241 ล้ านคน ขณะที่ไทยอยูอ่ นั ดับ 4 จานวน 64.1 ล้ านคน ด้ านมูลค่ า GDP พบว่า อินโดนีเซียมี มูลค่ามากสุด 845.7 พันล้ านเหรี ยญสหรัฐ ขณะที่ไทยอยูอ่ นั ดับ 2 มีมลู ค่า 345.6 พันล้ านเหรี ยญสหรัฐ ด้ านอัตราการเติบโตของ GDP พบว่า สปป.ลาวมีอตั ราการเติบโตสูงสุด ร้ อยละ 8.3 ขณะที่ ไทยอยูอ่ นั ดับสุดท้ าย ร้ อยละ 0.1 ด้ านอัตราเงินเฟ้อ พบว่า เวียดนามมีอตั ราเงินเฟ้ อสูงสุด ร้ อยละ 18.7 ขณะที่ ไทยอยูใ่ นอัน ดับ 8 ร้ อยละ 3.8 ด้ านรายได้ เฉลี่ยต่ อหัว พบว่า สิงคโปร์ มีราย ได้ เฉลีย่ ต่อหัวมากสุด 49,270.9 เหรี ยญสหรัฐ ขณะที่ไทยอยู่ อันดับ 4 จานวน 5,394.4 เหรี ยญสหรัฐ และด้ านค่ าจ้ างแรงงาน พบว่า สิงคโปร์ มีคา่ จ้ างแรงงาน สูงสุด 41.1 เหรี ยญสหรัฐต่อวัน ขณะที่ไทยอยูอ่ นั ดับ 5 จานวน 8.7 เหรี ยญสหรัฐต่อวัน (ที่มา : IMF, ศูนย์วิจยั กสิกรไทย) โดยมีรายละเอียดดังนี ้


อั ตราเงินเ ้ อ

จานวนประชากร

หน่ วย : ร้ อยละ

หน่ วย : ล้ านคน

18.7

241.0

8.7

95.0 89.3 64.1 62.5

5.5 5.4 5.2 4.8 4.2 3.8 3.2 2.0

28.7 15.1 6.6 5.3 0.4

0.0

100.0

GDP

200.0

300.0

0.0

5.0

10.0

15.0

รายได้ เฉลี่ ยต่ อหัว

หน่ วย : พันล้ า นเหรียญสหรั ฐ

หน่ วย : เหรียญสหรัฐ

845.7

49,270.9

345.6 345.6 278.7 259.8 213.1 122.7 51.9 12.9 7.9

0

200

400

36,583.0 9,699.7 5,394.4 3,508.6 2,223.0 1,374.0 1,203.6 851.5 831.9

600

800

1000

0.0

20,000.0

8.3

41.1

6.5 6.1 5.6 5.5 5.1

14.8 13.1 8.7 7.6

3.7 2.4 1.7 1.7 1.5

3.7 2.7 1.9 0.1

4

6

60,000.0

หน่ วย : เหรียญสหรัฐต่อวัน

หน่ วย : ร้ อยละ

2

40,000.0

ค่ าจ้ างแรงงาน

อั ตราการเติบโตของ GDP

0

20.0

8

10

0.0

10.0

20.0

30.0

40.0

50.0

ดัชนีการแข่ งขันระดับโลก ปี 2554-2555 (Global Competitiveness Index 2011-2012 : World Economic Forum ) ดัชนีการแข่งขันระดับโลกปี 2554-2555 ของกลุ่ม ประเทศอาเซียน 8 ประเทศ (สปป.ลาวและพม่าไม่มีขอ้ มูล) ในแต่ละ ด้านพบว่า ด้านโครงสร้ างพืน้ ฐาน ประเทศสิ งคโปร์มีคะแนน ความสามารถในการแข่งขันอันดับ 1 ส่ วนไทยอยูอ่ นั ดับ 3 ด้าน สถาบันการศึกษา ประเทศสิ งคโปร์มีคะแนนความสามารถในการ แข่งขันอันดับ 1 ส่ วนไทยอยูอ่ นั ดับ 4 ด้านการศึกษาขั้นพืน้ ฐานและ สุ ขภาพ ประเทศสิ งคโปร์มีคะแนนความสามารถในการแข่งขันอันดับ 1 ส่ วนไทยอยูอ่ นั ดับ 6 ด้านสภาพแวดล้ อมและเศรษฐกิจมหภาค ประเทศ บรู ไนมีคะแนนความสามารถในการแข่งขันอันดับ 1 ส่ วนไทยอยูอ่ นั ดับ 4 ด้านขนาดตลาด ประเทศอินโดนีเซียมีคะแนนความสามารถในการ แข่งขันอันดับ 1 ส่ วนไทยอยูอ่ นั ดับ 2 ด้านประสิทธิภาพของตลาด สินค้ า ประเทศสิ งคโปร์มีคะแนนความสามารถในการแข่งขันอันดับ 1 ส่ วนไทยอยูอ่ นั ดับ 3 ด้านประสิทธิภาพของตลาดแรงงาน ประเทศ สิ งคโปร์มีคะแนนความสามารถในการแข่งขันอันดับ 1 ส่ วนไทยอยู่ อันดับ 4 และด้านความพร้ อมด้านเทคโนโลยี ประเทศสิ งคโปร์ มี คะแนนความสามารถในการแข่งขันอันดับ 1 ส่ วนไทยอยูอ่ นั ดับ 4 โดย มีรายละเอียดดังนี้


ศู น ย์ ขุ ม ท อ ง เ พื่ อ ก า ร ล ง ทุ น GDP (ผลิตภัณฑ์มวลรวม) ของเมืองหลัก ในประเทศกลุม่ สมาชิกอาเซียน จังหวัดขอนแก่น หนึง่ ในเมืองเศรษฐกิจของประเทศไทย มีจีดีพี 155,469 ล้ านบาท ในขณะที่เมืองโฮจิมินห์ เมืองสาคัญทาง เศรษฐกิจของประเทศเวียดนาม มีจีดีพี สูงสุดถึง 463,750 บาท ม ากกว่า ขอนแก่นโดยเปรี ยบเทียบถึง 3 เท่า และมีอตั ราการเจริญเติบโตที่สงู มาก ที่สดุ เช่นกัน GDP ของเมองหลักในกล่ มประเทศอาเซียน ปี 2553 หน่วย : ล้ านบาท 33,071

อาเ ะ อินโดนีเซีย

138,112

เชียงใหม่ ไทย

145,809

มะละกา มาเลเซีย

หน่ วย:บาท บาหลี อินโดนีเซีย

16,765

อาเ ะ อินโดนีเซีย

17,292

หลวงพระบาง ลาว

21,026 62,699

ขอนแก่ น ไทย

82,211

เชียงใหม่ ไทย

86,212

มะนิลา ฟิ ลิปปิ นส์

89,316 119,041 235,609

319,170

ปี นัง มาเลเซีย

276,340

านอย เวียดนาม

หน่ วย : คน

มะละกา มาเลเซีย

174,301

สงขลา ไทย

านวนประชากร ของเมองหลักในประเทศกล่ มอาเซียน ปี 2553

สงขลา ไทย

155,469

ขอนแก่ น ไทย

-

50,000

100,000

150,000

200,000

250,000

443,181

ปี นัง มาเลเซีย

463,750

โ มิ ินห์ เวียดนาม -

100,000

200,000

300,000

400,000

500,000

ที่มา : CEIC หมายเหตุ : ไม่นบั รวมข้ อมูลบางรายประเทศที่ไม่ระบุGDPรายจังหวัด ภายใต้ อตั ราแลกเปลีย่ นเงินบาทไทย,เวียดนาม1 บาท= 598.80 VN, อินโดนีเซีย1บาท=255.75 IDR,มาเลเซีย1 บาท=0.09 MYR

อั ราการเ ริ เ ิบโ ของ GDP ของเมองหลัก ในประเทศสมาชิกอาเซียน ปี 2553 สงขลา

3.42%

ขอนแก่ น

3.54%

เชีย งใหม่

3.55% 5.60%

มะละกา

7.61%

มะนิลา

8.00%

หลวงพระบาง

10.80%

ปี นัง

11.07%

านอย

11.77%

โ มิ ิ นห์

12.14%

บาหลี 0.00%

ที่มา : CEIC

2.00%

4.00%

6.00%

8.00%

10.00%

12.00%

14.00%

เมืองโฮจิมินห์เมืองหลักทางภาคใต้ ของประเทศ เวียดนาม มีประชากรสูงสุดถึง 7,396,446 คน มากกว่าจังหวัดขอนแก่นถึง 7 เท่า

GDP per capita ผลิ ภั ์ มวลรวม ่ อหัวของเมองหลัก ในประเทศสมาชิกอาเซียน ปี 2553

โ มิ ิ นห์ เวียดนาม

65,220

บาหลี อินโดนีเซีย

เมืองปี นงั เป็ นเมืองเศรษฐกิจของประเทศมาเลเซีย ที่มีผลิตภัณฑ์ มวลรวมต่อหัวสุงสุด ถึง 319,170 บาทต่อปี ในขณะที่ขอนแก่นมีผลิตภัณฑ์ มวลรวมต่อหัวเพียง 82,211 บาท

ที่มา : CEIC หมายเหตุ : ไม่นบั รวมข้ อมูลบางรายประเทศที่ไม่ระบุข้อมูล ภายใต้ อตั ราแลกเปลีย่ นเงินบาทไทย ฟิ ลิปปิ นส์1 บาท = 0.52 Peso อินโดนีเซีย1บาท=255.75 IDR,มาเลเซีย1 บาท=0.09 MYR

ประเทศ ขอนแก่ น เชียงใหม่ ไทย 768,970 1,182,793 ลาว 4,611 577 เวียดนาม 222 พม่ า 91 6,279 กัมพูชา 50 ฟิ ลิปปิ นส์ 64 36 มาเลเซีย 1 23 สิงค์ โปร์ 28 38 อินโดนีเซีย 2 2 บรู ไน -

300,000

350,000

หลวงพระบาง ลาว เวียง นั ทน์ ลาว ปอยเป กัมพูช า มะละกา มาเลเซีย สงขลา ไทย ปี นัง มาเลเซีย เชียงใหม่ ไทย ขอนแก่ น ไทย บาหลี อินโดนีเซีย านอย เวียดนาม โ มิ ินห์…

447,541 480,440 677,872 821,110 1,357,023 1,561,383 1,640,479 1,767,601

-

3,890,757 6,617,900 7,396,446 2,000,000

ที่มา : CEIC

จานวน(ครั ้ง)ของผู้ป่วยชาวไทยและชาวต่างชาติใน กลุม่ ประเทศอาเซียน ที่เข้ ามารักษาพยาบาลใน โรงพยาบาลศรี นครินทร์ จังหวัดขอนแก่นและ โรงพยาบาลมหาราชเชียงใหม่ ปี 2554

ที่มา : โรงพยาบาลศรีนครินทร์ จังหวัดขอนแก่น โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่

4,000,000

6,000,000

8,000,000


ความโดดเด่ นของเมองหลักทางภูมิภาค (ขอนแก่ น )และในกล่ มอาเซียน (โ มิ ินห์ หลวงพระบาง ปี นัง บาหลี) หลวงพระบาง (ประเทศลาว) หลวงพระบาง เป็ นเมืองหลวงเก่าอุดมไปด้ วยเรื่ องราวทาง ประวัติศาสตร์ มีบ้าน วัด วัง และสถาปั ตยกรรมที่สวยงามเก่าแก่ ชีวติ ความเป็ นอยู่และเศรษฐกิจมีชีวติ ชีวาไม่สญ ู หายเปลี่ยนแปลง ทาให้ นักท่องเที่ยวเกิดความประทับใจ ทาให้ กลับมาแขวงหลวงพระบางอีก ทาให้ อัตราการเจริญเติบโต GDP เพิม่ ขึ ้น และ เนื่องจากหลวงพระบาง เป็ นเมืองแห่งการท่องเที่ยวทางศิลปะและวัฒนธรรมทาให้ ต่างชาติสนใจ มาลงทุนในด้ านบริการในปี 2548-2552 สูงถึง 196.92 ล้ านดอลลาร์ สหรัฐ โดยเฉพาะโรงแรม บ้ านพัก รี สอร์ ทและร้ านอาหาร

ขอนแก่ น (ประเทศไทย) จังหวัดขอนแก่น มีความโดดเด่นทางด้ านการศึกษาและ การแพทย์ มีจานวนประชากรนักศึกษาในปี 2555 มากถึง 39,517 เป็ น นักศึกษาต่างชาติ ทงั้ หมด 326 คน ซึ่งในนีเ้ ป็ นนักศึกษาจาก ประเทศกลุ่มอาเซี ยน 187 คน แบ่งเป็ นนักศึกษาจากประเทศลาว 102 คน เวียดนาม 47 คน กัมพูชา 19 คน พม่า 9 คน อินโดนีเซีย 5 คน สิงค์โปร์ 3 คน ฟิ ลปิ ปิ นส์ 2 คน

บาหลี (อินโดนีเซีย) บาหลี เป็ น 1ใน33 จังหวัดของประเทศอินโดนีเซีย เป็ น เมืองที่ได้ รับวัฒนธรรมมาจากประเทศอินเดีย เป็ นเมืองแห่งการ ท่องเที่ยวที่มีมนต์เสน่ห์ ผู้คนบนเกาะบาหลียงั เชื่อและกราบไหว้ เทพเจ้ า และภูติผี ปั จจุบนั จึงได้ ถูกขนานนามว่า ดินแดนแห่งเทพ เจ้ า และสปาที่บาหลีเป็ นสิง่ ที่ขึ ้นชื่อมากที่สดุ ในโลกอีกอย่างหนึง่

โ มิ ินห์ (ประเทศเวียดนาม) เนื่องจากนครโฮจิมินห์(ไซ่ง่อน) เคยเป็ นเมืองหลวงของเวียดนาม ในอดีต เป็ นที่ตงของสถานที ั้ ่ราชการสาคัญ ๆ สถานที่ทอ่ งเที่ยว รวมถึง เส้ นทางการค้ าและการคมนาคมหลักของประเทศ ประชากรในเขตพื ้นที่มี ความหนาแน่นสูง ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพค้ าขาย ส่งผลให้ มีรายได้ ต่อหัวสูงกว่าเขตพื ้นที่อื่น ๆ ของประเทศ รวมถึงระดับการศึกษาและรสนิยมที่ ดี ทาให้ นครโฮจิมินห์เป็ นพื ้นที่ที่ประชากรมีอานาจซื ้อสูงมาก ซึง่ เศรษฐกิจ ของนครโฮจิมินห์ขยายตัวสูงกว่าอัตราการขยายตัวเฉลี่ยของทังประเทศ ้ (GDP) มาโดยตลอด ส่วนโครงสร้ างเศรษฐกิจของนครโฮจิมินห์จะเน้ น ภาคอุตสาหกรรมและบริการ โดยอุตสาหกรรมของนครโฮจิมินห์ ที่สาคัญ ได้ แก่ สิง่ ทอและเสื ้อผ้ าสาเร็จรู ป รองเท้ า พลาสติก ยานยนต์ คอมพิวเตอร์ อิเล็คทรอนิคส์และสินค้ าไอที อาหารแปรรู ป และเครื่ องจักรกล

ปี นัง(มาเลเซีย) ปี นงั ถูกกล่าวถึงเสมอในนามไข่มุกแห่งตะวันออก ในฐานะเมืองที่มีความสวยงาม และโรแมนติกที่สดุ เมืองหนึง่ ของภาคตะวันออก เป็ นเมือง ขนาดใหญ่ที่ผสานเอาวัฒนธรรมสองซีกโลกไว้ ด้วยกันอย่างแยกไม่ออก มันกลายเป็ นเสน่ห์ประหลาดที่ดึงดูดใจให้ นกั ท่องเที่ยวมาเยือนเมืองแห่ง นี ้ไม่หยุดหย่อนทาให้ ปีนงั เป็ นสถานที่สดุ พิเศษหลากอารมณ์ ซึง่ ปี นงั มีระบบเศรษฐกิจแบบผสม ทังอุ ้ ตสาหกรรมท่องเที่ยว เกษตรกรรม ทัง้ อุตสาหกรรมไฮเทค หลากประเภทและยังมีทา่ เรื อน ้าลึกที่เป็ นด่านการค้ าอันเป็ นไปด้ วยศักยภาพ และเป็ นประตูเชื่อมต่อมาเลเซียกับอีกกว่า 200 ท่าเรื อนานาชาติทวั่ โลก

ข้ อมูลเปรี ยบเทียบเมองหลักทางภูมิภาค ( ขอนแก่ น เชียงใหม่ สงขลา) และในกล่ มอาเซียน (โ มิ ินห์ หลวงพระบาง ปี นัง บาหลี)

รวบรวมข้ อมูลโดย ศูนย์ ขมทองเพ่ อการลงทน 23 สิงหาคม 2555

รวบรวมข้ อมูลโดย ศูนย์ ขมทองเพ่ อการลงทน ศูนย์เป็ นความร่ วมมือระหว่างหอการค้ าจังหวัดขอนแก่นและศูนย์วิจยั ธุรกิจและเศรษฐกิจอีสาน คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ภายใต้ การสนับสนุนงบประมาณขององค์การบริ หารส่วนจังหวัด , เทศบาลนครขอนแก่น และสานักงานพาณิชย์จงั หวัดขอนแก่น ติดต่อขอข้ อมูลได้ ที่ kkcc.gold@gmail.com Download ข้ อมูลที่น่าสนใจอื่นๆได้ ที่ www.goldkkcc.blogspot.com


อาเซียน คือ ชื่อเรี ยกสันๆ ้ ของ สมาคม ประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ( Association of South East AsianNations หรื อ ASEAN) โดยการจัดตังใน ้ ครั ้งแรกมีจุดประสงค์เพื่อ ส่งเสริมและร่วมมือในเรื่ อง สันติภาพ ,ความมัน่ คง , เศรษฐกิจ , องค์ความรู้ , สังคม วัฒนธรรม บนพื ้นฐานความเท่าเทียมกันและผลประโยชน์ ร่วมกันของประเทศสมาชิก โดย อาเซียน ได้ ก่อตังขึ ้ ้นโดย ปฏิญญากรุ งเทพ (Bangkok Declaration) เมื่อวันที่ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2510 โดยมีผ้ รู ่วมก่อตัง้ 5 ประเทศคือ 1.ไทย 2.สิงคโปร์ 3. มาเลเซีย 4.ฟิ ลปิ ปิ นส์ 5.อินโดนีเซีย ต่อมาได้ มีประเทศ ต่างๆ เข้ าร่วมเป็ นสมาชิกเพิม่ เติม คือ 8 ม.ค.2527 บรู ไน ดารุ สซาลาม , 28 ก.ค. 2538 เวียดนาม , 23 ก.ค. 2540 สปป.ลาว และ พม่า , 30 เม.ย. 2542 กัมพูชา ให้ ปัจจุบนั มี สมาชิกอาเซียนทังหมด ้ 10 ประเทศ คาขวัญอาเซียน คือ หนึ่งวิสยั ทัศน์ , หนึ่งอัต ลักษณ์ , หนึ่งประชาคม (One Vision, One Identity, One Community)

สัญลักษณ์อาเซียน รู ปรวงข้ าวสีเหลืองบนพื ้นสี แดง ล้ อมรอบด้ วยวงกลมวีขาวและสีน ้าเงินรวงข้ าว 10 ต้ น มัดรวมกันไว้ หมายถึงประเทศสมาชิกรวมกันเพื่อมิตรภาพ และความเป็ นน ้าหนึง่ ในเดียวกัน สีน ้าเงิน หมายถึง สันติภาพและความมัน่ คง สีแดง หมายถึง ความกล้ าหาญและความก้ าวหน้ า สีขาว หมายถึง ความบริสทุ ธิ์ สีเหลือง หมายถึง ความเจริญรุ่งเรื อง 1

ขณะนี ้มีกฎบัตรอาเซียน (ธรรมนูญ อาเซียน หรื อ ASEAN Charter) ซึง่ เป็ นเสมือนแนวทางการ ดาเนินงานที่จะนาไปสูก่ ารเป็ นประชาคมอาเซียนซึง่ ประกอบด้ วย 3 สิง่ หลักๆ คือ 1.การเมืองความมั่นคง มีวตั ถุประสงค์เพื่อเสริมสร้ างและ ธารงไว้ ซงึ่ สันติภาพและความมัน่ คงของภูมิภาค เพื่อให้ ประเทศในภูมิภาคอยู่ร่วมกันอย่างสันติสขุ และสามารถ แก้ ไขปั ญหาและความขัดแย้ ง โดยสันติวธิ ี อาเซียนจึงได้ จัดทาแผนงานการจัดตังประชาคมการเมื ้ องและความ มัน่ คงอาเซียน ( ASEAN Political-Security Community Blueprint) โดยเน้ นใน 3 ประการ คือ 1) การมีกฎเกณฑ์และค่านิยมร่วมกัน ครอบคลุมถึง กิจกรรมต่าง ๆ ที่จะร่วมกันทาเพื่อสร้ างความเข้ าใจในระบบ สังคมวัฒนธรรม และประวัติศาสตร์ ที่แตกต่างของประเทศ สมาชิก ส่งเสริมพัฒนาการทางการเมืองไปในทิศทาง เดียวกัน เช่น หลักการประชาธิปไตย การส่งเสริมและ คุ้มครองสิทธิมนุษยชน การสนับสนุนการมีสว่ นร่วมของ ภาคประชาสังคม การต่อต้ านการทจริต การส่งเสริมหลักนิติ ธรรมและธรรมาภิบาล เป็ นต้ น 2) ส่งเสริมความสงบสุขและรับผิดชอบร่วมกันในการ รักษาความมัน่ คงสาหรับประชาชนที่ครอบคลุมในทุกด้ าน ครอบคลุมความร่วมมือเพื่อเสริมสร้ างความมัน่ คงในรู ป แบบเดิม มาตรการสร้ างความไว้ เนื ้อเชื่อใจและการระงับข้ อ พิพาท โดยสันติเพื่อป้องกันสงครามและให้ ประเทศสมาชิก อาเซียนอยู่ด้วยกัน โดยสงบสุขและไม่มีความหวาดระแวง และขยายความร่วมมือเพื่อต่อต้ านภัยคุกคามรู ปแบบใหม่ เช่น การต่อต้ านการก่อการร้ าย อาชญากรรมข้ ามชาติต่าง ๆ เช่น ยาเสพติด การค้ ามนุษย์ ตลอดจนการเตรี ยมความ พร้ อมเพื่อป้องกันและจัดการภัยพิบตั ิและภัยธรรมชาติ 3) การมีพลวัตและปฏิสมั พันธ์กบั โลกภายนอก เพื่อ เสริมสร้ างบทบาทของอาเซียนในความร่วมมือระดับ ภูมิภาค 2

เช่น กรอบอาเซียน+ 3 กับจีน ญี่ปนุ่ สาธารณรัฐเกาหลี (เกาหลีใต้ ) และการประชุมสุดยอดเอเชียตะวันออก ตลอดจนความสัมพันธ์ที่เข้ มแข็งกับมิตรประเทศ และ องค์การระหว่างประเทศ เช่น สหประชาชาติ

2.เศรษฐกิจ (AEC)

มีวตั ถุประสงค์เพื่อทาให้ อาเซียนมีตลาดและฐานการผลิต เดียวกันและมีการเคลื่อนย้ ายสินค้ า บริการ การ ลงทุน เงินทุน และแรงงานมีฝีมืออย่างเสรี อาเซียนได้ จดั ทา แผนงาน การจัดตังประชาคมเศรษฐกิ ้ จอาเซียน ( ASEAN Economic Community Blueprint) ซึง่ เป็ นแผนงานบูรณา การการดาเนินงานในด้ านเศรษฐกิจเพื่อให้ บรรลุ วัตถุประสงค์ 4 ด้ าน คือ 1) การเป็ นตลาดและฐานการผลิต ร่วม (single market and production base) โดยจะมี 1.1)การเคลื่อนย้ ายสินค้ าอย่างเสรี ลดและยกเลิก ภาษี นาเข้ าให้ กนั และกันในอาเซียน ASEAN + 6 ลดภาษี นาเข้ าสินค้ าทุกรายการเมื่อ 1 มีค.53 เป็ น 0% 3


1.2) การเคลื่อนย้ ายบริการอย่างเสรี คืออาเซียน สามารถถือหุ้นได้ ถึง 70% ในธุรกิจบริการในอาเซียน 1.3) การเคลื่อนย้ ายการลงทุนอย่างเสรี อาเซียนจะ กลายเป็ นศูนย์กลางการลงทุนทัว่ โลก 1.4) การเคลื่อนย้ ายแรงงานฝี มืออย่างเสรี

ขณะนี ้อาเซียนได้ จดั ทาข้ อตกลงยอมรับร่วมว่านักวิชาชีพใน อาเซียนสามารถจดทะเบียนหรื อใบขออนุญาตประกอบ วิชาชีพในประเทศอาเซียนอื่นได้ แต่ยงั ต้ องปฏิบตั ิตาม กฎระเบียบภายในของประเทศนันๆ ้ เช่น ถ้ าจะมาทางานใน ไทยก็ต้องผ่านการสอบใบประกอบวิชาชีพหรื อผ่านขันตอน ้ การประเมินตามเงื่อนไขภายใต้ การกากับดูแลของ หน่วยงานที่เกี่ยวข้ องของไทยเสียก่อนอย่างไรก็ตาม ในส่วน ของแรงงานไร้ ฝีมือไม่อยู่ในขอบเขตของการเปิ ดเสรี ด้าน บริการอาเซียน ดังนันการเปิ ้ ดเสรี เป็ นคนละส่วนกับปั ญหา แรงงาน 1.5) การเคลื่อนย้ ายเงินทุนอย่างเสรี อาเซียนจะมี การวมตัวของตลาดเงินและตลาดทุนอย่างเป็ นระบบ ภูมิภาคเพื่อให้ อาเซียนมีทา่ ทีร่วมกันอย่างชัดเจน 2) การสร้ างขีดความสามารถในการแข่งขันทาง เศรษฐกิจของอาเซียน โดยให้ ความสาคัญกับประเด็น นโยบายที่จะช่วยส่งเสริมการรวมกลุม่ ทางเศรษฐกิจ เช่น นโยบายการแข่งขัน การคุ้มครองผู้บริโภค สิทธิในทรัพย์สนิ

4

ทางปั ญญา นโยบายภาษี และการพัฒนาโครงสร้ างพื ้นฐาน (การเงิน การขนส่ง เทคโนโลยีสารสนเทศ และพลังงาน) 3) การพัฒนาเศรษฐกิจอย่างเสมอภาค ให้ มีการพัฒนา วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม และการเสริมสร้ างขีด ความสามารถผ่านโครงการต่าง ๆ 4) การบูรณาการเข้ ากับเศรษฐกิจโลก เน้ นการปรับ ประสานนโยบายเศรษฐกิจของอาเซียนกับประเทศภายนอก 3.สังคมและวัฒนธรรม อาเซียนได้ ตงเป ั ้ ้ าเป็ นประชาคมสังคมและวัฒนธรรม อาเซียน ในปี 2558 โดยมุ่งหวังเป็ นประชาคมที่มีประชาชน เป็ นศูนย์กลาง มีสงั คมที่เอื ้ออาทรและแบ่งปั น ประชากร อาเซียนมีสภาพความเป็ นอยู่ที่ดีและมีการพัฒนาในทุกด้ าน เพื่อยกระดับคุณภาพชีวติ ของประชาชน ส่งเสริมการใช้ ทรัพยากรธรรมชาติอย่างยัง่ ยืน รวมทังส่ ้ งเสริมอัตลักษณ์ อาเซียน ( ASEAN Identity)เพื่อรองรับการเป็ นประชาคม สังคม และวัฒนธรรมอาเซียน โดยได้ จดั ทาแผนงานการ จัดตังประชาคมสั ้ งคมและวัฒนธรรมอาเซียน ( ASEAN Socio-Cultural Community Blueprint)ซึง่ ประกอบด้ วย ความร่วมมือใน 6 ด้ าน ได้ แก่ 1) การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ 2) การคุ้มครองและสวัสดิการสังคม 3) สิทธิและความยุติธรรมทางสังคม 4) ความยัง่ ยืนด้ านสิง่ แวดล้ อม 5) การสร้ างอัตลักษณ์อาเซียน 6) การลดช่องว่างทางการพัฒนา รวบรวมข้ อมูลโดย ศูนย์ ขุมทองเพื่อการลงทุน ศูนย์ฯเป็ นความร่ วมมือระหว่างหอการค้ าจังหวัดขอนแก่นและศูนย์วิจยั ธุรกิจและเศรษฐกิจอีสาน คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ภายใต้ การสนับสนุนงบประมาณขององค์การบริ หารส่วนจังหวัด , เทศบาลนครขอนแก่น และสานักงานพาณิชย์จงั หวัดขอนแก่น ติดต่อขอข้ อมูลได้ ที่ kkcc.gold@gmail.com Download ข้ อมูลที่น่าสนใจอื่นๆได้ ที่ www.goldkkcc.blogspot.com

5

มารู้ จกั ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community : AEC) กันเถอะ....

ข้ อมูลพืน้ ฐานของ “ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน”

รวบรวมข้ อมูลโดย ศุนย์ ขุมทองเพื่อการลงทุน 23 สิงหาคม 2555

ที่มา : กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ, www.thai-aec.com


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.