APPENDIX_PAT STADIUM 2.0

Page 1

APPENDIX 20.04.07

PAT STADIUM : ARCHITECTURE FOR MAINTAIN IDENTITY OF PORT FC แพทสเตเดียม : สถาปัตยกรรมเพื่อธำ�รงค์อัตลักษณ์สโมสรการท่าเรือ

ธีรนพ จำ�นงค์

สถาปัตยกรรมศาสตร์บัณฑิต สถาบันอาศรมศิลป์


STUDY MODEL PAT Stadium


STUDY MODEL : Site Model Scale 1:500


STUDY MODEL : Site Model Scale 1:500


STUDY MODEL : Site Model Scale 1:500


STUDY MODEL : Site Model Scale 1:500


STUDY MODEL : Architectural Model Model Scale 1:200


STUDY MODEL : Architectural Model Model Scale 1:200


STUDY MODEL : Architectural Model Model Scale 1:200


STUDY MODEL : Architectural Model Model Scale 1:200


STUDY MODEL : Architectural Model Model Scale 1:200


STUDY MODEL : Architectural Model Model Scale 1:200


STUDY MODEL : Architectural Model Model Scale 1:200


STUDY MODEL : Architectural Model Model Scale 1:200


STUDY MODEL : Architectural Model Model Scale 1:200


STUDY REPORT STADIUM EVOLUTION 500s B.C. - 2015


- ในสมัยกรีกการแข่งขันโอลิมปิกถูกก่อตั้งขึ้นเพื่อการ ทดสอบสมรรถภาพ และเป็นพิธีกรรมทางศาสนา ถูก สงวนไว้เฉพาะชายชนชั้นสูง สนามกีฬาเป็นดั่งสถานที่ ศักดิ์สิทธิ์ของเทพเจ้า เป็นกิจกรรมที่ไม่ได้เป็นไปเพื่อ สาธารณชน แต่นั่นก็เป็นรากฐานสำ�คัญของการแข่งขัน กีฬาที่เป็นมากกว่าการละเล่น หรือออกกำ�ลังกาย หาก แต่เป็นกิจกรรมที่มีกฏระเบียบ ข้อบังคบ แบบแผนทั้ง การฝึกซ้อม และการแข่งขันกีฬาเป็นหนทางในการ ประเมินสมรรถนะในการฝึกฝนมนุษย์ ซึ่งในเวลานั้น ถูกใช้เป็นตัวบ่งชี้ถึงอำ�นาจของรัฐต่างๆ การแข่งขันเกิด ขึ้นจากภายในรัฐ (national)ไปสู่ระหว่างรัฐ (inter-

มนุษย์ เพราะเมื่อกีฬาเป็นตัวแทนของรัฐ ย่อมเกี่ยวพัน ไปถึงกลุ่มคนทุกชนชั้นในสังคม อันนำ�มาสู่ความรู้สึก ร่วมในตัวตน (identity) ของสังคมนั้นๆ ชัยชนะจึงไม่ใช่ เพียงเกียรติยศของนักกีฬา แต่เป็นเกียรติยศของรัฐ และสังคมไปในเวลาเดียวกัน national) เพื่อการแสดงแสงยานุภาพ ความแข็งแกร่ง และระเบียบวินัยของของนักกีฬาที่ฝึกฝนตามวิถีทาง ของแต่ละรัฐ - จากจุดนี้กีฬาจึงเริ่มมีบทบาทในทางสังคมวิทยาของ

Greek Era 500s B.C.

Olympia Stadium, Olympia, Greece (5th centuries B.C.)

Capacity : จุดเริ่มต้นของการออกแบบสนามกีฬาที่ทำ�ให้อัฒจรรย์ มีความลาดชัน เพื่อให้ผู้ชมจำ�นวนมากสามารถเห็นการ แข่งขันกีฬาโดยไม่บังกัน จากจุดนี้พัฒนาเป็นที่นั่งในเวลา ต่อมา

400s B.C.

Delphi Stadium, Delphi, Greece (4th centuries B.C.)

Capacity : ต้นแบบสนามกีฬาโอลิมปิกโบราณ โดยมีที่นั่งชมเป็นอัฒ จรรย์ขนานไปกับลานกรีฑา ด้านหนึ่งเปิดโล่ง อีกด้านโอม ล้อมด้วยอัฒจรรย์

เมื่อแผ่นดินยุโรปถูกปกครองโดยจักรวรรดิโรมัน ชนชั้ น ปกครองได้ ส ร้ า งค่ า นิ ย มและแบบแผนทาง สังคม โดยสร้างกรอบจารีตระหว่างผู้มีอารยธรรมและ ผู้ไร้อารยธรรม ศิลปะ ดนตรี กวี และกีฬาถูกมองเป็น องค์ประกอบของวัฒนธรรมที่สังคมพึงมี กีฬาเปลี่ยน บทบาทมาสู่ความบันเทิงของมวลชน (mass enter-

311 B.C.

Panathenaic Stadium, Athens, Greece (311 B.C.)

Capacity : 45,000 seats สนามกีฬาโอลิมปิกที่สำ�คัญที่สุดแห่งหนึ่ง มีขนาดใหญ่ ที่สุดในในยุคสมัย พัฒนาขึ้นจากสนามกีฬาที่มีอัฒจรรย์ ขนานกับลานกรีฑา สัญลักษณ์ของการแข่งขันโอลิมปิก ต่อมาจึงถูกบูรณะขึ้นใหม่เพื่อจัดการแข่งขันโอลิมปิกสมัย ใหม่

tainment) ที่ไม่จำ�กัดอยู่เพียงชนชั้นสูง หากแต่ปริมาณ ของผู้ชมจะแสดงออกถึงความสำ�เร็จของผู้ปกครองใน การหล่อหลอมประชาชนไว้ภายใต้อำ�นาจ สนามกีฬา กลายเป็นอาคารสาธารณะขนาดใหญ่ ที่จุมวลชนได้ มหาศาล กีฬาที่ผู้ปกครองนำ�มาเสนอต่อสาธารณะ

มักมีนัยยะทางการเมือง เช่นการใช้ความรุนแรงต่อ เชลย การแสดงแสงยานุภาพของกำ�ลังทหาร หรือการ ประหารนักโทษภายหลังพ่ายแพ้การแข่งขัน - สนามกีฬาจึงไม่ได้ถูกสร้างแต่เพียงเมืองหลวง หาก แต่กระจายตัวไปกับหัวเมืองใหญ่ และอาณานิคม นั่น เพราะเป็นการส่งสัญญาณไปถึงสังคมอื่นๆว่าจักรวรรดิ มีแสงยานุภาพขนาดไหน การต่อต้านจะได้รับผลเช่นไร นับว่าเป็นการสอดแทรกนัยยะทางการเมืองไปพร้อม กับความสนุก ความบันเทิง

Roman Era 100 B.C.

Circus Maximus, Rome, Italy (1st Century B.C.)

Capacity : 200,000 seats สนามกีฬาที่ถูกออกแบบเพื่อการแข่งม้า (Hippodrome) คือมีลู่วิ่งสำ�หรับม้าแข่ง ด้านหนึ่งมีคอกปล่อยตัว อีกด้าน หนึ่งมีเสาหินเพื่อให้ม้ากลับตัว

1st century A.D.

Flavian Amphitheater (Colosseum), Rome, Italy (70-82 A.D.)

Capacity : 50,000 - 8000 spectators พัฒนาขึ้นจากอัฒจรรย์วงรีซ้อนชั้น เป็นสนามกีฬาที่ตั้งอยู่ ในบริบทเมือง เพื่อเป็นความบันเทิงแก่ชาวเมือง เป็นต้น แบบของการเพิ่มจำ�นวนที่นั่ง และการจัด circulation ใต้ อัฒจรรย์


- ตั้งแต่คริสต์วรรษที่ 17 ฟุตบอลเป็นกีฬาที่บรรจุอยู่ใน แผนการสอนของ Eton Colledge เพื่อเป็นการฝึกวินัย การแข่งขันเป็นทีม และไหวพริบสำ�หรับชนชั้นสูง จนมี การแข่งขันระหว่างโรงเรียนเกิดขึ้น - ประชาชนส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเป็นแรงงานในภาค อุตสาหกรรม การทำ�งานที่ซำ�้ซากสร้างความเบื่อหน่าย นั่นทำ�ให้การมารวมตัวเพื่อชมการแข่งขันฟุตบอลกลาย เป็นการผ่อนคลายที่ได้รับความนิยมสูงสุด - จนกระทั่งปี ค.ศ. 1863 จึงมีการก่อตั้งสโมสรฟุตบอล ขึ้นมาแห่งแรกในอังกฤษ

1st Modern Olympic

Pure Stadium Period

The Olympic Revival

The Dark Age of Sport 19th Centuries A.D.

- Pierre de Coubertin บารอนชาวฝรั่งเศสได้เสนอ ให้จัดการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกขึ้นอีกครั้งหนึ่ง เพื่อฟื้นฟู ความเป็นอารยชนเฉกเช่นในอดีต

1863

Stadium construction hiatus from approximately sixth through 19th centuries A.D. ในช่วงคริสต์วรรษที่ 4 สภาคริสต์จักรแห่งเมือง Arles พิจารณาให้การแข่งม้าในสนามรูปวงรีเป็นที่ต้องห้าม และ ให้นำ�สนามแข่งขันไปใช้เพื่อสาธารณะประโยชน์ของชาว เมืองแทน และกรณีคล้ายคลึงกันดินแดนกรีกภายใต้การ ปกครองของจักรวรรดิโรมัน (จักรพรรดิ Theodosius) ได้ ยกเลิกการแข่งขันโอลิมปิก และประนามให้กีฬาเป็นการ กระทำ�นอกรีต กีฬาได้รับการสนับสนุนอีกครั้งในช่วง Renaissance ให้ มีการจัดแข่งม้า (Palio Horse Race) โดยใช้ที่ว่างบริเวณ จัตุรัส หรือลานกว้าง โดยมีอัฒจรรย์ที่ทำ�ด้วยโครงสร้างไม้ ที่ถูกลื้อถอนภายหลังเสร็จสิ้นการแข่งขัน นั่นจึงทำ�ให้ไม่มี อาคารสนามกีฬาถาวรจนกระทั่งคริสต์วรรษที่ 19 เพราะความนิยมของกีฬาฟุตบอล และรักบี้ในประเทศ อังกฤษ จึงมีการก่อสร้างสนามกีฬาถาวรขนาดใหญ่ขึ่นใช้ งานอย่างเป็นรูปธรรม

1894

- แนวคิดต่อ stadium ในยุคแรกยังมองเป็นเพียงสิ่ง ก่อสร้างเพื่อรองรับการจัดการแข่งขันกีฬา โดยมีความ จุมากๆเนื่องจากยังไม่มีการถ่ายทอดสดเช่นปัจจุบัน ทุกคนจะได้ชมก็ต่อเมื่อเดินทางไปยังสนามกีฬา เป็น อาคารที่ไม่มีคุณค่าทางสถาปัตยกรรม เนื่องจากไม่ได้ คำ�นึงถึงการใช้งาน สิ่งอำ�นวยความสะดวก และความ ปลอดภัยเมื่อต้องอพยพประชาชนจำ�นวนมาก การ รับชมกีฬาจึงไม่ใช่ประสบการณ์ที่สะดวกสบายมาก นัก การก่อสร้างสนามกีฬาในช่วงเวลานั้นเกิดขึ้นใน 2 กรณีคือ

1896

Panathenaic Stadium (re-built), Athens, Greece (1896)

Capacity : 50,000 seats การขุดคุ้นทางโบราณคดีทำ�ให้ค้นพบสนามกีฬาแห่งนี้ใน กรุงเอเธนส์ ประเทศกรีซ เมื่อการแข่งขันกีฬาโอลิมปิก ถูกจัดขึ้นอีกครั้งในปี ค.ศ. 1894 สนามกีฬาแห่งนี้จึง ถูกบูรณะขึ้นตามรูปแบบดั้งเดิม จึงถูกยกย่องให้เป็นจิต วิญญาณ และสัญลักษณ์ของโอลิมปิกสมัยใหม่

1905

Goodison Park, Liverpool, England (1905)

Capacity : 35,000 seats หนึ่ง stadium ที่เก่าแก่ที่สุดในอังกฤษ และยังคงใช้งาน อยู่ในปัจจุบัน พัฒนาขึ้นจากอัฒจรรย์แบบแยกส่วน โดย แก้ปัญหามุมมองของผู้ชม โดยเชื่อว่าการหักมุมเล็กน้อย จะช่วยให้มีมุมมองที่ดีขึ้น แต่แลกมาด้วยระยะห่างที่มาก ยิ่งขึ้น จึงไม่เป็นที่นิยม

1. สนามกีฬาที่เป็นสวัสดิการของรัฐ เพื่อการจัดการ แข่งขันรายการสำ�คัญระดับประเทศ และนานาชาติ มักถูกออกแบบใช้ได้ทั้งกรีฑา ฟุตบอล และรักบี้ 2. สนามฟุตบอลระดับสโมสรที่เกิดขึ้นโดยเอกชนท้อง ถิ่น หลายแห่งต่อเติมจากเนินดินมาเป็นอัฒจรรย์ไม้ เพื่อรับผู้ชมได้มากขึ้น ซึ่งในเวลาต่อมาสนามฟุตบอล เหล่านี้จะประสบปัญหาทั้งจากอัคคีภัย การไม่สามารถ ควบคุมฝูงชน และไม่มีมาตรการอพยพที่ดีเพียงพอ Match Day (L.S. Downey) ภาพเขียนที่สะท้อนให้ เห็นบทบาทของกีฬาฟุตบอลท่ามกลางบริบทของสังคม ยุคอุตสาหกรรม London Olympics 1908

The White City Stadium, London, England (1908)

Capacity : 93,000 seats อัฒจรรย์ที่สร้างขึ้นเพื่อจัดการแข่งขันโอลิมปิกโดยอังกฤษ เป็นเจ้าภาพ พัฒนาแนวคิดมาจาก Panathenaic Stadium ที่ให้อัฒจรรย์วางตัวขนานกับลู่กรีฑาและมีลานตรง กลาง เพื่อให้สามารถจัดแข่งขันกีฬาได้ครบทุกประเภท ปัจจุบันถูกรื้อถอนไปแล้ว

1910

Old Trafford, Manchester, England (1910)

Capacity : 76,098 seats ก่อสร้างโดยใช้เทคนิคการถมไล่ระดับดิน (Embankment Standing) เป็นแห่งแรกที่สร้างอัฒจรรย์โค้งทุกมุม ซึ่งเป็น รูปแบบใหม่แตกต่างจากสนามฟุตบอลในเวลานั้นที่ยังเป็น อัฒจรรย์ 4 ด้าน


World War I

World War II 1st FIFA World Cup in Uruguay

FIFA World Cup in Brazil

Berlin Olympics 1914

1918

1923

Wembley, London, England (1923)

Capacity : 82,000 seats เป็ น สนามกี ฬ าแห่ ง ชาติ ข องอั ง กฤษสร้ า งขึ้ น เพื่ อ เป็ น สัญลักษณ์แก่จักรวรรดิ เป็นสนามกีฬาแห่งแรกที่ก่อสร้าง โดยโครงสร้างคอนกรีตทั้งหมด แทนที่การถมดินเช่นก่อน

1930

1936

Berliner Olympiastadion, Berlin, Germany (1936)

- ภายหลังสงครามโลกครั้งที่ 1 มีความคาดหวังว่า กี ฬ าจะมี ส่ ว นในการลดแรงปะทะระหว่ า งประเทศ มหาอำ�นาจ โดยเฉพาะอย่างยิ่งฟุตบอลที่เริ่มเป็นที่ นิยมในเวลานั้น การสร้างองค์กรเช่น Olympics และ FIFA ให้เป็นองค์กรที่เป็นกลางไม่ยึดโยงกับการเมือง มี ป ณิ ธ านที่ จ ะดำ � เนิ น การจั ด การแข่ ง ขั น อย่ า งสมำ �่ เสมอ และต่อเนื่อง การวางตัวเช่นนี้จะยังคงมีผลจนถึง ปัจจุบัน คือกีฬาถูกสงวนไว้ซึ่งการเมือง การแสดงออก ใดๆที่มีนัยยะจะถูกปฏิเสธ หรือมีบทลงโทษ

1939

Capacity : 100,000 seats (present 74,064 seats) สร้างขึ้นเพื่อเป็นสัญลักษณ์แห่งอำ�นาจแก่พรรคนาซี โดย สมบูรณ์ด้วยระบบเรขาคณิต ที่แสดงออกอย่างโอ่อ่า มั่นคง และแข็งแรง เป็นหนึ่งในสนามกีฬาที่ยังสามารถใช้ งานได้จนถึงปัจจุบันโดยไม่ต้องรับการปรับปรุงเพิ่มเติม

1945

- ภายหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 เทคโนโลยีถูกพัฒนา อย่างก้าวกระโดด โดยเฉพาะอย่างยิ่งการบันทึกภาพ วีดีโอที่พัฒนาไปสู่การถ่ายทอดสดการแข่งขัน นั่น ทำ�ให้ทัศนคติการไปชมกีฬาที่สนามยิ่งกลายเป็นสิ่งที่ ลำ�บาก และไม่จำ�เป็นอีกต่อไป สนามกีฬาจึงต้องปรับ ตัวให้การชมกีฬาเป็นการพักผ่อนหย่อนใจและสะดวก สบาย โดยเพิ่มจำ�นวนห้องนำ�้ ร้านจำ�หน่ายอาหารและ เครื่องดื่ม การติดตั้งไฟส่องสว่างเพื่อให้สามารถจัดการ แข่งขันเวลากลางคืนได้ แต่ด้านความปลอดภัยยังไม่ถูก พิจารณาอย่างจริงจัง

- สังคมในขณะนั้นหลายประเทศสามารถฟื้นฟูตนเอง จากความเสียหายหลังสงครามได้ และเริ่มเข้าสู่การ แข่งขันทางเศรษฐกิจ และการเมืองของมหาอำ�นาจ ประชาธิปไตยและคอมมิวนิสต์ การเป็นเจ้าภาพการ แข่งขันรายการสำ�คัญเช่นโอลิมปิกและฟุตบอลโลกเป็น จุดยืนสำ�คัญที่หลายประเทศต่างหมายปอง เพราะเป็น โอกาสในการกระตุ้นเศรษฐกิจ แสดงศักยภาพเพื่อเพิ่ม ความเชื่อมั่นแก่นักลงทุน และการได้เข้าไปยืนอยู่ใน สายตาของประชาคมโลก

Post War Innovation Period

1950

Estádio Jornalista Mário Filho, Rio de Janeiro, Brazil (1950)

Capacity : 200,000 seats (present 78,838 seats) ตัวอย่างสนามกีฬารูปไข่ ที่เป็รที่นิยมไปทั่วทวีปอเมริกาใต้ เป็นความจุที่มากที่สุดในประวัติศาสตร์ ถูกพัฒนารูปแบบ จากอัฒจรรย์หักมุม มาเป็นเส้นโค้งเพื่อให้การทำ�มุมของผู้ ชมกับการแข่งขันในสนามดีขึ้นกว่าการวางตัวขนาน

Rome Olympics 1953

Stadio Olimpico di Roma, Roma, Italy (1953)

Capacity : 53,000 seats ก่อสร้างขึ้นเพื่อเป็นเจ้าภาพการแข่งขันโอลิมปิก ซึ่งเป็น ครั้งแรกที่มีการถ่ายทอดทางโทรทัศน์ไปทั่วทวีปยุโรป จึง มีการติดตั้งไฟส่องสว่างเพื่อให้สามารถรับชมได้แม้ยาม กลางคืน

1957

L’Estadi (Camp Nou), Barcelona, Spain (1957)

1960

Capacity : 99,354 seats เป็นสนามฟุตบอลที่มีคสามจุสูงที่สุดในทวีปยุโรป แต่เป็น สนามที่มีพร้อมด้วยสิ่งอำ�นวยความสะดวก โดยถึงแม้อัฒ จรรย์จะมีความสูง และแบ่งออกเป็น 3 ชั้น แต่ในแต่ละชั้น มีห้องนำ�้ ร้านขายเบียร์ และอาหารครบถ้วน


- ภายหลังทศวรรศที่ 1950s ในเวลานั้นโลกตะวันตก ตื่นตัวอย่างมากกับการสื่อสารมวลชน ทั้งทางวิทยุ และโทรทัศน์ นั่นได้เปิดโอกาสให้การรับชมกีฬากลาย เป็นกิจกรรมที่ทุกคนในสังคมเข้าถึง กีฬาเป็นทั้งความ บันเทิง และยังเป็นแรงบันดาลใจกับคนรุ่นใหม่ที่ใฝ่ฝัน จะประสบความสำ�เร็จในด้านกีฬา ผลที่ได้ไม่ได้ลดทอน จำ�นวนของผู้ชมกีฬาในสนามลงเลย หากแต่เป็นช่วง เวลาที่สนามกีฬามีอัตราการขยายตัวสูงเป็นประวัติกาล และหลายแห่งที่ถูกก่อสร้างในช่วงเวลานี้ ปัจจุบันก็ยัง คงเป็นสนามกีฬาที่มีขนาดใหญ่อันดับต้นๆของโลก

การออกแบบสนามกีฬาในขณะนั้นจึงเน้นที่การ ก่อสร้างให้มีขนาดใหญ่ และความจุมากเท่าที่จะเป็นไป ได้ กำ�ลังหลักในการออกแบบยังคงเป็นวิศวกร และมัก เป็นโครงการของรัฐบาล โดยมีอิทธิพลของสื่อเป็นตัว กระตุ้นให้ประเทศต่างๆก็สามารถสัมผัสประสบการณ์ ภายในสนามกี ฬ าที่ ห น้ า ตื่ น ตาตื่ น ใจจากประเทศที่ พัฒนาแล้วผ่านจอโทรทัศน์ ภาพที่ถ่ายทอดออกไป ได้ ส ร้ า งแรงกระตุ้ น ในหลายประเทศริ เริ่ ม โครงการ ก่อสร้างสนามกีฬาขึ้น ทั้งยังยกบทบาทของมันให้เป็น หัวใจสำ�คัญของการพัฒนาเมืองสมัยใหม่

Mexico Olympics 1966

Estadio Azteca, Mexico City, Mexico (1966)

Capacity : 105,064 seats สนามเหย้าของทีมชาติเม็กซิโก เคยจัดใช้แข่งขันฟุตบอล โลก 2 ครั้ง การออกแบบคำ�นึกถึงองศาอัฒจรรย์ทำ�ให้ถึง แม้จะเป็นอัฒจรรย์ที่สูงมาก แต่ยังคงให้มุมมองที่ใกล้ชิด กับสนามหญ้า เป็นอีกหนึ่ง

1972

- เมื่อเข้าสู่ทศวรรษที่ 1960s - 1970s การศึกษา สาขาผังเมือง (urban planning) มีบทบาทสำ�คัญใน การกำ�หนดทิศทางในการพัฒนาเมืองใหม่ มีโครงการ ขนาดใหญ่มากมายวาดฝันถึงเมืองที่สมบูรณ์แบบด้วย สิ่งอำ�นวยความสะดวก ความเป็นระเบียบเรียบร้อย และที่ขาดไม่ได้คือสนามกีฬาที่มักถูกยกย่องให้เป็นจุด หมายตา (landmark) ในทางกายภาพของเมือง และ เมื่อมีกิจกรรมที่ชาวเมืองมารวมตัวกันจำ�นวนมาก จะ นำ�มาซึ่งโอกาสในทางธุรกิจการขายสินค้า

- แต่ในเวลาเดียวกันก็มีรัฐบาลจากหลายประเทศที่ ใช้โ อกาสในการตั้งโครงการก่ อ สร้ า งสนามกี ฬ าตาม กระแสนิยมของสังคมโลก แต่มีนัยยะทางการเมืองเพื่อ เข้าไปจัดการพื้นที่เสื่อมโทรมเมือง ชุมชนแออัด และ สลัม ซึ่งอาคารสาธารณะเพื่อประโยชน์ของสาธารณะ ดูจะเป็นข้ออ้างที่ดีแก่การอนุมัติโครงการ บางโครงการ ประสบความสำ�เร็จจนสามารถเปลี่ยนแปลงกายภาพ ของย่านได้ แต่หลายโครงการในทวีปอเมริกาใต้กลับ ทำ � ให้ ส นามกี ฬ าถู ก ล้ อ มด้ ว ยชุ ม ชนแออั ด อั น นำ � มาสู่ ปัญหาความรุนแรงภายในสนามกีฬาที่ยากจะแก้ไข

Munich Olympics 1969

Olympiastadion München, München, Germany (1969)

Capacity : 70,000 seats สร้างขึ้นเพื่อจัดการแข่งขันโอลิมปิก ค.ศ. 1972 โดยจงใจ ใช้ รู ป แบบที่ ส ะท้ อ นการพั ฒ นาทางเทคโนโลยี ก่ อ สร้ า ง และสร้างภาพตรงกันข้ามกับสนามกีฬาแห่งแรก

1972

Paris Parco dei Principi, Paris, France (1972)

Capacity : 47,929 seats ที่ถูกออกแบบขึ้นใหม่โดยคำ�นึงถึงระบบเสียงภายในที่ให้ เสียงกึกก้อง แต่ไม่สะท้อน จนได้ฉายาว่า ‘caisse de résonnance’ (‘box of sound’) มีภาพลักษณ์ที่สง่างาม เป็นเอกลักษณ์สำ�คัญของย่าน

1982

Johannesburg Ellis Park, Johannesburg, South Africa (1982)

Capacity : 62,567 seats สนามฟุตบอลแห่งชาติแอฟริกาใต้ ถูกพัฒนาต่อเติมและ เพิ่มสิ่งอำ�นวยความสะดวกอย่างต่อเนื่องแต่การขยายจาก อัฒจรรย์ 4 ด้าน เข้าหากันทำ�ให้บริเวณมุมกลายเป็นจุดที่ มุมมองไม่ดี

1989

Rungrado May Day Stadium, Pyongyang, North Korea (1989)

Capacity : 150,000 seats สนามกีฬาที่มีความจุมากที่สุดในโลกจนถึงปัจจุบัน เป็น สนามกีฬาที่ไม่เคยถูกใช้เพื่อการแข่งขันระดับนานาชาติ หากแต่ใช้เพื่อกีฬา และรัฐพิธีภายในประเทศ


- ในที่สุดเหตุการณ์ที่ไม่คาดฝันก็เกิดขึ้นเมื่อเกิดเหตุ เพลิงไหม้อัฒจรรย์สนาม Sheffield Hillsbough Stadium โดยไฟรุกรามจากกองเศษขยะใต้อัฒจรรย์มาสู่ โครงสร้างอัฒจรรย์ที่เป็นไม้ แต่นั่นก็ไม่เลวร้ายเท่าเห ตุจราจลจากการหนีเอาชีวิตรอดของผู้ชมนับหมื่น ใน จำ�นวนผู้เสียชีวิตกว่า 100 ศพ กว่าครึ่งถูกทับ และ ถูกเหยียบจากฝูงชน บางส่วนพลัดตกจากอัฒจรรย์ ในขณะที่มีผู้บาดเจ็บเรียงรายอยู่บนสนามหญ้า ก็ไม่ สามารถลำ�เรียงผู้บาดเจ็บออกไปได้ทันท่วงที เป็นอีก หนึ่งหน้าประวัติศาตร์ที่ทั่วโลกต้องหันกลับมาทบทวน

ภายหลังความเสียหาย ได้มีการทำ�รายงานผลการ สืบสวนสอบสวนในชื่อ Taylor Report ที่พลิกโฉมหน้า ประวั ติ ศ าสตร์ ก ารออกแบบสนามกี ฬ าในอนาคต เพราะประเด็นด้านความปลอดภัยที่ถูกละเลย จะ ต้องเป็นประเด็นที่ถูกหยิบยกขึ้นมาพิจารณาเป็นเรื่อง แรก ความจุมหาศาลอาจไม่ใช่คำ�ตอบที่ดีที่สุดเสมอไป ทางออกใหม่ในทางธุรกิจคือการสร้างโอกาสในการทำ� รายได้จากแหล่งอื่นๆ เช่นที่นั่งชั้น Box สำ�หรับผู้มีราย ได้สูง ภัตตาคารชั้นเลิศ ร้านค้าของที่ละลึก พิพิธภัณฑ์ ไปจนถึงการเปลี่ยนพื้นที่รอบสนามให้กลายเป็นพื้นที่ FIFA World Cup in Italy

1989

Genova Luigi Ferraris, Genova, Italy (1989)

Capacity : 36,600 seats สนามฟุ ต บอลที่ เ ก่ า แก่ ที่ สุ ด ในอิ ต าลี ก่ อ สร้ า งอย่ า ง กลมกลืนกับบริบทของเมือง และออกแบบให้สามารถ รองรับการใช้งานที่หลากหลาย เป็นอาคารขนาดใหญ่เพื่อ กิจกรรมสาธารณะ

Capacity : 58,270 seats สนามฟุตบอลที่ออกแบบโดย Renzo Piano เพื่อจัดการ แข่งขันฟุตบอลโลก มีความโดดเด่นคือการแบ่งอัฒจรรย์ ออกเป็นส่วนย่อย 26 ส่วน เป็นสนามกีฬาที่ภายในไม่ถูก ตัดขาดจากภายนอกเช่นแห่งอื่นๆ

ความปลอดภัย ห้องนำ�้ที่เพียงพอ อาหารรสชาติดี และ มีราคาสมเหตุสมผลรองรับผู้ชมหลายระดับชั้น - จากบทเรียนของช่วงเวลาที่ผ่านมาทำ�ให้พบว่าการ อยู่รอดของสนามกีฬาในระยะยาวคือการสร้างโอกาส ในการใช้งานที่มีความถี่ไม่ตำ�่กว่าปีละ 24 ครั้ง เพื่อให้ มีรายรับหมุนเวียนเพียงพอกับรายจ่ายในการบริหาร จัดการอาคาร จากช่วงเวลานี้ไปสนามกีฬาภายใต้การ บริหารของเอกชนจะอยู่รอดได้ในขณะที่สนามกีฬาของ รัฐจะเสื่อมโทรมลงอย่างรวดเร็ว เช่นหลายกรณีในทวีป อเมริกาใต้

The Commercial Stadium Period 1994

1990

Bari San Nicola, Bari, Italy (1990)

สาธารณะ ที่ใช้งานได้ไม่เพียงแต่การชมการแข่งขัน การ บันทึกภาพที่ดีขึ้นทำ�ให้แบรนด์สินค้าที่ติดโฆษณาไม่ ได้ผ่านตาแต่เพียงผู้ชมในสนาม หากแต่จะผ่านตาผู้ชม จำ�นวนมหาศาลจากทั่วทุกมุมโลก - เมื่อมีทั้งโอกาสทางธุรกิจ และการตรวจสอบมาตรฐาน โดยรัฐทำ�ใช้ช่วงทศวรรษที่ 1990s เป็นยุคเฟื่องฟูของ สนามฟุตบอลเอกชนที่มีขนาดกลางตามกำ�ลังลงทุนที่ ไม่เทียบเท่ารัฐบาล แต่มีการกำ�หนดมาตรฐานใหม่เพื่อ ให้ผู้ชมสามารถไว้วางใจได้ว่าการมาชมฟุตบอลที่สนาม จะได้ รั บ ทั้ ง ประสบการณ์ ที่ ตื่ น ตาตื่ น ใจไปพร้ อ มกั บ

Torino Delle Alpi, Turin, Italy (1990)

Capacity : 69,000 seats สนามฟุตบอลที่ก่อสร้างด้วยเทคโนโลยี prefabicated ทำ�ให้มีระยะเวลาก่อสร้างที่รวดเร็วเพียง 2 ปี เพื่อการ ระบายอากาศจึงมีโครงสร้างหลังคาชั่วคราวที่เปิด-ปิดได้

The Galpharm Stadium, West Yorkshire, England (1994)

Capacity : 24,121 seats สนามฟุตบอลที่ออกแบบโดยมีโครงสร้าง Arc เพื่อ รองรับหลังคาผืนใหญ่ และมีอัฒจรรย์โค้งตามหลังคา ถูก ออกแบบให้รูปทรงมีความสมบูรณ์

1997

Stadium of Light, Sunderland, England (1997) Capacity : 49,000 seats เป็นสนามฟุตบอลที่ยึดเอา Taylor Report เป็นแนวทาง ในการออกแบบ และวางแผนรับมือเหตุฉุกเฉิน โดย ปรับปรุงทั้งเพิ่มจำ�นวนทางเข้า-ออก ที่คำ�นวณโดยวิศวกร


ในทวีปยุโรปเริ่มมีบางโครงการที่มองโอกาสใน การก่ อ สร้ า งสนามกี ฬ าไปพร้ อ มกั บ การพั ฒ นา อสังหาริมทรัพย์ไปพร้อมกัน เนื่องจากความผูกพันธ์ไม่ ต่ำ�กว่า 100 ปี จนมีคนจำ�นวนไม่น้อยที่หลงรักการชม ฟุตบอลเสียจนอยากอาศัยอยูาใกล้ๆเพื่อไม่พลาดการ แข่งขันทุกๆนัด ตัวอย่างเช่น St. Jakob Park ที่ก่อสร้าง บ้านพักคนชราให้เป็นส่วนหนึ่งของสนาม ทั้งยังมีชั้น Box พวกเขาโดยเฉพาะ ฟุตบอลได้กลายเป็นส่วนหนึ่ง ของวิถีชีวิตในเมืองไปอย่างสมบูรณ์

- จากความสำ�เร็จในการพัฒนาสนามกีฬาในยุคที่ผ่าน มา ทำ�ให้กลายเป็นธุรกิจที่สร้างผลกำ�ไรจากจำ�นวนผู้ ชมที่สูงขึ้นจากอดีต แนวคิดของช่วงเวลานี้คือการมอง ศักยภาพในการใช้งานสนามกีฬาที่หลากหลาย ยืดหยุ่น และปรับใช้เพื่อกิจกรรมอื่นๆได้อย่างมีประสิทธิภาพ ใช้ เทคโนโลยีในการแก้ไขปัญหาเช่น หลักคาเปิด-ปิดได้ เพื่อปกป้องสนามจากสภาพอากาศเลวร้ายในฤดูหนาว แต่เปิดรับแสงแดดในฤดูร้อน บทบาทของผู้สนับสนุน และโฆษณาเริ่มมีมากขึ้นทั้งการจัดเตรียมที่นั่งสำ�หรับ ผู้สนับสนุน พื้นที่การติดโฆษณารอบสนาม ระบบแสง

สว่าง และเสียงที่ดีเพื่อการถ่ายทอดสดที่มีคุณภาพ - เมื่อเข้าสู่ปลายทศวรรษย่างเข้าสู่ศตวรรษที่ 21 เป็น ช่วงเวลาที่หลายเมืองต่างพัฒนาเกือบถึงขีดสุดการใช้ พื้นที่ การหาที่ว่างขนาดใหญ่ในพื้นที่ใจกลางเมืองกลาย เป็นเรื่องยากขึ้นทุกวัน สนามกีฬาในอดีตถูกนำ�กลับมา พิจารณาถึงความคุ้มค่าในการใช้สอยที่ดินผืนนั้น ว่าจะ ทำ�อย่างไรให้สามารถใช้งานเพื่อกิจกรรมสาธารณะอื่นๆ เช่นเป็น การแข่งขันกีฬาที่เป็นที่นิยมไม่ใช่เพียงฟุตบอล เป็น concert hall ที่ไม่ก่อมลภาวะทางเสียงรบกวน ชุมชนโดยรอบ ไปจนถึงอาคารหลบภัยในยามประสบ

ภัยพิบัติต่างๆ แต่มีปัญหาคือจะทำ�อย่างไรให้การใช้งาน เหล่านี้อยู่ร่วมในอาคารหลังเดียวกันได้ ความยืดหยุ่น ในการปรับแต่งกายภาพ และพื้นที่ใช้งานก็เป็นอีกหนึ่ง ปัจจัยสำ�คัญไม่แพ้การบำ�รุงรักษาสนามหญ้า - อันเป็นที่มาของสนามกีฬาหลายแห่งที่ถูกออกแบบ เพื่อสามารถปรับอัฒจรรย์ตามประเภทกีฬาที่ใช้แข่งขัน ปรับเพิ่ม-ลดความจุของผู้ชมได้ตามความต้องการของ รายการ เลื่อนสนามหญ้าออกสู่ภายนอกเพื่อป้องกัน ความเสียหายเมื่อวางเวทีคอนเสิร์ต

The Flexible Stadium Period 1996

St. Jakob Park, Basel, Switzerland (1996)

Capacity : 37,000 seats สนามฟุ ต บอลที่ ถู ก ออกแบบโดยคำ � นึ ง ถึ ง ความสะดวก สบาย มีร้านจำ�หน่ายอาหารและเครื่องดื่มที่ครบครัน มี ส่วน VIP ที่มีภัตตาคาร และห้องประชุม ร่วมไปกับ ศูนย์การค้า บ้านพักคนชรา และ sport complex

1997

Reebok Stadium, Bolton, England (1997)

Capacity : 28,723 seats สนามฟุตบอลที่พัฒนาโครงสร้างจาก The Galpharm Stadium และยึดเอา Taylor Report เป็นแนวทางใน การออกแบบเพื่อความปลอดภัย โครงสร้างนี้กลายเป็น เอกลักษณ์สำ�คัญของเส้นขอบฟ้าเมือง

Amsterdam Arena, Amsterdam, Netherlands (1997)

Capacity : 54,990 seats สนามกีฬาแห่งแรกที่สามารถเปิด-ปิดหลังคาเหนือสนาม หญ้าได้ทั้งผืน ถูกใช้งานทั้งการเป็นสนามฟุตบอล และ concert hall ด้วยความยืดหยุ่นจึงทำ�ให้สามารถใช้งาน ได้ทุกฤดูกาล

1998

Gelredome, Arnhem, Netherlands (1998)

Capacity : 25,500 seats หลั ง คาถู ก ออกแบบให้ เ ลื่ อ นเปิ ด -ปิ ด โดยการขยั บ โครงสร้างหลังคาไปบนรางเลื่อน และยังสามารถเลื่อน พื้นสนามหญ้าออกมาภายนอกเพื่อความยืดหยุ่นในการใช้ พื้นที่ภายในจัดคอนเสิร์ตโดยสนามหญ้าไม่เสียหาย

Saint-Denis Stade de France, Saint-Denis, France (1998)

Capacity : 80,698 seats สนามกีฬาแห่งชาตฝรั่งเศส สามารถเคลื่อนย้านอัฒจร รย์ชั้นล่างสุดเพื่อใช้เป็นลู่กรีฑาเพื่อความยืดหยุ่นในการ ใช้งาน โครงสร้างหลังคาที่เบาบางได้รับการชื่นชมว่าเป็น โครงสร้างที่สวยงามของคริสต์วรรษที่ 20


- การพัฒนาเทคโนโลยีหลังคาเปิด-ปิด มีเป้าหมายไป ทีความเสถียรของกลไกเคลื่อนฝืนหลังคา และความ รวดเร็วในการเปิด-ปิด เริ่มต้นจากโครงสร้างเหล็กนำ�้ หนักเบาที่สามารถเคลื่อนย้ายทั้งผืน แต่ต้องใช้เวลา เปิด-ปิดที่นาน ถูกพัฒนาเป็นวัสดุที่มีความยืดหยุ่น นำ�้ หนักเบา ใช้แรงมอเตอร์ในการขับเคลื่อนผืนหลังคา ที่น้อยกว่า และใช้เวลาเปิด-ปิดที่เร็วขึ้น จนกระทั่ง สามารถพั ฒ นาวั ส ดุ ที่ เ ป็ น ฉนวนป้ อ งกั น เสี ย งดั ง จาก ภายในเล็ดรอดสู่ภายนอกเมื่อจัดคอนเสิร์ต

จุดสูงสุดในการพัฒนาใช้ศักยภาพทางวิศวกรรม เพื่อการออกแบบสนามกีฬาคือสนามกีฬา Sapporo dome เป็นโครงการที่เค้นเอาขีดความสามารถทาง วิศวกรรมเครื่องกลมาแก้ปัญหาความต้องการใช้สนาม แห่งเดียวใช้จัดการแข่งขันได้ทั้งฟุตบอล รักบี้ และ เบสบอล ซึ่งต่างใช้พื้นสนามที่ขนาดและสัดส่วนต่างกัน จึงออกแบบระบบกลไกให้สามารถปรับเปลี่ยนอัฒจรรย์ ได้ตามสัดส่วนของสนาม พื้นสนามหญ้าสามารถเคลื่อน ออกด้านนอกเพื่อการดูแลรักษา สามารถหมุนได้ 360 องศา และมีระบบทำ�ความร้อนเพื่อให้พื้นสนามอบอุ่น

นับเป็นโครงการก่อสร้างที่ลงทุนด้วยงบประมาณสูง ที่สุดแห่งหนึ่ง แต่ความคุ้มค่าที่ต้องแลกมานั้นก็เพื่อให้ สนามแห่งนี้สามารถจัดการแข่งขันกีฬารายการต่างๆ โดยเฉลี่ยแล้วถูกใช้งาน 35-40 ครั้งต่อปี ซึ่งนับว่าสูง กว่าจำ�นวนเฉลี่ยของสนามฟุตบอลแห่งอื่นๆที่ประมาณ 20-24 ครั้งต่อปี เป็นอีกหนึ่งหนทางจะทำ�ให้การ บริหารสนามกีฬาให้สามารถสร้างรายได้เพียงพอต่อ การบริหารจัดการอาคาร

Sydney Olympics 1999

ANZ Stadium, Sydney, Australia (1999)

Capacity : 82,500 seats ถูกปรับปรุงเพื่อจัดการแข่งขันโลอิมปีในปี ค.ศ. 2000 โดย ก่อสร้างหลังคาคลุมอัฒจรรย์ทั้ง 4 ด้าน อัฒจรรย์ชั้นล่าง สุดถูกปรับให้สามารถเคลื่อนย้ายออกเพื่อจัดแข่งกรีฑา และติดตั้งกลับเพื่อการแข่งขันฟุตบอล

2000

Cardiff Millennium, Cardiff, England (1999)

Capacity : 73,931 สนามกีฬาที่มีระบบหลังคาเปิด-ปิดที่สมบูรณ์ที่สุด แก้ไข จากปัญหาที่พบในอดีตจนสามารถเปิด-ปิดได้อย่างรวดเร็ว ระหว่างการแข่งขัน ระบบทั้งหมดควบคุมโดยคอมพิวเตอร์

Veltins Arena (Arena Auf Schalke), Nordrhein-Westfalen, Germany (2001)

Capacity : 62,271 seats หลังคาเปิด-ปิดใช้วัสดุประเภท Teflon ที่มีความทนทาย ยืดหยุ่น และน้ำ�หนักเบา สนามกีฬาประเภทนี้กลายเป็นที่ ต้องการเพราะสามารถย้ายสนามหญ้าออกและปิดหลังคา เพื่อจัดคอนเสิร์ตได้อย่างไม่ก่อเสียงรบกวนภายนอก

2001

Sapporo Dome, Hokkaido, Japan (2001)

Capacity : 41,484 seats เพื่อรองรับการแข่งขันฟุตบอล และเบสบอลที่เป็นที่นิยม ทั้งคู่ อัฒจรรย์บางส่วนสามารถหมุนและยื่นเข้า-ออกเพื่อ ให้มีพื้นที่เหมาะสมกับการแข่งขันแต่ละประเภท สนามมี ขนาดใหญ่จนสามารถหมุนสนามฟุตบอลภายในได้

Oita Big Eye, Oita, Japan (2001)

Capacity : 40,000 seats สนามกีฬาที่มีโดม และหลังคาเปิด-ปิดได้ขนาดใหญ่ที่สุด ในโลก เป็นสนามกีฬาในร่มแห่งเดียวที่สามารถปกคลุม สนามฟุตบอล และลู่กรีฑาได้ทั้งหมด


- เทคโนโลยีสำ�คัญที่ทำ�ให้ความพยายามทางวิศวกรรม ในช่วงเวลาที่ผ่านมากลายเป็นสิ่งที่ล้าหลังคือการผลิต วัสดุประเภทหญ้าเทียมขึ้นมา จนปัจจุบันสามารถสร้าง พื้ น สนามฟุ ต บอลที่ มี คุ ณ ภาพสู ง กว่ า สนามหญ้ า จริ ง ความทนทาน และไม่หลุดล่อนง่ายเช่นหญ้าาจริง ช่วย ให้นักกีฬาปลิดภัยยิ่งขึ้น และลดงบประมาณในการ ดูแลรักษา การเปิดปิดหลังคาเพียงเพื่อรับแดดจึงกลาย เป็นสิ่งที่ไม่มีความจำ�เป็นอีกต่อไป การแก้ปัญหานี้ช่วย ให้แนวคิดในการออกแบบสนามกีฬาในยุคถัดมาเปลี่ยน จุดสนใจไปที่เรื่องรูปลักษณ์ภายนอกมากขึ้น

- สนามกีฬามีบทบาทต่อวิถีชีวิตและเมืองมากขึ้นเรื่อยๆ เพราะในช่วงเวลาที่ผ่านมามันได้ถูกพัฒนา ให้ยืดหยุ่น ตอบรับความต้องการใช้งานที่หลากหลาย ซึ่งล้วนแต่ เป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรมมวลชน (Popular culture) และสัมพันธ์กับมิติความเป็นวัฒนธรรมเมือง (Urban cultural) แต่ความท้าทายที่สนามกีฬากำ�ลังเผชิญ ในอนาคตคือเทคโนโลยีการสื่อสารที่พัฒนาอย่างก้าว กระโดด การจะยังรักษาฐานที่มั่นในใจผู้ชมได้นั้นต้อง ดำ�เนินการออกแบบสถาปัตยกรรมอย่างมียุทธศาสตร์ และต้องวางบทบาทของสนามกีฬาต่อชุมชน เมือง หรือ

แม้แต่ระดับประเทศให้ได้ - เริ่มต้นจากการยกระดับมาตรฐานความปลอดภัยที่ถูก คิดคำ�นวนด้วยเทคโนโลยีที่แม่นยำ�ที่สุด สิ่งอำ�นวยความ สะดวกและพื้นที่ใช้งานที่ถูกปรับปรุงอย่างทันสมัย ครบ ถ้วนด้วยเทคโนโลยีที่จะช่วยให้ผู้ชมไม่พลาดการแข่งขัน แม้แต่วินาทีเดียว สู่ภาพลักษณ์ภายนอกที่สื่อสารกับ บริบทอย่างเหมาะสม มีเป้าหมายชัดเจน เช่นความโดด เด่น เป็นสัญลักษณ์ หรือความกลมกลืน ซึ่งสิ่งเหล่านี้ ต่างประกอบกันขึ้นมาเป็นสถาปัตยกรรมมีศักยภาพใน การเป็นศูนย์กลางของวิถีชีวิตชาวเมืองได้ไม่ยาก

- ในช่วงต้นทศวรรษที่ 2000s เกิดโครงการก่อสร้าง สนามกีฬาจำ�นวนมากในทวีปอเมริกาเหนือ และเอเชีย หลายโครงการในทวี ป อเมริ ก าใต้ เ ป็ น การลื้ อ สร้ า ง ใหม่ (reconstruction) เพื่อปรับปรุงคุณภาพการใช้ งานสนามไปพร้อมกับการพิจารณาด้านงบประมาณ บริหารอย่างยั่งยืน ส่วนในทวีปยุโรปมักเป็นโครงการ ลักษณะ ซ่อมบำ�รุง (renovation) โดยใช้ศักยภาพ ของโครงสร้างเก่า โดยมีหลายโครงการมุ่งเน้นไปที่การ ปรับปรุงภาพลักษณ์ของสนาม ให้สามารถเรียกได้ว่า เป็นสถาปัตยกรรมร่วมสมัยกับปัจจุบัน

The City Icon Stadium Period 2001

Toyota Stadium, Toyota, Japan

Capacity : 45,000 seats สนามฟุตบอลที่มีความจุสูงที่สุดในญี่ปุ่น โครงสร้างหลังคา ถูกออกแบบมาให้เบาบาง พร้อมหลังคาเปิด-ปิด การ ออกแบบคำ�นึงถึงมุมมองของผู้มเป็นสำ�คัญ

City of Manchester Stadium, Manchester, England

Capacity : 53,000 seats สนามฟุตบอลที่มีขนาดใหญ่เป็นอันดับ 5 ของลีกอังกฤษ ถึงแม้จะมีการต่อเติมแต่คำ�นึงถึงมุมมองของผู้ชมและการ เข้า-ออกที่รวดเร็วโดยใช้ทางลาดทั้ง 8 จุด เป็นสนามที่ ผ่านการคำ�นวน human flow อย่างเป็นทางการ

2002

Ataturk Olympic Stadium, Istanbul, Turkey

Capacity : 76,092 seats สนามกีฬาที่ก่อสร้างขึ้นเป็นสนามกีฬาแห่งชาติ และ เพื่อประกอบการเสนอตัวเป็นเจ้าภาพโอลิมปิก ปี ค.ศ. 2008 มีแนวคิดเชิงสัญลักษณ์ที่แบ่งสนามออกเป็น 2 ส่วน สะท้อนการเป็นประเทศที่ตั้งอยู่บน 2 ทวีป

Allianz Arena, München, Germany

Capacity : 66,000 seats ออกแบบเพื่อเป็นสัญลักษณ์ของเมืองตั้งอยู่บนลานโล่ง ที่ต้องเข้าถึงผ่านงานออกแบบภูมิสถาปัตยกรรม เปลือก อาคารถูกออกแบบให้สามารถเปลี่ยนสีเพื่อแสดงออกถึง ทีมเหย้าที่แข่งขัน

2003

Braga Municipal Stadium, Braga, Portugal

Capacity : 30,286 seats สนามฟุตบอลที่สัมพันธ์กับภูมิประเทศที่เป็นหน้าผาสูง อัฒจรรย์ขนาดใหญ่กลายเป็นเอกลักษณ์สำ�คัญที่ง่ายต่อ การจดจำ� ระบบไฟส่องสว่างที่สม่ำ�เสมอ ทำ�ให้เป็นสนาม ฟุตบอลทแห่งนี้หลายเป็นอีกจุดหมายของนักท่องเที่ยว


- สนามกีฬาหลายสำ�คัญหลายแห่งทั่วโลกกำ�ลังตกอยู่ ในภาวะวิกฤติ ถูกทิ้งล้าง ขาดงบประมาณการดูแล และขาดแผนการบริหารในระยะยาว อันเนื่องมาจาก ปัจจุบันการเสนอชื่อเป็นเจ้าภาพการแข่งขันรายการ ใหญ่ เป็นโครงการระยะยาวตั้งแต่ 8 - 12 ปี หลาย โครงการได้รับอนุมัติก่อสร้างใน แต่เมื่อเวลาผ่าน ไปเกิดวิกฤติเศรษฐกิจ การขาดเสถียรภาพทางการ เมือง สะท้อนออกมาเป็นปัญหาตั้งแต่ขณะจัดการ แข่งขัน ไปจนถึงหลังการแข่งขัน สำ�หรับประเทศที่ วัฒนธรรมการชมกีฬายังไม่เป็นที่นิยมมากนัก การจะ

สร้างรายได้หมุนเวียนเพื่อบริหารสนามกีฬากลายเป็น เรื่องยาก ภาระบางส่วนตกมาอยู่ในมือรัฐบาล ซึ่งต้อง ขึ้นกับนโยบาย ความซับซ้อนของมิติทางเศรษฐกิจ และการเมืองได้ฉุดกระชากสถาปัตยกรรมที่ผ่านการ ประกวดแบบ การคิดคำ�นวณจากสถาปนิกและวิศวกร ที่มีความเชี่ยวชาญสูง ให้กลายเป็นสถานที่ที่ไม่มี ประโยชน์ต่อสังคม - บทเรียนนี้แสดงให้เห็นว่าการเข้าไปเป็นส่วนสำ�คัญ ของวิถีชีวิต และชาวเมืองไม่ใช่เพียงการเป็นศูนย์กลาง ทางกายภาพ หากแต่มันจะต้องเป็นศูนย์กลางในมิติ

Athens Olympics 2004

Athens Olympic Stadium, Athens, Greece

Capacity : 75,000 seats สนามกีฬาที่ต่อเติมเพื่อการเป็นเจ้าภาพโอลิมปิก ที่ใช้ เทคโนโลยีก่อสร้างที่สูงมาก ด้วย arch คู่ขนาดใหญ่ที่สุด (ที่ไม่ใช่โครง truss) เพื่อให้มีโครงสร้างทเบาบาง สุดท้าย แล้วอาคารหลายส่วนในโครงการถูกทิ้งร้างหลังเสร็จงาน

ทางสังคม เศรษฐกิจ วัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อมให้ สำ�เร็จ การวางเป้าหมาย และขอบเขตของงานจำ�เป็น ต้องพิจารณาถึงธรรมชาติของคนที่มีส่วนเกี่ยวข้อง และ เพื่ อ ให้ บ ทบาทการเป็ น อาคารสาธารณะนั้ น เข้ ม แข็ ง สนามกีฬาจะต้องสร้าง win-win solution แก่ทุกฝ่าย ให้ได้ และพิสูจน์ตัวเองว่าเป็นองค์ประกอบสำ�คัญที่ จะช่วยขับเคลื่อนคุณภาพการดำ�เนินชีวิตในเมืองนั้นๆ อย่างเป็นรูปธรรม - ในวัฒนธรรมฟุตบอลภายใต้อิทธิพลของการสื่อสาร ทำ�ให้ฐานแฟนบอลในลีกสำ�คัญๆไม่ได้จำ�กัดอยู่เพียง Beijing Olympics

2006

London Emirates Stadium, London, England

Capacity : 60,704 seats หนึ่งในสนามฟุตบอลที่เป็นจุดหมายปลายทางของแฟน บอลทั่วโลก สนามฟุตบอลที่ทันสมัย สะดวกสบาย และได้ มาตรฐานที่สุด ผู้ชมทุกกลุ่มแม้แต่ผู้พิการก็สามารถรับชม ได้ มาตรฐานการถ่ายทอดสด และการติดตั้งกล้องที่ดีที่สุด

2007

Wembley Stadium, London, England

Capacity : 90,000 seats สนามกีฬาแห่งชาติอังกฤษที่ถูกก่อสร้างขึ้นใหม่ โดยแสดง ศักยภาพทางวิศวกรรมโครงสร้างที่มีโครงสร้าง Arch ที่มี ช่วงพาดกว้าง ที่สุดในโลก

2008

Beijing National Stadium, Beijing, China

Capacity : 80,000 seats สัญ ลักษณ์ของการแข่งขันโอลิมปิกโดยจีนเป็นเจ้า ภาพ และได้กลายเป็นสัญลักษณ์ของสาธารณรัฐประชาชนจีน ยุคใหม่ ความโดดเด่นของสถาปัตยกรรมทำ�ให้กลายเป็น ศูนย์กลางของเมืองใหม่ และจุดหมายของนักท่องเที่ยว

ชาวเมืองท้องถิ่น แต่ยังสามารถมีแฟนบอลจากทั่วทุก มุมโลก สนามฟุตบอลของสโมสรชื่อดัง กลายเป็นจุด หมายปลายทางที่ ค นจากทั่ ว ทุ ก มุ ม โลกต่ า งใฝ่ ฝั น มา เยือน สนามฟุตบอลจึงเป็นอีกหนึ่งตัวแทนของสโมสร ไปจนถึงตัวแทนของเมือง การสร้างเอกลักษณ์ให่เป็น ที่ จ ดจำ � กลายเป็ น แนวทางใหม่ ที่ ทำ � ให้ ส นามฟุ ต บอล หลายแห่งประสบความสำ�เร็จ เช่น Allianz Arena การใช้ความสำ�คัญต่อมิติทางสถาปัตยกรรมกลายเป็น ทิ ศ ทางในการพั ฒ นาในอนาคตของสโมสรฟุ ต บอล อังกฤษต่อไป London Olympics 2012

2015

Stade de Bordeaux, Bordeaux, France

Capacity : 43,000 seats จากต้นทุนทางวัฒนธรรม neo classic สนามฟุตบอลสง่า งามเฉกเช่นสถาปัตยกรรมในอดีต เป็นสัญลักษณ์ของเมือง ยุคใหม่ที่ใช้ภาษาทางสถาปัตยกรรมที่สมบูรณ์ สะอาดตา


STADIUM DESIGN STUDY UEFA RECOMENTATION STADIUM & HdM WORKS












Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.