TEERANOP_PAT SATDIUM_DESIGN STUDY

Page 1

DESIGN STUDY REPORT 20.04.07

PAT STADIUM : ARCHITECTURE FOR MAINTAIN IDENTITY OF PORT FC แพทสเตเดียม : สถาปัตยกรรมเพื่อธำ�รงค์อัตลักษณ์สโมสรการท่าเรือ

ธีรนพ จำ�นงค์

สถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันอาศรมศิลป์



ชื่อวิทยานิพนธ์

ที่มาและความสำ�คัญ

แพทสเตเดียม: สถาปัตยกรรมเพื่อธำ�รงค์อัตลักษณ์สโมสร การท่าเรือ

ตลอดระยะเวลากว่า 160 ปี นับตั้งแต่การ เกิดขึ้นของสโมสรฟุตบอลอาชีพในประเทศอังกฤษ กีฬา ฟุตบอลได้ก้าวผ่านการเปลี่ยนแปลงทางสังคมหลายชั่ว ขณะ และค่อยๆฝังรากลึกลงไปในวัฒนธรรมโลก มัน สามารถพิ สู จ น์ คุ ณ ค่ า ของมั น เองว่ า เป็ น มากกว่ า เพี ย ง ความบันเทิง แต่ในบางสังคมฟุตบอลเป็นดั่งจิตวิญญาณ ที่สะท้อนภาพตัวแทน (Representation) ถึงบุคลิกภาพ และอุดมคติของสังคมนั้นๆเอาไว้ สถาปัตยกรรมที่ทำ� หน้าที่ห่อหุ้มกิจกรรมทางสังคมและความรู้สึกร่วมของฝูง ชนเอาไว้คือสเตเดียม (Stadium) เป็นสถาปัตยกรรมที่มี วิวัฒนาการมาตลอด 2,500 ปี ซึ่งมันได้พัฒาหน้าที่จาก เพียงลานประลองของนักกีฬา สู่การเป็นพื้นที่ทางสังคม (Social Space) ที่อัดแน่นไปด้วยร่องลอยของกิจกรรม และความสัมพันธ์ของมนุษย์ ในประเทศไทยนับตั้งแต่พ.ศ. 2539 กระแส ความนิยมไทยลีก (Thai League : T1) ทำ�ให้ฟุตบอล กลายเป็นกีฬาที่ได้รับความนิยมสูงสุดของคนไทย เพราะ การบริหารของสมาคมกีฬาฟุตบอลแห่งประเทศไทย (FA) ได้มีความพยายามสร้างบรรยากาศในการแข่งขันฟุตบอล ไทยให้คล้ายคลึงการการแข่งขันในต่างประเทศ องค์ ประกอบหลายๆอย่างถูกพัฒนาขึ้นให้ทัดเทียมมาตรฐาน นานาชาติ เช่นการฝึกซ้อมนักกีฬา ตลาดซื้อขายนักเตะ วิถีของกองเชียร์ และอีกหนึ่งส่วนสำ�คัญคือสเตเดียม แพทสเตเดียม (Pat Stadium) เป็นสนาม ฟุตบอลที่เก่าแก่แห่งหนึ่งของกรุงเทพฯ ใช้ที่ดินและ

PAT Stadium: An Architecture for Maintain Identity of PORT FC.

เป้าหมายทางการศึกษา ก่ อ สร้ า งขึ้ น โดยการสนั บ สนุ น ของการท่ า เรื อ แห่ ง ประเทศไทย (Port Authority of Thailand ; PAT) เพื่อเป็นสนามเหย้าของสโมสรฟุตบอลการท่าเรือ เอฟ ซี (PORT FC) เป็นสโมสรฟุตบอลที่ค่อยๆเติบโตจากทีม ฟุตบอลของพนักงานการท่าเรือ สู่การเป็นสโมสรชั้นแนว หน้าของประเทศได้ทุกวันนี้ก็เพราะการสนับสนุนอย่าง ต่อเนื่องจากกทท. การบริหารอย่างมีประสิทธิภาพจาก ผู้บริหาร และอีกหนึ่งปัจจัยสำ�คัญคือการสนับสนุนของ แฟนบอล นั่นจึงอาจกล่าวได้ว่า เจ้าของสโมสรที่แท้จริงก็ คือแฟนบอลทุกๆคนที่คอยเป็นกำ�ลังสนับสนุนแก่สโมสร เสมอมา แฟนบอลการท่ า เรื อ นั้ น ถู ก กล่ า วขานว่ า มี อั ต ลักษณ์เฉพาะ จุดที่มีความโดดเด่นเป็นที่จดจำ�ได้ง่ายกว่า สโมสรอื่นๆเห็นจะเป็นการเชียร์ภายในสนามที่แสดงออก อย่างรุนแรงด้วยภาษาและท่าทาง การตะโกนอย่างพร้อม เพรียงเพื่อแสดงความดุดัน การก่อกวนสมาธิของทีม เยือน และการทุ่มเทพลังใจให้แก่นักเตะของตน ถึงแม้ว่า ท่าทีที่ออกมาจะดูรุนแรง หากแต่ว่ามันก็เป็นไปเพื่อการ แสดงออกถึงความสามัคคี และความรักที่พวกเขามีต่อ สโมสร สำ � หรั บ พื้ น ที่ ภ ายนอกทั้ ง ก่ อ นและหลั ง การ แข่งขันมันเป็นมากกว่าเพียงจุดพักคอย หากแต่มันเป็น พื้นที่ที่สัมผัสได้ถึงความใกล้ชิด สนิทสนม จนเกิดกิจกรรม ขึ้นมากมาย จึงไม่น่าแปลกใจว่าเหตุใดพวกเขาถึงนิยาม กลุ่มแฟนบอลกันเองว่านี่คือครอบครัว สิ่งที่เกิดขึ้นเหล่า

นี้มันได้เติมเต็มคุณค่าของสถาปัตยกรรมให้เป็นมากกว่า เพียงสนามกีฬา แต่มันคือพื้นที่ทางสังคมที่เต็มไปด้วยรอย เท้า และร่องลอยของกิจกรรมที่ยึดโยงให้ผู้คนมากหน้า หลายตาได้มีความสัมพันธ์ร่วมกันเป็นกลุ่มก้อนทางสังคม เป็นพื้นที่ที่มีชีวิตชีวา เป็นส่วนหนึ่งของวิถีชีวิตในย่าน คลองเตย การศึกษาจะมีจุดเริ่มต้นจากการให้ความสำ�คัญ ไปที่แฟนบอล (Fan Club) ในมิติทางสังคมวิทยา และ มานุษยวิทยาเพื่อทำ�ความเข้าใจถึงตัวตน หรืออัตลักษณ์ (Identity) ของการท่าเรือ เข้าใจถึงพฤติกรรม ความ สัมพันธ์ ความผูกพันต่อพื้นที่ที่พวกเขาได้มีประสบการณ์ ร่วมกัน การมองภาพระดับย่าน ความสัมพันธ์ต่อบริบท โดยรอบ ไปจนถึงบทบาทที่สเตเดียมมีต่อเมือง เพื่อ ทำ�ให้การกำ�หนดเป้าหมายเป็นไปอย่างรอบด้าน และ สร้างสรรค์ให้แพทสเตเดียมในอนาคตเป็นสถาปัตยกรรม ที่มีคุณค่าทั้งต่อแฟนบอล - สโมสร - เมือง และวงการ ฟุตบอลไทย โดยในขณะเดียวกันก็ยังคงสามารถธำ�รงค์ รักษาอัตลักษณ์ของสโมสรการท่าเรือให้สามารถสื่อสาร ออกสู่สังคมภายนอกได้อย่างน่าภาคภูมิใจ

1. ศึกษาทำ�ความเข้าใจคุณค่าของฟุตบอล และตัวตนของ แฟนบอล ในมิติทางสังคมวิทยา และมานุษยวิทยาด้วย กระบวนการ Active Research และ Participatory Process 2. ฝึกฝนการตีความ (Interprete) กายภาพจากโจทย์ที่มา มีความซับซ้อน จากสภาพการณ์ที่เป็นจริง และสร้างทาง เลือกที่เหมาะสม และเป็นประโยชน์กับทุกฝ่าย 3. สามารถใช้การออกแบบเพื่อพิสูจน์ได้ว่าสถาปัตยกรรม สเตเดียม มีคุณค่าได้มากกว่าการเป็นเพียงเพื่อการแข่งขัน ฟุตบอล แต่สามารถเป็นส่วนหนึ่งของพื้นที่สาธารณะ (Public Space) เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตชาวเมือง

ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1. เป็นข้อเสนอแนะ (Propersal) ที่ถูกนำ�ไปปฏิบัติใช้จริง เพื่อการปรับปรุงสนามแพทสเตเดียมในอนาคต 2. สร้างวิสัยทัศน์ในการพัฒนาพื้นที่โครงการเพื่อให้เกิด ประโยชน์กับเมืองสูงสุด


STUDY PROCESS เก็บข้อมูล

ประเด็น

พูดคุยกับตัวแทนสโมสรการท่าเรือ (คุณองอาจ ก่อสินค้า ผู้จัดการสโมสร คุณบิว เลขามาดามแป้ง)

สำ�รวจพฤติกรรมการใช้งาน และกายภาพของสนามใน วันแข่งขันฟุตบอลรายการไทยลีก

กลไกการบริหารสโมสรฟุตบอล และการสนับสนุนจาก การท่าเรือแห่งประเทศไทย ความต้องการขยายความจุสนาม 10,000 ที่นั่ง นัดเหย้า PAT Stadium นัดเยือน Chang Arena Mitphon Stadium SCG Stadium Singha Stadium

อัตลักษณ์ของแฟนบอล และกองเชียร์ พฤติกรรมการใช้งานพื้นที่ การเข้าถึง และระบบรักษาความปลอดภัย การใช้งานโดยรวม และสิ่งอำ�นวยความสะดวก

แพทสเตเดียมอันเป็นที่ “รักและภาคภูมิใจ”

ภาพลักษณ์ที่เป็นที่จดจำ�

มุ่งเน้นการปรับปรุงกายภาพให้มีคุณภาพ และได้ มาตรฐาน เป็นสนามฟุตบอลชั้นนำ�ของไทย แต่ยังคง กลิ่นอายของการท่าเรือ และรักษากิจกรรมและพื้นที่ที่ แฟนบอลผูกพัน

การบริหารที่ดินบริเวณสนามกีฬาของการท่าเรือ สำ�รวจบริบทของย่าน กายภาพ และแผนการพัฒนนา

การใช้งานในปัจจุบัน ผังแม่บทการพัฒนาในอนาคต

เรียนรู้จากผู้เชี่ยวชาญในวงการฟุตบอล (คุณวิรัช ชาญพาณิชย์)

การบริหารสโมสรฟุตบอล การบริหารพื้นที่โฆษณา และแหล่งรายได้ การใช้งานในการฝึกซ้อม และแข่งขัน

กระบวนการพูดคุยกลุ่มย่อย

กระบวนการพูดคุยกลุ่มใหญ่

ศึกษาและทบทวนวรรณกรรม

กำ�หนดเป้าหมาย

ประวัติความเป็นมาของสโมสร การรวมกลุ่ม และความสัมพันธ์ของแฟนบอล โครงสร้างในการควบคุมดูแลแฟนบอล ความผูกพันกับแพทสเตเดียม ความคาดหวังต่อสนามในอนาคต การใช้ที่ดินของการท่าเรือ กิจกรรมของพนักงาน

อัตลักษณ์ความเป็นการท่าเรือ สัญลักษณ์ การแสดงออก และการจดจำ� ความคาดหวัง และความฝันในอนาคต ความสัมพันธ์ระหว่างแฟนบอล ความผูกพันกับพื้นที่ และกิจกรรม

ความเป็นมาของกีฬาฟุตบอลในสังคมมนุษย์ คุณค่าที่ฟุตบอลมีต่อสังคม ความหมายและคุณค่าของอัตลักษณ์ การเกิดขึ้น การเปลี่ยนแปลง และบทบาทของอัตลักษณ์

แพทสเตเดียม “พื้นที่สร้างสรรค์” เพื่อย่านคลองเตย สนามฟุตบอลที่เป็นศูนย์กลางด้านกีฬาของย่าน สร้าง กิจกรรมและความร่วมมือ อันจะนำ�ไปสู่การเปิดพื้นที่ สาธารณะแห่งใหม่เพื่อชาวเมือง

แพทสเตเดียม “จิตวิญญาณ” แห่งคลองเตย สถาปัตยกรรมที่เป็นสัญลักษณ์ เป็นตัวแทน และเป็นที่ จดจำ�ของทั้งการท่าเรือ และย่านคลองเตย แสดงออก ผ่านกายภาพ กิจกรรม และการให้ความสำ�คัญกับผู้ใช้ งาน


ยุทธศาสตร์

การตีความ More Capacity

ปรับปรุง IMPROVING

Renovation Reconstruction

โปรแกรม Embrancing Bowl Framing Structure

Stadium Facilities Space under Concourse

Relocation

ใช้โครงสร้างเดิมอย่างเต็มศักยภาพ โดยสอดแทรก กายภาพใหม่เข้าไปอย่างเหมาะสมเพื่อ ปรับปรุงให้ แพทสเตเดียมเป็นสนามฟุตบอลที่ได้มาตรฐานทั้ง ในด้านความปลอดภัย และสิ่งอำ�นวยความสะดวก แต่ยังคงรักษาวิถีของแฟนบอล และร่องรอยแห่ง ความทรงจำ�ที่พวกเขาผูกพัน

Improved Citculation Improved Security System

Sense of Place

Gathering Space New Meeting Place PORT FC Museum

สร้างเสริม PLACE MAKING

Space under Concourse

Club Space

สร้างเสริมพื้นที่ใช้งานใหม่ๆ ที่ท�ำ หน้าที่เชื่อมโยง สโมสร แฟนบอล และพนักงานการท่าเรือเข้าไว้ด้วย เรื่องราวความทรงจำ� และกิจกรรม

Club Space Market Place - Main Core

Sense of Place

เปิดรับ WELCOMING ฟุตบอลเป็นกุญแจที่จะสร้างความร่วมมือระหว่าง การท่าเรือและสโมสรให้ได้แบ่งปันพื้นที่ของรัฐแก่ ประชาชน ให้เกิดกิจกรรมสร้างสรรค์เพื่อพัฒนา เยาวชนและเปิดพื้นที่เพื่อการผักผ่อน และออก กำ�ลังกาย

Club Facilities

Keep Existing Activities

Add More Activities

PORT FC Team B Training

PAT Football Campus

Football Facilities Area

Football Training for Kids

Leisure Area

Internal Match

Recreation Park

Recreation

Connection with Context

Running Track Petanque Field

มีตัวตน IDENTIFYING แพทสเตเดียมเป็นสถาปัตยกรรมเพื่อส่งเสริม“อัต ลักษณ์ของสโมสรฟุตบอลการท่าเรือ” ให้โดดเด่น เป็น Icon ของ คลองเตย และสัญลักษณการพัฒนา วงการฟุตบอลไทย

Identity of PORT FC

Orange - Blue

Eye Catching Facade

Dynamic Facade

Color changing facade Waving Geometry

Flagship Advertisment Screen

Text Messiging



บริบท คลองเตย เขตคลองเตย, กรุงเทพมหานคร


near Khlong Toei — Bangkok

คลองเตย, กรุงเทพฯ 1 of 1


คลองเตย, กรุงเทพฯ



ท่าเรือกรุงเทพ, การท่าเรือแห่งประเทศไทย บริบท

เขตคลองเตย, กรุงเทพมหานคร


near Khlong Toe

ท่าเรือกรุงเทพ, การท่าเรือแห่งประเทศไทย


ท่าเรือกรุงเทพ, การท่าเรือแห่งประเทศไทย



ชุมชนในพื้นที่ท่าเรือกรุงเทพ แขวงคลองเตย และพื้นที่ข้างเคียง


โครงการผังแม่บทท่าเรือกรุงเทพ, การท่าเรือแห่งประเทศไทย การศึกษาผังแม่บท ที่ดินท่าเรือกรุงเทพ, การท่าเรือแห่งประเทศไทย (Stage : Zoning) จัดทำ�โดย บ.สถาปนิก49 จำ�กัด, พ.ศ. 2559

การศึกษาผังแม่บท ที่ดินท่าเรือกรุงเทพ, การท่าเรือแห่งประเทศไทย (Stage : Planning) จัดทำ�โดย บ.โชติจินดา มูลเซล คอนสตรัคชัน จำ�กัด, พ.ศ. 2560

การศึกษาผังแม่บท ที่ดินท่าเรือกรุงเทพ, การท่าเรือแห่งประเทศไทย (Stage : Investment Schematic) จัดทำ�โดย บ.พีเอสเค คอนซัลแทนส์ จำ�กัด, พ.ศ. 2562


แผนงานพัฒนาโครงการผังแม่บทท่าเรือกรุงเทพ, การท่าเรือแห่งประเทศไทย

A4 A2

G2 G1

A1

C3-3

G1-16

X1-2 A3

C3-2

C3-1

G17-G19

B1 C2-2

C2-1 C1

ระยะสั้น (Phase 1) 1-5 ปี 1. A1 พื้นที่ 17 ไร่ พัฒนาอาคารสำ�นักงานการท่าเรือ และพื้นที่ใช้เช่า 2. A5-1 พื้นที่ Smart Community ระยะที่ 1 3. A6 พื้นที่ 9 ไร่ Retail Mixed Use 4. C1 พื้นที่ Cruise Terminal 5. C2-1 พื้นที่ Mixed Use และ Creative 6. G ปรับปรุงภูมิสถาปัตยกรรม (เส้นสีเขียว) 7. Sky Walk (เส้นปะสีเขียว) 8. Tram (เส้นปะสีแดง) 9. A3 พื้นที่พัฒนา Medical Hub

C2-3

ระยะกลาง (Phase 2) 6-10 ปี Phase 2.1 1. A5-2 พื้นที่พัฒนา Smart Community ระยะที่ 2 2. C2-2 พื้นที่ Hotel and Convention/Business ระยะที่ 1 3. C2-3 พื้นที่ Cultural Water Front 4. G1,G2,G5,G6 ปรับปรุงพื้นที่ Sport Complex ระยะที่ 1 5. G3,G4,G7,G16 ปรับปรุงพื้นที่ Sport Complex ระยะที่ 2 6. G17-G19 พื้นที่ Retail และ Gallery 7. Sky Walk (เส้นปะสีเขียว) 8. Tram (เส้นปะสีแดง)

Phase 2.2 1. A2 พื้นที่ Residence Area 2. C3-1 พื้นที่ Mixed Use และพื้นที่ Creative ระยะที่ 2 3. C3-2 พื้นที่ Hotel and Convention/Business ระยะที่ 2 4. C3-3 พื้นที่ Parking Complex 5. X1-2 พื้นที่ Truck Village 6. Sky Walk (เส้นปะสีเขียว) 7. Tram (เส้นปะสีแดง)

ระยะยาว (Phase 3) 11-20 ปี 1. X1-1 พื้นที่ E-Commerce Warehouse and Ligistic Business 2. A4 พื้นที่ Business District


PAT STADIUM : ก่อนการพัฒนาย่านคลองเตยตามผังแม่บท

PAT STADIUM : หลังการพัฒนาย่านคลองเตยตามผังแม่บท


PAT STADIUM EXISTING BUILDING

เขตคลองเตย, กรุงเทพมหานคร


near Khlong Toei — B

PAT STADIUM, การท่าเรือแห่งประเทศไทยม คลองเตย


บริบท PAT Stadium เป็นส่วนหนึ่งในที่ดิน 2,353 ไร่ กรรมสิทธิ์ การท่าเรือแห่งประเทศไทย โดยมีตำ�แหน่งตั้งอยู่บริเวณ ขอบที่ดินติดห้าแยก ณ ระนอง ทิศเหนือ ติดต่อกับ ถนนสุนทรโกษา ทิศใต้ ติดต่อกับ ถนนท่าเรือ ทิศตะวันตก ติดต่อกับ อาคารจอดรถ และสวน สาธารณะ สัญญาเช่าโดย บ.Loxley ทิศตะวัน ติดต่อกับ อาคารบ้านพักตำ�รวจนครบาล เดิม PAT Stadium เป็นสนามฟุตบอลของ Club house เพื่อให้บริการบุคลากรของการท่าเรือ ร่วมกับสนามกีฬา ประเภทอื่นๆ ก่อนมีการจัดตั้งสโมสรฟุตบอลภายใต้ชื่อ

กรรมสิทธิ์ สโมสรฟุตบอลการท่าเรือ แล้วจึงมัโอกาสได้ต่อเติมขยาย อัฒจรรย์เรื่อยมาจนถึงปัจจุบัน มีพื้นที่รวมทั้งสิ้น 9 ไร่ - 1 งาน - 43 ตารางวา ประกอบด้วย สนามฟุตบอลและอัฒจรรย์ 13,484 ตารางเมตร บ้านพักนักกีฬา 1,488 ตารางเมตร และสโมสรยังถือสิทธิ์การใช้ที่ดินของโกดัง stadium หลัง เก่าขนาดพื้นที่ 20,457 ตารางเมตร ก่อนจะคืนพื้นที่ดังกล่าวแก่การท่าเรือและไปใช้ footsal stadium หลังใหม่บนพื้นที่ 10,473 ตารางเมตร ที่อยู่ต่อเนื่องกับ PAT Stadium เพื่อพัฒนาเป็น Academy ที่ครบวงจรในอนาคต

ผู้ถือครองที่ดินรวม 2,353 ไร่ สัญญาภายใต้ MOU โดยการท่าเรือจะสนับสนุนพื้นที่ สนามฟุตบอลแก่ บ.การท่าเรือ เอฟซี

สัญญาเช่าที่ดินของการท่าเรือ ผู้ เช่ า เ อ ก ช น รายย่อย


Fitness Service Parking Medical Away Operation Home Stand

Stand

Check Point Gathering

Pitch

Stand

Stand

Ticket

WC

WC Check Point

Ticket Cart Market Ticket Cart Market

Pitch Store

โปรแกรม พื้นที่ และความจุ (PROGRAM, AREA AND CAPACITY) สนามหญ้า (PITCH) 9,472.5 ตารางเมตร 1,000 seats

STAND A

STAND B

961.86 ตารางเมตร

1,800 seats

STAND C1

1,680 seats

695.37 ตารางเมตร

STAND C2

1,850 seats

672.02 ตารางเมตร

692.14 ตารางเมตร

พื้นที่สำ�หรับนักกีฬา และทีมงาน (PLAYER AND STAFF AREA) PLAYER AREA AND REFRESHMENT

FITNESS

MEDICAL AREA

111 + 111 ตารางเมตร

66 ตารางเมตร 22 ตารางเมตร

OPERATION ROOM

COMMUNICATION AND OFFICE

OBSERVATION AREA

VIP BOX

43 ตารางเมตร

93 ตารางเมตร

52.8 ตารางเมตร

35.6 ตารางเมตร

สาธารณูปการ (UTILITIES)

ตลาดนัด (SHOPPING CART MARKET)

GATHERING AREA

WC

TICKET ROOM

UNDER STAND C2

PETANGUE FIELD

84.8 ตารางเมตร

4 ตารางเมตร

565.2 ตารางเมตร

IN FRONT OF THE STADIUM

1,361 ตารางเมตร

STAND D

684 ตารางเมตร

1,260 seats 506.38 ตารางเมตร

Gathering


พัฒนาการของ PAT STADIUM

TIME LINE

พ.ศ. 2510

พ.ศ. 2552

พ.ศ. 2554

พ.ศ. 2556

STADIUM AREA PITCH : 9,472.5 ตารางเมตร STAND : 961.86 ตารางเมตร CAPACITY : 1,500 ที่นั่ง

STADIUM AREA PITCH : 9,472.5 ตารางเมตร STAND : 2,140.26 ตารางเมตร CAPACITY : 4,445 ที่นั่ง

STADIUM AREA PITCH : 9,472.5 ตารางเมตร STAND : 3,527.7 ตารางเมตร CAPACITY : 8,000 ที่นั่ง

STADIUM AREA PITCH : 9,472.5 ตารางเมตร STAND : 3,527.7 ตารางเมตร CAPACITY : 8,000 ที่นั่ง

PAT Stadium พัฒนาขึ้นจากสนามใน Club house เพื่อเจ้าหน้าที่ การท่าเรือได้ใช้ออกกำ�ลังกาย จนกระทั่งมีการก่อตั้งสโมสรฟุตบอล การท่าเรือแห่งประเทศไทยในปี พ.ศ. 2503 เพื่อจัดการแข่งขันใน ระดีบถ้วยพระราชทาน ก. โดยยุคนั้นสโมสรฟุตบอลส่วนใหญ่อยู่ ภายใต้การสนับสนุนของหน่วยงานรัฐ และรัฐวิสาหกิจ จึงมักมีการ ก่อสร้างอัฒจรรย์ฐาวรแก่สนามฟุตบอลภายในหน่วยงานต่างๆรวม ถึงการท่าเรือ Stand A สร้างขึ้นโดยคำ�นึงถึงการใช้งานภายใต้อัฒจร รย์ นั่นทำ�ให้อัฒจรรย์ถูกยกสูงขึ้น และมีห้องพักนักกีฬา ฟิตเนส ห้อง ปฐมพยาบาล และฝ่ายสนับสนุนอื่นๆอยู่ภายใน

การเติบโตของสโมสรในช่วง 40 ปีแรกทำ�ให้มีความผูกพันธ์ระหว่าง สโมสรฟุตบอลกับเจ้าหน้าที่การท่าเรือ และชาวชุมชนคลองเตย แรง สนับสนุนที่มากขึ้นเป็นผลให้มีความต้องการความจุสนามที่สูงขึ้นเพื่อ รองรับผู้ชมจำ�นวนมาก โดยขยายอัฒจรรย์บริเวณฝั่งตรงข้ามของ Stand A และ ทางทิศตะวันออกเป็น Stan D โครงสร้างที่ใช้เป็น โครงสร้างจากท่อเหล็กประกอบ ทำ�ให้มีน้ำ�หนักเบา และสามารถ เคลื่อนย้ายได้ตามต้องการ ช่วยให้ประหยัดงบประมาณ และสามารถ ปรับเปลี่ยนได้ตามความต้องการของอนาคต

การปรับเปลี่ยนการแข่งขันจากถ้วยพระราชทาน ก. มาเป็นการ แข่งขันระบบ Thai Premier League นำ�มาสู่การจดทะเบียน นิติบุคคลของสโมสรฟุตบอลแห่งต่างๆ และเกิดสโมสรฟุตบอลท้อง ถิ่นขึ้นมากมาย ความนิยมในการรับชมกีฬาฟุตบอลสูงขึ้นอย่างไม่ เคยเป็นมาก่อน สนามหลายแห่งต้องต่อเติมให้มีความจุมากขึ้น แม้ กระทั่ง PAT Stadium เองก็ถูกต่อขยาย Stan B ทางทิศตะวันตก และ Stan C2 เหนือชั้น C1 โดยการการติดตั้งที่นั่ง สนามมีความจุ สูงถึง 12,000 ที่นั่ง

ในการแข่งขันช่วงฤดูกาล 2554 - 2555 สนามฟุตบอล PAT Stadium ประสบปัญหาด้านการใช้งานอันเนื่องมาจากแสงสว่างที่ส่องมายัง สนามหญ้าไม่เพียงพอ จนทำ�ให้มีหลายนัดแข่งขันต้องเลื่อนเวลาการ แข่งขันจาก 18:00 น. มาเป็น 17:00 น. เพื่อให้ยังพอมีแสงสว่างเพียง พอ จากปัญหาดังกล่าวทำ�ให้สโมสรต้องลงทุนติดตั้งระบบไฟส่อง สว่างแบบเสาไฟจำ�นวน 4 จุดรอบสนาม ให้ความสว่างที่ 1,200 LUX ซึ่งในปัจจุบันนับว่าตำ�่และควรได้รับการพัฒนาในอนาคต


สภาพการณ์ 06

05

04 03

01

02

การเข้าถึง (ACCESSIBILITY)

01

02

03

04

05

06


สภาพการณ์

12 11

08 10

09 07

ตลาดนัด (CART MARKET)

07

08

09

10

11

12


สภาพการณ์

18

17 16

15

14 13

รอบอาคาร (SUROUNDING)

13

14

15

16

17

18


สภาพการณ์

20 19

24

23 21

22

สเตเดียม และโครงสร้าง (STADIUM AND STRUCTURE)

19

20

21

22

23

24


สภาพการณ์

27 29 30 28

26

25

ก่อนการแข่งขัน และขณะแข่งขัน (BEFORE MATCH AND MATCH)

25

26

27

28

29

30


สภาพการณ์

33 32 36 35

31

34

การแข่งขัน และหลังการแข่งขัน (MATCH AND AFTER MATCH)

31

32

33

34

35

36


VIEW : FACADE

VIEW : STAND AND PITCH


VIEW : BEFORE MATCH

VIEW : MATCH


SITUATION DRAWING - PAT SATDIUM

Scale NTS


การเข้าถึง (ACCESSIBILITY)

LEGEND :

Car and Motercycle

Walk


ZONING

ZONING : GROUND FLOOR

LEGEND :

Pitch

Stand

Office

Player area

Fitness

Medical room

Storage

ZONING : STAND

Ticket

Cart market

Check point

WC

Operation

VIP Box

Residence

Store


LEGEND :

การสัญจร (CIRCULATION )

CIRCULATION : GROUND FLOOR

CIRCULATION : STAND

Local Fan and Audience

Visitor Fan and Audience

Staff


Security, Crowd control, Fencing

ระบบรักษาความปลอดภัย (SECURITY SYSTEM)

SECURITY SYSTEM : GROUND FLOOR

LEGEND :

Local Fan and Audience

SECURITY SYSTEM : STAND

Visitor Fan and Audience

Staff

Fencing

Check point


EXISTING SITUATION

EVERY DAY - TRAINING

FOOTBALL MATCH

CONCERT



สโมสรการท่าเรือ เอฟซี และแฟนบอลการท่าเรือ PORT FOOTBALL CLUB 1967 & PORT FOOTBALL FAN CLUB เขตคลองเตย, กรุงเทพมหานคร


การท่าเรือและฟุตบอล (2510 - 2563)

ยุคสโมสรรัฐวิสหกิจ - ในช่วง 60 ปีที่แล้ว กี ฬ าฟุ ต บอลเป็ น การแข่ ง ขั น ที่ นิ ย มในกลุ่ ม ข้าราชการ รัฐวิสาหกิจ และเอกชนรายใหญ่ การท่าเรือเองก็เป็นหนึ่งในองค์กรที่สนับสนุน ให้เกิดสโมสรฟุตบอล และผลักดันจนสามารถ สร้างทีมเข้าสู่การแข่งขันในรายการแนวหน้า ของไทยได้ บทบาทในช่วงแรกสโมสรยังคง

ฤดูกาลแรกที่เข้าแข่งขันในระดับถ้วยพระราชทาน ก. และได้รับชัยชนะตั้งแต่ปีแรกที่เข้าแข่งขัน

2510 2510 ง

ยึดโยงกับเจ้าหน้าที่ของการท่าเรือ ผ่านการ บริ ห ารร่ ว มกั น ระหว่ า งบอร์ ด ผู้ บ ริ ห ารกั บ สหภาพแรงงาน ตราสัญลักษณ์ก็จะยังคงมี ความคล้ายคลึงหน่วยงานรัฐ ก่อร่างสร้างตัว จากการรวมทีมเจ้าหน้าที่ฝีเท้าเก่ง จนถึงจุด สู ง สุ ด ที่ มี ก ารรั บ สมั ค รคั ด ตั ว นั ก เตะพร้ อ มให้ ตำ�แหน่งงานในการท่าเรือ สำ�หรับนักกีฬาแล้ว

2511 ง

2512 ง

กำ�เนิดสโมสรในนาม “สโมสรการท่าเรือแห่งประเทศไทย” ประธานสโมสร : พลตรีประจวบ สุนท รางกูร (ยศขณะนั้น) ได้รับชัยชนะในระดับถ้วยพระราชทาน ง. 3 สมัยซ้อน (2510-2511-2512)

2513

2513 ก

2510-????

2515 ก

2517 ก

2520 ก

ยุคเปลี่ยนผ่าน - ต่อมาสโมสรยุบรวมทีม ก. ข. ค. และง. เป็นสโมสรหลักเพื่อเข้าแข่งขันระดับ ลีกอาชีพ การเชียร์ฟุตบอลกลายเป็นกิจกรรม ของย่านคลองเตยที่คนในชุมชนโดยรอบต่างให้ ความสนใจ และก่อตัวขึ้นเป็นกลุ่มแฟนบอลที่ อาศัยใกล้ๆกัน มีจุดนัดพบและขับจักรยานยนต์ มายั ง สนามพร้ อ มกั น เป็ น คาราวานกองเชี ย ร์

การท่าเรือได้ให้โอกาสในชีวิตของพวกเขาทั้งใน ด้านกีฬา และอาชีพที่มั่นคง การแข่งขันยังเป็น ส่วนหนึ่งของกิจกรรมสันทนาการขององค์กร โดยมงบสนั บ สนุ น เพื่ อ จั ด หาอาหาร-เครื่ อ ง ดื่ม และจัดจ้างแตรวงมาให้ความบันเทิงขณะ แข่งขัน เป็นบรรยาการของการพักผ่อน และ เชียร์เพื่อนร่วมงานแข่งขัน

ได้ รั บ ชั ย ชนะระดั บ ถ้ ว ยพระราช ทานควีนสคัพ 3 สมัยซ้อน (25212523) โดยมีปี 2521 - 2522 ได้รับ ตำ�แหน่งชนะเลิศร่วม 2521-2523 2521 2522 ก

Q

2521

2519-2522 จุ ด สู ง สุ ด ของสโมสรในการได้ รั บ ชัยชนะระดับถ้วยพระราชทาน ก. 3 สมัยซ้อน (2520-2521-2522) ในช่วงนี้นักเตะไม่ได้จำ�กัดอยู่เพียงแต่ เจ้าหน้าที่การท่าเรือ แต่มีการว่าจ้าง นักกีฬาอาชีพมาเสริมทัพ พร้อมเสนอ ตำ�แหน่งงานในการท่าเรือ

Q

2522

สมาคมฟุตบอลแห่งประเทศไทยฯ มี น โยบายจั ด การแข่ ง ขั น ฟุ ต บอล อาชีพในนาม “ไทยแลนด์เซมิโปร ลีก” โดยให้สโมสรที่แข่งขันใน ระดับถ้วยพระราชทาน ก.เป็นทีม ยืนในการแข่งขัน 2534

Q

2528

2523

Q

2530

2533 ก

ตราสั ญ ลั ก ษณ์ เ ปลี่ ย นจากสิ่ ง ที่ นิ ย ามถึ ง การ ท่าเรือไปเป็นสิงห์ที่มีภาพสะท้อนอุดมคติหรือ ตัวตนของสโมสร พฤติกรรมดังกล่าวปรากฎใน หลายสโมสรของอังกฤษที่มีพื้นฐานมาจากแฟน บอลชนชั้นแรงงานที่มักแสดงออกด้วยท่าทีที่ ดุดัน รุนแรง และหยาบคาย ความซั บ ซ้ อ นทางธุ ร กิ จ ทำ � ให้ ฟุ ต บอลเป็ น

ปรับโครงสร้างการบริหารโดยจดทะเบียน “บจก. สโมสรฟุตบอลท่าเรือไทย” โดยนายพิเชษฐ์ มั่นคง เป็นประธานสโมสร และเป็นปีเดียวกับที่สโมสร ชนะเลิศถ้วยเอฟเอคัพ ซึ่งเว้นระยะเวลากว่า 16 ปี จากถ้วยพราราชทางควีนสคัพ

มากกว่าเพียงการแข่งขันกีฬา แต่ยังมีเรื่องของ ระเบียบข้อบังคับจากสมาคม การบริหารเงิน สนับสนุน ตลาดซื้อขายนักเตะ สินค้า ลิขสิทธ์ การถ่ายทอดสด และอื่นๆที่ทำ�ให้ต้องแยกส่วน การบริหารให้มีอิสระคล้ายเอกชน ภายใต้การ กำ�กับดูแล และงบสนับสนุนจากการท่าเรือ นักเตะการท่าเรือยุคโค้ชเตี้ย นำ�ทีมโดย อิทธิพล นนสิริ , พงษ์พิพัฒน์ คำ�นวณ , รังสรร เอี่ยมวิโรจน์ และพิพัฒน์ ต้นกัณญา เป็ น ยุ ค แห่ ง การพิ สู จ น์ ต นเองของเหล่ า นั ก เตะ เพราะในเวลานั้น การท่าเรือไม่ใช่สโมสร แนวหน้า และมีนักเตะดาวดัง แต่ได้สร้าง มาตรฐาน และลีลาการเล่นที่เป็นที่ประทับใจ ด้วยความใจสู้ ไม่กลัวเหนื่อย ไม่กลัวเจ็บ ทั้ง เล่นในเกม ทั้งกระตุ้นแฟนบอลให้เชียร์ เป็น ทีมรองที่สามารถสร้างปาฏิหารในการชนะ ทีมหัวตารางได้บ่อยครั้ง

2552

Q

2536 ????-2551

ถ้วยพระราชทาน ค. และง.

2539 ปรับรูปแบบการแข่งขันสู่ระบบ League ในนาม “ไทยลีก” สโมสรการท่าเรือแห่งประทศไทยจบ อันดับที่ 11 จาก 18 สโมสร

FA

2552

2556-2557

2555 ทีมนักเตะชุดชิงถ้วยพระราชทาน ง.

2552-2555

ที ม นั ก เตะยุ ค บุ ก เบิ ก ไทยลีก

ป้ายเชียร์โดย มิตซูบิชิ มอเตอร์ส นิวัฒน์ ศรีสวัสดิ์ (น้าต๋อง) ผู้ริเริ่มตราโลมาโหม่งบอล และหนึ่งในตำ�นานนักเตะการท่าเรือและทีมชาติไทย

พนักงานการท่าเรือ และท่าเรือกรุงเทพ

เจษฎาพรณ์ ณ พัทลุง (น้าเจษ) เทพบุตรแดนใต้ กองหน้าคู่ ขวัญกับน้าต๋อง ผู้ร่วมสร้างตำ�นานการท่าเรือยุครุ่งเรืองสูงสุด

อ่อง ตัน ตัน นักเตะ ชาวเมียนมา อีกหนึ่ง นักเตะต่างชาติ ที่เป็น ตำ�นาน และที่ยอมรับ ของชาวท่าเรือ

ทีมการท่าเรือ ปี2553 ชุดแชมป์โตโยต้า ลีกคัพ2010 นำ�ทีมโดยยอดโค๊ช ‘สะสม ภพประเสริฐ” ตอนนั้น ทีมการท่าเรือ มีประการหลังที่แข็งแกร่งอย่าง ‘มอย ซี่” และ ‘มารีโอ้” ทั้งยังมีนายทวารจอมเซฟอย่าง ‘อูริค มูเซ่”

เปลี่ยนชื่อเป็นสโมสรฟุตบอลสิงห์ท่าเรือ เปลี่ยน คณะฝึกสอนและบริหารเกือบทั้งคณะ โดยมี พล.ต.ท.คำ�รณวิทย์ ธูปกระจ่าง เป็นประธาน กิตติมศักดิ์ และ นพ. ทรง วงศ์วานิช เป็น ประธานสโมสร โดยในปีนั้น สโมสร ซึ่งทำ�การ แข่งขัน ดิวิชั่น 1 2556 ทำ�ผลงานได้อย่างน่า ประทับใจ โดยจบด้วยตำ�แหน่งรองชนะเลิศ ได้ สิทธิ์เลื่อนชั้นไปแข่งขันไทยลีกอีกครั้ง


ยุคธุรกิจฟุตบอล - ตั้งแต่เข้าสู่ยุคไทยลีก ผล งานของสโมสรการท่ า เรื อ ก็ ไ ม่ เ คยได้ ก ลั บ ไป แตะจุดสูงสุดของวงการอีกเลย และบ่อยครั้ง ที่ต้องตกชั้นไปแข่งในดิวิชั่นรอง ถึงแม้ว่าแฟน บอลจะยังคงเหนียวแน่น แต่พวกเขาก็ก่อ ปัญหาความรุนแรง จึงเป็นปัญจัยที่ทำ�ให้โดน ตัดแต้มจำ�นวนมาก สถานการณ์เช่นนี้สร้าง

คำ � ถามถึ ง บทบาทของการท่ า เรื อ ต่ อ สโมสร ว่าควรสนับสนุนต่อไปหรือไม่ แต่แฟนบอล ก็ใช้ความพยายามในการเรียกร้องจนสโมสร สามารถดำ�เนินการต่อไปได้ ด้วยนูปแบบการ บริหารโดยจัดตั้ง บจก. ขึ้นมาบริหารด้าน นักกีฬาและการจัดการแข่งขัน ส่วนการท่าเรือ จะสนับสนุนในด้านสถานที่ และเงินทุนบาง

ทีมสโมสรฟุตบอลสิงห์ท่าเรือ ปี 2556 ดีวีชั่น1 มียอดนักเตะอย่าง เรนันโดร , เกียรติเจริญ เรืองปาน , สราวุธ คงเจริญ เป็นกำ�ลังหลักในยุคนั้น

คณะกรรมการการท่าเรือแห่งประเทศไทยได้ มีมติ หลังจากที่ผู้บริหารชุดเดิม ได้คืนสิทธิ์ให้ ได้จัดตั้ง “บจก.การท่าเรือ เอฟซี” เข้ามา บริหารแทนเพื่อแข่งขันใน ไทยลีก 2558 โดย มี พล.ร.อ.อภิชาติ เพ็งศรีทอง เป็นประธาน สโมสร 2557

งานแถลงข่าวเปิดตัวสโมสรการท่าเรือเมืองไทยประกันภัย, 2558

งานแถลงข่าวเปิดตัวสโมสรการท่าเรือ, 2559

“เป็นช่วงเวลาที่นากลำ�บากที่สุดของสโมสร เพราะเหตุ ป ะทะกั บ แฟนบอลเมื อ งทอง และปัญหาวินัยนักเตะ ทำ�ให้สโมสรถูกตัด แต้ ม อย่ า งเรี ย กได้ ว่ า ยากจะกลั บ มาแข่ ง ใน ลีกสูงสุดอีกในปีถัดไป การคืนสิทธิ์น�ำ มาสู่ แนวคิดในการยุติบทบาทของสโมสร และ ยกเลิกการใช้สนามแพทสเตเดียม แต่ด้วย การต่อสู้เรียกร้องของแฟนบอล และหาร พูดคุยของผู้บริหารเป็นผลให้ยังสามารถหา ทางออกให้แก่สโมสรโดยการจัดตั้ง บจก.ขึ้น มาบริหารแทน”

2558 นวลพรรณ ลำ�่ซำ� ผู้จัดการทีม ฟุตบอลหญิงทีมชาติไทย ได้ ร่ ว มทำ � สั ญ ญาและเข้ า มาบริ ห าร สโมสร จึงได้เปลี่ยนชื่อใหม่เป็น “สโมสรฟุ ต บอลการท่ า เรื อ เมื อ ง ไทยประกันภัย” รวมไปถึงเปลี่ยน ตราสั ญ ลั ก ษณ์ แ ละฉายาใหม่ เ ป็ น “อาชาท่าเรือ”

53 AND COUNTING

ส่วน ตั้งแต่ก่อตั้งจนถึงปัจจุบัน จะเห็นได้ ว่ า บทบาทความสั ม พั น ธ์ ข องการท่ า เรื อ และ สโมสรค่อยๆลดบทบาทลงอย่างเห็นได้ชัด ทั้ง ที่ประวัติศาสตร์ตลอด 50 ปีของสโมสรการ ท่ า เรื อ ก็ เ ป็ น หนึ่ ง ในเรื่ อ งราวความภาคภู มิ ใจ ขององค์ ก รที่ ไ ด้ มี ส่ ว นสำ � คั ญ ในการพั ฒ นา วงการฟุตบอลไทยมาอย่างต่อเนื่อง แต่ต่อมาในวันที่ 21 กุมภาพันธ์ ปี เดียวกัน ได้ขอเปลี่ยนชื่อทีมใช้แบบ เดิมในชื่อ “สโมสรฟุตบอลการ ท่าเรือ” แต่ผลงานของสโมสรกลับ ไม่ดี โดยตกชั้นในอันดับที่ 17 ของ ตาราง จนต้องลงไปเล่นในลีกดิวิชั่น รอง นับว่าเป็นการเปิดตัวที่ไม่ดีนัก ของมาดามแป้งในการเข้ามาบริหาร เกิดแรงกดดันจากแฟนบอลทั้งจาก การเข้ามาเปลี่ยนแปลงโลโก้ เป็น รูปม้า และผลงานที่ออกมาไม่ดี แต่เมื่อมาดามแป้งปรับบทบาทใน การรับฟังแฟนบอลมากยิ่งขึ้น ยอม เปลี่ยนโลโก้ และวางยุทธศาสตร์ใน การบริหารทีมที่มีประสิทธิภาพมา ขึ้น ทำ�ให้ภายในเวลาแค่ปีเดียวก็ สามารถกลับมาสู่การแข่งขันในลีก สูงสุกได้อีกครั้ง พร้อมปรับเปลี่ยน โลโก้ และฉายาให้เป็นไปตามความ ต้องการของแฟนบอล เป็นจุดเริ่ม ต้นในการสร้างการยอมรับ ซึ่ง เป็นส่วนสำ�คัญในการพัฒนาทีมใน อนาคต

YEARS

PORT FOOTBALL CLUB 1967

ในฤดูกาล 2559 ที่สโมสรลงไป ทำ�การแข่งขันในดิวิชั่น 1 สโมสร ก็สามารถเลื่อนชั้นสู่ไทยลีกอีกครั้ง โดยจบด้วยอันดับที่ 3 ในปีนั้นมีการ เปลื่ยนแปลงตราสโมสร โดยกลับ มาใช้รูปสิงห์อีกครั้ง รวมไปถึงการ กลับมาใช้ฉายา “สิงห์เจ้าท่า” การเป็ น ที่ ย อมรั บ โดยแฟนบอล ทำ � ให้ เ มื่ อ มาดามแป้ ง พยายามขอ ความร่ ว มมื อ ในการป้ อ งกั น ความ รุนแรง และความประพฤติของแฟน บอล ก็ได้รับการตอบรับเป็นอย่างดี จนสามารถปลดรั้วตาข่ายที่กั้นอัฒจรรย์กับสนามลงได้ส�ำ เร็จ

รางวัลชนะเลิศถ้วย Chang FA Cup 2019

การแข่งขันนัดชิงชนะเลิศกับสโมสรราชบุรี มิตรผล เอฟซี

กลับสู่การเป็นสโมสรชั้นนำ�ของไทย โดยทำ�ผลงานปี 2560 จบอันดับที่ 9 ในไทยลีก ปี 2561 จบอันดับที่ 3 ในไทยลีก และปี 2562 จบอันดับที่ 3 ในไทยลีกพร้อมชนะเลิศถ้วยช้าง เอฟเอคัพ หลังจากห่างหายจากการ ได้รางวัลมากว่า 10 ปี

2559

2562

2559-ปัจจุบัน

FA

2562

2558 นวลพรรณ ลำ�่ซำ� ประธานกรรมการผู้จัดการ บ.เมืองไทยประกันภัย และเมืองไทยประกันชีวิต


คณะบริหาร, พ.ย. 2563 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558 นวลพรรณ ลำ�่ซำ� (มาดามแป้ง) ผู้จัดการทีมชาติฟุตบอลหญิง (ตำ�แหน่ง ณ ขณะนั้น) ได้ ลงนาม MOU ร่วมกับการท่าเรือแห่งประเทศไทย ในการ อนุมัติสิทธิ์การบริหารสโมสรการท่าเรือ เอฟซี ภายใต้ บจก. การท่าเรือ เอฟซี เป็นกรอบเวลา 4 ปี โดยถึงแม้ว่า ในระยะแรกของการเข้าบริหารจะพาสโมสรตกชั้นไปเล่น ลีก T2 แต่ก็สามารถนำ�สโมสรกลับมาแข่งในไทยลีก (T1) ในปีต่อมา และสามารถทำ�ผลงานจบอันดับ 3 ได้ก่อนการ สิ้นสุดสัญญา จากผลงานที่เป็นที่ยอดเยี่ยม และมาตรการ การแก้ไขปัญหาความรุนแรงของแฟนบอลได้อย่างเห็น ผล ทำ�ให้ในเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2562 ได้มีการลงนาม MOU เพื่อขยายสัญญาการบริหารสโมสรไปอีก 5 ปี

ดร. องอาจ ก่อสินค้า, ผู้จัดการทีม

จเด็จ มีลาภ, ประธานฝ่ายเทคนิค และรักษาการหัวหน้าผู้ ฝึกสอน

ณ วันที่ 13 ม.ย. 2563

นวลพรรณ ลำ�่ซ�ำ , ประธานสโมสร (2558 - ปัจจุบัน) สีชุดทีมเหย้า

สีชุดทีมเยือน

สีชุดที่สาม

ตราสัญลักษณ์ (Logo) พวกเราคือตำ�นาน “We Are The Legend” สโมสรการท่าเรือ เอฟ.ซี. เป็นสโมสรฟุตบอลที่อยู่คู่กับ ประเทศไทยมาอย่างยาวนาน เพื่อย้อนรำ�ลึกถึงความ สำ�เร็จในอดีตที่ผ่านมา สโมสรฯ จึงนำ� “สิงห์” อันเป็น สัญลักษณ์ในอดีต มาเป็นจุดเริ่มต้นในการก้าวไปสู่ความ สำ�เร็จที่ยิ่งใหญ่อีกครั้ง สิงห์ที่จ้องมองไปข้างหน้าด้วย แวว ตาอันมุ่งมั่น เปี่ยมไปด้วยความน่าเกรงขาม ผู้ไม่เคยยอม แพ้ และฝ่าฟันกับทุกอุปสรรคที่ผ่านเข้ามา สมอเรือที่โอบ ล้อมสิงห์ สื่อให้เห็นถึงความมั่นคง หนักแน่น ในความเป็น ครอบครัวการท่าเรือ ทั้งสองสิ่งเชื่อมเกี่ยวกันด้วยความรัก จากแฟนบอล ผ่านผ้าพันคอแสดน้ำ�เงิน ที่เกี่ยวพันสมอ กับสิงห์เอาไว้ จากนี้ สโมสรและแฟนบอล จะร่วมกันสร้าง ตำ�นานแห่งความสำ�เร็จที่ยิ่งใหญ่อีกครั้ง

สีประจำ�สโมสร จากคำ�บอกเล่า คู่สีดังกล่าวเกิดขึ้นโดยบังเอิญจากขณะที่ นิวัฒน์ ศรีสวัสดิ์ (น้าต๋อง) เดินทางไปยังประเทศเกาหลีใต้ แล้ ว พบผ้ า สี ดั ง กล่ า วจึ ง ซื้ อ กลั บ มาแล้ ว ตั ด เย็ บ เป็ น ชุ ด นักกีฬา จนแฟนบอลจึงเข้าตา และเป็นที่ชื่นชอบในเวลา ต่อมา

SPONSOR

ข้อมูลจาก : บจก. การท่าเรือ เอฟซี, 2562


ทีมนักกีฬาภายใต้การสนับสนุนของการท่าเรือแห่งประเทศไทย PORT FCB PORT F.C. ทีมฟุตบอลชุดใหญ่ League : Thai League 1

ทีมฟุตบอลชุดรอง League : T4 (Division 4)

ทีมนักกีฬาฟุตบอลชุดใหญ่ ที่เป็นแกนหลักของสโมสร ปัจจุบันมีจำ�นวนนักเตะกว่า 81 คน และติดทีมชาติกว่า 6 คน มีพัฒนาการต่อเนื่องมาตั้งแต่การยุบรวมทีม ก ข ค และง ในอดีตเป็นสโมสรฟุตบอลอาชีพ เป็นหนึ่งในทีมที่มี ค่าตัวสูงสุดในวงการฟุตบอลไทย และเป็นที่นิยมของเหล่า แฟนบอลจนเกิดวัฒนธรรมดารานักเตะที่ได้รับความนิยม เช่นนักเตะต่างชาติ หรือนักเตะทีมชาติ

ทีมนักกีฬาฟุตบอลชุด B หลายคนเติบโตมาจาก Academy และใช้โอกาสในการเล่นในทีมเล็กเพื่อพัฒนาฝีมือเพื่อขยับ ขึ้นเล่นในทีมใหญ่ในอนาคต มีบทบาทเป็นทีมเพื่อสร้างนัก เตะหน้าใหม่ให้มีโอกาสได้แสดงฝีมือ สร้างผลงานให้สโมสร และสามารถเป็นรายได้แก่สโมสรเมื่อสามารถขายนักเตะได้ นับได้ว่าเป็นกำ�ลังสำ�คัญในการพัฒนาสโมสรอย่างยั่งยืน

ACADEMY PORT F.C.

PORT F.C. - E SPORT

PORT FOOTSAL CLUBb ASM

ตามข้อกำ�หนดของ FIFA สโมสรฟุตบอลต้องให้การ สนับสนุนการศึกษา และฝึกฝนเยาวชนเพื่อเติบโตมาเป็น นักกีฬาที่มีคุณภาพ โดยสโมสรการท่าเรือได้ท�ำ MOU ร่วม กับโรงเรียนปทุมคงคา โดยให้การสนับสนุนทั้งทีมสตารฟ โค้ชเพื่อฝึกซ้อม และองค์ความรู้ทางวิทยาศาสตร์การกีฬา โดยโรงเรียนจะรับหน้าที่ในการบริหารตารางการฝึกซ้อมให้ สัมพันธ์กับการเรียนในระบบ

เป็นทีมหน้าใหม่ของสโมสรที่เปิดตัวในช่วงต้นปีพ.ศ. 2563 เพื่อเข้าแข่งขันในรายการ Toyota E-League โดยปัจจุบัน หลายสโมสรชั้นนำ�ของไทยต่างก็มีทีม E-Sport เป็นของ ตนเอง โดยแข่งขันในนามสโมสร สำ�หรับวงการฟุตบอลไทย ยังนับว่าพึ่งเริ่มต้น แต่ในวงการฟุตบอลยุโรปแล้วการขับเขี้ยวของสโมสรชั้นนำ�ในรายการ E-Sport นับว่าเข้มข้นไม่ แพ้นักกีฬาจริง และยังมีฐานแฟนคลับที่จ�ำ นวนไม่น้อย

ทีมฟุตซอลเป็นอีกหนึ่งกีฬาที่การท่าเรือให้การสนับสนุน เป็นอย่างดีทั้งในด้านของงบประมาณและสถานที่ เรียกได้ ว่ามีผลงานเป็นสโมสรฟุตซอลอันดับหนึ่งของไทย ทั้งยัง เป็นตัวแทนประเทศในการแข่งขันระดับนานาชาติ ใช้โกดังสเตเดียมเป็นสนามเหย้า เป็นสโมสรพี่-น้องการฟุตบอล เพราะมักเอื้ออำ�นวยการใช้สถานที่ทำ�กิจกรรม และมีกอง เชียร์ร่วมกัน

ทีมเยาวชนร่วมกับโรงเรียนปทุมคงคา

ทีม e-sport League : Toyota E- League

ทีมฟุตซอล League : Footsal Thai League 1


ตารางการฝึกซ้อมของ PORT FC ทีมหลัก (TRAINING SCHEDULE) *กรณีแข่งขันนัดสุดสัปดาห์

1

1 2

3 4

2

อาทิตย์ Relaxing Day

จันทร์ Restoring Day

วันพักผ่อนนักกีฬา ตลอดทั้งวันไม่มีนัดหมายเพื่อให้นักกีฬา ได้พักผ่อนอย่างเต็มที่ นักกีฬาที่บาดเจ็บ อยู่ภายใต้การดูแลของทีมแพทย์อย่างต่อ เนื่อง

ฟื้นฟูสภาพร่างกายนักกีฬา 1

2

3

9:00 - 12:00 เน้นการฟื้นฟู กล้ า มเนื้ อ ด้ ว ยการบริ ห ารยื ด เหยียดและสังเกตกล้ามเนื้อส่วน ต่างๆ (Fitness First) 13:00 - 17:00 ว่ายนำ�้ วิ่งเบาๆ รอบสนามหรื อ หากมี ค วาม พร้ อ มอาจมี ก ารฝึ ก วิ่ ง จั บ เวลา สำ�รวจอาการบาดเจ็บเพิ่มเติม 17:00-19:00 นักกีฬาบางส่วน แยกไปทำ�หน้าที่ฝึก Academy (โรงเรียนปทุมคงคา)

อังคาร Testing Day

ตรวจสอบสมรรถภาพร่างกายนักกีฬา 1

2

3

3

9:00 - 12:00 เน้นฝึกความ แข็ ง แกร่ ง ของกล้ า มเนื้ อ มั ด สำ�คัญ และ Streght Test เพื่อ กำ�หนดแนวทางการฝึก 13:00 - 17:00 แยกฝึกตาม ความผิดพลาดที่เกิดขึ้นจากเกม นัดล่าสุดเพื่ออุดช่องว่างของเกม 17:00-19:00 นักกีฬาบางส่วน แยกไปทำ�หน้าที่ฝึก Academy (โรงเรียนปทุมคงคา)

พุธ Practice Day

2

5

1

1

พฤหัสบดี Conclusion Day

ศุกร์ Preparing Day

ฝึกความคล่องตัว และซ้อมแผนการเล่น สรุปผลการฝึกซ้อม และประกาศผล 11 ทดสอบความฟิตเพื่อประกอบการตัดสิน ตัวจริง ใจของโค้ช 1

2

3

9:00 - 12:00 ฝึกความ คล่องแคล่วของร่างกาย ความ รวดเร็ว เช่น Four Line Sprit หรือ Zigzag Run 13:00 - 17:00 ซ้อมแผนการ เล่นที่จะใช่ในนัดถัดไป ประเมิน 11 ตัวจริง จะเป็นวันที่ได้ลงเกม เต็มรูปแบบกับตัวสำ�ลอง 17:00-19:00 นักกีฬาบางส่วน แยกไปทำ�หน้าที่ฝึก Academy (โรงเรียนปทุมคงคา)

1

2

3

9:00 - 12:00 ประชุมซักซ้อม แผนการเล่นนัดต่อไป เปิด โอกาสให้นักเตะได้ใช้ความคิด สร้างสรรค์ทดลองวางแผนทีม 13:00 - 17:00 ประชุมสรุปผล การฝึกซ้อม ประกาศชื่อ 11 ตัว จริง บอกความคาดหวังของโค้ช 17:00-19:00 นักกีฬาบางส่วน แยกไปทำ�หน้าที่ฝึก Academy (โรงเรียนปทุมคงคา)

1

2

9:00 - 12:00 ทดสอบความฟิต ของ 11 ตัวจริง เพื่อประกอบ การตัดสินใจครั้งสุดท้ายของโค้ช เน้นที่การทดสอบความเข้มแข็ง ของระบบหมุนเวียนโลหิต และ การหายใจ 13:00 - 17:00 เปิดโอกาสให้พัก ผ่อนตามอัธยาศัย และกิจกรรม เพื่อสานสัมพันธ์ของทีม และ ต้องพักผ่อนให้เพียงพอ

เสาร์ Match Day

ยืดเหยียดกล้ามเนื้อ แข่งขัน และสรุป ภาพรวม 1 2

3

4 5

9:00 - 12:00 อบอุ่นกล้ามเนื้อ 15:00 - 17:00 นักกีฬาเก็บ ตัว ซักซ้อมแผนการเล่น เปลี่ยน เครื่องแต่งกาย 17:00 - 17:40 นักกีฬาตัวจริง อบอุ่ น ร่ า งกายและซ้ อ มตาม ตำ�แหน่ง ตัวสำ�ลองเล่นลิงชิงบอล 18:00-19:50 ลงสนามแข่งขัน 20:00 - 21:00 สรุปภาพรวมการ แข่งขัน แยกนักกีฬาบาดเจ็บพบ ทีมแพทย์


การใช้งานสนามซ้อมของทีม B และเจ้าหน้าที่การท่าเรือ *กรณีแข่งขันนัดกลางสัปดาห์

3

2 3

อาทิตย์ Practice Day

2 3

1

1

1

2

9:00 - 12:00 ฝึกความ คล่องแคล่วของร่างกาย ความ รวดเร็ว เช่น Four Line Sprit หรือ Zigzag Run 13:00 - 17:00 ซ้อมแผนการ เล่นที่จะใช่ในนัดถัดไป จะเป็น วันที่ได้ลงเกมเต็มรูปแบบกับตัว สำ�ลอง

2 3

1

1

1

4

3

จันทร์ Conclusion Day

1

5

2

อังคาร Preparing Day

ฝึกความคล่องตัว และซ้อมแผนการเล่น สรุปผลการฝึกซ้อม และประกาศผล 11 ทดสอบความฟิตเพื่อประกอบการตัดสิน ตัวจริง ใจของโค้ช 1

2

9:00 - 12:00 ประชุมซักซ้อม แผนการเล่นนัดต่อไป 13:00 - 17:00 ประชุมสรุปผล การฝึกซ้อม 17:00-19:00 เจ้าหน้าที่การ ท่าเรือใช้สนามเล่นฟุตบอล

1

2

3

9:00 - 12:00 ทดสอบความฟิต ของ 11 ตัวจริง เพื่อประกอบ การตัดสินใจครั้งสุดท้ายของโค้ช เน้นที่การทดสอบความเข้มแข็ง ของระบบหมุนเวียนโลหิต และ การหายใจ 13:00 - 17:00 เปิดโอกาสให้พัก ผ่อนตามอัธยาศัย ต้องพักผ่อน ให้เพียงพอ 17:00-19:00 เจ้าหน้าที่การ ท่าเรือใช้สนามเล่นฟุตบอล

พุธ Match Day

ยืดเหยียดกล้ามเนื้อ แข่งขัน และสรุป ภาพรวม 1 2

3

4 5

9:00 - 12:00 อบอุ่นกล้ามเนื้อ 13:00 - 14:00 นักกีฬาเก็บ ตัว ซักซ้อมแผนการเล่น เปลี่ยน เครื่องแต่งกาย 14:00 - 14:40 นักกีฬาตัวจริง อบอุ่ น ร่ า งกายและซ้ อ มตาม ตำ�แหน่ง ตัวสำ�ลองเล่นลิงชิงบอล 15:00-16:50 ลงสนามแข่งขัน 17:00 - 18:00 สรุปภาพรวมการ แข่งขัน

ศุกร์ Restoring Day

พฤหัสบดี Relaxing Day

วันพักผ่อนนักกีฬา

1

ตลอดทั้งวันไม่มีนัดหมายเพื่อให้ นักกีฬาได้พักผ่อนอย่างเต็มที่ 17:00-19:00 เจ้าหน้าที่การ ท่าเรือใช้สนามเล่นฟุตบอล

ฟื้นฟูสภาพร่างกายนักกีฬา 1

2

3

9:00 - 12:00 เน้นการฟื้นฟู กล้ า มเนื้ อ ด้ ว ยการบริ ห ารยื ด เหยียดและสังเกตกล้ามเนื้อส่วน ต่างๆ 13:00 - 17:00 ว่ายนำ�้ วิ่งเบาๆ รอบสนามหรื อ หากมี ค วาม พร้ อ มอาจมี ก ารฝึ ก วิ่ ง จั บ เวลา สำ�รวจอาการบาดเจ็บเพิ่มเติม 17:00-19:00 เจ้าหน้าที่การ ท่าเรือใช้สนามเล่นฟุตบอล

เสาร์ Testing Day

ตรวจสอบสมรรถภาพร่างกายนักกีฬา 1

2

9:00 - 12:00 เน้นฝึกความ แข็ ง แกร่ ง ของกล้ า มเนื้ อ มั ด สำ�คัญ และ Streght Test เพื่อ กำ�หนดแนวทางการฝึก 13:00 - 17:00 แยกฝึกตาม ความผิดพลาดที่เกิดขึ้นจากเกม นัดล่าสุดเพื่ออุดช่องว่างของเกม


การใช้งานสนามแพทสเตเดียม และสนามซ้อมทำ�กิจกรรมอื่นๆของการท่าเรือแห่งประเทศไทย

2 3

4

1

5

1

2

4

ฟุตบอลกระชับมิตร การท่าเรือ - ศุลกากร - สมาคมชิปปิ้ง สมาคมผู้นำ�เข้า และส่งออก

ฟุตบอลสหภาพฯ การท่าเรือคัพ

PAT FOOTBALL ACADEMY

การแข่งขันฟุตบอลประจำ�ปี ดำ�เนินการ โดยสหภาพแรงงานการท่าเรือ เพื่อการ พักผ่อน ออกกำ�ลังกาย และให้ความ สำ�คัญกับสุขภาพแรงงาน

การท่าเรือแห่งประเทศไทย นำ�โดยผู้ ฝึ ก สอนและนั ก กี ฬ าการท่ า เรื อ ชื่ อ ดั ง จัดกิจกรรมจิตอาสาในโครงการ PAT Football Academy โดยฝึกสอน เทคนิ ค เบื้ อ งต้ น ให้ กั บ เยาวชนบริ เวณ ชุมชนรอบท่าเรือจำ�นวนกว่า 200 คนใน การเรี ย นรู้ ทั ก ษะการเล่ น ฟุ ต บอลขั้ น พื้นฐาน ทั้งนี้การท่าเรือจะจัดพิธีเปิด โครงการดังกล่าว อย่างเป็นทางการ ใน วันที่ 24 ธันวาคม 2559 โดยจะสอน ทุกวันเสาร์ เวลา 8.00-10.00 น. จนถึง เดือนกันยายน 2560 เป็ น กิ จ กรรมที่ ทำ � ให้ วั น หยุ ด ในการ ท่าเรือมีบรรยากาศที่คึกคักทั้งเด็กๆที่มา เรียน พ่อแม่ผู้ปกครองที่ต่างมารอลูก หลาน และร้านขายขนม-เครื่องดื่มที่มา พร้อมรอบริการ

การแข่งขันฟุตบอลกระชับความสัมพันธ์ และเลี้ยงสังสรรค์ ระหว่างหน่วยงานการ ท่าเรือฯ สำ�นักงานศุลกากร สมาคมชิป ปิ้งแห่งประเทศไทย สมาคมผู้นำ�เข้าและ ส่งออกสินค้าและตัวแทนเรือกรุงเทพฯ (BSAA) 2

3

โครงการจัดการแข่งขันกีฬาชุมชนสามัคคี ต่อต้านยาเสพติด การเปิดบ้านจัดการแข่งขันฟุตบอล และ แชร์บอลให้กับโรงเรียนบริเวณโดยรอบ การท่าเรือกรุงเทพ 6 โรงเรียน ได้แก่ โรงเรียนศูนย์รวมนำ�้ใจ โรงเรียนชุมชน หมู่บ้านพัฒนา โรงเรียนวัดคลองเตย โรงเรียนไทยประสิทธิศาสตร์ โรงเรียนวัด สะพาน และ โรงเรียนสามัคคีสงเคราะห์

ฟุตบอลอาวุโส สหภาพฯ ซึ่ ง นอกจากการแข่ ง ขั น ของเจ้ า หน้ า ที่ และแรงงานปัจจุบันแล้ว ยังเปิดโอกาส ให้ผู้ที่เกษียณอายุได้กลับมารวมตัวกัน จัดทีมแข่งขัน ทั้งได้ออกกำ�ลังกาย และ ได้กลับมาพบน้องๆในการท่าเรือ


การใช้งานสนามแพทสเตเดียม และสนามซ้อมตลอดรอบปี Openning Season Match

Big Match with Buriram Big Match with BG

Big Match with Muangthong

Big Match with BU

Match : 49 ครั้ง Training : 260 วัน Match : 15 ครั้ง Training : 270 วัน

Friendly Match Leo Pre Season Leo Pre Season Toyota Thai League.

ประเภทการใช้งาน PORT F.C. Toyota Thai League Leo Pre Season Chang FA Cup Friendly Match Training Concert and Events PORT F.C.B Omsin Thai League 4 Friendly Match Training ACADEMY PORT F.C. Training PORT THORITY OF THAILAND ฟุตบอลสหภาพฯ ท่าเรือคัพ ฟุตบอลกระชับมิตร PAT Football Academy Training กีฬาชุมชนสามัคคี

PAT Football Aca. Friendly Match Omsin Thai League 4

ม.ค.

ก.พ.

มี.ค.

เม.ย.

พ.ค.

มิ.ย.

ก.ค.

ส.ค.

ก.ย.

ต.ค.

พ.ย.

ธ.ค.


วัฒนธรรมฟุตบอล (FOOTBALL CULTURE) วัฒนธรรมแฟนคลับ (Fandom Culture)

สำ�หรับสังคมไทย นับว่ายังเป็นเพียงช่วงเริ่มต้น และก่อ ตัวของวัฒนธรรมแฟนคลับฟุตบอล แต่ต่างจากวัฒนธรรม ฟุตบอลยุโรป และอเมริกาใต้ที่ฝังรากลึกยาวนาน แต่ถึง อย่ า งไรก็ เ ป็ น ทิ ศ ทางที่ กำ � ลั ง พั ฒ นาไปอย่ า งต่ อ เนื่ อ งจน ปัจจุบันอาจกล่าวได้ว่าวัฒนธรรมแฟนคลับกลายเป็นส่วน หนึ่งของวัฒนธรรมมวลชน (Popular Culture) การก่อตัวของแฟนบอลในสังคมไทยไม่ค่อยแตกต่างจาก วัฒนธรรมแฟนคลับต่างชาติมากนักคือยึดโยงอยู่กับท้องถิ่น บ้านเกิดเมืองนอน หรือฟอร์มการเล่น แต่จากการสำ�รวจ แฟนบอลการท่าเรือนอกจากการเป็นชาวคลองเตย หรือชา วกทม.แล้ว สังคมของแฟนบอลการท่าเรือยังประกอบไป ด้วยชาวชนบทที่ย้ายถิ่นฐานมาทำ�งานในเมือง ด้วยอุปนิสัย ที่มีพื้นฐานมาจากชนชั้นกลาง และแรงงานทำ�ให้ไม่เป็นการ ยากที่พวกเขาจะสามารถทำ�ความรู้จักและสนิทสนมกัน ซึ่ง เป็นปัจจัยสำ�คัญในการตัดสินใจมาชมการแข่งขันอย่างต่อ เนื่อง เป็นกิจกรรมหนึ่งในการเข้าสังคม สังค์สรรค์ และพัก ผ่อนจนเป็นส่วนหนึ่งในวิถีชีวิตของคนกลุ่มนี้ อีกทั้งแฟน บอลในลักษณะเช่นนี้จะมีความผูกพันธ์กับสโมสร จะเป็น ส่วนสำ�คัญในความยั่งยืนของสโมสรฟุตบอลการท่าเรือ

วัฒนธรรมท้องถิ่นนิยม (Localism Culture) วัฒนธรรมดารานักเตะ (Football Star Cul- วัฒนธรรมดื่มเครื่องดื่มแอล์กอฮอล์ วัฒนธรรมความรุนแรง ปั จ จุ บั น นั บ ได้ ว่ า ฟุ ต บอลเป็ น วั ฒ นธรรมสากลที่ มี ค วาม ture) เมื่อมองจากวัฒนธรรมฟุตบอลทั่วโลกนับได้ว่าเครื่องดื่มแอล์ ความรุ น แรงกลายเป็ น คำ � ที่ ค นภายนอกนิ ย ามให้ กั บ สามารถในการยึดโยงแฟนบอลเข้ากับท้องถิ่นของตน มี คุณค่าถึงสามารถทำ�ให้เกิดความรัก และภาคภูมิใจในบ้าน เมืองที่ตนเกิด พำ�นัก หรือมีความผูกพันธ์ ในกรณีของสโมสรการท่าเรือ พบว่าไม่ใช่เพียงการยึดโยง แฟนบอลเข้ากับชุมชนคลองเตย แต่ยังปรากฎการจับ กลุ่มของแฟนบอลในท้องถิ่นอื่นๆ เช่น บางพลี พระราม 3 หรือชาวต่างจังหวัด เพราะฟุตบอลกลายเป็นพื้นที่สาน ปฏิสัมพันธ์ในบริบทเมือง ความสัมพันธ์เหล่านี้น�ำ มาสู่ กิจกรรมในกลุ่มของพวกเขาเช่น การไปร่วมงานบวช งาน แต่ง หรืองานศพ มีการนัดหมายจัดสังค์สรรในช่วงปิด ฤดูกาล และการแข่งขันฟุตบอลประเพณีระหว่างชุมชน โดยพื้นฐานแล้วเราจะสามารถพบวัฒนธรรมท้องถิ่นนิยมได้ ในสังคมชนบท แต่เพราะวัฒนธรรมฟุตบอลจึงมีส่วนช่วยให้ ปรากฎวัฒนธรรมเช่นนี้ขึ้นภายในสังคมเมือง หรืออีกนัยยะ หนึ่งคือวัฒนธรรมฟุตบอลมีส่วนช่วยในการประคับประคอง ให้ชาวชนบทสามารถดำ�เนินชีวิตในเมืองได้อย่างมีความสุข และมีคุณภาพ และยังสามารถสร้างพื้นที่ให้ชาวคลองเตย สามารถภูมิใจในตัวตนของตนเองได้เช่นกัน

ในทุกๆสโมสรมีความพยายามผลักดันให้นักกีฬาดาวเด่น เป็ น ที่ นิ ย มของแฟนบอลเพื่ อ การสนั บ สนุ น กลั บ มาสู่ ตั ว สโมสรเอง มีทั้งการปลุกปั้นนักกีฬาดาวเด่นขึ้นมาใหม่ หรือ การซื้อตัวนักกีฬาชื่อดังมาสังกัดสโมสร ในกรณีของการท่าเรือจะพบว่าเมื่อเทียบจากผลงานและ การทำ�ประตู นักเตะต่างชาติจะเป็นกำ�ลังหลัก และมีผล งานที่ดีกว่านักเตะไทย พวกเขาเป็นที่นิยมในกลุ่มแฟนบอล วัยทำ�งานและวัยรุ่น แต่ถึงอย่างไรความนิยมสูงสุดก็ยังคง อยู่ที่นักเตะไทยที่มีความสามารถติดทีมชาติตัวจริง และจะ เป็นที่รักของเหล่าผู้สูงอายุที่จะตะโกนเชียร์เหมือนลูกหลาน ตนเอง กับเด็กๆที่มีความฝันจะได้เตะให้ทีมชาติก็จะมอง พวกเขาเป็น Hero ท่ า ที ดั ง กล่ า วสะท้ อ นว่ า ดารานั ก เตะการท่ า เรื อ ไม่ ไ ด้ ถู ก สโมสรใช้ เ ป็ น สิ น ค้ า ทางวั ฒ นธรรมอย่ า งเด่ น ชั ด เท่ า กั บ วัฒนธรรมฟุตบอลตะวันตก แต่เน้นไปที่การสร้างความพึง พอใจแก่แฟนบอลผ่านการจัดกิจกรรม และมีระยะเวลาให้ แฟนบอลกับนักเตะได้มีปฏิสัมพันธ์กัน

กอฮอล์แทบจะเป็นส่วนหนึ่งในวิถีของการชมการแข่งขัน ฟุตบอล บางประเทศอนุญาตให้สามารถดื่มเบียร์ภายใน สนามได้ แต่สำ�หรับไทยยังคงเป็นข้อห้ามอยู่ เหตุสำ�คัญที่ ทำ�ให้เบียร์เป็นส่วนหนึ่งของการมาสนามฟุตบอลนั่นเพราะ การมาชมการแข่งขันมันไม่ใช่เพียงการชมสิ่งที่เกิดขึ้นภายใน สนาม แต่มันคือการพักผ่อน และสังค์สรรของเพื่อนฝูง และ คนรู้จัก แฟนบอลจำ�นวนมากมาถึงสนามก่อน 1-2 ชม.ก่อน การแข่ง เพื่อนั่งพักผ่อน ดื่มเบียร์ พูดคุยกันทั้งเรื่องชีวืต และ เรื่องฟุตบอล และจำ�นวนไม่น้อยก็อยู่สังค์สรรหลังจากจบ เกมอีก 1-2 ชม. เช่นกัน หลายคนนิยามว่าความสุขของการ มาสนามฟุตบอลคือการมาพบคนที่คุ้นเคย พูดคุยกันอย่าง ถูกคอ แค่มีเบียร์ก็ไม่จำ�เป็นต้องเข้าสนามก็ได้ บรรยากาศที่ คึกคลื้นจึงไม่จำ�กัดอยู่เพียงบนอัฒจรรย์ แต่บรรยากาศของ ร้านอาหารกับลานเบียร์หน้าสนาม ก็เป็นตวามประทับใจ และความผูกพันธ์ได้เช่นกัน

วัฒนธรรมฟุตบอล โดยเฉพาะแฟนบอลการท่าเรือแล้วยิ่ง ถูกมองว่าเป็นหนึ่งในแฟนบอลที่รุนแรงที่สุดในไทยลีก อาจ เพราะประวัติในอดีตที่มักมีเหตุปะทะกับแฟนบอลเมืองทอง แต่ในช่วง 4-5 ปีที่ผ่านมา มาตรการควบคุมความประพฤติ ของแฟนบอลดีขึ้นมากจนแทบไม่ปรากฎเหตุปะทะ และ สามารถนำ�ตาข่ายกั้นอัฒจรรย์ออก แต่นิยามความรุนแรงยังคงเป็นคำ�นิยามที่แฟนบอลมอบให้ แก่ตนเอง ภายใต้ฉายา “นรกทีมเยือน” นั่นคงเพราะพวก เขายังคงเชียร์การแข่งขันด้วยท่าทีที่ดุดัน ขึงขัง อาจแฝงไป ด้วยถ้อยคำ�ที่หยาบคายอยู่บ้าง แต่ก็ค่อนข้างระมัดระวังไม่ ให้เป็นท่าทีของการเหยียดหยาม พวกเขายังคงรักวิถีทางใน การเชียร์เช่นนี้ และภูมิใจว่านี่คือเอกลักษณ์ที่ทำ�ให้ PAT Stadium กลายเป็นลานต่อสู้ที่ไม่เหมือนที่ใดในไทย นั่นอาจเป็นเพราะการแสดงออกที่รุนแรงก็เป็นวิถีทางหนึ่งที่ พวกเขาสามารถปลดเปลื้องความอึดอัด และกดดันภายในใจ เหมือนพวกเขาได้เติมเต็มสีสัน และความตื่นเต้นให้แก่ชีวิต ความรุนแรงในกีฬาฟุตบอลจึงไม่ใช่สิ่งที่อันตรายหากทุกคน เข้าใจในขอบเขต และไม่ถลำ�ลึกจนเกิดเหตุปะทะ


วัฒนธรรมการเชียร์ (CHEERING CULTURE)

การเชียร์ เป็นส่วนสำ�คัญของวัฒนธรรมฟุตบอล เป็น บทบาทหน้าที่ที่แฟนบอลมีต่อการแข่งขัน กิจกรรมที่ส่ง ผลกระทบทั้งต่อนักกีฬา และตัวแฟนบอลเอง คือนักกีฬา ที่ตนสนับสนุนจะได้รับกำ�ลังใจ แรงกระตุ้น แต่กดดัน ข่ม ขวัญนักกีฬาคู่แข่ง ในทางกลับกันก็เพื่อการแสดงตัวตน ของแฟนบอลออกมา การระบายความรุนแรงด้วยวิถีทาง ที่ปลอดภัย ปลุกเร้าจิตใจ และสนุกสนาน กิจกรรมที่เกิด ขึ้นไม่จ�ำ กัดอยู่เพียงในสนาม หากแต่มีความต่อเนื่องมา จากกิจกรรมอื่นๆมากมายดังนี้

การเตรียมอุปกรณ์การเชียร์

กิจกรรม เพื่อเป็นสีสันในการเชียร์ เหล่าแฟนบอลมักมีการนัดหมาย ตระเตรียมธงยักษ์ หรือป้ายผ้าประกอบการเชียร์ ซึ่งต้องใช้ เวลาในการเขียนตัวอักษร และวาดภาพ การแบ่งบทบาทหน้าที่ จะมีทีมอำ�นวยการแฟนบอลช่วยประสานแฟนบอลหลาย กลุ่มเพื่อระดมทุนซื้ออุปกรณ์ จัดหาสถานที่ และนัดหมาย การทำ�งาน สถานที่ มักใช้โกดังสเตเดียมเป็นสถานที่ทำ�งาน

ก่อนเชียร์การแข่งขัน

กิจกรรม หากเป็นการแข่งขันที่ PAT Stadium มักมีการรวมตัวที่ลาน เปตองหรือหน้าทางเข้าอัฒจรรย์เพื่อรวมพลร้องเพลงเชียร์ ให้ฮึกเหิม หากเป็นการเดินทางไปเยือนจะมีการรวมพลเพื่อ เดิมเข้าสนาม ตีกลองร้องเพลง และจุดพลุสี พลุควัน การแบ่งบทบาทหน้าที่ ในบ้านมักจับกลุ่มสังสรรค์กับตามกลุ่มแฟนคลับที่ตนสังกัด แต่เมื่อไปเยือนจะมีผู้น�ำ กลางที่ผสานหลายกลุ่มเข้าด้วยกัน สถานที่ บริเวณลานเปตอง หน้าทางเข้าอัฒจรรย์ และหน้าสนาม

ขณะเชียร์การแข่งขัน

กิจกรรม รวมกลุ่มตะโกนเชียร์ ปรบมือเข้าจังหวะ ร้องเพลงเชียร์ สะบัดธง หรือการแสดงสัญลักษณ์ในวิธีต่างๆ การแบ่งบทบาทหน้าที่ กลุ่ ม หลั ก ที่ มี บ ทบาทในการควบคุ ม การเชี ย ร์ คื อ กลุ่ ม ที่ มี กลอง จะมีประมาณ 3-4 กลุ่มกระจายตัวเพื่อไม่ให้เสียง กลองซ้อนกัน สถานที่ ที่ PAT Stadium บน Stand B-C-D สนามเยือนที่อัฒจรยย์ทีมเยือน

หลังเชียร์การแข่งขัน

กิจกรรม หลั ง จบเกมจะมี ก ารปรบมื อ แก้ ก องเชี ย ร์ ที ม เยื อ นพร้ อ ม ตะโกนชื่อสโมสรเพื่อเป็นเกียรติ มีช่วงเวลาให้นักกีฬาได้ ทักทายแฟนบอลอย่างใกล้ชิด ภายนอกสนามมีการจับกลุ่ม ร้องเพลง และจุพลุแสง หรืออาจมีพื้นที่ให้ถ่ายรูปและขอ รายเซ็นนักกีฬา การแบ่งบทบาทหน้าที่ หากไม่มีเหตุปะทะ ท่าทีหลังจบเกมจะผ่อนคลายมากขึ้น สถานที่ ลานเปตอง และหน้าสนามฟุตบอล


การแสดงตัวตน (EXPRESSION)

สิ่งที่ยึดโยงเอาแฟนบอลเข้าด้วยกันคือการรับรู้ว่าใครคือ พวกพ้อง (Discrimination) และเป็นเรื่องง่ายในการรับรู้ เพราะในวัฒนธรรมฟุตบอลจะปรากฎสัญลักษณ์ที่ชัดเจน เช่นสีประจำ�สโมสร ตราประจำ�สโมสร และสโลแกน สโมสรฟุตบอลชั้นนำ�ในอังกฤษมีอิทธิพลต่อตัวตัน (Identity) ของแฟนบอลเกือบทั่วทุกมุมโลก หรือกล่าวคือ สโมสรชั้ น นำ � มี อิ ท ธิ พ ลต่ อ การแสดงออกของแฟนบอล แต่ในกรณีของสโมสรการท่าเรือเป็นกรณีที่แตกต่างกัน เพราะสัญลักษณ์ต่างๆของสโมสรต่างพัฒนาขึ้นมาจาการ นิยามตัวตนของแฟนบอลที่มีพื้นฐานมาจากชนชั้นกลาง และชนชั้นแรงงาน สัญลักษณ์สิงโตสะท้อนภาพถึงสัตว์ที่มีพละกำ�ลัง มีอำ�นาจ และน่าเกรงขาม เข้ากันได้ดีกับความดุดัน และทรงพลังใน การเชียร์ของแฟนบอล สิ่งที่แสดงออกว่าพวกเขายอมรับ ให้ภาพนี้เป็นภาพตัวแทนคือการตั้งฉายาสโมสรว่า “สิงห์ เจ้าท่า” และใช้ค�ำ ว่าสิงห์ปรากฎในชื่อกลุ่มแฟลนคลับเช่น สิงห์พันธุ์ดุ 2 ล้อสิงห์เจ้าท่า และสิงห์ตจว. เป็นต้น เมื่ อ ใช้ ร่ ว มกั บ สี ป ระจำ � สโมสรที่ ไ ม่ ซำ �้ ใ ครในลี ก แข่ ง ขั น ประเทศไทย ต้นทุนจากสโมสรกลายเป็นวัตถุดิบชั้นดีที่ เหล่าแฟนบอลได้นำ�มันออกมาใช้ในการแสดงออกถึงตัว ตนทั้งในระดับการเป็นแฟนบอลการท่าเรือ ไปจนถึงการ ระบุตัวตนของแฟนคลับกลุ่มย่อยๆลงไป

แสด

นำ�้เงิน

การแสดงออกผ่านสีและสัญลักษณ์

เป็นการแสดงตัวตนของแฟนบอลที่พบเห็นได้แพร่หลาย ที่สุด อย่างน้อยก็มักจะอุดหนุนเสื้อของสโมสร เพื่อให้ตนเอง สามารถกลมกลืนไปกับภาพรวมของบรรยากาศ เพื่อไม่ให้ รู้สึกแปลกแยก เสื้อจึงกลายเป็นตัวแทนของนักกีฬาและ แฟนบอลดังปรากฎในสื่ออื่นๆ เช่น Grafiti และ social media นอกจากบทบาทการเป็นผู้บริโภคแล้วยังมีบทบาทการเป็น ผู้ผลิตในการสร้างสรรค์รูปแบบการแสดงตัวตน แต่จากการ สำ�รวจก็พบว่าถึงแม้จะมีการสร้างสรรค์ใหม่ก็ยังคงอ้างอิงอยู่ กับสัญลักษณ์พื้นฐานเช่นสี สิงโต ความดุดัน และเข้มแข็ง

การแสดงออกผ่านวาทกรรม

อีกหนึ่งหนทางที่แสดงออกถึงการนิยามตนเองของแฟนบอล คือเนื้อความที่พวกเขาเขียน ตะโกน หรือสื่อสารออกมาผ่าน สื่อต่างๆ จากการสำ�รวจจะพบว่าเนื้อความมีทิศทางในการ แสดงถึงความผูกพันธ์ของแฟนบอลกับสโมสร แสดงออก ถึงเจตนารมณ์ของพวกเขาที่จะยืนหยัดไปพร้อมกับสโมสร ไม่ว่าผลงานจะออกมาเป็นเช่นไร ไม่ว่าจะอยู่ในการบริหาร ของใคร นัยยะหนึ่งพวกเขาแสดงออกให้เห็นว่าแฟนบอลก็ เป็นหนึ่งในเจ้าของสโมสรเช่นกัน เพราะไม่ใช่เพียงแค่การ สนับสนุน แต่ความเห็นที่พวกเขาแสดงออกไปก็ควรถูก พิจารณาโดยผู้บริหารเช่นเดียวกัน

การแสดงออกระดับกลุ่มย่อย

เป็นการทับซ้อนกันของการแสดงตัวตน ที่ถึงแม้ทุกคนจะ เป็นแฟนบอลการท่าเรือ สวนเสื้อนำ�้เงิน-แสด แต่ก็ต้องการ พื้นที่ในการแสดงตัวตนระดับกลุ่ม ซึ่งเป็นกลุ่มที่ยึดโยงกับ ความสัมพันธ์ ทุน และจริตของแฟนบอล สนามฟุตบอล จึงเป็นพื้นที่เปิดให้ทุกคนสามารถนำ�ตัวตนออกมาสื่อสาร ได้อย่างเป็นอิสระ (แต่ไม่ขัดกับอุดมการณ์ของกีฬา) จึงมัก พบการพยายามสร้างความแตกต่าง เพื่อให้ตัวตนของพวก เขาโดดเด่นท่ามกลางฝูงชน ด้วยเครื่องแต่งกาย สัญลักษณ์ ถ้อยคำ� และธง สิ่งเหล่านี้สะท้อนไปถึงบุคคลิกภาพในการ เชียร์ด้วยเช่นเดียวกัน

ความพยายามสร้างภาพลักษณ์ใหม่

แฟนบอลการท่าเรือต่างยอมรับว่าภาพลักษณ์ที่พวกเขา ถูกมองจากภายนอกมักเป็นไปในแง่ลบ เช่นความหยาบ คาย และความรุนแรง แต่ปัจจุบันมีแฟนคลับหลายกลุ่มที่ มีความพยายามในการสร้างภาพลักษณ์ใหม่ เช่นการปรบ มือแก่แฟนบอลทีมคู่แข่ง การจัดเลี้ยงอาหารแก่แฟนบอล ต่างจังหวัดที่เดินทางมาไกล มีแฟนบอลที่คอยเก็บขยะเพื่อ รักษาความสะอาดหลังการแข่งขัน รวมกลุ่มให้การช่วย เหลือแก่สมาคมเด็กออนในสลัม และการสนับสนุนให้สนาม กีฬาเป็นสถานที่สร้างแรงบันดาลใจแก่เด็กๆให้เติบโตมา เป็นนักกีฬารุ่นใหม่ๆต่อไป


พัฒนาการของฐานแฟนบอลการท่าเรือ ฐานแฟนบอลยุคสโมสรรัฐวิสาหกิจ

การกำ�เนิดของสโมสรฟุตบอลในการท่าเรือเพราะเป็นกีฬา ที่นิยมของเจ้าหน้าที่ และผู้บริหาร โดยในยุคแรกเป็นการ รวมทีมขึ้นจากเจ้าหน้าที่ฝีเท้าดี และการสนับสนุนจาก เพื่อร่วมงานให้ได้โอกาสแข่งขันในนามขององค์กร เริ่มจาก การแข่งขันในกลุ่มรัฐวิสาหกิจก่อนมีการแข่งขันในรายการ ระดับประเทศ เมื่อสโมสรขยายตัวขึ้นจึงมีการคัดตัวนักเตะ จากบุคคลภายนอกและให้ตำ�แหน่งงานในการท่าเรือควบคู่ กันไป บรรยากาศในการไปเชียร์จึงเป็นการไปเชียร์เพื่อน ร่วมงาน ทั้งยังมีงบสนับสนุนเพื่อจัดหาอาหาร เครื่องดื่ม และความบันเทิงอย่างครบครัน ฟุตบอลในเวลานั้นจึงเป็น ตัวแทนขององค์กรอย่างแท้จริง

ฐานแฟนบอลยุคเปลี่ยนผ่าน

เมื่อสมาคมฟุตบอลเริ่มออกข้อกำ�หนดเรื่องมาตรฐานสนาม ฟุตบอลมากขึ้น แพทสเตเดียมถูกปิดปรับปรุงเป็นโอกาสให้ ต้องแข่งขันนอกบ้าน ในช่วงเวลานั้นทำ�ให้สโมสรการท่าเรือ ออกสู่สายตาของผู้คนภายนอก ลีลาการเล่น และนักเตะ น่าจับตามอง เมื่อกลับสู่แพทสเตเดียมอีกครั้งก็มีแฟนบอล จากชุมชนโดยรอบติดตามมาด้วยจนเกือบเต็มความจุสนาม ในช่ ว งนี้ ฟุ ต บอลกลายเป็ น กิ จ กรรมส่ ว นหนึ่ ง ของชุ ม ชน คลองเตย แฟนบอลจึงไม่จ�ำ กัดอยู่เพียงแค่เจ้าหน้าที่การ ท่าเรือ แต่รวมไปถึงชาวกทม.จากชุมชนโดยรอบ โดยเฉพาะ อย่างยิ่งชาวคลองเตย

ฐานแฟนบอลยุคธุรกิจฟุตบอล

เป็นยุคที่นับได้ว่าแฟนบอลการท่าเรือมีความหลากหลาย และจำ�นวนมากที่สุด เพราะเป็นช่วงที่นับได้ว่าเป็นยุคทอง ของไทยลีก แฟนบอลไม่ได้จำ�กัดอยู่เพียงเจ้าหน้าที่การ ท่าเรือ และชาวคลองเตย แต่ขยายตัวไปยังส่วนต่างๆขอ งกทม. เช่นสุขุมวิทย์ พระรามสาม สาทร บางจาก บางนา หรือแม้แต่คนต่างจังหวัดที่มาทำ�งานในกทม. จุดเด่นอย่าง หนึ่งคือเป็นสโมสรในเขตกรุงเทพชั้นใน ใกล้ย่านธุรกิจจึง ทำ�ให้มีฐานแฟนบอลชาวต่างชาติอยู่ไม่น้อย แต่การขยายตัว เช่นนี้ทำ�ให้บทบาทของสโมสรนั้นใหญ่เกินกว่าการเป็นเพียง ส่วนหนึ่งของการท่าเรือ ความสำ�เร็จที่ได้จึงเป็นความสำ�เร็จ ของการบริหารของประธานสโมสร มากกว่าความสำ�เร็จของ การท่าเรื่อเฉกเช่นในอดีต


กลุ่มของแฟนบอล และผู้ชม (GROUP OF FAN AND AUDIENCE)

วัยรุ่น แฟนบอลกลุ่มวัยรุ่นทั้งระดับมัธยมศึกษา และอุดมศึกษา ส่วนมากเป็นชาวคลองเตยที่มีความผูกพันธ์กับสโมสรมา ตั้งแต่เกิด หรือชาวกทม.ที่ชื่นชอบฟุตบอล พวกเขาคือความ เข้มแข็ง และความคิดสร้างสรรค์ใหม่ๆในการเชียร์บน Stand

วัยทำ�งาน แฟนบอลกลุ่มใหญ่ที่สุดของสโมสรการท่าเรือ มีพื้นฐาน มาจากชาวคลองเตย ลูกจ้างที่ย้ายถิ่นฐานจากชนบท และ ชาวกทม.จากย่านอื่นๆ ความเป็นมิตรและเปิดใจยอมรับต่อ แฟนบอลคนใหม่ๆ ทำ�ให้เป็นเรื่องไม่ยากเลยที่จะทำ�ความ รู้จักและสนิทสนมกับแฟนบอลการท่าเรือ

FOOTBALL FAN BACKGROUND เพศหญิง 16%

อื่นๆ ธุรกอจส่วนบุคคล 3% 11%

36-40 23%

31-35 35%

26-30 27%

กลุ่มอายุของแฟนบอลการท่าเรือ

ประถมศึกษา 15%

กลุ่มอาชีพของแฟนบอลการท่าเรือ

ปริญญาตรี 41%

30

ผู้ใช้แรงงาน 5%

ข้อมูลจากแบบสอบถามเพื่องานวิจัย “แฟนบอลไทย พรีเมียร์ลีก” จำ�นวน 51 ชุด จากกลุ่มตัวอย่างแฟนบอล การท่าเรือเอฟซี ณ สนาม PAT Stadium พบว่าหาก นิยามกลุ่มแฟนบอลการท่าเรือแล้วนั้น แฟนบอลส่วนใหญ่ จัดอยู่ในระดับเดียวกับกลุ่มที่เรียกว่า “ชนชั้นกลาง” กลุ่ม รายได้ตั้งแต่ 10,000 - 20,000 บาท จัดว่าไม่สูงมากนัก ทว่าก็เป็นรายได้จากอาชีพที่มีความมั่นคงเช่นลูกจ้างของ รัฐ รัฐวิสาหกิจ และเอกชน ในมิ ติ ท างเศรษฐกิ จ สั ง คมของแฟนบอลการท่ า เรื อ ที่ ขยายตัวมากขึ้นในช่วง 8-10 ปี (ช่วงการก่อตั้ง บจก. ไทยพรีเมียร์ลีก) เป็นกลุ่มคนที่เติบโตขึ้นมากับโครงสร้าง เศรษฐกิจไทยภายหลังช่วงทศวรรษที่ 2540 การขยายตัว

0

มัธยมศึกษา 23% >10,000

10,001-20,000 20,001-30,000 30,001-40,000

40,001<

ร้านค้า ร้านขายอาหารและเครื่องดื่มบริเวณหน้าสนามส่วนมากเป็น พ่อค้าแม่ค้าชาวคลองเตย ถึงแม้จะไม่ได้เข้าชมการแข่งขัน แต่พวกเขาก็คอยติดตามผลการแข่งขันทุกวินาที รู้เรื่องราว ความคืบหน้าของสโมสรเกือบทุกด้าน เป็นมิตรและชอบพูด คุยเรื่องสโมสรกับแฟนบอลที่มาชมการแข่งขัน ข้อมูลจาก : แฟนบอลไทยพรีเมียร์ลีก, วสันต์ ปัญญาแก้ว, 2559 หย่าร้าง 2% สมรส 23%

15

ลูกจ้างบริษัท 36%

15-20 8% 21-25 8%

ปฐมวัย 2%

45 นักเรียน/นักศึกษา 33%

กลุ่มเพศของแฟนบอลการท่าเรือ

ชาวต่างชาติ อีกหนึ่งเอกลักษณ์ของแฟนบอลท่าเรือคือสามารถพบชาว ต่างชาติได้ไม่น้อย หลายคนกลายเป็นแฟนบอลท่าเรือไป อย่างเหนียวแน่น หลายคนสนใจเพราะเป็นสนามที่เดินทาง สะดวก อยู่ใจกลางเมือง

60

เจ้าหน้าที่การท่าเรือ 11%

เพศชาย 84%

ครอบครัว เด็กและเยาวชน เด็ ก ชาวคลองเตยที่ เ ติ บ โตมาพร้ อ มกั บ สโมสรที่ ชื่ น ชอบ การชมฟุตบอลในสนาม (สโมสรให้บัตรเข้าชมฟรีกับเด็ก) นอกจากนี้ยังมีเด็กที่ชื่นชอบการเล่นฟุตบอลและอยากชม การแข่งขันจริง เป็นผลให้พ่อแม่หลายครอบครัวได้พาเด็กๆ เหล่านี้มา และกลายเป็นแฟนบอลไปโดยปริยาย

อื่นๆ 1%

โสด 75%

อาชีวศึกษา 19%

กลุ่มรายได้ของแฟนบอลการท่าเรือ (บาท/เดือน)

กลุ่มระดับการศึกษาของแฟนบอลการท่าเรือ

กลุ่มสถานะครอบครัวของแฟนบอลการท่าเรือ

ของกลุ่มผู้ชมและแฟนบอล เป็นการขยายตัวไปพร้อมกับ ภาพรวมของอุตสาหกรรมฟุตบอลไทย พิจารณาได้จาก การขยายสนาม PAT Stadium ในช่วงปี พ.ศ. 25522554 ซึ่งเป็นช่วงเวลาเดียวกับการเกิดกระแสนิยมใน สโมสรฟุ ต บอลท้ อ งถิ่ น และการแข่ ง ขั น ไทยพรี เ มี ย ร์ ลี ก การขยายตัวครั้งนี้อาจเรียกได้ว่าเป็นการเกิดขึ้นของคน กลุ่มใหม่ หรือ “ชนชั้นใหม่” ที่เป็นตัวละครสำ�คัญในเวที เศรษฐกิจมหภาค และเวทีการเมือง

หากเรายอมรับว่ากีฬาเป็นอุปทาน (Supply) ที่ตอบ สนองต่ออุปสงค์ทางสังคม (Social demand) ตามการ วิเคราะห์ของ Pierre Bourdieu (1993) ก็อาจอธิบายถึง บทบาทของสนามกีฬาว่ามันคือพื้นที่ของกลุ่มคนที่มาทำ� กิจกรรมภายใต้ตรรกะของการแข่งขัน แต่ในเวลาเดียวกัน ก็เป็นพื้นที่ปะทะสังสรรค์ของจริต (Habitus) ตัวตน (Identity) และทุน (Capital) ของคนกลุ่มนั้นๆ ในกรณีของ PAT Stadium ที่มีข้อมูลเชิงปริมาณบ่งชี้ว่า กลุ่มใหญ่ของแฟนบอลคือกลุ่ม “ชนชั้นกลาง” กิจกรรม ใดๆที่เกิดขึ้นทั้งในสนาม โดยรอบสนาม นอกสนาม หรือ แม้แต่บนสื่อ ก็คือการแสดงออกถึงจริตของชนชั้นกลาง ที่ โ น้ ม เอี ย งไปกั บ โครงสร้ า งความสั ม พั น ธ์ ภ ายใต้ นิ ย าม

เป็น “แฟนบอลการท่าเรือ” ท่าทีในการแสดงออกมีความ สัมพันธ์กับทุนทั้ง 3 ทางอันได้แก่ 1. ทุนทางเศรษฐกิจ แสดงออกผ่านกำ�ลัง ระดับ และ ปริมาณในการบริโภคสินค้าและบริการที่ตนต้องการ 2. ทุนทางวัฒนธรรม แสดงออกผ่านการปฏิบัติ ภาษา สัญลักษณ์ ภูมิความรู้เช่น การแต่งกาย การประดับ สัญลักษณ์ การใช้สื่อเพื่อสื่อสาร การร้องเพลง หรือการ แสดง 3. ทุนทางสังคม แสดงออกผ่านโครงข่ายความสัมพันธ์ ของกลุ่มคน เช่นการควบคุมดูแล การปกป้อง การห้าม ปราม และการมีเจตนารมณ์ร่วมกัน

วสันต์ ปัญญาแก้ว, 2559


กลุ่มทางสังคมของแฟนบอล (SOCIAL GROUP OF THE FAN) จากการลงภาคสนามเพื่ อ สั ม ภาษณ์ ก ลุ่ ม แฟนบอลการ การแบ่งกลุ่มจากเงื่อนไขทุนทางเศรษฐกิจ ท่าเรือในช่วงเวลาก่อน และหลังการแข่งขันทั้งใน PAT Stadium และในฐานะทีมเยือน โดยจากข้อมูลจะ สามารถใช้หลักการวิเคราะห์ของ Bourdieu (1993) เพื่อ การอธิบายกลุ่มทางสังคม (Social Group) ได้ลักษณะทุน ดังต่อไปนี้ 1. การแบ่งกลุ่มจากเงื่อนไขทุนทางเศรษฐกิจ 2. การแบ่งกลุ่มจากเงื่อนไขทุนทางวัฒนธรรม 3. การแบ่งกลุ่มจากเงื่อนไขของทุนทางสังคม แบ่งจากการติดตามชมการแข่งขันนอกบ้าน โดยจาก 3 เงื่อนไขผู้ศึกษาวิเคราะห์ได้ว่าการแบ่งกลุ่มจาก มีการจับกลุ่มของแฟนบอลที่จะเดินทางไปชมการแข่งขัน เงื่อนไขที่ 1 ไม่ได้สะท้อนถึงความสัมพันธระหว่างบุคคล บ้างเป็นกลุ่มจักรยานยนต์ บ้างรวมกลุ่มเช่ารถทัวร์ และบาง กลุ่มมีกำ�ลังจ่ายที่สูงขึ้นสามารถรวมตัวเดินทางโดยเครื่อง อย่างชัดเจน แต่สะท้อนในแง่ของการบริโภค บิน ในทางเศรษฐกิจพวกเขามีส่วนช่วยกระตุ้นการท่องเที่ยว ในภูมิภาคต่างๆอีกด้วย การแบ่งกลุ่มจากเงื่อนไขทุนทางวัฒนธรรม

กลุ่มจากงานอดิเลก หรือความสนใจ ความชื่นชอบในงานอดิ​ิเลกได้ยึดโยงให้แฟนบอลที่มีความ ชื่นชอบคล้ายกันจับกลุ่มเข้าหากัน เช่นกลุ่ม 2ล้อสิงห์ท่าเรือ ที่ร่วมกันขับจักรยานยนต์ไปเชียร์การแข่งขัน กลุ่มเหล่านี้มี ความสนิทสนมกันอย่างมากเนื่องจากความคล้ายคลึงของ การดำ�เนินชีวิต การแบ่งกลุ่มจากเงื่อนไขของทุนทางสังคม

แบ่งจากโครงสร้างการปกครอง ประธานกลุ่ม และ นโยบายการรักษาความสงบ สโมสรเริ่มให้ความสำ�คัญกับการควบคุมพฤติกรรมของแฟน บอลหัวรุนแรง โดยมีการแบ่งกลุ่มการรับผิดชอบให้ชัดเจน เพื่อสามารถติดตามผู้กระทำ�ผิด และคอยห้ามปรามในกรณี ล่อแหลมต่อการเกิดเหตุปะทะ

แบ่งจากภาษา และเชื้อชาติ ในการแข่งขันจะสามารถพบกลุ่มชาวตะวันตกจับกลุ่มกัน พูดคุย ดื่มเบียร์ และนั่งชมใกล้กันเป็นกลุ่ม พวกเขาใช้ภาษา อังกฤษในการสนทนาแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเพื่ออรรถรส ในการชม การมาชมการแข่งขันในทางหนึ่งจึงกลายเป็น พื้นที่พักผ่อน พบปะสังคสรรค์ของพวกเขาอีกทางหนึ่ง

แบ่งจากภูมิลำ�เนา และชุมชนของแฟนบอล เป็นรูปแบบการจับกลุ่มแฟนบอลตั้งแต่อดีต คือตามชุมชนที่ ตนพักอาศัยอยู่ เช่นบล็อกชุมชนคลองเตย ต่อมาแฟนบอล ที่ไม่ใช่ชาวคลองเตยจึงเริ่มรวมกลุ่มเช่นกัน เช่นสิงห์บางพลี สิงห์พระรามสาม หรือสิงหตจว. เป็นต้น กลุ่มเหล่านี้มี บทบาทในการเตรียมอุปกรณ์การเชียร์

แบ่งจากความต้องการความสะดวกสบายในการรับชม PAT Stadium มีหลังคาเพียงแค่ 1 ด้านทำ�ให้การตัดสินใจ เลือกตำ�แหน่งนั่งชมก็มีการคำ�นึงถึงความสะดวกสบาย บน Stand A มักเป็นกลุ่มแฟนบอลที่มำ�กำ�ลังจ่าย เช่นผู้สูงอายุ หรือครอบครัว ต้องการห่างจากความรุนแรง หรือต้องการ ความปลอดภัยจากเหตุปะทะระหว่างแฟนบอล

แบ่งจากแฟนพันธุ์แท้ และนักสะสม แฟนบอลการท่าเรือที่เหนียวแน่นมาอย่างยาวนานก็มีกลุ่มที่ แลกเปลี่ยน หรือโชว์ของสะสมที่เป็นสัญลักษณ์แฟนพันธุ์แท้ เช่นเสื้อทีมในฤดูกาลก่อนๆ ผ้าพันคอ บัตรเข้าชม หรือแม้แต่ รายเซ็นนักเตะในตำ�นาน พวกเขาคล้ายชุมชนพระเครื่องที่ จะนั่งจับกลุ่มพูดคุยและบอกเล่าเรื่องราวเก่าๆแก่คนรุ่นใหม่

แบ่งจากกลุ่มของครอบครัว และเด็ก เด็ ก ๆกลายเป็ น ปั จ จั ย ทำ � ให้ ใ ห้ พ่ อ แม่ จ ากครอบครั ว ราย ได้สูง เช่นนักเรียนโรงเรียนนานาชาติได้มาชมการแข่งขัน ในสนาม เพราะหากพวกเขาชื่นชอบฟุตบอล ก็เป็น ประสบการณ์ที่ดีที่จะได้ชมการแข่งขันในสนาม และสนาม ที่เดินทางมาได้สะดวกที่สุดคงหนีไม่พ้น PAT Stadium

แบ่งจากการนิยามตัวตน จริต และรสนิยม บ่อยครั้งที่จับกลุ่มของแฟนบอลเกิดจากเคมีที่ตรงกันของ จริต บุคลิกภาพ และรสนิยม จะสามารถพบบางกลุ่มที่ นิยามตนเองว่าเป็น Hardcore เกรียน หรือพันธุ์ดุ ซึ่ง ลักษณะเช่นนี้จะแสดงออกผ่านสัญลักษณ์ การวางตัว หรือ ท่าทีในการเชียร์

แบ่งจากรูปแบบการเชียร์ และรับชม การเกิดกลุ่มย่อยในอดีตเป็นผลให้มีการสร้างสรรค์เพลง เชียร์ และจังหวะกลองเฉพาะของแต่ละกลุ่ม จะมีการแบ่ง สรรปันพื้นที่กันของอัฒจรรย์เพื่อไม่ให้จังหวะกลองซ้อนกัน กลุ่มเหล่านี้นอกจากจะมีพื้นที่ในการแสดงตัวตนอย่างเด่น ชัดแล้วยังมีการฝึกฝนและสืบทอดกันอย่างต่อเนื่อง

แบ่งจากการสนับสนุน และความชื่นชมนักเตะรายบุคคล ความนิยมเฉพาะนักกีฬารายใดรายหนึ่งก็เป็นอีกปัจจัยที่ยึด โยงให้แฟนบอลเข้าหากัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งกลุ่มผู้สูงอายุที่ ชื่นชอบ และเอ็นดูนักกีฬาที่ติดทีมชาติไทยเหมือนลูกหลาน ความสัมพันธ์เช่นนี้เกิดเป็นกลุ่มที่มีการพูดคุย แลกเปลี่ยน ความคิดเห็น

แบ่งจากองค์กร ต้นสังกัด หรือสถานที่ทำ�งาน เป็ น อี ก หนึ่ ง ความสั ม พั น ธ์ ที่ ยึ ด โยงแฟนบอลเข้ า เป็ น กลุ่ ม ในลักษณะเช่นนี้มีกลุ่มดั้งเดิมคือจากสหภาพแรงงานการ ท่าเรือ ต่อมาลูกจ้างในตลาดคลองเตยก็มีการจับกลุ่มเช่นกัน และองค์กรอื่นๆ อย่าง loxley และเชลล์ เป็นต้น

จากการสำ�รวจพบว่าการจับกลุ่มของแฟนบอลมีหลาก หลายลักษณะ หลากหลายความสัมพันธ์ ขึ้นอยู่กับ กิจกรรม เช่นมีกลุ่มแฟนคลับในการเชียร์การแข่งขัน ปัจจุบันมีประมาณ 19 กลุ่ม อย่างไม่เป็นทางการ แต่ก็ มี ปั จ จั ย อื่ น ๆที่ ทำ � ให้ พ วกเขาเกิ ด การรวมกลุ่ ม ในรู ป แบ บอื่นๆ เช่นก่อนหรือหลังการแข่งขัน ก็อาจมีการจับกลุ่ม เพราะความสนใจ เพราะการสื่อสาร เพราะสาขาอาชีพ หรือเพราะความนิยมในตัวนักเตะ ความสัมพันธ์ (Relation) เหล่านี้ก่อให้เกิดปฏิสัมพันธ์ (Reaction) ระหว่างกันในรูปแบบต่างๆ


พฤติกรรมการใช้พื้นที่ และกิจกรรมของแฟนบอล และผู้ชม (BEHAVIOR AND ACTIVITIES OF FAN AND AUDIENCE)

1 2

กลุ่มครอบครัวและเด็ก มาชมเพื่อพักผ่อน หรือพาลูก หลานมาชมการแข่งขันจริง ในสนาม

9

กลุ่มผู้ชม อาจไม่ใช่แฟนบอลการท่าเรือ โดยตรง มาชมเพื่อความ บันเทิง

3 6 13

1

กลุ่มสภาสิงห์เจ้าท่า ประธานเชียร์ และฝ่าย ปกครองของแฟนบอล

8 12 7 13

13

กลุ่มกองเชียร์ กำ�ลังหลักในการเชียร์การ แข่งขันในสนาม มีการร้อง เพลง-ตีกลอง

12 11

กลุ่มวงเหล้า ตั้งวงกิน-ดื่มบริเวณลาน เปตอง มักไม่เข้าสนาม และ ชอบบรรยากาศภายนอก กลุ่ม2ล้อสิงห์เจ้าท่า รวมกลุ่มขับจักรยานยนต์เชียร์ ทั้งในและนอกบ้าน

1 3

9

6 7 8

12

13

10 4

กลุ่มแฟนบอลอาวุโส (VIP) เป็นกำ�ลังสนับสนุนให้สโมสร ผูกพันกับสโมสรมายาวนาน

5 12

4

กลุ่มแฟนบอลต่างชาติ ผูกพันกับวัฒนธรรมฟุตบอล มายาวนาน หลงใหลใน บรรยากาศของการท่าเรือ กลุ่มแฟนบอลทีมเยือน ชาวต่างจังหวัดที่มาทำ�งานใน กทม. และตามชมการแข่งขัน นัดที่บ้านตนเองมาแข่ง กลุ่มกองเชียร์ทีมเยือน รวมกลุ่มเหมารถเพื่อเดินทาง มาเชียร์นอกบ้าน บางสโมสร ต้องระวังการปะทะกับเจ้าถิ่น


6 13

1 ซื้อบัตรเข้าชม 16:30 - 17:30

ทำ�อาหาร 16:30 - 20:30

3

7

ตรวจบัตร และกระเป๋า 17:45 - 18:15 18:50 - 19:20

วงเหล้า 16:30 - 22:00

11 ซื้อเสื้อสโมสร และของที่ระลึก 16:30 - 17:30

ซื้อของที่ระลึก 17:00 - 18:00

2

ซื้ออาหาร-เครื่องดื่ม 16:30 - 17:45

วงสทนา - นั่งเล่น 17:00 - 20:30

8

12

9 4 ซื้อบัตรเข้าชม 16:00 - 16:30

จัดเลี้ยงอาหาร 16:30 - 17:00

10

1 5

ล้อมวงกินข้าว 16:30 - 17:00

เดินเล่น 17:00 - 17:45

นั่งพักผ่อน เด็กๆเตะบอล 17:00 - 17:45

บูมเชียร์ 17:00 - 18:10 19:50 - 21:30

13 ตรวจบัตร และกระเป๋า 17:45 - 18:15 18:50 - 19:20


พฤติกรรมของแฟนบอล : ก่อนและหลังแข่งขันฟุตบอล (FANS BEHAVIOR : BEFORE AND AFTER FOOTBALL MATCH)

4 1

3

1

SHOPPING CART MARKET

ภาพแรกเมื่อเข้าถึงเขตพื้นที่ของสนามฟุตบอล PAT Stadium จะพบตลาดนัดขนาดย่อมๆ ร้านค้าเกือบทั้งหมด คือชาวชุมชนคลองเตย เน้นจำ�หน่ายอาหารและเครื่องดื่ม สามารถนั่งรับประทานที่ร้านได้ เป็นจุดนัดพบแรกๆที่แฟน บอลจะมารวมตัวกัน 1-2 ชม.ก่อนการแข่งขัน

2

GATHERING AREA

รู้จักกันในนาม “ลานเปตอง” เป็นจุดนัดหมายยอดนิยม สำ�หรับกลุ่มแฟนบอลไม่ว่าจะมีนัดแข่งขันหรือไม่ ก่อนการ แข่งขันจะเป็นที่ชุมนุมเพื่อตีกลองร้องเพลงปลุกอารมณ์ ก่อนเข้าเชียร์ หลังแข่งขันเป็นลานจุดพรุเพื่อฉลองชัย และ มีชาวคลองเตยมานั่งพักผ่อนชมการฝึกซ้อมในวันธรรมดา

3

5

2

LEISURE ACTIVITIES

สนามฟุตบอลหน้าสนาม PAT Stadium มักเป็นที่ออก กำ�ลังกาย วิ่งเล่น หรือเล่นฟุตบอลของเด็กๆก่อนรับชมการ แข่งขัน หลายครอบครัวใช้เป็นที่นั่งพักผ่อนหย่อนใจ

4

BEER PARK

เกือบทุกร้านจะจำ�หน่ายเบียร์ นั่นทำ�ให้ด้านหลังของร้าน ขายอาหารมีบทบาทเป็นลานเบียร์ขนาดย่อมๆ แฟนบอล มักมาจับกลุ่มกันดื่มเบียร์กัน 1-2 ชม.ก่อนการแข่งขัน และ นั่งดื่มเบียร์สังสรรค์กันหลังการแข่งขัน 1-2 ชม.

5

ADVERTISMENT AND ACTIVITIES AREA

บริเวณใต้ Stand C จะเป็นที่ตั้งของซุ้มผู้สนับสนุนสโมสร ที่จะจัดกิจกรรมเพื่อประชาสัมพันธ์สินค้า กิจกรรมร่วม สนุกเพื่อลุ้นรับบัตรเข้าชมการแข่งขันฟรี เป็นอีกหนึ่ง กิจกรรมสร้างสีสันก่อนการแข่งขัน


พฤติกรรมของแฟนบอล : นัดแข่งขันฟุตบอล (FANS BEHAVIOR : FOOTBALL MATCH)

D A C2

STAND A เป็นอัฒจรรย์ที่เหมาะกับผู้ชมที่ต้องการหลังคาป้องกันแดด -ฝน มีกลุ่มผู้ชมหลัก 1. ครอบครัว ชาวไทย และต่างชาติ 2. ผู้สูงอายุ พบว่าหลายคนที่นั่งตรงนี้ไม่ได้เป็นแฟนบอลโดยตรงแต่ ต้องการรับชมการแข่งขันฟุตบอลในบรรยากาศจริง

STAND B เป็นอีกหนึ่งที่นั่งยอดนิยมของแฟนบอลชาวต่างชาติจะพบ ได้ 3-4 กลุ่ม จำ�นวนประมาณ 25-30 คน ในครึ่งแรกจะเป็นฝั่งประตูทีมเยือนท่าทีแฟนบอลคือการ กดดัน และทำ�ลายสมาธิของผู้รักษาประตู ครึ่งหลังจะมี การนำ�กลองเข้ามาตีเพื่อปลุกกำ�ลังใจแก่ผู้รักษาประตูการ ท่าเรือ

C1

STAND C1 อัฒจรรย์ยอดนิยมของเหล่าแฟนบอลที่สามารถรับชมมุม มองที่ดีที่สุดในการแข่งขัน มีความเชื่อกันว่าการเชียร์ที่ ดุดันจะสามารถข่มขวัญ ทำ�ให้ทีมเยือนจะไม่อยากเดินเกม ในด้านนี้ของสนาม แฟนบอลจะพบหลายช่วงวัย ตั้งแต่เด็ก จนถึงผู้สูงอายุ

B

STAND C2 เป็นอีกหนึ่งจุดที่สามารถรับชมมุมมองที่ดีที่สุดของสนาม แต่ด้วยข้อจำ�กัดของโครงสร้างทำ�ให้ต้องควบคุมจำ�นวนผู้ ชม ส่วนใหญ่เป็นกลุ่มผู้ชมมากกว่ากองเชียร์ อีกหนึ่งจุดที่ เหมาะกับการนั่งพักผ่อนเพื่อชมการแข่งขัน แต่มีข้อเสียคือ หากจัดการแข่งขันในช่วงบ่าย เป็นเป็นอัฒจรรย์ที่รับแดด จากทิศใต้โดยตรง

STAND D เป็นที่นั่งของแฟนบอลทั้งทีมเหย้า และทีมเยือน และถูก จัดสรรหน้าที่คล้าย Stand B คือคอยข่มชวัญของผู้รักษา ประตูทีมเยือน และให้กำ�ลังใจผู้รักษาประตูทีมเหย้า เป็น ที่ตั้งกลองของกลุ่ม Hardcore ที่มักตีปลุกเร้าอารมณ์ก่อน การแข่งขัน และเคลื่อนตัวเข้ามาหลังเริ่มแข่งขันได้ระยะ หนึ่ง เพื่อเปลี่ยนบรรยากาศให้แก่เกม


อัตลักษณ์ของสโมสรการท่าเรือ (IDENTITY OF PORT FC) สัญลักษณ์ (SYMBOL) กระบวนการออกแบบอย่ า งมี ส่ ว นร่ ว มเพื่ อ ให้ วั ต ถุ ดิ บ ที่ สำ�คัญของการออกแบบ เป็นสิ่งที่ออกมาจากแฟนบอล จริงๆ การจัดวงเพื่อพูดคุยและซักถาม เป็นกลไกในการนำ� ไปสู่ความต้องการที่แท้จริง โดยใช้โอกาสจากการเปิดสนาม แข่งขันรายการ ACL ระหว่างสโมสรการท่าเรือ เอฟซีพบ สโมสร Ceres Negros FC จากฟิลิปปินส์ ในวันที่ 21 มกราคม 2563 ประเด็นแรกที่เป็นสาระสำ�คัญหนึ่งของงานคือการหาอัตลักษณ์ที่แสดงถึงตัวตนของสโมสรการท่าเรือ ซึ่งจะเป็นสิ่งที่ สถาปัตยกรรมจะทำ�หน้าที่ธำ�รงค์ และแสดงออกถึงสิ่งเหล่า นี้ เพื่อให้เป็นสนามของการท่าเรืออย่างแท้จริง

แสด-นำ�้เงิน สีประจำ�สโมสรการท่าเรือที่ถูกใช้มากว่า 50 ปี เป็นคู่สีที่ไม่ ซำ�้ใครในวงการฟุตบอลไทย และด้วยความยาวนานทำ�ให้ เป็นที่จดจำ�ของผู้คนทั่วไปได้อย่างง่ายดาย โดยเฉพาะใน ย่านคลองเตยจะสามารถปรากฎคนที่ใส่เสื้อแสด-นำ�้เงินก็จะ รู้ได้ทันทีว่าพวกเขาคือแฟนการท่าเรือ หรือวันไหนที่เห็นคน ใส่เสื้อแสด-นำ�้เงินจำ�นวนมากก็อนุมานได้เลยว่าวันนั้นคือ Match day สิงห์ ปรากฎในโลโก้ของสโมสรตั้งแต่เวิอร์ชันปีพ.ศ. 2552 และ ยังเป็นฉายา “สิงห์เจ้าท่า” ที่ในวงการฟุตบอลรู้จักกันดี การ ใช้สิงห์ซึ่งเป็นสัตว์ที่มีพละกำ�ลัง และมีฉายาว่าเจ้าป่า ปราก ฎบ่อยครั้งในวัฒนธรรมฟุตบอลของชนชั้นแรงงานในยุโรป แต่สำ�หรับแฟนการท่าเรือ สัญลักษณ์นี้มีความหมายกับพวก เขาเป็นอย่างมาก เพราะครั้งหนึ่งพวกเขาเคยเรียกร้องโลโก้ สิงห์แทนโลโก้ที่ถูกเปลี่ยนไปเป็นม้าเมื่อปีพ.ศ. 2558 เป็น ตัวแทนความสามัคคีของเหล่าแฟนบอลที่ต่อสู้เพื่อมัน

ชุมชน (Community)

ชาวคลองเตย ทำ � เลที่ ตั้ ง ของสโมสรการท่ า เรื อ ที่ อ ยู่ ใ นที่ ดิ น ของท่ า เรื อ กรุงเทพ ถูกห้อมล้อมด้วยชุมชนคลองเตย ทั้งตลาดคลองเตย และชุมชนแออัด พวกเขาเป็นฐานกำ�ลังสำ�คัญของกองเชียร์ และเป็นผู้สนับสนุนสโมสรมาอย่างยาวนาน จนเรียกได้ว่าทั้ง สโมสรและชุมชนต่างเป็นส่วนสำ�คัญของกันและกัน ทุกวัน นี้ฟุตบอลกลายเป็นอัตลักษณ์ที่ดีเมื่อเรากล่าวถึงคลองเตย และเป็นโอกาสสำ�คัญที่ฟุตบอลจะกลายเป็นส่วนสำ�คัญใน การพัฒนาคุณภาพชีวิตของเยาวชนชาวคลองเตยในอนาคต ตลาดนัด ทุกแมทช์การแข่งขันจะต้องมีตลาดนัดมาตั้งขาย อาหาร เครื่องดื่ม และของที่ระลึก พวกเขาเหล่านี้ก็ล้วนแต่เป็นชาว คลองเตยที่ได้โอกาสในการเข้ามาสร้างอาชีพทำ�กิน แต่ความ โดดเด่นคือพวกเขาก็เป็นหนึ่งในแฟนบอลตัวยง ที่ติดตาม ผลงานของสโมสรมาอย่างยาวนานถึงแม้จะไม่ได้เข้าไปชม ภายในสนามก็ตาม อัทยาศัยที่เป็นกันเอง ยิ้มแย้มแจ่มใส คุย สนุก กลายเป็นสิ่งที่แฟนบอลหลายคนผูกพัน และหลงใหล

จริตของแฟนบอล (HABITUS OF THE FANS) กองเชียร์ กองเชียร์การท่าเรือเป็นที่กล่าวขวัญในนาม “นรกทีมเยือน” เพราะความใกล้ชิด ความดุดัน รุนแรง และหยาบคายได้ สร้างบรรยากาศภายในสนามให้มีมนต์ขลัง และสนุกเร้าใจ เป็นอันดับต้นๆของวงการฟุตบอลไทย แต่ทั้งหมดก็เป็น เพียงส่วนหนึ่งของเกม และเพื่อแสดงพลังความสามัคคีของ พวกเขา

ครอบครัวแฟนบอล การจั บ กลุ่ ม ของแฟนบอลที่ ถึ ง แม้ จ ะต่ า งที่ ม าแต่ ก็ รั ก ใน สิ่งเดียวกัน นั่นทำ�ให้พวกเขาใกล้ชิดกันจนเรียกได้ว่าเป็น “ครอบครัว” พวกเขามักรวมตัวกันสังสรรค์ หรือร่วม กิจกรรมตามโอกาสงานบุญต่างๆ แต่ส�ำ หรับวันแข่งขันจะ ยิ่งเห็นความผูกพันผ่านกิจกรรมที่ทำ�ร่วมกัน เช่นร่วมกันกิน ข้าว วงสังสรรค์ บูมเชียร์ ตีกลองร้องเพลง หลายคนมาซื้อ บัตร แต่ก็ไม่เข้าสนาม เพราะต้องการเพียงการเฉลิมฉลอง กับคนสนิทอยู่ภายนอกสนาม และยังเปิดรับผู้คนใหม่ๆได้ เข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของพวกเอาอยู่เสมอ

ปรับปรุงและพัฒนาตนเอง การพิสูจน์ตนเองของมาดามแป้งตลอด 4 ปีที่ผ่านมา ทำ�ให้ ทุกวันนี้เธอได้รับการยอมรับจากแฟนบอลเป็นอย่างมาก การยอมรับนี้แสดงออกผ่านความพยายามในการควบคุม ความประพฤติ ข องแฟนบอลที่ ใ นอดี ต ขึ้ น ชื่ อ ว่ า เป็ น หนึ่ ง ในสโมสรหัวรุนแรงที่สุดในวงการฟุตบอลไทย จนไม่มีเหตุ การรุนแรงมากว่า 5 ปีต่อเนื่อง สร้างความมั่นใจจนสมาคม ฟุตบอลอนุมัติให้นำ�รั้วกั้นระหว่างสนามและอัฒจรรย์ลง ไม่ ต้องเกาะรั้วดูบอลเช่นในอดีต หรือเมื่อมีนโยบายขอความ ร่วมมือจากสโมสร แฟนบอลก็จะตอบรับเป็นอย่างดี เช่น งด นำ�เครื่องดื่มแอลกอฮอร์เข้าสนาม (ทั้งที่สมาคมไม่ได้กำ�หนด ห้ามไว้) ช่วยกันเก็บขยะหลังจบเกมทั้งสนามเหย้า และ เยือน ไปจนถึงความร่วมมือในการแยก-จัดการขยะภายใต้ โครงการ “คลองเตยดีดี” โดยทางแฟนบอลเองก็มีการตั้ง สภาสิงห์ท่าเรือ เพื่อทำ�หน้าที่ในการกำ�หนดนโยบาย และ ทีมงานในการควบคุมดูแลแฟนบอลอย่างมีประสิทธิภาพ



ข้อคิดเห็น และประเด็นพัฒนาสนามแพทสเตเดียม ประเด็นที่สองที่ส่งผลต่อการใช้งาน และกายภาพที่จะ เกิดขึ้นในอนาคต คือเสียงสะท้อนจากการใช้งานจริงของ แฟนบอล ที่เป็นผู้มีประสบการณ์ในการใช้สนามฟุตบอล ทั้ง แพทสเตเดียม และสนามอื่นๆทั่วประเทศ จะสามารถ บ่งชี้ถึงปัญหาจากกายภาพ หรือการจัดการ และใช้โอกาส ในการพัฒนาสนามเพื่อปรับปรุงให้สามารถตอบรับกับความ ต้องการได้ โดยมี 3 ส่วนสำ�คัญที่จะนำ�มาประกอบกัน 1. ความต้องการ และนโยบายการพัฒนาของสโมสร 2. เสียงสะท้อนจากแฟนบอล 3. การศึกษามาตรฐานสนามฟุตบอล และวิเคราะห์โดยนัก ออกแบบ

4

1

3

35 2 6

3

2

3

3

1 5

3 3 5 2 4

6 5

7 5

1

4

- ข้อควรปรับปรุงในด้านกายภาพ 1

-

ความจุสนามที่เหมาะสมกับการท่าเรือคือประมาณ

- ข้อควรปรับปรุงในด้านการจัดการ 8

10,000 ที่นั่ง

2 3 4 5 6 7

- การเข้าออกที่เป็นคอขวด ระบายคนได้ช้าไม่ทันพักครึ่ง - การขึ้น-ลงอัฒจรรย์ไม่สะดวก ทางเดินมีจำ�กัด - ขาดทางออกในกรณีฉุกเฉิน - ห้องนำ�้ไม่เพียงพอ เข้าถึงได้ยาก - พื้นที่พักคอยสำ�หรับแฟนบอลไม่เพียงพอ - พื้นที่ร้านอาหาร และที่รับประทานไม่เป็นสัดส่วน

- สำ�หรับแฟนบอลหรือผู้ชมหน้าใหม่ จะค่อนข้างสับสน

+ จุดแข็งในด้านกายภาพ 1

ตำ�แหน่งต่างๆในสนาม เช่น ทางเข้า ห้องจำ�หน่ายบัตร

9

- ตำ�แหน่งตรวจบัตรยังมีน้อยเกินไปสำ�หรับจำ�นวนแฟน ไม่มีการรักษาความปลอดภัยให้รถจักรยานยนต์ที่มา

จอดบริเวณโดยรอบสนาม - มีรถหาย

ถึงแม้ที่ดินจะจำ�กัด

แต่ก็ยังสามารถความจุได้ถึง

6

11,000 ที่นั่ง

2

- มองเห็นได้จากทางด่วนตลอดด้านยาวของสนาม เป็น โอกาสในการใช้เพื่อการโฆษณา

บอล

10 -

-

+ จุดแข็งในด้านการจัดการ

3 4 5

- เป็น Open Space ผืนใหญ่ของย่านคลองเตย - เข้าถึงได้จากชุมชนหลายช่องทาง - มี Sense of Place ที่เป็นเอกลักษณ์กว่าสโมสรใดๆ

- มาดามแป้งสามารถผสานความร่วมมือกับการท่าเรือ ได้เป็นอย่างดี ภายใต้เงื่อนไขว่าเป็นสิ่งที่จ�ำ เป็นต่อสโมสร

7

-

มาดามแป้งมีกำ�ลังในการสร้างความร่วมมือกับแฟน

บอลเพื่อดำ�เนินโครงการที่เป็นประโยชน์ต่อสาธารณะ


เป้าหมาย และวัตถุประสงค์ของโครงการ GOAL & OBJECTIVE แพทสเตเดียม : สถาปัตยกรรมเพื่อธำ�รงค์อัตลักษณ์ของสโมสรการท่าเรือเอฟซี PAT Stadiun : Architecture for Mainrain Identity of Port FC.


? พ.ศ. 2510

พ.ศ. 2552

พ.ศ. 2554

พ.ศ. 2556

"we concentrated our efforts on several essentrial elements that would provide that site with an unmistakable identity" Jacques Herzog Partner in charge : 148-4 St. Jakob Park 2.0 Herzog & de Meuron Basel Ltd,.


GOAL AND IDENTITY

แพทสเตเดียม : สถาปัตยกรรมเพื่อธำ�รงค์อัตลักษณ์สโมสรการท่าเรือเอฟซี PAT Stadium : A Stadium for Maintain Identity of Port F.C.

แพทสเตเดียม “จิตวิญญาณ” แห่งคลองเตย แพทสเตเดียมคือสถาปัตยกรรมที่เป็นดั่งเป็นภาพสะท้อน ให้เห็นถึงความสำ�คัญของกีฬาฟุตบอลที่เป็นทั้ง “ตัวตน และจิตวิญญาณ” ของชาวคลองเตย เป็นตัวแทนที่สื่อสาร ให้โลกภายนอกได้จดจำ�ถึงการเดินทาง และต่อสู้ของทั้ง แฟนบอล และการท่าเรือเพื่อรักษาสโมสรแห่งนี้ให้ยังอยู่ คู่คลองเตยต่อไป

3

แพทสเตเดียมคือสถาปัตยกรรมเพื่อส่งเสริม “คุณภาพ ชีวิตย่านคลองเตย” ใช้ศักยภาพจากการเป็น Open Space ผืนใหญ่ใจกลางชุมชน เป็นพื้นที่สาธารณะเพื่อ การพักผ่อน ออกกำ�ลังกาย และกิจกรรมอื่นๆ อันจะ นำ�พาการท่าเรือ และชุมชนคลองเตยไปสู่บริบทใหม่ที่ สร้างสรรค์กว่าเคย

2

แพทสเตเดียมอันเป็นที่ “รักและภาคภูมิใจ” แพทสเตเดียมคือสถาปัตยกรรมที่เป็นมากกว่าเพียงสนาม กีฬา แต่มันคือสถานที่ที่คอยบ่มเพาะนักเตะให้ได้เติบโต ไปในวงการฟุตบอลอาชีพ เป็นดั่งบ้านยึดโยงที่ยึดโยงแฟน บอลเข้าไว้ด้วยความสัมพันธ์กับร่องรอยแห่งความทรง จำ�ในอดีต และยังเป็นรากฐานที่สำ�คัญสู่ความสำ�เร็จของ สโมสรอย่างยั่งยืน

สัญลักษณ์ (Symbol) ที่ถูกใช้มาเป็นระยะเวลายาวนาน อย่างสี “แสด-นำ�้เงิน” และ”สิงห์”ที่แฟนบอลได้ต่อสู้เพื่อ รักษามันเอาไว้ เป็นอัตลักษณ์ที่บ่งบอกถึงการเป็นแฟน การท่าเรือ

“บ้านของสโมสรไม่ใช่เพียงสนาม หรือกทท. แต่คือคลองเตย”

แพทสเตเดียม “พื้นที่สร้างสรรค์” เพื่อย่านคลองเตย

เป้าหมาย GOAL

“จะรู้ว่าใครคือแฟนการท่าเรือ ก็เมื่อเขาใส่เสื้อแสด-นำ�้เงิน”

ชุมชน (Community) คลองเตย และชุมชนอื่นๆโดย รอบคือบริบทแวดล้อมที่สำ�คัญ และเป็นแรงสนับสนุน สโมสรการท่าเรือมาอย่างยาวนาน จากความใกล้ชินจน กลายเป็นส่วนหนึ่งของวิถีชีวิตในชุมชน

“เริ่มจากเพื่อนชวนมาดูบอล จนวันนี้เป็นส่วนหนึ่งของครอบครัว”

1

จริต (Habitus) ของแฟนบอลการท่าเรือที่ชื่นชอบการ เชียร์ที่เร้าใจ เข้มข้น และดุเดือนเพื่อแสดงออกถึงพลัง ความสามัคคี และมิตรภาพ พวกเขาผูกพันกันอย่างเหนียว แน่นจนเกิดเป็นวัฒนธรรมเฉพาะตัว มีความใกล้ชิด และ เปิดรับแฟนบอลหน้าใหม่เข้าสู่ครอบครัวของพวกเขา

อัตลักษณ์ IDENTITY


GOAL - STRATERGY - INTERPRETATION GOAL

1

แพทสเตเดียมอันเป็นที่ “รักและภาคภูมิใจ”

แพทสเตเดียม “พื้นที่สร้างสรรค์” เพื่อย่านคลองเตย

แพทสเตเดียม “จิตวิญญาณ” แห่งคลองเตย

แพทสเตเดี ย มคื อ สถาปั ต ยกรรมที่ เ ป็ น มากกว่ า เพี ย ง สนามกีฬา แต่มันคือสถานที่ที่คอยบ่มเพาะนักเตะให้ได้ เติบโตไปในวงการฟุตบอลอาชีพ เป็นดั่งบ้านยึดโยงที่ ยึดโยงแฟนบอลเข้าไว้ด้วยความสัมพันธ์กับร่องรอยแห่ง ความทรงจำ�ในอดีต และยังเป็นรากฐานที่สำ�คัญสู่ความ สำ�เร็จของสโมสรอย่างยั่งยืน

แพทสเตเดียมคือสถาปัตยกรรมเพื่อส่งเสริม “คุณภาพ ชีวิตย่านคลองเตย” ใช้ศักยภาพจากการเป็น Open Space ผืนใหญ่ใจกลางชุมชน เป็นพื้นที่สาธารณะเพื่อ การพักผ่อน ออกกำ�ลังกาย และกิจกรรมอื่นๆ อันจะ นำ�พาการท่าเรือ และชุมชนคลองเตยไปสู่บริบทใหม่ที่ สร้างสรรค์กว่าเคย

แพทสเตเดี ย มคื อ สถาปั ต ยกรรมที่ เ ป็ น ดั่ ง เป็ น ภาพ สะท้ อ นให้ เ ห็ น ถึ ง ความสำ � คั ญ ของกี ฬ าฟุ ต บอลที่ เ ป็ น ทั้ง “ตัวตน และจิตวิญญาณ” ของชาวคลองเตย เป็น ตัวแทนที่สื่อสารให้โลกภายนอกได้จดจำ�ถึงการเดินทาง และต่อสู้ของทั้งแฟนบอล และการท่าเรือเพื่อรักษา สโมสรแห่งนี้ให้ยังอยู่คู่คลองเตยต่อไป

2

3

STRATERGY

INTERPRETATION

ปรับปรุง IMPROVING

สร้างเสริม PLACE MAKING

เปิดรับ WELCOMING

มีตัวตน IDENTIFYING

ใช้โครงสร้างเดิมอย่างเต็มศักยภาพ โดยสอดแทรก กายภาพใหม่เข้าไปอย่างเหมาะสมเพื่อ ปรับปรุงให้ แพทสเตเดียมเป็นสนามฟุตบอลที่ได้มาตรฐานทั้ง ในด้านความปลอดภัย และสิ่งอำ�นวยความสะดวก แต่ยังคงรักษาวิถีของแฟนบอล และร่องรอยแห่ง ความทรงจำ�ที่พวกเขาผูกพัน

สร้างเสริมพื้นที่ใช้งานใหม่ๆ ที่ทำ�หน้าที่เชื่อมโยง สโมสร แฟนบอล และพนักงานการท่าเรือเข้าไว้ด้วย เรื่องราวความทรงจำ� และกิจกรรม

ฟุตบอลเป็นกุญแจที่จะสร้างความร่วมมือระหว่าง การท่าเรือและสโมสรให้ได้แบ่งปันพื้นที่ของรัฐแก่ ประชาชน ให้เกิดกิจกรรมสร้างสรรค์เพื่อพัฒนา เยาวชนและเปิดพื้นที่เพื่อการผักผ่อน และออก กำ�ลังกาย

แพทสเตเดียมเป็นสถาปัตยกรรมเพื่อส่งเสริม“อัต ลักษณ์ของสโมสรฟุตบอลการท่าเรือ” ให้โดดเด่น เป็น Icon ของ คลองเตย และสัญลักษณการพัฒนา วงการฟุตบอลไทย

Embrancing Bowl อัฒจรรย์ที่โอบล้อมบรรยากาศภายในไว้ด้วยแฟน บอลที่กำ�ลังเชียร์อย่างสนุกสนานเร้าใจ แสดงออก ถึงความสามัคคี และเป็นอีกหนึ่งกำ�ลังใจสำ�คัญแก่ นักเตะ Human Flow and Facilities ปรั บ ปรุ ง เพื่ อ ลดเวลาและความแออั ด ของฝู ง ชน ในการเข้า-ออกสนาม เพิ่มความปลอดภัยและสิ่ง อำ�นวยความสะดวกแก่ผู้ใช้งานอย่างมีมาตรฐาน Sense of Gathering Place ออกแบบกายภาพเพื่อส่งเสริม และตอบรับกับวิถี ของแฟนการท่าเรือ เป็นพื้นที่ที่สานสัมพันธ์ของ พวกเขา และเปิดเปิดรับแฟนบอลหน้าใหม่เข้าเป็น สมาชิก

PORT FC Museum บอกเล่าเรื่องราวการเดินทาง และต่อสู้อันยาวนาน ของผู้คนมากมายที่รวมขับเคลื่อนสโมสรมาถึงทุก วันนี้ อันจะเป็นแรงบันดาลใจ และความภาคภูมิใจ ในฐานนะนักกีฬา แฟนบอล พนักงานการท่าเรือ และชาวคลองเตย PORT FC Living Room ย้ า ยหน้ า บ้ า นของสโมสรออกมาใกล้ ชิ ด กั บ บรรยากาศแห่งการเฉลิมฉลอง ทั้งห้องแถลงข่าว และห้องรับรอง VIP เพื่อให้สื่อและผู้ที่มาเยือนได้ สัมผัสกับสเน่ห์ของการท่าเรืออย่างแท้จริง Football Club & Fan Club กระชับความสัมพันธ์ระหว่างสโมสรและแฟนบอล เข้าด้วยกัน เกิดเป็นพื้นที่พักผ่อนที่ทั้งแฟนบอล และนักกีฬา (ทีมB E-Sport และ Academy) ได้ ใกล้ชิด และส่งต่อกำ�ลังใจต่อกัน

PAT Football Campus โครงการความร่ ว มมื อ ระหว่ า งการท่ า เรื อ และ สโมสรเพื่อพัฒนาพื้นที่แพทสเตเดียมให้เป็นศูนย์ กีฬาฟุตบอลครบวงจร รองรับทั้งการพัฒนาทีมนัก เตะอาชีพ และงานบริการฝึกฝนทักษะแก่เยาวชน ในชุมชนโดยรอบ เป็นแรงบันดาลใจแก่เด็กๆที่ มีใจรักฟุตบอลได้ฝึกฝน และใช้เวลาว่างให้เป็น ประโยชน์ PAT Leisure & Recreation Park เปิดพื้นที่ลานสนามซ้อมเพื่อให้นักกีฬา เจ้าหน้าที่ แฟนบอล ชาวคลองเตย และเด็กๆสามารถร่วมกัน ใช้ออกกำ�ลังกาย เล่นกีฬา และพักผ่อนหย่อนใจ สร้างชีวิตชีวาให้เป็นพื้นที่สาธารณะที่อยู่ในใจชาว คลองเตย

Dynamic Façade เปิ ด โอกาสให้ ผู้ ใช้ ร ถใช้ ถ นนได้ มี ป ฏิ สั ม พั น ธ์ กั บ สถาปัตยกรรมที่เปลี่ยนแปลงมิติและสีสันไปตาม มุมมองที่เปลี่ยนไป Flag Ship Stadium ธงสีแสด-นำ�้เงินคือสัญลักษณ์แห่งการต่อสู้ แพทส เตเดียมจึงเป็นดั่งธงผืนใหญ่ที่โบกสะบัด และเปร่ง ประกาย ให้ทั้งแฟนบอล และผู้คนโดยรอบได้รับรู้ ถึงการแข่งขันที่ก�ำ ลังจะเกิดขึ้น Identity of Port Bangkok ภาษาทางสถาปัตยกรรมที่ถ่ายทอดอารมณ์ความ รู้สึกของอุตสาหกรรม สะท้อนภาพและบรรยากาศ ของการท่าเรือ Advertisment protential ความโดดเด่นสู่สายตาคนภายนอกเป็นโอกาสอันดี ในการสร้างรายได้จากการโฆษณา


แนวคิด และการตีความ CONCEPT & INTERPRETATION แพทสเตเดียม 2.0 PAT STADIUM 2.0


PAT STADIUM AND FOOTBALL CAMPUS : Day


PAT STADIUM AND FOOTBALL CAMPUS : Night













GOAL แพทสเตเดียม “จิตวิญญาณ” แห่งคลองเตย

แพทสเตเดียมอันเป็นที่ “รักและภาคภูมิใจ”

แพทสเตเดียมคือสถาปัตยกรรมที่เป็นดั่งเป็นภาพสะท้อนให้เห็นถึงความสำ�คัญของกีฬาฟุตบอลที่เป็นทั้ง “ตัวตน และจิต วิญญาณ” ของชาวคลองเตย เป็นตัวแทนที่สื่อสารให้โลกภายนอกได้จดจำ�ถึงการเดินทาง และต่อสู้ของทั้งแฟนบอล และการ ท่าเรือเพื่อรักษาสโมสรแห่งนี้ให้ยังอยู่คู่คลองเตยต่อไป

แพทสเตเดียมคือสถาปัตยกรรมที่เป็นมากกว่าเพียงสนามกีฬา แต่มันคือสถานที่ที่คอยบ่มเพาะนักเตะให้ ได้เติบโตไปในวงการฟุตบอลอาชีพ เป็นดั่งบ้านยึดโยงที่ยึดโยงแฟนบอลเข้าไว้ด้วยความสัมพันธ์กับร่อง รอยแห่งความทรงจำ�ในอดีต และยังเป็นรากฐานที่สำ�คัญสู่ความสำ�เร็จของสโมสรอย่างยั่งยืน

MATTERS

ความต้องการในการพัฒนาของสโมสร

ภายหลังการปรับปรุงแพทสเตเดียมเมื่อปลายปีพ.ศ. 2562 เพื่อ ให้ผ่านมาตรฐาน Club Licensing ของ ACL ซึ่งการติดตั้งเก้าอี้ผู้ ชมทำ�ให้ความจุสนามลดลงจาก ความจุสูงสุด 12,000 คน (ตั๋วยืน) หรือ 8,500 ที่นั่ง มาเป็น 6,250 ที่นั่ง ซึ่งไม่เพียงพอกับจำ�นวนแฟน บอลที่ต้องการชมในกรณี Big match

ร่องรอยของความผูกพัน และความทรงจำ� อันเป็นอัต ลักษณ์สำ�คัญของการท่าเรือที่ไม่อาจหาได้จากที่ใด

การเชี ย ร์ ภ ายในสนามที่ เร้าใจ เข้มข้น และสนุกสนาม (มีความดุดัน และรุนแรง มากกว่าสโมสรอื่นๆ)

Embrancing Bowl อัฒจรรย์ที่โอบล้อมบรรยากาศภายในไว้ด้วยแฟนบอล ที่ก�ำ ลังเชียร์อย่างสนุกสนานเร้าใจ แสดงออกถึงความ สามัคคี และเป็นอีกหนึ่งกำ�ลังใจสำ�คัญแก่นักเตะ

สร้างทางเลือกในการพัฒนาต่อเติมสนามเสนอแก่ผู้บริหารของ สโมสร และรับฟังความคิดเห็นเพื่อกำ�หนดแนวทาง

พื้ น ที่ ที่ แ ฟนบอลรวมตั ว กั น เป็นประจำ�ก่อนและหลังการ แข่งขัน เต็มไปด้วยร่องรอย แห่งความทรงจำ� และเรื่อง ราว

เปิ ด รั บ แฟนบอลหน้ า ใหม่ และมี ค วามสั ม พั น ธ์ เ ป็ น กลุ่ ม ก้ อ นย่ อ ยๆที่ ส นิ ท กั น เหมื อ น ครอบครับ

Sense of Gathering Place ออกแบบกายภาพเพื่อส่งเสริม และตอบรับกับวิถีของ แฟนการท่าเรือ เป็นพื้นที่ที่สานสัมพันธ์ของพวกเขา และ เปิดเปิดรับแฟนบอลหน้าใหม่เข้าเป็นสมาชิก

การออกแบบที่ให้ความสำ�คัญในการรักษา Sence of Place ของพื้นที่ที่แฟนบอลใช้งานอยู่เป็นประจำ�

IMPROVING

ความต้องการของผู้ใช้งาน

มี เ ป้ า หมายในการพั ฒ นา ตนเองให้เป็นแฟนบอลที่ดี มี วินัย รักษาความสะอาด และ ตอบรั บ นโยบายของมาดาม แป้งเป็นอย่างดี

- การเข้าออกสนามที่ไม่คล่องตัว ห้องนำ�้ที่ไม่เพียงพอความ ต้องการ - ที่นั่งพักนอกสนามไม่เพียงพอ

Human Flow and Facilities ปรับปรุงเพื่อลดเวลาและความแออัดของฝูงชนในการ เข้า-ออกสนาม เพิ่มความปลอดภัยและสิ่งอำ�นวยความ สะดวกแก่ผู้ใช้งานอย่างมีมาตรฐาน

เนื่องจากมีพื้นที่อยู่จำ�กัด จึงต้องปรับปรุงโครงสร้างอัฒจรรย์เพื่อ ให้สามารถเพิ่มพื้นที่ใช้งานได้อย่างเต็มศักยภาพของที่ดิน


ขอบเขตอาคาร และที่ดินของ PAT Stadium

สิทธิ์การใช้พื้นที่ภายใต้ MOU 4.5 m

.

6 m.

3 m.

ขอบเขตสนาม บริเวณติดกับแฟลตพนักงานการท่าเรือ

ขอบเขตสนาม บริเวณติดกับสนามซ้อม

ขอบเขตสนาม บริเวณติดกับถนนท่าเรือ 1

X

ขอบเขตสนาม บริเวณติดกับอาคารจอดรถบริษัท LOXLEY

สนาม PAT Stadium เมื่อมองจากทางด่วน


ทางเลือกในการพัฒนา (Development Scheme), 21.12.62

Capacity : General Match - 6,570 spectators Maximum - 8,000 spectators Area : 3,527.7 sq.m. Short term

Long term

Renovation

Stand or Bowl

Reconstruction

Minimal development Option 1

Small development Option 2

Relocation

Medium development Option 3

Large development Option 4

Roof 2 side Option A

3 side Option B

4 side Option C

2 side Option A

3 side Option B

4 side Option C

2 side Option A

4 side Option C

Facade South side facade Option 1A Stand and Bowl Extension : 1,632 sq.m. Capacity : 9,755 Cost : 13M Roof Area : 3,450.17 sq.m. Cost : 23M Facade Area : 3,589.53 sq.m. Cost : 25M Total cost : 61M

Option 1B Stand and Bowl Extension : 1,632 sq.m. Capacity : 9,755 Cost : 13M Roof Area : 4,834.36 sq.m. Cost : 33M Facade Area : 3,589.53 sq.m. Cost : 25M Total cost : 71M

North side facade

Option 1C Stand and Bowl Extension : 1,632 sq.m. Capacity : 9,755 Cost : 13M Roof Area : 6,319.6 sq.m. Cost : 44M Facade Area : 3,589.53 sq.m. Cost : 25M Total cost : 82M

Option 2A Stand and Bowl Extension : 2,347 sq.m. Capacity : 10,285 Cost : 18M Roof Area : 3,450.17 sq.m. Cost : 23M Facade Area : 3,589.53 sq.m. Cost : 25M Total cost : 66M

South side facade Option 2B Stand and Bowl Extension : 2,347 sq.m. Capacity : 10,285 Cost : 18M Roof Area : 4,834.36 sq.m. Cost : 33M Facade Area : 3,589.53 sq.m. Cost : 25M Total cost : 76M

Option 2C Stand and Bowl Extension : 2,347 sq.m. Capacity : 10,285 Cost : 18M Roof Area : 6,319.6 sq.m. Cost : 44M Facade Area : 3,589.53 sq.m. Cost : 25M Total cost : 87M

North side facade

Option 3A Stand and Bowl Extension : 4,676 sq.m. Capacity : 10,285 Cost : 37M Roof Area : 3,450.17 sq.m. Cost : 23M Facade Area : 3,589.5 sq.m. Cost : 25M Total cost : 85M

Outstanding facade

Option 3B

Option 3C

Stand and Bowl Extension : 4,676 sq.m. Capacity : 10,285 Cost : 37M Roof Area : 4,834.36 sq.m. Cost : 33M Facade Area : 3,589.5 sq.m. Cost : 25M Total cost : 95M

Stand and Bowl Extension : 4,676 sq.m. Capacity : 10,285 Cost : 37M Roof Area : 6,319.6 sq.m. Cost : 44M Facade Area : 3,589.5 sq.m. Cost : 25M Total cost : 105M

Option 4A Stand and Bowl Extension : 8,312 sq.m. Capacity : 20,780 Cost : 66M Roof Area : 4,893 sq.m. Cost : 25M Facade Area : 8,902 sq.m. Cost : 62M Total cost : 153M

Option 4C Stand and Bowl Extension : 8,312 sq.m. Capacity : 20,780 Cost : 66M Roof Area : 9,000 sq.m. Cost : 45M Facade Area : 8,902 sq.m. Cost : 62M Total cost : 173M



IMPROVING EMBRANCING BOWL

4 SIDES STAND

CLOSE CORNER

EMBRANCING BOWL


Embrancing Bowl : Day




EXTENSION STRUCTURE

EXTEN

SION

EXISTIN

C

EXISTI

NG

EXTEN

SION

G

C

EXTEN

SION

B

D

A

B

D

A


C

B

C

D

A

B

D

A


C

B

C

D

A

B

D

A


SECTION A

SECTION C


SECTION B

SECTION D



IMPROVING HUMAN FLOW AND FACILITIES

BOTTLENECK

SCAFFOLDING STRUCTURE

CONCOURCE AND VOMITORY SYSTEM

FRAMING STRUCTURE


CONCOURSE SPACE AND FUNCTION

Ticket Box

Check Point

Vomitory

WC

Fencing


CONCOURSE

CHECK POINT VORMITORY

EXISTING

VOMITORY

WC

CONCOURSE WAITING AREA

WC

CHECK POINT

CONCOURSE

WAITING AREA



IMPROVING SENSE OF GATHERING SPACE

GATHERING SPACE

GATHERING SPACE GATHERING SPACE

OUT-SIDE-IN RELATIONSHIP

OUT-SIDE-IN RELATIONSHIP


GATHERING AND MEETING STAND

PINGPONG TABLE

DINING TABLE

GATHERING FIELD

LEISURE PLACE

MEETING STAND

BEER CORNER


FANS MEETING PLACE

LOCATION

EXISTING

ACTIVITIES


FANS GATHERING PLACE

LOCATION

EXISTING

ACTIVITIES


FANS GATHERING PLACE

LOCATION

EXISTING

ACTIVITIES



GOAL แพทสเตเดียมอันเป็นที่ “รักและภาคภูมิใจ”

แพทสเตเดียม “พื้นที่สร้างสรรค์” เพื่อย่านคลองเตยคลองเตย

แพทสเตเดียม “จิตวิญญาณ” แห่งคลองเตย

แพทสเตเดียมคือสถาปัตยกรรมที่เป็นมากกว่าเพียงสนามกีฬา แต่มันคือสถานที่ที่คอยบ่มเพาะ นักเตะให้ได้เติบโตไปในวงการฟุตบอลอาชีพ เป็นดั่งบ้านยึดโยงที่ยึดโยงแฟนบอลเข้าไว้ด้วย ความสัมพันธ์กับร่องรอยแห่งความทรงจำ�ในอดีต และยังเป็นรากฐานที่สำ�คัญสู่ความสำ�เร็จ ของสโมสรอย่างยั่งยืน

แพทสเตเดียมคือสถาปัตยกรรมเพื่อส่งเสริม “คุณภาพชีวิตย่านคลองเตย” ใช้ศักยภาพจากการ เป็น Open Space ผืนใหญ่ใจกลางชุมชน เป็นพื้นที่สาธารณะเพื่อการพักผ่อน ออกกำ�ลังกาย และกิจกรรมอื่นๆ อันจะนำ�พาการท่าเรือ และชุมชนคลองเตยไปสู่บริบทใหม่ที่สร้างสรรค์กว่า เคย

แพทสเตเดี ย มคื อ สถาปั ต ยกรรมที่ เ ป็ น ดั่ ง เป็ น ภาพสะท้ อ นให้ เ ห็ น ถึ ง ความสำ � คั ญ ของกี ฬ า ฟุตบอลที่เป็นทั้ง “ตัวตน และจิตวิญญาณ” ของชาวคลองเตย เป็นตัวแทนที่สื่อสารให้โลก ภายนอกได้จดจำ�ถึงการเดินทาง และต่อสู้ของทั้งแฟนบอล และการท่าเรือเพื่อรักษาสโมสร แห่งนี้ให้ยังอยู่คู่คลองเตยต่อไป

MATTERS อัตลักษณ์ของแฟนบอลและชาวชุมชน เป็นสเน่ห์ที่ทำ�ให้ การแข่งขันกีฬามีชีวิตชีวา สัมผัสได้ถึงวิถีชีวิต และสังคม ชาวคลองเตย

ความสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า งสโมสรและการ ท่าเรือที่เหินห่างกว่าในอดีต

จากอดีตสู่ปัจจุบัน บทบาทความสัมพันธ์ของสโมสรกับการท่าเรือ มีการเปลี่ยนแปลงไปอย่างมาก เพราะในอดีตไม่ว่าจะคณะบริหาร หรือนักเตะก็ล้วนแต่เป็นชาวการท่าเรือ ชัยชนะจึงเป็นความภาค ภูมิใจขององค์กร แต่จากการแยกส่วนบริหารสู่ภาคธุรกิจ ความ ภาคภูมิใจเหล่านี้ได้เหินห่างออกไปทั้งในระดับตัวบุคคล และระดับ องค์กร

การท่าเรือควรได้รับเกียรติ และภาคภู มิ ใ จที่ มี บ ทบาท สำ � คั ญ ในการพั ฒ นาวงการ ฟุตบอลไทยให้พัฒนาอย่าง ต่อเนื่อง

พื้นที่ตลาด และจุดรวมพล ที่อบอวลไปด้วยบรรยากาศ แห่งการเฉลิมฉลองที่คึกคัก น่าตื่นเต้น เต็มเปี่ยมไปด้วย มิตรภาพของเพื่อนฝูง และ ครอบครัว

PORT FC Museum บอกเล่าเรื่องราวการเดินทาง และต่อสู้อันยาวนานของ ผู้คนมากมายที่รวมขับเคลื่อนสโมสรมาถึงทุกวันนี้ อันจะ เป็นแรงบันดาลใจ และความภาคภูมิใจในฐานนะนักกีฬา แฟนบอล พนักงานการท่าเรือ และชาวคลองเตย

นอกจากทีมฟุตบอลชุดใหญ่แล้ว ภายใต้สโมสรการท่าเรือ ยังมีทีมนักเตะชุดอื่นๆที่ก�ำ ลังท้าแข้งในลีกต่างๆ ซึ่งพวก เขาเหล่านี้ก็ยังคงต้องการแรงสนับสนุนจากแฟนบอล

มีจุดแข็งในด้านวิถีชีวิต แต่มี จุ ด อ่ อ นในด้ า นกายภาพที่ ไ ม่ impact กับผู้มาเยือน

PORT FC Living Room ย้า ยหน้า บ้า นของสโมสรออกมาใกล้ชิดกับ บรรยากาศ แห่งการเฉลิมฉลอง ทั้งห้องแถลงข่าว และห้องรับรอง VIP เพื่อให้สื่อและผู้ที่มาเยือนได้สัมผัสกับสเน่ห์ของการ ท่าเรืออย่างแท้จริง

ถ่ายทอดเรื่องราวอันน่าประทับใจ และน่าภาคภูมิใจในอดีตให้อยู่ ร่วมกับพื้นที่ใช้งานที่คึกคัก และมีชีวิตชีวาในทุกๆวัน

ทีม B ที่ท้าแข้งในดิวิชั่น 4 ยัง คงใช้สนามซ้อมในการฝึกซ้อม และแข่งขัน ซึ่งพวกเขาเป็น ความหวั ง ในการสร้ า งนั ก เตะ ขึ้นมารองรับทีมใหญ่ในอนาคต

Football Club & Fan Club กระชับ ความสัมพันธ์ระหว่า งสโมสรและแฟนบอลเข้ า ด้วยกัน เกิดเป็นพื้นที่พักผ่อนที่ทั้งแฟนบอล และนักกีฬา (ทีมB E-Sport และ Academy) ได้ใกล้ชิด และส่งต่อ กำ�ลังใจต่อกัน

พื้นที่ที่ยึดโยงให้สโมสร และแฟนบอลใกล้ชิดกันมากขึ้น ได้มอง เห็น ได้สัมผัส ใช้งาน และทำ�กิจกรรมในบรรยากาศเดียวกัน

PLACE MAKING

ทีมน้องใหม่อย่าง E-Sport ก็ ยั ง ค ง รอ ก า รสนั บ สนุ นจ า ก แฟนบอลให้ ส ามารถเติ บ โตใน E-League ได้อย่างมั่นคง และ เห็นส่วนหน่งในความสำ�เร็จของ สโมสร



PLACE MAKING PORT FC MUSEUM

MEETING AREA ENTRANCE

INFORMATION

ENTRANCE

INFORMATION BOARD

INFORMATION INFORMATION BOARD

CONCOURSE GALLERY

MEETING AREA CONCOURSE GALLERY


CONCOURSE MUSEUM

INFORMATION STANDY

HALL OF FRAME

ยุคสโมสรรัฐวิสาหกิจ

ก้าวสู่ถ้วยพระราชทาน ก. นิวัฒน์ ศรีสวัสดิ์

กำ�เนิดสโมสร

2510 2511 2512 ง

ยุคเปลี่ยนผ่าน

ยุครุ่งเรือง

เจษฎาพรณ์ ณ พัทลุง

อ่อง ตัน ตัน

2513 2515 2517 2520 2521 ก

ยุคเซมิโปรลีก สะสม ภพประเสริฐ พงษ์พิพัฒน์ คำ�นวณ

2522 Q

2521

2528 Q

Q

2522 2523

ยุคสโมสรเอกชน

พิพัฒน์ ต้นกัณญา

ยุคไทยลีก

เกียรติเจริญ

2533 Q

2530

Q

2536

FA

2552


ญ เรืองปาน

TICKET BOX สราวุธ คงเจริญ

FIXTURES & RESULTS นักเตะในฤดูกาลปัจจุบัน

FA

2562

SEASON GOAL & SLOGAN


MUSEUM ELEMENTS

PERFORATED STEEL PANEL

TRAINER ROOM

DRESSING ROOM

PERFORATED IMAGES

MEETING ROOM

STANDEE

พื้นที่บริเวณนี้ต่อเนื่องกับพื้นที่ใช้งานของสโมสร อย่าง ห้องรับรอง VIP ห้องแถลงข่าว ห้องฝึก ซ้อมทีม E-Sport ห้องประชุมผู้จัดการทีม ห้อง ผู้ฝึกสอนทีมB ห้องเปลี่ยนชุดนักกีฬา และห้อง นำ�้ โดยมีกิจกรรมหลักคือการฝึกซ้อมของนักกีฬา การทำ�งานของทีมงาน การสอนกีฬาแก่เยาวชน การออกกำ�ลังกายของพนักงานการท่าเรือ และ เป็นพื้นที่พักผ่อน เนื้อหาในส่วนแรกจึงเป็นไป เพื่ อ สร้ า งแรงบั น ดาลใจแก่ ผู้ ที่ ทำ � งานได้ เ ห็ น ถึ ง ประวั ติ ศ าสตร์ ข องสโมสรการท่ า เรื อ ที่ ย าวนาน และมีผู้คนมากมายที่ร่วมกันขับเคลื่อนและพัฒนา

COLLECTION BOXES

E-SPORT CAMP

VIP LOUNGE

PRESS ROOM

DRESSING ROOM


MUSEUM ELEMENTS พื้นที่ส่วนนี้ต่อเนื่องกับจุดขายบัตร ห้องนำ�้ สาธารณะ ทางเข้าหลัก และจุดรวมพลของแฟน บอล จะมีชีวิตชีวามากในวันแข่งขันจึงจัดวาง เนื้ อ หาให้ เ ป็ น พื้ น ที่ ใ นการแสดงวิ สั ย ทั ศ น์ ข อง สโมสรในการดำ�เนินการแข่งขันปีนั้นๆ เป้าหมาย ความคาดหวัง หรือโจทย์ในการขับเคลื่อนให้แฟน บอลได้มีส่วนร่วม และขับเคลื่อนสโมสรไปพร้อม กัน มีตารางเพื่อแสดงผลการแข่งขัน ลำ�ดับในลีก และ Standy ของนักเตะชุดปัจจุบันให้แฟนๆได้ ถ่ายรูป และสามารถปรับเปลี่ยนได้ทุกฤดูกาล SPIRITUAL LOGO

TICKET ROOM

TICKET BOX WC

FIXTURE BOARD

STANDEE



PLACE MAKING

PORT FC Living Room Football Club & Fan Club

MEETING AREA ENTRANCE

INFORMATION

ENTRANCE

INFORMATION BOARD

INFORMATION INFORMATION BOARD

CONCOURSE GALLERY

MEETING AREA CONCOURSE GALLERY


CONCOURSE : Ground Level

CONCOURSE : Metanine


CONCOURSE : Club Space

PRESS ROOM E-Sport Camp

DRESSING ROOM

DRESSING ROOM

CLUBs HISTORY MUSEUM

CLUBs HISTORY MUSEUM HALL OF FRAME

HALL OF FRAME

MEETING PLACE

PRESS ROOM

E-Sport Camp

MEETING PLACE


CLUB SPACE

LOCATION

EXISTING

ACTIVITIES


EXTENSION SPACE

MUSEUM

LEISURE PLACE

RUNNING TRACK


CLUB SPACE : Ground Floor

Meeting Area

Dressing Room

WC

INFORMATION PANEL

Field


CLUB SPACE : Mezanine

Press Room

VIP Lounge

E-Sport Camp

Team Meeting Room

Trainer Room

Mezanine



PLACE MAKING

PORT FC Living Room

STRAIGHT CORRIDOR

MARKET PLACE

MARKET PLACE

Football Club & Fan Club

DYNAMIC CORRIDOR


FROM BUS STOP GATE 2

FROM MRT GATE 1

FROM PARKING

MARKET PLCE

MARKET PLCE

GATE 3

FROM PAT

GATE 4

FROM GATE 5

FROM PAT RESITENTIAL


MAIN ENTRANCE AND MARKET PLACE

ROUND RELIEF

CART MARKET

CEREBRATION FLAGS

COLOR PAVEMENT


EXISTING CART MARKET


RE-DESIGN CART MARKET



GOAL แพทสเตเดียม “พื้นที่สร้างสรรค์” เพื่อย่านคลองเตยคลองเตย

แพทสเตเดียม “จิตวิญญาณ” แห่งคลองเตย

แพทสเตเดียมคือสถาปัตยกรรมเพื่อส่งเสริม “คุณภาพชีวิตย่านคลองเตย” ใช้ศักยภาพจากการ เป็น Open Space ผืนใหญ่ใจกลางชุมชน เป็นพื้นที่สาธารณะเพื่อการพักผ่อน ออกกำ�ลังกาย และกิจกรรมอื่นๆ อันจะนำ�พาการท่าเรือ และชุมชนคลองเตยไปสู่บริบทใหม่ที่สร้างสรรค์กว่า เคย

แพทสเตเดี ย มคื อ สถาปั ต ยกรรมที่ เ ป็ น ดั่ ง เป็ น ภาพสะท้ อ นให้ เ ห็ น ถึ ง ความสำ � คั ญ ของกี ฬ า ฟุตบอลที่เป็นทั้ง “ตัวตน และจิตวิญญาณ” ของชาวคลองเตย เป็นตัวแทนที่สื่อสารให้โลก ภายนอกได้จดจำ�ถึงการเดินทาง และต่อสู้ของทั้งแฟนบอล และการท่าเรือเพื่อรักษาสโมสร แห่งนี้ให้ยังอยู่คู่คลองเตยต่อไป

MATTERS

การพัฒนาตามผังแม่บทของการท่าเรือแห่งประเทศไทย

จากผลการศึกษาและออกแบบวางผังแม่บทการพัฒนาที่ดินท่าเรือ กรุงเทพ ของการท่าเรือแห่งประเทศไทย พื้นที่บริเวณสนามแพทส เตเดียมถูกกำ�หนดให้เป็น Sport Complex และอยู่ในแผนการ ปรับปรุงภูมิสถาปัตยกรรมในระยะที่ 1

แพทสเตเดียมมีบทบาทสำ�คัญต่อชาวชุมชนเฉพาะในวันที่ มีการแข่งขัน ในวันอื่นๆคือสถานที่ราชการ

เป็นพื้นที่สีเขียวที่มีศักยภาพ ของเมือง แต่ถูกสงวนไว้เพื่อ เป็นสวัสดิการของพนักงาน การท่าเรือ

การทับซ้อนกันของการใช้งาน สนามซ้อมระหว่างสโมสรและ สหภาพ อาจสามารถแก้ไขได้ ด้วยระบบการจัดการตาราง เวลา

PAT Football Campus โครงการความร่วมมือระหว่างการท่าเรือและสโมสรเพื่อพัฒนาพื้นที่แพทสเตเดียมให้เป็น ศูนย์กีฬาฟุตบอลครบวงจร รองรับทั้งการพัฒนาทีมนักเตะอาชีพ และงานบริการฝึกฝน ทักษะแก่เยาวชนในชุมชนโดยรอบ เป็นแรงบันดาลใจแก่เด็กๆที่มีใจรักฟุตบอลได้ฝึกฝน และใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ เป็นแผนการพัฒนาที่ไม่ขัดแย้งกับผังแม่บทหลัก แต่ก็สามารถ สร้างประโยชน์แก่บริบทในปัจจุบันได้ มุ่งหวังเพื่อพัฒนาคุณภาพ ชีวิตของทั้งพนักงาน และชาวชุมชนไปพร้อมๆกัน

แ น ว รั้ ว เ พื่ อ รั ก ษ า ส น า ม ฟุตบอลเป็นอุปสรรคในการ เข้ า ไปทำ � กิ จ กรรมอื่ น ๆใน พื้นที่ ทั้งที่ยังมีที่ว่างหลง เหลือให้ทำ�กิจกรรม

ข้อสังเกตเพื่อปรับปรุงงานออกแบบ

สำ�หรับผู้ชมหน้าใหม่ การ เข้าถึงสนามยังคงสับสน ไม่ ชัดเจน และไม่แสดงพลังของ สถาปัตยกรรมที่มีขนาดใหญ่

เป็ น พื้ น ที่ ที่ ไ ม่ ไ ด้ ถู ก คิ ด ให้ เชื่อมต่อกับบริบทโดยรอบ

PAT Leisure & Recreation Park เปิดพื้นที่ลานสนามซ้อมเพื่อให้นักกีฬา เจ้าหน้าที่ แฟนบอล ชาวคลองเตย และเด็กๆ สามารถร่วมกันใช้ออกกำ�ลังกาย เล่นกีฬา และพักผ่อนหย่อนใจ สร้างชีวิตชีวาให้ เป็นพื้นที่สาธารณะที่อยู่ในใจชาวคลองเตย

ทำ � ให้ แ พทสเตเดี ย มเป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ของวิ ถี ชี วิ ต ผู้ ค นในย่ า น คลองเตย และมีส่วนในการพัฒนาคุณภาพชีวิตในเมือง

WELCOMING

สร้างโครงข่ายเส้นทางสัญจร (Circulation) เพื่อเชื่อมโยงกับชุมชน และบริบทโดยรอบ ให้สามารถเข้ามาทำ�กิจกรรมได้ทั้งวันธรรมดา และ Match day โดยมีส่วนช่วยให้การเข้าถึงสนามเข้าใจได้ง่าย และสัมผัสได้ถึงพลังของสถาปัตยกรรม


RELATIONSHIP WITH NEIGHBORHOOD

RELATIONSHIP MATCH DAY

RECREATION

LEISURE

WALK WAY



ZONING AND MOBILITY

MARKET RESIDENTIAL

P

RECREATION

P

RECREATION

P

EA

EN

E GR

AR

P

RACETRACK

GATHERING

CLUB HOUSE

RACETRACK

P

FOOTBALL FIELD

RECREATION

MARKET PLACE

RACETRACK

GREEN AREA

RACETRACK

OFFICE

MEETING PLACE

P

P

P

P

RESIDENTIAL P

PAT STADIUM

P

PAT HEADQUARTER

FOOTSAL ARENA P

P

FOOTSAL ARENA

RESIDENTIAL ZONING

SPORT COMPLEX MARKET AND RESIDENTIAL

OFFICE AREA GREEN AREA

MOBILITY

CAR or MOTOR CYCLE PEDESTRIAL

PARKING P P

PAT Officer VISITORS

BOUNDERY

EDGE

P


PROGRAM

STORE

RECREATION

P

RECREATION

P

RUNNING TRACK

P

N

EE

GR

FOOTBALL FIELD

GREEN AREA RUNNING TRACK

GATHERING

EA

AR

RUNNING TRACK

MARKET PLACE

CLUB HOUSE

MARKET PLACE

P

RUNNING TRACK

MEETING PLACE

P

P P

P

RESIDENTIAL

RESIDENTIAL

PAT STADIUM

P

P

ZONING

SPORT COMPLEX MARKET AND RESIDENTIAL

OFFICE AREA GREEN AREA

FOOTSAL ARENA

P

P

MOBILITY

CAR or MOTOR CYCLE PEDESTRIAL

PARKING P P

PAT Officer VISITORS

BOUNDERY

EDGE


URBAN SPORT AND HEALTH CAMPUS : DAY

WC

SPORT FACILITIES

TRAINING FIELD

BASKETBALL FIELD

RUNNING TRACK

PARK


URBAN SPORT AND HEALTH CAMPUS : MATCH DAY

COLOR PAVEMENT

ZIG-ZAG CANOPY

LIGHTING COLUMN

CEREBRATION FLAG


TRAINING FIED : DAY

LOCATION

EXISTING

ACTIVITIES


RUNNING TRACK

LOCATION

EXISTING

ACTIVITIES


CLUB SPACE : DAY

LOCATION

EXISTING

ACTIVITIES



PARK BASKETBALL FIELD

CLUB SPACE CLUB FACILITIES RUNNING TRACK GATHERING SPACE

BACK OF THE HOUSE BOWL MAIN PITCH

PETANQUE FIELD TRAINING FIELD

GATHERING SPACE PETANQUE FIELD MEETING STAND


สรุปพื้นที่ใช้งาน

พื้นที่การต่อเติมสเตเดียม การต่อเติมขยายความจุอัฒจรรย์ :

2,713.1 ตร.ม.

พื้นที่การต่อเติมสิ่งอำ�นวยความสะดวก : พื้นที่พิพิธภัณฑ์สโมสร : พื้นที่สโมสร : รวม

506.5 ตร.ม. 497.0 ตร.ม. 555.0 ตร.ม. 1,558.0 ตร.ม.

ปรับปรุงพื้นที่ภายใน ส่วนสนับสนุนการแข่งขัน :

พื้นที่การก่อสร้างงานภูมิสถาปัตยกรรม พื้นที่รวมพลขอแฟนบอล : ตลาด และพื้นที่กิจกรรม : ลู่วิ่ง : สวนสาธารณะ : รวม

358.6 ตร.ม.

1,072.2 ตร.ม. 2,273.2 ตร.ม. 4,468.9 ตร.ม. 11,041.3 ตร.ม. 18,855.6 ตร.ม.



GOAL แพทสเตเดียมอันเป็นที่ “รักและภาคภูมิใจ”

แพทสเตเดียม “จิตวิญญาณ” แห่งคลองเตย

แพทสเตเดียมคือสถาปัตยกรรมที่เป็นมากกว่าเพียงสนามกีฬา แต่มันคือสถานที่ที่คอยบ่มเพาะ นักเตะให้ได้เติบโตไปในวงการฟุตบอลอาชีพ เป็นดั่งบ้านยึดโยงที่ยึดโยงแฟนบอลเข้าไว้ด้วย ความสัมพันธ์กับร่องรอยแห่งความทรงจำ�ในอดีต และยังเป็นรากฐานที่สำ�คัญสู่ความสำ�เร็จ ของสโมสรอย่างยั่งยืน

แพทสเตเดี ย มคื อ สถาปั ต ยกรรมที่ เ ป็ น ดั่ ง เป็ น ภาพสะท้ อ นให้ เ ห็ น ถึ ง ความสำ � คั ญ ของกี ฬ า ฟุตบอลที่เป็นทั้ง “ตัวตน และจิตวิญญาณ” ของชาวคลองเตย เป็นตัวแทนที่สื่อสารให้โลก ภายนอกได้จดจำ�ถึงการเดินทาง และต่อสู้ของทั้งแฟนบอล และการท่าเรือเพื่อรักษาสโมสร แห่งนี้ให้ยังอยู่คู่คลองเตยต่อไป

MATTERS

การแสดงตัวตนให้รู้ว่า “เราคือสิงห์เจ้าท่า”

สิ่งที่ทำ�ให้คนอื่นๆสามารถรับรู้ได้ว่าใครคือแฟนบอลการท่าเรือ ก็ เมื่อเห็นพวกเขาใส่เสื้อ แสด-นำ�้เงิน ซึ่งในวันแข่งขัน สีเสื้อของแฟน บอลจำ�นวนมากได้เปลี่ยนย่านคลองเตยให้กลายเป็นบรรยากาศ ของการแข่งขัน และสิงห์ที่อยู่บนโลโก้ก็เป็นตัวแขนของการต่อสู้พี่ แฟนบอลสามารถเรียกร้องได้มันกลับมา

Flag Ship Stadium ธงสีแสด-นำ�้เงินคือสัญลักษณ์แห่งการต่อสู้ แพทสเตเดียม จึงเป็นดั่งธงผืนใหญ่ที่โบกสะบัด และเปร่งประกาย ให้ทั้ง แฟนบอล และผู้คนโดยรอบได้รับรู้ถึงการแข่งขันที่กำ�ลัง จะเกิดขึ้น

ศักยภาพของที่ตั้งที่สามารถทำ�ให้สถาปัตยกรรมไปอยู่ใน สายตาของคนหมู่มากได้

การอยู่ ใ กล้ ท างด่ ว นทำ � ให้ ผู้ สั ญ จรจำ � นวนมากสามารถ มองเห็ น ตั ว สนามได้ อ ย่ า ง ชัดเจน

แต่การมองเห็นเป็นลักษณะ การเคลื่ อ นผ่ า นขนานกั บ ด้านยาวของสนาม

Dynamic Façade เปิ ด โอกาสให้ ผู้ ใ ช้ ร ถใช้ ถ นนได้ มี ป ฏิ สั ม พั น ธ์ กั บ สถาปัตยกรรมที่เปลี่ยนแปลงมิติและสีสันไปตามมุมมอง ที่เปลี่ยนไป

Advertisment protential ความโดดเด่นสู่สายตาคนภายนอกเป็นโอกาสอันดีในการ สร้างรายได้จากการโฆษณา

แพทสเตเดียมจะเป็น Talk of the town ของวงการฟุตบอล เป็นที่จดจำ�ได้ทั้งระดับไทย และต่างประเทศ

IDENTIFYING

เมื่ อ อยู่ ใ นสายตาของคน จำ�นวนมาก ก็เป็นโอกาสใน การใช้เป็นพื้นที่โฆษณา

อัตลักษณ์ของย่านคลองเตย

ก่อนเข้าถึงสนาม จะผ่าน ตลาดนั ด ที่ เ หล่ า แม่ ค้ า เอง ก็ เ ป็ น แฟนบอลด้ ว ยเช่ น เดียวกัน

เป็นปัจจัยสำ�คัญในการก้าว เข้าสู่เศรษฐกิจอุตสาหกรรม ของไทย มีcharacter เป็น distribution center เก่าแก่ และความเป็น industrial

Identity of Port Bangkok ภาษาทางสถาปัตยกรรมที่ถ่ายทอดอารมณ์ความรู้สึกของ อุตสาหกรรม สะท้อนภาพและบรรยากาศของการท่าเรือ


มุมมแงจากภายนอกสู่ PAT Stadium



X

X

X

EXISTING CIRCULATION

PLACEMAKING

X

OBSTRUCTIVE BOUNDARY

Canopy Shelter


DESIGN CONCEPT : Canopy Shelter Vertical Facade

Canopy Shelter


EXISTING FACADE

Ordinary Stand

INTERACTIVE FACADE

Eye Catching Level


DESIGN CONCEPT : Zig-Zag Geometry

Vertical Facade

Zig-Zag Facade


TRANSPARENT

ILLUMINATION

NATURAL VENTIALTION


12m.

SHADING

MINIMIZE SUPPORT

SUN PROTECTION

LARGE SCALE

LIGHT WEIGHT


MATERIALITY STUDY : Cladding System

Transparent Media and Illumination

Natural Ventilation and Sun Protection

โดยคุณสมบัติของวัสดุมีความโปร่งแสง แต่ถูกกำ�หนด โดยกระบวนการผลิตจากโรงงาน ทำ�ให้เป็นข้อจำ�กัดให้ ต้องเลือกใช้ตามประเภทที่มีการผลิตเป็นหลัก มีค่าความ โปร่งแสงตั้งแต่ 30% - 70% เมื่อมีการติดตั้งไฟส่องสว่างก็สามารถสร้างปรากฎการณ์ Illumination สร้างความโดดเด่นในเวลากลางคืน

ช่องว่างของวัสดุทำ�ให้อากาศสามารถไหลผ่านได้อย่าง เป็นอิสระ ช่วยให้อากาศภายในอัฒจรรย์สามารถ หมุนเวียนสู่ภายนอกได้ สัดส่วนความทึบแสงอยู่ที่ 70% - 30% ช่วยลดทอน ปริมาณแสงอาทิตย์ที่ส่องผ่านสู่พื้นที่ภายใน

โดยคุณสมบัติของวัสดุมีความโปร่งแสง มีรูปแบบการ เจาะและความทึบแสงที่หลากหลาย สามารถกำ�หนด ให้เครื่อง CNC ผลิตได้ตามความต้องการ มีค่าความ โปร่งแสงตั้งแต่ 20% - 75% เมื่อมีการติดตั้งไฟส่องสว่างก็สามารถสร้างปรากฎการณ์ Illumination สร้างความโดดเด่นในเวลากลางคืน

ช่องว่างของวัสดุทำ�ให้อากาศสามารถไหลผ่านได้อย่าง เป็นอิสระ ช่วยให้อากาศภายในอัฒจรรย์สามารถ หมุนเวียนสู่ภายนอกได้ สัดส่วนความทึบแสงอยู่ที่ 80% - 25% ช่วยลดทอน ปริมาณแสงอาทิตย์ที่ส่องผ่านสู่พื้นที่ภายใน

โดยคุณสมบัติของวัสดุมีความโปร่งแสง แต่ถูกกำ�หนด โดยกระบวนการผลิตจากโรงงาน ทำ�ให้เป็นข้อจำ�กัดให้ ต้องเลือกใช้ตามประเภทที่มีการผลิตเป็นหลัก มีค่าความ โปร่งแสงตั้งแต่ 60% - 85% เมื่อมีการติดตั้งไฟส่องสว่างก็สามารถสร้างปรากฎการณ์ Illumination สร้างความโดดเด่นในเวลากลางคืน

ช่องว่างของวัสดุทำ�ให้อากาศสามารถไหลผ่านได้อย่าง เป็นอิสระ ช่วยให้อากาศภายในอัฒจรรย์สามารถ หมุนเวียนสู่ภายนอกได้ สัดส่วนความทึบแสงอยู่ที่ 40% - 15% ช่วยลดทอน ปริมาณแสงอาทิตย์ที่ส่องผ่านสู่พื้นที่ภายใน

Expanded Metal Sheet

Perforated Metal Sheet

Architectural Mesh

*ในอัตราส่วนการทึบแสงที่เท่ากัน เหล็กฉีกมีคุณสมบัติ ในการป้องกันแสงอาทิตย์ได้มากกว่าเพราะกระบวนการ ผลิตทำ�ให้เกิดระยะที่เหล็กบิดตัว ช่วยป้องกันแสง อาทิตย์ได้หลายช่วงเวลา


Large Scale and Installation Technique

Individual Design

Color Screening and Painting

Long Life Circle and Maintainance

วัสดุไม่มีคุณสมบัติในการรับแรงตึง ทำ�ให้ต้องใช้ substructure เพื่อรองรับการติดตั้ง แต่ด้วยนำ�้หนักวัสดุ ที่น้อยทำ�ให้สามารถประหยัดโครงสร้าง กระบวนการ ผลิตจากโรงงานสามารถตัด พับ หรือดัดได้ตามขนาดที่ ต้องการ เพิ่มประสิทธิภาพความแม่นยำ� และรวดเร็วใน การติดตั้ง

ด้วยเทคนิคการผลิตทำ�ให้รูปแบบของวัสดุที่ถูกกรีด และ ฉี ก กลายเป็ น ข้ อ จำ � กั ด ให้ ส ามารถเลื อ กได้ เ พี ย งขนาด ของช่อง และชนิดวัสดุ จึงไม่สามารถสร้างพื้นผิวที่มี เอกลักษณ์พิเศษได้

คุณสมบัติของวัสดุที่ผลิตจากแผ่นโลหะแบน และบาง ทำ�ให้ง่ายต่อการทำ�สีด้วยระบบ Powder Coat ที่มี ความคงทนต่อการใช้งานภายนอก

วั ส ดุ ที่ ผ่ า นกระบวนการป้ อ งกั น สนิ ม สามารถใช้ ง าน ภายนอกได้อย่างยาวนาน การติดตั้งด้วยระบบ Dry Process ทำ�ให้ง่ายต่อการรื้อถอน หรือซ่อมบำ�รุงในอนาคต แต่การทำ�สีที่สั่งผลิตโดยเฉพาะ ไม่มีจำ�หน่ายในตลาด ทั่วไป การซ่อมบำ�รุงในอนาคตอาจมีค่าใช้จ่ายที่สูง

วัสดุไม่มีคุณสมบัติในการรับแรงตึง ทำ�ให้ต้องใช้ substructure เพื่อรองรับการติดตั้ง แต่ด้วยนำ�้หนักวัสดุ ที่น้อยทำ�ให้สามารถประหยัดโครงสร้าง กระบวนการ ผลิตจากโรงงานสามารถตัด พับ หรือดัดได้ตามขนาดที่ ต้องการ เพิ่มประสิทธิภาพความแม่นยำ� และรวดเร็วใน การติดตั้ง

นอกจากวัสดุที่มีจำ�หน่ายอย่างหลากหลายทั้งขนาดของ ช่องเจาะ รูปแบบการเจาะ และความหนาแน่น ก็ยัง สามารถสั่งผลิตพิเศษตามความต้องการด้วยเครื่อง CNC ทำ�ให้สามารถสร้างสรรค์พื้นผิว และรวดลายที่มีความ แตกต่าง หรือแม้กระทั่งทำ�เป็นรูปภาพได้เช่นกัน

Area and Cost พื้นที่ผิว : 3,650 ตรม. ราคาค่าวัสดุ : 650 บาท / ตรม. ราคาค่าติดตั้ง : 500 บาท / ตรม.

งบประมาณรวม : 4,197,500 บาท

คุณสมบัติของวัสดุที่ผลิตจากแผ่นโลหะแบน และบาง ทำ�ให้ง่ายต่อการทำ�สีด้วยระบบ Powder Coat ที่มี ความคงทนต่อการใช้งานภายนอก

วั ส ดุ ที่ ผ่ า นกระบวนการป้ อ งกั น สนิ ม สามารถใช้ ง าน ภายนอกได้อย่างยาวนาน การติดตั้งด้วยระบบ Dry Process ทำ�ให้ง่ายต่อการรื้อถอน หรือซ่อมบำ�รุงในอนาคต แต่การทำ�สีที่สั่งผลิตโดยเฉพาะ ไม่มีจำ�หน่ายในตลาด ทั่วไป การซ่อมบำ�รุงในอนาคตอาจมีค่าใช้จ่ายที่สูง

พื้นที่ผิว : 3,650 ตรม. กรณีใช้วัสดุที่มีจ�ำ หน่ายในท้องตลาด ราคาค่าวัสดุ : 850 บาท / ตรม. ราคาค่าติดตั้ง : 500 บาท / ตรม.

งบประมาณรวม : 4,927,500 บาท กรณีใช้สั่งผลิตเฉพาะด้วยเครื่อง CNC ราคาค่าวัสดุ : 1,250 บาท / ตรม. ราคาค่าติดตั้ง : 500 บาท / ตรม.

งบประมาณรวม : 6,387,500 บาท วัสดุมีคุณสมบัติในการรับแรงตึง ทำ�ใหสามารถติดตั้ง ไปยัง Main structure โดยตรง และใช้แรงตึงในการ ขึงให้วัสดุแข็งแรงยิ่งขึ้น นำ�้หนักเบายิ่งช่วยให้ประหยัด โครงสร้างได้มากที่สุด กระบวนการผลิตจากโรงงาน สามารถตัด ได้ตามขนาดที่ต้องการ การขนส่งที่สามารถ อยู่ในรูปแบบม้วน ช่วยให้เพิ่มประสิทธิภาพในการ เคลื่อนย้าย ประหยัดราคา และติดตั้งได้อย่างรวดเร็ว

กระบวนการผลิตสามารถสร้างรูปแบบการประกอบกัน ของชิ้นวัสดุได้ แต่ก็ยังเป็นการยากที่จะผลิตตามความ ต้องการเพราะความซับซ้อนของเครื่องจักร แต่มักถูกใช้ ในกรณีที่จงใจแสดงให้เห็นถึงความโปร่ง เบาบาง และมี โครงสร้างรบกวนน้อยที่สุด

สามารถทำ�สีด้วยระบบ Powder Coat ที่มีความคงทน ต่อการใช้งานภายนอก

วั ส ดุ ที่ ป้ อ งกั น การผลุ ก ร่ อ นจากสนิ ม สามารถใช้ ง าน ภายนอกได้อย่างยาวนาน การติดตั้งด้วยระบบ Dry Process ทำ�ให้ง่ายต่อการรื้อถอน หรือซ่อมบำ�รุงในอนาคต

พื้นที่ผิว : 3,650 ตรม. ราคาค่าวัสดุ : 1,150 บาท / ตรม. ราคาค่าติดตั้ง : 350 บาท / ตรม.

งบประมาณรวม : 5,475,000 บาท


MATERIALITY STUDY : Tectonic System

Transparent Media and Illumination

Natural Ventilation and Sun Protection

ระบบตารางที่ประกอบขึ้นจากคีบแนวตั้ง และแนวนอน ทำ � ให้ เ มื่ อ มองตั้ ง ฉากกั บ ผิ ว วั ต ถุ จ ะสามารถมองทะลุ เข้าไปยังอีกด้านหนึ่ง แต่เมื่อเบี่ยงตัวมองทำ�มุมจะเห็นผิว ด้านข้างของคีบและดูทึบ ซึ่งส่งผลให้เพื่อผู้มองเคลื่อนตัว ผ่านอาคาร ก็จะได้รับมุมมองที่มีมีการเปลี่ยนแปลง ช่วย เพิ่มมิติในการมองเห็นให้แก่อาคาร นั่ น ทำ � ให้ ยั ง สามารถคงแนวคิ ด ที่ ต้ อ งการให้ ผิ ว อาคาร โปร่งแสง ทั้งในเวลากลางวัน และกลางคืน

ช่องว่างของวัสดุทำ�ให้อากาศสามารถไหลผ่านได้อย่าง เป็นอิสระ ช่วยให้อากาศภายในอัฒจรรย์สามารถ หมุนเวียนสู่ภายนอกได้ ความสัมพันธ์ระหว่างความกว้างของแผ่นคีบทั้งตั้งและ นอน กับระยะห่างมีผลต่อองศาของแสงแดดที่จะผ่าน เข้ามาสู่ภายในอาคาร

ระบบตารางที่ประกอบขึ้นจากคีบแนวตั้ง และแนวนอน ทำ � ให้ เ มื่ อ มองตั้ ง ฉากกั บ ผิ ว วั ต ถุ จ ะสามารถมองทะลุ เข้าไปยังอีกด้านหนึ่ง แต่เมื่อเบี่ยงตัวมองทำ�มุมจะเห็นผิว ด้านข้างของคีบและดูทึบ ซึ่งส่งผลให้เพื่อผู้มองเคลื่อนตัว ผ่านอาคาร ก็จะได้รับมุมมองที่มีมีการเปลี่ยนแปลง ช่วย เพิ่มมิติในการมองเห็นให้แก่อาคาร นั่ น ทำ � ให้ ยั ง สามารถคงแนวคิ ด ที่ ต้ อ งการให้ ผิ ว อาคาร โปร่งแสง ทั้งในเวลากลางวัน และกลางคืน เทคโนโลยี ก ารก่ อ สร้ า งในปั จ จุ บั น ที่ ส ามารถนำ � ระบบ CNC เข้ามามีบทบาทในการตัดขึ้นรูปวัสดุได้ตามรูปแบบ ที่ต้องการแบบ one by one จึงช่วยพัฒนาขีดจำ�กัดของ แนวคิดในการออกแบบให้กว้างขวางมากยิ่งขึ้น

ช่องว่างของวัสดุทำ�ให้อากาศสามารถไหลผ่านได้อย่าง เป็นอิสระ ช่วยให้อากาศภายในอัฒจรรย์สามารถ หมุนเวียนสู่ภายนอกได้ ความสัมพันธ์ระหว่างความกว้างของแผ่นคีบทั้งตั้งและ นอน กับระยะห่างมีผลต่อองศาของแสงแดดที่จะผ่าน เข้ามาสู่ภายในอาคาร

Simple Grid

Dynamic Grid


Large Scale and Installation Technique

Individual Design

Color Screening and Painting

Long Life Circle and Maintainance

สามารถพิจารณาได้เป็น 2 กรณี คือ 1. ใช้ระบบ Cladding โดยประกอบโครงเหล็กขึ้นเป็น ตารางตามที่ก�ำ หนด และหุ้มพื้นผิวภายนอกด้วยแผ่น Aluminium Clading ซึ่งต้องการ Sub Structure ตาม รูปทรงทั้งหมด 2. ในวัสดุประเภท Composite Panel มี่ตัวมันเองมี ความแข็ ง แรงพอที่ จ ะประกอบกั น ขึ้ น เป็ น รู ป ทรงโดย ไม่ต้องอาศัย Sub Structure และยังสามารถผลิตได้ ความยาวเท่าที่ต้องการ ช่วยให้การติดตั้งเป็นระบบ และ รวดเร็ว

สามารถออกแบบมิติของคีบ และระยะห่างของแต่ละ องค์ประกอบ ซึ่งสามารถสร้างจังหวะที่หลากหลาย แต่ หากใช้ระบบ Cladding จะติดปัญหาที่ข้อจำ�กัดของ กระบวนการก่ อ สร้ า งที่ ต้ อ งใช้ ก ารติ ด ตั้ ง ด้ ว ยแรงงาน คน ซึ่งอาจทำ�ได้ไม่ซับซ้อน และรวดเร็วเท่าแรงงาน เครื่องจักร

สามารถทำ�สีได้ 2 ระบบได้แก่ 1. Coversheet ที่ถูกผลิต และติดตั้งบนผิวหน้าวัสดุมา จากโรงงาน โดยสามารถเลือกทั้งสีสัน และรวดลายได้ หลากหลาย แต่ก็ยังคงมีเฉดสีที่จำ�กัด 2. Powder Coat ที่ต้องทำ�สีภายหลังการผลิต มีข้อดี คือสามารถกำ�หนดเฉดสีได้ตามความต้องการ และหลาก หลาย แต่ความทนทานไม่เท่าระบบ Coversheet

คุณสมบัติของวัสดุประเภท Aluminium คือการไม่ขึ้น สนิม ซึ่งเป็นปัจจุยสำ�คัญต่อการใช้งานในระยะยาว โดย หากติดตั้งด้วยระบบ Dry Process และจัดระบบให้เป็น Module จะช่วยให้การรื้อถอนเพื่อซ่อมแซมทำ�ได้อย่าง รวดเร็ว และสร้างความเสียหายกับวัสดุ

Area and Cost กรณีที่ 1 ขนาดช่อง 600 x 600 mm. พื้นที่ผิว : 7,300 ตรม. ราคาค่าวัสดุ : 3,500 บาท / ตรม. ราคาค่าติดตั้ง : 1,000 บาท / ตรม. เฉลี่ยค่า CNC ประมาณ 7.5%

งบประมาณรวม : 35,313,750 บาท กรณีที่ 2 ขนาดช่อง 900 x 900 mm. พื้นที่ผิว : 5,475 ตรม. ราคาค่าวัสดุ : 3,500 บาท / ตรม. ราคาค่าติดตั้ง : 1,000 บาท / ตรม. เฉลี่ยค่า CNC ประมาณ 7.5%

งบประมาณรวม : 26,485,312 บาท กรณีที่ 3 ขนาดช่อง 1,200 x 1,200 mm. พื้นที่ผิว : 3,650 ตรม. ราคาค่าวัสดุ : 3,500 บาท / ตรม. ราคาค่าติดตั้ง : 1,000 บาท / ตรม. เฉลี่ยค่า CNC ประมาณ 7.5%

งบประมาณรวม : 17,656,875 บาท เนื่องจากการตัดขึ้นรูปด้วยระบบ CNC ทำ�ให้รองรับ เพียงวัสดุประเภท Composite Panel ซึ่งมีคุณสมบัติ เป็น Self Structure โดยไม่ต้องอาศัย Sub Structure และยังสามารถผลิตได้ความยาวเท่าที่ต้องการ ช่วย ให้การติดตั้งเป็นระบบ และรวดเร็ว

สามารถออกแบบได้อย่างมีอิสระ โดยองค์ประกอบ แต่ละชิ้นสามารถถูกตัดขึ้นรูปอย่างเฉพาะตัวได้ตามการ ออกแบบภายในคอมพิวเตอร์ สามารถสร้างมิติของผิว อาคารที่มีความตื้น-ลึก และมิติของแสงเงาได้อย่างน่า สนใจ

สามารถทำ�สีได้ 2 ระบบได้แก่ 1. Coversheet ที่ถูกผลิต และติดตั้งบนผิวหน้าวัสดุมา จากโรงงาน โดยสามารถเลือกทั้งสีสัน และรวดลายได้ หลากหลาย แต่ก็ยังคงมีเฉดสีที่จำ�กัด 2. Powder Coat ที่ต้องทำ�สีภายหลังการผลิต มีข้อดี คือสามารถกำ�หนดเฉดสีได้ตามความต้องการ และหลาก หลาย แต่ความทนทานไม่เท่าระบบ Coversheet

คุณสมบัติของวัสดุประเภท Aluminium คือการไม่ขึ้น สนิม ซึ่งเป็นปัจจุยสำ�คัญต่อการใช้งานในระยะยาว โดย หากติดตั้งด้วยระบบ Dry Process และจัดระบบให้เป็น Module จะช่วยให้การรื้อถอนเพื่อซ่อมแซมทำ�ได้อย่าง รวดเร็ว และสร้างความเสียหายกับวัสดุ

กรณีที่ 1 ขนาดช่อง 600 x 600 mm. พื้นที่ผิว : 10,950 ตรม. ราคาค่าวัสดุ : 3,500 บาท / ตรม. ราคาค่าติดตั้ง : 1,000 บาท / ตรม. เฉลี่ยค่า CNC ประมาณ 20%

งบประมาณรวม : 59,130,000 บาท กรณีที่ 2 ขนาดช่อง 900 x 900 mm. พื้นที่ผิว : 8,212 ตรม. ราคาค่าวัสดุ : 3,500 บาท / ตรม. ราคาค่าติดตั้ง : 1,000 บาท / ตรม. เฉลี่ยค่า CNC ประมาณ 20%

งบประมาณรวม : 44,347,500 บาท กรณีที่ 3 ขนาดช่อง 1,200 x 1,200 mm. พื้นที่ผิว : 5,475 ตรม. ราคาค่าวัสดุ : 3,500 บาท / ตรม. ราคาค่าติดตั้ง : 1,000 บาท / ตรม. เฉลี่ยค่า CNC ประมาณ 20%

งบประมาณรวม : 29,565,000 บาท



TECTONIC SYSTEM : Shell with Skeleton ระบบการติดตั้งวัสดุ Facade แบบ Shell with Skeleton เป็นระบบที่พัฒนาขึ้นจากวัสดุโลหะที่สามารถนำ�มา Cladding ห่อหุ้มโครงสร้างไว้ภายใน ทำ�ให้สามารถสร้างรูปทรงที่ มีความหนา แต่นำ�้หนักเบา

Horizontal Support

Main Vertical Support

ข้อดี : เป็นระบบที่ใช้เทคโนโลยีไม่ซับซ้อน อาศัยการถอด แบบที่แม่นยำ� และช่างที่มีประสบการณ์สามารถทำ�งานได้ ข้อเสีย : เป็นข้อจำ�กัดในงานออกแบบที่จะไม่ซับซ้อนมาก นัก ควรเป็นระบบ Modular เพื่อให้ง่ายต่อการทำ�งานใน ปริมาณมากๆ และยังต้องเปลือง Sub Structure จำ�นวน มาก

Aluminium Clading

Sub Structure

Extension Column



TECTONIC SYSTEM : Composite Panel การพัฒนาวัสดุประเภท Composite Panel ทำ�ให้เกิดวัสดุ โลหะที่มีนำ�้หนักเบา แต่แข็งแรงทนทาน สามารถรับนำ�้หนัก ได้โดยอาศัยโครงสร้างน้อยลง เป็นผลให้ถูกนำ�มาพัฒนาสู่ งานก่อสร้างที่ทำ�งานร่วมกับระบบ Pre Fablication ด้วย เครื่อง CNC ที่สามารถตัดขึ้นรูปได้ตามต้องการ แม่นยำ� และ รวดเร็วในการติดตั้ง

ข้อดี : มีอิสระในการออกแบบมากขึ้น สามารถสร้างรูปทรง เลขาคณิตที่ซับซ้อนได้ด้วยกระบวนการก่อสร้างที่เรียบง่าย ขึ้น ความแม่นยำ� ความรวดเร็ว และนำ�้หนักที่เบามีส่วน ช่วยในการลดงบประมาณบางส่วนลง

Vertical Members

Main Vertical Support

Horizontal Members

ข้อเสีย : ยังจัดเป็นเทคโนโลยีราคาสูง ทั้งการผลิตวัสดุ และ การตัดด้วยเครื่อง CNC

Assenble Aluminium Panel (Honeycomb)

Extension Column

Horizontal Support



FOCUSSING PLANE

FOCUSSING PLANE

CONCEPT : Flag Ship Stadium

STRAIGHT

ZIGZAG

DYNAMIC


COLOR SHADING

e7e7e7

e9dcd3

eaccb2

ebd88b

eba567

eb903f

ec801c

eb78509

ed740b

ed740b

8e8e8e8

d3d2d3

b3b5de

8d90d5

676bce

3b42c6

1f26bf

0810bb

0911bc

8010bb


DYNAMIC COLOR

ZIGZAG

RYTHM

GRADIENT


ELEVATION-C (MAIN ENTRANCE)


ELEVATION-A


Waving Facade : Day


Waving Facade : Night








ILLUMINATION

ADVERTISMENT

NON MATCH DAY (DAY)

NON MATCH DAY (NIGHT)

ILLUMINATION

MATCH DAY (NIGHT)


SHADING

ILLUMINATION

MESSAGING


MAIN SPONSORS MESSAGING SCREEN

ADVERTISMENT ZONING

Let’s see what this facade can do

TEXT MEGGAGING : PAT STADIUM


SLOGAN ADVERTISING

TEXT MEGGAGING : เชื่อแป้ง

BRAND ADVERTISING

TEXT AND GRAPHIC MEGGAGING : เมืองไทย ประกันภัย


My name is

TEXT AND GRAPHIC MEGGAGING : PORT FC 1967

ANNOUNCEMENT

TEXT AND GRAPHIC MEGGAGING : MATCH DAY


Bravo!!!!

TEXT AND GRAPHIC MEGGAGING : GOAL


MESSAGING SCREEN

ADVERTISMENT ZONING

GREETING

TEXT MEGGAGING : WELCOME


Bravo!!!!

TEXT MEGGAGING : GOAL!

LION !

GRAPHIC MEGGAGING : LION


ILLUMINATION FACADE


TEXT MESSAGING FACADE


WIND SIMULATION

การออกแบบให้ facade เป็นโครงตารางที่โปร่งมีข้อดี ต่อการไหลเวียนของอากาศภายในสนาม ทำ�ให้ผู้ชมก็ สามารถสัมผัสลมที่พัดผ่าน อากาศปลอดโปร่ง และช่วย ระบายอุณหภูมิของอากาศภายในสนาม


FACADE REVOLUTION

VERTICAL FACADE

CANOPY SHELTERS

VERTICAL FACADE

ZIG-ZAG FACADE

CLADDING SYSTEM EXPANDED STEEL

พื้นที่ผิว : 3,650 ตรม. งบประมาณรวม : 4,197,500 บาท

PERFORATED STEEL

กรณีใช้วัสดุที่มีจ�ำ หน่ายในท้องตลาด พื้นที่ผิว : 3,650 ตรม. งบประมาณรวม : 4,927,500 บาท

กรณีใช้สั่งผลิตเฉพาะด้วยเครื่อง CNC พื้นที่ผิว : 3,650 ตรม. งบประมาณรวม : 6,387,500 บาท

ARCHITECTURAL MESH

พื้นที่ผิว : 3,650 ตรม. งบประมาณรวม : 5,475,000 บาท

SIMPLE GRID

กรณีที่ 1 ขนาดช่อง 600 x 600 mm. พื้นที่ผิว : 7,300 ตรม. งบประมาณรวม : 35,313,750 บาท

กรณีที่ 2 ขนาดช่อง 900 x 900 mm. พื้นที่ผิว : 5,475 ตรม. งบประมาณรวม : 26,485,312 บาท

TECTONIC SYSTEM DYNAMIC GRID

กรณีที่ 3 ขนาดช่อง 1,200 x 1,200 mm. พื้นที่ผิว : 3,650 ตรม. งบประมาณรวม : 17,656,875 บาท

กรณีที่ 1 ขนาดช่อง 600 x 600 mm. พื้นที่ผิว : 10,950 ตรม. งบประมาณรวม : 59,130,000 บาท

กรณีที่ 2 ขนาดช่อง 900 x 900 mm. พื้นที่ผิว : 8,212 ตรม. งบประมาณรวม : 44,347,500 บาท

กรณีที่ 3 ขนาดช่อง 1,200 x 1,200 mm. พื้นที่ผิว : 5,475 ตรม. งบประมาณรวม : 29,565,000 บาท



APPENDIX 20.04.07

PAT STADIUM : ARCHITECTURE FOR MAINTAIN IDENTITY OF PORT FC แพทสเตเดียม : สถาปัตยกรรมเพื่อธำ�รงค์อัตลักษณ์สโมสรการท่าเรือ

ธีรนพ จำ�นงค์

สถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันอาศรมศิลป์


STUDY MODEL PAT Stadium


STUDY MODEL : Site Model Scale 1:500


STUDY MODEL : Site Model Scale 1:500


STUDY MODEL : Site Model Scale 1:500


STUDY MODEL : Site Model Scale 1:500


STUDY MODEL : Architectural Model Model Scale 1:200


STUDY MODEL : Architectural Model Model Scale 1:200


STUDY MODEL : Architectural Model Model Scale 1:200


STUDY MODEL : Architectural Model Model Scale 1:200


STUDY MODEL : Architectural Model Model Scale 1:200


STUDY MODEL : Architectural Model Model Scale 1:200


STUDY MODEL : Architectural Model Model Scale 1:200


STUDY MODEL : Architectural Model Model Scale 1:200


STUDY MODEL : Architectural Model Model Scale 1:200


STUDY REPORT STADIUM EVOLUTION 500s B.C. - 2015


- ในสมัยกรีกการแข่งขันโอลิมปิกถูกก่อตั้งขึ้นเพื่อการ ทดสอบสมรรถภาพ และเป็นพิธีกรรมทางศาสนา ถูก สงวนไว้เฉพาะชายชนชั้นสูง สนามกีฬาเป็นดั่งสถานที่ ศักดิ์สิทธิ์ของเทพเจ้า เป็นกิจกรรมที่ไม่ได้เป็นไปเพื่อ สาธารณชน แต่นั่นก็เป็นรากฐานสำ�คัญของการแข่งขัน กีฬาที่เป็นมากกว่าการละเล่น หรือออกกำ�ลังกาย หาก แต่เป็นกิจกรรมที่มีกฏระเบียบ ข้อบังคบ แบบแผนทั้ง การฝึกซ้อม และการแข่งขันกีฬาเป็นหนทางในการ ประเมินสมรรถนะในการฝึกฝนมนุษย์ ซึ่งในเวลานั้น ถูกใช้เป็นตัวบ่งชี้ถึงอำ�นาจของรัฐต่างๆ การแข่งขันเกิด ขึ้นจากภายในรัฐ (national)ไปสู่ระหว่างรัฐ (inter-

มนุษย์ เพราะเมื่อกีฬาเป็นตัวแทนของรัฐ ย่อมเกี่ยวพัน ไปถึงกลุ่มคนทุกชนชั้นในสังคม อันนำ�มาสู่ความรู้สึก ร่วมในตัวตน (identity) ของสังคมนั้นๆ ชัยชนะจึงไม่ใช่ เพียงเกียรติยศของนักกีฬา แต่เป็นเกียรติยศของรัฐ และสังคมไปในเวลาเดียวกัน national) เพื่อการแสดงแสงยานุภาพ ความแข็งแกร่ง และระเบียบวินัยของของนักกีฬาที่ฝึกฝนตามวิถีทาง ของแต่ละรัฐ - จากจุดนี้กีฬาจึงเริ่มมีบทบาทในทางสังคมวิทยาของ

Greek Era 500s B.C.

Olympia Stadium, Olympia, Greece (5th centuries B.C.)

Capacity : จุดเริ่มต้นของการออกแบบสนามกีฬาที่ทำ�ให้อัฒจรรย์ มีความลาดชัน เพื่อให้ผู้ชมจำ�นวนมากสามารถเห็นการ แข่งขันกีฬาโดยไม่บังกัน จากจุดนี้พัฒนาเป็นที่นั่งในเวลา ต่อมา

400s B.C.

Delphi Stadium, Delphi, Greece (4th centuries B.C.)

Capacity : ต้นแบบสนามกีฬาโอลิมปิกโบราณ โดยมีที่นั่งชมเป็นอัฒ จรรย์ขนานไปกับลานกรีฑา ด้านหนึ่งเปิดโล่ง อีกด้านโอม ล้อมด้วยอัฒจรรย์

เมื่อแผ่นดินยุโรปถูกปกครองโดยจักรวรรดิโรมัน ชนชั้ น ปกครองได้ ส ร้ า งค่ า นิ ย มและแบบแผนทาง สังคม โดยสร้างกรอบจารีตระหว่างผู้มีอารยธรรมและ ผู้ไร้อารยธรรม ศิลปะ ดนตรี กวี และกีฬาถูกมองเป็น องค์ประกอบของวัฒนธรรมที่สังคมพึงมี กีฬาเปลี่ยน บทบาทมาสู่ความบันเทิงของมวลชน (mass enter-

311 B.C.

Panathenaic Stadium, Athens, Greece (311 B.C.)

Capacity : 45,000 seats สนามกีฬาโอลิมปิกที่สำ�คัญที่สุดแห่งหนึ่ง มีขนาดใหญ่ ที่สุดในในยุคสมัย พัฒนาขึ้นจากสนามกีฬาที่มีอัฒจรรย์ ขนานกับลานกรีฑา สัญลักษณ์ของการแข่งขันโอลิมปิก ต่อมาจึงถูกบูรณะขึ้นใหม่เพื่อจัดการแข่งขันโอลิมปิกสมัย ใหม่

tainment) ที่ไม่จ�ำ กัดอยู่เพียงชนชั้นสูง หากแต่ปริมาณ ของผู้ชมจะแสดงออกถึงความสำ�เร็จของผู้ปกครองใน การหล่อหลอมประชาชนไว้ภายใต้อ�ำ นาจ สนามกีฬา กลายเป็นอาคารสาธารณะขนาดใหญ่ ที่จุมวลชนได้ มหาศาล กีฬาที่ผู้ปกครองนำ�มาเสนอต่อสาธารณะ

มักมีนัยยะทางการเมือง เช่นการใช้ความรุนแรงต่อ เชลย การแสดงแสงยานุภาพของกำ�ลังทหาร หรือการ ประหารนักโทษภายหลังพ่ายแพ้การแข่งขัน - สนามกีฬาจึงไม่ได้ถูกสร้างแต่เพียงเมืองหลวง หาก แต่กระจายตัวไปกับหัวเมืองใหญ่ และอาณานิคม นั่น เพราะเป็นการส่งสัญญาณไปถึงสังคมอื่นๆว่าจักรวรรดิ มีแสงยานุภาพขนาดไหน การต่อต้านจะได้รับผลเช่นไร นับว่าเป็นการสอดแทรกนัยยะทางการเมืองไปพร้อม กับความสนุก ความบันเทิง

Roman Era 100 B.C.

Circus Maximus, Rome, Italy (1st Century B.C.)

Capacity : 200,000 seats สนามกีฬาที่ถูกออกแบบเพื่อการแข่งม้า (Hippodrome) คือมีลู่วิ่งสำ�หรับม้าแข่ง ด้านหนึ่งมีคอกปล่อยตัว อีกด้าน หนึ่งมีเสาหินเพื่อให้ม้ากลับตัว

1st century A.D.

Flavian Amphitheater (Colosseum), Rome, Italy (70-82 A.D.)

Capacity : 50,000 - 8000 spectators พัฒนาขึ้นจากอัฒจรรย์วงรีซ้อนชั้น เป็นสนามกีฬาที่ตั้งอยู่ ในบริบทเมือง เพื่อเป็นความบันเทิงแก่ชาวเมือง เป็นต้น แบบของการเพิ่มจำ�นวนที่นั่ง และการจัด circulation ใต้ อัฒจรรย์


- ตั้งแต่คริสต์วรรษที่ 17 ฟุตบอลเป็นกีฬาที่บรรจุอยู่ใน แผนการสอนของ Eton Colledge เพื่อเป็นการฝึกวินัย การแข่งขันเป็นทีม และไหวพริบสำ�หรับชนชั้นสูง จนมี การแข่งขันระหว่างโรงเรียนเกิดขึ้น - ประชาชนส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเป็นแรงงานในภาค อุตสาหกรรม การทำ�งานที่ซ�ำ ้ซากสร้างความเบื่อหน่าย นั่นทำ�ให้การมารวมตัวเพื่อชมการแข่งขันฟุตบอลกลาย เป็นการผ่อนคลายที่ได้รับความนิยมสูงสุด - จนกระทั่งปี ค.ศ. 1863 จึงมีการก่อตั้งสโมสรฟุตบอล ขึ้นมาแห่งแรกในอังกฤษ

1st Modern Olympic

Pure Stadium Period

The Olympic Revival

The Dark Age of Sport 19th Centuries A.D.

- Pierre de Coubertin บารอนชาวฝรั่งเศสได้เสนอ ให้จัดการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกขึ้นอีกครั้งหนึ่ง เพื่อฟื้นฟู ความเป็นอารยชนเฉกเช่นในอดีต

1863

Stadium construction hiatus from approximately sixth through 19th centuries A.D. ในช่วงคริสต์วรรษที่ 4 สภาคริสต์จักรแห่งเมือง Arles พิจารณาให้การแข่งม้าในสนามรูปวงรีเป็นที่ต้องห้าม และ ให้นำ�สนามแข่งขันไปใช้เพื่อสาธารณะประโยชน์ของชาว เมืองแทน และกรณีคล้ายคลึงกันดินแดนกรีกภายใต้การ ปกครองของจักรวรรดิโรมัน (จักรพรรดิ Theodosius) ได้ ยกเลิกการแข่งขันโอลิมปิก และประนามให้กีฬาเป็นการ กระทำ�นอกรีต กีฬาได้รับการสนับสนุนอีกครั้งในช่วง Renaissance ให้ มีการจัดแข่งม้า (Palio Horse Race) โดยใช้ที่ว่างบริเวณ จัตุรัส หรือลานกว้าง โดยมีอัฒจรรย์ที่ท�ำ ด้วยโครงสร้างไม้ ที่ถูกลื้อถอนภายหลังเสร็จสิ้นการแข่งขัน นั่นจึงทำ�ให้ไม่มี อาคารสนามกีฬาถาวรจนกระทั่งคริสต์วรรษที่ 19 เพราะความนิยมของกีฬาฟุตบอล และรักบี้ในประเทศ อังกฤษ จึงมีการก่อสร้างสนามกีฬาถาวรขนาดใหญ่ขึ่นใช้ งานอย่างเป็นรูปธรรม

1894

- แนวคิดต่อ stadium ในยุคแรกยังมองเป็นเพียงสิ่ง ก่อสร้างเพื่อรองรับการจัดการแข่งขันกีฬา โดยมีความ จุมากๆเนื่องจากยังไม่มีการถ่ายทอดสดเช่นปัจจุบัน ทุกคนจะได้ชมก็ต่อเมื่อเดินทางไปยังสนามกีฬา เป็น อาคารที่ไม่มีคุณค่าทางสถาปัตยกรรม เนื่องจากไม่ได้ คำ�นึงถึงการใช้งาน สิ่งอำ�นวยความสะดวก และความ ปลอดภัยเมื่อต้องอพยพประชาชนจำ�นวนมาก การ รับชมกีฬาจึงไม่ใช่ประสบการณ์ที่สะดวกสบายมาก นัก การก่อสร้างสนามกีฬาในช่วงเวลานั้นเกิดขึ้นใน 2 กรณีคือ

1896

Panathenaic Stadium (re-built), Athens, Greece (1896)

Capacity : 50,000 seats การขุดคุ้นทางโบราณคดีทำ�ให้ค้นพบสนามกีฬาแห่งนี้ใน กรุงเอเธนส์ ประเทศกรีซ เมื่อการแข่งขันกีฬาโอลิมปิก ถูกจัดขึ้นอีกครั้งในปี ค.ศ. 1894 สนามกีฬาแห่งนี้จึง ถูกบูรณะขึ้นตามรูปแบบดั้งเดิม จึงถูกยกย่องให้เป็นจิต วิญญาณ และสัญลักษณ์ของโอลิมปิกสมัยใหม่

1905

Goodison Park, Liverpool, England (1905)

Capacity : 35,000 seats หนึ่ง stadium ที่เก่าแก่ที่สุดในอังกฤษ และยังคงใช้งาน อยู่ในปัจจุบัน พัฒนาขึ้นจากอัฒจรรย์แบบแยกส่วน โดย แก้ปัญหามุมมองของผู้ชม โดยเชื่อว่าการหักมุมเล็กน้อย จะช่วยให้มีมุมมองที่ดีขึ้น แต่แลกมาด้วยระยะห่างที่มาก ยิ่งขึ้น จึงไม่เป็นที่นิยม

1. สนามกีฬาที่เป็นสวัสดิการของรัฐ เพื่อการจัดการ แข่งขันรายการสำ�คัญระดับประเทศ และนานาชาติ มักถูกออกแบบใช้ได้ทั้งกรีฑา ฟุตบอล และรักบี้ 2. สนามฟุตบอลระดับสโมสรที่เกิดขึ้นโดยเอกชนท้อง ถิ่น หลายแห่งต่อเติมจากเนินดินมาเป็นอัฒจรรย์ไม้ เพื่อรับผู้ชมได้มากขึ้น ซึ่งในเวลาต่อมาสนามฟุตบอล เหล่านี้จะประสบปัญหาทั้งจากอัคคีภัย การไม่สามารถ ควบคุมฝูงชน และไม่มีมาตรการอพยพที่ดีเพียงพอ Match Day (L.S. Downey) ภาพเขียนที่สะท้อนให้ เห็นบทบาทของกีฬาฟุตบอลท่ามกลางบริบทของสังคม ยุคอุตสาหกรรม London Olympics 1908

The White City Stadium, London, England (1908)

Capacity : 93,000 seats อัฒจรรย์ที่สร้างขึ้นเพื่อจัดการแข่งขันโอลิมปิกโดยอังกฤษ เป็นเจ้าภาพ พัฒนาแนวคิดมาจาก Panathenaic Stadium ที่ให้อัฒจรรย์วางตัวขนานกับลู่กรีฑาและมีลานตรง กลาง เพื่อให้สามารถจัดแข่งขันกีฬาได้ครบทุกประเภท ปัจจุบันถูกรื้อถอนไปแล้ว

1910

Old Trafford, Manchester, England (1910)

Capacity : 76,098 seats ก่อสร้างโดยใช้เทคนิคการถมไล่ระดับดิน (Embankment Standing) เป็นแห่งแรกที่สร้างอัฒจรรย์โค้งทุกมุม ซึ่งเป็น รูปแบบใหม่แตกต่างจากสนามฟุตบอลในเวลานั้นที่ยังเป็น อัฒจรรย์ 4 ด้าน


World War I

World War II 1st FIFA World Cup in Uruguay

FIFA World Cup in Brazil

Berlin Olympics 1914

1918

1923

Wembley, London, England (1923)

Capacity : 82,000 seats เป็ น สนามกี ฬ าแห่ ง ชาติ ข องอั ง กฤษสร้ า งขึ้ น เพื่ อ เป็ น สัญลักษณ์แก่จักรวรรดิ เป็นสนามกีฬาแห่งแรกที่ก่อสร้าง โดยโครงสร้างคอนกรีตทั้งหมด แทนที่การถมดินเช่นก่อน

1930

1936

Berliner Olympiastadion, Berlin, Germany (1936)

- ภายหลังสงครามโลกครั้งที่ 1 มีความคาดหวังว่า กี ฬ าจะมี ส่ ว นในการลดแรงปะทะระหว่ า งประเทศ มหาอำ�นาจ โดยเฉพาะอย่างยิ่งฟุตบอลที่เริ่มเป็นที่ นิยมในเวลานั้น การสร้างองค์กรเช่น Olympics และ FIFA ให้เป็นองค์กรที่เป็นกลางไม่ยึดโยงกับการเมือง มี ป ณิ ธ านที่ จ ะดำ � เนิ น การจั ด การแข่ ง ขั น อย่ า งสมำ �่ เสมอ และต่อเนื่อง การวางตัวเช่นนี้จะยังคงมีผลจนถึง ปัจจุบัน คือกีฬาถูกสงวนไว้ซึ่งการเมือง การแสดงออก ใดๆที่มีนัยยะจะถูกปฏิเสธ หรือมีบทลงโทษ

1939

Capacity : 100,000 seats (present 74,064 seats) สร้างขึ้นเพื่อเป็นสัญลักษณ์แห่งอำ�นาจแก่พรรคนาซี โดย สมบูรณ์ด้วยระบบเรขาคณิต ที่แสดงออกอย่างโอ่อ่า มั่นคง และแข็งแรง เป็นหนึ่งในสนามกีฬาที่ยังสามารถใช้ งานได้จนถึงปัจจุบันโดยไม่ต้องรับการปรับปรุงเพิ่มเติม

1945

- ภายหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 เทคโนโลยีถูกพัฒนา อย่างก้าวกระโดด โดยเฉพาะอย่างยิ่งการบันทึกภาพ วีดีโอที่พัฒนาไปสู่การถ่ายทอดสดการแข่งขัน นั่น ทำ�ให้ทัศนคติการไปชมกีฬาที่สนามยิ่งกลายเป็นสิ่งที่ ลำ�บาก และไม่จ�ำ เป็นอีกต่อไป สนามกีฬาจึงต้องปรับ ตัวให้การชมกีฬาเป็นการพักผ่อนหย่อนใจและสะดวก สบาย โดยเพิ่มจำ�นวนห้องนำ�้ ร้านจำ�หน่ายอาหารและ เครื่องดื่ม การติดตั้งไฟส่องสว่างเพื่อให้สามารถจัดการ แข่งขันเวลากลางคืนได้ แต่ด้านความปลอดภัยยังไม่ถูก พิจารณาอย่างจริงจัง

- สังคมในขณะนั้นหลายประเทศสามารถฟื้นฟูตนเอง จากความเสียหายหลังสงครามได้ และเริ่มเข้าสู่การ แข่งขันทางเศรษฐกิจ และการเมืองของมหาอำ�นาจ ประชาธิปไตยและคอมมิวนิสต์ การเป็นเจ้าภาพการ แข่งขันรายการสำ�คัญเช่นโอลิมปิกและฟุตบอลโลกเป็น จุดยืนสำ�คัญที่หลายประเทศต่างหมายปอง เพราะเป็น โอกาสในการกระตุ้นเศรษฐกิจ แสดงศักยภาพเพื่อเพิ่ม ความเชื่อมั่นแก่นักลงทุน และการได้เข้าไปยืนอยู่ใน สายตาของประชาคมโลก

Post War Innovation Period

1950

Estádio Jornalista Mário Filho, Rio de Janeiro, Brazil (1950)

Capacity : 200,000 seats (present 78,838 seats) ตัวอย่างสนามกีฬารูปไข่ ที่เป็รที่นิยมไปทั่วทวีปอเมริกาใต้ เป็นความจุที่มากที่สุดในประวัติศาสตร์ ถูกพัฒนารูปแบบ จากอัฒจรรย์หักมุม มาเป็นเส้นโค้งเพื่อให้การทำ�มุมของผู้ ชมกับการแข่งขันในสนามดีขึ้นกว่าการวางตัวขนาน

Rome Olympics 1953

Stadio Olimpico di Roma, Roma, Italy (1953)

Capacity : 53,000 seats ก่อสร้างขึ้นเพื่อเป็นเจ้าภาพการแข่งขันโอลิมปิก ซึ่งเป็น ครั้งแรกที่มีการถ่ายทอดทางโทรทัศน์ไปทั่วทวีปยุโรป จึง มีการติดตั้งไฟส่องสว่างเพื่อให้สามารถรับชมได้แม้ยาม กลางคืน

1957

L’Estadi (Camp Nou), Barcelona, Spain (1957)

1960

Capacity : 99,354 seats เป็นสนามฟุตบอลที่มีคสามจุสูงที่สุดในทวีปยุโรป แต่เป็น สนามที่มีพร้อมด้วยสิ่งอำ�นวยความสะดวก โดยถึงแม้อัฒ จรรย์จะมีความสูง และแบ่งออกเป็น 3 ชั้น แต่ในแต่ละชั้น มีห้องนำ�้ ร้านขายเบียร์ และอาหารครบถ้วน


- ภายหลังทศวรรศที่ 1950s ในเวลานั้นโลกตะวันตก ตื่นตัวอย่างมากกับการสื่อสารมวลชน ทั้งทางวิทยุ และโทรทัศน์ นั่นได้เปิดโอกาสให้การรับชมกีฬากลาย เป็นกิจกรรมที่ทุกคนในสังคมเข้าถึง กีฬาเป็นทั้งความ บันเทิง และยังเป็นแรงบันดาลใจกับคนรุ่นใหม่ที่ใฝ่ฝัน จะประสบความสำ�เร็จในด้านกีฬา ผลที่ได้ไม่ได้ลดทอน จำ�นวนของผู้ชมกีฬาในสนามลงเลย หากแต่เป็นช่วง เวลาที่สนามกีฬามีอัตราการขยายตัวสูงเป็นประวัติกาล และหลายแห่งที่ถูกก่อสร้างในช่วงเวลานี้ ปัจจุบันก็ยัง คงเป็นสนามกีฬาที่มีขนาดใหญ่อันดับต้นๆของโลก

การออกแบบสนามกีฬาในขณะนั้นจึงเน้นที่การ ก่อสร้างให้มีขนาดใหญ่ และความจุมากเท่าที่จะเป็นไป ได้ กำ�ลังหลักในการออกแบบยังคงเป็นวิศวกร และมัก เป็นโครงการของรัฐบาล โดยมีอิทธิพลของสื่อเป็นตัว กระตุ้นให้ประเทศต่างๆก็สามารถสัมผัสประสบการณ์ ภายในสนามกี ฬ าที่ ห น้ า ตื่ น ตาตื่ น ใจจากประเทศที่ พัฒนาแล้วผ่านจอโทรทัศน์ ภาพที่ถ่ายทอดออกไป ได้ ส ร้ า งแรงกระตุ้ น ในหลายประเทศริ เริ่ ม โครงการ ก่อสร้างสนามกีฬาขึ้น ทั้งยังยกบทบาทของมันให้เป็น หัวใจสำ�คัญของการพัฒนาเมืองสมัยใหม่

Mexico Olympics 1966

Estadio Azteca, Mexico City, Mexico (1966)

Capacity : 105,064 seats สนามเหย้าของทีมชาติเม็กซิโก เคยจัดใช้แข่งขันฟุตบอล โลก 2 ครั้ง การออกแบบคำ�นึกถึงองศาอัฒจรรย์ท�ำ ให้ถึง แม้จะเป็นอัฒจรรย์ที่สูงมาก แต่ยังคงให้มุมมองที่ใกล้ชิด กับสนามหญ้า เป็นอีกหนึ่ง

1972

- เมื่อเข้าสู่ทศวรรษที่ 1960s - 1970s การศึกษา สาขาผังเมือง (urban planning) มีบทบาทสำ�คัญใน การกำ�หนดทิศทางในการพัฒนาเมืองใหม่ มีโครงการ ขนาดใหญ่มากมายวาดฝันถึงเมืองที่สมบูรณ์แบบด้วย สิ่งอำ�นวยความสะดวก ความเป็นระเบียบเรียบร้อย และที่ขาดไม่ได้คือสนามกีฬาที่มักถูกยกย่องให้เป็นจุด หมายตา (landmark) ในทางกายภาพของเมือง และ เมื่อมีกิจกรรมที่ชาวเมืองมารวมตัวกันจำ�นวนมาก จะ นำ�มาซึ่งโอกาสในทางธุรกิจการขายสินค้า

- แต่ในเวลาเดียวกันก็มีรัฐบาลจากหลายประเทศที่ ใช้โ อกาสในการตั้งโครงการก่ อ สร้ า งสนามกี ฬ าตาม กระแสนิยมของสังคมโลก แต่มีนัยยะทางการเมืองเพื่อ เข้าไปจัดการพื้นที่เสื่อมโทรมเมือง ชุมชนแออัด และ สลัม ซึ่งอาคารสาธารณะเพื่อประโยชน์ของสาธารณะ ดูจะเป็นข้ออ้างที่ดีแก่การอนุมัติโครงการ บางโครงการ ประสบความสำ�เร็จจนสามารถเปลี่ยนแปลงกายภาพ ของย่านได้ แต่หลายโครงการในทวีปอเมริกาใต้กลับ ทำ � ให้ ส นามกี ฬ าถู ก ล้ อ มด้ ว ยชุ ม ชนแออั ด อั น นำ � มาสู่ ปัญหาความรุนแรงภายในสนามกีฬาที่ยากจะแก้ไข

Munich Olympics 1969

Olympiastadion München, München, Germany (1969)

Capacity : 70,000 seats สร้างขึ้นเพื่อจัดการแข่งขันโอลิมปิก ค.ศ. 1972 โดยจงใจ ใช้ รู ป แบบที่ ส ะท้ อ นการพั ฒ นาทางเทคโนโลยี ก่ อ สร้ า ง และสร้างภาพตรงกันข้ามกับสนามกีฬาแห่งแรก

1972

Paris Parco dei Principi, Paris, France (1972)

Capacity : 47,929 seats ที่ถูกออกแบบขึ้นใหม่โดยคำ�นึงถึงระบบเสียงภายในที่ให้ เสียงกึกก้อง แต่ไม่สะท้อน จนได้ฉายาว่า ‘caisse de résonnance’ (‘box of sound’) มีภาพลักษณ์ที่สง่างาม เป็นเอกลักษณ์สำ�คัญของย่าน

1982

Johannesburg Ellis Park, Johannesburg, South Africa (1982)

Capacity : 62,567 seats สนามฟุตบอลแห่งชาติแอฟริกาใต้ ถูกพัฒนาต่อเติมและ เพิ่มสิ่งอำ�นวยความสะดวกอย่างต่อเนื่องแต่การขยายจาก อัฒจรรย์ 4 ด้าน เข้าหากันทำ�ให้บริเวณมุมกลายเป็นจุดที่ มุมมองไม่ดี

1989

Rungrado May Day Stadium, Pyongyang, North Korea (1989)

Capacity : 150,000 seats สนามกีฬาที่มีความจุมากที่สุดในโลกจนถึงปัจจุบัน เป็น สนามกีฬาที่ไม่เคยถูกใช้เพื่อการแข่งขันระดับนานาชาติ หากแต่ใช้เพื่อกีฬา และรัฐพิธีภายในประเทศ


- ในที่สุดเหตุการณ์ที่ไม่คาดฝันก็เกิดขึ้นเมื่อเกิดเหตุ เพลิงไหม้อัฒจรรย์สนาม Sheffield Hillsbough Stadium โดยไฟรุกรามจากกองเศษขยะใต้อัฒจรรย์มาสู่ โครงสร้างอัฒจรรย์ที่เป็นไม้ แต่นั่นก็ไม่เลวร้ายเท่าเห ตุจราจลจากการหนีเอาชีวิตรอดของผู้ชมนับหมื่น ใน จำ�นวนผู้เสียชีวิตกว่า 100 ศพ กว่าครึ่งถูกทับ และ ถูกเหยียบจากฝูงชน บางส่วนพลัดตกจากอัฒจรรย์ ในขณะที่มีผู้บาดเจ็บเรียงรายอยู่บนสนามหญ้า ก็ไม่ สามารถลำ�เรียงผู้บาดเจ็บออกไปได้ทันท่วงที เป็นอีก หนึ่งหน้าประวัติศาตร์ที่ทั่วโลกต้องหันกลับมาทบทวน

ภายหลังความเสียหาย ได้มีการทำ�รายงานผลการ สืบสวนสอบสวนในชื่อ Taylor Report ที่พลิกโฉมหน้า ประวั ติ ศ าสตร์ ก ารออกแบบสนามกี ฬ าในอนาคต เพราะประเด็นด้านความปลอดภัยที่ถูกละเลย จะ ต้องเป็นประเด็นที่ถูกหยิบยกขึ้นมาพิจารณาเป็นเรื่อง แรก ความจุมหาศาลอาจไม่ใช่ค�ำ ตอบที่ดีที่สุดเสมอไป ทางออกใหม่ในทางธุรกิจคือการสร้างโอกาสในการทำ� รายได้จากแหล่งอื่นๆ เช่นที่นั่งชั้น Box สำ�หรับผู้มีราย ได้สูง ภัตตาคารชั้นเลิศ ร้านค้าของที่ละลึก พิพิธภัณฑ์ ไปจนถึงการเปลี่ยนพื้นที่รอบสนามให้กลายเป็นพื้นที่ FIFA World Cup in Italy

1989

Genova Luigi Ferraris, Genova, Italy (1989)

Capacity : 36,600 seats สนามฟุ ต บอลที่ เ ก่ า แก่ ที่ สุ ด ในอิ ต าลี ก่ อ สร้ า งอย่ า ง กลมกลืนกับบริบทของเมือง และออกแบบให้สามารถ รองรับการใช้งานที่หลากหลาย เป็นอาคารขนาดใหญ่เพื่อ กิจกรรมสาธารณะ

Capacity : 58,270 seats สนามฟุตบอลที่ออกแบบโดย Renzo Piano เพื่อจัดการ แข่งขันฟุตบอลโลก มีความโดดเด่นคือการแบ่งอัฒจรรย์ ออกเป็นส่วนย่อย 26 ส่วน เป็นสนามกีฬาที่ภายในไม่ถูก ตัดขาดจากภายนอกเช่นแห่งอื่นๆ

ความปลอดภัย ห้องนำ�้ที่เพียงพอ อาหารรสชาติดี และ มีราคาสมเหตุสมผลรองรับผู้ชมหลายระดับชั้น - จากบทเรียนของช่วงเวลาที่ผ่านมาทำ�ให้พบว่าการ อยู่รอดของสนามกีฬาในระยะยาวคือการสร้างโอกาส ในการใช้งานที่มีความถี่ไม่ตำ�่กว่าปีละ 24 ครั้ง เพื่อให้ มีรายรับหมุนเวียนเพียงพอกับรายจ่ายในการบริหาร จัดการอาคาร จากช่วงเวลานี้ไปสนามกีฬาภายใต้การ บริหารของเอกชนจะอยู่รอดได้ในขณะที่สนามกีฬาของ รัฐจะเสื่อมโทรมลงอย่างรวดเร็ว เช่นหลายกรณีในทวีป อเมริกาใต้

The Commercial Stadium Period 1994

1990

Bari San Nicola, Bari, Italy (1990)

สาธารณะ ที่ใช้งานได้ไม่เพียงแต่การชมการแข่งขัน การ บันทึกภาพที่ดีขึ้นทำ�ให้แบรนด์สินค้าที่ติดโฆษณาไม่ ได้ผ่านตาแต่เพียงผู้ชมในสนาม หากแต่จะผ่านตาผู้ชม จำ�นวนมหาศาลจากทั่วทุกมุมโลก - เมื่อมีทั้งโอกาสทางธุรกิจ และการตรวจสอบมาตรฐาน โดยรัฐทำ�ใช้ช่วงทศวรรษที่ 1990s เป็นยุคเฟื่องฟูของ สนามฟุตบอลเอกชนที่มีขนาดกลางตามกำ�ลังลงทุนที่ ไม่เทียบเท่ารัฐบาล แต่มีการกำ�หนดมาตรฐานใหม่เพื่อ ให้ผู้ชมสามารถไว้วางใจได้ว่าการมาชมฟุตบอลที่สนาม จะได้ รั บ ทั้ ง ประสบการณ์ ที่ ตื่ น ตาตื่ น ใจไปพร้ อ มกั บ

Torino Delle Alpi, Turin, Italy (1990)

Capacity : 69,000 seats สนามฟุตบอลที่ก่อสร้างด้วยเทคโนโลยี prefabicated ทำ�ให้มีระยะเวลาก่อสร้างที่รวดเร็วเพียง 2 ปี เพื่อการ ระบายอากาศจึงมีโครงสร้างหลังคาชั่วคราวที่เปิด-ปิดได้

The Galpharm Stadium, West Yorkshire, England (1994)

Capacity : 24,121 seats สนามฟุตบอลที่ออกแบบโดยมีโครงสร้าง Arc เพื่อ รองรับหลังคาผืนใหญ่ และมีอัฒจรรย์โค้งตามหลังคา ถูก ออกแบบให้รูปทรงมีความสมบูรณ์

1997

Stadium of Light, Sunderland, England (1997) Capacity : 49,000 seats เป็นสนามฟุตบอลที่ยึดเอา Taylor Report เป็นแนวทาง ในการออกแบบ และวางแผนรับมือเหตุฉุกเฉิน โดย ปรับปรุงทั้งเพิ่มจำ�นวนทางเข้า-ออก ที่คำ�นวณโดยวิศวกร


ในทวีปยุโรปเริ่มมีบางโครงการที่มองโอกาสใน การก่ อ สร้ า งสนามกี ฬ าไปพร้ อ มกั บ การพั ฒ นา อสังหาริมทรัพย์ไปพร้อมกัน เนื่องจากความผูกพันธ์ไม่ ต่ำ�กว่า 100 ปี จนมีคนจำ�นวนไม่น้อยที่หลงรักการชม ฟุตบอลเสียจนอยากอาศัยอยูาใกล้ๆเพื่อไม่พลาดการ แข่งขันทุกๆนัด ตัวอย่างเช่น St. Jakob Park ที่ก่อสร้าง บ้านพักคนชราให้เป็นส่วนหนึ่งของสนาม ทั้งยังมีชั้น Box พวกเขาโดยเฉพาะ ฟุตบอลได้กลายเป็นส่วนหนึ่ง ของวิถีชีวิตในเมืองไปอย่างสมบูรณ์

- จากความสำ�เร็จในการพัฒนาสนามกีฬาในยุคที่ผ่าน มา ทำ�ให้กลายเป็นธุรกิจที่สร้างผลกำ�ไรจากจำ�นวนผู้ ชมที่สูงขึ้นจากอดีต แนวคิดของช่วงเวลานี้คือการมอง ศักยภาพในการใช้งานสนามกีฬาที่หลากหลาย ยืดหยุ่น และปรับใช้เพื่อกิจกรรมอื่นๆได้อย่างมีประสิทธิภาพ ใช้ เทคโนโลยีในการแก้ไขปัญหาเช่น หลักคาเปิด-ปิดได้ เพื่อปกป้องสนามจากสภาพอากาศเลวร้ายในฤดูหนาว แต่เปิดรับแสงแดดในฤดูร้อน บทบาทของผู้สนับสนุน และโฆษณาเริ่มมีมากขึ้นทั้งการจัดเตรียมที่นั่งสำ�หรับ ผู้สนับสนุน พื้นที่การติดโฆษณารอบสนาม ระบบแสง

สว่าง และเสียงที่ดีเพื่อการถ่ายทอดสดที่มีคุณภาพ - เมื่อเข้าสู่ปลายทศวรรษย่างเข้าสู่ศตวรรษที่ 21 เป็น ช่วงเวลาที่หลายเมืองต่างพัฒนาเกือบถึงขีดสุดการใช้ พื้นที่ การหาที่ว่างขนาดใหญ่ในพื้นที่ใจกลางเมืองกลาย เป็นเรื่องยากขึ้นทุกวัน สนามกีฬาในอดีตถูกนำ�กลับมา พิจารณาถึงความคุ้มค่าในการใช้สอยที่ดินผืนนั้น ว่าจะ ทำ�อย่างไรให้สามารถใช้งานเพื่อกิจกรรมสาธารณะอื่นๆ เช่นเป็น การแข่งขันกีฬาที่เป็นที่นิยมไม่ใช่เพียงฟุตบอล เป็น concert hall ที่ไม่ก่อมลภาวะทางเสียงรบกวน ชุมชนโดยรอบ ไปจนถึงอาคารหลบภัยในยามประสบ

ภัยพิบัติต่างๆ แต่มีปัญหาคือจะทำ�อย่างไรให้การใช้งาน เหล่านี้อยู่ร่วมในอาคารหลังเดียวกันได้ ความยืดหยุ่น ในการปรับแต่งกายภาพ และพื้นที่ใช้งานก็เป็นอีกหนึ่ง ปัจจัยสำ�คัญไม่แพ้การบำ�รุงรักษาสนามหญ้า - อันเป็นที่มาของสนามกีฬาหลายแห่งที่ถูกออกแบบ เพื่อสามารถปรับอัฒจรรย์ตามประเภทกีฬาที่ใช้แข่งขัน ปรับเพิ่ม-ลดความจุของผู้ชมได้ตามความต้องการของ รายการ เลื่อนสนามหญ้าออกสู่ภายนอกเพื่อป้องกัน ความเสียหายเมื่อวางเวทีคอนเสิร์ต

The Flexible Stadium Period 1996

St. Jakob Park, Basel, Switzerland (1996)

Capacity : 37,000 seats สนามฟุ ต บอลที่ ถู ก ออกแบบโดยคำ � นึ ง ถึ ง ความสะดวก สบาย มีร้านจำ�หน่ายอาหารและเครื่องดื่มที่ครบครัน มี ส่วน VIP ที่มีภัตตาคาร และห้องประชุม ร่วมไปกับ ศูนย์การค้า บ้านพักคนชรา และ sport complex

1997

Reebok Stadium, Bolton, England (1997)

Capacity : 28,723 seats สนามฟุตบอลที่พัฒนาโครงสร้างจาก The Galpharm Stadium และยึดเอา Taylor Report เป็นแนวทางใน การออกแบบเพื่อความปลอดภัย โครงสร้างนี้กลายเป็น เอกลักษณ์สำ�คัญของเส้นขอบฟ้าเมือง

Amsterdam Arena, Amsterdam, Netherlands (1997)

Capacity : 54,990 seats สนามกีฬาแห่งแรกที่สามารถเปิด-ปิดหลังคาเหนือสนาม หญ้าได้ทั้งผืน ถูกใช้งานทั้งการเป็นสนามฟุตบอล และ concert hall ด้วยความยืดหยุ่นจึงทำ�ให้สามารถใช้งาน ได้ทุกฤดูกาล

1998

Gelredome, Arnhem, Netherlands (1998)

Capacity : 25,500 seats หลั ง คาถู ก ออกแบบให้ เ ลื่ อ นเปิ ด -ปิ ด โดยการขยั บ โครงสร้างหลังคาไปบนรางเลื่อน และยังสามารถเลื่อน พื้นสนามหญ้าออกมาภายนอกเพื่อความยืดหยุ่นในการใช้ พื้นที่ภายในจัดคอนเสิร์ตโดยสนามหญ้าไม่เสียหาย

Saint-Denis Stade de France, Saint-Denis, France (1998)

Capacity : 80,698 seats สนามกีฬาแห่งชาตฝรั่งเศส สามารถเคลื่อนย้านอัฒจร รย์ชั้นล่างสุดเพื่อใช้เป็นลู่กรีฑาเพื่อความยืดหยุ่นในการ ใช้งาน โครงสร้างหลังคาที่เบาบางได้รับการชื่นชมว่าเป็น โครงสร้างที่สวยงามของคริสต์วรรษที่ 20


- การพัฒนาเทคโนโลยีหลังคาเปิด-ปิด มีเป้าหมายไป ทีความเสถียรของกลไกเคลื่อนฝืนหลังคา และความ รวดเร็วในการเปิด-ปิด เริ่มต้นจากโครงสร้างเหล็กนำ�้ หนักเบาที่สามารถเคลื่อนย้ายทั้งผืน แต่ต้องใช้เวลา เปิด-ปิดที่นาน ถูกพัฒนาเป็นวัสดุที่มีความยืดหยุ่น นำ�้ หนักเบา ใช้แรงมอเตอร์ในการขับเคลื่อนผืนหลังคา ที่น้อยกว่า และใช้เวลาเปิด-ปิดที่เร็วขึ้น จนกระทั่ง สามารถพั ฒ นาวั ส ดุ ที่ เ ป็ น ฉนวนป้ อ งกั น เสี ย งดั ง จาก ภายในเล็ดรอดสู่ภายนอกเมื่อจัดคอนเสิร์ต

จุดสูงสุดในการพัฒนาใช้ศักยภาพทางวิศวกรรม เพื่อการออกแบบสนามกีฬาคือสนามกีฬา Sapporo dome เป็นโครงการที่เค้นเอาขีดความสามารถทาง วิศวกรรมเครื่องกลมาแก้ปัญหาความต้องการใช้สนาม แห่งเดียวใช้จัดการแข่งขันได้ทั้งฟุตบอล รักบี้ และ เบสบอล ซึ่งต่างใช้พื้นสนามที่ขนาดและสัดส่วนต่างกัน จึงออกแบบระบบกลไกให้สามารถปรับเปลี่ยนอัฒจรรย์ ได้ตามสัดส่วนของสนาม พื้นสนามหญ้าสามารถเคลื่อน ออกด้านนอกเพื่อการดูแลรักษา สามารถหมุนได้ 360 องศา และมีระบบทำ�ความร้อนเพื่อให้พื้นสนามอบอุ่น

นับเป็นโครงการก่อสร้างที่ลงทุนด้วยงบประมาณสูง ที่สุดแห่งหนึ่ง แต่ความคุ้มค่าที่ต้องแลกมานั้นก็เพื่อให้ สนามแห่งนี้สามารถจัดการแข่งขันกีฬารายการต่างๆ โดยเฉลี่ยแล้วถูกใช้งาน 35-40 ครั้งต่อปี ซึ่งนับว่าสูง กว่าจำ�นวนเฉลี่ยของสนามฟุตบอลแห่งอื่นๆที่ประมาณ 20-24 ครั้งต่อปี เป็นอีกหนึ่งหนทางจะทำ�ให้การ บริหารสนามกีฬาให้สามารถสร้างรายได้เพียงพอต่อ การบริหารจัดการอาคาร

Sydney Olympics 1999

ANZ Stadium, Sydney, Australia (1999)

Capacity : 82,500 seats ถูกปรับปรุงเพื่อจัดการแข่งขันโลอิมปีในปี ค.ศ. 2000 โดย ก่อสร้างหลังคาคลุมอัฒจรรย์ทั้ง 4 ด้าน อัฒจรรย์ชั้นล่าง สุดถูกปรับให้สามารถเคลื่อนย้ายออกเพื่อจัดแข่งกรีฑา และติดตั้งกลับเพื่อการแข่งขันฟุตบอล

2000

Cardiff Millennium, Cardiff, England (1999)

Capacity : 73,931 สนามกีฬาที่มีระบบหลังคาเปิด-ปิดที่สมบูรณ์ที่สุด แก้ไข จากปัญหาที่พบในอดีตจนสามารถเปิด-ปิดได้อย่างรวดเร็ว ระหว่างการแข่งขัน ระบบทั้งหมดควบคุมโดยคอมพิวเตอร์

Veltins Arena (Arena Auf Schalke), Nordrhein-Westfalen, Germany (2001)

Capacity : 62,271 seats หลังคาเปิด-ปิดใช้วัสดุประเภท Teflon ที่มีความทนทาย ยืดหยุ่น และน้�ำ หนักเบา สนามกีฬาประเภทนี้กลายเป็นที่ ต้องการเพราะสามารถย้ายสนามหญ้าออกและปิดหลังคา เพื่อจัดคอนเสิร์ตได้อย่างไม่ก่อเสียงรบกวนภายนอก

2001

Sapporo Dome, Hokkaido, Japan (2001)

Capacity : 41,484 seats เพื่อรองรับการแข่งขันฟุตบอล และเบสบอลที่เป็นที่นิยม ทั้งคู่ อัฒจรรย์บางส่วนสามารถหมุนและยื่นเข้า-ออกเพื่อ ให้มีพื้นที่เหมาะสมกับการแข่งขันแต่ละประเภท สนามมี ขนาดใหญ่จนสามารถหมุนสนามฟุตบอลภายในได้

Oita Big Eye, Oita, Japan (2001)

Capacity : 40,000 seats สนามกีฬาที่มีโดม และหลังคาเปิด-ปิดได้ขนาดใหญ่ที่สุด ในโลก เป็นสนามกีฬาในร่มแห่งเดียวที่สามารถปกคลุม สนามฟุตบอล และลู่กรีฑาได้ทั้งหมด


- เทคโนโลยีสำ�คัญที่ทำ�ให้ความพยายามทางวิศวกรรม ในช่วงเวลาที่ผ่านมากลายเป็นสิ่งที่ล้าหลังคือการผลิต วัสดุประเภทหญ้าเทียมขึ้นมา จนปัจจุบันสามารถสร้าง พื้ น สนามฟุ ต บอลที่ มี คุ ณ ภาพสู ง กว่ า สนามหญ้ า จริ ง ความทนทาน และไม่หลุดล่อนง่ายเช่นหญ้าาจริง ช่วย ให้นักกีฬาปลิดภัยยิ่งขึ้น และลดงบประมาณในการ ดูแลรักษา การเปิดปิดหลังคาเพียงเพื่อรับแดดจึงกลาย เป็นสิ่งที่ไม่มีความจำ�เป็นอีกต่อไป การแก้ปัญหานี้ช่วย ให้แนวคิดในการออกแบบสนามกีฬาในยุคถัดมาเปลี่ยน จุดสนใจไปที่เรื่องรูปลักษณ์ภายนอกมากขึ้น

- สนามกีฬามีบทบาทต่อวิถีชีวิตและเมืองมากขึ้นเรื่อยๆ เพราะในช่วงเวลาที่ผ่านมามันได้ถูกพัฒนา ให้ยืดหยุ่น ตอบรับความต้องการใช้งานที่หลากหลาย ซึ่งล้วนแต่ เป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรมมวลชน (Popular culture) และสัมพันธ์กับมิติความเป็นวัฒนธรรมเมือง (Urban cultural) แต่ความท้าทายที่สนามกีฬากำ�ลังเผชิญ ในอนาคตคือเทคโนโลยีการสื่อสารที่พัฒนาอย่างก้าว กระโดด การจะยังรักษาฐานที่มั่นในใจผู้ชมได้นั้นต้อง ดำ�เนินการออกแบบสถาปัตยกรรมอย่างมียุทธศาสตร์ และต้องวางบทบาทของสนามกีฬาต่อชุมชน เมือง หรือ

แม้แต่ระดับประเทศให้ได้ - เริ่มต้นจากการยกระดับมาตรฐานความปลอดภัยที่ถูก คิดคำ�นวนด้วยเทคโนโลยีที่แม่นยำ�ที่สุด สิ่งอำ�นวยความ สะดวกและพื้นที่ใช้งานที่ถูกปรับปรุงอย่างทันสมัย ครบ ถ้วนด้วยเทคโนโลยีที่จะช่วยให้ผู้ชมไม่พลาดการแข่งขัน แม้แต่วินาทีเดียว สู่ภาพลักษณ์ภายนอกที่สื่อสารกับ บริบทอย่างเหมาะสม มีเป้าหมายชัดเจน เช่นความโดด เด่น เป็นสัญลักษณ์ หรือความกลมกลืน ซึ่งสิ่งเหล่านี้ ต่างประกอบกันขึ้นมาเป็นสถาปัตยกรรมมีศักยภาพใน การเป็นศูนย์กลางของวิถีชีวิตชาวเมืองได้ไม่ยาก

- ในช่วงต้นทศวรรษที่ 2000s เกิดโครงการก่อสร้าง สนามกีฬาจำ�นวนมากในทวีปอเมริกาเหนือ และเอเชีย หลายโครงการในทวี ป อเมริ ก าใต้ เ ป็ น การลื้ อ สร้ า ง ใหม่ (reconstruction) เพื่อปรับปรุงคุณภาพการใช้ งานสนามไปพร้อมกับการพิจารณาด้านงบประมาณ บริหารอย่างยั่งยืน ส่วนในทวีปยุโรปมักเป็นโครงการ ลักษณะ ซ่อมบำ�รุง (renovation) โดยใช้ศักยภาพ ของโครงสร้างเก่า โดยมีหลายโครงการมุ่งเน้นไปที่การ ปรับปรุงภาพลักษณ์ของสนาม ให้สามารถเรียกได้ว่า เป็นสถาปัตยกรรมร่วมสมัยกับปัจจุบัน

The City Icon Stadium Period 2001

Toyota Stadium, Toyota, Japan

Capacity : 45,000 seats สนามฟุตบอลที่มีความจุสูงที่สุดในญี่ปุ่น โครงสร้างหลังคา ถูกออกแบบมาให้เบาบาง พร้อมหลังคาเปิด-ปิด การ ออกแบบคำ�นึงถึงมุมมองของผู้มเป็นสำ�คัญ

City of Manchester Stadium, Manchester, England

Capacity : 53,000 seats สนามฟุตบอลที่มีขนาดใหญ่เป็นอันดับ 5 ของลีกอังกฤษ ถึงแม้จะมีการต่อเติมแต่คำ�นึงถึงมุมมองของผู้ชมและการ เข้า-ออกที่รวดเร็วโดยใช้ทางลาดทั้ง 8 จุด เป็นสนามที่ ผ่านการคำ�นวน human flow อย่างเป็นทางการ

2002

Ataturk Olympic Stadium, Istanbul, Turkey

Capacity : 76,092 seats สนามกีฬาที่ก่อสร้างขึ้นเป็นสนามกีฬาแห่งชาติ และ เพื่อประกอบการเสนอตัวเป็นเจ้าภาพโอลิมปิก ปี ค.ศ. 2008 มีแนวคิดเชิงสัญลักษณ์ที่แบ่งสนามออกเป็น 2 ส่วน สะท้อนการเป็นประเทศที่ตั้งอยู่บน 2 ทวีป

Allianz Arena, München, Germany

Capacity : 66,000 seats ออกแบบเพื่อเป็นสัญลักษณ์ของเมืองตั้งอยู่บนลานโล่ง ที่ต้องเข้าถึงผ่านงานออกแบบภูมิสถาปัตยกรรม เปลือก อาคารถูกออกแบบให้สามารถเปลี่ยนสีเพื่อแสดงออกถึง ทีมเหย้าที่แข่งขัน

2003

Braga Municipal Stadium, Braga, Portugal

Capacity : 30,286 seats สนามฟุตบอลที่สัมพันธ์กับภูมิประเทศที่เป็นหน้าผาสูง อัฒจรรย์ขนาดใหญ่กลายเป็นเอกลักษณ์สำ�คัญที่ง่ายต่อ การจดจำ� ระบบไฟส่องสว่างที่สม่ำ�เสมอ ทำ�ให้เป็นสนาม ฟุตบอลทแห่งนี้หลายเป็นอีกจุดหมายของนักท่องเที่ยว


- สนามกีฬาหลายสำ�คัญหลายแห่งทั่วโลกกำ�ลังตกอยู่ ในภาวะวิกฤติ ถูกทิ้งล้าง ขาดงบประมาณการดูแล และขาดแผนการบริหารในระยะยาว อันเนื่องมาจาก ปัจจุบันการเสนอชื่อเป็นเจ้าภาพการแข่งขันรายการ ใหญ่ เป็นโครงการระยะยาวตั้งแต่ 8 - 12 ปี หลาย โครงการได้รับอนุมัติก่อสร้างใน แต่เมื่อเวลาผ่าน ไปเกิดวิกฤติเศรษฐกิจ การขาดเสถียรภาพทางการ เมือง สะท้อนออกมาเป็นปัญหาตั้งแต่ขณะจัดการ แข่งขัน ไปจนถึงหลังการแข่งขัน สำ�หรับประเทศที่ วัฒนธรรมการชมกีฬายังไม่เป็นที่นิยมมากนัก การจะ

สร้างรายได้หมุนเวียนเพื่อบริหารสนามกีฬากลายเป็น เรื่องยาก ภาระบางส่วนตกมาอยู่ในมือรัฐบาล ซึ่งต้อง ขึ้นกับนโยบาย ความซับซ้อนของมิติทางเศรษฐกิจ และการเมืองได้ฉุดกระชากสถาปัตยกรรมที่ผ่านการ ประกวดแบบ การคิดคำ�นวณจากสถาปนิกและวิศวกร ที่มีความเชี่ยวชาญสูง ให้กลายเป็นสถานที่ที่ไม่มี ประโยชน์ต่อสังคม - บทเรียนนี้แสดงให้เห็นว่าการเข้าไปเป็นส่วนสำ�คัญ ของวิถีชีวิต และชาวเมืองไม่ใช่เพียงการเป็นศูนย์กลาง ทางกายภาพ หากแต่มันจะต้องเป็นศูนย์กลางในมิติ

Athens Olympics 2004

Athens Olympic Stadium, Athens, Greece

Capacity : 75,000 seats สนามกีฬาที่ต่อเติมเพื่อการเป็นเจ้าภาพโอลิมปิก ที่ใช้ เทคโนโลยีก่อสร้างที่สูงมาก ด้วย arch คู่ขนาดใหญ่ที่สุด (ที่ไม่ใช่โครง truss) เพื่อให้มีโครงสร้างทเบาบาง สุดท้าย แล้วอาคารหลายส่วนในโครงการถูกทิ้งร้างหลังเสร็จงาน

ทางสังคม เศรษฐกิจ วัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อมให้ สำ�เร็จ การวางเป้าหมาย และขอบเขตของงานจำ�เป็น ต้องพิจารณาถึงธรรมชาติของคนที่มีส่วนเกี่ยวข้อง และ เพื่ อ ให้ บ ทบาทการเป็ น อาคารสาธารณะนั้ น เข้ ม แข็ ง สนามกีฬาจะต้องสร้าง win-win solution แก่ทุกฝ่าย ให้ได้ และพิสูจน์ตัวเองว่าเป็นองค์ประกอบสำ�คัญที่ จะช่วยขับเคลื่อนคุณภาพการดำ�เนินชีวิตในเมืองนั้นๆ อย่างเป็นรูปธรรม - ในวัฒนธรรมฟุตบอลภายใต้อิทธิพลของการสื่อสาร ทำ�ให้ฐานแฟนบอลในลีกสำ�คัญๆไม่ได้จำ�กัดอยู่เพียง Beijing Olympics

2006

London Emirates Stadium, London, England

Capacity : 60,704 seats หนึ่งในสนามฟุตบอลที่เป็นจุดหมายปลายทางของแฟน บอลทั่วโลก สนามฟุตบอลที่ทันสมัย สะดวกสบาย และได้ มาตรฐานที่สุด ผู้ชมทุกกลุ่มแม้แต่ผู้พิการก็สามารถรับชม ได้ มาตรฐานการถ่ายทอดสด และการติดตั้งกล้องที่ดีที่สุด

2007

Wembley Stadium, London, England

Capacity : 90,000 seats สนามกีฬาแห่งชาติอังกฤษที่ถูกก่อสร้างขึ้นใหม่ โดยแสดง ศักยภาพทางวิศวกรรมโครงสร้างที่มีโครงสร้าง Arch ที่มี ช่วงพาดกว้าง ที่สุดในโลก

2008

Beijing National Stadium, Beijing, China

Capacity : 80,000 seats สัญ ลักษณ์ของการแข่งขันโอลิมปิกโดยจีนเป็นเจ้า ภาพ และได้กลายเป็นสัญลักษณ์ของสาธารณรัฐประชาชนจีน ยุคใหม่ ความโดดเด่นของสถาปัตยกรรมทำ�ให้กลายเป็น ศูนย์กลางของเมืองใหม่ และจุดหมายของนักท่องเที่ยว

ชาวเมืองท้องถิ่น แต่ยังสามารถมีแฟนบอลจากทั่วทุก มุมโลก สนามฟุตบอลของสโมสรชื่อดัง กลายเป็นจุด หมายปลายทางที่ ค นจากทั่ ว ทุ ก มุ ม โลกต่ า งใฝ่ ฝั น มา เยือน สนามฟุตบอลจึงเป็นอีกหนึ่งตัวแทนของสโมสร ไปจนถึงตัวแทนของเมือง การสร้างเอกลักษณ์ให่เป็น ที่ จ ดจำ � กลายเป็ น แนวทางใหม่ ที่ ทำ � ให้ ส นามฟุ ต บอล หลายแห่งประสบความสำ�เร็จ เช่น Allianz Arena การใช้ความสำ�คัญต่อมิติทางสถาปัตยกรรมกลายเป็น ทิ ศ ทางในการพั ฒ นาในอนาคตของสโมสรฟุ ต บอล อังกฤษต่อไป London Olympics 2012

2015

Stade de Bordeaux, Bordeaux, France

Capacity : 43,000 seats จากต้นทุนทางวัฒนธรรม neo classic สนามฟุตบอลสง่า งามเฉกเช่นสถาปัตยกรรมในอดีต เป็นสัญลักษณ์ของเมือง ยุคใหม่ที่ใช้ภาษาทางสถาปัตยกรรมที่สมบูรณ์ สะอาดตา


STADIUM DESIGN STUDY UEFA RECOMENTATION STADIUM & HdM WORKS













Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.