โครงการเกาะยาวโปรเจค 1 ถือกําเนิดขึ้นมาในป 2552 เป นการระดมความคิด ระหว างนักศึกษา อาจารย สถาปนิก และชาวบ าน เพื่อออกแบบและสร างโรงพยาบาล ของชุมชน ณ ตําบลพรุใน เกาะยาวใหญ จังหวัดพังงา โดยงบประมาณที่ได ส วนหนึ่ง มาจากการพัฒนาและจัดจําหน ายขนมบ าบิ่น ผลิตภัณฑ ขึ้นชื่อของชุมชนเกาะยาวใหญ หลายป ต อมาได มีการปลุกป นโครงการเกาะยาวโปรเจค 2 ขึ้นมาอีกครั้ง โดยในครั้งนี้ เป นการรวมตัวกันของนักศึกษาจากหลายสาขาวิชาทั่วประเทศผลัดเปลี่ยนหมุนเวียนกันมา เข าร วมโครงการถึง 30 คนตลอดระยะเวลากว าสองเดือน ทั้งวิชาการออกแบบผลิตภัณฑ การออกแบบอุตสาหกรรม การผังเมือง การตลาด การจัดการ และสื่อสารมวลชน เพื่อเข า มาเรียนรู ภูมิป ญญาท องถิ่นและพัฒนาผลิตภัณฑ ที่มีอยู ในชุมชนร วมกับชาวบ านให มีคุณค า และมูลค ามากขึ้น
“ เรามาแบบไม มี โ จทย เรามาซึ ม ซั บ ความเป น ที่ นี่ ก อ น แล ว ถึ ง จะมาคิ ด กั น ว า อั ต ลั ก ษณ ข องที่ นี่ คื อ อะไร ”
เกี่ ย วกั บ เกาะยาวโปรเจค “คีย เวิร ดของโครงการนี้คือคําว า ‘มีส วนร วม’ ซึ่งนอกจากมีส วนร วมกับคนในโปรเจคแล ว ยังหมายถึงการเป นส วนหนึ่งของเกาะด วย เรามาแบบไม มีโจทย เรามาซึมซับความเป นที่นี่ก อน แล วถึงจะมาคิดกันว า อัตลักษณ ของที่นี่คืออะไร และเรามีศักยภาพที่จะพัฒนาที่นี่ได ยังไงบ าง พอได แล วค อยมาออกแบบบรรจุภัณฑ ที่จะเพิ่มมูลค าให กับผลิตภัณฑ ชุมชน “เราอยากมีงานแสดงเพื่อโปรโมตให คนนอกรู จักเกาะยาวและผลิตภัณฑ ชุมชน ในงานจะจัด แสดงบรรจุภัณฑ ที่เพื่อนในทีม ออกแบบมาและภาพถ ายที่เกิดจากการมีส วนร วมของเรากับ ชาวบ านเรามาอยู แค สองเดือน เรายังซึมซับกับที่นี่ไม พอหรอก เราเลยอยากให คนที่นี่แสดง มุมมองว า เขาอยากให คนภายนอกเห็นอะไรของเกาะยาวบ าง ให เขาไปถ ายรูปมา แล วเราก็เอา มาเวิร คกันต อ “ถึงส วนใหญ พวกเราจะเรียนมาทางสายออกแบบ แต ก็มีคนที่เรียนมาทางการจัดการซึ่ง สามารถตอบได ว าเราจะขายยังไง ทําให เกิดการเรียนรู ร วมกันและสามารถแบ งงานเป นส วนได และที่สําคัญคือได เรียนรู ว า คนที่เขาต างจากเราเป นยังไง แล วเราจะปรับตัวเข าหากันได อย างไร” กุลวดี โพธิ์อุบล (กิ๊ก) ฝ ายประสานงาน
“ คนที่ นี่ ยั ง ใช หั ว ใจอยู กั น มากกว า ที่ จ ะใช ค วามต อ งการทางวั ต ถุ ”
CORPORATE IDENTITY DESIGN การออกแบบอั ต ลั ก ษณ อ งค ก ร “ส วนตัวผมรับผิดชอบฝ าย Corporate Identity ครับ เราทํากราฟฟ กที่เป นอัตลักษณ ให กับ เกาะ เพื่อที่จะได นํากราฟฟ กไปใช บนบรรจุภัณฑ หรือนําไปแปรรูปอย างอื่นต อไป เราใช วิธีการ ดําเนินงานแบบหา key idea ขึ้นมาก อน แล วค อยนํามาต อยอดเรื่องสีและ mood and tone อีกที “เรามี key idea 4 อัน คือ Folklore, Hidden, Real และ ป ดแต เป ด ซึ่งได มาจากการที่เราได อยู ได คลุกคลี ได สัมผัสกับที่นี่ ผมได เห็นคนที่ไม ได หวังผลประโยชน กันเหมือนที่กรุงเทพฯ คน ที่นี่ยังรู จักการแบ งป น ยังจอดรถโดยไม ต องถอดกุญแจ ยังใช หัวใจอยู กันมากกว าที่จะใช ความ ต องการทางวัตถุ “ผมว าเราสามารถนําสิ่งที่เราคิดไปต อยอดได เยอะแยะเลย อย างเช น เราได ทําการรีเสิร ชกับ ชาวบ านแล วว า ที่นี่ขาดป ายบอกทางตามข างทาง เวลามีนักท องเที่ยวมาเขาไม รู ว าจะไปตรงนั้น ตรงนี้ยังไง ถ าเรานําแพทเทิร น กราฟฟ ก ฟ อนท หรือโทนสีต างๆ ที่เราทําออกมาไปใช ในป าย บอกทางเหล านั้น มันก็จะทําให ระบบป ายต างๆ บนเกาะเป นไปใน mood เดียวกัน” ธนิสร เลิศวิมล (แชมป ) ฝ ายออกแบบอัตลักษณ องค กร
Emblem
Pictogram
Color Scheme
3%
Hidden
5% 4%
30 15
10
Folklore
10 15
3% Nature
5%
Pattern
“ เราหวั ง ว า ชาวบ า นจะมี ช อ งทางในการขายมากขึ้ น ส ว นผู บ ริ โ ภคก็ จ ะมี สิ ท ธิ เ ลื อ กสิ น ค า ที่ ตั ว เองชอบได ”
PRODUCT DEVELOPMENT:COCONUT MACAROON การพั ฒ นาผลิ ต ภั ณ ฑ ข นมบ า บิ่ น “สําหรับโครงการนี้ผมรับผิดชอบในฝ ายผลิตภัณฑ ครับ หน าที่หลักก็คือทําผลิตภัณฑ ใหม ขึ้น มาและพัฒนาผลิตภัณฑ เดิม งานที่ได รับมอบหมายและทําเสร็จสิ้นแล วคือการทําสูตรบ าบิ่น และ การพัฒนาปลา ฉิงฉ างสําหรับคนท อง ทั้งสองอย างนี้เราได รับแนวคิดมาจากคุณหมอนิลซึ่งเป นเจ าของโครงการ ที่มีแนวคิดที่จะพัฒนาสินค าสองตัวนี้ให มีความหลากหลายเพื่อเพิ่มรายได ให กับชาวบ านโดยหวัง ว าชาวบ านจะมีช องทางในการขายมากขึ้น ส วนผู บริโภคก็จะมีสิทธิเลือกสินค าที่ตัวเองชอบได “สําหรับขนมบ าบิ่น เราได นําธัญพืชและสมุนไพรเช นหญ าหวานเข ามาผสม เพื่อลดปริมาณ นํ้าตาลที่ใช ในการทําขนม ส วนปลาฉิงฉ าง แนวคิดแรกจะทําเป นนํ้าซุปปลา แต ว าติดป ญหาเรื่อง กลิ่นคาวของปลาในอนาคตเลยอาจจะมีการปรับเป นอย างอื่น เช น การทอด “สิ่งที่ชอบในกระบวนการทํางานของโครงการนี้คือผมได เพื่อนใหม ได เจอคนที่หลากหลาย ได รู แนวคิดและวิธีคิดทางศิลปะว าเป นยังไง ผมเรียนมาทางสายวิทยาศาสตร เลยอยากจะลอง เข ามาทําทางสายออกแบบอย างเต็มตัวดู โปรเจคนี้ทําให เห็นว าการทํางานจริงๆ ไม ได มีแค ผลงานที่ออกมา แต มันจะมีเบื้องหลังอยู ” ณัฐ ห านรัตนสกุล (ธูป) ฝ ายพัฒนาผลิตภัณฑ
“ พวกเราพั ฒ นาผลิ ต ภั ณ ฑ ผ า นกระบวนการคิ ด ที่ เ ป น อิ ส ระ เพื่ อ ที่ จ ะแก ป ญ หาในระยะยาว ”
PRODUCT DEVELOPMENT:COCONUT MACAROON การพั ฒ นาผลิ ต ภั ณ ฑ ข นมบ า บิ่ น “ถามชาวบ านว าเกาะยาวมีเสน ห อะไร ทุกคนก็จะตอบเป นเสียงเดียวกันว าบ าบิ่น พอได ลอง ไปสัมผัสกับวิถีของชุมชนและตัวผลิตภัณฑ ด วยตัวเอง ก็ได เห็นว ามันเป นอย างนั้นจริงๆ “พวกเราพัฒนาผลิตภัณฑ ผ านกระบวนการคิดที่เป นอิสระ เพื่อที่จะแก ป ญหาในระยะยาว อย างเช นป ญหามะพร าวหรือนํ้าตาลขาดตลาด เราจะทําขนมบ าบิ่นเป นรสถั่วแดง หรือเวลาที่ นํ้าตาลขึ้นราคา เราก็จะใช หญ าหวานแทนนํ้าตาล ซึ่งจะช วยในเรื่องสุขภาพด วย เราเชื่อว าเมื่อ เกิดเหตุดังว าขึ้นจริงๆ แผนที่เราเตรียมไว ก็น าจะได นํามาใช ค ะ” จุฬารัตน อินทร รัตน (ออม) ฝ ายพัฒนาผลิตภัณฑ
“ พอมาที่ น่ี เ ลยได เ ห็ น อี ก ด า นหนึ่ ง ว า การกระจายอํ า นาจและการบริ ห ารงานของภาครั ฐ ยั ง ไม ทั่ ว ถึ ง ”
PRODUCT DEVELOPMENT: HERBAL TEA การพั ฒ นาผลิ ต ภั ณ ฑ ช าสมุ น ไพร “กลุ มของผมรับผิดชอบการพัฒนาสูตรชาของโรงพยาบาลครับ โจทย ของเราคือพัฒนาชา สมุนไพรที่มีวัตถุดิบที่สามารถหาได ในท องถิ่น เราเข าไปศึกษากับฝ ายแพทย แผนไทยของ โรงพยาบาล พอเรารู ว าที่นี่มีสมุนไพรอะไรเด นๆ บ าง เราก็ดึงมาใช โดยสูตรที่เราคิดมามี 3 สูตร คือ ชากระเจี๊ยบ ชารางจืด และชาอัญชัน โดยทั้งหมดจะมีคาแรคเตอร ที่แตกต างกัน “ชาเป นผลิตภัณฑ จากโรงพยาบาล สมมติถ าเราส งชาไปขายข างนอก รายได ก็จะกลับเข า มาที่โรงพยาบาล ทําให ชาวบ านได รับการรักษาจากอุปกรณ ที่ทันสมัยมากขึ้น ได รับสวัสดิการที่ดี ขึ้น ตัวชาเองก็ได รับผลตอบรับที่ดี เพราะทั้งสามตัวมีคาแรคเตอร ที่แตกต างกันซึ่งหาไม ได ตาม ท องตลาด ยิ่งช วงนี้คนไทยหันมาใส ใจสุขภาพมากขึ้น ชาซีรีส นี้เลยตอบโจทย ตลาดป จจุบัน “ผมเรียนมาทางผังเมือง ได ศึกษาแต กรุงเทพฯ ได เห็นแต ความเจริญ พอมาที่นี่เลยได เห็น อีกด านหนึ่งว า การกระจายอํานาจและการบริหารงานของภาครัฐยังไม ทั่วถึง ยังมีส วนต างๆ ที่ขาดการพัฒนาหรือการส งเสริม เกาะยาวเป นอีกกรณีศึกษาหนึ่งที่น าสนใจครับ” บวรรัตน ปราณี (ไตเติ้ล) ฝ ายพัฒนาผลิตภัณฑ
บ านป ะพรเต็มไปด วยสมุนไพรที่ป ะปลูกเอง ให คนจากโรงพยาบาลเก็บไปใช เป นยา
ก อนได ชาสมุนไพรออกมา ต องผ านกระบวนการหลายอย าง ทั้งล าง หั่น ตากแห ง และอบ
“ ฟ ง ก ช่ั น และการใช ง านต อ งมาก อ น แล ว ค อ ยมาคิ ด เรื่ อ งความสวยงามที ห ลั ง ”
INTERIOR SPACE DESIGN การออกแบบพื้ น ที่ นิ ท รรศการ “ในโปรเจคนี้รับผิดชอบเกี่ยวกับการออกแบบพื้นที่ในนิทรรศการค ะ สิ่งที่เราคํานึงถึงในสเปซ คือ ฟ งก ชั่นและการใช งานต องมาก อน แล วค อยมาคิดเรื่องความสวยงามทีหลัง นอกจากนี้เรายัง ต องคํานึงถึงข อจํากัดต างๆ ในพื้นที่ที่เราไปทําการออกแบบด วย ตอนแรกเราอาจจะมีภาพใน หัวแบบหนึ่ง แต พอลงพื้นที่แล วมันไม เวิร คเราก็ต องปรับเปลี่ยน อย างเช นเพดานที่โครงสร างไม ได แข็งแรงมาก เราก็เลือกที่จะใช โครงสร างแบบลอยตัว นํ้าหนักเบา “แนวคิดหลักของการออกแบบจะเน นที่ความเป นธรรมชาติของที่นี่ เราพยายามปรับเปลี่ยน บรรยากาศในนิทรรศการให เป นไปในแนวทางเดียวกันเพื่อจะสื่อสารความเป นเกาะยาวให ได ดีที่สุด บริเวณที่เราจะวางผลิตภัณฑ จะมีการสร างบรรยากาศ การออกแบบการวางของ และเอาวัตถุดิบ จริงที่มีที่นี่ไปใช จัดแสดงด วย เช น การทํากรอบรูปและการตกแต งพื้นที่โดยรอบให เชื่อมโยงกับ คอนเทนต ในภาพถ ายที่จัดแสดง เราจะพยายามดึงความรู สึก ความเรียล ความเป นธรรมชาติ ออกมา ถ าเป นภาพเรือหรือวิถีชีวิตของเขา เราก็จะหยิบยืมวัตถุดิบจากเกาะยาวที่สนับสนุนหรือ ส งเสริมอารมณ ได มาใช ค ะ” ณัฐฐิพร งอกลาภ (หมิว) ฝ ายออกแบบอัตลักษณ องค กร
development 01
ใช ผ าย อมสีห อยจากเพดาน และใช โต ะภายในร านเพื่อจัดแสดงชิ้นงาน แต การใช ผ าห อยลงมาทําให เพดานดูเตี้ยลง
development 02
ใช แท นจากกระดาษลังสําหรับวางชิ้นงาน และมีกระดาษแสดงข อมูลของผลิตภัณฑ
final
จากแบบที่ 2 เพิ่มส วนตกแต งเป นแห ที่ห องมาจากเพดานเพื่อสร างเงาให กับห อง และใช แท นวางชิ้นงานจาก กระดาษลัง
ที ม งานเกาะยาวโปรเจค 2 ผู ริเริ่มโครงการ นายแพทย มารุต เหล็กเพชร ฝ ายประสานงาน กุลวดี โพธิ์อุบล ทิวาพร เบี้ยวทุ งน อย เบญจวรรณ เชี่ยวชาญ ฝ ายออกแบบอัตลักษณ องค กร ธนิสร เลิศวิมล จุฑามาศ ธนูสาร ณัฐฐินันท ภูขะมา นีนาถ เลิศหิรัญวณิช ณัฐฐิพร งอกลาภ ศิลาลัย พัดโบก ฝ ายพัฒนาผลิตภัณฑ ณัฐ ห านรัตนสกุล จุฬารัตน อินทร รัตน อริสา สวามิภักดิ์ บวรรัตน ปราณี ชนิดา เฉียงพิมาย กานต หทัย ป ญญาดี จตุรพักตร เสนาเจริญ
ฝ ายออกแบบบรรจุภัณฑ พัชราภา หลอดแก ว สราลี หลู ตุง ปวริศา นิลพันธุ สราลี ปรีดาสุทธิจิตต ฝ ายประชาสัมพันธ ชนิกานต ศรีจันทร ธันยพร มาลาคํา กนกวรรณ พวันนา มนฤดี มั่นเหมาะ มาริสา ลงกานี ฝ ายออกแบบและผลิตสื่อ ปฐวี เอมถนอม เพียว เอี่ยมสวัสดิ์ ชัชฎารัฐ วิริยะอารีธรรม อัญชิสา พรมสุวรรณ วรรษชล ศิริจันทนันท ทีมนักศึกษาแพทย พัชร สกล ตั้งจิตเจริญชัย พัชรภี พาทัน พัชริดา มหัสฉริยพงษ ณีรนุช เมฆจินดา
ขอขอบคุ ณ
โรงพยาบาลส งเสริมสุขภาพตําบลพรุใน อําเภอเกาะยาว จังหวัดพังงา
contact
ร านหนัง(สือ) 2521 ถนนถลาง จังหวัดภูเก็ต
http://www.facebook.com/kohyaoproject kohyaoproject2@gmail.com Instagram: @kohyaoproject