1|AMD Dianylisis Resort
2|AMD Dianylisis Resort
คํานํา การออกแบบโครงการสาขาสถาปตยกรรมและมัณฑนศิลปในปจจุบัน นับวามีการพัฒนาควบคู ไปกับการเจริญเติบโตของเศรษฐกิจ ผูที่ประกอบวิชาชีพมัณฑนากรและนักออกแบบภายในจึงตองมี ความรูความสามารถมีประสบการณเชี่ยวชาญในวิชาชีพ จะตองมีการพัฒนาในดานตางๆ มีระบบการ บริหารและการจัดการ ทั้งทักษะและจินตนาการในการสรางสรรคงานใหมๆ อีกทั้งยังตองมีเทคโนโลยี่ ชวยในการออกแบบและดําเนินงานที่ทันสมัย โดยมุงเนนใหเห็นถึงการจัดการโครงการและออกแบบใน กลุม อาคารโรงพยาบาล คลินิก สถานพยาบาล ศูนยรักษาผูปวยเฉพาะทางดานตางๆ เนื้อหาในเอกสาร การนําเสนอสิ่งประดิษฐ หัวขอกระบวนการออกแบบศูนยฟอกไต เอเอ็มดี ไดอานาไลซีสสรีสอรท จังหวัดปทุมธานี โดยแสดงใหเห็นถึงกระบวนการและขั้นตอนในการดําเนินงานออกแบบอยางมือมืออาชีพ โดยทีมงานที่เชี่ยวชาญมีประสบการณในการทํางาน ซึ่งมีประโยชนอยางมากตอการพัฒนาการงาน วิชาชีพสถาปตยกรรมและมัณฑนศิลปและตอยอดวงการการศึกษาวิชาการดานการออกแบบ ผูจัดทํา หวังเปนอยางยิ่งใหเปนกรณีศึกษาและวิทยาทานแกนักศึกษาและผูที่ประกอบวิชาชีพงานออกแบบภายใน และมัณฑนศิลป ชวยใหมีความรูความเขาใจในกระบวนการขั้นตอนในการประกอบวิชาชีพ การ ประกอบธุรกิจเบื้องตน รวมทั้งระบบการบริหารและการจัดการงานออกแบบสถานพยาบาลอีกดวย
อาจารยคงรัฐ
สุนทรโรจนพัฒนา
สาขาวิชาออกแบบภายใน คณะศิลปกรรม มหาวิทยาลัยรังสิต
3|AMD Dianylisis Resort
สารบัญ
การนําเสนอผลงานสิ่งประดิษฐ 1.
บทนําและความเปนมา............................................................................................................................. .......................................................................1
2. วัตถุประสงค........................................................................................................................................................... ...................... ......................................................1 3. งบประมาณ....................................................................................................................... ...................... ...................... ...................... ...............................................2 4. ผูรับชอบโครงการ.............................................................................................. ...................... ...................... ...................... ................ ........ .............................. 2 5. ขอบเขตของการออกแบบ............. .............................................................. .............................................................................................................................3 6. ประโยชนและผลที่คาดวาจะไดรับ ..... ................... ................... ................... ............................................ ......................................................................4 7. วิธีการดําเนินงาน..... ................... ............................................................................................................................................................................... ....................4 8. สถานที่ทําการเก็บขอมูลและปฏิบ ัติงาน.......... ................................................................................................................................ ..... .. .................6 9. แผนการดําเนินงานตลอดโครงการ.................................................................................................... ...................... .......................................................7
บทคัดยอ รายละเอียดการออกแบบทางสถาปตยกรรม o ออกแบบทีมงานออกแบบและฝายที่เกี่ยวของ............................................................................ ..... ..... ..... ..... ..... .......... .. .................8 o รายละเอียดพื้น ที่ในการออกแบบ........................................................................................... ..... ..... ..... ..... ..... ..... ..... ..... ..... ... .. ... ............9
4|AMD Dianylisis Resort
กระบวนการ ขั้นตอนในการออกแบบ (Design process)............................................................................................. ....... ....... ....... ........................................10 1. การวิเคราะหที่ตั้ง,ลักษณะทางภูมิศาสตรและสภาพแวดลอมโครงการ (Site analysis) ........ ....... ....... ..........10 2. การศึกษาความเปนไปไดโครงการ (Project feasibility case study)......................................... ....... ....... ............................11 3. หลักในการออกแบบ..... .............................................................................................................................................. ....... ....... ....... ....... ....... ....... ...........14 4. แนวความคิดในการออกแบบ (Concept design) ................................................................ ....... ....... ....... ....... ....... ....... ...........15 5. ขั้นตอนการสังเคราะหขอมูล (Design synthetic) .......................................... .......................... .... ....... ....... ....... ....... ....... ...........16 6. ขั้นตอนการพัฒนาการออกแบบรูปแบบสถาปตยกรรมและมัณฑนศิลป (Design develop) ..... .... ...........19 7. ขั้นตอนการจัดทําเอกสารการออกแบบกอสราง (Construction Document) ....................... ....... ....... ............................26 8. ขั้นตอนการตรวจงานและควบคุมคุภาพงานกอสราง (Site supervision) ........... ................... ....... ....... .................. .........31 9. การตรวจรับงานและเตียมการเปดดําเนินธุรกิจ (Completion and Grand opening) ....... ..................................32
5|AMD Dianylisis Resort
สารบัญภาพ ภาพที่
หนา
การนําเสนอผลงานสิ่งประดิษฐ
แผนผังที่ 1. ภาพถายดาวเทียมแสดงสถานที่ตั้งศูนยฟอกไต............................. ....... .......................................... .. .......................11 แผนผังที่ 2. แสดงลักษณะสภาพแวดลอมโดยรอบอาคาร...................................................... ..................................................... .......12 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11. 12. 13. 14. 15. 16. 17.
ภาพแสดงการออกแบบอัตลักษณ (Branding Identity)................................. ....... ........ ............ ............ ............ ..................................16 ภาพแสดงการออกแบบเบื้องตน (Pre-design) บริเวณโถงตอนรับ และเวชระเบียน.................. ......................................17 ภาพแสดงการออกแบบเบื้องตน (Pre-design) บริเวณวัดความดัน,ชั่งน้ําหนักและเวชระเบียน..............................18 ภาพแสดงการออกแบบเบื้องตน (Pre-design) บริเวณสวนฟอกไต 1................................. ..... .....................................................18 ภาพแสดงการออกแบบเบื้องตน (Pre-design) บริเวณสวนฟอกไต 2.................. ..... ............ .......................................................18 ภาพแสดงการจัดวางพื้นที่ใชสอยชั้นลางเบื้องตน (Ground Floor Lay-out Plan) ....... ..... ..............................................19 ภาพแสดงการจัดวางพื้นที่ใชสอยจากดานหนาทางเขาเบื้องตน (Front view Lay-out Plan)....................................19 ภาพแสดงรูปแบบสภาพแวดลอมบริเวณโดยรอบดานหนาเบือ้ งตน (Front view Landscape) ............................19 แสดงรูป แบบการพัฒนาแนวคิดในการวางผังศูนยฟอกไต (Furniture Lay-out) ................. .... ........... .. .. .. .. .. . .............. 21 แสดงการพัฒนาการออกแบบภายใน บริเวณโถงตอนรับ วัดความดัน,ชั่งน้ําหนักและเวชระเบียน............... ..........20 ภาพแสดงการพัฒนาแบบทางสถาปตยกรรมและสภาพแวดลอมบริเวณเคานเตอรพยาบาลดูแลควบคุมการ บริการ มุมมองจากบริเวณหองฟอกไต\สวนที่ 1. ............................. ...................................... ...................... ...................... ........................22 รูปแบบการพัฒนาการออกแบบภายในบริเวณเคานเตอรพยาบาลดูแลควบคุมการบริการ ในสวนหนา บริเวณหองฟอกไตสวนที่ 1 ..... ..........................................23 แบบสัญลักษณศูนยฟอกไตอยางเปนทางการ (AMD Dianalysis Logo identity)............. ......... ......................................24 แสดงรูป งานออกแบบงานกราฟฟคเอกสาร (Stationary design )......... ...........................................................................................24 งานออกแบบของที่ระลึกเพื่อสงเสริมการประชาสัมพันธ (Premium product design).................................................... 24 ภาพแสดงแนวความคิดออกแบบชุดยูนิฟอรม แพทยและพยาบาลประจําศูนย........................................................................ 25 ภาพแสดงงานแบบการกอสรางงานสถาปตยกรรม (Architecture construction drawing) แบบแปลนชั้นลางแสดงทางเขา,โถงตอนรับ,รานอาหาร,สภาพแวดลอมโดยรอบอาคาร.............. .................................. 26
6|AMD Dianylisis Resort 18. ภาพแสดงงานแบบการกอสรางงานสถาปตยกรรม (Architecture construction drawing) แบบฝาเพดานและผังงานระบบไฟฟา(Reflected ceiling Plan)........ ......... ......................... ....................................................... 26 19. ภาพแสดงงานแบบการกอสรางงานสถาปตยกรรม (Architecture construction drawing) แบบแปลนปล็กไฟ (Receptacle Plan)....... ........ ........ ........ ........ ........ ........ ........ ........ .................................................. .................................. 27 20. ภาพแสดงงานแบบการกอสรางงานตกแตงภายใน (Interior design working drawing) แบบแปลนการ เดินทองานระบบสุขาภิบ าล และทอน้ํายาฟอกไต (Sanitary & RO System)......................................... .................................27 21. ภาพแสดงงานแบบการกอสรางงานตกแตงภายใน (Interior design working drawing) รูป ดานหนาแสดง แบบทางเขาและผนังปายศูนยฟอกไต....................... .................................................... ............................... ............................... ...............................28 22. ภาพแสดงภาพงานแบบการกอสรางงานตกแตงภายใน (Interior design working drawing) แสดงรูป ดานแสดงแบบการติดตั้งหนาตางและตูซอนทอน้ํายาฟอกไต........ ... ............................... ............................................. 28 23. แสดงภาพรางขยายแบบมุมมองสามมิติ (Interior design Isometric Sketch) รายละเอียดเฟอรนิเจอรติดผนังตางๆ,ชั่งน้ําหนักและเวชระเบียน .......................... ...... ........... ........... ........... .................................29 24. แสดงภาพรางขยายแบบมุมมองสามมิติ (Interior design Isometric Sketch)บริเวณโถงตอนรับ วัดความดัน (Built-In Furniture design drawing for AMD Dinalysis Resort.).............................. ................ .... ........... ........... ................29 25. ภาพพื้นที่กอสรางทิศตะวันออกเฉียงเหนือเปนทางเขาหลักเขาสูโถงตอนรับ ภายใน.................... ................ ......................30 26. ภาพพื้นที่ทิศตะวันออกเฉียงใตมีพื้นที่ติดกับถนนสาธารณะที่ชวงกวางประมาณ 6 เมตร ........ ................. ............30 27. ภาพพื้นที่ทิศตะวันตกเฉียงใตเปนบริเวณบานพักของเจาของโครงการ.................. ..... ..... ..... ..... ... .............................................31 28. ภาพพื้นทีท่ ิศตะวันตกเฉียงเหนือพื้นที่ติดกับถนนสาธารณะ สลับกับพื้นที่โลงรกราง............... ..........................................31
7|AMD Dianylisis Resort
การนําเสนอผลงานสิ่งประดิษฐ เรื่อง กระบวนการออกแบบศูนยฟอกไต: เอเอ็มดี ไดอานาไลซีสสรีสอรท จังหวัดปทุมธานี Subject : AMD Dianylisis Resort , Pratumthani. 1. บทนําและความเปนมา ในชวงทศวรรษที่ผานมา สังคมไทยมีการพัฒนาอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี่ อยางมากจนทําใหสภาวะรูปแบบชีวิตมนุษยตองถูกกระตุนใหแสวงหาวัตถุภายนอกอยูในสภาพ ตรากตรํากับการทํางานตลอดเวลา ทําใหคนไทยเกิดความเจ็บปวยในรูปแบบตางๆ ซึ่งเกิดจาก พฤติกรรมการใชชีวิตและการบริโภคอาหารที่ไมถูกสุขลักษณะ ทําใหอวัยวะตางๆทรุดโทรม เสียหายเสื่อมสภาพ โดยเฉพาะโรคไตวาย จากสถิติป 2549 จนถึงป 2552 มีผูปวยโรคไตเรื้อรัง ระยะ คาดวาจะมีผูปวยในป 2553 เพิ่มมากขึ้น ซึ่งทําใหเกิดปญหาคือตองเสียงบประมาณ คาใชจายในการรักษาและเพิ่มอัตราการเขารับการรักษาในโรงพยาบาลมากขึ้น การ ออกแบบ คลินิกฟอกไตและรูปแบบการใหบริการ จึงมีผลกับการบริการฟอกไตของสถานที่ไดอยาง มาตรฐานถูกสุขลักษณะตามหลักวิชาการ ไมวาพื้นที่หรือขนาดของจะมีขนาดเทาใด นัก ออกแบบก็สามารถนําเสนอรูปแบบใหมีประสิทธิภาพเพื่อสนองตอโจทยและตอบปญหาความ ตองการใชสอยพื้นได การนําเสนอกระบวนการออกแบบศูนยฟอกไต เอเอ็มดี ไดอานาไลซีสสรีสอรท จังหวัด ปทุมธานี มิไดมุงหวังเพื่อแสดงใหเห็นเพียงแตในแงมุมของงานออกแบบเทานั้น แตจะแสดงให เห็นถึงขั้นตอนการทํางานตั้งแตเริ่มตนการออกแบบ รวมทั้งการนําเสนอวิธีแกปญหาเฉพาะ หนาที่เกิดระหวางการติดตามตรวจงานกอสรางเปนระยะๆ การสรางอัตลักษณ (Corporate Identity) การออกแบบที่สอดคลองกับระบบอุปกรณทางการแพทยของศูนยฟอกไตและการ ออกแบบที่มุงเนนไปในทิศทางรูปแบบการใหบริการแบบองครวม (Holistic treatment) ดวย แนวคิดการบําบัดโดยแนวแนวธรรมชาติเปนเปาหมายสําคัญ เปนกรณีศึกษาเพื่อประโยชนแกวง การศึกษาและผูประกอบวิชาชีพสถาปตยกรรมและมัณฑนศิลปตอไป 2. วัตถุประสงค 1. เพื่อการนําเสนอกระบวนการขั้นตอนการทํางานงานออกแบบสถาปตยกรรมและ มัณฑนศิลปตั้งแตเริ่มตนจนแลวเสร็จ
8|AMD Dianylisis Resort
2. เพื่อนําเสนอวิธีแกปญหาเฉพาะหนาที่เกิดระหวางการติดตามตรวจงานกอสรางเปน กรณีศึกษาจากการดําเนินงานในสถานที่และสถานะการณจริง 3. เพื่อพัฒนาความเขาใจลักษณะของขบวนการคิด ปจจัย องคประกอบ แนวทางในการ ออกแบบ การทํางานวิชาชีพ นําไปใชในการเรียนการสอนนักศึกษาดานการออกแบบ งานวิชาชีพของสถาปนิก นักออกแบบภายในและผูที่เกี่ยวของในการออกแบบ 3. งบประมาณ งบประมาณในการกอสรางทั้งหมด 54,785,293 บาท โดยแบงเปน 1. เฟอรนิเจอร 751,000.00 บาท 2. งานไฟฟา 155,150.00 บาท 3. งานผนัง , ฝา 96,000.00 บาท 4. งานระบบน้ําดี น้ําทิ้ง , ทอ RO 70,000.00 บาท 5. งานทั่วไป 60,000.00 บาท 6. งานประตู – หนาตาง 163,800.00 บาท 7. งานวอลลเปเปอร 28,000.00 บาท 8. งาน CCTV , ระบบเสียง 82,600.00 บาท งบประมาณในการกอสรางทั้งหมด 1,406,550.00 บาท (โดยรวมภาษีมูลคาเพิ่มอีก 1,547,205.00 บาท รวมเปนเงินคาตกแตงกอสรางภายในทั้งสิ้น 1,655,509.35 บาท ถวน) ทั้งนี้งบคิดเปนคาบริการวิชาชีพงานออกแบบสถาปตยกรรมภายใน 8.5 % จากงบประมาณการ กอสรางทั้งหมด คิดเปนคาบริการออกแบบทั้งหมด 120,000.00 บาท 1. ผูรับชอบโครงการ 1. มัณฑนากรผูออกแบบสถาปตยกรรมภายในและมัณฑนศิลป นายคงรัฐ สุนทรโรจนพัฒนา ใบอนุญาติประกอบวิชาชีพเลขที่ วสน.56 วุฒิสถาปนิก 2. สถาปนิกรผูอ อกแบบสถาปตยกรรมหลัก นายอรรพ ศรีวาณัติ ใบอนุญาติประกอบวิชาชีพเลขที่ สถ.4743 ภาคีสถาปนิก 2. ขอบเขตของการออกแบบ 5. 1. ศึกษาทางธุรกิจและการตลาด กาทองเที่ยว กลุมเปาหมาย บริบทและองคประกอบ แวดลอมทางเศรษฐกิจ สังคม แนวโนมสถิติผูปวยโรคไต สาเหตุและแรงจูงใจการใช บริการฟอกไตในโรงพยาบาล สถานพยาบาล คลินิกและศูนยฟอกไตในขตและนอก พื้นที่ปริมณฑลใกลเคียง รวมทั้งรูปแบบและแนวทางในการสรางสรรค ตลอดจน
9|AMD Dianylisis Resort
5. 2.
5. 3.
5. 4.
5. 5.
5. 6.
5. 6.
วิเคราะหผลงานตนเองที่ผา นมาในการออกแบบการออกแบบศูนยฟอกไตอื่นๆ ที่ สอดคลองกับแรงบันดาลใจของผูอ อกแบบ ศึกษาขอมูลทางปรัชญาและออกแบบ วัฒนธรรมและปะเพณีทองถิ่น และจังหวัด ปทุมธานี รวมทั้งรูปแบบสไตลสถานพักฟนตากอากาศเขตรอน (Tropical Heath center) ประวัติความเปนมา และแนวความคิดในการออกแบบศูนยฟอกไตแนว ธรรมชาติบําบัด ศึกษาความสัมพันธและสอดคลองในการออกแบบและแนวความคิดระหวาง รูปแบบสถาปตยกรรมภายในและมัณฑนศิลป เพื่อใชในการจัดวางงานพื้นที่ใชสอย ขั้นตน (Master Plan) วางเคาโครงตามขอมูลที่เจาของงานมอบให ขอมูลเกี่ยวกับบทบัญญัติแหงกฎหมาย ที่เกี่ยวกับโครงการ และการจัดการวางเคา โครงการออกแบบรางขั้นตนโดยอางอิงและคลอยตามกับแบบทางสถาปตยกรรม และ วิศวกรรมทุกระบบ โดยเสนอแนะและจัดวางตําแหนงอุปกรณที่มีความสัมพันธกับงาน ออกแบบภายใน เชน ระบบทอน้ํายาฟอกไต (RO System)และทอสุขาภิบาล ระบบ ไฟฟาและแสงสวาง ระบบปรับอากาศและระบายอากาศ การจัดสภาพแวดลอมและ ภูมิทัศนที่ตอเนื่อง รวมทั้งระบบโสตทัศน(งาน CCTV , ระบบเสียง) และระบบควบคุม ตางๆ ใหเหมาะสมกับงานออกแบบภายใน ออกแบบรางและการเขียนแบบสถาปตยกรรมภายในเกี่ยวเนื่อง แบงเนื้อที่การใชสอย และการจัดวางผังเพิ่มเติมตามความเหมาะสม ออกแบบตกแตงสวนตางๆตามผังการ ใชเนื้อที่ ทั้งสวนพื้น ผนัง เพดาน รวมทั้งประตูหนาตางภายในทั้งหมด วางผัง เฟอรนิเจอร ออกแบบเฟอรนิเจอรทั้งชนิดเคลื่อนที่และติดตั้งกับโครงการ รวมทั้ง เฟอรนิเจอรสั่งซื้อสําเร็จรูป รวมทั้งจัดเตรียมรายละเอียดประกอบแบบทั้งหมด จัดทําตัวอยางการทําสีการใชวัสดุพื้นผิวและวัสดุประกอบการตกแตง นําเสนอและ ควบคุมการตกแตงงานศิลปวัตถุและของประกอบการตกแตง เชน ผังองคกร รายชื่อ แพทยพยาบาลและเจาหนาที่ประจําศูนย รูปภาพประกอบการใหความรูเกี่ยวกับวิธี ดูแลรักษาผูปวยโรคไต การจัดประดับประติมากรรม แจกัน ตนไมและกระถางตนไม ฯลฯ รวมทั้งงานออกแบบชุดละแพทยพยาบาลแพนักงาน (Uniform) ปายสัญลักษณ และปายบอกทิศทาง ประมาณราคาคากอสรางและจัดเตีรยมการประกวดราคาคากอสรางงานตกแตง และ ใหคําแนะนําในการตรวจสอบ
10 | A M D D i a n y l i s i s
Resort
5. 7. ประสานงานและดําเนินการการกอสรางงานตกแตงภายใน (Site Inspection & Installation) ตรวจสอบการปฏิบัติงานของผูรับจางกอสรางใหเปนไปตามรูปแบบ เพื่อใหงาน กอสรางดําเนินไปดวยความเรียบรอย 3. ประโยชนและผลที่คาดวาจะไดรับ 6.1 เปนแนวทางในการออกแบบและขั้นตอนการทํางาน รวมทั้งปจจัยและองคประกอบใน การแกปญหางานเพื่อใหโครงการสําเร็จลุลวง สําหรับนักศึกษาดานการออกแบบ งาน วิชาชีพดานสถาปตยกรรมภายในและมัณฑนศิลปและผูที่เกี่ยวของ สามารถใชเปน แนวทางประกอบการในการออกแบบสถานพยาบาล คลีนิคหรือศูนยฟอกไตแนว ธรรมชาติบําบัดตอไป 6.2 ทําใหมีขอมูลพื้นฐานสําหรับการพัฒนาเทคนิควิธีการออกแบบ การเลือกใชวัสดุ ตกแตงภายในสําหรับงานมัณฑนศิลปและเฟอรนิเจอร การใชวัสดุ ในสถานพยาบาล ที่เนนความสะอาดปลอดภัยถูกสุขลักษณะอยางลงตัว โดยแสดงใหเห็นถึงการ ปรับเปลี่ยนดัดแปลง การนําวัสดุทตี่ องใชเทคนิคพิเศษและความตองการเฉพาะตัว ตามมาตรฐานมาใชในงานออกแบบโดยยังคงรูปลักษณความงามและประโยชนใชสอย ไดอยางมีประสิทธิภาพ ทั้งนีส้ ามารถนําไปอางอิงประกอบวิชาชีพในอนาคตได 6.3 ทําใหเกิดการสรางประเด็นเฉพาะในการออกแบบและการดําเนินงานทาง สถาปตยกรรมภายใน ของสถานพยาบาล คลีนิคหรือศูนยฟอกไตแนวธรรมชาติ บําบัดตอไป ซึ่งจะเปนพื้นฐานของการออกแบบอาคารในลักษณะใกลเคียงกันใน รูปแบบอื่นๆ ตอไป 6.4 ผลการศึกษาเปนตัวชี้นําและเสนอแนะการออกแบบสภาพแวดลอมของสถานพยาบาล คลีนิคหรือศูนยฟอกไตแนวธรรมชาติบําบัดตอไป ทําใหเห็นความสําคัญของการ ออกแบบ ในแงของการพัฒนาใหสอดคลองกับการอนุรักษพลังงาน สําหรับอาคาร สาธารณะหรือโรงพยาบาลตางๆในประเทศไทย ทางดานคุณภาพการบริการและจัด วางพื้นที่ใชสอยใหมีประสิทธิภาพ สามารถตอบสนองตอคุณภาพการใชสอยที่ กอใหเกิดสภาวะสบาย ความปลอดภัยและสงเสริมการมีสุขภาพที่ดี เกิดความเขาใจ เรื่องทัศนคติความพึงพอใจของผูใชสอยที่มีตอการออกแบบ 4. วิธีการดําเนินงาน การออกแบบสถานพยาบาล คลินิกหรือศูนยฟอกไตแนวธรรมชาติบําบัด ทีมผูออกแบบได คํานึงถึงรูปแบบความงามและประโยชนใชสอย ทางสถาปตยกรรมและมัณฑนศิลป ยังไดศึกษาแนว
11 | A M D D i a n y l i s i s
Resort
ทางการประกอบธุรกิจศูนยฟอกไตแนวธรรมชาติบําบัดในจังหวัดปทุมธานีและโรงพยาบาลอื่นๆ ที่มี บริการการฟอกไตดวย รวมทั้งแนวทางการตลาด กลุมเปาหมาย บริบทและองคประกอบแวดลอม ทางเศรษฐกิจ สังคม เพื่อใหผลงานสําเร็จสมบูรณแบบในทุกมิติของโครงการ ขั้นตอนและวิธีการรวบรวมขอมูล 7.1 การจัดเตรียมโครงการ 7.1.1 รายละเอียดของพนักงานและพื้นที่ใชสอยของแตละแผนก 7.1.2 รายละเอียดความสัมพันธภายในหนวยงานและระหวางหนวยงาน 7.1.3 รายละเอียดการจัดทํางบประมาณคากอสรางและตกแตง 7.1.5 รายละเอียดเกี่ยวกับขอมูลและวัตถุประสงคอื่นๆ ที่จําเปนสําหรับการ ออกแบบ และกอสรางงานตามโครงการ 7.2 คนควาและรวบรวมขอมูล 7.2.1 การศึกษาขอมูลเอกสาร ขอมูลเชิงสถิติ เศรษฐกิจ สังคม จังหวัด ปทุมธานีและโรงพยาบาลอื่นๆในพื้นที่ใกลเคียง ศักยภาพ จุดเดน จุดดอย แนวโนมทางการตลาดในอนาคต (Swot Analysis) เพื่อตรวจสอบความ เปนไปไดของโครงการเบื้องตน (Project Feasibility case study) 7.2.2. การเก็บขอมูลภาคสนาม เปนการเก็บขอมูลทางกายภาพของพื้นที่ ที่เลือก มาเปนที่ตั้งโครงการโดยการสํารวจ ถายภาพ สังเกตการณ สัมภาษณและ เก็บขอมูลทางแผนที่ เรียบเรียงขอมูล จัดหมวดหมูใหเกิดระบบและลําดับ ในการดําเนินงาน เพื่อความชัดเจนในการวิเคราะหตอไป 7.2.3. การศึกษาขอมูลเอกสาร วัฒนธรรมและปะเพณีทองถิ่น สถิติผูปวยโรคไต จํานวนคลินิกและศูนยฟอกไตในขตและนอกพื้นที่ปริมณฑลใกลเคียง โรงพยาบาลอื่นๆ รวมทั้งรูปแบบสถานพักฟนตากอากาศเขตรอน (Tropical Heath center) ที่ทําใหเกิดแรงบันดาลใจตางๆ โดยมุงเนนไปที่ การการใชงานการสื่อความหมายและวิเคราะหผลลัพธที่เกิดขึ้น 7.3 ขั้นตอนการวิเคราะหขอมูล 7.3.1. การวิเคราะหและสังเคราะหขอมูลเพื่อหาประเด็นที่สําคัญ ซึ่งนําไปสูการ พัฒนาเปนแนวความคิดในการออกแบบ แลวนํามารวมกับวิธีการ ออกแบบทางสถาปตยกรรม และมัณฑนศิลป เพื่อแปลงจากนามธรรม ทางแนวความคิดมาเปนรูปธรรม ในการออกแบบรูปทรงทาง สถาปตยกรรมภายในและมัณฑนศิลป
12 | A M D D i a n y l i s i s
7.4.
7.5.
7.6.
Resort
7.3.2. ศึกษาวิเคราะหพฤติกรรมสวนบุคคล (Individual Behaviour) ดานความ พึงพอใจ (Satisfaction) ดานการรับรูและความพึงพอใจตสภาพแวดลอม ของผูปวยโรคไตและผูใชสอยภายในอาคารในสภาพแวดลอมของพื้นที่ สวนใชสอยตางๆ 7.4.2. ศึกษาและพัฒนาแนวความคิดจากการสรุปผลการศึกษา เพื่อนําไป ประยุกตใชในงานการออกแบบ งานสถาปตยกรรมและมัณฑนศิลป ขั้นตอนและกระบวนการออกแบบ 7.4.1. ออกแบบสถาปตยกรรมและมัณฑนศิลปโดยมีความสัมพันธขอมูลที่ได สังเคราะหมาแลว นํามาทําการจัดวางแบงเนื้อที่การใชสอยและการจัด วางผังเบื้องตน ขั้นตอนการจัดทําเอกสารการออกแบบ (Construction Document) 7.5.1. จัดเตรียมการประกวดราคาและคําแนะนําในการตรวจสอบ 7.5.1. จัดเตรียมรายละเอี่ยดการกอสราง ตรวจสอบการปฏิบัติงานของผูรับจางกอสรางใหเปนไปตามรูปแบบ เพื่อใหงาน กอสรางดําเนินไปดวยความเรียบรอย 7.6.1. ติดตามผลการทํางานทั้งที่โรงงานและสถานทีก่ อสราง เพื่อใหแนใจวาทํา ถูกตองตามแนวคิดที่ไดกําหนดไว 7.6.2. สรุปผลการดําเนินงานและจัดทํารายงานแสดงขอแกไขในงานตางๆที่อาจ ไมเหมาะสมและตรงกับที่ไดระบุไวในแบบ พรอมใหคําแนะนําในการแกไข ปรับปรุงของพื้นที่นั้นๆ
5. สถานทีท่ ําการเก็บขอมูลและปฏิบัติงาน 8.1. ประสบการณตรงจากการผลงานตนเองที่ผา นมาในการออกแบบโรงพยาบาลและ สถานพยาบาลอื่นๆ ที่สอดคลองกับแรงบันดาลใจของผูอ อกแบบในโครงการที่ทํา การออกแบบ 8.2. ศึกษาคนควาขอมูลจากภาคเอกสาร ซึ่งเปนขอมูลทางปรัชญาและออกแบบ วัฒนธรรมและปะเพณีทองถิ่น รวมทั้งรูปแบบสไตลบาหลีและทร็อปปเคิล (Tropical temporary) สาเหตุและแรงจูงใจการใชบริการฟอกไตาและการ แนวโนมสถิติผูปวยโรคไต แนวความคิดในการใหบริการฟอกไตในโรงพยาบาล สถานพยาบาล คลินิกและศูนยฟอกไตในตางประเทศมาเปรียบเทียบ รวมถึง สิ่งพิมพและเอกสารทางวิชาการตางๆที่เกี่ยวของกับงานออกแบบ
13 | A M D D i a n y l i s i s
8.3. 8.4.
Resort
ขอมูลทางธุรกิจและการตลาด การใหบริการทางสุขภาพ บริบทและ องคประกอบแวดลอมทางเศรษฐกิจ สังคม จากทางราชกาลและสื่อตางๆ ขอมูลจากการออกสํารวจภาคสนาม ณ สถานที่ทําการกอสรางรวมทั้งบริเวณ แวดลอมโดยรอบโคงการ อันเปนขอมูลจริงทางสถาปตยกรรมที่ไดจากการ ตรวจสอบ สํารวจและบันทึกภาพถายจากสถานที่จริง
6. แผนการดําเนินงานตลอดโครงการ โครงการออกแบบงานสถาปตยกรรมและมัณฑนศิลป ศูนยฟอกไต: อเอ็มดี ไดอานาไลซีสสรีสอรท จังหวัดปทุมธานี ขั้นตอนการดําเนินงาน งานออกแบบสถาปตยกรรม
แบบรางครั้งที่ 1
แบบขออนุญาต
แบบกอสราง
แบบงานสถาปตยกรรมภูมิทัศน
งานออกแบบสถาปตยกรรมภายในและมัณฑนศิลป
ผังการจัดวางบริเวณทั้งหมด (Master Plan & Zoning) และแบบรางผังการจัดวางเฟอรนิเจอร (Furniture Lay-Out) แนวความคิดในการออกแบบเบื้องตน (Predesign & Conceptual) รายละเอียดการกอสรางงานตกแตงภายใน (Construction document) แบบสถาปตยกรรมมัณฑนศิลปสําหรับงาน โครงสรางและงานวิศวกรรม (Architectural information) เอกสารเตีรยมเสนอราคาตกแตงภายใน
เดือนที1่ -2 ธ.ค.- ม.ค.
เดือนที่2-3 เดือนที่ 4-5 ม.ค.- ก.พ. ก.พ.- มี. ค
เดือนที่ 6-7 มี.ค -เม.ย
14 | A M D D i a n y l i s i s งานออกแบบวิศกรรมงานโครงสรางและงานระบบ แบบรางครั้งที่ 1 รายการคํานวณ แบบกอสรางโครงสรางและวิศวกรรมงานระบบ
งานกอสรางสถาปตยกรรมและงานวิศวกรรม งานรื้อถอน งานเตรียมพื้นที่และสภาพแวดลอมโดยรอบ งานระบบสุขาภิบาลและทอน้ํายาเคมี งานกอสรางสถาปตยกรรมโครงสราง งานระบบไฟฟา ระบบ CCTV ระบบเสียง ,แอร งานฝาเพดาน งานเฟอรนิเจอรติดผนัง งานตกแตงสี งานจัดวางของประกอบการตกแตง การสงมอบงานแลวเสร็จ
Resort
15 | A M D D i a n y l i s i s
Resort
บทคัดยอ ความสําคัญของปญหา จังหวัดปทุมธานี เปนเมืองแหงอุตสาหกรรมการบริการดานการศูนยฟอกไตและทองเที่ยวระดับ นานาชาติ มีความเจริญกาวหนาทางเศรษฐกิจ สังคม และความหลากหลายของวัฒนธรรมตางๆจากทั่ว โลกตามมา ไปพรอมกับพลวัตเทคโนโลยี่โลกาภิวัฒนทางวัตถุพิสัยและกิจกรรมอันเรงเราจนทําใหผูคน ขาดคุณภาพชีวิตดานสุขภาพ โดยมักละเลยการดูแลตนเองดานสุขภาพ ทําใหเกิดปญหาโรคภัย โดยเฉพาะภาวะโรคไตมีจํานวนผูปวยมากขึ้นเรื่อยทุกป และนับวันจะทวีความรุนแรงมากขึ้นตามความ เจริญทางเศรษฐกิจ อีกทั้งยังมีปญหาจํานวนการเปลี่ยนไตที่นอยมากเมื่อเทียบกับจํานวนผูปวยนับ หมื่นคน รวมทั้งการขาดแคลนบุคลากรทางการแพทยดานโรคไตโดยเฉพาะ นําไปสูปญหาการขาด สถานพยาบาลหรือศูนยฟอกไตตามมา ซึ่งนับจํานวนเตียงฟอกไตที่มีตามโรงพยาบาลและคลีนิกใน จังหวัดปทุมธานีไมเพียงพอกับความตองการของผูปวยที่เพิ่มมากขึ้น การแขงขันทางดานธุรกิจการคลีนิก และสถานพยาบาล ศูนยฟอกไตทั้งขนาดเล็กขนาดใหญ เพื่อแสวงหาโอกาสเพิ่มคุณคาใหกับคุณภาพชีวิต ความเปนไปพรอมกับการพักผอน เมืองปทุมธานีเปนเปาหมายอันดับตนๆของความตองการเหลานั้นซึ่งมี พรอมทุกสิ่งที่มนุษยปถุชนพึงพอใจ ดังนั้นการออกแบบศูนยฟอกไต เอเอ็มดี ไดอานาไลซีสสรีสอรท จึงจําเปนตองอาศัยทีมงานที่ เชี่ยวชาญมีประสบการณในการทํางานสูงพอสมควร จึงจะสามารถออกแบบโครงการไดอยางมีสมบูรณ แบบในองคประกอบและโจทยการทํางานอันจํากัด อีกทั้งยังสามาถเชื่อมโยงบริบทโดยรอบไดทั้งยังลงตัว เปนการสรางปฎิสัมพันธดวยการสัมผัส ระหวาง ผูใชงาน กิจกรรม สถาปตยกรรมและบริบทองคประกอบ ตางๆที่มีความสัมพันธกันอยางแนบแนนเปนหลักสําคัญของการสรางมิติที่ลึกซึ้งในการออกแบบทาง สถาปตยกรรมและมัณฑนศิลป แหงการสัมผัสที่สามารถตอบสนองทั้งประโยชนใชสอยและความหมาย ทางดานจิตใจเชิงปรัชญาและเศรษฐศาสตร เพชรเม็ดงามมรดกทางวัฒนธรรมจังหวัดปทุมธานี การออกแบบทางสถาปตยกรรม ลักษณะของศูนยฟอกไตเปนรูปแบบอาคารสูง 5 ชั้น มีทิวทัศนลอมรอบดวยสวนอันงดงามเหมาะ แกการพักผอนหยอนใจทามกลางบรรยากาศเมืองตากอากาศชานกรุงเทพ จังหวัดปทุมธานี การออกแบบ มีการประสานกลมกลืนกับธรรมชาติแวดลอมและผสมผสานเขากับวัฒนธรรมและประะเพณีทองถิ่นของ ไทยในจังหวัดปทุมธานี รูปแบบสไตลบาหลีและทร็อปปเคิล (Tropical temporary) ตัวอาคารตกแตง ไดรับการออก แบบรางและการกอสรางโดยบริษัทโอเพนฮับเฟรม จํากัด โดยมีผูนําเสนอผลงาน
16 | A M D D i a n y l i s i s
Resort
อาจารยคงรัฐ สุนทรโรจนพัฒนา มัณฑนากรโครงการ โดยความรวมมือของคุณอรรนพ ศรีวาณัติ สถาปนิกโครงการจัดการโครงการควบคุมประสานงานอยางใกลชิดกับเจาของโครงการผูออกแบบงาน โครงสรางและงานระบบทั้งหมด ฝายผลิตและควบคุมคุณภาพรายละเอียดของแบบโดยนายบรรดิษฐ สีอุด และนางสาวรสริน รอดไทยแกว โดย คุณอมรรัตน ศรีวาณัติ เจาของโครงการ กอสรางตกแตงงาน เฟอรนิเจอรทั้งหมดโดย บริษัท เกรนเฟอรนิเจอร จํากัด ตัวอาคารเปนอาคารชั้นเดียว มีเนื้อที่ทั้งหมด 4,650 ตารางเมตร ดังรายละเอียดของแตละชั้นดังนี้ 1. ชั้นพื้นลาง (GROUND FLOOR LEVEL) เปนที่จอดรถในตัวอาคารประมาณ 20 คัน สวน สําหรับใหบริการของศูนยฟอกไต ประกอบดวย โถงตอนรับ (MAIN LOBBY ) เคาเตอร ตอนรับและลงทะเบียนเขาพัก หองอาหาร สวนรับรองแขก (LOBBY LEVEL) เปนบริเวณ ทางเขาของตัวอาคาร มีสระน้ําตกอยูดานหลังตัวอาคาร สําหรับบริการแขกที่มาพัก ประกอบดวย - หองโถงรับรองแขก (MAIN LOBBY) - บริเวณสวนรับรอง (LOBBY LOUNGE) - รานคา (SHOP) - บริเวณอินเตอรเน็ตเช็คขอมูลขาวสารและบริการติดตอธุรกิจ (BUSINESS CENTRE) - สวนรับประทานอาหาร (COFFEE SHOP) สามารถจัดบริการแบบบริการตัวเองไดแบบ บุฟเฟจุคนไดประมาณ 36 คน - สวนอาหารลานริมสระ (POOL GARDEN & RESTAURANT) สามารถจัดเลี้ยงสังสรร และการบริการแบบบริการตัวเองได จุคนไดประมาณ 40 คน 4. ชั้นสอง ถึง ชั้นหา (SECOND FLOOR LEVEL – FIFTH FLOOR LEVEL) เปนสวนของหองพักผูมาใชบริการ ประกอบดวยหองพักชนิดตางๆ ดังนี้ - TYPICAL GUEST ROOM - EXECUTIVE SUITES - PRESIDENT SUITE 4. ชั้นดาดฟา ประกอบดวย สวนบริการสปา หองซักรีด หองแมบาน หองเก็บของพนักงาน หอง เก็บของคนงาน หองเครื่องสําหรับระบบปรับอากาศ หองเครื่องสําหรับระบบลิฟท 5. สวนสนับสนุนการบริการสวนหลัง (BACK OF THE HOUSE) ประกอบดวย ฝายบัญชี ฝายฝกอบรมฝายรักษาความปลอดภัย ฝายจัดซื้อ จัดเปนสวนสําหรับใหบริการของ ศูนยฟอกไต ประกอบดวย สํานักงานสวนหนา และสํานักงานผูบริหาร หองเครื่องสําหรับ ระบบไฟฟา ระบบสุขาภิบาล และระบบโทรศัพท ซึ่งอยูบริเวณชั้นลางและตามชั้นตางๆ
17 | A M D D i a n y l i s i s
Resort
กระบวนการ ขั้นตอนในการออกแบบ 1. การวิเคราะหที่ตงั้ ,ลักษณะทางภูมิศาสตรและสภาพแวดลอมโครงการ (Site analysis ) ศูนยฟอกไตเอเอ็มดี ไดอานาไลซีสสรีสอรท จังหวัดปทุมธานีเปนธุรกิจใหบริการทีฟ่ อกไตแบบองค รวม (Holistic treatment) แนวธรรมชาติบําบัดเปดใหม โดยทีมผูออกแบบไดทําการศึกษาขอมูล เพื่อ ตรวจสอบความเปนไปไดของโครงการเบื้องตน (Project Feasibility case study) แลวเสร็จ มีความเปนไปไดในเชิงพาณิชยและลักษณะภูมิศาสตร สถานที่ตั้งมีศักยภาพอํานวยให สามารถออกแบบไดอยางมีประสิทธิภาพคุมคาในการลงทุน ตัวโครงการตั้งอยูบริเวณซอยวัดบัวขาว อยูระหวางศูนยฟอกไตโรเยลการเดนและ ถนนพัทยาสาย 2 หางจากริมชายหาดพัทยาประมาณ 400 เมตร ซึ่งมีที่ตั้งอยูใกลกบั โดยมีสภาพแวดลอมของอาคาร ดังแผนผังที่ 1 ซึ่งมีรายละเอียด ดังนี้ - ทิศตะวันออกเฉียงเหนือเปนทางเขาหลักของศูนยฟอกไตเขาสูโถงตอนรับภายในอาคาร - ทิศตะวันออกเฉียงใตมีพื้นที่ติดกับถนนสาธารณะที่ชวงกวางประมาณ 6 เมตร - ทิศตะวันตกเฉียงใตเปนบริเวณบานพักของเจาของโครงการเอง - ทิศตะวันตกเฉียงเหนือพื้นที่ติดกับถนนสาธารณะ สลับกับพื้นที่โลงรกราง
ภาพแผนผังที่ 1 ภาพถายดาวเทียมแสดงสถานที่ตั้งศูนยฟอกไต ที่มา : Image@ 2010 Digital Globe. www.Siam Earth.com .ภาพถายดาวเทียม 5 มีนาคม 2553.
18 | A M D D i a n y l i s i s
Resort
สภาพแวดลอมทิศตะวันออกเฉียงเหนือ
สภาพแวดลอมทิศตะวันออกเฉียงใต
สภาพแวดลอมทิศตะวันตกเฉียงเหนือ
สภาพแวดลอมทิศตะวันตกเฉียงใต
ภาพแผนผังที่ 2 แสดงลักษณะสภาพแวดลอมโดยรอบอาคาร
2. การศึกษาความเปนไปไดโครงการ (Project feasibility case study) หลังจากการไดตกลงวาจางทําการออกแบบแลัว ทางทีมผูอ อกแบบจะทําการศึกษาขอมูลเพื่อ การศึกษา (Feasibility study) ในมิติตางๆ ทั้งทางดานทางธุรกิจและการตลาด การทองเที่ยว หลังจาก นั้นจึงทําการจัดทํารายงานผลการศึกษาความเปนไปไดโครงการ(Project feasibility case study report) ศักยภาพ จุดเดน จุดดอย แนวโนมทางการตลาดในอนาคต (Swot Analysis) โอกาสทางธุรกิจ ผลประโยชนที่จะไดรับ ความคุมคาในการลงทุน เพื่อเปนขอมูลประกอบในการพิจราณาใหทางเจาโครงการ ตัดสินใจการลงทุนและเตรียมแหลงเงินทุน หลังจากที่ทางเจาโครงการตัดสินใจอนุมัติใหดําเนินโครงการตอ ทางทีมผูอ อกแบบจะดําเนินการวิเคราะหความเปนไปไดของรูปแบบโครงการ โดยการวางตําแหนงทางการ ตลาด กลุมเปาหมาย บริบททางสังคมและองคประกอบแวดลอมทางเศรษฐกิจของเมืองพัทยา ตลอดจน วิเคราะหศูนยฟอกไตขนาดยอมในสถานที่ใกลเคียง คูแขงทางธุรกิจ และศูนยฟอกไตในมืองตากอากาศ อื่นๆ ที่สอดคลองกับแรงบันดาลใจของผูอ อกแบบ เพื่อนํามาเปนแนวทางในการสรางสรรครูปแบบของ ศูนยฟอกไต ทั้งนี้ไดศึกษาประวัติที่มาและเอกลักษณของทองถิ่นเมืองปทุมธานีจากอดีตความเปนมาจากเมื่อป พ.ศ. 2502 ทหารอเมริกัน 100 นาย จากฐานทัพจังหวัดนครราชสีมา มายังหาดพัทยา เชาบานตากอากาศ ของพระยาสุนทรพักอยูเปนประจํา บานดังกลาวอยูทางตอนใตของหาดพัทยา เปนจุดเริ่มตนของการ
19 | A M D D i a n y l i s i s
Resort
ทองเที่ยวพัทยา และที่สุดก็เปลี่ยนจากหมูบานชายทะเลที่สงบ เปนสถานที่ทองเที่ยวตากอากาศทันสมัย ดังที่เห็นกันทุกวันนี้ ตอมาขยายเขตไปถึงพัทยาใตในป 2507 มีพื้นที่ในการปกครองดูแล 22.2 ตาราง กิโลเมตร แตเนื่องจากพัทยาเจริญเติบโตอยางรวดเร็ว เปนสถานที่ทองเที่ยวที่ไดรับความนิยมทั้งชาวไทย และชาวตางประเทศ ดวยแหงพระราชบัญญัตติ ั้งเมืองพัทยาเมื่อวันที่ 29 พฤศจิกายน 2521 เปนรูปการ ปกครองทองถิ่นรูปแบบพิเศษ และใหเมืองพัทยามีฐานะเทียบเทาเทศบาลนคร และตราพระราชบัญญัติ ระเบียบบริหารราชการเมืองพัทยา พ.ศ.2542 บังคับใช มีผลตั้งแตวันที่ 30 พฤศจิกายน 2542 ผลจากการทีท่ างทีมผูอ อกแบบจะทําการศึกษาขอมูล พบวาองคประกอบของศูนยฟอกไตบาลี ทายา รีสอรท มีศักยภาพในการลงทุนนาจะเปนในการพัฒนาโครงการ มีจุดคุมทุนและผลกําไรตอปคุมคา เนื่องจาก "พัทยา" ยังคงครองแหลงทองเที่ยวทางทะเลเบอรหนึ่งในใจคนไทย-เทศ การทองเที่ยวเชิง ธรรมชาติ ประเภทหาดทรายและทองทะเล เปนหนึ่งในสินคาทางการทองเที่ยวที่ไดรับความนิยมมากที่สุด ในสายตาชาวตางชาติ รวมทั้งชาวไทยที่มีความนิยมการทองเที่ยวทางทะเลเชนกัน คาดการณวาตลาด นักทองเที่ยวตางชาติซึ่งมีสัดสวนประมาณเกือบ 70% ของตลาด มีนักทองเที่ยวทั้งคนไทยและตางชาติ เดินทางมายังพัทยารวมทั้งสิ้นประมาณ 5.68 ลานคน จากการใชจายในดานตางๆของนักทองเที่ยว ระหวางที่พํานักทองเที่ยวในพัทยา คิดเปนมูลคาประมาณ 5.3 หมื่นลานบาท รายไดสวนใหญ คือ ประมาณ 30% หรือคิดเปนมูลคา 1.6 หมื่นลานบาทสะพัดสูธุรกิจดานที่พักในพัทยา ซึ่งปจจุบันมีจํานวน ประมาณ 270 แหงและมีหองพักรวมทั้งสิน้ เกือบ 28,000 หอง ธุรกิจดานที่พักในพัทยามีแนวโนมเติบโตมาอยางตอเนื1่อง โดยมีการขยายตัวอยางเดนชัดสําหรับ ศูนยฟอกไตกลุมที่มีอัตราคาหองพักตั้งแตคืนละ 1,000 บาทขึ้นไป อัตราการเขาพักเฉลี่ยของศูนยฟอกไต กลุมที่มีอัตราคาหองพักคืนละ 1,500 บาทขึ้นไปยังคงมีแนวโนมเพิ่มสูงขึ้น ทั้งนี้ถาศูนยฟอกไตเอเอ็มดี ไดอานาไลซีสสรีสอรท โดยใชเงินลงทุนเบื้องตนรวมคากอสราง คา ดําเนินการและเงินทุนหมุนเวียน คาใชจายประจํา (Fix-cost) ทั้งหมดรวมทั้งคาประชาสัมพันธและคา ประกันภัย จะใชเงินลงทุนเบื้องตนในการดําเนินการทางธุรกิจประมาณ 60 ลานบาท โดยใชเงินลงทุน สวนตัว 20 ลานบาท เงินลงทุนจากการกูธนาคารระยะเวลาผอนชําระ 5 ปอีก 40 ลานบาท อัตรา ดอกเบี้ยเงินกูแบบตายตัว 4.5 เปอเซ็นตอป โดยทางศูนยฟอกไตตองตอปคิดเปนเงิน 9,800,000 บาท รวมดอกเบี้ยกับจายเงินตนระยะเวลา 5 ป รวมเปนเงิน 49,000,000 บาท โดยถาทางศูนยฟอกไตดําเนิน กิจการจะมีรายไดจากการเขาพักจากหองพักที่มี 79 หอง เฉลี่ยคืนละ 118,500 บาท เดือนละ 3,555,000 บาท ปละ 42,660,000 บาท (ยังไมรวมรายไดจากการใหบริการรานอาหาร,การจัดเลี้ยงและการ ใหบริการดานอื่นๆ) ทางศูนยฟอกไตใชเวลาคืนเงินกูธนาคารในระยะเวลาประมาณหนึ่งปกับอีกสองเดือน กอนกําหนดสามปสิบเดือน และคืนทุนเงินลงทุนสวนตัวระยะเวลาประมาณอีกหกเดือน ใชเวลาคืนทุน ทั้งหมดในระยะเวลาประมาณหนึ่งปกับอีกเกาเดือน เพราะฉนั้นขอมูลจากการคาดคะเนผลประกอบการ 1. ขอมูลจากศูนยวิจัยกสิกรไทย ในชวงป 2548-2549
20 | A M D D i a n y l i s i s
Resort
ของศูนยฟอกไตบาลีเอเอ็มดี ไดอานาไลซีสสรีสอรท จึงมีศักยภาพในการลงทุน มีจุดคุมทุนและผลกําไร ตอป มีผลตอบแทนมากเพียงพอในการลงทุน ทั้งนีไดศึกษาความเปนไปไดของโครงการในดานกายภาพที่เกี่ยวกับบทบัญญัติแหงกฎหมาย เนื่องจากศูนยฟอกไตที่มีหองพักตั้งแต 30 หองขึ้นไป หากจะดําเนินการกอสราง ดัดแปลง รื้อถอน เคลื่อนยาย ใชหรือเปลี่ยนการใช ในทองที่ที่ไดมี กฎหมายควบคุม อาคารบังคับใชแลว ตองขออนุญาตและ ไดรับอนุญาตจากเจาพนักงานทองถิ่นคือนายกเมืองปทุมธานี ตามพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522 พระราชบัญญัติควบคุมอาคาร (ฉบับที่ 2 และ 3) พ.ศ.2535 และ พ.ศ.2543 กฎกระทรวงและเทศ บัญญัตเิ มืองพัทยา ซึ่งทีมผูอ อกแบบจะทําการศึกษาขอมูลการกอสรางรูปแบบอาคารและการจัดการ วางเคาโครงการออกแบบรางขั้นตนโดยอางอิงและคลอยตามกับแบบทางสถาปตยกรรม และวิศวกรรมทุก ระบบ โดยเสนอแนะและจัดวางตําแหนงอุปกรณที่มีความสัมพันธกับงานวิศวกรรมและงานออกแบบ ภายใน เชน ระบบไฟฟาและแสงสวาง ระบบปรับอากาศและระบายอากาศ โดยมีขอสรุปแนวทางการออกแบบสถาปตยกรรมอาคารศูนยฟอกไต หลัก ๆ ดังตอไปนี้ 1. ขอพิจารณาเกี่ยวกับที่ดินที่จะใชกอสราง 1.1 ตรวจสอบวาในบริเวณดังกลาวมีกฎกระทรวง , เทศบัญญัติ หรือขอบัญญัติ กําหนดบริเวณ หามกอสราง ดัดแปลง ใชหรือ เปลี่ยนการใชอาคารบางชนิดหรือบางประเภทหรือไม และอาคารที่ทานจะ กอสราง มีขอหามหรือหลักเกณฑอยางไรบาง 1.2 ตรวจสอบวาในบริเวณดังกลาวมีกฎหมายของหนวยราชการอื่นที่หามกอสรางหรือมีขอกําหนด ในการกอสรางอาคารนอก เหนือจาก พ.ร.บ.ควบคุมอาคารหรือไม เชน บริเวณเขตปลอดภัยในราชการ ทหาร , บริเวณเขตปลอดภัยในการเดินอากาศ , ขอกําหนด 2. แนวรนของอาคาร 2.1 มิใชอาคารสูงหรืออาคารขนาดใหญพิเศษ ตองรนแนวอาคารหางเขตถนนสาธารณะดังนี้ 2.1.1 อาคารกอสรางริมถนนสาธารณะที่มีความกวางนอยกวา 10 เมตร ตองรนแนวอาคารหาง จากศูนยกลางถนน สาธารณะ ไมนอยกวา 6 เมตร 2.1.2 อาคารกอสรางริมถนนสาธารณะที่มีความกวางตั้งแต10เมตรขึ้นไปแตไมเกิน20เมตรตองรน แนวอาคารหางจากเขต 2.1.3 อาคารกอสรางริมถนนสาธารณะที่มีความกวางเกินกวา 20 เมตร ตองรนแนวอาคารหางจาก เขตถนนสาธารณะอยาง นอย 2 เมตร 2.3 ตองมีที่วางอันปราศจากหลังคาหรือสิ่งปกคลุมไมนอยกวารอยละ 30 ของพื้นที่ดิน 3. ความสูง 3.1 ความสูงของอาคาร 2. ศูนยฟอกไตที่มีหองพักเกิน 80 หองขึ้นไปถือเปนอาคารขนาดใหญตองมีรายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอม (Environmental Impact Assessment) หรือ EIA ตามพระราชบัญญัติ สงเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอมแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๓๕
21 | A M D D i a n y l i s i s
Resort
3.1.1ความสูงของอาคารไมวาจากจุดหนึ่งจุดใดตองไมเกินสองเทาของระยะราบโดยวัดจากจุดนั้น ไปตั้งฉากกับแนว สองเทาของระยะราบที่ใกลที่สุดจากจุดนั้นไปตั้งฉากกับแนวเขตถนนสาธารณะดานตรง ขามของสายที่กวางกวาและความยาวของอาคาร ตามแนวถนนสาธารณะที่แคบกวาตองไมเกิน 60 เมตร 3.2 ระยะดิ่งระหวางพื้นถึงพื้นตองไมนอยกวา 2.6 เมตร 4. จํานวนที่จอดรถยนตตามกฎกระทรวงฉบับที่ 7 (พ.ศ. 2517) 4.1 ศูนยฟอกไตที่มีหองพักไมเกิน 100 หอง ใหมีที่จอดรถยนตไมนอยกวา 10 คันสําหรับหองพัก 30 หองแรก สวนที่เกิน 30 หอง ใหคิดอัตรา 1 คันตอ 5 หอง เศษของ 5 หองใหคิดเปน 5 หอง 4.3 กรณีมีพื้นที่อาคารรวมเกิน 1,000 ตารางเมตร และมีความสูงเกิน 15 เมตร หรือมีพื้นที่อาคาร รวมทุกชั้นเกิน 2,000 ตารางเมตร ใหมีที่จอดรถยนตไมนอยกวา 1 คันตอพื้นที่อาคาร 120 ตารางเมตรเศษ ของ 120 ตารางเมตรใหคิดเปน 120 ตารางเมตร กรณีตามขอ 4.1 หรือ ขอ 4.2 เทียบกับขอ 4.3 ใหถือวา อาคารตองจัดที่จอดรถยนตจํานวนที่มากกวาเปนเกณฑ 5. ระบบบําบัดน้ําเสีย ตองมีคุณภาพน้ําทิ้งตามมาตรฐานคุณภาพน้ําทิ้งของกฎกระทรวงฉบับที่ 51 (พ.ศ.2540) ออกตาม ความในพระราช บัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522 6. ระบบปองกันอัคคีภัย 6.1 กรณีอาคารที่กอสรางไมเขาขายเปนอาคารสูงหรืออาคารขนาดใหญพิเศษใหติดตั้งบันไดหนีไฟ และอุปกรณเกี่ยวกับการ ปองกันอัคคีภัยตามกฎกระทรวงฉบับที3่ 9(พ.ศ.2537)กฎกระทรวงฉบับที่47(พ.ศ. 2540)และกฎกระทรวงฉบับที5่ 5(พ.ศ.2543)และประกาศ กรุงเทพมหานครเรื่องขอกําหนดลักษณะแบบ ของบันไดหนีไฟและทางหนีไฟทางอากาศของอาคาร พ.ศ. 2531 3. หลักในการออกแบบ ศูนยฟอกไตเอเอ็มดี ไดอานาไลซีสสรีสอรท จังหวัดปทุมธานี กอสรางขึ้นในสวนหนึ่งของบริเวณ ที่เรียกวา “ซอยลัดวัดบัวขาวกับพัทยาสาย 2” อยูระหวางซอยสมคิดกับถนนวิทยุในเนื้อทื่ 2.5 ไร เฉพาะตัวอาคาร สูง 5 ชั้น มีการจัดภูมิสถาปตยโดยรอบ การออกแบบเนนหนักเพื่อใหผสมผสานกลมกลืน กับสภาพแวดลอม เพื่อรักษาเอกลักษณของทองถิ่นเอาไว ลักษณะพิเศษของศูนยฟอกไตคือ ภายในตัว อาคารจัดเปนสวนและสระวายขนาดยอมดานหลังศูนยฟอกไตเปนมุมพักผอนทีม่ ีความสงบ แตมีความ เปนกันเองเสมือนอยูภายในอาณาเขตสวนตัว พอมสิ่งอํานวยความสะดวกจัดเตรียมไวบริการอยาง สมบูรณในพื้นที่กระทัดรัด อาทิเชน รานอาหารและคอฟฟช็อฟริมสระน้ํา มุมอินเตอรเน็ตเช็คขอมูล ขาวสารและบริการนักธุรกิจ สวนสปาสําหรับใหบริการแขกผูมาพักไดผอนคลายและดูแลสุขภาพ รวมทั้ง ที่จอดรถภายในบริเวณอยางเพียงพอ โดยคํานึงถึงความปลอดภัยและการประหยัดพลังงาน อนุรักษ สภาวะแวดลอม แตยังคงความหรูหราไดมาตรฐานเทียบเทาศูนยฟอกไตชั้นหนึ่งเพื่อเปนสวนหนึง่ ใหแขก
3. ขอแนะนําในการออกแบบศูนยฟอกไต “ สํานักงานโยธาธิการ กรุงเทพมหานคร” กทม.2 ถนนมิตรไมตรี เขตดินแดง
22 | A M D D i a n y l i s i s
Resort
ที่มาเขาพักเกิดความประทับใจ และขอสําคัญของการออกแบบนอกจากความงามและบรรยากาศ แลวยัง ไดมีการจัดวางเครื่องเรือน ตลอดจนทางสัญจรและทางบริการเพื่อความสะดวกของแขกผูมาพักดวย ทั้งนี้เพื่อใหเกิดความสะดวกสบายในการใชสอยสถานที่นั้นๆ ไดอยางรวดเร็วตอการบริการ โดยยึดหลัก ความสัมพันธตอเนื่องภายในและประโยชนใชสอยของสวนตางๆ 4. แนวความคิดในการออกแบบ (Concept Design) ตองการสรางบรรยากาศใหผอนคลายจากความรูสึกตึงเครียดระหวางการฟอกไต โดยการนําเอา มุมมองรวมทางดานภูมิศาสตรเขตศูนยสูตร ผสมผสานเขากับวัฒนธรรมและประะเพณีทองถิ่นของไทยใน จังหวัดปทุมธานีในแบบ รูปแบบสไตลบาหลีและทร็อปปเคิล (Tropical temporary) โดยผูออกแบบใชคํา ผสมของสถานและสไตลการออกแบบนํามาสนธิกัน คือ คําวา “เอเอ็มดีไดอานาไลซีสส” มาจากชื่อยอ ของ คุณอมรรัตน ศรีวาณัติ เจาของโครงการเองโดยมีธุรกิจในเครือใชแบรนดนี้อีกหลายชนิด และคําวา “รีสอรท” มาจากชื่อลักษณะสถานที่ตั้งโครงการและแนวทางการออกแบบใหเหมือนเปนสถานตากอากาศ นํามารวมกันเปนชื่อของศูนยฟอกไตสถานตากอากาศแหงนี้ ชื่อวา “เอเอ็มดี ไดอานาไลซีสสรีสอรท ” เพื่อใหเกิดอัตลักษณนําไปเพิ่มมูลคาทางการตลาดใหกับธุรกิจไดอยางดี ภาพที่
1
การออกแบบอัตลักษณ (Branding Identity)
แบบรางอัตลักษณครั้งที่ 1
แบบรางอัตลักษณครั้งที่ 2
แบบรางอัตลักษณครั้งที่ 3
แบบรางอัตลักษณครั้งที่ 4
23 | A M D D i a n y l i s i s
Resort
5. ขั้นตอนการสังเคราะหขอมูล (Design synthetize) โดยไดแนวทางและขอสรุปของลักษณะแตละทองถิ่น ลักษณะพื้นถิ่นของบาหลี ไดรับอิทธิพลจากศาสนาฮินดูทไี่ ดหยั่งรากลึกลงในวัฒนธรรมบาหลี จน แทบจะกลายเปนสวนหนึ่งในวิถีชีวิตของคนพื้นถิ่น ความเคารพศรัทธาที่มีตอธรรมชาติและจิตวิญญาณ กอใหเกิดการสรางสรรคงานประณีตศิลปตางๆรวมถึงงานสถาปตยกรรม ผานรูปแบบที่ดูสงบนิ่ง ขรึม และ ประณีตละเอียดออน ขณะเดียวกันก็ไมลืมผสานธรรมชาติเขามาเปนสวนหนึ่งของสิ่งกอสรางดวย เชน การ ใชวัสดุธรรมชาติจําพวกหินภูเขา เครื่องปนดินเผา ฯลฯ หรือการเปดรับธรรมชาติเขามาเปนสวนหนึ่งของ อาคาร ลักษณะเดนของงานแบบบาหลีที่ยังคงใชประโยชนไดถึงปจจุบันก็คือ การจัดสวนใหดูสอดคลองกับ ตัวบาน หรือดึงธรรมชาติเขามาภายในบาน เพื่อใชประโยชนไดอยางเต็มที่นั่นเอง สถาปตยกรรมและมัณฑนศิลปพื้นถิน่ ของเมืองปทุมธานีมีรากฐานมาจากวัฒนธรรมที่ฝงรากลึกมา ยาวนานจากการผสมผสานวัฒนธรรมที่เคลื่อนไหวไปมาพรอมกับการเคลื่อนยายของประชากรตั้งแตอดีด ถึงปจจุบัน จนตกผลึกเปนลักษณะเฉพาะตัวในทองถิ่นของชาวมอญในอดีตแหงนี้ รูปแบบที่ปรากฏมัก เกิดจากรูปแบบของชีวิตความเปนอยู ทัศนคติความเชื่อ ศาสนา วัสดุในทองถิ่น รวมถึงสภาพดินฟาอากาศ ชายแดนดานฝงตะวันตกติดกับพมา แมรูปแบบสถาปตยกรรมและมัณฑนศิลปในเมืองปทุมธานีและ ทองถิ่นใกลเคียงในปจจุบันจะมีการพัฒนาไปไกล แตหลายครั้งเราก็หวนกลับไปหารูปแบบดั้งเดิมของชาว ชายฝงตะวันตก เพราะนอกจากจะมีคุณคาทางจิตใจแลว ยังพิสูจนดวยวาอยูสบาย ไมรอน ฝนไมสาด ฯลฯ เราลองไปดูตัวอยางงานสถาปตยกรรมและมัณฑนศิลปพื้นถิ่นไทยแถบชายแดนประเทศเพื่อนบานที่มีการ หยิบยกมาประยุกตใชในปจจุบัน
ภาพที่ 2 แสดงบรรยากาศภาพภายใน เบื้องตน (Atmosphere & Pre-design) บริเวณโถงตอนรับ วัดความดัน,ชั่งน้ําหนัก และเวชระเบียน
24 | A M D D i a n y l i s i s
Resort
ภาพที่ 3 แสดงบรรยากาศภาพ ภายในเบื้องตน (Atmosphere & Pre-design) บริเวณวัดความดัน ,ชั่งน้ําหนักและเวชระเบียน
ภาพที่ 4 แสดงบรรยากาศภาพ ภายในเบื้องตน (Atmosphere & Pre-design) บริเวณสวนฟอกไต 1
ภาพที่ 5 แสดงบรรยากาศภาพ ภายในเบื้องตน (Atmosphere & Pre-design) บริเวณสวนฟอกไต 2
25 | A M D D i a n y l i s i s
Resort
ภาพที่ 6 แสดงการจัดวางพื้นที่ใช สอยชั้นลางเบื้องตน (Ground Floor Lay-out Plan)
ภาพที่ 7 แสดงการจัดวางพื้นที่ใช สอยจากดานหนาทางเขาเบื้องตน (Front view Lay-out Plan)
ภาพที่ 8 แสดงรูป แบบทาง สถาปตยกรรมและบรรยากาศ สภาพแวดลอมบริเวณโดยรอบ เบื้องตน (Front view Landscape)
26 | A M D D i a n y l i s i s
Resort
6. ขั้นตอนการพัฒนาการออกแบบรูปแบบสถาปตยกรรมและมัณฑนศิลป (Design develop) รูปแบบศูนยฟอกไต เอเอ็มดี ไดอานาไลซีสส รีสอรท สไตลทร็อปปเคิล (Tropical temporary) ที่ทําใหเกิดแรงบันดาลใจ ดวยแนวความคิดจาก 2 บริบท สถานพยาบาลและสถานตากกาศเขตรอน ดวยการพัฒนารูปแบบทางสถาปตยกรรมและมัณฑนศิลป บรรยากาศสภาพแวดลอมบริเวณโดยรอบ ศูนยฟอกไตและบริเวณบริเวณโถงตอนรับพักคอยภายในศูนยฟอกไต รวมทั้งหองรับรองญาติผูปวยแบบ ตางๆ โดยผสมผสานบรรยากาศแบบพื้นถิ่นเขตรอน ที่เขตเมืองตากอากาศและวัฒนธรรมและประเพณี ทองถิ่นที่คลายกัน อบอุน อยูสบาย กับธรรมชาติรอบดาน เพื่อใหเขากับรูปแบบบานภายนอกและสไตล ความตองการของผูปวยที่เขารับการฟอกไตในสถานที่แหงนี้ เนนความโปรงสบาย ดวย บรรยากาศ แบบ สไตล Resort โดยการสอดแทรกการจัดวางศิลปะและงานฝมือสิ่งประดิษฐในหลายแหลงทองถิ่นที่ กลมกลืนของไทยและกลิ่นอายรีสอรทแบบไทยมอญสมัยใหม สามารถเพิ่มคุณคาใหกับพื้นทาเขาภายใน ศูนยฟอกไต ทั้งนี้เพื่อตองการใหเกิดผลรวมกันในดานความงามและสอดคลองกันกับบทบาทหนาที่ และ วิธีคิดในการออกแบบของสถานที่ โดยไดหยิบยกเอาเอกลักษณของสถานที่และแนวความคิดสรางสรรค ผลงานมาเชื่อมโยงใหเกิดความสัมพันธกันอยางมีเอกภาพ โดยการนําเอาทัศนธาตุและสิ่งประดิษฐตางๆ ทางศิลปะเปนตัวแสดงออกใหเห็นถึงมุมมองที่ไดรับจากการสังเกตและใกลชิดกับธรรมชาติเพื่อกระตุนใหผู ดูเกิดจิตนาการซึ่งนําไปสูอารมณทางสุนทรีย เปนแนวทางในการนําพาใหผูดูไดรูถึงคุณคาและความงาม ของชีวิตที่อยูบนเสนทางที่สอดคลองสัมพันธกับธรรมชาติอันจะสงผลใหเกิดความสุขสงบทั้งภานในคือ จิตใจ และภายนอก เปนอัตลักษณในเชิงธุรกิจสามารถเพิ่มมูลคาทางการตลาดใหมีศักยภาพในการ แขงขันทางดานธุรกิจการบริการที่ฟอกไตแบบองครวม (Holistic treatment) แนวธรรมชาติบําบัดใน ลักษณะเดียวกัน ดวยพื้นที่ที่มอี ยูคอนขางจํากัดและเผื่อเพื่อรองรับผูปวยที่เขารับการฟอกไตจํานวนมากและรองรับ ผูปวยที่นั่งรถเข็น (Wheelchair) รวมทั้งเตียงเข็น ที่สามารถเขาทางประตูทางเขาหลักไดสะดวกโดยตรง พื้นที่บริเวณโถงตอนรับออกแบบใหดูโลงสบาย เฟอรนิเจอรใชลามิเนตสีไมยอมเสีย้ นสีออนสลับเขม ซอน แสงไฟประดับตามหลืบตูผนังและเพดานทําใหหองดูมีมิติเบาบางเย็นสบายตา มีเคาเตอรตอนรับและ ระบบการจัดทําเวชระเบียน รวมทั้งขั้นตอนการวัดความดันและชั่งน้ําหนักไดอยางรวดเร็ว จัดวางเอา โซฟาชุดกลาง บุดวยผาไหมสีเบสพื้นเรียบ สวนหองฟอกไตจะยังคงเนนบรรยากาศแบบสบายๆ จัดวาง เคาเตอรพยาบาลขุดยาวติดตั้งจอ CCTV เพื่อสามารถดูแลผูปวยไดตลอดเวลาการฟอกไต โดยชุดที่นั่ง ฟอกไตเสริมความสะดวกสบายดวยการออกแบบจัดวางโตะเลื่อนไววางของแตชุด ติดตั้งจอทีวีไวบนผนัง โดยรอบบริเวณผูป วยสามารถดูรายการบันเทิงเพื่อผอนคลายไดทุกมุมมอง ตัวจอทีวหี ากยังคงความโปรง สบายออกแบบใหดกู ลมกลืนกับผนังหองไมรูสึกแปลกแยกจากบรรยากาศภายใน
27 | A M D D i a n y l i s i s
Resort
บริเวณดานนอกศูนยฟอกไต เอเอ็มดี ไดอานาไลซีสสรีสอรท วางดีไซน แนวสถานตากอากาศ มีมุมรานอาหารและเครื่องดื่มสําหรับญาติและผูปวยที่มาใชบริการ บริเวณโดยรอบจัดเปนสวนพักผอน สไตลทร็อปปเคิล (Tropical Garden) จัดองคประกอบที่ดูแลรักษางายและเขากับบรรยากาศภายใน ใหผู มาใชบริการนั่งชมไดสบาย ออกแบบควบคูไปกับพื้นที่ใชสอยและสิ่งอํานวยความสะดวกอยางลงตัว แต สามารถจัดวางใหมีประสิทธิภาพและคุมคาแตยังคงรสนิยมความงามและแนวคิดหลักในการออกแบบ
ภาพที่
9
แสดงรูปแบบการพัฒนาแนวคิดในการวางผังศูนยฟอกไต เอเอ็มดี ไดอานาไลซีสสรีสอรท แปลนพื้นและการจัดวางเฟอรนิเจอร (Furniture Lay-out)
28 | A M D D i a n y l i s i s
ภาพที่
10
แสดงรูปแบบการพัฒนาแนวคิดในการออกแบบภายในเบื้องตน บริเวณหองพักแขกแบบมาตรฐาน (Typical guest room)
ภาพที่ 11 แสดงรูปแบบการพัฒนาแบบทางสถาปตยกรรมและบรรยากาศสภาพแวดลอมบริเวณ เคานเตอรพยาบาลดูแลควบคุมการบริการ มุมมองจากบริเวณหองฟอกไต\สวนที่ 1
Resort
29 | A M D D i a n y l i s i s
Resort
ภาพที่ 12 แสดงรูปแบบการพัฒนาการออกแบบภายในบริเวณเคานเตอรพยาบาลดูแลควบคุมการ บริการ ในสวนหนาบริเวณหองฟอกไต\สวนที่ 1
ในงานออกแบบโครงการศูนยฟอกไตเอเอ็มดี ไดอานาไลซีสสรีสอรท จังหวัดปทุมธานี นอกงาน สถาปตยกรรมภายในและมัณฑนศิลป ทางทีมผูออกแบบยังไดคํานึงถึงรายละเอียดของสวนประกอบตาง ภายในศูนยฟอกไตเพื่อความสมบูรณแบบ ผูออกแบบยังไดวางแนวคิดและออกแบบครอบคลุมไปถึงงาน ออกแบบภูมิทัศนและสวน (Landscape and Garden) งานออกแบบศิลปะและสิ่งของประกอบกาตกแตง (Art object and Presentation) งานออกแบบสัญญลักษณ (Hotel Logo ) งานออกแบบกราฟฟคตาง Graphic Design) งานออกแบบปายสัญญลักษณและปายบอกทางตางๆ (Signage) รวมไปถึงชุด เครื่องแบบพนักงานตางๆอีกดวย เพื่อความกลมกลืนผสมผสานไดอยางลงตัว ดวยผูออกแบบให ความสําคัญกับความเปนเอกภาพขององคกรซึ่งตองพิถีพถิ ันในบริบทตางๆของบุคลิกภาพและอัตลักษณ ของศูนยฟอกไต ใหยกระดับเปนศูนยฟอกไตขนาดยอมระดับสากล
30 | A M D D i a n y l i s i s
ภาพที่
13
แสดงรูป งานออกแบบสัญลักษณศูนยฟอกไตอยางเปนทางการ
(AMD Dianalysis Logo identity)
ภาพที่
ภาพที่
15
14
แสดงรูปงานออกแบบงานกราฟฟกเอกสาร (Stationary design )
แสดงรูปแบบงานออกแบบงานของที่ระลึกเพื่อสงเสริมการประชาสัมพันธ
(Premium product design)
Resort
31 | A M D D i a n y l i s i s
ภาพที่
16
Resort
แสดงแนวความคิดออกแบบชุดยูนิฟอรม แพทยและพยาบาลประจําศูนย
นอกจากนั้นยังจัดทําตัวอยางการทําสีการใชวัสดุพื้นผิวและวัสดุประกอบการตกแตง ที่ใชในการ ประดับตกแตงบริเวณสวนตางๆของศูนยฟอกไตเสริมสรางบรรยากาศและเอกลักษณของศูนยฟอกไตใหดู สดชื่น และผูปวยที่เขารับการฟอกไตเกิดจินตนาการและอารมณสุนทรียะตลอดระยะเวลาในการฟอกไต โดยการนําเสนอของประกอบการตกแตงแบบบานพักตากอากาศสไตลไทยมอญรวมสมัย รวมทั้งสื่อบันเทิง ทางทีวี การจัดสวนสวนประดับโดยรอบอาคาร 7. ขั้นตอนการจัดทําเอกสารการออกแบบกอสราง (Construction Document) ออกแบบรางและการเขียนแบบสถาปตยกรรมภายในเกี่ยวเนื่อง แบงเนื้อที่การใชสอยและการจัด วางผังเพิ่มเติมตามความเหมาะสม ออกแบบตกแตงสวนตางๆตามผังการใชเนื้อที่ ทั้งแบบแปลนการจัด วาง สวนพื้น ผนัง เพดาน รวมทั้งประตูหนาตางภายในทั้งหมด โดยในระหวางดําเนินการกอสรางงาน สถาปตยกรรมโครงสรางและฐานรากอาคารไปสักระยะหนึ่ง ทางผูออกแบบจะออกเอกสารการกอสราง เปนแนวทางการจัดเตรียมงานเพื่อรองรับการกอสรางการตกแตงภายในศูนยฟอกไต โดยการแสดงเปน แบบสถาปตยกรรมมัณฑนศิลปสําหรับงานโครงสรางและงานวิศวกรรม (Architectural information) แสดงตําแหนงงานระบบไฟฟา ระบบปรับอากาศ งานทอน้ํายาเคมีฟอกไตและสุขาภิบาล รวมทั้ง รายละเอียดงานกอสรางตกแตงและงานระบบเทคนิคตางๆที่เกี่ยวของทั้งหมด ไปพรอมกับการออกแบบ แปลนวางผังเฟอรนิเจอร ออกแบบเฟอรนิเจอรทั้งชนิดเคลื่อนที่และติดตั้งกับโครงการ รายการเฟอรนิเจอร
32 | A M D D i a n y l i s i s
Resort
สั่งซื้อสําเร็จรูป จัดทําตัวอยางการทําสีการใชวัสดุพื้นผิวและวัสดุประกอบการตกแตง รวมทั้ง รายละเอียดและขอกําหนดตางๆในการกอสราง งานตกแตงรวมถึงรายละเอียดของวัสดุและอุปกรณที่ใช ในโครงการทั้งหมดจัดเตรียมการประกวดราคาและรายละเอียดประกอบแบบการกอสรางทั้งหมด และ สามารถใหคําแนะนําในการคัดเลือกผูรับเหมาการกอสรางงานสถาปตยกรรมและมัณฑนศิลป ตลอดจน ใหคําปรึกษาในการจัดหาผูรับเหมางานระบบและการจัดซื้อวัสดุอุปกรณผลิตภัณฑทางการแพทยตางๆ ภายในศูนยฟอกไต
ภาพที่
17
แสดงภาพงานแบบการกอสรางงานสถาปตยกรรม (Architecture construction drawing) แบบแปลนชั้นลางแสดงทางเขา,โถงตอนรับ,รานอาหาร,สภาพแวดลอมโดยรอบอาคาร
ภาพที่
18
แสดงภาพงานแบบการกอสรางงานสถาปตยกรรม (Architecture construction drawing) แบบแปลนฝาเพดานและงานระบบไฟฟา
33 | A M D D i a n y l i s i s
ภาพที่
19
แสดงภาพงานแบบการกอสรางงานตกแตงภายใน (Interior design working drawing) แบบแปลนปล็กไฟ (Receptacle Plan)
ภาพที่
20
แสดงภาพงานแบบการกอสรางงานตกแตงภายใน (Interior design working drawing) แบบแปลนการเดินทองานระบบสุขาภิบ าล และทอน้ํายาฟอกไต (Sanitary & RO System)
Resort
34 | A M D D i a n y l i s i s
ภาพที่
21
Resort
แสดงภาพงานแบบการกอสรางงานตกแตงภายใน (Interior design working drawing) รูป ดานหนาแสดงแบบทางเขาและผนังปายศูนยฟอกไต
ภาพที่ 22 แสดงภาพงานแบบการกอสรางงานตกแตงภายใน (Interior design working drawing) รูป ดานแสดงแบบการติดตั้งหนาตางและตูซอนทอน้ํายาฟอกไต
35 | A M D D i a n y l i s i s
ภาพที่
23
แสดงภาพรางขยายแบบมุมมองสามมิติ (Interior design Isometric Sketch) บริเวณโถงตอนรับ วัดความดัน,ชั่งน้ําหนักและเวชระเบียน
ภาพที่
24
แสดงภาพรางขยายแบบมุมมองสามมิติ รายละเอียดเฟอรนิเจอรติดผนังตางๆ (Built-In Furniture design drawing for AMD Dianalysis Resort.)
Resort
36 | A M D D i a n y l i s i s
Resort
8. ขั้นตอนการตรวจงานและควบคุมคุภาพงานกอสราง (Site supervision) หลังจากผูออกแบบการจัดทําเอกสารและแบบการกอสรางงานสถาปตยกรรมและมัณฑนศิลปและ เรียบรอยแลวเสร็จ จึงทําการประมาณราคาคากอสรางทั้งหมดโดย พรอมทั้งประเมินราคากลางคา กอสรางทั้งงานสถาปตยกรรมภายในและมัณฑนศิลปเพื่อเปนมาตรฐานในการเปรียบเทียบราคาเสนอราคา คากอสรางงานในการประมูลงานของผูรับเหมาตางๆ จึงทําการจัดเตรียมการประกวดราคาคากอสรางงาน ตกแตงและใหคําแนะนําชี้แจงรายละเอียดของแบบแกผูเขารวมประมูลงานกอสราง ตรวจสอบ ประสานงานและดําเนินการการกอสรางงานตกแตงภายใน (Site Inspection & Installation) ตรวจสอบ การปฏิบัติงานของผูรับจางกอสรางใหเปนไปตามรูปแบบ เพื่อใหงานกอสรางดําเนินไปดวยความ เรียบรอยจนแลวเสร็จใชเวลา 3 เดือน
ภาพที่ 25 ภาพพื้นที่กอสรางทิศตะวันออกเฉียงเหนือเปนทางเขาหลักของศูนยฟอกไต เขาสูโถงตอนรับ ภายในอาคาร
ภาพที่ 26 ภาพพื้นที่กอสรางทิศตะวันออกเฉียงใตมีพื้นที่ติดกับถนนสาธารณะที่ชวงกวาง ประมาณ 6 เมตร
37 | A M D D i a n y l i s i s
ภาพที่
27
Resort
ภาพพื้นทีท่ ิศตะวันตกเฉียงใตเปนบริเวณบานพักของเจาของโครงการเอง
เมื่อไดทําการตกลงวาจางผูรับเหมาหลักทั้งงานสถาปตยกรรมโครงสราง งานเทคนิคทาง การแพทย งานระบบตางๆ งานตกแตงภายใน รวมทั้งงานประกอบการตกแตงๆและวัสดุอุปกรณ ผลิตภัณฑตางๆภายในศูนยฟอกไต ผูออกแบบจะทําการตรวจสอบการปฏิบัติงานของผูรับจางกอสรางให เปนไปตามรูปแบบ เพื่อใหงานกอสรางดําเนินไปดวยความเรียบรอย โดยติดตามผลการทํางานทั้งที่ สถานที่กอสรางเปนและโรงงานระยะ ตามความคืบหนาและสถานะการณ
ภาพที่ 28 การกอสรางงานโครงสรางอาคารระยะทิศตะวันตกเฉียงเหนือพื้นที่ ติดกับถนนสาธารณะ สลับกับพื้นที่โลงรกราง
38 | A M D D i a n y l i s i s
Resort
ซึ่งในระยะกอสรางชวงสัปดาหแรก จะเปนของงานการเตรียมพื้นและการกอสรางปรับปรุง โครงสรางสถาปตยกรรมทั้งของเดิมและสวนของใหม ทีมผูออกแบบจะไปตรวจงานที่สถานที่กอสราง โครงการสัปดาหละ 1 ครั้ง เพื่อตรวจสอบความคืบหนาของสถานะภาพหนาไซดงาน พรอมทั้งรวม ประชุมสวนงานและผูเกี่ยวของตางๆ โดยจะสรุปผลการดําเนินงานและประสานงานกับทุกหนวยงานเพื่อ จัดเตรียมการกอสราง กําหนดแผนงานและระยะเวลาการกอสราง ตอบปญหาทางดานเทคนิคดานการ ออกแบบ แกไขปญหาขอขัดแยงอันเกิดขึ้นระหวางการดําเนินการที่เกี่ยวเนื่องกับรายละเอียดของแบบ เพื่อใหแนใจวาทําถูกตองตามแนวคิดที่ไดกําหนดไว โดยสรุปผลการดําเนินงานและจัดทํารายงานแสดง ขอแกไขในงานตางๆที่อาจไมเหมาะสมและตรงกับที่ไดระบุไวในแบบ ในระยะกอสรางชวงสัปดาหตอมา ทีมผูออกแบบจะไปตรวจงานที่สถานที่กอสรางโครงการ สัปดาหละ 2 ครั้งหรือสัปดาหเวนสัปดาห เพื่อสํารวจและตรวจสอบหาขอมูล ใหเปนไปตามหลักเกณฑ ประกอบการตรวจสอบรูปแบบ โดยกํากับผูรับเหมาใหดําเนินงานตามรายละเอียดประกอบแบบกอสราง ทํารายงานความคืบหนาของงานกอสรางทุกระยะ รวมทั้งตรวจเช็คอุปกรณประกอบภายในอาคาร การ อนุมัติใหใชวัสดุอุปกรณและแบบขยายการกอสรางที่มีการเปลี่ยนแปลงจากแบบตามที่ระบุ ตรวจสอบ ระบบตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับงานตกแตงภายในอาคาร การตรวจสอบพื้นที่และอุปกรณการแพทย เพื่อ ความปลอดภัย และจัดทํารายงานความคืบหนาและปญหาโดยละเอียดตลอดระยะเวลากอสราง ทั้งนี้ในระยะนี้จะเริ่มมีงานโครงสรางที่ทับซอนเกี่ยวเนื่องกับงานสถาปตยกรรมภายในและงาน ตกแตงที่ตองคอยสรุปขอขัดแยงและผสมผสานอยางใกลชิด เพื่อใหงานตางๆมีความตอเนืองและ ่ กลมกลืนกัน อยางเชน วัสดุพื้นผิว ระยะพื้นที่โครงสรางที่จะมีงานตกแตงหรือเฟอรนิเจอรติดตายมา ติดตั้งตอไป งานทอน้ํายาเคมีฟอกไต รวมทั้งระบบไฟฟาและสุขาภิบาลซึ่งตองประสานกับงานตกแตง ภายในหรือเกี่ยวของกับงานอื่นๆ ซึ่งตองมีการจัดเตรียมหรือปรับแบบรอไวกอนเปนสิ่งที่ตองคํานึงและให ความสนใจเปนพิเศษ ในกรณีที่มีการผลิตจากโรงงานของผูรับเหมางานนั้นๆ เชน งานเฟอรนิเจอรติด ผนัง งานประติมากรรมประดับตกแตง งานสุขภัณฑสําหรับคลินิก เตียงและเกาอี้ฟอกไต อุปกรณฟอกไต ที่ตองสั่งทําเชื่อมพิเศษ เปนตน ในระยะกอสรางชวง 2 สัปดาหสุดทายกอนถึงระยะเวลาสิ้นสุดโครงและเปดดําเนินธุรกิจ ทีม ผูออกแบบหรือผูควบคุมงานของบริษัท จะเดินทางไปตรวจงานทีส่ ถานที่กอสรางโครงการเปนระยะแกไข ปญหาทางดานเทคนิคการกอสราง พรอมใหคําแนะนําในการแกไขปรับปรุงของพื้นที่นั้นๆและจัดเตรียม ความพรอมระบบตางๆกับผูเกี่ยวของทุกฝาย ในขั้นตอนนี้จะเปนระยะเวลาที่ตองเรงรัดเอาใจใสงานทุก อยาง เปนระยะที่งานทุกอยางใกลสมบูรณพรอมใหทางฝายบริหารงานของศูนยฟอกไตมาศึกษา รายละเอียดและทดสอบอุปกรณตางๆสําหรับการเปดดําเนินการ เมื่อโครงการไดดําเนินการแลวเสร็จทั้งหมด จะตองมีการกําหนดขั้นตอนสุดทายในการตรวจรับ งานจึงจะถือวาโครงการสําเร็จสมบูรณแบบ โดยผูออกแบบจะการรวมตรวจรับงานในแตละชวงตาม
39 | A M D D i a n y l i s i s
Resort
สัญญาเพื่อใหเจาของโครงการทราบถึงปริมาณงานและคุณภาพของงานของผูรับเหมาตางๆ ตรวจเช็ค ความบกพรองของงานกอสรางกอนและหลังการสงมอบตรวจสอบเพื่อใหการดําเนินการเปนไปอยาง ถูกตองตามรูปแบบ และขอกําหนดของผูออกแบบ ตรวจสอบวัสดุอุปกรณตาง ๆ ใหเปนไปตามมาตรฐาน ของผูผลิต ตรวจสอบความสัมพันธกับงานดานตาง ๆ ที่เกี่ยวของ เพื่องายตอการประเมินผลและงาน บํารุงรักษา ตรวจสอบความเรียบรอยสามารถใชงานไดตามวัตถุประสงค รวบรวมคูมือการใชงานและ บํารุงรักษาอุปกรณตางๆ เพื่อสงมอบใหเจาของโครงการ รายงานสรุปผลการตรวจสอบผลการใชงาน และบํารุงรักษา จัดทํารายงาน งานเพิ่ม ลด ของผูรับเหมากอสราง จัดทําแบบรายละเอียดตามการ กอสรางจริงใหเจาของโครงการเพื่อออกเอกสารรับรองผลของการตรวจสอบ
บทสรุปและเสนอแนะ การออกแบบสถานพยาบาลศูนยสุขภาพหรือคลินิกตางๆ ผูที่ประกอบวิชาชีพมัณฑนากรและนัก ออกแบบภายในจึงตองมีการศึกษาคนควาและมีผูเชี่ยวชาญที่มปี ระสบการณในวิชาชีพในแขนงตางๆ ตามลักษณะงานที่ไดรับ ไมวาจะเปนแพทยพยาบาลและบุคลากรเฉพาะทางที่มีความรูค วามเชี่ยวชาญ เศษพิเศษเฉพาะดาน จะตองมีการบูรณาการองคความรูจากผูเกี่ยวของหลายฝาย มีระบบการบริหาร และการจัดการงานออกแบบตกแตงภายใน มีทรัพยากรมนุษยและทีมงานที่มคี ุณภาพ มีคุณลักษณะ ความรับผิดชอบและฝมือ รวมทั้งจิตสํานึกความรับผิดชอบตอวิชาชีพ ทัง้ ทักษะและจินตนาการในการ สรางสรรคงานใหมๆ อีกทั้งยังตองมีเทคโนโลยี่ชวยในการออกแบบและดําเนินงานที่ทันสมัย ดังนั้นการออกแบบศูนยฟอกไต ตามที่ผูออกแบบไดนําเสนอนี้ จะเห็นไดวาจะมีกระบวนการ ขั้นตอนรายละเอียด รวมทั้งตองอาศัยทีมงานที่เชี่ยวชาญหลากหลายสาขาวิชาทั้งวิศกรระบบทอน้ํายาเคมี ฟอกไต แพทยพยาบาลและเจาหนาที่เทคนิคตางๆของทางศูนยฟอกไตที่มีประสบการณในการทํางานสูง และผูที่เกี่ยวของอีกมากมายที่มิไดนําเสนอไดหมด ไดมีสวนสําคัญทําไหการดําเนินงานของโครงการ ประสบความความสําเร็จและสามารถออกแบบโครงการไดอยางสมบูรณแบบในองคประกอบและโจทย ปญหาการทํางานอันจํากัด อีกทั้งยังสามารถเชื่อมโยงบริบทโดยรอบไดทั้งยังลงตัว เปนการสรางปฎิ สัมพันธดวยการสัมผัส ระหวาง ผูใชงาน กิจกรรม สถาปตยกรรมและบริบทองคประกอบตางๆที่มี ความสัมพันธกันอยางแนบแนนเปนหลักสําคัญของการสรางมิติที่ลึกซึ้งในการออกแบบทางสถาปตยกรรม และมัณฑนศิลป ที่สามารถตอบสนองทั้งประโยชนใชสอยและตอบสนองความตองการของสังคม ดาน สาธารณะสุขและสุขภาพ ทั้งยังสามารถผสมผสานวัฒนธรรมและประะเพณีทองถิน่ ไทยมอญ จังหวัด ปทุมธานีไดอีกดวย เพื่อเพิ่มความสามารถและศักยภาพในวิชาชีพมัณฑนศิลปและงานสถาปตยกรรมภายใน โดยภาพรวม และรองรับผูปวยโรคไตในอนาคต เนื้อหาในเอกสารการนําเสนอผลงานสิ่งประดิษฐ ใน หัวขอโครงการเรื่องกระบวนการออกแบบศูนยฟอกไต เอเอ็มดี ไดอานาไลซีสสรีสอรท จังหวัดปทุมธานี
40 | A M D D i a n y l i s i s
Resort
จะชวยใหนักศึกษาและผูท ี่ประกอบวิชาชีพงานออกแบบภายในและมัณฑนศิลป มึความรูความเขาใจใน กระบวนการขั้นตอนในการประกอบวิชาชีพ การประกอบธุรกิจเบื้องตน รวมทั้งระบบการบริหารและการ จัดการในรูปการดําเนินงานตางๆตั้งแตเริ่มการออกแบบจนกระทั่งดําเนินการกอสรางจนแลวเส็จอีกดวย เพื่อประโยชนการศึกษาและนักออกแบบสถาปตยกรรมภายในและมัณฑนศิลปตอไป
41 | A M D D i a n y l i s i s
Resort
บรรณานุกรม
1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11. 12. 13. 14. 15. 16. 17. 18. 19. 20.
เอกสารหลักการประกอบวิชาชีพงานสถาปตยกรรม สภาสถาปนิกแหงประเทศไทย พระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ.2522 พระราชบัญญัติควบคุมอาคาร (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2535 พระราชบัญญัติควบคุมอาคาร (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2543 พระราชบัญญัติสถานพยาบาล พ.ศ. 2541,กฎกระทรวง(พ.ศ. 2543) พระราชบัญญัติ สงเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอมแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๓๕ สถิติผูปวยโรคไตและจํานวนศูนยฟอกเลือดที่ไดจากการสํารวจขอมูลโดย อุดม ไกรฤทธิชัย เกสารวิชาการเกี่ยวกับ โรคไต ของกระทรวงสาธารณะสุข ขอมูลเกี่ยวกับโรคไต เว็บไซดนของสมาคมโรคไตแหงประเทศไทย ขอมูลเกี่ยวกับโรคไต เว็บไซดนของมูลนิธิโรคไตแหงประเทศไทย เอกสาร ฯ เผยแพรในคราวประชุมใหญทางวิ ศวกรรม วันที่ 23 มิถุนายน 2545 โดยอนุกรรมการ เฉพาะกิจ พัฒนาคุณภาพชีวิตและสังคม วิศวกรรมสถานแหงประเทศไทย 2545-2546 การบริหารงานงานกอสราง ; พนม ภัยหนาย มาตรฐานการติดตั้งระบบไฟฟา : สมาคมวิศวกรรมสถานแหงประเทศไทย มาตรฐานการปองกันอัคคีภัย : สมาคมวิศวกรรมสถานแหงประเทศไทย วิศวกรรมการดินทอและติดตั้งสุขภัณฑ โดย รศ. ดร. พิภพ สุนทรสมัย : สมาคมสงเสริมเทคโนโลยี่ (ไทย – ญี่ป ุน) Architectural Graphic Standards, 9TH Edition by Harold Sleeper Interior Graphic Standards, by : Maryrose McGowan and Kelsey Kruse Architect's Professional Practice Manual by James R. Franklin McGraw-Hill Professional Publishing Contracts and the Legal Environment for Engineers and Architects by Joseph T. Bockrath McGraw-Hill Higher Education Tropical Interiors by : Elizabeth V. Reyes Bali Modern: The Art of Tropical Living by : Gianni Francione (Author), Luca Invernizzi Tettoni Classic Thai : Design * Interiors * Architecture by : Chamsai Jotisalikorn, Phuthorn Bhumadhon, Luca Invernizzi Tettoni, Virginia Mckeen Di Crocco. Publisher : by Periplus Editions