เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆ์ในล้านนา

Page 1

เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

โครงการศูนยศึกษาพระพุทธศาสนาประเทศเพื่อนบาน สํานักวิชาการ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตเชียงใหม พ.ศ.๒๕๕๓


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

เถราภิเษก : พิธยี กยอสมณศักดิพ ์ ระสงฆในลานนา ISBN 978-974-364-940-0 จัดพิมพโดย

โครงการศูนยศึกษาพระพุทธศาสนาประเทศเพื่อนบาน สํานักวิชาการ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตเชียงใหม วัดสวนดอก ๑๓๙ ตําบลสุเทพ อําเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม ๐-๕๓๒๗-๕๑๔๙

ที่ปรึกษา พระเทพโกศล พระราชปริยัติเมธี พระครูพิพิธสุตาทร พระครูอดุลสีลกิตติ์ พระครูบาอานนท อาทิตฺตธมฺโม ศ.ดร.อุดม รุงเรืองศรี รศ.สมหมาย เปรมจิตต ผศ.ดร.วิโรจน อินทนนท นายศรีเลา เกษพรหม นางไฉไลฤดี ยุวนะศิริ นางภัทรา จันทราทิตย นายคีรินทร หินคง ผศ.เยื้อง ปนเหนงเพชร บรรณาธิการ พระนคร ปรังฤทธิ์ (ปฺาวชิโร) กองบรรณาธิการ พระศุภชัย ชยสุโภ นายอภิชาติ โพธิพฤกษ นางศิริกร ไชยสิทธิ์ นางอรศรี โยนิจ

พระราชเขมากร พระครูโฆสิตปริยัตยาภรณ พระปลัด ดร.เสนห ธมฺมวโร พระมหาสงา ธีรสํวโร พระมหาชัชวาล โชติธมฺโม ผศ.จินตนา มัธยมบุรุษ รศ.(พิเศษ)ถาวร เสารศรีจนั ทร นายปน อะทะเทพ นางรุงทิพย กลาหาญ นางสาวพรรณเพ็ญ เครือไทย นายจิรชาติ สันตะยศ นายวีระ สิริเสรีภาพ นายเกริก อัครชิโนเรศ

นายพรหมพิรยิ ะ จันทนหอม นายภัชรบท ฤทธิ์เต็ม นางสาวดวงเดือน ชัยชนะ นายนพดล ฟูแสง


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

จํานวนพิมพ ๓๐๐ เลม ปที่พิมพ ตุลาคม ๒๕๕๓ พิมพที่

แม็กซพริ้นติ้ง (มรดกลานนา) ๑๔ ถ.ศิริมังคลาจารย ซ.สายน้ําผึ้ง ต.สุเทพ อ.เมือง จ.เชียงใหม ๕๐๒๐๐ Hotline : ๐๘๖-๖๕๔๗๓๗๖ Tel. : ๐๕๓-๒๒๑๐๙๗ E-mail : info@maxx.me


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

กําหนดการสัมมนาทางวิชาการ เรื่อง “เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา” ณ หองประชุมธรรมปญญาบดี อาคาร มจร. ๑ มจร. วิทยาเขตเชียงใหม วันที่ ๑๕ เดือน กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๓

******************************************************* ๐๘.๓๐-๐๙.๐๐ น. พิธีเปดการสัมมนา โดย พระราชปริยตั เิ มธี รองเจาคณะจังหวัดเชียงใหม กลาวถวายรายงานโดย พระครูโฆสิตปริยตั ยาภรณ รองอธิการบดี มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราช วิทยาลัย วิทยาเขตเชียงใหม ๐๙.๐๐-๑๐.๐๐ น. บรรยายเรื่อง “พระพุทธศาสนาในลานนา” โดย พระมหาสงา ธีรสํวโร มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตเชียงใหม ผ.ศ. ดร. วิโรจน อินทนนท คณะมนุษยศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม ๑๐.๐๐-๑๐.๑๐ น. พักการสัมมนาและดื่มน้ําชากาแฟ ๑๐.๑๐-๑๑.๔๐ น. สัมมนาเรื่อง “เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์ พระสงฆในเชียงตุง และลาว” โดย พระครูบาอานนท ชยมงฺคโล วัดทากระดาษ เชียงใหม พระสงฆชาวเชียงตุง พระมหาชัชวาล โชติธมฺโม วัดราชมณเฑียร เชียงใหม พระสงฆชาวเชียงตุง รศ. สมหมาย เปรมจิตต มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตลานนา ผูดําเนินการสัมมนา พระมหาสงา ธีรสํวโร


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

๑๑.๔๐-๑๓.๐๐ น. พักฉันภัตตาหารเพล/รับประทานอาหาร ๑๓.๐๐-๑๔.๓๐ น. สัมมนาเรื่อง “เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์ พระสงฆในลานนา” โดย พระครูอดุลสีลกิติ์ วัดธาตุคํา อําเภอเมืองเชียงใหม อาจารยศรีเลา เกษพรหม สถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม ผูดําเนินการสัมมนา ดร.พิสิษฐ โคตรสุโพธิ์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม ๑๔.๓๐-๑๔.๔๐ น. พักการสัมมนาและดื่มน้ําชากาแฟ ๑๔.๔๐-๑๕.๔๕ น. สั ม มนาเรื่ อ ง “เถราภิ เ ษกในมิ ติ ท างสั ง คมและ วัฒนธรรมลานนา” โดย ศ.ดร. นิธิ เอียวศรีวงศ มหาวิทยาลัยเชียงใหม รศ. รัตนาพร เศรษฐกุล มหาวิทยาลัยพายัพ ผูดําเนินการสัมมนา ดร. ภักดีกุล รัตนา มหาวิทยาลัยเชียงใหม ๑๕.๔๕-๑๖.๐๐ น. แลกเปลี่ยนความรู และอภิปรายรวมกันระหวาง วิทยากรกับผูฟง ๑๖.๐๐ น. ปดการสัมมนา โดย พระปลัด ดร.เสนห ธมฺมวโร ผูอํานวยการสํานักวิชาการ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตเชียงใหม วิทยากรประจําวัน นายคีรินทร หินคง นายพรหมพิริยะ จันทนหอม นายคีรินทร หินคง วิทยากรประจําวัน


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

คําอนุโมทนา มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตเชียงใหม เปนสถาบันการศึกษาระดับอุดมศึกษาของคณะสงฆจังหวัดเชียงใหม มีภารกิจสําคัญในการสนับสนุนและสงเสริม การศึกษา คนควา วิจัย และ พัฒนาองคความรูท างดานพระพุทธศาสนา เพือ่ นําไปพัฒนาสังคมในทุกๆ ดาน โครงการศูนยศึกษาพระพุทธศาสนาประเทศเพื่อนบาน สํานัก วิชาการ ไดจดั สัมมนาทางวิชาการ เรือ่ ง “เถราภิเษก : พิธยี กยอสมณศักดิ์ พระสงฆในลานนา” เพือ่ เปนการเสริมการเรียนรูเ กีย่ วกับพระพุทธศาสนา ในลานนา ใหเปนทีเ่ ขาใจยิง่ ขึน้ ซึง่ ผูส นใจสามารถนําความรูท ไี่ ดรบั จากการ สัมมนาในครั้งนี้ ไปพัฒนาการศึกษาในเชิงวิชาการไดเปนอยางดี พระครูโฆสิตปริยัตยาภรณ รองอธิการบดี มจร.วิทยาเขตเชียงใหม


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

คําปรารภ โครงการศูนยศกึ ษาพระพุทธศาสนาประเทศเพือ่ น สํานักวิชาการ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตเชียงใหม จัดใหมกี าร สัมมนาทางวิชาการ เรื่อง “เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆ ในลานนา” ทัง้ นี้ เพือ่ เปดเวทีใหนกั วิชาการ พระนิสติ นักศึกษา และผูส นใจ ทั่วไป ไดศึกษา เรียนรู และแลกเปลี่ยนองคความรูรวมกัน ในอดีตนั้น ราชอาณาจักรลานนา นับเปนดินแดนที่พระพุทธศาสนา มีความเจริญมั่นคงมาอยางยาวนาน อีกทั้ง ยังเปนศูนยกลางการ เผยแผพระพุทธศาสนา ไปยังดินแดนตางๆ ทีอ่ ยูใ กลเคียง เชน เมืองเชียงตุง เขตรัฐฉาน ประเทศสหภาพพมา เมืองเชียงรุง แควนสิบสองพันนา สาธารณรัฐ ประชาชนจีน เมืองลานชาง สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว เปนตน การทีพ่ ระพุทธศาสนา มีความเจริญมัน่ คง ในราชอาณาจักรลานนา เปนผลสืบเนือ่ งมาจากการทีพ่ ระสงฆลา นนา เปนผูท มี่ ศี ลี าจารวัตรทีง่ ดงาม และมีบทบาทในการเผยแผพระพุทธศาสนา จนเปนที่ยอมรับนับถือของ ประชาชนโดยทั่วไป เมือ่ ครัง้ อดีตนัน้ พระสงฆรปู ใด มีศลี าจารวัตรทีง่ ดงาม ประพฤติวตั ร ปฏิบัติชอบตามหลักพระธรรมวินัยแลว ยอมเปนที่เคารพศรัทธา และได รับการยกยอง ทั้งจากฝายราชการบานเมือง และฝายศรัทธาประชาชน ทั่วไป โดยการยกยอ (แตงตั้ง) ใหดํารงตําแหนงสมณศักดิ์ในลําดับตางๆ ตามความเหมาะสม ทั้งสมณศักดิ์ที่ไดรับการยกยอจากประชาชน เชน สวาธุเจา สวาธุเจาหลวง (เจาวัดหรือเจาอาวาส) เจาธุ (ใชเรียกขานเฉพาะ พระภิกษุทเี่ ปนเชือ้ พระวงศเทานัน้ ) ครูบา เปนตน และสมณศักดิท์ ไี่ ดรบั การ ยกยอจากฝายราชการบานเมือง เชน มหาเถระ สวามี สังฆราชา ราชครู สมเด็จ และสมเด็จอัคคราชโมลี หรือ สมเด็จเสฏฐอัคคราชครู (สมเด็จ ราชครู) ซึ่งเปนลําดับสมณศักดิ์สูงสุด ของพระสงฆลานนา ในสมัยนั้น สมณศั ก ดิ์ ที่ ไ ด รั บ การยกยอนี้ บางตํ า แหน ง อาจจะยกยอได เฉพาะพระสงฆ บ างรู ป ที่ มี คุ ณ สมบั ติ พิ เ ศษ หรื อ มี ค วามเกี่ ย วข อ งกั บ ๗


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

พระมหากษัตริยเทานั้น ไมอาจยกยอพระสงฆทั่วไปได เชน ตําแหนง ราชครูหรือสมเด็จราชครู ซึ่งเปนสมณศักดิ์ที่มีไวสําหรับยกยอเฉพาะ พระสงฆทเี่ ปนเชือ้ พระวงศ หรือมีบทบาทเปนครูบาอาจารยของเชือ้ พระวงศ เปนตน ดังนั้น การยกยอสมณศักดิ์ในแตละระดับชั้นนั้น ยอมขึ้นอยูกับ คุณสมบัติสําคัญของพระสงฆรูปนั้นๆ ๓ ประการ ไดแก ๑. ชาติวุฒิ พระสงฆที่เจริญดวยชาติกําเนิดที่ดีงาม เชน เปน พระมหากษัตริย หรือเชื้อพระวงศ และเปนผูที่เกิดในตระกูล ที่มีเกียรติประวัติที่ดีงาม เปนตน ๒. คุณวุฒิ พระสงฆทเี่ จริญดวยความรู ความสามารถ และความ ดีงามทั้งทางกาย วาจา และจิตใจ เปนที่เคารพนับถือของ ประชาชนทั่วไป ๓. วัยวุฒิ ผูที่เจริญดวยวัย มีอายุพรรษามาก ถือเปนผูที่มีความ รอบรูและมีประสบการณ ในอดีต สมณศักดิ์ของพระสงฆลานนา ที่ไดรับการยกยอ จาก ฝายราชการบานเมืองนั้น กษัตริยจะเปนผูยกยอดวยพระองคเอง บุคคล ทั่วไป ไมอาจยกยอไดตามใจชอบ เมื่อทรงยกยอพระสงฆรูปใดแลว พระสงฆรูปนั้น ก็จะเขาสูพิธียกยออยางเปนทางการ ดวยการประกอบพิธี รดน้ําพุทธาภิเษก หรือ รดน้ําศักดิ์สิทธิ์ เรียกวา “เถราภิเษก” โดยถือเปน พิธีการที่ศักดิ์สิทธิ์และสําคัญยิ่ง ปจจุบนั แมวา การยกยอสมณศักดิ์ และการประกอบพิธเี ถราภิเษก ในลานนาจะถูกยกเลิกไป หลังจากที่ราชอาณาจักรลานนาถูกผนวกเขา เปนสวนหนึ่งของราชอาณาจักรสยาม จนกลายเปนดินแดนสวนหนึ่ง ทีอ่ ยูใ นเขตภาคเหนือของประเทศไทย แตคติเหลานีย้ งั ถือเปนรองรอยของ อารยธรรมที่บงบอกถึงอัตลักษณของชาวลานนาประการหนึ่ง การศึกษาและแลกเปลีย่ นความรูเ กีย่ วกับ “เถราภิเษก : พิธยี กยอ สมณศักดิพ ์ ระสงฆในลานนา” จะกอใหเกิดความรูค วามเขาใจในวิถดี งั้ เดิม และนําไปสูการพัฒนาสังคมใหเจริญดวยปญญาอยางแทจริง ขออนุ โ มทนากั บ วิ ท ยากรที่ ร ว มให ค วามรู ร ว มนํ า เสนอ ๘


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

บทความ ตลอดจนถึ ง ผู เข า ร ว มสั ม มนาทุ ก ท า น ที่ ทํ า ให ก ารสั ม มนา ในครั้งนี้สําเร็จลุลวงไปดวยดี อันจะเปนประโยชนตอการศึกษา และ สงเสริมทํานุบํารุงพระพุทธศาสนาในลานนาใหเจริญรุงเรืองสืบไป

พระปลัด ดร. เสนห ธมฺมวโร ผูอํานวยการสํานักวิชาการ มจร. วิทยาเขตเชียงใหม


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

สารบัญ เรื่อง

หนา

คํากลาวถวายรายงาน .................................................................๑๓ โดย พระครูโฆสิตปริยัตยาภรณ รองอธิการบดี มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตเชียงใหม คํากลาวเปดพิธีสัมมนาทางวิชาการ ..........................................๑๕ โดย พระราชปริยัติเมธี รองเจาคณะจังหวัดเชียงใหม กรรมการสภามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตเชียงใหม การสรุปใจความสําคัญของเนื้อหาในการสัมมนา ..................... ๑๙ เวทีสัมมนาเรื่อง “พระพุทธศาสนาในลานนา” .....................๒๐ เวทีสัมมนาเรื่อง “เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆ ในเชียงตุง และลาว” ....................................................๓๑ เวทีสัมมนาเรื่อง “เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆ ในลานนา” ................................................................. ๔๒ เวทีสัมมนาเรื่อง “เถราภิเษกในมิติทางสังคม และวัฒนธรรมลานนา” ...............................................๗๓ คํากลาวปดการสัมมนาทางวิชาการ ..........................................๙๗ โดย พระปลัด ดร. เสนห ธมฺมวโร ผูอํานวยการสํานักวิชาการ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตเชียงใหม ๑๐


บทความรวมนําเสนอ ................................................................๙๙ พระพุทธศาสนาในลานนา ..............................................๑๐๐ ผูชวยศาสตราจารย ดร.วิโรจน อินทนนท อานิสงสบวช ..................................................................๑๓๖ วิเชียร สุรินตะ และ อุไร ไชยวงค (ปริวรรต) ชัปนะ ปนเงิน และ พรรณเพ็ญ เครือไทย (ตรวจทาน) พิธีรดน้ํามุรธาภิเษก .......................................................๑๔๕ ศรีเลา เกษพรหม ประวัติความเปนมาของการมีสมณศักดิ์ และพิธีเถราภิเษกแบบลานนา................................๑๕๗ พระครูอดุลสีลกิตติ์ สมณศักดิ์พระสงฆในลานนา : อดีต - ปจจุบัน ..............๑๙๔ ผศ.จินตนา มัธยมบุรุษ “ครูบาศรีวิชัย” กับ คตินิยมแบบ “ครูบา” (ใหม) ชวงทศวรรษ ๒๕๓๐-๒๕๕๐ .....................................๒๐๗ จิรชาติ สันตะยศ “ครูบา” เนื้อนาบุญของลานนา ......................................๒๓๐ พระมหาสงา ธีรสํวโร เถราภิเษกของชนชาติลาวสองฝงโขง ............................ ๒๓๕ รองศาสตราจารยสมหมาย เปรมจิตต สรุปผลการสัมมนา .................................................................๒๔๖ พระนคร ปรังฤทธิ์ (ปฺาวชิโร)


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

พิธยี กยอสมณศักดิ์ สมเด็จเสฏฐอัคคราชา อาชญาธรรมพระเจา (ใส เขมจารี) เมืองเชียงตุง ประเทศสหภาพพมา ๔ กุมภาพันธ ๒๕๔๑ ๑๒


กลาวถวายรายงาน โดย... พระครูโฆสิตปริยัตยาภรณ รองอธิการบดี มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตเชียงใหม *******************************************

กราบเรียน

พระราชปริยัติเมธี รองเจาคณะจังหวัดเชียงใหม กรรมการสภาวิทยาเขตเชียงใหม

กระผม ในนามคณะผู บ ริ ห าร คณาจารย และเจ า หน า ที่ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตเชียงใหม มีความรูส กึ ยินดีเปนอยางยิ่ง ที่พระคุณทานไดใหความเมตตา เปนประธานเปดการ สัมมนาทางวิชาการในครั้งนี้ ๑๓


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตเชียงใหม เปนสถาบันการศึกษาระดับอุดมศึกษาของคณะสงฆจังหวัดเชียงใหม มีภารกิจสําคัญในการสนับสนุนและสงเสริมการศึกษา คนควาวิจัย และ พัฒนาองคความรูท างพระพุทธศาสนา เพือ่ นําไปพัฒนาสังคมในทุกๆ ดาน ในโอกาสนี้ โครงการศูนยศึกษาพระพุทธศาสนาประเทศเพื่อน บาน สํานักวิชาการ ไดจัดใหมีการสัมมนาทางวิชาการ เรื่อง “เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา” โดยมีวัตถุประสงคสําคัญ เพือ่ เปนการแลกเปลีย่ นความรูเ กีย่ วกับการยกยอ หรือการแตงตัง้ สมณศักดิ์ ของพระสงฆลา นนาในอดีต โดยการประกอบพิธี “เถราภิเษก” ซึง่ ถือเปน พิธีการที่ศักดิ์สิทธิ์และสําคัญของพระพุทธศาสนาในลานนา กิจกรรมการสัมมนาทางวิชาการในครัง้ นี้ ไดรบั ความรวมมือจาก วิทยากรของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตเชียงใหม มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตลานนา มหาวิทยาลัย เชี ย งใหม และมหาวิ ท ยาลั ย พายั พ โดยมี ผู เข า ร ว มรั บ ฟ ง การสั ม มนา ประกอบดวย พระนิสิต นักศึกษา นักวิชาการ นักวิจัย และตัวแทนจาก หนวยงานที่เกี่ยวของ เชน สํานักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดเชียงใหม สํานักงานวัฒนธรรมจังหวัดเชียงใหม คณะครูอาจารยจากสถาบันการศึกษา ตางๆ เปนตน ในโอกาสนี้ กระผมขออาราธนาพระคุณทาน ไดกลาวเปดการ สัมมนาทางวิชาการ เรื่อง “เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆ ในลานนา” เพื่อเปนแนวทางในการสัมมนาทางวิชาการตอไป

๑๔


กลาวเปดพิธีสัมมนาทางวิชาการ โดย... พระราชปริยัติเมธี รองเจาคณะจังหวัดเชียงใหม กรรมการสภามหาวิทยาลัย มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตเชียงใหม *******************************************

ทานรองอธิการบดี พระเถรานุเถระ พระนิสิต และขอเจริญพร ญาติโยมผูเขารวมประชุมสัมมนาเรื่อง เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์ พระสงฆในลานนา ผม/อาตมา มีความรูส กึ ยินดีและมีความตัง้ ใจจริง ทีไ่ ดมี สวนรวมในการฟน ฟูจรรโลงขนบธรรมเนียมประเพณีอนั ดีงามของเชียงใหม ๑๕


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

ของดีที่มีอยูในเชียงใหมนี้ พมา ลาว เอาไปหมดแลว เหลือแต ประวัติศาสตร ใครจะเปนอะไรก็แตงตั้งกันไป เมืองเชียงใหมทุกวันนี้ เรายกยองครูบาโดยไมไดมองความประพฤติ เรามองแครูปลักษณที่เปน รูปธรรมมากเกินไป ผมไดมีโอกาสไปธิเบต และภูฏาน เมื่อไมกี่วันมานี่เอง ผมเห็นคนถือลูกประคํา ไมใชพระถือนะ แตเปนโยมชาวบานถือ และ ไมไดเอามาคลองคอ แตถือไวในมือ ผมสังเกตขาวของทุกอยางจัดวาง อยางเรียบรอย สิ่งที่สําคัญที่สุดคือลูกประคํา ชวงที่มีเวลาวาง เขาจะนํา ลูกประคํามานับทันที ไมใชนํามาคลองคอใหสวยงาม ไมไดอยูในมือพระ หรืออยูในคอพระเทานั้น ประการสําคัญที่ผมอยากเลาใหฟงคือเรื่องครูบา เชน ครูบา ศรีวิชัยนั้น ถือเปนแมแบบ เมื่อเราเห็นวา นี่เปนลักษณะครูบา เราก็ ควรยกย อ งส ง เสริ ม กั น ถ า หากมี อ งค ก รใดองค ก รหนึ่ ง รั บ รอง หรื อ มี มหาวิทยาลัยเปนองคกรที่รับรอง ถาองคกรรับรองวา นี่คือครูบาจริง ประกาศยกยองวา พระรูปนี้ ทานเปนครูบาที่ควรเคารพกราบไหวได ถือเปนเนื้อนาบุญที่แทจริง สมัยปจจุบนั ผมรูส กึ สงสารพุทธศาสนิกชนเรือ่ งพระครูบาบางรูป ที่ไปสรางความรูสึกผิดหวังมากมาย ทําใหศรัทธาไทยตองถดถอยลง ครูบานัน้ เปนคําทีศ่ กั ดิส์ ทิ ธิ์ และพวกเราตางใชเรียกยกยองกัน เดีย๋ วนีน้ าํ มา ใชกันเกลื่อนกลาดมากมาย ยกยองกันดวยเรื่องผลประโยชน คนที่ยกยอง ก็มผี ลประโยชนรว มกัน เชน พากันไปไหวแลวรวย ไปไหวแลวถูกหวย ผูค น ชอบลือกันวาถูกหวยแลว มันก็คงถูกเหมือนกัน เพราะพากันมารอยคน แตมีคนถูกนอยคน คนไมถูกนั้นเงียบ แตคนถูกคนเดียวพูดกันเสียจน โดงดัง ครูบาเลยดังไปดวย ทุกวันนีพ้ ระครูบาจะเสียเรือ่ งผลประโยชน เชียรไป เชียรมา ไมใชครูบาจริง ที่เราเรียกกันวา “ครูบาบมแกส” ผลไมที่ไมถูกบม มันก็สุกเอง หวานหอมอรอย พอเอาไปอบแกสปรากฏวา รสชาติหายไป เลยครึ่งหนึ่ง ที่เรารูจักกันทุกวันนี้คือครูบาบมแกส ลูกศิษยเชียรเพื่อผล ประโยชน ผมขอฝากไวตรงนีว้ า ครูบาจริงตองมีองคกรใดองคกรหนึง่ รับรอง ฉะนั้น ในวันนี้ถือวาเปนการดีแลว เพราะเปนเรื่องการฟนฟู พระครูบาทีแ่ ทจริง ผมมองวา ครูบา ควรมีคณ ุ ธรรมนาศรัทธาเลือ่ มใส ไมตอ ง ๑๖


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

สอนอะไรมากมาย แตคนทั่วสารทิศก็หลั่งไหลเขามาหา ไมเลือกคนรวย หรือคนจน มีครัง้ หนึง่ ผมเสนอใหเจาคุณสมเด็จพระรัชมังคลาจารยไปเยีย่ ม ครูบา อยากใหเจาคุณสมเด็จรูว า ครูบารูปนีม้ ปี ฏิปทานาเลือ่ มใส พอไปถึง เจาคุณสมเด็จทานก็แปลกใจเหมือนกัน เพราะวาพระครูบามีพรรษานอย แตมีคุณลักษณะปฏิปทาเรียบรอยนาเลื่อมใส เรื่องนี้พระเถระผูใหญ ทานมองคนออก ครูบาไมตองแสดงอะไรมากมาย ถาเปนเชนนี้ พบกันแค วันเดียวก็เชือ่ สนิทเลย อยางนีเ้ ปนครูบาทีเ่ ราควรยกยอง มีพทุ ธศาสนิกชน ที่เปนคหบดีทั้งหลาย ที่เคยรูจักใหการสนับสนุนครูบาบมแกสรูปหนึ่ง ตอหนาครูบาบมแกส ก็พดู หวาน เรียบรอย พูดไดถงึ ใจเลย พอมีบทพิสจู น มาในภายหลัง เกิดเหตุการณเสื่อมเสียขึ้น คหบดีทั้งหลายพากันผิดหวัง กินไมได นอนไมหลับ อยางนีถ้ า พวกเราไปยกยอง ก็จะเสียหายตามไปดวย ดังนั้น เราตองนําครูบาจริงมายกยอง ซึ่งการยกยองในประเทศ ก็เปนอีกสวนหนึ่ง แตถาตางประเทศ (เชียงตุง ประเทศพมา) เขานําเอา พวกเราไปยกยองดวยก็ดเี หมือนกัน ทําใหเราไดครูบากันหลายรูป เราก็ไป รวมสถาปนาตัวทาน ผมมักจะไปรวมเฉลิมฉลองครูบากับเขาบอยๆ ตัง้ แต เปดเมืองใหมๆ สมัยกอนเปนเรื่องผิดกฎหมาย แตพอเขาเปดเมือง ผม เขาไปเลย เราไปกันประมาณ ๔-๕ รูป พกปจจัยไปรวมทําบุญมากมาย ทําบุญดวยความสุข เพราะความศรัทธาเลื่อมใส เรื่องของบุญนี่ ถาซึ้งแลว เทาไหรก็ใหได แตศาสนาพุทธในเมืองไทยเรานั้น มักดูถูกกัน มองขามกัน หรือที่เรียกวา ใกลเกลือกินดาง ใครทําเกินหนา ก็หาเรื่องใสราย หลายคน กลั ว ศาสนาอื่ น หรื อ ต า งศาสนามาทํ า ลายพุ ท ธศาสนา แต ผ มไม ก ลั ว สิ่งที่นากลัวที่สุดก็คือ การกระทําของกลุมเราเอง ที่กลัวคนอื่นเกินหนา ทําเกินหนาไมได ดีกวาก็ไมได เราตองดีกวาคนอื่น ถาเสื่อมเสียมา ก็ชวย กันเหยียบย่ําเลย ผมมีเพื่อนคนหนึ่ง เขาถูกเหยียบย่ําทั้งๆ ที่มีความผิด เพียงเล็กนอย ผูใหญก็ไมพูดให เพื่อนฝูงก็ไมชวย เรานับถือพุทธศาสนา เหมือนกัน เมือ่ มีปญ  หาก็ควรทีจ่ ะชวยกัน ไมใชมาเหยียบย่าํ กัน แตศาสนา คริสตนั้น เขาชวนเลย เขาตองการคนพวกนี้ เขายอมรับบอกใหมาเลย เขาจะดูแลเอง มอบตําแหนงใหทุกอยางเลย ดังนั้น เรื่องของพวกเราเอง เมื่อมีอะไรก็ตองชวยกัน มีอะไรก็ใหกําลังใจกัน ๑๗


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

เมื่อมองในดานสัญลักษณความเปนพระครูบา จําเปนหรือไม ที่พระครูบาจะตองหมผาสีกรัก จริงๆ แลว ไมจําเปนตองหมผาสีกรัก พระครูบาหมผาสีเหลืองก็ได เราสถาปนาพระครูบา ก็เพราะเห็นชัดวา ทานเปนพระดี มีศีลาจาริยวัตรเสมอตนเสมอปลาย ไมมีผลประโยชน ไมมีธุรกิจมาเกี่ยวของ ถามีผลประโยชน มีธุรกิจ เราไมนํามาสถาปนา เปนพระครูบาแนนอน ถึงแมจะในประเทศหรือตางประเทศก็ตาม เพราะ ความเปนครูบาไมเกี่ยวของอะไรกับสีผาจีวร ไมเกี่ยวของอะไรกับสิ่งที่ เปนรูปธรรมหรือรูปแบบ ไมจําเปนตองหอยลูกประคําที่คอ ถืออยูที่มือก็ พอแลว ลักษณะเชนนี้ มันเปนแคเครือ่ งประดับเทานัน้ ลักษณะครูบาทีเ่ รา ควรจะยกยองก็คือ ตองมีศีลาจาริยวัตรเสมอตนเสมอปลายมาโดยตลอด เปนผูพ ดู นอยแตปฏิบตั มิ าก มีคนศรัทธาเลือ่ มใส ดังนัน้ เราควรมีการแตงตัง้ คณะกรรมการใหเปนผูร บั ผิดชอบดูแลเรือ่ งการสถาปนาพระครูบาทีแ่ ทจริง ในโอกาสอันเปนมงคลนี้ ผมมีบุญมาก ที่ไดมีโอกาสมามีสวนรวมรูเห็น กับความคิดใหม จึงขอใหทานทั้งหลาย ตั้งใจพูดกัน คุยกันใหเปนเรื่อง เปนราว เปนเหตุเปนผลในวันนี้ใหจบ และผมหวังวา สิ่งที่พวกเราคิดนี้ จะเปนศักดิเ์ ปนศรี เปนหนาเปนตาของเมืองเชียงใหมของพวกเรา ขอความ เจริญรุงเรืองในพระพุทธศาสนา จงมีแกทานดวยเทอญ.

๑๘


สรุปใจความสําคัญ ของเนื้อหาในการสัมมนา *******************************************

๑๙


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

เวทีสัมมนาเรื่อง “พระพุทธศาสนาในลานนา”

วิทยากรประกอบดวย ผศ.ดร. วิโรจน อินทนนท มหาวิทยาลัยเชียงใหม พระมหาสงา ธีรสํวโร มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตเชียงใหม พระมหาสงา ธีรสํวโร ประวัติศาสตรของพระพุทธศาสนาในลานนานั้น มีความเปนมา อยางไร? และมีพัฒนาการอยางไรบาง ? และจะสงผลตอทุกคนที่ดําเนิน ชีวิตอยู และเกี่ยวพันกับพระพุทธศาสนาอยางไรบาง ? ๒๐


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

ผศ.ดร. วิโรจน อินทนนท ประวัตพิ ระพุทธศาสนาในลานนา มีความเปนมาอยางไรนัน้ อาจจะ ไมพูดถึงเรื่องนี้มากนักเนื่องจากมีในเอกสารแลว พระพุทธศาสนาตามที่มี การบันทึกเปนลายลักษณอักษรนั้น เรายอมรับกันวา กอนการเขามาของ พระพุทธศาสนาในดินแดนแถบลานนานั้น มีการนับถืออยางอื่นอยูแลว โดยเฉพาะอยางยิ่งการนับถือผี ซึ่งเปนลักษณะทั่วไปของฝูงชนทั้งหลาย อาจจะเรียกไดวา เปนศาสนาเบื้องตนที่คนนับถือกันอยู สิ่งที่นาสนใจ ของพระพุทธศาสนาที่เขามาในบานเมืองเราคือ การเขาไปผสมผสานกับ ความคิดแบบดั้งเดิม หรือความเชื่อของคนที่มีอยูแลว คนที่นี่มีการนับถือผีมากอน เมื่อพระพุทธศาสนาเขามาก็เขาไป ผสมผสานกับความเชือ่ เรือ่ งผี เมือ่ เขาไปผสมผสานกันแลว ในทีส่ ดุ ก็เขาไป มีอิทธิพลมากกวาผี ดังนั้น ตอนนี้ผีก็ถูกอัญเชิญไปอยูในหอง อัญเชิญ ไปอยูขางลาง พุทธก็เขาไปแทนที่ตรงนั้น ผมมองวา นี่เปนลักษณะเดน อยางหนึ่งของพระพุทธศาสนา ไมวาจะเขาไปอยูที่ใด กอนที่พระนางจามเทวีจะนําพระพุทธศาสนาที่เรียกกันวา พุทธ แบบเถรวาท ที่เปนแบบเมืองลพบุรี ซึ่งก็รับอิทธิพลมาจากสมัยอาณาจักร ทวาราวดี เมื่อพุทธที่เปนแบบเถรวาทที่พระนางจามเทวีนําขึ้นมาใน ดินแดนแถบนี้ ก็มีความเชื่อเดิม หรือบางครั้งเราอาจจะบอกวา นาจะมี ศาสนาที่มีอยูในดินแดนแถบนี้อยูกอนแลว ซึ่งอิทธิพลอยางหนึ่งที่เรา ยอมรับกันคือ อิทธิพลแบบมหายาน มีอยูใ นดินแดนแถบนีด้ ว ย มีหลายสิง่ ที่เปนตัวอยาง ความคิดหนึ่งที่บอกวา เรามาจากตอนใตของจีน มาจาก เมืองจีน พุทธศาสนาอยูใ นเมืองจีนประมาณ พ.ศ.๗๐๐ ซึง่ ก็เปนพุทธแบบ มหายาน เมื่อเขามาอยูในดินแดนของเรา ก็ตองนําเอาพระพุทธศาสนา มาดวย เพราะในลักษณะของคนเรา การที่เราจะเคลื่อนยายไปอยูที่ไหน เราก็จะเอาความเชื่อของเราเขาไปดวยเสมอ สิ่งที่สังเกตไดอยางชัดเจน ของบานเราตอนนี้ คือ เวลาทีเ่ รายายบานไปอยูท ไี่ หน เราก็จะเอาพระสงฆ จากบานเราไปดวย จนบางครั้งเรายายหมูบานไป เราก็เอาชื่อจากหมูบาน เดิมของเราไปตั้ง แลวพระสงฆจากหมูบานเดิมของเราก็คือ ลูกหลานของ ๒๑


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

เรานัน่ เองทีไ่ ปอยูด ว ย ดังนัน้ ลักษณะอยางนี้ บานเราเวลามีงานปอยหลวง ก็ตั้งขอสังเกตเลยวา ทําไมปอยหลวงเมืองฝางขามมาถึงสารภีไดอยางไร แลวขามจากแมแตงมาไดอยางไร มากินหัววัดที่สารภีไดอยางไร ก็เพราะ วาคนสารภีหรือคนเมืองฝางยายบานไปอยูดวยกัน คนสารภีอาจจะไปมี ครอบครัวกับคนเมืองฝาง เปนตน พระมหาสงา ธีรสํวโร ถามองในมุมของพระพุทธศาสนา อาจจะเปนเพราะพระภิกษุ สามเณรยายไปอยูที่เมืองฝางก็ได ผศ.ดร. วิโรจน อินทนนท ก็เปนไปได ๒ สวน สวนหนึ่งคือ มุมมองของชาวบาน และ มุมมองของพระสงฆ คือพระสงฆยายมาอยู ดังนั้น ในเวลาที่เรามีงาน ก็มักจะยายกันไปในลักษณะเชนนี้ เรียกวา เปนการนําหัววัดไปเติงกัน (ไปถึงกัน) ทําใหวัดและผูคนมีความสัมพันธกันมากยิ่งขึ้น ดังนั้น การที่ ไดรับอิทธิพลมาจากจีนนั้น เขาก็นําเอาของเขามาดวย มาอยูทางบานเรา การไหลมาของพระพุทธศาสนานั้น นาจะมีทั้งในสวนที่เปนมหายาน ที่มี อยูในดินแดนแถบนี้ ที่ยังหลงเหลืออยูดวย พระมหาสงา ธีรสํวโร คิ ด ถึ ง ตอนที่ ไ ปบ า นแสน เมื อ งม า เชี ย งตุ ง ในครั้ ง นั้ น ท า น สวามีพระมหาชัชวาล วัดราชมณเฑียรไปดวย ผมไดคุยกับโยมคนหนึ่ง เขาเปนชาวลัวะ หมูบานนั้นเปนหมูบานลัวะ ผมคุยกับเขาวา “ทําไมวัดนี้ จึงชื่อวาวัดบานแสน ? เปนวัดที่มาจากเมืองเชียงแสน ประเทศไทย ใชหรือไม ? ” ลุงคนหนึ่งบอกวา “ไมใช” เขาบอกวาที่นั่นเดิมเรียกวา “ดอย สามพญา” แลวสามพญานีห้ นีมาจากจีน จีนมีมณฑลหนึง่ หรือจังหวัดหนึง่ ๒๒


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

เล็กๆ ในปจจุบันชื่อ “เชียงแสน” สามพญานี้ถูกตีและอพยพมาอยูที่นั่น อีกสองพญา สรางวัดคนละวัดคือ “วัดแงด” กับ “วัดแสน” สวนพญา อีกคนหนึ่ง ไปสรางเชียงแสนอยูที่ประเทศไทย ณ ปจจุบัน คือ หิรัญนคร เงินยาง ซึ่งก็ไดสันนิษฐานมาจากคําพูดของคุณลุงนี้วา “ลวจังกราช” คือ ผูที่อพยพมาจากจีน แลวก็ไดนําเอาพระพุทธศาสนาแบบมหายานเขามา ดวยในยุคนั้น ผศ.ดร. วิโรจน อินทนนท ก็นาจะมีทั้งสวนที่เปนมหายาน ที่เขามาอยูบานเรา ที่เราบอกวา เถรวาทเขามาอยูในสมัยพระนางจามเทวี เพราะตามตํานานจามเทวี บอกวา ตอนที่พระนางขึ้นมานั้น ไดนําเอาพระสงฆมาดวย ๕๐๐ รูป มาอยูที่เมืองหริภุญชัย แลวบานเมืองที่อยูใกลเคียงก็รับเอาพระพุทธ ศาสนาจากที่ นั่ น เข า มาด ว ย จะเห็ น ว า เชี ย งใหม เ องก็ รั บ จากที่ นั่ น มา เชนเดียวกัน กอนยุคสมัยที่พญามังรายจะเขามา พระพุทธศาสนาที่เขามา ในตอนหลัง ตอนนั้นเรายังไมเรียกกันวา อาณาจักรลานนา ชวงแรกที่บอกวา ในสมัยพระนางจามเทวีนั้นเปนเถรวาท แตเรา ก็บอกไมไดวาเปนเถรวาทแบบไหน เพราะในขณะนั้นยังไมมีแบบนิกาย ลังกาวงศเลย เชื่อวานาจะเปนเถรวาทที่พระเจาอโศกและชาวมคธนับถือ กันอยู พุทธศาสนาแบบเถรวาทที่ถูกสงออกนอกประเทศขณะนั้น ถูกสง ออกในสมัยพระเจาอโศก และบังเอิญในยุคสมัยของพระเจาอโศกนั้น ก็มี แควิภัชชวาท คือ เหลือแตกลุมพระโมคคัลลีบุตรติสสะเถระกลุมเดียว กลุมอื่นไดถูกขับออกไปหมดแลว หลังจากสมัยพระนางจามเทวีลงมา ปรากฏหลักฐานอยางหนึง่ วา เรารับพระพุทธศาสนามาจากสุโขทัยซึง่ เปนแบบลังกาวงศ เรียกวา เปนยุค ที่สองที่เขามายังเชียงใหม แลวกอนหนานั้นพญามังรายก็ไดนําพระพุทธ ศาสนามาจากพุกาม ในตํานานก็บอกไวเชนเดียวกัน สวนในดานพระพุทธ ศาสนาที่เราพูดกันโดยสวนมาก วาพระสุมนเถระเอาขึ้นมาในสมัยของ พระยาลิไท ตรงกับสมัยของพญากือนา จนเปนทีม่ าของวัดสวนดอก ตอนที่ ๒๓


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

นําขึ้นมาแลวใหไปอยูที่วัดพระยืน จังหวัดลําพูนกอน ประมาณ ๒ ป อีกนัยหนึ่งคือ ตองการเตรียมสถานที่ตรงนี้ใหเปนที่อยูของพระสุมนเถระ พอพระสุมนเถระมาอยูแ ลว ก็ไดสถาปนาทานขึน้ เปนพระสังฆราช ผมคิดวา เปนเถรวาทในกลุมของลังกาวงศที่มาจากทางสุโขทัย แลวพญากือนา ทรงนับถือในกลุมของพระสุมนเถระนี้ พระมหาสงา ธีรสํวโร เคยคิดเอง แตไมรูวาจะถูกหรือไม วากอนที่พญากือนาจะไป ขอพระสงฆมาจากสุโขทัยนั้น ไดมีพระพุทธศาสนาที่เจริญอยูแลว เปน นิกายของลําพูน คือหริภุญชัยเจริญรุงเรืองมาโดยตลอด ในดินแดนแถบนี้ ขอสันนิษฐานที่คิดไวก็คือ ทําไมตองนํามาพักไวที่ลําพูนถึง ๒ ป ในเมื่อ เมืองของพระองคอยูที่เชียงใหม อาจจะเปนเพราะวาตองนําพระมหาสุมณะเถระไปไวที่ลําพูน เพราะลําพูนคือฐานที่มั่นของพระพุทธศาสนา แบบหริภุญชัย สวนใหญพระสังฆราชจะมาจากลําพูน ผูอาวุโสมาจาก ลําพูนทัง้ หมด ดังนัน้ จึงตองนําพระสุมนเถระไปไวทนี่ นั่ กอน และพระพุทธศาสนาก็จะไปเชือ่ มกับการเมืองเล็กๆ และขาวทีแ่ พรออกไป ไมใชขา วจาก ชาวบาน พระสงฆในนิกายเดิมไมบริสทุ ธิ์ ซึง่ เปนเรือ่ งใหญ ถาอยากบริสทุ ธิ์ ตองบวชในนิกายใหม ดังนั้น ๒ ป ของพระสุมนเถระนั้น เกิดการสึก พระภิกษุในลําพูน แลวบวชใหมในนิกายลังกาวงศแบบพระสุมนเถระ หลังจากทํางานที่นั่น ๒ ปแลว เขามาอยูเชียงใหม ปรากฏวามาไมได เพราะพระสงฆเชียงใหมเปนพระสงฆจากหริภุญชัยเกา ดังนั้น จึงตองยก พระราชอุ ท ยานให ส ร า งวั ด และสถาปนาให ท า นเป น พระสั ง ฆราช ใครอยากจะมาอยูก บั ทาน ก็ตอ งบวชใหม สวนทีอ่ ยูใ นเมืองเกา ก็วา กันไป แบบนิกายเกา ผศ.ดร. วิโรจน อินทนนท นัน่ ก็เปนสวนหนึง่ แตผมมองวา การทีน่ าํ เอาพระสุมนเถระมาทีน่ ี่ ๒๔


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

ซึ่ ง เป น แบบลั ง กา ในแง ที่ ว า สุ โขทั ย กั บ ล า นนานั้ น มี ก ารแข ง ขั น กั น โดยเฉพาะอยางยิง่ ในดานการนับถือศาสนา การอุปถัมภบาํ รุงพุทธศาสนา จะเห็นวากอนหนาทีพ่ ญากือนาจะไปเอาพระสงฆมาจากสุโขทัยนัน้ ไดเคย สงไปขอกับพระสวามีอุทุมพรที่เมาะตะมะมาแลว แตพระสวามีอุทุมพร ไม ม า ก็ น า สนใจว า พระสวามี อุ ทุ ม พร ตอนที่ พ ระยาลิ ไ ทนิ ม นต ไ ปที่ สุ โขทั ย นั้ น พระสวามี อุ ทุ ม พรไปทํ า ให พ ญากื อ นาอยากได แ บบลั ง กา ซึง่ ขณะนัน้ สุโขทัยนับถือแบบลังกา จึงอยากจะไดแบบลังกาเขามาในลานนา ดังนัน้ เมือ่ มาจากตนตอไมได จึงนํามาจากสุโขทัย ทําใหเรามี ๒ นิกาย คือ แบบพื้นเมือง (นิกายหริภุญชัย) ดั้งเดิม และนิกายแบบลังกาวงศ การเคารพนับถือศาสนาของพระมหากษัตริยนั้น จะเห็นไดวา มีการสลับสับเปลี่ยนกันไป ความเจริญรุงเรืองของพระพุทธศาสนาขึ้นอยู กั บ การนั บ ถื อ ของพระมหากษั ต ริ ย ด ว ย ถ า พระมหากษั ต ริ ย นั บ ถื อ กลุมใดกลุมนั้นก็จะเจริญรุงเรือง ดังนั้น จึงมีขอสังเกตตอมาวา ในสมัย พญาสามฝงแกนที่บอกวาไปนับถือกลุมเวทมนตไสยศาสตรทั้งหลายนั้น พญาสามฝง แกนก็กลับไปนับถือพระพุทธศาสนาแบบดัง้ เดิม ทําใหพระสงฆ อีกกลุมหนึ่งที่อยูที่เชียงใหมบอกวา พระศาสนาในบานเราไมไหวแลว ก็พากันไปเรียนจากลังกามาอีก เมือ่ กลับมาก็ไปอยูท วี่ ดั ปาแดง ตอนนีเ้ ราก็ บอกวาศาสนาในบานเรามี ๓ กลุม คือ นิกายเดิม ลังกาเกา และลังกาใหม ตอมาก็ไดเรียกลังกาเกากับลังกาใหมวา กลุมสวนดอก และกลุมปาแดง หลังจากนั้น ก็ทําใหเกิดความลําบากใจแกพญาติโลกราช เพราะศาสนา แบงออกเปน ๓ กลุม แลว พระเจาแผนดินจะอยูก ลุม ใด จึงกลายเปนปญหา หากจะไปเขากับกลุมสวนดอกอยางเดียว กลุมปาแดงก็จะมองอีกแงหนึ่ง แตหากจะไปนับถือกลุมปาแดงอยางเดียว ก็จะทําใหกลุมสวนดอกกับ กลุมพื้นเมืองมองอีกแงหนึ่งวาเลือกขางหรือไม จึงเปนความหนักใจของ พญาติโลกราช ดังนั้น พญาติโลกราชจึงไดขอใหคณะสงฆมาชวยกัน อาจจะเปนการสังคายนาหรือไมก็ได เปนการใหพระสงฆทั้ง ๓ กลุม มาคุยกัน เพือ่ หาทางออกใหกบั คณะสงฆ และนัน่ ก็เปนทีม่ าของสังคายนา ครั้งที่ ๘ ที่เขียนไวในเอกสารวามีความเปนไปไดมากนอยขนาดไหน สิง่ ทีต่ ามมาคือ หลังจากนัน้ แลว คณะสงฆทเี่ ราบอกวา ไมวา จะเปนกลุม ใด ๒๕


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

ก็แลวแตมีความปรองดองกันมากขึ้น ทําใหพญาติโลกราชปกครองบาน เมืองไดงายขึ้น แสดงใหเห็นวาพระพุทธศาสนาที่เขามานั้นมีความผูกพัน กับพระมหากษัตริยเปนอยางมาก การปรองดองนั้นตองใหรัฐเขามาเปน ผูประสาน พระมหากษัตริยเปนผูประสานระหวางการปรองดองของ คณะสงฆ ทําใหสมัยตอมางานทางดานพระศาสนาของเราเกิดขึ้นจาก ความสงบของบานเมือง ตามที่คณะสงฆมีความปรองดองกันมากขึ้น ทําใหมีผลงานทางดานพระศาสนามากขึ้น หรือที่เรียกวา “ยุครุงเรืองทาง วรรณกรรมพระพุทธศาสนา” แมกระทั่งหลักฐานที่นํามาอางในปจจุบันนี้ ก็เกิดขึ้นในยุคนี้เชนกัน คือยุคสมัยของพระเมืองแกว พระมหาสงา ธีรสํวโร เปนไปไดหรือไมวา คณะสงฆมคี วามแตกแยกกันดานความคิดเห็น มาโดยตลอด ตั้ ง แต เริ่ ม มี ก ารนํ า พระสงฆ ต า งนิ ก ายเข า มา ผมคิ ด ว า จุ ด พลาดอย า งหนึ่ ง ของผู ป กครองที่ นํ า เอาพระสงฆ ต า งนิ ก ายเข า มา เริ่มตนที่วาพระสงฆนั้นทําไมถูก วัดนี้ทําไมถูก ตองไปนําเอาวัดนั้นมา ซึ่งนาจะเปนความผิดพลาด พอมองเห็นวาพระสงฆของตนเองไมคอย ที่จะนํามาซึ่งความเลื่อมใส ไปยกยองพระสงฆอีกเมืองหนึ่ง จึงไดนิมนต ทานเขามาทําใหเกิดความแตกแยก พอมาถึงในสมัยพระนางจามเทวีก็ได นําพระสงฆมาอีก ตอมา ในสมัยพญากือนาก็นําเอาพระสงฆจากสุโขทัย เข า มาอี ก พอมาถึ ง สมั ย พญาสามฝ ง แกนกลายเป น นั บ ถื อ พระสงฆ นิ ก ายเดิ ม ถ า มองให ดี แ ล ว พญาสามฝ ง แกนไม ยุ ง กั บ พระสงฆ เ ลย แมกระทัง่ พระสงฆเองจะเขาหาพญาสามฝง แกนเพือ่ ทีจ่ ะบอกวาแบบนีถ้ กู พระองคก็บอกวาพระคุณเจาไมตองเสนอ กลับใหทุนการศึกษาไปเรียนที่ ลังกา แลวคอยกลับมาบอกทีหลัง พญาสามฝงแกนจึงสงไปเรียนแทนที่ จะมานั่งโตเถียงกัน เมื่อกลับมาปรากฏวากลับมาในยุคพญาติโลกราช ในขณะทีบ่ า นเมืองกําลังมีศกึ สูร บกัน พระสงฆกโ็ ตเถียงกันวาใครถูกใครผิด ในที่สุดแลวพระองคก็นําพระสงฆทั้ง ๒ นิกายมาทําสังคายนากัน คือ มาปรับความคิดเห็นกันวา พระไตรปฎกจากนิกายเกานั้นเปนอยางไร ๒๖


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

แลวที่นํามาจากลังกาใหมนั้นเปนอยางไร กางตําราดูกันวาของใครถูก ที่สุด ดังนั้น การสังคายนานาจะเปนการแกปญหาที่ทําใหเหตุการณทาง พระพุทธศาสนาที่พระสงฆกําลังจะแตกแยกกัน กลับมาคืนดีกัน มายึดถือ ตําราเลมเดียวกัน ผศ.ดร. วิโรจน อินทนนท การนําเอานิกายใหมๆ เขามานั้น มีเหตุอยูอยางหนึ่งคือ เวลา ที่เราอยูดวยกันนานๆ เรามักจะพบวามีขอบกพรองเยอะแยะมากมาย เพียงแคเราไดยินขาวเทานั้นวา กลุมที่นั่นดี กลุมที่นี้ดี โดยที่ยังไมเห็นเลย ก็นํามาแลว ดังนั้น ปจจุบันจึงเกิดเรื่องราวเชนนี้ขึ้นมากมาย และเมื่อนํา เขามาแลวก็ทําใหพระสงฆกลุมใหมมองวาพระสงฆกลุมเกามีขอบกพรอง อะไรบาง ในทํานองเดียวกันก็ทําใหพระศาสนาตื่นตัว มีการทําใหดีขึ้น แตในอีกจุดหนึ่งก็สรางความแตกแยกใหเกิดขึ้นไดเชนเดียวกัน ดังนั้น กวาจะสรางความปรองดองใหเกิดขึน้ ไดกต็ อ งใชเวลานาน จะเห็นวา ตอมา พระศาสนาในบานเมืองก็อยูปกติสุขกันเรื่อยมา แมแตในชวงที่ตกอยู ภายใตอิทธิพลทางการเมืองของพมา พระศาสนาในลานนาก็ยังคงอยู กันได แลวพระสงฆลานนนากับพระสงฆพมาก็อยูดวยกันไดดวยดี ต อ มา ได เ กิ ด ความขั ด แย ง ขึ้ น อี ก ในสมั ย ครู บ าโสภา ในสมั ย รัตนโกสินทร ชวงรัชกาลที่ ๕ จากการทีส่ มเด็จพระมหาสมณเจากรมพระยา วชิรญาณวโรรส ไดสง พระนพีสพี ศิ าลคุณ (พระมหาคําปง) ขึน้ มาทีเ่ ชียงใหม ในขณะนั้น เปนการขึ้นมาของคณะสงฆแบบธรรมยุตินิกายซึ่งมีขอปฏิบัติ ที่แตกตางกันอยู จึงทําใหการขึ้นมาในขณะนั้นเกิดความแตกแยกกันขึ้น ตามประวัติ จึงตองนิมนตครูบาวัดฝายหินไปที่กรุงเทพฯ เพราะเกิดการ ไมยอมรับในบางสิ่งบางอยาง ที่เรียกวา พรบ.สงฆ รศ.๑๒๑ ซึ่งไดตราขึ้น ในสมัยรัชกาลที่ ๕ ก็มขี อ ขัดแยงบางอยางของคณะสงฆ เมือ่ ครูบาวัดฝายหิน ไปที่กรุงเทพฯ เพื่อรับทราบนโยบายการศึกษา การปกครองสงฆ นัยหนึ่ง ทีไ่ ดคอื การทีผ่ นู อ ย คือ พระนพีสพี ศิ าลคุณมาสอนผูใ หญ โดยการอางกฎ ระเบียบตางๆ เขามา ทําใหคณะสงฆลา นนารับไมไดเชนเดียวกัน ถึงแมวา ๒๗


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

สิ่งที่อางนั้นจะเปนกฎระเบียบก็ตาม ดังนั้น เมื่อนิมนตครูบาวัดฝายหิน ไปที่กรุงเทพฯ แลวไดพูดคุยกันตางๆ นานา ปรากฏวาครูบาวัดฝายหิน ก็ยอมรับ ผมคิดวาการที่เรารับนโยบายจากทางกรุงเทพฯ นั้น หลังจากที่ ครูบาวัดฝายหินไดกลับมาแลวนัน้ ครูบาวัดฝายหินก็ไดปรับปรุงอะไรตางๆ มากมายที่เปนไปตามนโยบายของทางกรุงเทพฯ เชนกัน พระมหาสงา ธีรสํวโร ในยุคปจจุบัน จะเห็นวาพระพุทธศาสนาของเรานั้น ไดผานรอน ผานฝน ผานหนาวมามากพอสมควร ความรุมรอนนั้นเปนความรุมรอน ทั้งในวงการพระสงฆ และความรุมรอนในวงการของการเมือง ที่พยายาม จะเบียดกัน การเมืองก็พยายามจะใชพระพุทธศาสนาเปนตัวเชื่อมให ตัวเองมีฐานเสียง โดยเฉพาะอยางยิ่งในเรื่องของมวลชน ผศ.ดร. วิโรจน อินทนนท การทีช่ าวบานไปนับถือพระสงฆแตละกลุม นัน้ ทําใหการปกครอง บานเมืองยากขึ้น พระเจาแผนดินจะไปเขากับกลุมใดก็ยาก ดังนั้น จึงตอง สรางความปรองดองใหเกิดขึ้น พระมหาสงา ธีรสํวโร การปรองดองคือ การใชทั้งพระศาสนาและการเมืองควบคูกัน อีกมิติหนึ่ง หากเราจะมองวาการพระศาสนาของบานเรานี้เจริญรุงเรือง โดยเฉพาะอยางยิ่งในลานนานั้น ผานไปกี่ยุคกี่สมัย มีอีกจุดหนึ่งคือ การมองเรือ่ งของศิลปะ ถามองงานศิลปะวาพระพุทธศาสนาเขามาสูท อ งถิน่ กี่กาลสมัย เชน ในยุคของทวาราวดี พอรุงเรืองถึงที่สุดแลว จะเห็นวา สัญลักษณอยางหนึ่งที่จะถูกสรางขึ้นมาคือ งานศิลป ตอมาก็เปนศิลปะ แบบศรี วิ ชั ย และยุ ค ที่ รุ ง เรื อ งอี ก ยุ ค คื อ ยุ ค ลพบุ รี มี เ อกลั ก ษณ ที่ ผ า น ๒๘


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

ออกมาจากการสรางงานศิลป ตอมาก็เปนเชียงแสน สุโขทัย อูท อง อยุธยา รัตนโกสินทร นอกนั้นเปนยุคเปลี่ยนผานที่ไมถึงที่สุด ถายุคใดสมัยใด พระพุทธศาสนาเจริญรุงเรืองจนถึงที่สุดแลว จะมีการสรางงานศิลปะขึ้น ถาถามวาพระพุทธศาสนาในลานนานั้น มีกี่ยุค ก็ตองดูที่งานศิลปะ ผศ.ดร. วิโรจน อินทนนท การมองพระพุ ท ธศาสนานั้ น ไม ไ ด ม องแค ที่ ส ถาบั น ศาสนา อยางเดียว เพราะพระพุทธศาสนาก็มคี วามสัมพันธกบั สถาบันการปกครอง การมองวา ยุคใดที่มีการเจริญ ยุคใดที่เสื่อมนั้น ตองมองในองคอุปถัมภ ดวย โดยเฉพาะการนับถือขององคพระมหากษัตริย พระมหากษัตริยเอง ถึงแมจะมีอํานาจ มีพระราชอํานาจมาก แตพระองคก็ตองอาศัยอาณา ประชาราษฎร ดังนั้น อาณาประชาราษฎรนับถือศาสนาแบบใด พระองค ก็ไมขดั ใจ ไมไดบงั คับ ใครจะนับถืออะไรก็นบั ถือไป สุดทายใครอยากเจริญ รุงเรืองในหนาที่การงาน ก็ตองเปนไปตามพระมหากษัตริยกําหนด พระมหาสงา ธีรสํวโร ถ า จะถามว า พระสงฆ ล า นนาในยุ ค ก อ นทํ า ผิ ด หรื อ ไม ที่ ไ ป ยุ ง กั บ การเมื อ ง หรื อ ในยุ ค ในกาลต อ ๆ มาที่ ไ ปเกี่ ย วข อ งกั บ สถาบั น พระมหากษัตริย หรือกาวลวงการบริหารงานของพระสงฆ ทั้งที่ไมควร จะเป น ถ า พู ด ถึ ง ในพระไตรป ฏ กแล ว พระพุ ท ธเจ า ทรงตรั ส กั บ ภิ ก ษุ ทัง้ หลายวา การปกครองของพระศาสนานีเ้ ราอนุวตั รตามพระราชา แสดงวา พระพุทธองคก็เปนนักบริหาร และพระองคเคยศึกษาเลาเรียนเกี่ยวกับ เรื่องการบริหารบานเมืองมา พรอมที่จะขึ้นเปนกษัตริย การที่ในสมัย ของพระพุทธเจาไมเกิดเรื่องราวขัดแยงระหวางวงการของพระศาสนา กับการเมืองเลย ก็เพราะพระองคยดึ ถือแนวทางนี้ คือ ศาสนาตองอนุวตั ร ตามพระราชา คือสถาบันทางการปกครอง สถาบันทางการเมือง จะเห็น ไดวาพระพุทธเจาไมเคยนําพระสงฆไปประทวง ไมเคยใหพระสงฆไป ๒๙


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

ขั ด แย ง หรื อ เป น เครื่ อ งต อ รองกั บ พระเจ า แผ น ดิ น หรื อ การเมื อ งการ ปกครองเลย จึงทําใหพระศาสนานั้นดําเนินไปดวยดีมาโดยตลอด ดังสมัย พญาติโลกราช ซึ่งเปนยุคเริ่มตนของยุครุงเรืองที่ใชการศึกษาพระไตรปฎก เปนตัวเชือ่ มใหพระสงฆไดศกึ ษาตําราพระไตรปฎกชุดเดียวกัน และทีบ่ อก กันวาสวดถูกหรือไมถูกนั้น ไมใชเนื้อหา แตเปนสําเนียง ซึ่งปจจุบันเราจะ เห็นหลายสถานีวิทยุของพระพุทธศาสนาหลายแหง ไดนําการสวดแบบ จีนมาสวด ชาวบานก็บอกวาสนุกดีมีเสียงตีกลองตีฉิ่งดวย ตางคนตาง วัฒนธรรม แตเรายอมรับกันได ดังนัน้ ความแตกตางทางนิกาย และศาสนา จึงขึ้นอยูกับการยอมรับซึ่งกันและกันมากกวาความรูสึกที่ขัดแยงกัน

พระนคร ปรังฤทธิ์ เจาหนาที่โครงการศูนยศึกษาพระพุทธศาสนาประเทศเพื่อนบาน แถลงขาวการจัดสัมมนาทางวิชาการเรือ่ ง “เถราภิเษก : พิธยี กยอสมณศักดิพ์ ระสงฆในลานนา” ณ ศูนยราชการจังหวัดเชียงใหม วันที่ ๖ กรกฏาคม พ.ศ. ๒๕๕๓

๓๐


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

เวทีสัมมนาเรื่อง “เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆ ในเชียงตุง และลาว”

วิทยากรประกอบดวย พระครูบาอานนท ชยมงฺคโล วัดทากระดาษ เชียงใหม พระสงฆชาวเชียงตุง พระมหาชัชวาล โชติธมฺโม วัดราชมณเฑียร เชียงใหม พระสงฆชาวเชียงตุง รศ. สมหมาย เปรมจิตต มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตลานนา พระมหาสงา ธีรสํวโร ผูดําเนินการสัมมนา มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตเชียงใหม ๓๑


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

พระสวามี มหาชัชวาล โชติธมฺโม ตําแหนงหรือสมณศักดิ์พระสงฆในภาคเหนือ ในปจจุบันเราจะ ไมคนุ เคยกันสักเทาไหร ดังนัน้ การออกเสียง การพูดใหถกู ตองนัน้ ก็จาํ เปน ที่จะตองพูดชัดเจนและถูกตอง บางครั้งอาจจะมีผิดเพี้ยนไป อยางเชน คําวา สวามี พูดสั้นๆ วา สามี เปนตน สํ า หรั บ เชี ย งตุ ง นั้ น มี ตํ า แหน ง ที่ ย กยอขึ้ น เป น สมณศั ก ดิ์ อ ยู เหมือนกัน คําวา “การยกยอ” “เถราภิเษก” “สมณศักดิ์” ก็เปนคําๆ หนึ่ง ที่มีความหมาย โดยรวมแลวหมายถึง การยกยองพระสังฆเถระ หรือวา ผูมีคุณูปการตอพระพุทธศาสนา ใหมีฐานันตระ (ฐานันดร) ขึ้นเปนขั้นๆ การยกยอนั้น จะใชคําวา การยกยอง หรือยกฐานะ เชน การยกฐานะ จากเด็กบรรพชาเปนสามเณรเชนนี้ ก็เรียกไดวาเปนการยกยอเชนกัน การอุปสมบทจากสามเณรขึ้นเปนพระภิกษุ เชนนี้ก็เรียกวาเปนการยกยอ หรือเปนสังฆาภิเษกเชนเดียวกัน สวนสมณศักดิ์ หรือฐานันตระทีส่ งู ขึน้ ไปนัน้ ก็มเี ปนลําดับตําแหนง ซึ่งมีมาตั้งแตโบราณเหมือนกับเราไดศึกษาพระพุทธศาสนาวา อิทธิพล เหลานี้สวนมากแลวจะมาจากประเทศศรีลังกาเพราะวา พระพุทธศาสนา ในลานนา เปนที่ประจักษแลววามาจากประเทศศรีลังกา หรือที่เรียกวา “สีหลปกขะ” คือไดสืบทอดมาตั้งแตสมัยพญากือนา จนกระทั่งปจจุบันนี้ เราก็ไดรับเอาสมณศักดิ์เหลานั้นมาเปนลําดับ แลวนํามาปรับเปลี่ยน เพื่อใหเขากับบานเมืองของเรา โดยเฉพาะเชี ย งตุ ง นั้ น มี ห ลั ก ฐานปรากฏชั ด ว า ในตํ า นาน มูลศาสนา ไดกลาวไวตอนหนึ่งวา ในสมัยพระมหาญาณคัมภีรไดเขาไป เผยแผพระพุทธศาสนาในเมืองเชียงตุง เมือ่ จุลศักราช ๘๑๑ หากนับปจนถึง ปจจุบันนี้ ก็ประมาณ ๕๘๒ ป ในขณะนั้น พระเจาแผนดินสุธรรมจุฬามณี ไดยกยองพระมหาญาณคัมภีร เรียกวา ยกยอสังฆาภิเษกใหเปนสมเด็จ สั ง ฆราชา ว า ที่ พ ระมหาญาณคั ม ภี ร สมเด็ จ อั ค คราชคุ รุ ว รโมลี ทั้ ง นี้ ยังไดมีการยกยอพระเถระอีกหลายรูปใหเปนพระสวามี เปนพระเถระ เปนสังฆนายกะ ใหปกครองกุฏินั้นๆ หรือวัดนั้นๆ ซึ่งเหลานี้ก็มีปรากฏ ๓๒


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

อยูในตํานาน หลังจากนั้น เมืองเชียงตุงก็ไดมีการสืบทอดคติดังกลาว มาจนถึงปจจุบันนี้ การยกยอของเมืองเชียงตุงในอดีตนัน้ มีพระเจาแผนดินหรือเจาฟา เปนผูทําหนาที่ในการยกยอใหพระสังฆเถระขึ้นดํารงฐานันดรเปนสมเด็จ หรือเปนพระเถระ หรือเปนพระสวามี หลังจากนั้น เมื่อเจาฟาสิ้นสุดลง ก็เปนหนาที่ของโคปกะหรือผูปกครองเมือง หรือคณะสงฆ และชาวบาน เปนผูรับหนาที่ยกยอพระเถระสืบมาจนถึงปจจุบัน ปจจุบัน เมืองเชียงตุงมีตําแหนงสมณศักดิ์พระสงฆที่ประกอบพิธี ยกยอ ไดแก ๑. มหา ปจจุบนั ตําแหนงนีไ้ ดสญ ู หายไปแลว คงเหลือแตตาํ แหนง พระสวาทิ ๒. พระสวามี ๓. พระครูบา ๔. สมเด็จอาชญาธรรมพระเจา ในเชี ย งตุ ง นั้ น การยกยอสมณศั ก ดิ์ พ ระสงฆ จ ะยกยอผู ที่ มี คุณูปการตอคณะสงฆ อยางเชน ตัวอาตมานั้นไดรับการยกยอ แตไมได ยกยอ เพราะเปนพระสงฆตางเมือง แตยกยอในฐานะที่เปนลูกหลาน ของคนเชียงตุง มีเชื้อสายเชียงตุง และไดมีโอกาสชวยเหลือกิจการของ คณะสงฆเมืองเชียงตุง ซึ่งคณะสงฆเมืองเชียงตุงก็เห็นวามีคุณสมบัติ และมี พ รรษาที่ ส มควรได รั บ การยกยอ ศรั ท ธาทั้ ง หลายจึ ง ยกยอเป น พระสวามีจนถึงปจจุบัน การยกยอสมณศักดิใ์ นเมืองเชียงตุงนัน้ ไมใชวา จะยกยอพระสงฆ รูปใดก็ได พระสงฆทจี่ ะไดรบั การยกยอนัน้ เขาจะมีระเบียบ หลักฐาน และ กฎเกณฑอยู รวมทัง้ มีการประกอบพิธกี ารขัน้ ตอนตางๆ ในการยกยอดวย หากกลับมาศึกษาการยกยอสมณศักดิ์สงฆ ในเมืองเชียงใหม จะเห็นวา ทั้งเมืองเชียงตุงและเมืองเชียงใหม มีหลายๆ อยาง ที่คลายคลึงกัน ในเอกสารที่ ป รากฏเกี่ ย วกั บ อายุ พ รรษาที่ จ ะได รั บ การยกยอ เช น ๑๐ พรรษา จะไดรับการยกยอเปนสวาทิ, ๒๕ พรรษา จะไดรับการยกยอ ๓๓


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

เปนสวามี, ๔๐ พรรษา จะไดรับการยกยอเปนครูบา แตไมใชวาทุกทาน ที่มีอายุพรรษาครบถวนแลวจะไดรับการยกยอหมด แตวาเขายังจะมี เกณฑการพิจารณาตามกฎระเบียบ มีขั้นตอนการพิจารณาอีกมากมาย พระครูบาอานนท ชยมงฺคโล นับตัง้ แตอดีตจนมาถึงปจจุบนั เมืองเชียงตุงมีสมเด็จอาชญาธรรม รวมทั้งสิ้น ๑๔ รูป ประกอบดวย คือ ๑. สมเด็จอาชญาธรรม เมืองเชียงตุง วัดราชฐานหลวงเชียงยืน ๒. สมเด็จอาชญาธรรม เมืองเหนือ วัดราชฐานหลวงหัวขวง ๓. สมเด็จอาชญาธรรม เมืองเชียงตุง วัดเชียงกา ๔. สมเด็จอาชญาธรรม เชียงทุง เมืองมา วัดราชฐานหลวงเชียงยืน ๕. สมเด็จอาชญาธรรม เชียงลาน เมืองเชียงตุง วัดอินทบุปผาราม ๖. สมเด็จอาชญาธรรม เมืองกา วัดราชฐานหลวงหัวขวง ๗. สมเด็จอาชญาธรรม เมืองเชียงตุง วัดพระแกว ๘. สมเด็จอาชญาธรรม หนองออ เมืองเชียงตุง วัดราชฐานหลวงเชียงยืน ๙. สมเด็จอาชญาธรรม เมืองเพียง วัดอินทบุปผาราม ๑๐. สมเด็จอาชญาธรรม (หลวงจาย) เมืองเชียงตุง วัดเชียงงาม ๓๔


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

๑๑. สมเด็จอาชญาธรรม (สาม) เมืองเชียงตุง วัดปาเชียงเล็ก ๑๒.สมเด็จอาชญาธรรม (แสง) เมืองเชียงตุง วัดอินทบุปผาราม ๑๓.สมเด็จอาชญาธรรม (บุญ) วัดบานเลื่อน เมืองเชียงตุง วัดหัวกาด ๑๔.สมเด็จอาชญาธรรม (ใส เขมจารี) วัดยางเกียง เชียงตุง วัดราชฐานหลวงเชียงยืน การยกยอเถราภิเษกสมณศักดิ์ของพระสงฆเมืองเชียงตุง มีลําดับ ขั้นตอนดังนี้ ๑. คณะสงฆจะพิจารณาคุณวุฒิ วัยวุฒิ วาพระรูปนีป้ ระกอบดวย ศีลธรรมและวัตรปฏิบตั ทิ ดี่ งี าม หรือมีการอบรมสัง่ สอนประชาชน ตลอดถึง การมีอายุพรรษาที่เหมาะสม ๒. คณะสงฆนําเอาวันเดือนปเกิด และอายุพรรษาของพระสงฆ รูปนั้นๆ ไปพิจารณาดูวาสมควรที่จะไดรับการยกยอสมณศักดิ์หรือไม อยางไร ๓. หากพิจารณาดูเห็นสมควรใหมีการยกยอสมณศักดิ์พระสงฆ รูปนั้นๆ แลวก็จะแสวงหาเจาภาพในการยกยอสมณศักดิ์ ๔. เมื่อมีเจาภาพเรียบรอยแลว ก็จะแจงไปยังกรมการศาสนา หรือโคปกะ เมืองเชียงตุง จากนั้นก็จะเตรียมพิธียกยอสมณศักดิ์ เชน เตรียมน้ําที่จะนํามาสรงในพิธีพุทธาภิเษก มีการจัดสถานที่เตรียมงาน ตามที่สมเด็จอาชญาธรรมกําหนดตอไป ลําดับสมณศักดิ์ของคณะสงฆนครเชียงตุง ประกอบดวย ๑. สมเด็จอาชญาธรรม พระสงฆผูทรงอํานาจตามพระธรรมวินัย และ เป น ใหญ สุ ด ในหมู พ ระสงฆ เป น ผู มี อ ายุ ๗๐ พรรษา ๕๐ ขึ้นไป ๓๕


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

๒. พระครูบา ๓. พระสวามี ๔. พระสวาทิ

พระสงฆ ผูทรงวัยวุฒิ คุณวุฒิ และเปนใหญใน หมูสงฆเปนผูมีอายุ ๔๐ พรรษา ๒๐ ขึ้นไป พระสงฆ ผูทรงวัยวุฒิ คุณวุฒิ และมีศีล สมาธิ ปญญา เปนผูมีอายุ ๓๕ พรรษา ๑๕ ขึ้นไป พระสงฆ ผูทรงศีล สมาธิ ปญญา เปนผูมีอายุ ๓๐ พรรษา ๑๐ ขึ้นไป

การถวายสมณศักดิ์นั้นจะอยูในดุลยพินิจของคณะสงฆเชียงตุง ซึ่งในบางกรณีอาจจะมีพิจารณาเปนพิเศษ เพื่อความเหมาะสมตอไป พระมหาสงา ธีรสํวโร เมื่อครั้งที่เชียงใหมจัดงานพระพุทธศาสนาเชียงใหม-เชียงตุง สมเด็จอาชญาธรรมพระเจา (ใส เขมจารี) ไดเลาใหฟงวา ทานไดรับการ เทียบเชิญใหดํารงตําแหนงอาชญาธรรม ตั้งแตป จ.ศ. ๑๓๔๒ แตทาน ไมรับ เนื่องจากมีครูบาที่มีอายุพรรษามากกวาทาน และสมควรที่จะไดรับ การยกยอเปนสมเด็จอาชญาธรรมกอนทาน อีก ๒ รูป ดังนัน้ ทานจึงขอให คณะสงฆพิจารณายกยอพระสงฆหนึ่งในสองรูปนั้น แตคณะสงฆบอกวา พระสงฆ ๒ รูปนั้นทานไมขอรับ จึงขอใหทานเขาพิธียกยอ ดังนั้น ทานจึง ขอชวยงานคณะสงฆไปกอน จนกวา ๒ รูปนี้จะมรณภาพ เพราะเวลา ขึ้ น เป น สมเด็ จ อาชญาธรรม ต อ งปกครองคณะสงฆ ทั้ ง เมื อ งเชี ย งตุ ง แตมีครูบาอาจารยของทานอยู ๒ รูป ซึ่งทานไมสามารถบอกกับตัวเอง ไดวา ปกครองครูบาอาจารย ทานจึงรออยูป ระมาณสิบกวาป หลังจากทีท่ งั้ ๒ รูปไดมรณภาพไปแลว จึงไดมีการประกอบพิธียกยอ ในป จ.ศ. ๑๓๕๙ และไดปกครองคณะสงฆเมืองเชียงตุงมาจนถึงปจจุบัน

๓๖


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

รองศาสตราจารย สมหมาย เปรมจิตติ์ เรื่องเถราภิเษกนั้นมีความรูอยูบาง ในสมัยอยูทางภาคอีสาน สิ่งที่เคยพบเห็นประสบการณเกาๆ ในอดีต ประมาณหกสิบกวาปมาแลว ชวงกอนสงครามโลกครั้งที่ ๒ และหลังสงครามโลกครั้งที่ ๒ มีใหเห็นใน ภาคอีสาน แตชวงหลังๆ ไมมีเลย เนื่องจากอิทธิพลความเจริญสมัยใหม อิทธิพลการศึกษา และวิธผี นวก หรือเรียกวา การบูรณาการทางวัฒนธรรม ของสงฆใหเปนแบบกรุงเทพฯ ซึ่งเปนนโยบายของรัฐบาลในสมัยนั้น โดยเฉพาะในสมัยจอมพล ป.พิบูลสงคราม และโครงสรางอาชีพของคน เปลี่ยนแปลงไป ไมไดทําไรทํานาเหมือนแตกอนอยางเดียว นอกฤดูทํานา ก็ ไ ปทํ า อาชี พ อื่ น และอาชี พ อื่ น นั้ น ส ว นใหญ เ ป น รั บ จ า ง ไปต า งถิ่ น สวนใหญแลวก็จะไปกรุงเทพฯ เปนตน ชวงหลังมา ถึงแมวา จะมีบญ ุ ผะเวส หรือเทศนมหาชาตินี่ ยังหายาก ๒ ปจัดครั้งหนึ่ง ก็เปนไปไดยาก ผมจากบานมาตั้งแตป พ.ศ. ๒๔๙๔ ประมาณ ๒-๓ ป จะไป ครั้งหนึ่ง ไปแตละครั้งจะเห็นการเปลี่ยนแปลง ไมเหมือนเดิม โดยเฉพาะ ชวงหลังๆ เชน สมัยกอน วันเขาพรรษาจะมีบวช มีกองบวช กองหด หรือมี สรงน้ํ า พระ แต ป จ จุ บั น นี้ ไ ม ค อ ยเห็ น แล ว แม แ ต เ ทศน ม หาชาติ ก็เชนเดียวกัน กลับไปครั้งที่ ๓ ครั้งหลังนี้ไมคอยไดเจอ รวมทั้งไปชวงที่ เขาไมไดจัดใหมีการเทศนมหาชาติ แตก็ยังเห็นมีการเทศนมหาชาติที่เมือง ลาวอยู ประมาณป พ.ศ. ๒๕๔๒ กอนหนานี้ ที่ไปครั้งแรก ป พ.ศ. ๒๕๓๒ ในขณะนัน้ เมืองลาวยังเปนคอมมิวนิสตอยู เปนสังคมนิยมอยู ยังไมคอ ยมี ใครรู หลังๆ เริม่ มีการรือ้ ฟน ความสําคัญของประเพณี จนกระทัง่ กลายเปน สิ่ ง ดึ ง ดู ด นั ก ท อ งเที่ ย ว โดยเฉพาะที่ ห ลวงพระบาง มี ช าวต า งชาติ ทีเ่ ขามาเทีย่ วชมและถายรูปตอนเชาๆ ทีพ่ ระสงฆ สามเณร เดินบิณฑบาต เปนแถว ซึ่งสมัยกอนจะเห็นตามชนบทภาคอีสาน สวนในเมืองหลวง เมืองใหญจะไมคอยมี ไมคอยเดินเปนแถว แตที่หลวงพระบางยังคงมีอยู ผมเคยลองนับดู พระที่เดินบิณฑบาตไดประมาณหาสิบถึงหกสิบรูป ทําให นักทองเที่ยวสนใจ อยากจะถายรูป อยากที่จะใสบาตรบาง คนตางถิ่น ใสบาตรกันมากขึ้น ทําใหเกิดอาชีพใหมขึ้นมา คือขายขาวเหนียวตอนเชา ๓๗


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

ใหคนใสบาตร เมื่อไมนานมานี้ โรงแรมที่ผมพักหรือเกสเฮาส เขาบอกวา ตอนเชาๆ หากตองการจะใสบาตร พนักงานจะจัดของให ถือเปนอาชีพ เสริมของพนักงาน เรื่องคําเรียกขานชื่อของพระสงฆ สามเณร ในภาคอีสาน กับภาค ตางๆ ไมเหมือนกัน และตอนลาสิกขาบทไปแลวจะเรียกยังไง จะเรียก ทิด หนาน เซียง ซาง แมจะเรียกทิด ก็ยงั จะมีความแตกตางกันออกไปอีก ถาไดรับการหดสรง หรือสรงน้ําพระ ในพิธีสรงครั้งที่ ๑ จะเรียกอยางไร ครั้งที่ ๒ จะเรียกอยางไร ครั้งที่ ๓ จะเรียกอยางไร ดังนั้นทางภาคอีสาน กับเชียงตุงมีลักษณะคลายๆ กัน คือเราไมไดเปนคนในประเทศที่เปน ศูนยกลางวัฒนธรรมกระแสหลักมาตั้งแตเดิม แตเราเปนคนในวัฒนธรรม อยางเชนในภาคเหนือหรือลานนา พญามังรายเปนผูสรางขึ้น ลาวก็เปน ของลาว แตในภาคอีสานนั้นเปนกรุงเทพฯ ผนวกเขาเปนสวนหนึ่งในสมัย รัชกาลที่ ๕ ที่ใกลชิดที่สุด ที่เหลือก็หางๆ ยังเปนประเทศราชอยู และ ชวงนี้ ทางภาคอีสานไดรับอิทธิพลจากภาคเหนือและกรุงเทพฯ แลวก็มี การเปลี่ยนแปลง โดยเฉพาะในสมัยรัชกาลที่ ๕ มีการสรางทางรถไฟ สรางโรงเรียน ครอบคลุมไปยังจังหวัดหนองคาย อุบลราชธานี ทําใหคน อีสานมาเรียนในกรุงเทพฯ เมื่อมาเรียนแลว ก็พยายามดึงสิ่งใหมๆ จาก กรุงเทพฯ กลับไปยังภาคอีสาน เชน สถาปตยกรรม วัฒนธรรม การสวดมนต เปนตน คําเรียกพระสงฆ สามเณร ในภาษาลาว รวมทัง้ ภาคอีสานทัง้ หมด เณร เขาเรียกวา “จัว” มีผนู ยิ ามความหมายหลายทาน เชน สมเด็จพระยา ดํารง พระมหาธีรวงศ ติสโส อวน วัดบรมนิวาสน ทานบอกวา คําวา “จัว” นัน้ สันนิษฐานวา มาจากคําวา “เจา” คําวา “จุ” หรือ “จุไท” “สิบสองจุไท” “สิบสองเจาไท” ความจริง เจา เพี้ยนมาเปน จุ สิบสองเจาไท เพี้ยนมา เปนสิบสองจุไท ทางเหนือเรียกเณรวา “พระ” หมายถึง ผูป ระเสริฐ นัน่ คือ เหมือนกับเปนเจาเหมือนกัน คือผูประเสริฐ สําหรับพระ ทางอีสาน เรียกวา “เจาหัว” ถามียศมีศกั ดิ์ ก็จะนําไป ตอทาย คําวา เจาหัว คือหมายความวา ขึ้นคําวา “เจาหัว” กอน ก็คือ เจาอยูเ หนือหัวนัน่ เอง เชนเดียวกับการเรียกพระบาทสมเด็จพระเจาอยูห วั ๓๘


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

คือเปนการแสดงความยกยองสูงสุด เปนเจาที่อยูเหนือหัว เทิดทูนไว ยกยองไวอยูที่สูง สูงกวาศีรษะ สวนทางภาคเหนือ เรียกพระ วา “ธุ” (อ า นว า ตุ ) ซึ่ ง เพี้ ย นมาจากคํ า ว า “สาธุ ” ส ว นประเทศศรี ลั ง กานั้ น ชาวบาน เรียกพระวา “สาธุ” ครั้งหนึ่ง ผมมีโอกาสไปศรีลังกา แลวมีวันหนึ่ง มีนาคมาบวช คนที่นั่นเขาจะบวชตลอดชีวิต พอดีเขาจบ ม.6 แลว ในคืนที่เขาจะบวชนั้น เขาคงตื่นเตน ประมาณตีสามกวาๆ เขาละเมอวา สาธุ สาธุ อยูอยางนั้น พระมาระงั บ ตั้ ง นานกว า จะหยุ ด ละเมอ แล ว ในวั น รุ ง ขึ้ น ก็ ไ ม ใ ห บ วช เพราะวาจิตไมปกติ ตอนที่เขาเปนนาคอยูก็ไมคอยพูดคุยกับใคร คําวา สามี กับ สวามี เปนคําๆ เดียวกัน คือแปลวา นาย สามี เปน ภาษาบาลี และ สวามี เปนภาษาสันสกฤต ถาในศรีลังกาเรียกวา สวามีนิ จะมีสรอยอยูคลายๆ กับบอกเพศ ในอินเดียมีหลายคําที่เรียกพระสงฆ สาธุก็มี สวามีก็มีแตตําแหนงตางๆ ก็มีคํานําหนาเหมือนกัน ถาพระ ในศาสนาฮินดู จะมีคําวา ราช เทศน เหมือนกันกับของเรา นายสุกิจ นิมมานเหมินท อดีตรองนายกรัฐมนตรี เคยพูดวา ราชทิ น นามที่ เราใช นั้ น คล า ยกั บ ของพราหมณ ถ า ชั้ น ราช ก็ มี คํ า ว า ราช ประกอบ ถาชัน้ เทพ ก็มคี าํ วา เทพ ประกอบ ชัน้ พรหม ก็มคี าํ วา พรหม นําหนา ซึ่งเหมือนกับชื่อเรียกพระในศาสนาฮินดู เคยมีราชษี เทพษี หรือพรหมษี ก็มี ทําเนียบสมณศักดิ์ในประเทศลาว ขอมูลของสมเด็จพระมหาวีโร ในขณะนั้น ทานบอกวาทานเสียดายที่ทานอานพบแลว แตไมไดสนใจ ศึกษาเลาเรียน จึงเขียนจากความทรงจํา แตไมไดเก็บรวบรวมหลักฐาน ดังนั้น จึงอยากจะฝากถึงพระนักศึกษาระดับปริญญาโท ปริญญาเอก ควรทีจ่ ะศึกษาในเชิงคุณภาพเรือ่ งเหลานี้ เจาะใหลกึ เรือ่ งทีน่ าํ มาจัดสัมมนา ในวันนี้ นาจะเปนการเปดประเด็นใหนักศึกษานําไปใชประโยชน ควรจะ ศึกษาในหลายแงหลายมุม รวมไปถึงการวิเคราะหทางวัฒนธรรม ทางสังคม ดวย จะดีมาก สมณศักดิ์ของประเทศลาว มีอยู ๘ ขั้น ขั้นแรกเกี่ยวกับการศึกษา ๓ ระดับ ไดแก สําเร็จ ซา และคู สวน ๕ ขั้นหลัง เกี่ยวกับการปกครอง ๓๙


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

ไดแก ฝาย ดาน หลักคํา ลูกแกว และยอดแกว ๑. สําเร็จ หรือ เสร็จ ที่มาของชื่อนี้ มาจากการเรียนสําเร็จตาม หลักสูตรที่กําหนดไว มีการเรียนสวดมนต เรียนธรรมวินัย เปนตน คําวา สําเร็จทางการศึกษานั้น เนื่องจากลาวมีการติดตอกับไทยมากขึ้น จึงทําให เพีย้ นกลายเปนคําวา “สมเด็จ” ซึง่ เปนการเปลีย่ นแปลงโดยไมรตู วั ถือเปน ความนิยมผสมผสานทางภาษา ๒. ซา บางคนบอกวามาจากภาษาจีน ที่แปลวา สาม ซึ่งไมนา จะมีความหมายเชนนั้น สวนใหญหมายถึง ผูสําเร็จกิจในพระพุทธศาสนา อันหมายถึงการศึกษาเลาเรียน โดยมีกิจสามอยาง และสําเร็จกิจทั้งสาม อยาง จึงเรียกรวมกันเปนซา แตบางมติบอกวา ซา อาจมาจากคําวา “อุปชฌายะ” เวลาพูดทิ้งคําตน และคําทาย เหลือแตคํากลางวา ซา และ อีกมติหนึ่งก็บอกวา นาจะหมายถึง ผูที่เรียนจบจนมีความปรีชารอบรู จึงเรียกวา ซา เนื่องจากในภาษาลาว ตัว “ช” ไมมี จึงออกเสียงเปน “ซ” ๓. คู หมายถึง ครู เมื่อเรียนจบแลว สามารถเปนครูบาอาจารย ได แตคําวา ครูบา นั้นไมมีในทําเนียบสมณศักดิ์ของทางอีสานและลาว คําวา ครูบา หมายถึง พระที่คงแกเรียน ภาษาไทยบอกวานาจะเพี้ยน มาจากคําวา “บาเรียน” คําโบราณไมไดเรียก “เปรียญ” แตเรียกวา “บาเรียน” เปนภาษาไทยกลาง ดังนั้น ถาใครเกง ไมใชสอนธรรมอยางเดียว ตองสอน บาลีดวย จึงกลายเปน ครูบาเรียน และเรียกสั้นๆ วา ครูบา แลวก็นํามา ใชในบานเรา โดยเฉพาะในภาคเหนือ เชน ครูบาศรีวิชัย บางครูบาพรรษา ก็ ไ ม ถึ ง เถรภู มิ ก็ เ ป น ครู บ าแล ว ญาติ โ ยมทางเหนื อ มั ก จะพู ด กั น ว า ครูบาอุกแกส ๔. ฝาย เปนตําแหนงของผูปกครองสวนหนึ่ง ซึ่งตําแหนงนี้ เปนเจาหัวครูบา จะเปนครูมากอนก็ได คือเปนผูมีความสามารถในการสั่ง สอน ดูแลสามเณรตลอดจนประชาชน ๕. ดาน เปนตําแหนงสําหรับผูปกครองหมูเชนเดียวกับฝาย แตจะมีอํานาจหนาที่ตางกันอยางไร ก็ไมมีปรากฏชัดเจน ๖. หลักคํา ในภาษาลาวดั้งเดิม ไมนิยมใชภาษาบาลีสันสกฤต มากนัก เขาจะเอาคําที่บงบอกถึงสิ่งที่สําคัญ คือ “คํา” นั่นเอง คือ ลูกแกว ๔๐


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

ลูกคํา ตัวอยางเชนในภาคเหนือบวชเณรเรียกวา “บวชลูกแกว” คําวา คํา คือมีคามากที่สุด (คํา ในภาษาลานนาหมายถึง ทองคํา) ๗. ลูกแกว เปนตําแหนงทีไ่ มนา จะมีชนั้ ครู เปนตําแหนงรองจาก ยอดแกว และนาจะมีเฉพาะในเมืองเวียงจันทรเทานั้น ๘. ยอดแกว เปนตําแหนงสูงสุดในคณะสงฆ เปนสังฆปาโมกข คือเปนสังฆราช หรือเรียกวา “สังฆราชา” ตําแหนงเหลานี้ เวลาจะแตงตั้งตองผานพิธีสรงน้ํามุรธาภิเสก เชนเดียวกับเชียงตุง โดยจะมีขั้นตอนพิธีการตางๆ สวนภาคอีสาน ทีเ่ คยเห็น ถาเปนวัดใหญ หรือเปนทานเจาอาวาส จะทํารางรินไวประจําเลยพรอมกับลงรักปดทองไวเปนอยางดี พอถึง เทศกาลบุญกองบวช กอนลงทําไรทํานา เขาจะพิจารณาดูพระเถระในวัด สวนใหญเปนเจาอาวาสจะไดรับการรดน้ํา แตวาเทาที่เห็นในภาคอีสาน สมัยนัน้ เปนพิธขี องชาวบาน ไมใชเปนของหลวง ดังนัน้ เมือ่ ไมใชของหลวง ก็ตดั พิธกี ารหรือเครือ่ งสักการะบางอยางทีไ่ มจาํ เปนออกไป เชน หลาบเงิน หลาบคํา แตก็ยังยึดถือวาถาผานการบวชสงฆมาครั้งหนึ่ง เรียกวา จาง ถาครั้งที่สองเปน จางครู ครั้งที่สามเปน จางซา สําหรับที่เมืองลาวนั้นยังคงมีรางรินอยู คือที่วัดศรีษะเกษ เมือง เวียงจันทร เปนวัดเดียวทีไ่ มถกู เผาในสงคราม อาจเปนเพราะ มีพระพุทธรูป ทีอ่ ยูใ นผนังประมาณหกพันกวา เจาะใหเปนรูเล็กๆ แลวนําเอาพระพุทธรูป ใสเขาไป เวลาลาสิกขาออกไป ตําแหนงยังติดออกไปดวย ถาสึกออกไป อยางเดียวเรียกวา เซียง ทางแมฮองสอนเรียกวา ซาง ถาสึกออกจากพระ ทางเหนือเรียกวา หนาน อีสานเรียกวา ทิด

๔๑


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

เวทีสัมมนาเรื่อง “เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์ พระสงฆในลานนา”

วิทยากรประกอบดวย พระครูอดุลสีลกิติ์ วัดธาตุคํา อําเภอเมืองเชียงใหม อาจารยศรีเลา เกษพรหม สถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม ดร.พิสิษฐ โคตรสุโพธิ์ ผูดําเนินการสัมมนา มหาวิทยาลัยเชียงใหม ดร.พิสิษฐ โคตรสุโพธิ์ ผมอยู จั ง หวั ด อุ ด รธานี ในวั ฒ นธรรมอี ส าน การที่ จ ะยกย อ ง พระเถระนั้น สวนใหญจะใชน้ําเปนเครื่องสรง เรียกวา “การฮดสรง” เมื่อ พระภิกษุ สามเณร ซึ่งบวชมาพอสมควรที่จะไดรับการยกยองใหเปนผู ที่มั่นคงทางพระพุทธศาสนา ก็จะใสขันนิมนตพระคุณเจานั้นไดทําพิธี ๔๒


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

“ฮดสรง” ครั้งแรกในการฮดสรง ทางอีสานหรือธรรมเนียมทางลานชาง เขาเรียกวา “เปนสมเด็จ” ซึง่ สมเด็จทางอีสานอาจจะตางจากทางภาคเหนือ และภาคกลาง เมื่อมีฮดสรงครั้งแรก เขาเรียกวาเปนการยกจากพระผูนอย พระธรรมดา หรือจากพระภิกษุซึ่งเปนผูบวชธรรมดา ไดรับการยกยองวา เปนสมเด็จ จากนั้นก็จะมีการฮดสรงอีกเปนครั้งที่ ๒ เรียกวา เริ่มเปน อาจารย อาจจะเรียกวาเปนคู ซา เปนธรรมเนียมทางลานชางไดสืบทอด อิทธิพลมาสูจังหวัดอุดรธานีที่ผมเคยอยู การยกย อ งพระสงฆ โ ดยวั ฒ นธรรมของพื้ น บ า น ถื อ ว า เป น วั ฒ นธรรมประเพณี ดั้ ง เดิ ม ในสมั ย ก อ น แต ป จ จุ บั น ก็ ยั ง คงเห็ น อยู เมื่อมีอายุประมาณ ๓ พรรษา เห็นวาพอจะเปนที่พึ่ง เปนผูนําทาง จิตวิญญาณของชุมชนในทองถิ่นได ก็จะมีการใสขันนิมนตในการทําพิธี ฮดสรงพระคุณเจา พระคุณเจาบางรูปไมกลารับขันนิมนต บางรูปก็ไมแนใจ แตวาสวนใหญแลวถูกโยมนิมนตก็ตองรับ ซึ่งก็คือวัฒนธรรมที่คลายๆ กัน ในการยกยองพระสงฆ อี ก ส ว นหนึ่ ง วั ฒ นธรรมการยกย อ งพระสงฆ นั้ น คื อ การให สมณศั ก ดิ์ อาจจะเป น ธรรมเนี ย มทางกษั ต ริ ย ห รื อ ราชพิ ธี ท างหลวง มีการยกยองเปนพระครู เจาคุณ เจาคณะ พระสังฆาธิการ เปนการยกยอง พระสงฆดวยการใหสมณศักดิ์ที่สูงขึ้น การที่ พ ระสงฆ ไ ด รั บ สมณศั ก ดิ์ ไ ด รั บ การยกย อ งให เ ป น ผู นํ า ดวยการถวายเกียรติคุณนั้น ในมุมหนึ่งก็เปนสิ่งที่ดี เปนการใหกําลังใจแก ผูที่ทําหนาที่ประกาศสืบทอดศาสนา หรือเผยแผพระธรรมคําสอนของ องคพระสัมมาสัมพุทธเจา จะไดมีกําลังใจ ในขณะเดียวกันลูกศิษยของ พระคุณเจารูปนั้นจะไดมีความภาคภูมิใจดวย ซึ่งนี่ก็เปนประเด็นการให กําลังใจ อันทีส่ องเทาทีม่ องเห็น คือเปนเรือ่ งการอุปถัมภบาํ รุงศาสนาดวย ผมเห็นวาหากพระสงฆไดรับการยอมรับ ไมวาจะเปนในระดับชุมชนของ ตนเอง ดวยการทําพิธีเถราภิเษกแบบธรรมเนียมพื้นบาน หรือการไดรับ สมณศักดิ์แตงตั้งจากทางบานเมือง ทานเหลานั้นก็จะทําหนาที่เปนผูนํา เปนกําลังสําคัญในการประกาศพระพุทธศาสนา สามารถเปนหลักชัย เปนศาสนทายาทที่มั่นคงของศาสนาตอไป ซึ่งนี่คือเรื่องความเปนมา และ ๔๓


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

ความสําคัญของการยกยองใหเกียรติแกพระคุณเจา ทานบอกวา เรื่องของยศพระ หรือสมณศักดิ์ของพระนั้น ก็เปน เรื่องสมมุติเขาทํานองวา เปนเรื่องของยศชางขุนนางพระ อยางไรก็ตาม การใหเกียรติยกยองผูท มี่ คี ณ ุ คุณปู การ หรือผูท มี่ คี ณ ุ งามความดีนนั้ ถือวา เปนมงคลอยางหนึ่ง อ.ศรีเลา เกษพรหม ความสนใจ ทีอ่ ยากจะเผยแพรความรูเ รือ่ งนีเ้ กิดขึน้ เมือ่ ยีส่ บิ กวาป ก อ น กระผมไปได พั บ สาเล ม หนึ่ ง ซึ่ ง คนเฒ า ที่ รู จั ก กั น ท า นสั่ ง ไว ว า หากทานเสียชีวิต ขอใหหลานมอบพับสาเลมนี้ใหขนาน (พอหนานศรีเลา) ตอนทีท่ า นสิน้ ชีวติ ก็ไดไปในงานศพของทาน เขาก็ไดมอบพับสาเลมนีม้ าให ในพับสาเลมนี้ก็มีวิธีการเรียนภาษาบาลีแบบโบราณ นอกจากนี้ ก็มพี ธิ รี ดน้าํ เถราภิเษกอีกเรือ่ งหนึง่ ดวย กระผมก็เกิดความสนใจขึน้ มาทันที วา พิธีรดน้ํามุรธาภิเษกในลานนานั้นหายไปแลว ก็ไมมีตนฉบับที่พอจะ เหลืออยูเลย ก็หาอานรายชื่อในเอกสารไมโครฟลมของสถาบันวิจัยสังคม ปรากฏวามีตํานานที่กลาวถึงเรื่องนี้อยู ก็เก็บรวบรวมไว จนกระทั่งป พ.ศ. ๒๕๒๘ ก็ไดปริวรรตจากอักษรลานนาเปนภาษาไทย ปนั้น สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ ก็ไดเสด็จมาที่สถาบันวิจัยสังคม ผมก็ไดนํามา ถายเอกสารและเขาปกธรรมดา แลวนําถวายสมเด็จพระเทพฯ สังเกตดู พระองคกเ็ ปดดูประมาณ ๑-๒ หนา แลวนางสนมก็พยายามขอรับเอกสาร จากพระหัตถพระองคไป แตพระองคไมให พระองคจะถือติดพระหัตถไป ตลอด ซึ่งพระองคก็คงอยากจะรูวาพิธีเถราภิเษกลานนานั้นเปนอยางไร หลังจากนั้น ผมก็นํามาศึกษา จนกระทั่งเมื่อหลายปกอน ก็ได มาพบพระครูอดุลสีลกิติ์ ก็นําเอกสารมาใหทานดู ทานก็สนใจ แลวบอก วา ทานก็มี ๑-๒ ฉบับ แลวก็นําเอกสารมาหารือกับทาง มจร. วา ถาเรา จัดประชุมสัมมนาเรื่องนี้ จะเปนความรูแกพระสงฆและศรัทธาญาติโยม อีกอยางหนึง่ เราก็ไมไดพดู อยางเดียวหรือเผยแพรอยางเดียว นาจะมีการ จัดทําพิธีนี้ขึ้นอีกครั้งหนึ่งในเชียงใหม อยางเชนวาเจาคณะจังหวัดของเรา ๔๔


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

ไดรบั การยกยอขึน้ มา เราก็นา จะรวมกันจัดพิธนี ี้ ใหถกู ตองตามแบบโบราณ พิธีเถราภิเษกตามที่เรารูกันมา ในแบบของกรุงเทพฯ แบบอีสาน หรือหลายๆ แหงนั้น พิธีกรรมก็จะแตกตางกันไป แตของเรานั้นถือเปน พิธีกรรมที่ศักดิ์สิทธิ์ ไมใชวาจะยกยอพระสงฆ พระเถระสักรูปหนึ่ง ทําพิธี นําน้ํามารดแลว ถือวาสําเร็จนั้น ก็ยังไมใช ในตําราของลานนานั้น ระบุวา กวาจะทําเปนน้ํามุรธาภิเษกหรือน้ําศักดิ์สิทธิ์นั้น มีขั้นตอนที่นาสนใจ เชน การทําพิธีในอุโบสถ ตองราชวัตรใหเปนสถานที่มงคล บริเวณที่ ศักดิ์สิทธิ์ และตั้งเตาหุงขึ้นมา โดยทําเปนกอนเสา ๓ กอน เอาดินจาก ๓ จอมปลวก ๓ บวกควาย มาตําผสมกัน ทําใหเปนเปลือกที่เหนียว แลว นํามาปน เปนกอนเสา หัวเปนหัวสิงหสามหัว เมือ่ ไดกอ นเสาแลว ไดราชวัตร แล ว ฟ น ก็ ต อ งเตรี ย มไว เป น ฟ น จากไม ม งคล เป น ไม แ ก ว ไม ข นุ น ไมเตาไมพุทรา (ไมบะตัน) รวม ๓ อยาง ระหวางกอนเสานั้น มีสามชอง ฟนทั้งสามชนิด ตองอยูชองใดชองนั้น สลับกันไมได อันนี้ถือเปนความ ศักดิส์ ทิ ธิ์ ความมัน่ คง ในดานพิธกี รรม เมือ่ ไดหลัว ไดกอ นเสาแลว ก็ตอ งมี สมุนไพรเปนสวนประกอบดวย ซึง่ สมุนไพรแตละอยางนัน้ อาจใชการตํา บด ผสมออกมาเปนแทง ผาเปนชิน้ ๆ เปนไม เพือ่ นํามาหุง เปนน้าํ มุรธาภิเษก ในพิธีที่ศักดิ์สิทธิ์ สวนราชวัตรนั้น ผมสังเกตวาน้ํามุรธาภิเษกนี้ ใชสรงกับกษัตริย กั บ ที่ ขึ้ น เสวยราชย แล ว ก็ ไ ด ป รั บ ปรุ ง ใช กั บ พระสงฆ สั ง เกตได จ าก ราชวัตร จะตองปกดวยหอก ๔ เลม ดาบ ๔ เลม อะม็อก ๔ กระบอก อันนี้แสดงวา ไดนําเอาพิธีสรงน้ํากับกษัตริยที่ขึ้นเสวยราชย มาใชกับ พระสงฆในพิธียกยอสมณศักดิ์ของพระสงฆ เมือ่ จัดเตรียมวัตถุสงิ่ ของและเครือ่ งบูชาครบแลว ก็เตรียมไฟ เขาก็ ไมใชไฟธรรมดา ไฟบานที่เราใชนั้นเขาบอกวาไมใชไฟบริสุทธิ์ เปนไฟที่ ไมสะอาด จะตองใชไฟจากฟา โดยใชแวนขยายสะทอนแสงกับพระอาทิตย จนเกิดการเผาไหมกับเชื้อ เชน สําลี ฝาย เปนตน เมื่อไหมแลวก็นําไปเปน เชื้อสําหรับจุดในพิธีตอไป

๔๕


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

สวนน้าํ ก็ตอ งใชนา้ํ จาก ๗ บอ ๗ วัด โดยเปนวัดทีม่ ชี อื่ เปนมังคละ ๗ วัด ๗ บอ นํามาตมใสสมุนไพร เมื่อตมน้ํายาไดที่แลว ก็ตักน้ํานั้นใสใน ขันเงิน ขันทอง ขันนาค ขันแกว แลวนําไปไวที่วัดที่มีชื่อเปนมังคละ เชน วัดลอยเคราะห วัดดับภัย เปนตน เพื่อใหพระสงฆในวัดนั้น ประกอบพิธี สู ต รกวม คื อ พระสงฆ นั่ ง ล อ มวงกั น แล ว สวดมนต เมื่ อ สวดมนต แ ล ว เชาวันรุงขึ้นก็นํามารวมกันที่หอสงฆ ถาเปนหอสรงหรือหอเดื่อของเชียงตุง หอจะสูง แตของเราจะ ต่าํ กวา โดยจะสูงจากพืน้ เพียง ๑-๒ ศอกเทานัน้ เคยพูดคุยกันคนแกคนเฒา ทานบอกวาหลังจากที่ทําพิธีรดน้ํามุรธาภิเษกแลว ลักษณะของหอสรง จะเปนไม สําหรับพระสงฆที่เปนเจาอาวาสสรงเปนประจํา ดานในจะมี แทนอยู และดานขางจะมีชอ งลม แลวก็มรี างรินประมาณศอกกวาวางขวาง เขามาจากขางนอกทีห่ มออาบน้าํ ของพระสงฆ แลวสามเณรก็จะตักน้าํ จาก น้ําบอมาเทที่รางรินนี้ แลวพระสงฆก็จะตักน้ําอาบจากตรงนี้ คือหอสรง หลังจากเสร็จพิธรี ดน้าํ มุรธาภิเษกแลว ก็ดดั แปลงมาเปนหออาบน้าํ พระสงฆ ธรรมดา ซึ่งยังปรากฏอยูหลายแหง ควรที่จะอนุรักษไว เชน พระบรมธาตุ ของวัดตาก ยังเหลือหอสรงอยู เมือ่ มีหอสรงแลว เราก็ตกั น้าํ ไปไวใตหอสรง นิมนตพระสงฆจาํ นวน ๑๐๘ เพือ่ สวดมนตนา้ํ มุรธาภิเษกทีห่ อสงฆอกี ครัง้ หนึง่ มีการสวดมนตตงั้ ลํา สวดชัยทั้งเจ็ด เคยสํารวจดูพับสาของเชียงตุงเลมหนึ่ง ปรากฏวาเนื้อหา มีไมครบ เนือ่ งจากมีบางสวนขาดหายไป แตบทสวดชัยทัง้ เจ็ด มักใชในงาน พิธมี งคล เมือ่ สวดมนตเรียบรอยแลว ก็นาํ น้าํ มุรธาภิเษกนัน้ กลับมาทีร่ างริน ซึ่งรางรินที่ใชสรงนั้นตองใชถึง ๕ รางริน คือ ปากชาง ปากมา ปากสิงห ปากมอม และปากวัวอุสุภราช การตัง้ รางรินนัน้ ก็คงเหมือนกับวัดพระธาตุศรีจอมทอง คือ หอสรง จะมีไมค้ํารางรินอยู รางรินสรงน้ําที่พบในปจจุบันคือรางรินปากนาค สําหรับสรงน้ําพระพุทธรูป สวนรางรินปากสัตวชนิดอื่นไมคอยพบแลว สําหรับสรงน้ําพระพุทธรูป ดังนั้น การสรงน้ําดวยรางริน ๕ ชนิด ในแตละรางรินนั้น น้ํามุรธา ภิเษกจะไหลออกมาจากปากรางริน ในแตละทิศๆ รอบๆ หอสรง แตละรางริน ๔๖


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

ก็จะมีแตละฝายตักน้ํามุรธาภิเษกสรง เชน รางรินหางนาค จะมีพระสงฆ เปนผูสรง รางรินหนึ่งสําหรับใหกษัตริย ราชวงศ เปนผูสรง มีการแบง รางรินสําหรับ สะควย เศรษฐี พอคา ประชาชนทั่วไป อีกตางหาก จนครบ ไมรวมกันสรง น้ํามุรธาภิเษกนั้นจะไหลจากรางรินแลวจะตกลงที่ศีรษะ สวนในเชียงตุงนั้นพระสงฆจะรองน้ําแลวอาบ แตของลานนา พระสงฆที่จะรับน้ําเถราภิเษกนั้นจะตองนั่งตรงกลางของไมเดื่อ แลวน้ํา แตละรินจะไหลลงตรงศรีษะพอดี คือเวลารดน้ําเถราภิเษกนั้นตองลงตรง หัว ไมใชเอาไปอาบตามไหล คือนั่งลงแลว น้ําก็จะไหลลงที่หัว ในสมัยพระยามังราย เมื่อครั้งที่ขึ้นครองราชยครั้งแรก กษัตริย เมืองเล็กๆ โดยรอบ ไมมีใครไดรับน้ํามุรธาภิเษกรดหัวสักคนเลย มีแต พระองคเทานั้น เมื่อพระสงฆนั่งแลว รดน้ํามุรธาภิเษกเสร็จเรียบรอยแลว ก็จะเปลี่ยนผาใหม จีวรใหมแลว จะมีพระสงฆอีกกลุมหนึ่งคอยประคอง พระสงฆที่รับน้ํามุรธาภิเษกนั้นเดินไปยังบริเวณพิธีบนวิหาร พิ ธี มุ ร ธาภิ เ ษกนั้ น เป น พิ ธี พ ราหมณ ดั ง นั้ น เมื่ อ นํ า มาใช กั บ พระพุทธศาสนาแลว จึงทําใหมีทั้งพิธีพราหมณ และพิธีทางพุทธศาสนา รวมกัน สําหรับพิธีเถราภิเษกลานนา เมื่อพระสงฆขึ้นไปบนวิหารแลว จะมีอาจารยซงึ่ เปนพราหมณนงุ ขาวหมขาวเปนผูม อี ายุ มีศลี เปนผูป ระกอบ พิธี พระสงฆทรี่ บั น้าํ ก็จะขึน้ ไปนัง่ บนอาสนะในวิหาร โดยหันหนาไปทางทิศ ตะวันออก หันหลังใหพระพุทธรูป อาจารยจะเอาแผนเหล็กปูแลวก็นง่ั ยองๆ บนแผนเหล็ก เพือ่ จะประกอบพิธตี อ ไป แตพธิ กี ารของเชียงตุงนัน้ ใชพระสงฆ ในการประกอบพิธีทั้งหมด ไมมีอาจารยประกอบพิธี แสดงวาเขาตัด พราหมณออกไป เมือ่ อาจารยกราบพระพุทธรูปและพระสงฆเรียบรอยแลว ก็จะอานโองการและสุพรรณบัฏ เหลานี้คือพิธีเถราภิเษกของลานนา ที่สูญไปจากแผนดินลานนา ของเรา ครั้งสุดทายที่มีการประกอบพิธีนี้เมื่อป พ.ศ.๒๓๘๘ สวนตํารานี้ พระยาปญญาพิทธาจารยเปนผูเขียน จากนั้นก็มีการสืบทอดดวยการ คัดลอกตอๆ กันมา พระสงฆวัดนันทารามก็คัดลอกสืบตอกันมา เพื่อเก็บ รักษาตนฉบับไว ๔๗


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

การประกอบพิธีเชนนี้คงหาไมไดอีกแลวในลานนา เพราะไดสูญ ไปแลว ตั้งแตป พ.ศ. ๒๓๘๘ อาจพอมีภาพใหเห็นบางที่หลวงพระบาง ซึ่งมีการประกอบพิธีทุกป แตเขาไมไดทําเมื่อไดรับการยกยอ แตงตั้งให เปนสังฆราช หรือสมเด็จ แตเขาจะทําใหกับพระสงฆที่เปนประธานสงฆ เปนผูใหญ เปนผูที่มีอายุพรรษาสูง เปนที่เคารพนับถือของประชาชน ซึ่ง เขาจะทําทุกป

หอสรงน้ําในพิธีเถราภิเษก เมืองหลวงพระบาง ประเทศลาว

๔๘


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

หอสรงของหลวงพระบาง ปจจุบันถาเปรียบเทียบอยางงายๆ ก็มีลักษณะคลายกับตูเสื้อผาที่ทําจากพลาสติกในปจจุบัน สวนน้ําสรง จะไหลมาจากปากนาค ผาเช็ดตัวก็จะพาดไวขา งบน แลวก็จะอาบน้าํ สรงน้าํ ในนั้น เสร็จแลวถึงจะออกมา

เครื่องอัฐบริขารในพิธีเถราภิเษก เมืองหลวงพระบาง

๔๙


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

การเตรียมเครื่องประกอบพิธีมุรธาภิเษกสําหรับพระสงฆที่ไดรับ น้ํามุรธาภิเษกนั้นจะตองเตรียมเครื่องประกอบพิธีเชนเดียวกับการบวช สามเณรสมัยกอน ทีเ่ ราตองเตรียมคือ เตียงนอน มุง หมอน เตรียมเครือ่ งพระ ถามี ๓ รูป ก็ตองมี ๓ เตียง เปนตน เครื่องประกอบพิธีเหลานั้น ก็จะถวาย ใหกบั พระสงฆทรี่ บั สรงน้าํ มุรธาภิเษกนัน้ สังเกตวา ทางเดินจากวิหารไปยัง หอสรงนั้น จะปูดวยผาหรือเสื่อสีแดง แลวนอกจากนั้นยังจะมีหอก มีดาบ เสียบดวยวัตถุพิชชะ อันไดแก กลวย ออย ขาวตมขนม แลวนําหอกและ ดาบมาเสียบไว แลวก็นั่งไหว ตามถนนหนทาง ที่เดินผาน อันนี้ก็คือ สิ่งที่ ไดรับอิทธิพลมาจากพิธีราชาภิเษกนั่นเอง ดร.พิสิษฐ โคตรสุโพธิ์ คําวา “มุรธาภิเษก” หรือ “มุทธาภิเษก” นั้น มาจากภาษาบาลี “มุรธา” หรือ “มุทธะ” แปลวา ศีรษะ หรือหัว ดังนั้นคําวา “มุทธาภิเษก” หรือ “มุรธาภิเษก” แปลวา การรดน้าํ ลงทีศ่ รี ษะ หรือทีก่ ระหมอม สมัยกอน เรียกวา “โสรจสรง” ผานทางรางรินที่อาจารยศรีเลาไดนําเสนอไปแลว สวนทางภาคอีสาน ถาหากพระคุณเจารูปใดเอาศีรษะไปรับน้าํ สรง โดยตรง เขาวากันวาพระคุณเจารูปนัน้ เมือ่ เปนพระเถระผูใ หญ เสนผมก็จะ บางลง ดังนัน้ วิธปี อ งกันไมใหผ มบางคือตองมีผา ผืนเล็กๆ มาปดตรงศีรษะ รองรับน้ําสรงอีกทีหนึ่ง หรือไมก็ตองเอียงศีรษะไมใหรับน้ํามุรธาภิเษก โดยตรง ซึง่ เปนเคล็ดปองกันไมใหผมบาง แตสว นใหญอายุพรรษาขนาดนัน้ จะเก็บผมไวทําไมก็ไมรู มันก็เปนธรรมดา ยิ่งผมบางเทาใด ความเปนพระ สงฆทรงสมณศักดิ์ นาเคารพ นาศรัทธา จะมากยิง่ ขึน้ หรือไมนนั้ ก็ไมแนใจ คนรุนใหมๆ ก็กลัวผมบาง เลยไมยอมรับก็มี อาจารยศรีเลา เกษพรหม กลาววา เครื่องประกอบพิธีตองเปน สมุนไพรที่จัดหามาอยางดี ถือเปนสุดยอดของสมุนไพร แมกระทั่งไฟ ก็ตองเปนไฟจากสวรรค แลวก็นําน้ําจากวัดที่มีชื่อมงคลทั้งหลายมา แลว พระสงฆจะตองประกอบพิธีสูตกวม คือการนั่งลอมวงแลวสวดดวยชัย ทั้งเจ็ด ถัดจากนั้นมาทุกทานก็ไดเห็นภาพรางน้ําที่คอยรับน้ําสรง น้ําอบ ๕๐


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

น้ําหอม ทั้งหลายที่ปรุงมาเรียบรอยแลว มาราดลงไปที่รางริน ไหลไปตกที่ พระเถระผูไดรับการยกยองเกียรติคุณ สวนปากรางรินก็มีหลายชนิด ตามที่ทานอาจารยไดพูดไปแลว และที่เห็นในภาพที่นําเสนอนั้น เปน ปากนาค หรือรางนาค อาจจะมีหลายปาก ผมได เ ห็ น วั ฒ นธรรมการอาบน้ํ า ที่ มี มุ ข หรื อ ปากต า งๆ ทาง ประเทศเนปาล หรืออินเดีย ก็มีเยอะ ประเทศอินโดนีเซียก็เห็นจะมี ปากวัว หรือสัตวที่เปนมงคลทั้งหลาย เชน ปากสิงห ปากนาค ก็มี พิธีสรงน้ํามุรธาภิเษกนั้นเปนธรรมเนียมที่ไดรับอิทธิพลมาจาก การถวายน้ํ า มุ ร ธาภิ เ ษกแก พ ระมหากษั ต ริ ย ซึ่ ง ขึ้ น ครองราชย คงเป น ลักษณะที่จะเปนกษัตริยนั้น ตามธรรมเนียมพราหมณจะตองมีการสรงน้ํา คลายกับการปราบดาภิเษก หรือพุทธาภิเษก คลายกับยกยองวาหากเขา สู พิ ธี เช น นี้ แ ล ว ถื อ ว า เป น กษั ต ริ ย ส มบู ร ณ แ บบ ดั ง นั้ น สั ญ ลั ก ษณ จึ ง มี ราชวัตร ฉัตรธง ที่พระสงฆนํามาใช ในขณะเดียวกัน ผมคิดวาเรื่องของการยกยองพระเถระขึ้นเปน สมเด็จหรือสมณศักดิอ์ นื่ ๆ ถือวาเปนการยกยองของบานเมือง นอกจากนี้ ยังมีการยกยองพระสงฆทบี่ วชมาพอมีคณ ุ สมบัตทิ เี่ ห็นสมควรทีจ่ ะยกยอง ขึน้ เปนพระเถระผูใ หญ จะยกกันขึน้ มาโดยพิธกี รรมทีถ่ กู ตอง แตวา ในขณะ เดียวกัน ชาวบานอาจจะมีการยกยองพระสงฆในทองถิน่ ของตน เชน ทาง ภาคเหนือเรียกวา ครูบา ตามที่อาจารยศรีเลา เกษพรหม ไดกลาวไววา ขอมูลทางลานนา ที่มีการทําพิธีมุรธาภิเษก หรือเถราภิเษกพระคุณเจา ปรากฏครั้งสุดทาย เมื่อป พ.ศ. ๒๓๘๘ นั้น ขณะนี้ป พ.ศ. ๒๕๕๓ แลว ก็เกือบสองรอยกวาป ก็ยังไมทราบวาจะมีการสืบทอดไดอยางไรตอไป การที่พระเถระไดรับ เถราภิเษกนั้น นอกจากจะเปนพิธีกรรมที่เห็นไดชัดเจนคือมีการสรงน้ํา มีการถวายผาใหม และถวายเครื่องไทยธรรม หรือเปนเครื่องประกอบยศ ซึ่งคลายกับวาหากไดรับเปนขุนหลวง หรือเจาพระยา ก็จะมีหมาก ไพล มี เ ครื่ อ งยศ มี ที่ นั่ ง อะไรต า งๆ แต ถ า เป น พระคุ ณ เจ า ก็ จ ะเป น เครื่ อ ง อัฐบริขารตางๆ ๕๑


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

อีกเรื่องหนึ่งคือชาวบานก็ตอนรับพระเถระผูรับการโสรจสรงใหม จะมีพวกหอกและดาบซึง่ เปนอาวุธ ในขณะเดียวกันก็ตดิ ดวยเครือ่ งสักการะ ทีอ่ ยูบ นปลายหอกปลายดาบดวย คอยตอนรับทาน ซึง่ ถือวาเปนการแสดง ถึงแมวา จะเปนผูม อี าวุธ มีอาํ นาจ อยางไรก็ตาม แตเมือ่ มาถึงพระสงฆทไี่ ด รับการยกยองอยางนี้ ก็นอ มศิโรราบ เคารพบูชาในคุณงามความดีของทาน ตรงนั้น อันนี้ถือวาเปนสัญลักษณที่พอจะมองเห็นได นอกจากนัน้ อาจารยศรีเลา เกษพรหม ก็ใหขอ คิดเรือ่ งการสืบทอด ตอไป คือ การทํารางรินใหเปนตัวอยาง แลวเก็บไวที่วัดใดวัดหนึ่ง แลวก็ ประกอบพิธเี ถราภิเษกในลานนาใหครบตามประเพณีโบราณ แลวเก็บเอาไว เพื่อใหยุวชนรุนหลังไดศึกษาตอไป ตรงนี้จะเปนไปไดอยางไร ก็ชวยกันคิด ตอไป พระครูอดุลสีลกิติ์ หลังจากที่พระพุทธเจาไดเสด็จปรินิพพานไปแลวนั้น พระพุทธศาสนา ก็ไดรบั การสืบทอดกันมา ตอมา ไดมสี มณทูตไดจาริกไปตามสถาน ทีต่ า งๆ เพือ่ เผยแผพระพุทธศาสนา จนเจริญมัน่ คงมาถึงทุกวันนี้ สวนสาย ที่สืบทอดมาถึงพวกเราทุกวันนี้ คือสายของพระโสณเถระ พระอุตตรเถระ หลังที่พระพุทธศาสนา มาเจริญรุงเรืองในประเทศไทย ก็มีการสืบคนวา พระพุทธศาสนาทีเ่ รารับมานี้ กับทีอ่ ยูใ กลกบั ประเทศอินเดีย เชน ประเทศ ศรีลังกานั้น อาจจะมีความเหมือนหรือแตกตางกันอยางไร เราจึงไดพากัน ไปศึกษาพระพุทธศาสนาในศรีลังกา ซึ่งแตโบราณถือวาเปนทวีปหนึ่ง ที่เราเรียกแผนดินใหญวา ชมฺพูทีเป หรือชมพูทวีป และเรียกแผนดิน ศรีลังกาวา ลงฺกาทีเป หรือลังกาทวีป เมือ่ พระเถระจากเมืองเรา โดยเฉพาะรุน กอนๆ จากสุโขทัย ไดไป ศึกษาพระพุทธศาสนาแลวนํามาเผยแผ พระมหากษัตริยท คี่ รองกรุงสุโขทัย มีความเลื่อมใส จึงไดอาราธนานิมนตพระมหาเถระจากศรีลังกาเขามา เผยแผพระพุทธศาสนาในกรุงสุโขทัย ซึง่ ในครัง้ นัน้ ก็ทาํ ใหพระพุทธศาสนา รุงเรืองในกรุงสุโขทัยเปนอยางมาก และในลังกานั้นไดมีพิธีเถราภิเษก ๕๒


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

หรื อ สรงน้ํ า มุ ร ธาภิ เ ษกถวายแด พ ระสงฆ ม าเป น เวลาช า นานแล ว พระมหาเถระที่มาจากลังกาคงจะแนะนําใหพระเจากรุงสุโขทัยทําพิธี สถาปนายกยองพระเถระผูมีความรู เพราะฉะนั้น เราเมื่อไปอานใน ศิลาจารึกของกรุงสุโขทัยในเวลานั้น จะมีสมณศักดิ์ที่ถูกยกยองเพียง สองชั้น คือปูครู หรือพระครู และสังฆราชา เมื่ อ พระพุ ท ธศาสนาได รั บ การเผยแผ ม าสู ภู มิ ภ าคแถบแห ง นี้ ในเวลานั้นเมืองเชียงใหมตรงกับสมัยพญากือนา พระองคมีความศรัทธา ในพระพุ ท ธศาสนาเป น อย า งมาก จึ ง อยากให มี พ ระสงฆ ผู ท รงไว ซึ่ ง พระไตรปฏกและมีความบริสุทธิ์ บริบูรณดวยศีลาจารวัตร มาสูแควน ของพระองค จึงสงทูตไปอาราธนา ก็ไดพระมหาสุมณเถระมาเผยแผ พระพุทธศาสนานิกายลังกาวงศ โดยมาพํานักทีว่ ดั สวนดอก เรียกวา นิกาย ลังกาวงศฝายวัดสวนดอก ครั้นตอมา พระญาณคัมภีรไดไปศึกษาที่ลังกา แลวนําพระพุทธศาสนาจากลังกามาเผยแผอกี ครัง้ หนึง่ โดยมีศนู ยกลางการ เผยแผอยูที่วัดปาแดง เรียกวา นิกายลังกาวงศฝายวัดปาแดง เมื่อพระพุทธศาสนามาถึงเมืองลานนา ก็มีการยกยองสถาปนา เถราภิเษก พระญากือนาก็ยกยองพระมหาสุมณเถระ เปน “พระสุมนสุวัณณบุปผรัตนมหาสวามี” ซึ่งเปนพระมหาเถระชั้นสวามี นับจากนั้นมา ก็มีการสถาปนาพระเถรานุเถระระดับตางๆ พับสาวัดธาตุคํา ๒ ฉบับ ซึ่งมีขอความเหมือนกัน ฉบับแรก ไดมาจากคนเฒาคนหนึ่ง เขานํามามอบใหพอหนานเมืองใจ ไชยชนะ มัคนายกวัดหมื่นสาร เมื่ออานดูแลว ยังมีความเขาใจบาง ไมเขาใจบาง ต อ มาเมื่ อ ไปอยู วั ด ธาตุ คํ า ปรากฏว า มี พั บ โหราศาสตร อี ก พั บ หนึ่ ง ซึ่ ง ตอนท า ยได ก ล า วถึ ง เรื่ อ งเถราภิ เ ษก จึ ง ได นํ า มาเปรี ย บเที ย บและ ศึกษา ก็พบวาเปนฉบับเดียวกัน จึงเขาใจวา ฉบับนี้นาจะเปนตนฉบับของ ลานนา ครั้นตอมา เมื่อพบกับอาจารยศรีเลา ทานก็บอกวาทานมีอยู หนึง่ ฉบับ จึงนํามาเปรียบเทียบกัน ก็ปรากฏวาขอความรายละเอียดตางๆ มีลักษณะคลายคลึงกัน แตของอาจารยศรีเลาจะมีคําประกาศพระนาม ประกาศวันเดือนป ชือ่ ของบุคคลทีม่ คี วามสําคัญ ทีไ่ ดรบั ยกยองเถราภิเษก ๕๓


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

ในครั้งนั้น ถาพระนามเปนภาษาบาลีจะจารึกอยูในสุวรรณปฏ สําหรับ ขอความที่เปนภาษาลานนา ประกาศชื่อบุคคลเจาภาพนั้นใหเขียนใส แผนกระดาษ เมื่อนําทั้งสามฉบับนั้นมารวมกัน ปรากฏวาไดพิธีสถาปนาเถราภิเษกตามแบบฉบับของลานนา สําหรับเมืองเชียงตุง ก็พยายามที่จะคนหาเรื่องนี้ จนไดพบพิธี สถาปนาเถราภิเษกฉบับเมืองเชียงตุงเกา ซึ่งทางวัดพระธาตุสายเมือง ไดจัดพิมพเผยแพร สมเด็จอาชญาธรรมวัดเชียงยืนไดถวายมาฉบับหนึ่ง เมื่อไปสืบหาที่เมืองเชียงรุง สิบสองพันนา ครูบาจอม เจาอาวาสวัดปาเชต ทานไดรับสถาปนายกยองขึ้นเปนครูบา ระดับสังฆราชาของเมืองเชียงรุง ทานไดพมิ พไวในตอนทายหนังสือสวดมนต เมืองสิบสองพันนา เรือ่ งยกยอ เถราภิเษก เมือ่ นําตนฉบับของเมืองเชียงตุงเกาและเมืองเชียงรุง มาตรวจสอบ เนือ้ หาแลว ปรากฏวามีเนือ้ หาเหมือนกับเมืองเชียงใหมทกุ อยาง เพียงแตวา ขั้นตอนบางอยางอาจจะสับเปลี่ยนกันไปบาง จึงเขาใจวาพระพุทธศาสนา เมือ่ มาสูเ มืองเชียงใหมแลว มีพธิ เี ถราภิเษกเปนแบบฉบับแลว เมืองเชียงตุง เมืองเชียงรุง เมื่อมาเรียนหนังสือ มาสืบพระพุทธศาสนา หรือพระพุทธศาสนาเผยแผ ขึ้ น ไปถึ ง เมื อ งเชี ย งตุ ง เมื อ งเชี ย งรุ ง ต า งก็ ไ ด นํ า เอาพิ ธี สถาปนาเถราภิเษกนี้ ขึน้ ไปเผยแพรดว ย จึงเห็นวา พิธเี ถราภิเษกนีเ้ ปนสิง่ ที่ พระมหากษัตริยแตกอนนั้น เปนผูยกยอง แตปจจุบันนี้ เมื่อไปดูพิธีเถราภิเษกเมืองเชียงตุงในยุคตอมานี้ ปรากฏวาสมณศักดิข์ องเชียงตุงก็ไมไดกาํ หนดสมณศักดิเ์ หมือนของลานนา และเมืองเชียงรุงในอดีต แตจะมีสมณศักดิ์ที่แตกตางออกไปอยูบาง โดย สมณศักดิ์สงฆลานนาที่ปรากฏในฉบับของวัดธาตุคํา ทั้ง ๒ ฉบับนั้น ไดแก ๑. ๒. ๓. ๔. ๕. ๕๔

มหาเถระ สวามี หรือ มหาสวามี สังฆราชา ราชครู สมเด็จ


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

๖. สมเด็จอัคคราชโมลี หรือ สมเด็จเสฏฐอัคคราชครู หรือ สมเด็จ ราชครู ซึ่งเปนสมณศักดิ์สูงสุด ซึ่งเชียงรุงก็มีเชนเดียวกัน แตปรากฏวาเมืองเชียงตุงในปจจุบันนี้ มีการกําหนดสมณศักดิ์แตกตางจากอดีต คือหลังจากที่เปนพระสงฆแลว เมื่อจะยกขึ้นเถราภิเษก อันดับแรก คือ “มหา” หรือ “พระมหา” แตไมใช “เถระ” ซึ่งสมณศักดิ์นี้ มีกําหนดอายุพรรษาไววา ๑. พระสงฆทมี่ พี รรษาระหวาง ๕-๑๐ พรรษา มีวทิ ยฐานะความรู ความสามารถ ถูกยกขึ้นเปนพระมหา โดยไมตองมีการสอบภาษาบาลี ๒. พระสงฆทมี่ พี รรษา ๑๐ พรรษาขึน้ ไป จะไดรบั การยกยองเปน สวาทิ ซึ่งสมณศักดิ์นี้ไมปรากฏในลานนา เมืองเชียงรุง และเมืองเชียงตุง ฉบับเกา แตปรากฏวาเมืองเชียงตุงในสมัยนี้มีการสถาปนาสมณศักดิ์ พระสงฆในตําแหนงพระสวาทิดวย ๓. ครูบา ตําแหนงสมณศักดิ์นี้ไมปรากฏในลานนา และเมือง เชี ย งรุ ง แม ใ นเอกสารเชี ย งตุ ง ฉบั บ เก า ก็ ไ ม มี จึ ง เห็ น ว า การสถาปนา สมณศักดิส์ มัยใหมของเมืองเชียงตุงนัน้ ไดมกี ารปรับเปลีย่ นสมณศักดิใ์ หม คือเพิ่มตําแหนงพระสวาทิและครูบาเขามา ๔. อาชญาธรรมพระเจา หรือสมเด็จอาชญาธรรม ลําดับสมณศักดิด์ งั กลาวถือเปนแบบฉบับใหมของเมืองเชียงตุง แต จากการศึกษาจากพับสาของวัดพระธาตุสายเมืองของครูบาแสงหลา ที่ได รวบรวมมา และของครูบาจอม วัดปาเชต เมืองเชียงรุงนั้น ตรงกันกับฉบับ ของวัดธาตุคําทุกประการ ดังนั้น จะเห็นวาเมืองเชียงตุงไดมีการเพิ่มสมณศักดิ์ และลด สมณศักดิ์บางประการ คือลดจาก “มหาเถระ” เปน “มหา” เพราะถาเปน พระมหาเถระ จะตองมีอายุพรรษามากกวา ๑๐ พรรษาขึ้นไป แตเชียงตุง ลดใหเปน “มหา” โดยไมมี “เถระ” ตอทาย คงจะพอมีความรูค วามสามารถ แต อ ายุ พ รรษายั ง ไม ถึ ง ขั้ น เถระ จึ ง ได ตั้ ง ให เ ป น เพี ย ง “มหา” เท า นั้ น ๕๕


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

อีกอยางหนึ่ง ในฉบับเกาไมมีคําวา “ครูบา” แตในปจจุบันนี้เชียงตุง มีการตัง้ “ครูบา” ฉบับเกามี “ราชครู” ซึง่ หมายถึง ตองเปนครูของพระมหากษัตริย พระมหาอุปราชา เจาผูครองนคร หรือเจานายชั้นสูง จึงจะถูกตั้ง ใหเปนราชครูได ไมไดตงั้ โดยทัว่ ไป สวนในเมืองเชียงตุงนัน้ อาจจะมีการตัด คําวา “ราช” ออก แลวก็ตั้งคําวา “ครูบา” แทน นี่เปนเพียงคําสันนิษฐาน ของผูบรรยายเทานั้นเอง อาจสรุปไดวา พิธีสถาปนาเถราภิเษกนั้น มีมาตั้งแตสมัยกรุง สุโขทัยมาสูลานนา เริ่มตั้งแตสมัยพญากือนา และที่สําคัญในหนังสือ ชินกาลมาลีปกรณ กลาววา ในสมัยพระเมืองแกว เมือ่ จุลศักราช ๘๘๐ หรือ พ.ศ. ๒๐๖๑ ซึง่ เปนระยะเวลาหลังจากทีพ่ ระสิรมิ งั คลาจารยไดรจนาคัมภีร มังคลทีปนีแลว ๑ ป พระสิรมิ งั คลาจารยรจนามังคลทีปนีนี้ เมือ่ ป พ.ศ. ๒๐๖๐ ครัน้ ตอมาในป พ.ศ. ๒๐๖๑ พระเมืองแกวทรงทําพิธเี ถราภิเษก มีความพิสดาร วา ในครั้งนั้น พระราชาธิบดี เมื่อจะทรงยกอภิเษกพระมหาเถระ คือพระ พระสั ท ธั ม มสั ณ ฐิ ร ะ วั ด มหาโพธาราม ในตํ า แหน ง ครู ข องพระองค จึงนิมนตพระมหาเถระทั้งหลายจากเมืองหริภุญชัย เชียงแสน เชียงเเจะ ซึ่งในนั้นบอกวา อยูในสิบสองปนนา เมืองวัง เมืองเขลางค เมืองจาง เมืองมอม เขลางค และเชียงของ พระมหาเถระเหลานั้นไดมาประชุมกัน ในเมืองเชียงใหม พระมหากษัตริยมีพระราชประสงคจะใหตําแหนงนั้น แกพระมหาเถระพระสัทธัมมสัณฐิระ มีความยิ่งใหญไพบูลย จึงไดนิมนต พระสงฆ ๑๒๐ รูป มาสวดมงคลปริตรธรรมจักรกัปวัตนสูตร และมหาสมัยสูตร ๓ วัน ถวายเครือ่ งสักการบูชาเปนอันมาก ตัง้ แตแรม ๑๒ ค่าํ จนถึง ๑๔ ค่าํ ซึ่งเปนวันอุโบสถสิ้นเดือน ๕ ปขาล ตลอดระยะเวลา ๓ วันนี้ ไดสวด พระปริตร ครั้นถึงวันแรกของเดือน ๖ คือ ขึ้น ๑ ค่ํา จึงนิมนตพระเถระ พระสัทธัมมสัณฐิระ พรอมดวยพระภิกษุ ๘๐ รูป จัดทําพระกฐินใน ราชมณเฑียร พระราชาธิบดีทรงถวายคารวะมหาเถระในราชมณเฑียร แลว เวลาตะวันบาย อันเชิญพระมหาเถระขึ้นกุญชรปราสาทปดทอง มีพระภิกษุประมาณ ๕๐๐ รูป เปนบริวาร พรอมดวยเครือ่ งสักการะสัมมานะ เปนอันมาก นิมนตเขาในปราสาทอันวิจิตรงดงามในโรงสระสนาน หนา วัดปาแดงมหาวิหาร ซึ่งพระสิริธรรมจักรพรรดิติลกโปรดใหผูกสีมาไวแลว ๕๖


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

ตรัสสั่งใหพระบรมวงศานุวงศ คหบดี เศรษฐี โสรจสรงพระมหาเถระดวย น้ําอภิเษกในลําดับนั้น แสดงให เ ห็ น ว า การที่ จ ะได รั บ เถราภิ เ ษกนั้ น จะต อ งสรงน้ํ า ทุกครัง้ หากไมไดรบั การสรงน้าํ จะไมเรียกวา “เถราภิเษก” ฉะนัน้ ในปจจุบนั นี้ เราจะไมเห็นพิธีเชนนี้ แตพระเถระเมืองลานนาเราที่มีคุณสมบัติอยาง สูงนั้น จะไดรับการยกยองโดยสมณะวา “ครูบา” โดยไมไดรับการสรงน้ํา เพราะวาสมณศักดิ์ของลานนาทั้ง ๖ ตําแหนงนั้น จะสถาปนาจากครูบา ขึ้นไปเปนพระมหาเถระ พระสวามี พระสังฆราชา ราชครู สมเด็จ สมเด็จ ราชครู ดังนั้นครูบาจึงไมไดอยูในตําแหนงที่จะตองประกอบพิธีเถราภิเษก หรือสมณศักดิ์ของลานนามาตั้งแตโบราณ สวนจะอภิเษกพระเถระรูปใด พระเถระรูปนั้น อาจจะไดรับการยกยองจากชาวบาน หรือบุคคลทั่วไปวา ทานครูบาแลว จึงจะนิมนตทานครูบานั้นเขาสรงน้ํามุรธาภิเษก จึงไดรับ เปนพระมหาเถระ พระสวามี พระสังฆราชา เปนลําดับสูงขึ้นไปโดยลําดับ เปนตน ดั ง นั้ น จึ ง ถื อ ว า สมณศั ก ดิ์ ข องล า นนานั้ น เป น ของที่ มี ม าแต โบราณ มีพระมหากษัตริยอีกหลายพระองค ไดทําการเถราภิเษกมาจนถึง พ.ศ. ๒๓๘๘ ตามที่อาจารยศรีเลา เกษพรหม ไดพูดไวในขางตน และ ครัง้ สุดทายอีกครัง้ หนึง่ หลังจากป พ.ศ. ๒๓๘๘ แลว พ.ศ. ๒๔๓๘ พระเจาอินทวิชยานนทไดสถาปนาเถราภิเษกสังฆราชา ๗ พระองค ขึน้ ณ วัดพระธาตุดอยสุเทพ ดังนี้ ๑. พระครูบาโสภา วัดฝายหิน เปนปฐมสังฆราชาที่ ๑ ๒. พระครูบาญาณโพธิ วัดสันคะยอม อําเภอแมวาง เปนทุติยสังฆราชาที่ ๒ ๓. ครูบาอริยะ วัดหนองโขง อําเภอหางดง เปนตติยสังฆราชาที่ ๓ ๔. ครูบาเจาตุกาวิละ วัดพวกแตม เปนจตุตถสังฆราชาที่ ๔ ๕๗


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

๕. ครูบาคันธา วัดเชตุพน เปนปญจมสังฆราชาที่ ๕ ๖. ครูบาญาณรังสี วัดปากลวยชัยมงคล อําเภอสารภี เปนฉัฏฐมสังฆราชาที่ ๖ ๗. ครูบาเจาตุเทพวงศ วัดนันทาราม เปนพระสัตตมสังฆราชาที่ ๗ นับจากนั้นเปนตนมาจนถึงป พ.ศ. ๒๔๔๙ หรือสิบปตอมา พระเถระลานนาไดรับสมณศักดิ์ไปตามภาคกลาง ดวยเหตุวาพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูห วั ไดทรงพระราชทานสมณศักดิ์ สัญญาบัตร พัดยศใหแกครูบาโสภา วัดฝายหิน เปนพระราชาคณะรูปแรกของฝาย มหานิกาย คือ ทานเจาคุณพระอภัยสารทะ และพระสังฆราชาที่ ๕ คือ ครูบาคันธา วัดเชตุพน เปนพระครูโพธิรังสี เปนรองเจาคณะจังหวัด เชียงใหม หลังจากนั้นการสถาปนาเถราภิเษกก็เริ่มสูญหายไป อาจจะ มาจาก ๒ สาเหตุ คือ ๑. พระมหากษัตริย หรือเจาผูครองนครที่มีเดชานุภาพพอที่จะ ยกยองไมมี เพราะการปกครองเริ่มถูกผนวกเขากับสวนกลาง เจาผูครอง นครเชียงใหมก็ถูกริดรอนอํานาจดวย ๒. พระสงฆ ล า นนาเริ่ ม ได รั บ สมณศั ก ดิ์ จ ากภาคกลางถี่ ขึ้ น จึงทําใหไมมีพิธีสถาปนาเถราภิเษกอีก อาตมาไดมีโอกาสไดไปรวมงานและไดภาพเถราภิเษกมาจาก เมืองเชียงตุง เมื่อวันที่ ๒ มีนาคม ที่ผานมา มีพิธีสถาปนาเถราภิเษกของ พระสงฆเมืองเชียงตุง โดยมีพระสงฆจากลานนา ๒ รูป ไดรับการยกยอ ในครัง้ นีด้ ว ย คือ พระมหา-ชัชวาล เจาอาวาสวัดราชมณเทียร อําเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม ไดรับยกยองจากพระสวาทิขึ้นเปนพระสวามี และพระครู จันทรังสี วัดบานเหลา อําเภอแมออน ไดรับยกยองใหเปนพระสวาทิ ๕๘


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

ภาพหอเดื่อ หรือหอสรง ในพิธีมุรธาภิเษก เมืองเชียงตุง ประเทศพมา

หอเดื่อ ประกอบดวย เสา ๔ ตน และเครื่องไมทั้งหมดทําดวยไม มะเดือ่ ใบไมทใี่ ชมงุ นัน้ เปนใบไมสม ซึง่ ทีน่ นั่ เรียกวา ไมบะ ดะ แตออกเสียง วา บะละ เพราะทางเชียงตุงจะออกเสียง “ด” เปน “ล” เถราภิเษกฉบับของ ลานนานัน้ ใหนาํ ไมทเี่ ปนมงคล เชน ใบหนุน (ใบขนุน) ใบตัน (ใบพุทรา) ใบ โชค เปนตน นํามาทําเปนที่กําบังลอมรอบหอเดื่อ ๕๙


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

ขบวนแหพระสงฆเมืองเชียงตุง ที่ไดรับเถราภิเษก

ภาพนี้ เ ป น พิ ธี แ ห พ ระสงฆ ผู ที่ ไ ด รั บ การยกยอเถราภิ เ ษกจาก สถานที่ที่จะขึ้นไปสูหอสรง พิธเี ถราภิเษก จะมีอยูใ นวัฒนธรรมไทยวน ไทเขิน ไทลือ้ และลาว แตไมแนใจวาไทใหญจะมีพิธีเถราภิเษกดวยหรือไม สําหรับพิธีสถาปนาเถราภิเษกแบบลานนานั้น ที่ไมเปนทางการ มีอยู ๔ ชั้น คือ เรียกผูบวชเปนสามเณร โดยเรียกดวยความเคารพนับถือ จะสถาปนาในวันนั้นวา ถาผูใดไดเปลี่ยนไปนุงผาเหลืองและรับศีลแลว จะตองเปนเจาเสมอ ดังนั้น เราจึงเรียกสามเณรนั้นวา “สามเณรเจา” เรียกผูบวชเปนพระ หรือธุวา “ธุเจา” เรี ย กผู ที่ ไ ด รั บ ตํ า แหน ง เจ า อาวาสว า “สาธุ เจ า หลวง” หรื อ “ธุเจาหลวง” เรียกผูที่ไดรับการแตงตั้งสูงขึ้นไป ฐานะผูปกครองวา “ครูบาเจา” ๖๐


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

เหลานีค้ อื สมณเถราภิเษกแบบชาวบาน ดังนัน้ ชาวบานก็จะพากัน อุสสาภิเษกยกยองใหเปนเจาอาวาส แตสมณศักดิ์ที่ปรากฏในทางราชการ นั้นประกอบดวย พระมหาเถระ พระสวามี พระสังฆราชา ราชครู สมเด็จ และสมเด็จอัคคราชโมลี หรือสมเด็จเสฏฐอัคคราชครู ซึ่งเปนสมณศักดิ์ชั้น สูงสุด

ภาพเครื่องประกอบพิธีเถราภิเษก

๖๑


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

ภาพเครือ่ งประกอบพิธใี นการสรงน้าํ มุรธาภิเษก เครือ่ งขันตัง้ ไดแก ขาวเปลือก ขาวสาร กลวย ออย ชอนอย เทียนเลมบาท เทียนเลมเฟอง เสื่อใหม หมอใหม หมอนใหม พราว ตาล หมาก

พระสงฆกําลังเขาไปในหอเดื่อ เพื่อสวดมนตในพิธีเถราภิเษก

หอสรงนี้ พระเถระจะเขาไปอยูขางในทั้ง ๔ รูป หลังจากนั้น จะอาราชธนาพระสงฆที่จะไดรับการสถาปนาขึ้นสูหอสรง ภายในหอสรง จะมีดนิ หุม ดวยกระดาษเงิน เรียกวา “ดินเงิน” หากหุม ดวยกระดาษคํา (ทอง) เรียกวา “ดินคํา” ๖๒


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

รางรินที่พาดเขาสูหอสรง

ในฉบับของวัดธาตุคําบอกวา ใหหาไมซางคําหรือไมสีสุก หรือ กาบกลวยก็ได “กายตก” คือนํามาพาดจากที่หนึ่งไปสูหอสรง ดานลาง จะเป น ที่ บ รรจุ น้ํ า ที่ ผ า นพิ ธี พุ ท ธาภิ เ ษก สวดพระปริ ต รเรี ย บร อ ยแล ว นํามาตั้งไว

อาวุธดาบและหอกที่ใชประกอบในพิธีเถราภิเษก

๖๓


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

ภาพนีค้ อื ภาพหอกและดาบ ตามทีอ่ าจารยศรีเลา เกษพรหม บอกวา มีหอก มีดาบ แตที่เชียงตุงจะนํามามัดไวที่มุมหอสรง

สระโบกขรณี ใตหอสรง

ใต ห อสรงมี ก ารขุ ด หลุ ม สํ า หรั บ บรรจุ น้ํ า สรง โดยสมมุ ติ เ ป น “สระโบกขรณี” พรอมกับนําตนบัวไปปลูก เพื่อใหน้ํามุรธาภิเษกนั้นตกลง สูสระและกอบัวนั้น โดยสมมุติวาพระเถระรูปนั้นไดอาบน้ํามุรธาภิเษกนี้ มาจากปญจมหานทีทั้ง ๕ จากสระอโนดาตบนสรวงสวรรค ตามคติของ พราหมณ

๖๔


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

ภาพขบวนแหพระเถระที่ไดรับการยกยอเขาไปสูหอสรง

พอยอแมยอถวายเครื่องอัฐบริขารแกพระสงฆที่ไดรับการเถราภิเษก

ภาพ “พอยอแมยอ” ทางเมืองลานนาเราเรียกวา “พอออกแมออก” คือเจาภาพผูถวายเครื่องอัฐบริขาร เมื่อพระสงฆที่จะไดรับเถราภิเษกขึ้นสู หอสรงแลวจึงจะประเคนเครื่องอัฐบริขารเหลานี้ ๖๕


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

สําหรับลานนานั้นในหนังสือพับสาบอกวา จะตองจัดเครื่องแร (เเฮ) คําวา “แร” นี้ ก็คือ “แพร” นั่นเอง อยางเชน พระธาตุชอแฮ หมายถึง พระธาตุชอแพร คือผาไหม ผาแพร ที่ทอเปนชอ สําหรับปกถวายพระธาตุ นัน่ เอง ดังนัน้ เครือ่ งแร หมายถึง ผาไตรแพร จีวรแพร จะตองมีความโดดเดน กวาภิกษุรูปอื่น เพราะวา ผาไตรแพรนั้นในสมัยโบราณถือเปนของที่ หายาก จึงนิยมถวายแกผทู มี่ บี ญ ุ ญาธิการทีไ่ ดรบั เถราภิเษก แตมขี อ ยกเวนวา หากหาไตรแพรไมไดก็ใหใชไตรอุปสมบทหรือผาฝายก็ได จากนั้นก็จะ ปดประตูหอสรงไว พระสงฆที่อยูในหอสรงนั้นมี ๕ รูป ประกอบดวย พระสงฆผูที่จะสรงน้ํามุรธาภิเษก ๑ รูป อีก ๔ รูป จะยืนอยูตามทิศทั้ง ๔ เพื่อสวดพระปริตร ในชวงที่มีผูรดน้ํามุรธาภิเษกลงมาตามรางริน

การสรงน้ํามุรธาภิเษก

๖๖


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

ผูสรงที่รดน้ํามุรธาภิเษกลงไป เรียกวา “บาวแกว สาวแกว” คือผูที่ จะรดปฐมะ เปนปฐมฤกษ จากนั้น จึงเปนลําดับของเจานาย คณะโคปกะ เมืองเชียงตุง เรียกอีกอยางวา “กรรมการวัฒนธรรมพืน้ เมือง” จากนัน้ ก็จะ เปนลําดับของพระสงฆ

ประชาชนกําลังถวายสักการะพระสงฆที่ไดรับน้ํามุรธาภิเษกแลว

เมือ่ พระสงฆทไี่ ดรบั การยกยอไดรบั การสรงน้าํ มุรธาภิเษกเสร็จแลว ก็จะเดินลงมาตามทางที่ปูผาไว แลวจะมีผูที่มีจิตศรัทธานําเอาขาวตอก เทียน ดอกไม ปจจัย โปรยปรายบูชาตามทาง มีการประโคมฆองกลอง และแหขึ้นมาสูวิหาร จากนั้นก็จะนําเอาพระสงฆรูปที่สองขึ้นไปสรงน้ํา ในลําดับขัน้ ตอนเดียวกันตอไป จนถึงพระสงฆรปู สุดทายทีไ่ ดรบั การยกยอ ๖๗


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

การประกอบพิธีเถราภิเษกภายในวิหาร

ภายในวิหารก็มีสมเด็จอาชญาธรรมพระเจาเปนประธานสงฆ ในภาพนี้มีพระสงฆ ๒ รูป ที่ไดรับการเถราภิเษก

พระสงฆเมืองเชียงตุงกําลังเหยียบแผนทองเหลืองเพื่ออานจารึก

๖๘


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

จากนั้น จะมีแผนทองเหลือง แตในพิธีเถราภิเษกแบบลานนา บอกวาตองมีแผนเหล็กรองหัวเขาของอาจารย หากหาไมได ก็ใชเสียม ขวาน หรือคอนก็ได ใหรองหัวเขาไว หากจํานวนพระสงฆทไี่ ดรบั เถราภิเษก มีเทาใด ตองหามาใหครบตามจํานวนพระสงฆนนั้ ๆ หามใชรว มกัน เพราะจะ อัปมงคลกับอาจารยและผูอ า นชือ่ ในพิธนี น้ั ดังนัน้ ลานนาจะเปนแผนเหล็ก สันนิษฐานวาคงตองการทีจ่ ะใหเกิดความมัน่ คงเหมือนกับแผนเหล็ก แผนหิน แผนผา แผนพระธรณี เมื่อไดจารึกอานประกาศนี้แลว มีความเจริญมั่นคง ชัว่ ฟาดินสลาย ไมใหกลับกลายเปนอยางอืน่ เปนตน แตเชียงตุงใชพระเถระ ๒ รูป ทําหนาที่เหยียบแผนทองเหลืองแลวอานจารึกนั้น

ใบจารพระนามเพื่อประกาศเกียรติคุณของพระสงฆที่ไดรับเถราภิเษก

๖๙


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

จารึก มีอยู ๒ อยาง คือ ๑. สุวรรณบัฏ คือ แผนเงิน หรือแผนทองคํา ตามตําราของ วั ด ธาตุ คํ า นั้ น จะมี ห ลายนั ย น้ํ า หนั ก ต า งกั น บางแห ง อย า งเช น ป จ จั น ตประเทศ เงิ น ทอง อาจจะหายาก ก็ ส ามารถลดน้ํ า หนั ก ใบ สุวรรณบัฏลง ถามัชฌิมประเทศอาจจะหาเงินทองงาย ก็สามารถเพิ่ม น้ํ า หนั ก ขึ้ น ได ถ า อุ ต ตรประเทศหรื อ ประเทศที่ มี ค วามอุ ด มสมบู ร ณ ก็อาจจะเพิ่มแผนทอง แผนเงินนั้น หนัก ๒-๖ บาท ก็ได ๒. ใบจารพระนาม คื อ ประกาศความดี ค วามงามเหมื อ น ใบประกาศพระครูชั้นสัญบัตรของพระเถระบานเราวา มีความรู ความ สามารถ แลวมีการตั้งนามตางๆ น้ําหนักทองคํา ที่ใชทําสุวรรณปฏในพับสากลาววา ยอเปนพระเถระ สุวัณณปฏหนัก ๒ บาท ยอเปนพระมหาสวามี สุวัณณปฏหนัก ๓ บาท ยอเปนพระสังฆราชา สุวัณณปฏหนัก ๔ บาท ยอเปนพระเจาราชครู สุวัณณปฏหนัก ๕ บาท ยอเปนพระเจาสมเด็จ สุวัณณปฏหนัก ๖ บาท

ซีก ซีก ซีก ซีก ซีก

การประกอบพิธีเถราภิเษกนั้น นับเปนสิ่งที่ทรงคุณคา เปนการ ใหกําลังใจ ปจจุบันนี้ ประเทศไทยมีการใหเถราภิเษกอยู แตไมไดทําเปน พิ ธี ก าร คื อ การตั้ ง พระครู แ ละพระราชาคณะชั้ น ต า งๆ ซึ่ ง ปรากฏว า พระเถรานุ เ ถระของล า นนาก็ ไ ด รั บ การสถาปนายกย อ งขึ้ น เป น ชั้ น หิรญ ั บัตร พระครู และพระราชาคณะชัน้ ตางๆ จึงกลาวไดวา พิธกี ารเหลานี้ มีมาตั้งแตโบราณ ดังนั้นเราก็ตองศึกษาองคความรูไว แตหากจะมาทํา เถราภิ เ ษกเองก็ ส ามารถทํ า ได แต อ าจจะไม เ ป น ที่ ย อมรั บ เพราะว า พิ ธี เ ถราภิ เ ษกนี้ ไ ด ถู ก ยกเลิ ก ไปนานแล ว อี ก ทั้ ง ในอดี ต เจ า นายชั้ น สู ง เจาผูครองนครเปนผูอุปถัมภในการตั้งพระนาม เหมือนพระเจาอยูหัว ในป จ จุ บั น นี้ ท รงตั้ ง พระนามถวายพระเถรานุ เ ถระทั้ ง หลาย หากเรา จะไปทําพิธีกันเองก็จะเปนการซ้ําซอน ดังนั้น พิธีเถราภิเษกในภาคเหนือ ๗๐


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

ของเรานัน้ ไดสญ ู ไปนานแลว แตในเมืองเชียงตุง เชียงรุง และหลวงพระบาง ก็ยังคงทําอยู แตเปนพิธีของราษฎร

การเเลกเปลี่ยนความรูระหวางวิทยากร และผูเขารวมฟงการสัมมนา พระนิสิตถาม พระโสดาบัน กับครูบา เหมือนกัน หรือตางกันอยางไร ? พระครูอดุลยสีลกิตติ์ตอบ อาจตางกัน แตโดยความเหมือนกันแลว เราก็ไมรูวาครูบาตนใด เปนอยางไร บางรูปอาจเปนโสดาบัน สกิทาคามี หรืออนาคามี คําถามทีว่ า ครูบากับพระโสดาบันนั้นเหมือนกันหรือไม ? ถาครูบารูปใดสามารถละทิฐไิ ด ๓ อยาง คือ สักกายทิฏฐิ วิจกิ จิ ฉาสีลัพพตปรามาส ก็เปนพระโสดาบันได ถาพระโสดาบันที่สามารถละทิฏฐิ ๓ ประการนี้ได ถึงแมจะไมไดรับการยกยองก็เปนครูบาได พระนิสิตถาม ปจจุบัน มีคนเรียกพระสงฆบางรูปวา “ครูบา” นั้น ถือวา เปนการ สถาปนาอยางถูกตองตามหลักพิธีเถราภิเษกหรือไม พระครูอดุลยสีลกิตติ์ตอบ ถาจะถือตามบริบทของลานนานั้น ในพื้นที่บางพื้นที่ พระสงฆ บางรูปบวชได ๑-๒ พรรษา แตเมื่อไดรับการแตงตั้งใหเปนเจาอาวาสแลว ก็ ไ ด รั บ การเรี ย กขาน “ครู บ า” แล ว เช น แต ล ะวั ด ในอํ า เภอแม ส อด เจ า อาวาสมั ก ถู ก เรี ย กขานเป น ครู บ าหมด ซึ่ ง ครู บ านี้ ไ ม ใช ส มณศั ก ดิ์ ที่จะไดรับการประกอบพิธีเถราภิเษก เชน ครูบาศรีวิชัย ก็ไมไดรับการสรง น้ําเถราภิเษกเหมือนกัน แตเขายกยองดวยความนับถือ เถราภิเษกนั้น ๗๑


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

เจาบานผานเมืองจะคัดเลือกจากครูบาที่คนนับถือนั่นแหละ ใหดํารง ตําแหนงพระมหาเถระ พระสวามี พระสังฆราชา ตําแหนงใดตําแหนงหนึ่ง ตามเจาบานเจาเมืองจะเห็นสมควร แตปจ จุบนั นี้ เราไมมเี จาบานเจาเมือง จึงเหลือเพียงสมณศักดิส์ งฆ ที่ชาวบานธรรมดาไดนับถือกันวาพระสงฆรูปนั้นเปนครูบา ดังนั้นพระ รูปไหนก็เปนครูบาได ถาศรัทธาชาวบานมีความเคารพนับถือ แตไมใชวา เรียกใหศรัทธามาประชุมแลวบอกวา ตอนนี้อาตมาอยากเปนครูบานะ ใหศรัทธาญาติโยมเรียกอาตมาวา ครูบา อยางนี้ก็ไมถูกตอง ในทํานอง เดี ย วกั น ถึ ง แม ว า พระสงฆ รู ป นั้ น จะยั ง หนุ ม น อ ยอยู ก็ เ ป น ครู บ าได หากทรงไวซึ่งศีลาทิคุณ อบรมสั่งสอนทั้งคันถธุระ หรือ วิปสนาธุระ หรือ ทรงไวซึ่งธุตังควัตร พับสาของวัดธาตุคําบอกวาผูที่จะไดรับการเถราภิเษก นั้นจะตองประกอบดวยคุณเชนนี้กอน ผูที่ประกอบดวยคุณเชนนี้ ก็คือผู ที่เปนครูบามากอนนั่นเอง จึงไดรับการสถาปนาเถราภิเษกในสมณศักดิ์ที่ สูงขึ้น พระนิสิตถาม มีความเปนไปไดหรือไม ? ถาหากจะมีการรือ้ ฟน การประกอบพิธี ยกยอเถราภิเษกขึ้นในอนาคต ? พระครูอดุลยสีลกิตติ์ตอบ ถาทุกคนรวมมือรวมใจกันทุกฝาย เมืองเชียงตุงนั้นถึงแมเขา จะไมมีเจาฟาแลว เขาก็ยังจัดพิธีเถราภิเษกกันเองได เชียงรุงก็เชนกันไมมี เจาฟาแลว เขาก็มีพิธีเถราภิเษกอยู ถาประชาชน หนวยงานทุกหนวยงาน องคกรทุกองคกร รวมแรงรวมใจกัน คัดเลือกพระเถระ พระเถรานุเถระ หรือครูบารูปใดรูปหนึ่ง ที่มีคุณสมบัติพรอมทุกประการ ปหนึ่งสัก ๑-๒ รูป แลวรวมกันสถาปนาเถราภิเษกขึ้น ก็อาจจะเปนไปได

๗๒


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

เวทีสัมมนาเรื่อง “เถราภิเษกในมิติทางสังคมและ วัฒนธรรมลานนา”

วิทยากร ประกอบดวย รศ. รัตนาพร เศรษฐกุล มหาวิทยาลัยพายัพ ศ. นิธิ เอียวศรีวงศ มหาวิทยาลัยเชียงใหม ดร. ภัคดีกุล รัตนา ผูดําเนินการสัมมนา มหาวิทยาลัยเชียงใหม

๗๓


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

รศ. รัตนาพร เศรษฐกุล ในความคิดของขาเจา (ดิฉัน) ที่มีตอคณะสงฆ พระเถรานุเถระ ทั้ ง หลายนั้ น ข า เจ า มองว า พระสงฆ ข องล า นนาเหมื อ นกั บ เป น ของ หนาหมู ตามที่วิทยากรไดกลาวไวเมื่อเชาวา หากเราจะยายหมูบาน ก็ ตองยายพระสงฆไปดวย หากตองสรางหมูบ า นใหมกต็ อ งสรางวัดใหมดว ย ดังนั้น เราจะเห็นความสัมพันธระหวางชาวบานกับพระสงฆจะมีความ ลึกซึง้ และยาวนาน ซึง่ รัฐบาลและพระมหากษัตริยก ไ็ มอาจเขามาเกีย่ วของ กับวัดที่เปนของหมูบานไดเลย เมื่อชาวบานมีความรูสึกเคารพยกยองพระสงฆองคใด ชาวบาน จะเปนผูแตงตั้ง เปนผูยกยอพระสงฆ ใหเปนครูบา แลวกราบไหวทาน เชน ในกรณีของครูบาศรีวชิ ยั หรืออาจจะมีกรณีของครูบาทานอืน่ ๆ ทีเ่ ปน พระสงฆ ที่พวกเราเคารพบูชาอยางยิ่ง นั่นจะไมเกี่ยวของกับเรื่องของ การเมืองหรือรัฐเลย เอกสารตํานานในลานนา เชน พืน้ เมืองเชียงใหม หรือชินกาลมาลีปกรณก็ดี ยังไมสามารถเขาไปถึงขอมูลที่วา องคกรสงฆนั้นมีการควบคุม กันอยางไร รัฐเขาไปควบคุมอยางไร เมื่อมีการแตงตั้งพระสังฆราช หรือ พระมหาราชครู และในลําดับสมณศักดิ์ที่ลดหลั่นกันไปนั้น เขามีการ ดําเนินงานกันอยางไร เขามีการปกครองคณะสงฆอยางไร ข า เจ า ก็ ไ ด พ ยายามศึ ก ษาเพื่ อ ที่ จ ะเปรี ย บเที ย บกั บ สิ่ ง ที่ ไ ด รู ในปจจุบันนี้ ขาเจาก็ยังไมทราบขอมูลที่แนชัด ดังนั้นขาเจาจึงสรุปเองวา ความผูกพันระหวางชาวบานกับพระสงฆนั้นมีความใกลชิดกันมากกวา ความผูกพันระหวางพระสงฆกับรัฐ จะมีพระสงฆเพียงบางสวนในเมือง ทีส่ าํ คัญๆ หรือวัดหลวงทีอ่ ยูภ ายใตการอุปถัมภของพระมหากษัตริยเ ทานัน้ ทีจ่ ะมีความผูกพันกับกษัตริย แตหลังจากนัน้ แลว จะขึน้ อยูก บั ความสัมพันธ ระหวางชาวบานกับพระสงฆ ชาวบานจะเคารพพระสงฆ จะอุปถัมภ วัดวาอารามมากนอยแคไหนนัน้ ก็ขนึ้ อยูก บั พระสงฆ ขึน้ อยูก บั วัดวาอาราม นั้น ขาเจามองในแงความสัมพันธตรงนี้ ๗๔


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

ความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น ตั้งแตอดีตจนถึงปจจุบัน สงผลให องค ก รสงฆ เปลี่ ย นแปลงไปมากเช น กั น เหมื อ นที่ ท า นวิ ท ยากร ไดกลาวไวในชวงกอนหนานีว้ า สมัยนีไ้ มมพี ธิ เี ถราภิเษกแลว เพราะเราไมมี เจานาย ไมมีกษัตริย เหมือนสมัยกอน ซึ่งนี่ก็เปนสวนหนึ่งที่มาจากการ เปลี่ยนแปลงทางดานการเมือง สภาพสังคม ที่สงผลตอการเปลี่ยนแปลง ทางวัฒนธรรมของเรา ซึง่ เราก็ตอ งยอมรับวา ตัง้ แตเกิดการรวมศูนยอาํ นาจ ที่กรุงเทพฯ เขามาปกครองดูแลบานเราแลว เขามองเห็นวาการรวมศูนย ด า นการเมื อ งนั้ น ไม เ พี ย งพอที่ จ ะควบคุ ม คนในล า นนาให เ กิ ด ความ รู สึ ก ว า เป น ประชากรของสยามประเทศได อ ย า งแน น อนและจริ ง จั ง เขาจึงคิดที่จะสรางกลไกควบคุมคนขึ้นมา กลไกที่วานั้น ก็คือการใชพระ สงฆ ซึง่ มีความใกลชดิ กับประชาชนมากทีส่ ดุ จะเห็นไดวา ความพยายามที่ จะเขามาควบคุมองคกรสงฆ โดยองคกรสงฆจากสวนกลางจะเขามาควบคุม หลังจากมีการรวมศูนยอํานาจการปกครองแลว แตการที่พระสงฆของเรา จะต อ ต า นหรื อ ไม นั้ น ก็ ไ ม ชั ด เจน ครู บ าวั ด ฝายหิ น ก็ เ คยต อ ต า น แตการที่ทานไดรับการแตงตั้งเปนสังฆนายก ก็เกิดจากความพยายามของ องค ก รสงฆ จ ากส ว นกลาง ที่ พ ยายามจะสร า งโครงสร า งที่ ใช ค วบคุ ม พระสงฆ โดยเริม่ จากพระสงฆในบานเมืองเรา แตกม็ ปี ญ  หา เพราะพระสงฆ ของเราเปนกลุม ปญญาชนทีม่ คี วามเขมแข็งทัง้ ทางดานจิตใจ และทางดาน ความรู ถือไดวา เปนกลไกทางดานสังคมทีส่ าํ คัญและยากทีจ่ ะเขาไปควบคุม พระสงฆ การที่ ค รู บ าฝายหิ น เป น ผู ท รงความรู ได รั บ การยกย อ งจาก ประชาชน ไดรับการยกยองจากเจานายทั้งหลาย เมื่อมีพระสงฆบานเรา เขาไปศึกษาที่กรุงเทพฯ แลวกลับเขามาที่บานเรา ก็พยายามทําอะไร ทีไ่ มไดผา นการรับรูร บั รองจากทานครูบา ทานก็ยอ มไมพอใจ เชนเดียวกับ ทีไ่ ดกลาวไวเมือ่ เชาวา ทีเ่ ชียงตุง การทีจ่ ะขึน้ มาเปนพระสังฆราช ขึน้ มาเปน สมเด็จอาชญาธรรม ตองรอใหอาจารยของทานมรณภาพกอน จึงตองรอ ถึงสิบป แตการเปลี่ยนแปลงที่รัฐบาลนําเขามา ซึ่งเกิดจากการที่รัฐบาล สงเสริมใหมีการเปลี่ยนแปลงองคกรสงฆ ในระยะแรก มันจึงทําใหเกิดการ กระทบกระเทือนมาก แตรฐั บาลกรุงเทพฉลาดคือ ไมไดเขามาเปลีย่ นแปลง ๗๕


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

ในทันทีทันใด แตคอยๆ เขามาเปลี่ยนแปลงในลักษณะคอยเปนคอยไป เชนเดียวกับในสมัยที่วัดปาแดงกับวัดสวนดอก มีความเห็นไมตรงกัน ในหลายๆ เรื่อง เชน การเทศน สวดมนต การบวช และมีการกลาวหา กันวา พระสงฆมีการสะสมเงิน มีพฤติกรรมที่ไมถูกตอง ตอนที่ขาเจาอาน ก็ไดนึกถึงชวงเวลาที่เกิดความแตกแยกทาง ศาสนาในบานเรา เหมือนกับความแตกแยกทางศาสนาในยุโรปเหมือนกัน ผลดีที่ไดจากการแตกแยกและความขัดแยงคือ การกลับมารื้อฟน กลับมา อานพระไตรปฎก เพื่อแกไขความคิดและการปฏิบัติใหถูกตอง ครั้นมาในชวงที่มีการรวมศูนยอํานาจนั้น ไดนําเอาการศึกษา ของสงฆ ม าเป น เครื่ อ งมื อ ที่ จ ะชั ก นํ า ให บ รรดาพระสงฆ ผู ท รงความรู เห็นความสําคัญของการศึกษา พัฒนาตนเองทางดานการศึกษา แตตอ มา ในระยะหลัง พระสงฆทมี่ คี วามรูม ากขึน้ จะไดรบั การตอบแทนจากรัฐบาล เชน การใหเงินเดือนหรือนิตยภัตร เปนตน ซึ่งก็จะเริ่มมีโครงสรางทาง คณะสงฆที่เขามาควบคุมพระสงฆลานนาอยางเปนลําดับขั้น หากดูโครงสรางที่เกิดขึ้นจากการรวมศูนยอํานาจทางการเมือง จะเห็นวา มีขาหลวงใหญ ของเขาก็จะมีเจาคณะมณฑล มีขาหลวงเมือง ก็จะมีเจาคณะจังหวัด มีนายแขวง ก็จะมีเจาคณะอําเภอ ซึ่งไดกลายเปน ระบบการปกครอง ซึ่งแยกสวนออกไปจากอํานาจรัฐก็จริง แตผูที่ควบคุม อํานาจสงฆคือ มหาเถรสมาคม รวมถึงพระสังฆราชนั้น ซึ่งก็เหมือนกับวา ทานเหลานั้น ไดรับการหลอหลอมแนวคิดความรักชาติแบบสมัยใหม เพื่อตองการสรางความเปนปกแผนในประเทศชาติ เพราะฉะนั้น เวลาที่ สมเด็จพระสังฆราชมาตรวจราชการหัวเมืองในภาคเหนือ เชือ่ หรือไมวา สิง่ ที่ทานเทศนนั้น ทานไมตอตานพิธีกรรม เนื้อหาที่ทานเทศนนั้น จะเทศน แบบสมัยใหม เทศนใหคนยอมรับเรือ่ งการเสียภาษี นับถือพระมหากษัตริย ใหประพฤติตนเปนคนดี ซึ่งลักษณะการเทศนเชนนี้ เปนการเทศนแบบ กรมประชาสัมพันธ คือตองการจะสรางพลเมืองที่ดี เพื่อตอบสนองความ รักชาติ สรางความเปนอันหนึ่งอันเดียวกัน ปรากฏวา เมื่อทานเสด็จขึ้น มาทางเหนือ ทานมาถึงที่เมืองแพรเทานั้น เรื่องที่นาสงสัยคือ ทานเสด็จ มาทีเ่ มืองแพร ในขณะทีก่ บฏเมืองแพรเพิง่ ยุตลิ งไปประมาณสิบป ขาพเจา ๗๖


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

คิดวา รองรอยของการตอสูในสมัยนั้นยังอยูในจิตใจของคนหลายๆ คน แตวาไมมีการพูดถึงเรื่องนี้เลย มีพอคาชาวไทใหญ มีพระสงฆ มีเจานาย ทั้งหลาย ไปตอนรับทาน ถึงแมทานจะไปถึงแคเมืองแพร แตพระสงฆ ทางเชียงใหม ลําปาง ก็ไปตอนรับทานดวย อยางไรก็ตาม ในชวงนั้นพระสงฆบานเรายังไมใหความสนใจ กับองคกรสงฆสวนกลางเทาใดนัก แตก็มีพระสงฆบางสวนลงไปศึกษาที่ วัดบวรนิเวศฯ แลวก็กลับมาเผยแพรแนวทางการศึกษา แนวทางการปฏิบตั ิ ของธรรมยุตนิกาย แตก็ไมแพรหลายมากนัก เพราะการเปลี่ยนแปลง ตองอาศัยพระสงฆที่ไดรับการเคารพนับถือจากชาวบาน และพระสงฆ ในลานนาเปนสําคัญ เราจะเห็นวาครูบาวัดฝายหิน ทานไดรับนิมนตใหไปกรุงเทพฯ เพื่อแกขอกลาวหาวาทานตอตานอํานาจของรัฐ ซึ่งทานก็ตอตานจริง เพราะกอนที่ทานจะไปกรุงเทพฯ ทานไดสั่งลูกศิษยไววาไมใหเปลี่ยน ระเบี ย บต า งๆ จนกว า ท า นจะกลั บ มา แต ห ลั ง จากที่ ท า นลงไปแล ว ท า นก็ ไ ด รั บ การปฏิ บั ติ อ ย า งดี ที่ ก รุ ง เทพฯ และท า นก็ ค งเข า ใจระบบ การศึกษาของพระสงฆในกรุงเทพฯ เมื่อทานกลับมา ทานก็ยอมรับ และ คอยๆ ปรับเปลี่ยนระเบียบ รวมทั้งไดสงลูกศิษยของทานไปศึกษาที่ กรุงเทพฯ พระสงฆที่ไปรับแนวคิด รับการศึกษาจากกรุงเทพฯ กลับขึ้นมา ก็ไดรับตําแหนงเจาคณะจังหวัดตอจากทานครูบาวัดฝายหินดวย จะเห็นไดวา กรุงเทพฯ นี้ พยายามเปลีย่ นแปลงองคกรสงฆลา นนา แบบคอยเปนคอยไป ซึง่ เกิดจากการเปลีย่ นแปลงทางสังคมและวัฒนธรรม การเปลี่ยนแปลงทางการเมืองอยางเดียวไมสามารถหลอหลอมจิตใจ ของคนได ตองนําการศึกษาเขามา ดังคําทานหนึ่งเคยกลาววา การที่จะ ทําใหลาวเชียงใหมเชื่องได ก็ตองสงเด็กเขาโรงเรียนใหหมด ในทํานอง เดี ย วกั น เขาต อ งการให พ ระสงฆ ล า นนาเข า ไปอบรมศึ ก ษาตามแบบ ฉบับของกรุงเทพฯ เพื่อที่พระสงฆเหลานั้นจะไดรับคําสั่งจากกรุงเทพฯ และสรางความเปนอันหนึง่ อันเดียวกันในทางสังคมได แลวก็ปรากฏวาเขาก็ ใชพระสงฆเปนครูบาอาจารยในการสอนลูกหลานทัง้ หลาย โดยนําหลักสูตร มาจากกรุงเทพฯ เหมือนกัน อันนีก้ เ็ ปนวิธกี ารปรับเปลีย่ นความคิด ซึง่ เมือ่ ๗๗


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

การเมืองเปลี่ยน สังคมก็เปลี่ยนไป เด็กๆ จากที่ตองบรรพชาเปนสามเณร กลับตองเขารับการศึกษาในภาคบังคับ ดังนัน้ จํานวนสามเณรก็ลดนอยลง พระสงฆก็ลดนอยลง และพระสงฆที่เกงๆ ที่เคยเปนครูบาอาจารย ทานก็ เห็นแนวทางที่จะออกไปเปนฆราวาส ประกอบอาชีพที่มีเกียรติ มีศักดิ์ศรี อยูในสังคมได มีคนไหวเหมือนกัน ไมตองเปนพระสงฆก็ได ซึ่งเหตุการณ เชนนี้ ไดสงผลกระทบตอสถาบันสงฆของบานเรามาก แตก็ยังมีผลกระทบ นอยอยูเมื่อเทียบกับที่อื่น ขาเจาเห็นพระสงฆบานเรา ก็ยังชื่นใจวา มีพระสงฆจํานวนมาก ที่ทานยังมีวัตรปฏิบัติที่งดงาม ที่ทําใหศรัทธาชาวบานเคารพนับถืออยู เมื่อขาเจาไปที่อื่น เชน ที่สิบสองพันนา เมื่อเดือนที่แลว ก็ไดไปที่วัด เพื่อศึกษาความเปนไปตางๆ วา มีการเปลี่ยนแปลงอะไรบาง มีพับที่ เกี่ยวของกับประวัติศาสตรหลงเหลืออยูหรือไม ขาเจาไดไปที่เมืองนูน ซึ่งเปนเมืองเล็กๆ อยูใกลๆ เชียงรุง ไปถึงประมาณสิบโมงเชาและไดถาม เด็กๆ แถวนั้นวา “ตุหลวง” (เจาอาวาส) อยูหรือเปลา ? เด็กๆ ก็มองหนา เพราะไมเขาใจคําวา “ตุหลวง” คืออะไร จึงตองถามใหมวา “ตุพระ” อยูหรือเปลา ? จะเรียกวาพระอยางเดียวไมได เพราะคําวา พระ หมายถึง สามเณร เด็กก็บอกวา อยูในหองกําลังหลับอยู ขาพเจาก็คิดวาสิบโมงแลว พระสงฆ ยั ง หลั บ อยู อี ก หรื อ หลั ง จากนั้ น ก็ ถ ามชาวบ า นว า ที่ นี่ ไมมีการใสบาตรหรือ ? ชาวบานก็บอกวา ไมมี แตชาวบานจะนําอาหาร ไปสงใหพระสงฆที่วัดเปนครั้งคราวเอง แลวก็ถามเด็กๆ แถวนั้นอีกวา ไมบวชเปนสามเณรหรือ ? เด็กก็บอกวา ไมบวช พอถามพอแม ก็บอกวา จะบวชไดอยางไร ปจจุบนั สิบสองพันนา วัฒนธรรมขาวไมมแี ลว ทีด่ นิ ทีน่ า เขาให ค นจี น เช า สํ า หรั บ ปลู ก กล ว ย ส ว นบนดอยก็ ป ลู ก ต น ยางซึ่ ง ทํ า รายไดเปนอยางดี ไมตองเหนื่อยกับการปลูกขาว ซึ่งวัฒนธรรมเกี่ยวขาว ก็เริ่มสูญไป เชน พิธีทําขวัญขาว เปนตน สิ่งเหลานี้คือปญหาที่เกิดจาก ระบบเศรษฐกิจทีเ่ ปลีย่ นแปลงไปของจีน ทีส่ ง ผลกระทบกับพระพุทธศาสนา อย า งรุ น แรง เนื่ อ งจากทั้ ง เด็ ก และวั ย รุ น ต า งก็ ไ ม มี ค วามคิ ด ที่ จ ะบวช หากบวชแลว พอแมก็นําขาวหรืออาหารไปสงใหลูกหลานของตนเทานั้น แตในกรณีที่ชาวบานเชิญมา ก็สงขาวเหมือนกัน อยางตุที่สิบโมงแลว ๗๘


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

ยังไมตื่นนี้ มีแมเฒามาถาม ทานเปนคนบานนี้หรือไม ? ทานก็ตอบวา มาจากเมืองยอง มาดวยกัน ๒ รูป ชาวบานนิมนตมาอยู ก็เลยอยูที่วัดนี้ ปญหาเหลานี้สืบเนื่องมาจากจีนมีการปฏิวัติวัฒนธรรม มีการ เผาวัด เผาพับสา เผาใบลาน ซึ่งคนที่อายุประมาณ ๔๐-๕๐ ป ที่ควรจะ เปนกําลังสําคัญของพระพุทธศาสนา มันก็ไมมี วัดวาอารามมีแตหยากไย แมงมุม มันจะมีงาน ก็งานขึ้นธาตุ งานประจําปเทานั้น หรือหากจะไป ถวายอาหาร ก็ไมมีแลว ถาถามวา ชาวบานไมนับถือแลวหรือ ปรากฏวา จะนับถือเฉพาะตอนมีงานเทศกาลเทานั้น ขาเจาคิดวาเศรษฐกิจของเขา รุงเรืองมาก สังเกตไดจากใตถุนบานมีทั้งรถยนต และรถมอเตอรไซด เอาไวบรรทุกน้ํายาง มีรถกระบะเอาไวสําหรับขนของ เปนตน จากความ ร่ํ า รวยของเขานี่ เ องที่ ทํ า ให ไ ม มี เวลาให กั บ พระพุ ท ธศาสนา ถ า วั ด ใด พระเณรมาเรียนหนังสือที่บานเรา วัดนั้นจะดี อยางที่เมืองลวง วัดรองคือ วัดทารือ พระสงฆเคยมาเรียนที่บานเรา วัดก็จะเรียบรอย รมเย็นดี วั ฒ นธรรมของชาวสิ บ สองป น นาก็ จ ะเริ่ ม สู ญ หายไป ถ า ไม มี พระพุทธศาสนา ก็จะกลายเปนวัฒนธรรมจีนไป เศรษฐกิจทีเ่ ปลีย่ นแปลงไป ก็ ทํ า ให สั ง คมเปลี่ ย นแปลง ที่ สํ า คั ญ ป จ จุ บั น จี น จะบั ง คั บ ให เ ด็ ก ไทลื้ อ เขารับการศึกษาภาคบังคับ สงผลใหภาษาไทลือ้ ก็จะคอยๆ สูญไป กลายเปน ภาษาจีนแทน ในเชียงตุงเอง พมาก็กดขี่มาก ไมเคยพัฒนาใหเชียงตุงดีขึ้นเลย ถนนไปเชียงตุง หรือถนนจากเชียงตุงไปเมืองลา ไดรบั การพัฒนาเปนอยางดี แตถนนในเชียงตุง มีแตหลุมมีแตบอ แตสิ่งที่ตรงกันขามคือ พระพุทธศาสนาในเชียงตุงยังคงรักษาวัฒนธรรมแบบดั้งเดิมไวไดมากกวาที่อื่นๆ ดีกวาลานนาเราดวย ขาเจากําลังพยายามจะเปรียบเทียบการเปลีย่ นแปลง ของลานนา ซึง่ ยังอยูใ นระดับกลางๆ เพราะวาเราไมไดถกู ลมลางพระพุทธศาสนาเหมือนสิบสองพันนาทีถ่ กู เผาวัด แลวกลายเปนโรงเก็บขาว แตลา นนา ไมไดโดนเชนนั้น กับเชียงตุงไมมีอะไรเปลี่ยนแปลงเลย หรือหากจะมีการ เปลีย่ นแปลง ก็มนี อ ยมาก จะเห็นไดวา การเปลีย่ นแปลงเชนนี้ มีผลกระทบ กับสถาบันสงฆอยางที่ไดกลาวไปแลวขางตน ๗๙


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

ศ. นิธิ เอียวศรีวงศ ขอเริ่มตนที่ความสัมพันธระหวางคณะสงฆหรือนักบวชกับรัฐ กอน ที่จะพูดถึงเรื่องเถราภิเษก นักบวชในทุกศาสนา ทุกสังคม ที่จริงแลว มีอํานาจทั้งในการเมืองและเศรษฐกิจมาก เนื่องจากนักบวชเปนผูที่ได เกียรติยศ หรืออํานาจ หรือแมแตทรัพยกม็ าก ไมใชผา นผูป กครอง แตไดมา โดยผานประชาชนโดยตรง เชน บางคนทําบุญดวยการถวายที่ดิน เปนตน วัดครอบครองทีด่ นิ โดยทีพ่ ระเจาแผนดินไมไดมอบให แตชาวบานมอบให เศรษฐีมอบให หรือพระเจาแผนดินองคนี้มอบให แตลูกหลานของพระเจา แผนดิน หรือคนที่สืบตอมา ไมไดเปนผูมอบให แตตกเปนของวัดไปแลว หากดูในทุกสังคม จะเห็นวาสถาบันศาสนา หรือองคกรศาสนา เปนเศรษฐีคนหนึ่งของสังคม ยิ่งเปนศาสนาที่มีการจัดองคกรอยางดี ก็ยิ่งร่ํารวย คนที่ใหเงินกูจํานวนมากในโลกทุกวันนี้คือ ผูนําองคกรทาง ศาสนาใหญๆ ซึ่งเปนเจาของเงินกู ใหกับธุรกิจมากมายในโลก องค ก รสงฆ ข องเรา หากมี ก ารจั ด การที่ ดี ก็ มี ไ ม น อ ยเช น กั น แตบังเอิญการจัดการของเรายังไมดี จึงทําใหเงินของพระนั้นไมงอกเงย ถาพระถอนเงินจากธนาคารใด ธนาคารนั้นลมเลย เพราะฉะนั้น มันจึง มีอํานาจสูงมาก จึงทําใหผูปกครองของสังคมทุกแหงตองคิดวิธีวา จะทํา อยางไรกับกลุมนักบวช การจัดการเทาที่คิดไดมี ๓ อยาง คือ ๑. ผูปกครองเปนนักบวชเอง เปนสังฆราชเอง ซึ่งลักษณะเชนนี้ มักพบในประเทศอียปิ ต พระเจาฟาโรหเปนคลายๆ กับหัวหนาของนักบวช ทั้งหมดของอียิปต และอาจจะพบไดในประเทศจีนดวย จักรพรรดิจีน เปนคนเดียวในสังคมจีนที่จะสามารถทําพิธีบูชาฟาประจําปได ดังนั้น หากไมทําพิธีบูชาฟา ประเทศจีนก็อยูไมได โดยผานพิธีกรรมนี้ นี่คือ ตัวอยางของระบอบการปกครองที่อิงกับศาสนา ๒. การแบ ง อํ า นาจซึ่ ง กั น และกั น วิ ธี นี้ พ บได ใ นยุ โ รปสมั ย กลาง พระสันตะปาปาแหงกรุงโรม ใชวิธีอางวาพระเจาแผนดินยุโรปทุก พระองค ตองเปนผูท พี่ ระสันตะปาปาเปนผูแ ตงตัง้ เทานัน้ พระสันตะปาปา เปนเสมือนตัวแทนสาวกของพระเยซู หรือเรียกงายๆ วา พระเจาบนโลก ๘๐


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

แลวแตงตัง้ ผูใ ดเปนพระเจาแผนดิน ก็แสดงวาพระเจาแผนดินนัน้ เปนคนที่ พระเจ า ให อํ า นาจมาแต ง ตั้ ง แต เ นื่ อ งจากว า พระเจ า สถิ ต อยู ไ กลมาก เวลาใหอํานาจ ก็จะใหผานพระสันตะปาปา ดังนั้น พระสันตะปาปา จึงเปนผูใหหรือถอนอํานาจไดดวย ทําใหตัวพระนักบวชในยุโรปสมัยหนึ่ง จึงมีอํานาจมากทางดานการปกครอง พระเจาแผนดินจึงตองระวังรักษา อํานาจของตนเองไมใหสูญเสียมากไปกวานั้นอีก จึงมีการแบงสรรอํานาจ ระหวางผูปกครองที่เปนฆราวาสหรือเปนคนธรรมดา กับพระซึ่งจะเปน ในทองถิ่นหรือในระดับประเทศ ระบบแบงปนอํานาจที่วานั้น เปนระบบที่ไมคอยจะมีเสถียรภาพ มากนัก เพราะเปนธรรมดาทีพ่ ระกับฆราวาสจะตีกนั อยูเ สมอ เชนในญีป่ นุ สมัยหนึ่ง พระในพุทธศาสนาสรางวัดเปนปอม เพื่อจะยกพวกไปตีกับ ขาราชการหรือขุนนางประจําทองถิ่นตางๆ เพื่อแกงแยงภาษีกัน เปนตน ดังนัน้ ระบบแบงอํานาจเปนระบบทีไ่ มคอ ยมีเสถียรภาพมากนัก ในทีส่ ดุ แลว คงตองมีใครสักคนหนึ่งสามารถเอาชนะอีกฝายหนึ่งจนได อยางในกรณี ยุโรป เพราะในที่สุด ฝายฆราวาสก็สามารถเอาชนะพระหรือฝายศาสนา ได โดยเฉพาะอยางยิง่ ทีอ่ าจารยรตั นาพรไดพดู ถึง หลังจากการเกิดกระแส แนวคิดความรักชาติแลวนั้น ก็มีการอางตัวเองขึ้นมาใหม อีกนามหนึ่ง อีกชนิดหนึ่งที่ไมผูกติดตัวเอง เขากับพระผูเปนเจา แลวก็มีอํานาจของ ตัวเองอยางเต็มที่ หรือแบงอํานาจกันอยางไมซับซอน ๓. ผูปกครองตองหาทางควบคุม ซึ่งวิธีที่จะควบคุมพระสงฆ หรือนักบวชนั้นไมงาย แตก็มีวิธีหลายวิธีดวยกัน ผมจัดใหประเทศไทย อยูในสวนนี้คือ สวนของความพยายามที่ผูปกครองจะเขาไปควบคุม พระสงฆในพระพุทธศาสนา จะควบคุมโดยตรงตามที่อาจารยรัตนาพร พูดถึง หลังจากการปฏิรูปศาสนาในสมัยรัชกาลที่ ๕ แลว หรือควบคุม โดยออมก็ตาม แลวแตวิธีการในการควบคุมคณะสงฆ อยางที่ทุกทานหรือหลายทานไดทราบอยูแลว วิธีการจัดองคกร ของพระสงฆ ใ นพุ ท ธศาสนานั บ ตั้ ง แต พุ ท ธกาลเป น ต น มา ถ า เราอ า น พุทธประวัติ ถาอานเฉพาะภาษาไทย จะพบวาคลายกับพระพุทธเจา ทรงเป น พระสั ง ฆราชคอยออกคํ า สั่ ง แต ใ นทางปฏิ บั ติ จ ริ ง ถ า อ า น ๘๑


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

พระไตรปฏก ในเรือ่ งราวเกีย่ วกับพุทธประวัติ ในพระสูตรตางๆ จะเห็นวา วิธกี าร บริหารคือ การบริหารผานสํานักอาจารย ไมวาจะเปนพระโมคคัลลานะ พระสารีบุตร หรือพระเถระชั้นผูใหญทั้งหลาย ลวนแตเปนผูที่มีศิษยอยูใน สังกัดของตนเองจํานวนมาก ดังนั้น พระวินัยที่พระพุทธเจาทรงบัญญัติ เอาไววา จะตองทําอะไร อยางไรนั้น ถามวา ไดเผยแพรไปถึงพระสงฆ ชั้นผูนอยและถูกปฏิบัติตามไดอยางไร คําตอบ คือผานจากสํานักอาจารย เหลานั้นที่จะคอยควบคุมลูกศิษย ใหปฏิบัติตามพระวินัยนั่นเอง ลักษณะการจัดองคกรในลักษณะที่เปนสํานักอาจารยสืบทอด ตอมาในสังคมพุทธเถรวาทเกือบทุกแหงเหมือนกันหมด และสืบทอดมา จนกระทั่งถึงปฏิรูปศาสนาในสมัยรัชกาลที่ ๕ อยางที่อาจารยรัตนาภรณ พูดถึงเชนกัน มันจะมีสํานักของอาจารยที่เผยแพรบางแหง มีการเผยแพร ขามเมืองไปในอาณาบริเวณที่กวางขวางมาก ในเชียงใหมเองก็มีสํานัก อาจารย ซึ่งถูกเรียกวานิกายนั้น ประมาณ ๒๐ กวา ซึ่งมีความแตกตางกัน ในเรื่องของวิธีการสวด ทํานองการสวด หรืออื่นๆ เหลานี้ คือการสืบทอด มาจากสํานักอาจารยที่แตกตางกัน บางสํานักอาจารยอาจจะมาจาก เชี ย งแสน บางสํ า นั ก อาจารย อ าจจะมาจากที่ อื่ น ๆ แล ว เรี ย กนิ ก าย ที่ ต า งกั น ออกไป นี่ คื อ ลั ก ษณะเด น ของการบริ ห ารงานในคณะสงฆ ที่สบื ตอกันมา แล ว ก็ มี ค วามพยายามของรั ฐ ไทยตั้ ง แต ใ นสมั ย สุ โขทั ย มาเลย ก็วาได ในการที่จะเขาไปขอแบงอํานาจกับกลุมสํานักอาจารยเหลานี้ เหมือนกัน มีจารึกสุโขทัยหลักหนึ่งที่บอกวา วัดแหงหนึ่งที่มีการสืบทอด ตําแหนงเจาอาวาส ซึ่งตัวเจาอาวาสของวัดนั้น ถาเรียกตามภาษาเหนือ อาจเรียกวา เปนหัววัด คือวัดทีม่ วี ดั อืน่ ๆ มาขึน้ ดวยจํานวนมาก พูดงายๆ วา หนึ่ ง สํ า นั ก อาจารย ใ หญ ที นี้ จ ะมี ก ารสื บ ทอดตํ า แหน ง ของหั ว หน า ของสํานักอาจารยใหญ คือการสืบทอดตําแหนงของเจาอาวาสวัดที่เปน หัววัดนั่นเอง จะสืบกันอยางไร พระสงฆรูปหนึ่งที่ปรากฏในจารึกใกลจะ มรณภาพไดมอบสังฆาฏิ กับบาตรและไมเทา ใหกับเจาอาวาสองคตอไป ตัวทานเองก็ไดรับสังฆาฏิ บาตร และไมเทามาจากอาจารยของทาน อีกทีหนึ่ง คือ อาจารยทานนั่นเอง ที่แตงตั้งทานใหเปนอาจารยใหญ ๘๒


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

ตอมา ครัน้ ตอมาทานก็แตงตัง้ คนถัดมาเปนอาจารยใหญ จะสังเกตเห็นวา รัฐไมไดเขามาเกีย่ วของเลย แตบงั เอิญโชคราย กลาวคือวา ศิษยทอี่ ยูใ นวัด ๒ รูป เกิดมาแยงชิงกันเปนอาจารยใหญ ทานก็เห็นวามันเริ่มยุงยากขึ้น หากทานแตงตั้งลูกศิษย ก. มาเปนอาจารยใหญของวัด เปนเจาอาวาสวัด ลูกศิษย ข. ซึง่ อยากจะแยงอํานาจอยูแ ลว ก็จะมาแยงอํานาจไดในภายหลัง เพราะมันมีการใชระบบประชานิยม มีคนสนับสนุนอยูมาก แตทานก็เพิ่ง จะบอกไปวา ลูกศิษย ก. จะไดเปนเจาอาวาสตอไป ทานจึงไปเชิญกษัตริย สุโขทัย ใหมานัง่ ในพิธเี ถราภิเษก ในการใหอาํ นาจแกพระลูกศิษย ก. รูปนัน้ เจาเมืองสุโขทัย ก็รบี มาทันที เพราะเห็นวาเปนโอกาสทีจ่ ะเขามามีบทบาท มีอํานาจภายในวัดนั้นได โดยมาเปนแคสักขีพยานเทานั้นเอง ไมไดเปน ผูแตงตั้งอะไรเลย เพียงแตมาเปนสักขีพยานยอมรับวา ลูกศิษย ก. เปน เจาอาวาสวัดสืบตอมา ทําจารึกไวใหเรียบรอยเลย หมายความวา เริ่ม อิงอาศัยอํานาจรัฐในการค้ําจุนเสถียรภาพหรือความมั่นคงของสํานัก อาจารยนั้นนั่นเอง ผมคิ ด ว า มี ค วามจํ า เป น ที่ ต อ งเข า ใจพิ ธี เ ถราภิ เ ษกในกรณี ที่ เกี่ ย วกั บ รั ฐ จากกรณี ข องความพยายามที่ จ ะเข า ไปมี อํ า นาจ แล ว ใช เถราภิ เ ษกซึ่ ง เป น พิ ธี ก รรมชนิ ด หนึ่ ง ซึ่ ง พิ ธี ก รรมนั้ น ไม ไ ด ทํ า กั บ ผี หรือเทวดาเทานั้น จริงๆ แลว หัวใจของพิธีกรรมนั้นเขาทํากับมนุษย เปนเสมือนทีวชี อ ง ๑๑ ชนิดหนึง่ ในการเผยแพรใหคนรู ในการใหคนยอมรับ และอื่นๆ เปนเรื่องสําคัญคอนขางมาก นอกจากนั้น ในภาคกลาง คืออาณาจักรอยุธยาเอง ก็มีตําแหนง พระสังฆราชเกาแกมาก แตพระสังฆราชนั้น ถาพูดถึงภาษาสมัยปจจุบันนี้ เรียกวา เจาคณะมณฑล หรือเจาคณะจังหวัดเทานั้น และพระสังฆราช ที่พระเจาแผนดินอยุธยาแตงตั้งขึ้นนั้น พระเจาแผนดินเองก็อาจไมได แตงตั้งตามใจชอบของตัวเอง หรือทานจะมาบอกวาเอาพระสงฆจาก อยุธยาขึน้ มาเปนพระสังฆราชแถวเมืองอุตรดิตถ ซึง่ โบราณเรียก สวางคบุรี หรือเมืองฝาง เปนตน ก็ไมได เพราะจะไมมปี ระชาชนและพระสงฆในเมือง สวางคบุรี ใหความนับถือหลวงพอรูปนั้นเปนอันขาด ในที่สุด จึงตอง แตงตัง้ พระสงฆทเี่ ดนๆ ดังๆ หรืออาจจะเกงในเรือ่ งคาถาอาคม หรืออะไร ๘๓


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

ก็แลวแต ที่อยูในเมืองสวางคบุรีขึ้นมาเปนพระสังฆราชมาประจําเมือง สวางคบุรี และตอนทีพ่ ระองคไดทราบอยูแ ลววา เมือ่ ตอนแตงตัง้ เจาพระฝาง หรือพระสังฆราชเมืองฝางนั้น ก็ตั้งตัวเองขึ้นมาเปนใหญอีกชุมชนหนึ่ง ที่จะแยงอํานาจกันในหมูคนไทยทั้งหลายในประเทศไทย เปนตน สิ่งที่ตองการชี้ใหเห็นในกรณีเชนนี้คือ แมแตการปกครองคณะ สงฆในสมัยอยุธยาซึง่ มีทาํ เนียบสมณศักดิแ์ ลว แตสงิ่ เหลานัน้ เปนทําเนียบ สมณศักดิข์ องพระสงฆทอี่ ยูใ กลๆ ในอยุธยาดวยกันเอง เชน วัดราชบูรณะ วัดพนัญเชิง เปนตน แตไมไดไกลถึงเมืองสวางคบุรี หรือเมืองฝาง จริงๆ แลว เทากับวา พระเจาแผนดินอยุธยายอมรับอํานาจทีม่ อี ยูแ ลว คืออํานาจของ พระสังฆราชเมืองสวางคบุรี ไมไดไปจากอยุธยา แตมีอยูแลวในสวางคบุรี แตอยุธยามาไดขอมีสวนรวมดวยตางหาก ไมใชอํานาจอยางที่เรารูจัก ทุกวันนี้ อยูๆ  จะไปสัง่ ใครก็ไมรู จากนครศรีธรรมราชมาเปนเจาคณะจังหวัด เชียงใหม เปนไปไมได ในสมัยนั้น ฉะนั้น โครงสรางการบริหารของคณะสงฆหรือบรรดาศักดิ์ของ พระสงฆจึงสืบตอมา จนกระทั่งถึงสมัยปฏิรูปศาสนาสมัยรัชกาลที่ ๕ ที่อาจารยรัตนาพรพูดถึง ลวนแตเปนโครงสรางที่คอนขางหลวมๆ และ พื้นฐานที่แทจริงคือสํานักอาจารยที่มีอยูตลอดมา แลวโครงสรางของรัฐ พยายามทีจ่ ะเขาไปครอบครองบาง เขาไปมีสว นรวมบาง อะไรตางๆ เหลานี้ เทานั้นเอง ฉะนัน้ เราจะพบไดวา ประเพณีเถราภิเษก ไมวา เปนของภาคเหนือ ภาคอีสาน และในความเปนจริงแลว ผมเชื่อวาในภาคกลาง ภาคใตดวย แตไมไดมีการศึกษา แตในภาคเหนือและภาคอีสานนั้นมีการศึกษาอยาง ชัดเจนเลย ซึ่งมีการเหลื่อมซอนทับกันอยูระหวางฐานันดรของพระสงฆ นั้นวา อันหนึ่งมาจากอํานาจของรัฐ และอีกอันหนึ่งมาจากอํานาจของ ประชาชน สองอยางนี้จะคานกันอยูตลอดเวลา ไมใชแบบในปจจุบันนี้ ที่มีอํานาจของรัฐเทานั้นเปนผูมากําหนดฐานันดรของพระสงฆ ในภาค อีสานนัน้ ผมคิดวาจะเห็นไดคอ นขางชัดเจนมากวา ภาคอีสานนัน้ เขาแบง ยศถาบรรดาศักดิ์ของพระสงฆ ออกเปน ๒ ประเภทดวยกัน คือ ๘๔


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

๑. ฝ า ยปริ ยั ติ แล ว ไม ใช ป ริ ยั ติ อ ย า งที่ เราใช กั น ในป จ จุ บั น นี้ หมายความกว า งๆ คื อ ความรู ใ นพระพุ ท ธศาสนาซึ่ ง รวมทั้ ง ปริ ยั ติ และปฏิบตั ิ ตําแหนงหรือฐานันดรของพระสงฆนนั้ ประชาชนเปนผูก าํ หนด ๒. ตําแหนงดานบริหาร อันนีแ้ หละ พระเจาแผนดินจากเวียงจันทร หรือจากหลวงพระบางก็แลวแต จะเปนผูแ ตงตัง้ แตกไ็ มไดแตงตัง้ ขึน้ เฉยๆ จะตองแตงตั้งไดเฉพาะพระสงฆที่มีบรรดาศักดิ์ ที่ประชาชนแตงตั้งไวแลว ดังนั้น จึงมีการคานกันอยูในระหวางทั้ง ๒ ฝายนี้ หรือแมแต ตําแหนงบริหารนัน้ พระเจาแผนดินลาวก็ไมไดคดิ เอง ตองไดรบั การเสนอชือ่ มาจากประชาชนระดั บ ล า งขึ้ น ไปข า งบน แล ว ก็ ผ า นฝ า ยบริ ห ารของ พระสงฆเชนเดียวกัน แลวจึงกราบทูลวาพระสงฆรูปนี้มีความเหมาะสม ควรไดรบั การดํารงฐานันดรศักดิ์ สรุปคือ มีอาํ นาจของประชาชนคอยคานอยู หรือเปนผูกําหนดที่มีความสําคัญตอการแตงตั้งสมณศักดิ์ในภาคอีสาน ตลอดมา จนกระทั่งถึงการปฏิรูปคณะสงฆในสมัยรัชกาลที่ ๕ นอกจากนี้แลว ถึงแมวาพระสงฆที่อยูในตําแหนงบริหารจะถูก แตงตั้งมาจากบานเมือง แตในทางปฏิบัติจริงแลวก็ไมไดมีอํานาจแทจริง ในการที่จะเขาไปแทรกแซงหรือสั่งการกับพระสงฆทั่วไปในทองถิ่นได แตคนที่มีอํานาจสั่งไดจริงคือตัวสํานักอาจารย ที่ทางเหนือเรียกวา หัววัด ซึ่งมีวัดตางๆ ขึ้นตรงเปนสําคัญ ในภาคเหนือก็คลายๆ กับภาคอีสาน แตมกี าํ หนดทีค่ อ นขางชัดเจน เชน ในภาคเหนือกําหนดวา ตองบวชอยางนอย ๓๐ ป หรือ ๕๐ ป เปนตน ซึ่งตองบวชนานมาก แสดงวาประชาชนคอยตรวจสอบ จึงสามารถบวช อยูไดถึง ๓๐ ป ซึ่งก็ตองเปนพระดีแลว เนื่องจากประชาชนตรวจสอบมา ๓๐ ปแลว ก็ยงั ดีอยูต ลอดมา ทําถูกตองตามธรรมวินยั มาตลอด เชนนีเ้ รียกวา เปนการพิสจู น จึงใชเปนคุณสมบัตเิ ชนนีใ้ นการเลือ่ นสมณศักดิ์ มาจากการที่ ทานไดพิสูจนตัวทานเองแลว ไมใชใบประกาศนียบัตร หรือใบปริญญา ปจจุบันนี้ บางรูปอาจจะขึ้นฐานันดรศักดิ์ได โดยใบประกาศนียบัตร หรือ ปริญญาบัตร แตสมัยกอนไมใช ประชาชนจะคอยตรวจสอบวาเปนพระ ที่ น า นั บ ถื อ หรื อ ไม ทางเหนื อ ค อ นข า งที่ จ ะใช ม าตรฐานบางอย า ง ที่ ป ระชาชนสามารถตรวจสอบได ม ากกว า ภาคอี ส าน ภาคอี ส านนั้ น ๘๕


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

ใชความเห็นของคนในทองถิ่นมากกวา ทีนี้ ยอนกลับมาดูตวั พิธกี รรมเถราภิเษก ทัง้ ในภาคเหนือและอีสาน นัน้ จัดโดยประชาชน ไมใชพระสงฆจดั เอง ไมใชวดั จัดเอง ไมใชลกู ศิษยหลวง พอจัดให แตประชาชนเปนผูจัดขึ้นเอง และตัวพิธีกรรมนั้น ประชาชนก็มี บทบาทมากทีเดียว ตัง้ แตเปนผูจ ดั เปนผูไ ปนิมนตพระ อยางในภาคอีสาน นัน้ เชน พระรูปนี้ ไดรบั การแตงตัง้ เปนซาคูหรือฌา พระทีจ่ ะมารวมพิธี ใน การทีจ่ ะจูงไปสรงน้าํ ตองมีพระถึง ๙ รูป ตองเปนพระทีส่ งู กวาซาคูหรือฌา พระที่ต่ํากวาซาคูหรือฌาจะมาเถราภิเษกซาคูหรือฌาูนั้น ไมได เปนตน ฉะนัน้ ชาวบานตองไปหาพระทีฐ่ านันดรสูงกวา ซึง่ การทีพ่ ระจะวางตรงกัน ถึง ๙ รูปนัน้ ไมใชเรือ่ งงาย กวาจะหามาใหครบและพรอมเพรียงกันได และ บางรูปก็แกเกินไป กวาจะเดินทางมารวมงานได เปนตน พิ ธี เ ถราภิ เ ษกนั้ น ทํ า กั น ในท อ งถิ่ น โดยชาวบ า นจั ด ในชุ ม ชน ของชาวบาน ชาวบานมีบทบาทมาก แมแตของที่ถือวาเปนสิ่งศักดิ์สิทธิ์ ในการทําพิธีก็เปนของที่ผลิตขึ้นเองในหมูบานทั้งสิ้น บางอยางเปนของ ที่ใชแลวตองเก็บเอาไว ในภาคอีสาน จะมีไมคานที่เอาไวหาบเปนเครื่อง บูชาบางอยาง ไมคานนั้นใชครั้งเดียวแลวไมมีการเปลี่ยน ดังนั้น ตองเก็บ เอาไวสําหรับใชตอไป จะนํามาใชหาบน้ําไมได บางวัดอาจจะไมมีไมคาน ตองไปยืมวัดอื่นมาใช เปนตน เปนที่นาสังเกตวาไมใชพานพุมที่มาจาก ในวัง แตเปนของในทองถิ่นที่ชาวบานเปนเจาของ พิ ธี ก รรมทางเถราภิ เ ษกในสมั ย นั้ น ถ า อ า นแล ว สรุ ป ให เ หลื อ คําเดียวก็คือ ใครเปนผูอภิเษกพระ ก็คือชาวบานเปนผูอภิเษกพระ ไมใช อยูๆ  มีใครทีไ่ หน จะมาอภิเษกพระ พระถูกอภิเษกโดยชาวบานเอง สวนที่ เสริมมาแบบเผิน ๆ ก็มีในตํารา เชน สุวรรณบัฏ หรือโองการ เปนตน แตหัวใจคือ ชาวบาน ดังนั้น จึงมีความพยายามในภาคอีสาน โดยวัดบางวัด ชุมชน บางแหง ที่พยายามรื้อฟนพิธีกรรมเถราภิเษกแบบเกา ซึ่งในทัศนะของผม เห็นวา ไรความหมาย เพราะฟนไดแตรูปแบบของพิธีกรรม แตไมสามารถ ฟนตัวจิตวิญญาณที่แทจริงของพิธีกรรมได ตัวพิธีกรรมจะเปลี่ยนแปลง ไปยังไง ก็ไมแปลกอะไร เชน เครื่องอุปโภคบริโภคของพระสงฆในสมัยนี้ ๘๖


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

อยางนอยตองถวายพัดลมใหแกทาน เพราะอากาศรอนมาก หากจะ เปลี่ยนแปลงเครื่องอุปโภคบริโภคอะไรตางๆ แทน ก็ไมเปนไร แตตัว จิ ต วิ ญ ญาณคื อ ใครเป น ใหญ ใ นการอภิ เ ษกพระ นั่ น คื อ ชาวบ า น เปนใหญ ซึ่งสิ่งนี้มันไดสูญไปแลว แตมันกลายเปนการฉลองพัดยศ ซึ่ง มาจากกรุงเทพฯ มาจากสวนกลาง ไมไดเกี่ยวของกับชาวบานโดยสิ้นเชิง แลวบอกวาพยายามรื้อฟนตัวพิธีกรรมแบบเกานั้น ก็เปนของหลอกๆ เหมาะสําหรับใชในการทองเที่ยวเทานั้นเอง การรวมศูนยอํานาจทั้งหมดเหลานี้ จิตวิญญาณเหลานี้ หายไป เพราะอะไร หายไปอย า งที่ อ าจารย รั ต นาพรพู ด ถึ ง คื อ การรวมศู น ย การปกครอง ซึ่งเกิดขึ้นมาตั้งแตสมัยรัชกาลที่ ๕ เพื่อจะสรางระบอบใหม และเราก็ใชระบอบการปกครององคสงฆสืบตอมา หลังป พ.ศ. ๒๔๗๕ ก็ ยั ง คงใช อ ยู ถึ ง แม ว า จะมี ก ารออก พรบ. สงฆ ใ หม แ ทนฉบั บ เก า มีการเปลี่ยนรูปแบบการบริหารเล็กนอย แตจิตใจก็ยังคงเหมือนเดิม คือ การรวมศูนยการปกครอง การปฏิรปู คณะสงฆในสมัยรัชกาลที่ ๕ กระทําโดยพระเจาแผนดิน ซึ่งมีพระราชดําริเปนจดหมายเขียนถึงพระยาทานหนึ่งวา โลกสมัยนี้ ศาสนาไมสําคัญอีกแลว เราไมสามารถรูไดวาพระนิพพานมีจริงหรือไม แตเนือ่ งจากคนนับถือศาสนามาก จึงจําเปนทีจ่ ะตองใชศาสนาเปนเครือ่ งมือ ในการพัฒนาประเทศ ถาพูดในภาษาปจจุบัน ทานทั้งหลายลองพิจารณา เองวา ศาสนาเปนแคเครื่องมือหรือเปาหมายปลายทางของชีวิตกันแน ฉะนั้น การปฏิรูปศาสนาประเด็นสําคัญที่สุดนั้น เปนการผลัก ประชาชนออกไปจากคณะสงฆ โ ดยสิ้ น เชิ ง การตั ด สิ น ใจ การบริ ห าร การจัดองคกร ทั้งหมด จะตกอยูภายใตการกํากับของรัฐ ไมวาจะเปน เรื่องการคัดสรรบุคคล การแตงตั้ง พิธีกรรม รวมถึงความสัมพันธระหวาง พระภิกษุกับชาวบานดวย การเปนพระทีม่ ยี ศถาบรรดาศักดิใ์ นปจจุบนั นี้ ไมไดไมแตกตางกับ การแตงตั้งปลัดอําเภอ นายอําเภอ หรือผูวาราชการจังหวัด ตรงไหนเลย แตอยางนอยปลัดอําเภอและนายอําเภอนั้น เขายังมีหนาที่เกี่ยวของกับ ประชาชน เชน การจดทะเบียนสมรส การจดทะเบียนหยา เปนตน แต ๘๗


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

พระสงฆไมมีหนาที่อะไรเกี่ยวของกับประชาชนเลย ดังนั้น อํานาจที่ไดมา ในการบริหารจัดการคณะสงฆ ไมวาจะเปนเจาอาวาส เจาคณะตําบล หรือเจาคณะอะไรก็แลวแต อํานาจเหลานั้นเปนอํานาจที่ไมไดเกี่ยวของ ประชาชนเลย แตเกีย่ วของกับวงการสงฆดว ยกันเทานัน้ เอง คําถามทีต่ ามมา ทันทีคือ ความสัมพันธระหวางพระสงฆกับประชาชนนั้นอยูตรงไหนละ เพราะวา พระผูใ หญทา นก็สนใจแตเรือ่ งพระสงฆระดับลางของทาน เพราะ เปนหนาทีข่ องทาน และหากตองการทีจ่ ะมีฐานันดรสูงขึน้ ไปอีก ทานก็ตอ ง ไปดูพระสงฆที่อยูขางบน ที่ใหญกวาทาน เพราะจะไดดึงทานขึ้นสูงไปอีก แลวประชาชนละเมื่อไหรจะไดรับการดูแลเอาใจใสสักที นอกจากตอน ตักบาตรเทานั้นเอง ดังนั้น จึงไมเห็นมีอะไรเกี่ยวของกับประชาชนเลย ไมเกี่ยวอะไรกับสังคมเลย ฉะนั้น โอกาสที่จะกลับมาคิดเรื่องเถราภิเษกนั้น ผมจึงไมอยาก ใหคิดถึงแตเรื่องการอนุรักษวัฒนธรรมโบราณ แตตองเขาใจรากฐานเดิม การจัดองคกรคณะสงฆในสังคมไทยทั้งหมด เพื่อปรับใหพระสงฆเปน สมบัติของประชาชนใหมอีกครั้งหนึ่ง ในฐานะประชาชนก็อยากจะพูดวา “เอาพระของกูคืนมา” เพราะในเวลานี้ พระไมใชของประชาชนอีกแลว เปนของรัฐไปหมดแลว เหมือนกับเปนอีกกระทรวงหนึ่ง เพียงแตทาน ไมไดแตงเครื่องแบบเหมือนกับขาราชการแตงกันเทานั้นเอง ไมอยางนั้น แลว พระแทบจะไมเหลือหนาทีอ่ ะไรในสังคมนอกจากพิธกี รรม เชน สวดศพ เปนตน ผมไม ค อ ยแน ใจว า โดยปราศจากการปฏิ วั ติ วั ฒ นธรรมตามที่ อาจารยรตั นาพรพูดถึงนัน้ ศาสนาจะคงทีอ่ ยูต ลอดเวลา ก็ไมแนเหมือนกัน อาจจะเสือ่ มไปในความเปนจริง แตภาพภายนอกอาจจะไมใชคอื มีวดั มาก มีพระสงฆอยู แตพระสงฆก็มีนอยลงในประเทศไทย ฉะนั้น คิดวานาจะ คิดถึงความสัมพันธของพระสงฆกบั ประชาชนตอไปอยางไร ไมใชเหลือแต เพียงหนาที่ทางพิธีกรรมเทานั้น สวนการสืบศาสนานั้น โลกเปลี่ยนไปแลว ตองคิดซับซอนมากขึ้น เชน ปจจุบนั ในหลายประเทศทีเ่ ปนพุทธศาสนาแบบเถรวาท หรือในศาสนา อื่นดวย เชน ศาสนาคริสต หรืออิสลาม มีนักบวชหลายระดับ ของเรา ๘๘


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

มีแคสามเณรกับพระภิกษุ แตจริงๆ แลวมีนักบวชหลายระดับมาก วิธี คิ ด การปฏิ รู ป ศาสนา จะพบได ว า จะออกมาในลั ก ษณะที่ ค ล า ยกั บ ว า คนปจจุบันนี้ คงเรียกวา ผูครองเรือน หรือฆราวาส มีบทบาทในฐานะ ผูส บื พระศาสนามากขึน้ เชน ธรรมกาย จะเปนดวยมีเหตุผลในการหาตลาด หรือเหตุผลการสืบศาสนา หรืออะไรก็ตาม เขาจะใชคนหนุมสาวเปนกําลัง สําคัญในการดึงคนและเงินใหเขามาในวัดมากมาย เปนตน ในลังกาก็ใช ในไต ห วั น ก็ ใช ระดั บ ฆราวาสที่ แ ตกต า งกั น พวกสั น ติ อ โศกก อ นหน า ที่จะเปนพระสงฆไดนั้น ก็มีหลายระดับเชนกัน คือการถือศีลในระดับที่ แตกตางกัน การใชวตั รปฏิบตั ทิ แี่ ตกตางกันกอนทีจ่ ะถึงระดับทีเ่ ปนพระสงฆ ทําไมถึงตองมีฆราวาส หรือมีผูชวยพระ ถาเราคิดเรื่องการสืบศาสนาแลว หน า ที่ สํ า คั ญ ของเราคื อ ต อ งปรั บ เปลี่ ย นอย า งไรให เข า กั บ สั ง คมที่ เปลี่ยนไป ยิ่งพระสงฆในปจจุบันนี้ถูกรัฐยึดครองไปหมดแลว คําถามคือ หน า ที่ สื บ ศาสนานั้ น ใครจะเป น คนสื บ ทอด เพราะทุ ก วั น นี้ ห ากใคร อยากเรียนวิปสสนา ตองไปหาคุณแมหรือคุณลุง ซึ่งอยูนอกวัดทั้งนั้น สวนในวัดนั้นก็ไมมีที่ใหเรียน จะเห็นวาบทบาทของฆราวาสมีมากขึ้น หากเราคิดวาเราไมใชคนของรัฐ แตเปนคนของสังคมไทย เราเปนคน ของพระพุทธเจา แลวเราอยากจะสืบสิ่งที่ดีที่สุด เทาที่เมืองไทยเรามี จะสืบตอไปยังลูกหลานได ผมคิดวาเราคงตองคิดอะไรที่กวางไปกวา การเปนสมาชิกขององคกรคณะสงฆไทย เถราภิเษกทีท่ าํ กันอยูท กุ วันนี้ เปน พิธีกรรมสําหรับคนในองคกรคณะสงฆที่สังกัดอยูกับรัฐแคบๆ เทานั้นเอง รศ.รัตนาพร เศรษฐกุล ปจจุบันความสัมพันธระหวางพระสงฆกับชาวบานคอนขางที่จะ หางเหินกัน เนือ่ งจากความเปลีย่ นแปลงทางดานเศรษฐกิจ ทางดานสังคม วัฒนธรรม ขณะนี้ลูกหลานของชาวบานทางชนบทก็เขามาทํางานในนิคม อุตสาหกรรม ทํางานตั้งแตวันจันทรจนถึงวันเสาร จะวางแควันอาทิตย วันเดียว เราอาจจะตองเปลี่ยนวันพระเปนวันอาทิตยเพื่อใหคนบานเรา หันมาเขาวัดมากขึ้น เพราะขณะนี้กลายเปนวาชาวพุทธไมมีเวลามาวัด ๘๙


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

ในวันพระ เพราะตองไปทํางาน และวัดก็มีสามเณรลดนอยลง พระสงฆ ก็ลดนอยลงเรือ่ ยๆ บางครัง้ จะนิมนตไปงานอะไร ก็ตอ งไปนิมนตพระสงฆ หลายวัด จึงจะครบตามจํานวน ซึ่งปญหาเหลานี้เราจะแกไขกันอยางไร มองหาทางออกไมไดเลย หรืออาจจะตองอาศัยฆราวาสมากขึน้ เหมือนกับ ที่อาจารยนิธิพูดไวหรือไม และฆราวาสจะเขามาไดอยางไร สมัยกอนนั้น เรามีกลุม หนุม สาว ซึง่ สมัยนัน้ ขาเจายังเปนเด็กและอยูท อี่ าํ เภอดอยสะเก็ด พระสงฆก็จะตะโกนลงมาจากวัดดอยสะเก็ดวา เย็นนี้ ใหกลุมหนุมสาวขึ้น มาเร็วๆ หนอย คือวัดจะมีงาน ก็จะบอกกลุมหนุมสาว นอกจากนั้นก็ยัง มีกลุมแมบาน และกลุมตางๆ ซึ่งกลุมคนเหลานี้พรอมที่จะไปรวมทุกครั้ง ที่วัดมีงานบุญประเพณีตางๆ เพราะวาเขาไมตองทํางานตั้งแตวันจันทร ถึ ง วั น เสาร คื อ ไปทํ า ไร ทํ า นา ซึ่ ง ช ว งนั้ น วั ด ก็ ไ ม ค อ ยมี ง าน สภาพที่ เปลีย่ นแปลงไป ระบบการผลิตทีเ่ ปลีย่ นแปลงไป เศรษฐกิจทีเ่ ปลีย่ นแปลงไป หรือเด็กที่ตองไปเรียนตั้งแตวันจันทรถึงวันศุกรนั้น จะใหไปวัดในวันพระ ไดอยางไร วันเสารอาทิตยจะใหไปวัดนั้น อาจจะตองมีพระภิกษุที่คอย ชักชวนเด็กๆ เขาวัด เพราะพอแมสมัยนี้มักจะปลอยใหเด็กเลนเกมสแทน การเขาวัด แตละวัดอาจจะตองมีกิจกรรมเพื่อชักชวนใหเยาวชนไดใกลชิด พระศาสนามากขึ้น และนี่ก็เปนคํารองขอ แตขาเจาก็ไมรูวาทานจะทําได มากนอยขนาดไหน หรือจะทําไดอยางไร เพราะพระสงฆสมัยนี้ก็ตอง เรี ย นหนั ง สื อ ต อ งทํ า การบ า นเช น เดี ย วกั น ไม งั้ น ท า นจะเลื่ อ นขั้ น เลื่อนตําแหนงไดอยางไร สมัยกอนนั้นจะเปนตุหลวง เรียกเปนครูบา ก็มา จากความศรัทธาของชาวบาน มาจากการปฏิบัติตนของพระสงฆเอง แตปจ จุบนั นีต้ อ งใชการสอบเลือ่ นขัน้ เหมือนกับการเลือ่ นขัน้ ของขาราชการ พระสงฆก็มีงานมากเชนเดียวกัน จะเห็นไดวาสมัยกอนยศตําแหนงนั้น ไมสําคัญ แตปจจุบันยศชางขุนนางพระนั้นสําคัญมากทีเดียว หากเรา เปลีย่ นตรงจุดนี้ แตขา เจาก็ไมรวู า จะเปลีย่ นไดอยางไร จะทําใหสถานการณ ดี ขึ้ น หรื อ ไม อ ย า งไร ทํ า ให ศ าสนาเป น ศาสนาของประชาชนจริ ง ๆ ทีส่ ามารถเสริมสรางความสัมพันธทแี่ นนแฟนระหวางพระสงฆและฆราวาส

๙๐


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

การเเลกเปลี่ยนความรูระหวางวิทยากร และผูเขารวมฟงการสัมมนา คําถามของผูรวมสัมมนา การที่มีสํานักตางๆ สอนหลักทางพระพุทธศาสนา หรือสอน การปฏิบัติ เปนการดีแกพระสงฆหรือศาสนาหรือไม อยางไร ? ศ. นิธิ เอียวศรีวงศ ความเห็นของผมคิดวา ดี เพราะวาพระพุทธศาสนาของไทยเรา เปนพุทธศาสนาที่มีรูปแบบที่เปนทางการ จริงๆ แลว คอนขางที่จะแคบ มากๆ ในหลายสิบปที่ผานมา ถาสังเกตก็จะเห็นวามีความพยายาม ในการตีความพระพุทธศาสนา ใหมีความหมายเหมาะสําหรับปจจุบันนี้ ในโลกสมัยใหมหลายกระแสดวยกัน เชน ทานพุทธทาส เปนตน ถามวา ทานพุทธทาสเปนที่นารักนาเอ็นดูของคณะสงฆไทยหรือไม คําตอบคือ ไม จนกระทัง่ ในภายหลัง เมือ่ ทานมีชอื่ เสียงมากแลว ก็มกี ารประนีประนอม โดยการใหสมณศักดิ์สูงขึ้น เปนตน จะเห็นไดวาศาสนาที่ดํารงอยูตลอดไป ไดนนั้ จะตองถูกทําความเขาใจ ซึง่ ผมไมอยากใชคาํ วา ตีความ จากมิตขิ อง โลกสมัยใหมดวย อยางที่คนพูดเสมอวา อทินนาทาน แปลวาอะไรกันแน ปาณาติบาต แปลวาอะไรกันแน คุณซื้อหุนจากบริษัทคาอาวุธ ถามวา ทําปาณาติบาตหรือไม พระสงฆตอ งตอบเรือ่ งนีใ้ หได เพราะในโลกปจจุบนั ผมไมไดฆา ไก แตผมกินไกทกุ วัน แตวา เจก (คนจีน) ตางหากทีฆ่ า ไก เปนตน สิ่ ง ที่ ก ลุ ม ของท า นโพธิ รั ก ษ ท า ทายว า ถ า เป น พุ ท ธจริ ง ต อ งกิ น เจ จริ ง หรือไมจริงนั้น ผมคิดวานี่เปนการทาทายที่สําคัญ เพราะวาคุณบอกวา ผมไมไดฆา แตซื้อจากเจกกิน ถาไมซื้อแลว เจ็กจะฆาหรือ นอกจากจะทํา ปาณาติบาตแลว ยังโกหกอีก โกหกตัวเองดวย บาปทีส่ ดุ เลย โกหกตัวเองนี่ เพราะวาเราแกไขตัวไมได เราปรับปรุงตัวเองไมได เรื่องเหลานี้ ผมคิดวาเปนเรื่องที่พระสงฆหรือศาสนาจะตอง สามารถรับการทาทายได เมื่อใดที่ศาสนาถูกรัฐ ถูกพรรคการเมืองยึด ๙๑


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

เสร็จแน ดิ้นไมออก ก็ไรความหมาย ดังนั้น จึงมีหลายๆ สํานักนั่นแหละ ดีแลว เหมือนทีส่ มัยโบราณ เขาก็มหี ลายๆ สํานัก แตเนือ่ งจากคณะสงฆไทย ไมกลารับการทาทายของใครทั้งสิ้น ดังนั้น เมื่อมีสํานักไหนแลว ก็มักจะ มองดวยความหวาดระแวงเสมอ ถายอมประนีประนอมกับตนเหมือนกับ ธรรมกาย ก็อยูดวยกันได ถาไมยอมประนีประนอมอยางโพธิรักษ ก็จะถูก ตอตาน ถูกทําลาย ซึ่งเปนเชนนี้ตลอดมา นับวาอันตรายมาก ๆ คําถามของผูรวมสัมมนา จากทีไ่ ดฟง อาจารยรตั นาพร เศรษฐกุล พูดมานี้ แสดงวา การสูญ ไปของพิธกี ารยกยอสมณศักดิข์ องพระสงฆในลานนา มาจากคณะสงฆลา น นาที่ออนแอ และศรัทธาชาวบานที่เสื่อมถอยใชหรือไม ? หรือเพราะการ รับวัฒนธรรมจากรูปแบบของรัฐที่กําหนด มากเกินไปใชหรือไม ? รศ. รัตนาพร เศรษฐกุล การสูญไปของพิธกี ารยกยอสมณศักดิข์ องพระสงฆในลานนา ไมได มาจากคณะสงฆลานนาที่ออนแอ และความเสื่อมศรัทธาของชาวบาน แตหากเกิดจากอํานาจขางนอกทีเ่ ขมแข็งกวา สมมุตวิ า เราลองยอนกลับไป ในตอนที่มีการปฏิรูปการปกครองมีการยึดอํานาจเขาสูสวนกลาง ถาใน ขณะนัน้ เจาหลวงเปนเจาหลวงกาวิโรรสไมใชเจาหลวงอินทวิชยานนท อะไร จะเกิดขึ้น ในเมื่อเจานายซึ่งเราถือวาเจานายเปนผูที่สงเสริมสนับสนุน สถาบันสงฆ กษัตริยหรือเจานายเมื่อทานออนแอ ยอมรับอํานาจของ คนอื่น การเขามาแทรกแซงก็จะเกิดขึ้น เชนเดียวกับพระสงฆ อยางที่ อาจารยนธิ ไิ ดพดู ไปแลววา มีการรับสงอํานาจซึง่ กันและกัน ระหวางกษัตริย ระหวางชนชั้นปกครองกับคณะสงฆอยูแลว เมื่อชนชั้นปกครองออนแอ การที่จะยึดหรือคงคณะสงฆเอาไวไดนั้น ก็เปนไปไดยาก แตก็มีคนพูดวา ในสมัยพญาติโลกราชหรือพญาสามฝงแกนนั้น เรามีความเจริญรุงเรือง เราเปนศูนยกลางของพระพุทธศาสนาทั้งในรัฐไททั้งหมด ไมวาจะเปน ๙๒


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

ลานนา เชียงตุง สิบสองปนนา และไทใหญอื่นๆ พระสงฆของเราขณะนั้น ทานเกงมาก มีความรูมีความสามารถ ทานไปเรียนจากตางประเทศ ไดรจนาคัมภีรอะไรตางๆ มากมาย ซึ่งใชกันมาจนถึงปจจุบัน แลวหลัง จากนั้นเราก็ออนแอลงไป เพราะเราตกเปนประเทศราชของพมา แลวก็ ตกเปนประเทศราชของกรุงเทพฯ อีก ซึ่งจริงๆ แลว ก็ไมใชทั้งหมดคือ เราสูญเสียอํานาจทางการเมืองไปก็จริง แตวฒ ั นธรรมลานนาซึง่ มีพระพุทธ ศาสนาเปนแกนหลักนั้นก็ยังคงอยู เมื่อพมาเขามา พมาก็ไมสามารถมา เปลีย่ นแปลงเราได ภาษาของเรา ก็ยงั คงใชภาษาของเราเชนเดิม และคนทีใ่ ช ภาษาลานนา เขียนอักษรเมือง ก็คอื พระสงฆนนั่ เอง นัน่ คือ ภาษายังอยูไ ด ก็เพราะพระสงฆ แตเมื่อพระสงฆเปลี่ยนเขาระบบการศึกษา ก็เปลี่ยนไป ใชภาษากรุงเทพฯ การคงอยูของภาษาก็หายไป เพราะพระสงฆถือเปน ประชากรสวนใหญทใี่ ชภาษา เมือ่ พระสงฆเลิกเทศนดว ยภาษาพืน้ เมืองแลว ทานจะใหชาวบานพูดภาษาพื้นเมืองอีกหรือ ในเมื่อพระสงฆเปนผูสอน ภาษากรุงเทพฯ ใหลูกหลานเราในสมัยกอน ศรัทธาของชาวบานที่มีตอ พระสงฆนั้น แทจริงไมไดเสื่อมถอยไป เพียงแตวามีการเปลี่ยนแปลงไป เชน ในสมัยกอนเคยมีพิธีโบราณที่ชาวบานจัดขึ้นมา การที่จะเรียกใครวา ครูบา การสรงน้าํ พระ อะไรตางๆ ก็มาจากชาวบาน แตเมือ่ เปลีย่ นแปลงไป พระสงฆหันไปรับรูปแบบของกรุงเทพฯ ยศชางขุนนางพระแบบกรุงเทพฯ แลว ก็ทําใหความสําคัญของประชาชน ก็เริ่มหายไป แลวความรูสึกที่วา พระสงฆเปนของหนาหมู เปนของที่เราจะตองทะนุถนอม รักษา สงเสริม ก็เริ่มหายไปเรื่อยๆ กลับกลายเปนวา อํานาจสวนกลาง อํานาจของรัฐ ก็เขามาควบคุมพระสงฆมากขึน้ เรือ่ ยๆ พระสงฆจะประพฤติดปี ระพฤติชอบ คนที่ ล งโทษนั้ น ไม ใช ป ระชาชน ไม ใช ศ รั ท ธาชาวบ า น แต ก ลายเป น มหาเถรสมาคม เชนนี้ยอมทําใหความสัมพันธที่เคยเขมแข็งก็เริ่มออนแอ ลงไป ทําไมสมเด็จพระสังฆราชนัน้ พระสงฆทางลานนาไมไดรบั ตําแหนง เลย เรือ่ งนี้ ก็เปนเรือ่ งของการเมือง ซึง่ ทานจะตองยอมรับวา การจะขึน้ ไปเปน พระสังฆราชนัน้ ไมใชงา ยๆ การเมืองของพระนัน้ ซับซอนมากกวาการเมือง ของฆราวาส จะทําอะไรก็ไมไดทําอยางเปดเผย ตองมีอะไรอยูขางใน ๙๓


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

ซึ่งขาเจาเองก็ไมทราบ อาจจะตองเปนพระสงฆที่ทานอยูในแวดวงของ คณะสงฆที่อยูในสวนกลางหรือไม แลวใชเกณฑอะไรบางที่จะสามารถขึ้น มาเปนพระสังฆราชได คําถามของผูรวมสัมมนา จากการที่ไดฟงอาจารยนิธิ เอียวศรีวงศพูดนั้น อยากจะทราบวา ในภาคอีสานมีพธิ สี ถาปนายอยกเถราภิเษกไดอยางไร ? นาจะมีแตในลานนา เทานั้น ไมใชหรือ ? เนื่องจากพระโสณเถระ และพระอุตตรเถระ นํามา เผยแผในลานนาที่เดียว ศ. นิธิ เอียวศรีวงศ กอนหนาทีพ่ ระพุทธศาสนาทางเหนือจะขยายไปทางอีสาน ถามวา ในภาคอีสานนับถือศาสนาพุทธหรือยัง ? คําตอบคือ นับถือแลว หรืออาจจะ นับถือกอนคนในภาคเหนือดวยซ้าํ ไป เขาทําเสมาหินมาประมาณพันกวาป เปนเสมาหินขนาดใหญ ไมใชแคกําหนดหมายที่ทําสังฆกรรมอยางเดียว แตเขาใชเปนพื้นที่ศักดิ์สิทธิ์ ซึ่งอาจจะสืบทอดจากศาสนาผีโบราณของเขา ก็ได แตพอมานับถือศาสนาพุทธแลวก็ยังคงมีรองรอยเหลานี้สืบทอดมา เกาแกกวาทางลานนา สวนจะเปนเถรวาทนิกายลังกาวงศใชหรือไม ? คําตอบคือ นาจะไมใช ไมนาจะเปนลังกาวงศ แตนาจะเปนเถรวาท เหมือนกัน แตเปนอีกนิกายหนึ่งที่เนนการทําสมาธิภาวนาคอนขางสูงกวา เถรวาทลังกาวงศ พอหลังสมัยลานนาแลว มีความสัมพันธดา นการแตงงาน ระหวางเจานครเชียงใหมกบั เจาหลวงพระบางนัน้ เปนเครือญาติกนั ชวงหนึง่ จะมี พ ระเจ า แผ น ดิ น ที่ เ ป น เจ า เมื อ งเสด็ จ มาปกครองที่ เชี ย งใหม ด ว ย แลวเสด็จกลับไป โดยนําเอาทั้งคัมภีร พระพุทธรูป และหลักของนิกาย ลังกาวงศที่อยูในลานนา กลับไปที่อีสานและฝงลาวดวย ผมไมเชือ่ วาใครก็ตามทีพ่ ดู วาพิธเี ถราภิเษกมีขนึ้ เพราะพระอุตตระ นํามา คําถามคือ เอาหลักฐานมาจากไหน ? วาพระอุตตระเปนคนนําพิธี ๙๔


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

เถราภิเษกมา พิธเี ถราภิเษก หรือพิธกี ารประกาศฐานะอันสูงกวา คือใหมอง พิธกี รรมอยางนีว้ า เปนการสือ่ สารชนิดหนึง่ การทีอ่ ยากจะประกาศสถานะ ที่สูงกวา มันตองผานพิธีกรรม แมจะเรียกวา เถราภิเษก หรืออะไรก็ตาม ไมสาํ คัญ แตเปนพิธกี รรมเพือ่ ประกาศสถานะทีแ่ ตกตางกันของคนในสังคม ซึง่ มีความจําเปนในทุกสังคม ไมใชเฉพาะในเมืองไทย ดังนัน้ พิธเี ถราภิเษก ในอีสาน หรือภาคเหนือ ถาคนใหลึกแลว จริงๆ อาจมาจากพิธีกรรมผี บางอย า ง แต พ อนั บ ถื อ พุ ท ธ ก็ แ ปลงมาให มี ค วามหมายในเชิ ง พุ ท ธ แตพิธีกรรมที่เลื่อนสถานะทางสังคมนี้ ถือเปนเรื่องปกติที่มีในทุกสังคม ผูเขารวมสัมมนาใหการแลกเปลี่ยน เรื่องของเถราภิเษกนั้น เปนเรื่องที่ไกลมากจากความเปนจริง ตามที่ อ าจารย นิ ธิ และพระครู อ ดุ ล ย ได พู ด ไปแล ว แต พ ระครู อ ดุ ล ย กลาวทิง้ ทายไววา การจะฟน ฟูเถราภิเษกกลับมา ก็ไดอยู แตเปนเถราภิเษก แบบสาธิต หรือเถราภิเษกเพื่อการทองเที่ยวเทานั้น รศ. รัตนาพร เศรษฐกุล ในเรือ่ งการเปลีย่ นแปลงคณะสงฆนนั้ ทางกรุงเทพฯ เนนแนวทาง ของ Modernization คือ การสรางความทันสมัยตามแนวคิดของตะวันตก หลายๆ อยางเขามา รวมถึงระบบการคิดแบบมีเหตุผล แนวคิดทาง วิทยาศาสตร เพราะฉะนั้นสมัยรัชกาลที่ ๔ จึงไดตอตานแนวคิดในเรื่อง ของไตรภูมิพระรวง เรื่องของนรก เรื่องของสวรรค เปนตน ทานพยายาม ทีจ่ ะทําใหพระพุทธศาสนาเปนพระพุทธศาสนาทีม่ เี หตุผล และตอบคําถาม ทางวิทยาศาสตรได เหมือนในคริสตศาสนา เพราะในขณะนัน้ คริสตศาสนา ก็กําลังเขามาเผยแพรในบางเมืองเราเชนกัน ซึ่งเปนความพยายามที่จะ แสดงใหเห็นวา พุทธศาสนาของเราก็ดี มีเหตุผล ในทํานองเดียวกัน มันก็ สงผลกระทบหลายอยาง คือ เราเนนในเรื่องของเหตุผลมากเกินไป ทําให คนของเรามองแคเหตุผล แตไมไดมองถึงความเชื่อ เรื่องของศรัทธา ที่จะ ๙๕


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

ควบคุ ม พฤติ ก รรม หรื อ ความคิ ด ของคน ให ถู ก ต อ งตามศี ล ธรรมคน ไมกลัวบาป ไมกลัวอะไรทั้งนั้น บาปไมมี โดยเหตุผลแลว กรรมที่เรา ทํานั้นจะกลับมาสนองเราหรือไม ใครจะไปรู สงผลใหคนไดใจอยากจะ ทําอะไรก็ทํา และนี่ก็คือปญหา

พระราชปริยัติเมธี ประธานพิธี กลาวเปดการสัมมนาทางวิชาการ

๙๖


คํากลาวปดการสัมมนาทางวิชาการ โดย พระปลัด ดร. เสนห ธมฺมวโร ผูอํานวยการสํานักวิชาการ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตเชียงใหม

ขออนุโมทนาและขอบคุณทุกทาน ทุกภาคสวน ทีไ่ ดมสี ว นรวม ใน การจัดสัมมนาเชิงวิชาการเรือ่ ง เถราภิเษก : พิธยี กยอสมณศักดิพ์ ระสงฆใน ลานนา ใหสาํ เร็จลุลว งตามวัตถุประสงค ไมวา จะเปนฝายบริการวิชาการแก สังคม ครูบาอาจารย วิทยากร พระนิสติ นักศึกษา ตลอดถึงศรัทธาญาติโยม ทุกทาน หลังจากการสัมมนาในครั้งนี้สิ้นสุดลง คิดวาคงจะมีผลสรุปที่ เกิดจากการสัมมนาเกิดขึ้นอยางเปนรูปธรรม ในเร็วๆ นี้ แตในวันนี้ เราคงจะไดแนวคิดริเริม่ อะไรบางอยางวา หลังจากนีเ้ ราจะทําอะไรตอไปอีก เมื่อประมวลความรูและความคิดเห็นของวิทยากรและผูเขารวมสัมมนา ทั้งดานประวัติศาสตร พระพุทธศาสนา การเมืองการปกครอง หรือการ ๙๗


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

ยังความศรัทธาของประชาชนใหเกิดขึ้น แมแตในเรื่องของการชี้ผิดชี้ถูก ในเรื่องราวตางๆ ในดินแดนลานนาของเรา โดยเฉพาะเรื่องราวในวงการ คณะสงฆของเรา ซึ่งจะมีหรือไมมี แตเราก็มีอยูแลวในเรื่องตําแหนง ทางคณะสงฆ แตกเ็ ปนลักษณะทีก่ าํ หนดขึน้ เอง เพราะฉะนัน้ จะทําอยางไร ใหถกู ตองและมีความเหมาะสมกับสถานการณปจ จุบนั ก็คงจะเปนภาระงาน ตอไปที่จะสานตอ เพื่อใหเกิดประโยชนตอพระพุทธศาสนา และสังคม ลานนา ในโอกาสนี้ ขออนุ โ มทนาและขอบคุ ณ ทุ ก ภาคส ว น ที่ มี สวนรวมในการจัดสัมมนาครั้งนี้ใหสําเร็จลุลวงไปดวยดี

พระนิสิตผูสนใจเขารวมฟงการสัมมนาทางวิชาการ

๙๘


บทความรวมนําเสนอ *******************************************

๙๙


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

พระพุทธศาสนาในลานนา ผูชวยศาสตราจารย ดร.วิโรจน อินทนนท สาขาวิชาปรัชญาและศาสนา คณะมนุษยศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม

ความเบื้องตน ในพุทธศตวรรษที่ ๑๒ พระนางจามเทวี ราชธิดาแหงกษัตริยม อญ ในอาณาจักรทวารวดีไดเสด็จจากเมืองลวปุรี (ละโว) มาปกครองเมือง หริภุญชัยคือลําพูนในปจจุบัน ตามคําเชิญของสุเทวษี ครั้งนั้น พระนาง ไดนมิ นตพระเถระผูท รงพระไตรปฎกมายังเมืองหริภญ ุ ชัยดวย ดังทีป่ รากฏ ขอความในจามเทวีวงศ ดังนี้ “..ฝ า ยพระนางพร อ มด ว ยบริ ว ารหมู ใ หญ จํ า พวกละ ๕๐๐ องค กับพระมหาเถรทรงไตรปฎก ๕๐๐ องค ลงเรือมาตาม แมน้ําพิงค ๗ เดือนจึงบรรลุถึงเมืองนี้..” (จามเทวีวงศ พงศาวดารเมืองหริภุญชัย, ๒๔๙๕ : ๘๙) ตํ า นานมู ล ศาสนาได ก ล า วถึ ง เหตุ ก ารณ ต อนนี้ ว า พญาละโว ไดใหพระนางจามเทวีนําศาสนาของพระพุทธเจา คือนิมนตพระภิกษุ ๑๐๐


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

ผูทรงไตรปฎก ๕๐๐ รูป ไปเผยแผที่เมืองหริภุญชัยเพื่อความสุขสวัสดี ในการปกครองเมือง เมือ่ พระนางจามเทวี ไดมาปกครองเมืองหริภญ ุ ชัยแลว ทรงสรางวัดเพื่อใหเปนที่พํานักของพระมหาเถระและพระภิกษุสามเณร ทีน่ มิ นตมาดวย (พญาประชากิจกรจักร, ๒๔๙๕ : ๑๙๔-๑๙๕) นอกจากนัน้ ยังทรงสรางวัดไว ๔ ประตูเมืองลําพูน ทําใหเมืองนี้มีฐานะเปนจตุรพุทธ ปราการ พระพุทธศาสนาประดิษฐานลงอยางมั่นคงตั้งแตสมัยนี้ เมื่ อ ขอมรุ ง เรื อ งในสมั ย ลพบุ รี ศิ ล ปะแบบขอมก็ ขึ้ น ไปไม ถึ ง ลุมแมน้ําปง เพราะอิทธิพลศิลปะทวารวดีกั้นไว พระธาตุหริภุญชัยซึ่งเปน ปูชนียสถานสําคัญองคหนึง่ ของชาวลานนา สรางขึน้ สมัยพระเจาอาทิจจราช แหงลําพูน สมัยนี้พระพุทธศาสนารุงเรืองดี มีการเรียนพระไตรปฎก อยางแพรหลาย พระพุทธศาสนาแบบทีใ่ ชภาษาบาลีเปนแมบทไดแพรหลาย มากอนที่ไทยจะติดตอกับลังกา ตอมาประมาณพุทธศตวรรษที่ ๑๘ พญามังรายหรือเม็งราย ผูเปนโอรสของพญาลาวเม็งแหงหิรัญนครเงินยาง (เชียงแสนเกา) ไดทรง รวบรวมเผาไทยในอาณาจักรลานนาใหเปนปกแผน ทรงขับไลอทิ ธิพลมอญ ออกไปจากลุมแมน้ําปง เมื่อตีหริภุญชัยไดโดยการยิงธนูไปใหไหมเมือง แทบทั้งหมดแลวเสด็จเขาเมืองลําพูน ทอดพระเนตรเห็นสิ่งปรักหักพัง เพราะเพลิงไหม ทอดพระเนตรเห็นวิหารไมสกั หลังหนึง่ ทีว่ ดั พระบรมมหาธาตุ ไมเปนอันตราย จึงทรงประหลาดพระทัย ภายหลังทรงทราบวาวิหารนั้น เปนที่ประดิษฐานพระเสตังคมณี (พระแกวขาว) ซึ่งเปนพระพุทธรูปคูบาน คูเมืองของหริภุญชัย พระเสตั ง คมณี นี้ เ ป น พระพุ ท ธรู ป ที่ พ ระนางจามเทวี ไ ด ท รง อั ญ เชิ ญ มาจากเมื อ งลพบุ รี พญามั ง รายทรงเลื่ อ มใสพระเสตั ง คมณี มาก พระองคประทับอยูที่ใดก็โปรดใหอัญเชิญพระเสตังคมณีไปไวที่นั่น พญามังรายเปนพระสหายสามเสาระหวางพอขุนรามคําแหงแหงกรุงสุโขทัย กับพญางําเมืองแหงเมืองพะเยา ทั้งสามเคยทําสัตยปฏิญาณตอกันและ รักกันมาก เมื่อพญามังรายชนะหริภุญชัยแลว จึงยกใหอายฟาเปนผู ครองเมื อ ง พระองค ไ ม ไ ด ป ระทั บ ในเมื อ งหริ ภุ ญ ชั ย เพราะถื อ ว า เป น เมืองพระธาตุ (พระเจดียหริภุญชัย) แตทรงสรางเวียงใหมคือเวียงแชชาง ๑๐๑


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

และเวี ย งกุ ม กามตามลํ า ดั บ เมื่ อ พญามั ง รายได ส ดั บ วั ฎ ฎั ง คุ ลี ช าดก จากพระมหากั ส สปะ ณ ป า ไม เ ดื่ อ นอกเวี ย งกุ ม กาม ทรงเกิ ด ความ เลือ่ มใส โปรดใหสรางพระพุทธรูป เจดียแ ละวัดกานโถม นอกจากนัน้ ยังมี พระมหาเถรเจาหมูหนึ่งไดนําเอาพระบรมสารีริกธาตุมาจากเมืองลังกา มาถวายพญามังรายดวย (ศูนยวัฒนธรรมจังหวัดเชียงใหมและศูนยศิลปวัฒนธรรม สถาบันราชภัฏเชียงใหม, ๒๕๓๘ : ๒๗-๓๓) ตอมาแมนา้ํ ปงเปลีย่ นทิศทาง ทําใหนา้ํ ทวมเวียงกุมกาม จึงทรงคิด จะสรางเมืองขึน้ ทีร่ มิ ฝง แมนา้ํ ปง ไดเชิญพระสหายทัง้ สองคือ พญางําเมือง แหงภูกามยาว (พะเยา) และพอขุนรามคําแหงแหงสุโขทัยไปปรึกษา พระสหายทัง้ สามไดเลือกชัยภูมทิ เี่ หมาะสม เชิงเขาเทวบรรพต (ดอยสุเทพ) ยาวดานละ ๒,๐๐๐ วา บนฝงขวาของแมน้ําปง แลวสรางเมืองใหมขึ้น เมือ่ พ.ศ.๑๘๓๙ ใหชอื่ วา “นวปุรศี รีนครพิงคเชียงใหม” เปนปฐมกษัตริยแ หง ลานนา และโปรดใหสถาปนาพระตําหนักเดิมขึ้นเปนวัดชื่อ “วัดเชียงมั่น” ประดิษฐานพระเสตังคมณี พระพุทธศาสนากอนสมัยพญามังราย เชื่อวากอนสมัยพญามังราย พระพุทธศาสนาในลานนาคงจะมี มหายานปะปนอยูบาง เหตุผลคือ ๑. คนไทยเคยอยูทางตอนใตของจีน เมื่ออพยพลงมาสูลานนา คงจะนําพระพุทธศาสนามหายานแบบจีนลงมาดวย ๒. เมือ่ ประมาณ ๗๐ ปมานี้ มีผขู ดุ พบถาดเงินทีอ่ าํ เภอเชียงแสน มีตัวหนังสือซึ่งเขียนดวยอักษรพื้นเมือง เปนบทมนตธารณี ตามคตินิยม ของฝายมหายาน อักขรวิธคี ลายภาษาบาลี มิใชสนั สกฤตเหมือนอยางฝาย มหายานใช แตเนือ้ หาเปนของมหายาน อานวา “ปสัยหปตตัง ริตติ ตีติ มัตติ จุติ มุตติ ธรณี นาม อิทัง อหัง วันทามิ สักกัจจัง” ๓. มหายานของขอมในสมัยพระเจาชัยวรมันที่ ๗ (๑๗๒๔– ๑๗๔๕) นัน้ รุง เรืองมาก มหายานจากขอม อาจจะแพรเขามายังแควนโยนก ก็ได ๑๐๒


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

มีขอ นาสังเกตบางประการเกีย่ วกับมหายานในลานนา คือยังมีรอ ง รอยของมหายานหลงเหลืออยูใ นลานนา เพราะวาชาวพุทธในบริเวณนี้ ทัง้ พระและฆราวาสทีเ่ ครงครัดในศาสนาจะไมรบั ประทานเนือ้ สัตว เพราะถือ ตามคติมหายานวา ผูรับประทานเนื้อสัตวเปนผูไรเมตตาปรานี เปนการ บํารุงกิเลส ไมเหมาะสมที่จะเปนพระโพธิสัตว สวนฝายหินยานนั้นไมถือ เรือ่ งนี้ เพียงถือตามบาลีวนิ ยั ทีว่ า ไมเห็น ไมไดยนิ และไมสงสัย วาเนือ้ สัตวนนั้ เขาฆาเพือ่ เรา เราก็ไมผดิ พระฉันได และฆราวาสก็รบั ประทานได ไมผดิ ศีล อีกพิธีหนึ่งของมหายานคือปอยขาวสังฆ ไดแก การทําบุญอุทิศ สวนบุญใหแกญาติทตี่ ายไปแลว ผูท าํ บุญจัดเตรียมทีน่ อน มุง เสือ้ ผา ของใช ขาว น้าํ ทุกอยางทีค่ นยังมีชวี ติ อยูใ ช แลวนําไปถวายพระอุทศิ กุศลใหผตู าย พิธนี มี้ หายานนิยมมาก และชาวจีนก็ทาํ พิธนี ี้ ซึง่ เรียกวา “กงเต็ก” นอกจาก นี้ การฉันเจ ฉันผลไมหลังเที่ยง ก็เปนอิทธิพลมหายาน จึงมักจะพบวา ภิกษุสามเณรชาวลานนาฉันผลไมและเมีย่ งหลังเทีย่ ง การสวดมนตทาํ นอง พื้นเมืองลานนาก็สวดคลายกับพระมหายาน คือสวดไมเปนทํานอง วาไป ตามตัวโดยเร็ว บางรูปสวดไมเปนเสียงบาลีก็มี (สิริวัฒน คําวันสา, ๒๕๔๑ : ๓๗-๓๘) สรุปวา กอนพญามังรายนัน้ พระพุทธศาสนาสวนใหญเปนหินยาน มีอิทธิพลมหายานปะปนอยูบาง แตเมื่อพญามังรายไดมีอํานาจขึ้นใน อาณาจักรลานนาแลว หินยานก็แพรหลายและเจริญเปนศาสนาประจํา ทองถิ่น เชนเดียวกับทางพมาและสุโขทัย

๑๐๓


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

กษัตริยราชวงศมังรายที่ปกครองเมืองเชียงใหม มี ๑๘ พระองค คือ ลําดับ ที่ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ ๑๑ ๑๒ ๑๓ ๑๔ ๑๕ ๑๖ ๑๗ ๑๘ ๑๐๔

รายชื่อกษัตริยที่ปกครอง พญามังราย พญาไชยสงคราม พญาแสนภู พญาคําฟู พญาผายู พญากือนา พญาแสนเมืองมา พญาสามฝงแกน พญาติลกราช พญายอดเชียงราย พญาแกว (พระเมืองแกว) พญาเกศเชษฐราช (พระเมืองเกษเกลา) ครั้งที่ ๑ ทาวชาย พญาเกศเชษฐราช (พระเมืองเกษเกลา) ครั้งที่ ๒ พระนางจิรประภา พญาอุปเยาว (พระไชยเชษฐา) ทาวแมกุ พระนางวิสุทธิเทวี

ป พ.ศ. ที่ ปกครอง ๑๘๐๔-๑๘๕๔ ๑๘๕๔-๑๘๖๘ ๑๘๖๘-๑๘๗๗ ๑๘๗๗-๑๘๗๙ ๑๘๗๙-๑๘๙๘ ๑๘๙๘-๑๙๒๘ ๑๙๒๘-๑๙๔๔ ๑๙๔๕-๑๙๘๔ ๑๙๘๔-๒๐๓๐ ๒๐๓๐-๒๐๓๘ ๒๐๓๘-๒๐๖๘ ๒๐๖๘-๒๐๘๑ ๒๐๘๑-๒๐๘๖ ๒๐๘๖-๒๐๘๘ ๒๐๘๘-๒๐๘๙ ๒๐๘๙-๒๐๙๐ ๒๐๙๐-๒๑๐๗ ๒๑๐๗-๒๑๒๑


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

หลังจากพระนางวิสุทธิเทวีจนถึง พ.ศ.๒๑๓๗ เชียงใหมก็ตกอยู ภายใตการปกครองของพมา (ที่มา : กรมวิชาการ, ๒๕๔๓ : ๔๐) พระพุทธศาสนาสมัยพระเจากือนา (พ.ศ.๑๘๙๘-๑๙๒๘) พระเจากือนา กษัตริยองคที่ ๙ ของเชียงใหม ทรงเปนธรรมิก ราช เพราะทรงเอาพระทัยใสศาสนาและบานเมืองรมเย็นเปนสุข พระเจา กือนาจะปรับปรุงพระพุทธศาสนา และทรงทราบวาที่นครพันมีพระเถระ มาจากลังกาชื่อพระอุทุมพรปุปผมหาสวามี จึงทรงสงทูตไปอาราธนา ทานเพื่อไปชวยเผยแผศาสนาในอาณาจักรลานนา ทานอุทุมพรไมไปเอง แตไดสงพระอานนทเถระกับคณะจํานวนหนึ่งไปแทน พระเจากือนาทรง อาราธนาใหพระอานนทเปนพระอุปชฌาย แตทานปฏิเสธและแนะนําวา ขอ ใหไปอาราธนาพระเถระจากสุโขทัย คือพระสุมนะ หรือพระอโนมทัส สีกไ็ ด เพราะทานอุทมุ พรไดมอบหมายใหทา นทัง้ สองเปนตัวแทนของทาน ในลัทธิลังกาวงศ พระเจากือนาจึงสงทูตไปขอทานทั้งสองจากกรุงสุโขทัย รูปใดจะไปก็ยินดี ครั้งแรกพระสุมนเถระสงภิกษุอื่นไปแทน ครั้งที่สอง พระเจากือนาสงทูตไปขออีก พระสุมนเถระจึงตกลงไป ครัง้ นัน้ พระเจากือนา เสด็จไปตอนรับพระสุมนเถระที่ลําพูน และใหทานจําพรรษาที่วัดพระยืน ทานไดผกู พัทธสีมาอุปสมบทแกกลุ บุตรชาวลําพูน และรวมกับพระเจากือนา บูรณะสถูปทีว่ ดั พระยืน ออกพรรษาแลวจึงไปเชียงใหม พญากือนาสรางวัด บุปผารามขึน้ ในบริเวณสวนดอกไมทศิ ตะวันตกของเมืองเชียงใหม เสร็จแลว จึงไดนมิ นตพระสุมนเถระมาพํานักในวัดดังกลาว ในป พ.ศ. ๑๙๑๕ พรอมทัง้ สถาปนาใหเปน พระสุมนวัณณนามหาสวามี พระสุมนวัณณนามหาสวามีไดถวายพระบรมสารีริกธาตุ ๒ องค แก พ ระเจ า กื อ นา องค ห นึ่ ง ประดิ ษ ฐานไว ที่ วั ด สวนดอก อี ก องค ห นึ่ ง พระเจ า กื อ นาได ท รงเสี่ ย งช า งอั ญ เชิ ญ พระบรมธาตุ ช า งได อั ญ เชิ ญ พระบรมธาตุ ขึน้ ไปบนยอดดอยสุเทวบรรพตและหยุดอยูท นี่ นั่ พระเจากือนา จึงทรงใหสรางพระเจดียใหญบรรจุพระบรมธาตุ คือ พระธาตุดอยสุเทพ ในปจจุบัน พระธาตุหรือเจดียที่สรางครั้งนั้นเปนศิลปะแบบลังกา ๑๐๕


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

เมื่อพระสุมนวัณณนามหาสวามีแหงวัดบุปผารามสวนดอกไม ประดิษฐานพระพุทธศาสนาในดินแดนลานนาแลว ไดเกิดความเคลือ่ นไหว ในวงการศาสนาอยางมาก โดยเฉพาะการขยายตัวขององคกรศาสนา เปนไปอยางกวางขวาง อาจกลาวไดวา การศาสนาเจริญรุง เรือง พระสงฆมี วัตรปฏิบตั ทิ เี่ ครงครัด รูปแบบการปฏิบตั ขิ องวัดสวนดอกไมกลายเปนแบบ อยางของพระสงฆเกือบทัง้ อาณาจักร มีพระภิกษุสามเณรจํานวนมากจาก หัวเมืองตางๆ เชน เชียงตุง เชียงแสน เชียงราย มาศึกษาเลาเรียนในสํานัก ของทานสุมนเถระ พระพุทธศาสนาสมัยพระแสนเมืองมา (พ.ศ.๑๙๒๘-๑๙๔๔) เมื่อพระเจากือนาสวรรคตแลว พระเจาแสนเมืองมา ราชโอรส ไดสบื ราชสมบัตติ อ มา ทรงมีพระนามเปนภาษาบาลีวา “พระเจาลักขปุราคม” (ลักข= แสน, ปุร=เมือง, อาคม=มา) เมื่อเสวยราชยใหมพระเจาอาของ พระองคคือทาวมหาพรหม เจาเมืองเชียงราย ยกกองทัพลงมาลอมเมือง เชียงใหมเพื่อหวังเอาราชสมบัติ แตไมสําเร็จ จึงถอยทัพกลับไป จากนั้น ไดยกทัพไปลอมกําแพงเพชร ไดพระพุทธสิหิงคมาไวที่เชียงราย ภายหลัง พระเจาแสนเมืองมายกทัพไปตีเมืองเชียงรายได พระเจาอายอมสวามิภกั ดิ์ พรอมทั้งถวายพระพุทธสิหิงค พระเจาแสนเมืองมาจึงนํามาประดิษฐาน ที่เชียงใหม แรกทีเดียวตั้งพระทัยวาจะเอามาไวที่วัดสวนดอก แตเมื่อ มาถึงวัดลีเชียง พระราชรถก็หัก จึงโปรดใหสรางวัดขึ้น ณ ที่นั้น เพื่อ เปนที่ประดิษฐานพระพุทธสิหิงคคือวัดพระสิงหในปจจุบัน (ที่จริงคือวัด พระพุทธสิหงิ คนนั่ เอง เมือ่ ออกเสียงเร็ว ก็เปนวัดพระสิงห) พระพุทธสิหงิ ค องคปจ จุบนั เปนพระพุทธรูปทีส่ าํ คัญมากของไทย องคหนึง่ ประดิษฐานอยู ที่วัดพระสิงห องคหนึ่งประดิษฐานอยูที่พระที่นั่งพุทไธสวรรค ในบริเวณ พิพธิ ภัณฑสถานแหงชาติ และอีกองคหนึง่ ประดิษฐานอยูท นี่ ครศรีธรรมราช ในรั ช สมั ย เดี ย วกั น นี้ ท างเมื อ งเชี ย งรายก็ ไ ด พ ระแก ว มรกตมา พระเจาแสนเมืองมาจึงใหอัญเชิญพระแกวมรกตมาที่เชียงใหม เมื่อชางที่ ๑๐๖


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

เปนพาหนะออกเดินทางมา กลับมุงหนาไปทางลําปาง ไมยอมเขาเมือง เชียงใหม จึงไดนําพระแกวมรกตไปประดิษฐาน ณ วัดพระแกวดอนเตา สุชาดาราม จังหวัดลําปาง ตอมาในสมัยพระเจาติลกราชไดอัญเชิญมาไว ที่เชียงใหม นอกจากนั้น พระเจาแสนเมืองมายังไดสรางกูหลวงไวกลางเมือง เพื่อเก็บอัฐิของพระเจากือนา (ปจจุบันคือเจดียหลวง) และสรางวัดขึ้นอีก วัดหนึง่ บริเวณเหนือลานพระราชวัง คือวัดหัวขวงหรือวัดแสนเมืองมาหลวง พระพุทธศาสนาสมัยพระเจาสามฝงแกน (พ.ศ.๑๙๕๔–๑๙๘๔) พระเจาสามฝงแกน พระบิดาแหงพระเจาติลกราช ทรงนับถือ พระพุทธศาสนานิกายเดิม ริบเอาที่เก็บผลประโยชนบํารุงวัดของวัดอื่นๆ มารวมใหวัดมุงเมือง เพราะพระองคสรางวัดนี้ทําใหพระสงฆเดือดรอน ศาสนาเสื่อมลง พระมหาญาณคัมภีร (หรือพระธรรมคัมภีร) ซึ่งเปนศิษยของ พระมหาโพธิธัมมกิตติ วัดนันทาราม ไดศึกษาคัมภีรพระไตรปฎกและ คั ม ภี ร อื่ น ๆ โดยเฉพาะคั ม ภี ร รู ป สั ท ทาจนแตกฉาน แล ว พบว า สิ่ ง ที่ คณะสงฆในยุคนั้นปฏิบัติอยูผิดพระธรรมวินัย เชน เมื่อพระมหามติมา เดินทางกลับเมืองพันหลังจากที่ไปศึกษาที่ลังกา ระหวางทางไดอุปสมบท ใหกุลบุตรที่เดินทางมาดวย โดยจํานวนพระภิกษุในพิธีอุปสมบทมีเพียง ๔ รูป ตลอดจนการสวดออกเสียงภาษาบาลีที่ผดิ ของพระฝายวัดสวนดอก ดังที่พระสิทธันตะซึ่งเปนพระสงฆฝายวัดสวนดอกไดไปสวดกรรมวาจา ปาฏิโมกขที่ลังกา แลวถูกพระสงฆชาวลังกากลาวตําหนิวาสวดไมถูกตอง ตามอักขรวิธี ปญหาเรื่องการปลูกและถอนสีมาของวัดสวนดอก วิวาทะ เรื่องการรับผากฐินของพระญาณสาคระแหงวัดสวนดอก และปญหา เรือ่ งการเรียนปาฏิโมกขของสามเณร เปนตน นอกจากนัน้ เมือ่ พระสงฆชาว อยุธยาที่ไดไปบวชใหมที่ลังกาแลวเดินทางมาเมืองเชียงใหม กลาวตําหนิ พระสงฆชาวเชียงใหมวาถือไมเทาขณะบิณฑบาตและรับเงินทอง ซึ่งผิด พระวินัย พระมหาญาณคัมภีรจึงสอบถามกับพระมหาโพธิธัมมกิตติ แต ๑๐๗


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

พระมหาโพธิธมั มกิตติบอกวา ทานเรียนมาจากสํานักของพระมหาสุมนเถระ แหงเมืองสุโขทัย และพระสุชาโต เมืองอยุธยา ดังนั้น พระมหาญาณ คัมภีร พรอมดวยศิษยของพระมหาโพธิธัมมกิตติ จํานวน ๕ รูป จึงไดไป ถามราชครูเมืองอยุธยา ซึ่งทานราชครูก็อางวาไดศึกษาเลาเรียนสืบกันมา อยางนี้ ถาพระมหาญาณคัมภีรและคณะสงสัยก็ใหไปสอบถามและศึกษา กับพระมหาเถระที่เมืองลังกาเถิด เหตุผลดังกลาวนี้ทําใหพระมหาญาณคั ม ภี ร เ ห็ น ว า ควรไปศึ ก ษาและรั บ เอาแบบแผนที่ ถู ก ต อ งของพระพุ ท ธ ศาสนามาประดิษฐานทีเ่ มืองเชียงใหม เพราะเชือ่ มัน่ วาสมัยทีพ่ ระพุทธเจา ยังทรงพระชนมอยูไดเสด็จไปลังกาทวีปถึง ๓ ครั้ง เพื่อใหพุทธศาสนา ตั้งมั่นในลังกาทวีป (พระรัตนปญญาเถระ, ๒๕๑๕: ๑๒๑) ดังนั้น ในป พ.ศ. ๑๙๖๗ พระสงฆชาวเชียงใหม จํานวน ๒๕ รูป คือ พระมหาญาณคัมภีรและคณะ พรอมดวยคณะสงฆจากแควนกัมโพช (ลพบุรี) อีก ๘ รูป จึงไดเดินทางเพื่อไปศึกษาพระพุทธศาสนาที่เมืองลังกา เมื่อไปถึงลังกาแลวไดศึกษาอักษรศาสตร การออกเสียงภาษาบาลี และ ไดบวชแปลง โดยคณะสงฆลังกาจํานวน ๒๐ รูป มีพระธรรมาจารยเปน พระอุปชฌาย พระมหาสามีวนรัตเปนพระกรรมวาจาจารยดวยนทีสีมา เมื่อ พ.ศ. ๑๙๖๘ เมื่อจะเดินทางกลับมายังเมืองเชียงใหม พระมหาญาณ คัมภีรไดนิมนตพระสงฆชาวลังกามาดวย ๒ รูป คือ พระมหาวิกกมพาหุ และพระมหาอุตตมปญญา เพื่อใหมาเปนพระอุปชฌายอุปสมบทกุลบุตร ในเมื อ งเชี ย งใหม (พระรั ต นป ญ ญาเถระ, ๒๕๑๕: ๑๒๑) เนื่ อ งจาก พระมหาญาณคัมภีรและคณะที่ไปบวชแปลงกับคณะสงฆลังกามีพรรษา ไมถึง ๑๐ พรรษา เพราะพระวินัยกําหนดวาภิกษุที่จะเปนพระอุปชฌาย ไดตองมีพรรษา ๑๐ ขึ้นไป เมื่อมาถึงเชียงใหมแลว คณะสงฆดังกลาวไดเผยแผพระศาสนา ตามทีศ่ กึ ษา ทําใหเกิดคณะสงฆขนึ้ อีกสํานักหนึง่ ในเมืองเชียงใหม เรียกวา คณะสงฆสีหลปกข มีศูนยกลางอยูที่วัดปาแดง ซึ่งคณะสงฆวัดปาแดงนี้ ได ก ล า วตํ า หนิ ค ณะสงฆ วั ด สวนดอกว า มี วั ต รปฏิ บั ติ ที่ ไ ม ถู ก ต อ งตาม พระธรรมวินัย (ยุพิน เข็มมุกต, ๒๕๓๑ : ๓๓) ๑๐๘


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

ตํานานมูลศาสนา ตํานานวัดปาแดง ตํานานมูลศาสนาญาณคัมภีร และตํานานพระมหาญาณคัมภีร ไดกลาวถึงการเผยแผพระพุทธศาสนา นิกายลังกาวงศของสํานักวัดปาแดงที่เมืองเชียงแสน และเมืองเชียงตุงนั้น ตลอดจนความขั ด แย ง ในลั ก ษณะเดี ย วกั บ ที่ เ กิ ด ขึ้ น ในเมื อ งเชี ย งใหม ในสมัยพญาสามฝงแกน ระหวางฝายวัดสวนดอกหรือวัดยางควง กับฝาย วัดปาแดงในเมืองเชียงตุงดวย สรุปความวา ศาสนาพุทธขณะนัน้ มี ๓ นิกาย คือ นิกายเดิม นิกาย พระสุมนะจากสุโขทัย และนิกายใหมจากลังกา พระพุทธศาสนาสมัยพระเจาติลกราช (พ.ศ.๑๙๘๕–๒๐๒๐) พระเจาติลกราชหรือติโลกราชทรงเลื่อมใสพระสงฆนิกายลังกา วงศใหม ทรงอุปถัมภนานัปการ ทรงออกผนวชในนิกายนี้เปนเวลา ๗ วัน นั บ ได ว า เป น ยุ ค ทองแห ง พระพุ ท ธศาสนาในล า นนาก็ ว า ได ผลงานที่ พระองคทรงกระทํา พอสรุปไดดังนี้ ๑. เมื่อ พ.ศ.๑๙๘๕ ทรงบําเพ็ญกุศลบวชพระชาวเชียงใหม จํานวน ๕๐๐ รูป ณ ริมฝงแมน้ําปง ๒. ทรงสรางสถูปบรรจุอฐั ขิ องพระบิดา ณ วัดปาแดง สรางอาราม ตางๆ มีวดั อโศการามหรือวัดปาแดงหลวง เปนตน สรางวิหารตาง ๆ หลาย หลัง ๓. สรางโลหะปราสาท และรัตนมาลาเจดีย พระองคไดสราง วัดขึ้นแหงหนึ่งทางดานตะวันตกเฉียงเหนือของเมืองเชียงใหม โดยโปรด ใหอํามาตยชื่อ “หมื่นดามพราคด” ไปดูเจดียสถานในอินเดียและลังกา แลวจําลองแบบวิหารพุทธคยา โลหะปราสาท และรัตนมาลาเจดีย มาสราง ไวที่วัดนี้ เพื่อเปนการฉลองพุทธศักราชครบ ๒,๐๐๐ ป แลวพระราชทาน นามวา “มหาโพธาราม” ๔. เสด็จออกผนวช เมื่อ พ.ศ.๑๙๙๐ โดยมอบใหพระราชมารดา วาราชการแทน ทรงศึกษาพระธรรมวินยั อยูช วั่ ระยะหนึง่ แลวเสด็จลาผนวช ๕. ทรงใหทําสังคายนาที่วัดมหาโพธาราม (วัดเจ็ดยอด) เมื่อ ๑๐๙


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

พ.ศ.๒๐๒๐ นับเปนสังคายนาครั้งแรกในประเทศไทย และเปนสังคายนา ครั้งที่ ๘ ของโลก ในการสังคายนาครั้งนี้มีพระธรรมทินเถระ วัดปาตาล เปนประธาน พระองคเปนผูอุปถัมภ วัตถุประสงคของการสังคายนาครั้งนี้ ก็เพื่อขจัดปญหาขอขัดแยงกันระหวางสงฆ ๒ นิกาย คือ ลังกาเกากับ ลังกาใหม ผลการสังคายนาครั้งนี้ ทําใหพระพุทธศาสนาในลานนาเขมแข็ง รุงเรืองขึ้น และเลื่องลือไปยังประเทศเพื่อนบานดวย เมื่อศาสนาเขมแข็ง ก็ทําใหบานเมืองเปนปกแผน เปนที่ยําเกรงของอาณาจักรใกลเคียง เชน สุโขทัย และอยุธยา เปนตน ๖. ใหขยายกูห ลวงทีว่ ดั โชติการาม ดานละ ๕๓ วา สูงสองเสนเศษ แลวอัญเชิญพระแกวมรกตจากลําปาง มาประดิษฐาน ณ ซุม จรนัม ทางทิศ ตะวันออกของกูหลวง การทําสังคายนาที่วัดมหาโพธาราม จากหลั ก ฐานเกี่ ย วกั บ ประวั ติ ศ าสตร ข องการทํ า สั ง คายนา พระไตรปฎกแตละครั้งนั้น ลวนเกิดจากความไมลงรอยกันทางความคิด โดยเฉพาะการตีความพระธรรมวินัย เชน การทําสังคายนา ครั้งที่ ๒ ซึ่ง มีมูลเหตุมาจากความเห็นผิด (บัญญัติวัตถุ ๑๐ประการ) ของพระวัชชี บุตร แหงเมืองเวสาลี เปนตน เมื่อพระสงฆในลานนาเกิดความขัดแยงกัน (ตั้งแตรัชสมัยพญาสามฝงแกน)เพื่อแกไขปญหาที่เกิดขึ้น พญาติลกราช จึงไดอาราธนาพระสงฆทั้งหลายรวมกันสังคายนาพระไตรปฎกที่วัดมหา โพธาราม (วัดเจ็ดยอด) เมื่อ พ.ศ.๒๐๒๐ เปนการชําระอักษรและรวบรวม คัมภีรพระไตรปฎกใหสมบูรณ เพื่อสรางความสามัคคีและเพื่อสถาปนาให พระพุทธศาสนาตัง้ มัน่ ในดินแดนลานนา (พระรัตนปญญาเถระ, ๒๕๑๕ : ๔๙) คัมภีรช นิ กาลมาลีปกรณ ไมไดกลาวถึงเหตุการณการทําสังคายนา ในสมัยพญาติลกราชโดยตรง แตไดกลาวอางถึงเมื่อมีการประกอบพิธี ดื่ ม น้ํ า พิ พั ฒ น สั ต ยาของเจ า เมื อ งนายและเจ า เมื อ งเชี ย งทอง ที่ ม าทํ า ๑๑๐


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

ฉันทไมตรียกเมืองของตนถวายพระเมืองแกว (พญาติลกปนัดดาธิราช) เมือ่ จ.ศ. ๗๘๙ โดยในพิธดี งั กลาว มีการอัญเชิญพระสีหลปฏิมา (พระพุทธสิหงิ ห) พระไตรปฎกที่ไดชําระอักษรดีแลวในสมัยพญาติลกราช และพระสงฆ ทั้ ง ๓ คณะ ซึ่ ง ถื อ เป น ตั ว แทนของพระรั ต นตรั ย มาเป น สั ก ขี พ ยาน ใหเจาเมืองนาย และเจาเมืองเชียงทอง กลาวคําสัตยปฏิญาณ (พระรัตนปญญาเถระ, ๒๕๑๕ : ๑๔๘-๑๔๙) สวนตํานานมูลศาสนา ตํานาน วัดปาแดง ตํานานมหาญาณคัมภีร ตํานานมูลลศาสนาญาณคัมภีร และ ตํานานพืน้ เมืองเชียงใหม ไมไดกลาวถึงเรือ่ งการทําสังคายนาทีว่ ดั เจ็ดยอด เมื่อ พ.ศ. ๒๐๒๐ แตอยางใด ขอที่นาสังเกตอีกประการหนึ่งของการทําสังคายนาครั้งนี้ คือ คณะสงฆที่เปนประธานคือ พระธรรมทินนะ แหงวัดปาตาล ซึ่งทานเปน พระสงฆฝายวัดปาแดง และพญาติลกราชทรงเลื่อมใส ซึ่งทรงลาผนวชที่ วัดปาแดงเปนเวลา ๗ วัน การทําสังคายนาครัง้ นีน้ า จะเปนการยกยองและ ประกาศสถาปนาคณะสงฆฝายวัดปาแดงวาเปนลัทธิหรือนิกายที่ถูกตอง ตามพระธรรมวินัย เพราะในสมัยพญาสามฝงแกนนั้น พญาสามฝงแกน ทรงนับถือพระสงฆฝายวัดสวนดอก เมื่อพระสงฆทั้ง ๒ ฝายทะเลาะกัน ทรงขับไลใหพระสงฆฝายวัดปาแดงไปอยูที่เชียงตุง และการทําสังคายนา ครั้ ง นั้ น ไม ไ ด ร ะบุ ว า มี ค ณะสงฆ ฝ า ยวั ด สวนดอก หรื อ คณะสงฆ นิ ก าย พื้นเมือง เขารวมดวยหรือไม หลังการทําสังคายนาที่วัดเจ็ดยอด ไมปรากฏหลักฐานเกี่ยวกับ ความขั ด แย ง ของคณะสงฆ ห รื อ กล า วถึ ง การยอมรั บ ผลของการทํ า สังคายนาดังกลาว เพราะเมื่อมีการประกอบราชพิธีตางๆ จะนิมนต พระสงฆจากทั้ง ๓ คณะ มารวมประกอบพิธีดวยกัน แตหากเปนการ บรรพชาอุปสมบทแลวตางฝายตางทําสังฆกรรมแยกออกไปเฉพาะ แสดงให เห็นวาภาวะความขัดแยงมิไดหมดไปโดยสิน้ เชิง แตผลของการทําสังคายนา ที่วัดมหาโพธาราม เมื่อ พ.ศ. ๒๐๒๐ นั้น ก็ประสานความเขาใจและการ ยอมรับซึ่งกันและกันไดระดับหนึ่ง นอกจากนั้นยังเปนผลใหมีความตื่นตัว ในเรื่องการศึกษาและรจนาคัมภีรภาษาบาลีมากขึ้น จนถึงยุครุงเรืองที่สุด ในรัชสมัยของพระเมืองแกว คือมีการแตงคัมภีรภาษาบาลี ๑๑๑


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

และลานนาเปนจํานวนมาก ถือไดวาเปนยุคทองของวรรณกรรมพระพุทธ ศาสนาในลานนา พระพุทธศาสนาสมัยพระเจาเมืองแกว (พ.ศ.๒๐๓๘–๒๐๖๘) พระเจาเมืองแกวเปนหลานของพระเจาติลกราช ทรงเลื่อมใส พระพุทธศาสนาเปนอยางยิง่ พระราชกิจประจําคือการสรางวัด ซอมวิหาร และบวชนาค ครัง้ หนึง่ มีพธิ บี วชนาคหลวงครัง้ ใหญจาํ นวนพระ ๑,๒๐๐ รูป นับเปนการบวชครั้งใหญในลานนา วรรณกรรมพระพุทธศาสนาที่แตงโดยพระภิกษุชาวลานนา ผลทีเ่ กิดขึน้ จากการเดินทางไปศึกษาและสืบทอดพระพุทธศาสนา จากลังกาและพมา ทําใหพระสงฆชาวลานนามีความรูเรื่องภาษาบาลีเปน อยางดี จนสามารถทําสังคายนาพระไตรปฎกที่เปนภาษาบาลี โดยการ สนับสนุนของพญาติลกราช เมือ่ พ.ศ. ๒๐๒๐ ทําใหเกิดความตืน่ ตัวในดาน การศึกษาคัมภีรทางพระพุทธศาสนา มีการแตงคัมภีรภาษาบาลี การแปล และการแตงคัมภีรภ าษาลานนา เพือ่ อธิบายคัมภีรพ ระไตรปฎก พระธรรมวินยั และคัมภีรประเภทภาษาศาสตร ตํานาน ฯลฯ เปนจํานวนมาก ดังจะเห็น ไดจากผลงานวรรณกรรมภาษาบาลีทสี่ าํ คัญๆ และเปนทีย่ อมรับกันวา เปน ผลงานของนักปราชญชาวลานนา ลิขติ ลิขิตตานนท (๒๕๓๔ : ๑๐๖) ไดสรุปรายชือ่ คัมภีรภ าษาบาลี ที่แตงโดยพระสงฆชาวลานนา ดังนี้ ๑. จามเทวี ว งศ ว า ด ว ยเรื่ อ งประวั ติ ข องพระนางจามเทวี ประวัติเมืองหริภุญชัยและเมืองเขลางคนคร แตงโดยพระโพธิรังสี ระหวาง พ.ศ. ๑๙๘๕ – ๒๐๖๘ ๒. สิหงิ คนิทาน วาดวยเรือ่ งประวัตขิ องการสรางพระพุทธสิหงิ ค แตงโดยพระโพธิรังสี ระหวาง พ.ศ. ๑๙๘๕ – ๒๐๖๘ ๑๑๒


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

๓. สัททัตถเภทจินตาปทักกมโยชนา คูม อื คัมภีรไ วยากรณ ชือ่ สัททัตถเภทจินตา แตงโดยพระธรรมเสนาปติเถระ แตงที่เมืองเชียงใหม ระหวาง พ.ศ. ๑๙๘๕ – ๒๐๖๘ ๔. สมั น ตปาสาทิ ก าอั ต ถโยชนา คู มื อ อธิ บ ายความหมาย ของศัพท คํา ประโยค และขอความในคัมภีรสมันตปาสาทิกา แตงโดย พระญาณกิตติ แตงเมื่อ พ.ศ. ๒๐๓๕ ๕. ปาฏิ โ มกขคั ณ ฐี ที ป นี คั ม ภี ร อ ธิ บ ายพระภิ ก ขุ ป าฏิ โ มกข แตงโดยพระญาณกิตติ แตงเมื่อ พ.ศ. ๒๐๓๙ ๖. สีมาสังกรวินจิ ฉัย คัมภีรว า ดวยเรือ่ งการพิจารณาวินจิ ฉัยการ คาบเกี่ยวกันแหงสีมาคือเขตแดนแหงอุโบสถ สถานที่ประกอบสังฆกรรม ของคณะสงฆ แตงโดยพระญาณกิตติ เมื่อประมาณ พ.ศ. ๒๐๓๙ ๗. อัฎฐสาลินอี ตั ถโยชนา แตงอธิบายคัมภีรอ ฏั ฐสาลินี แตงโดย พระญาณกิตติ แตงเมื่อประมาณ พ.ศ. ๒๐๓๙ ๘. สัมโมหวิโนทนีอัตถโยชนา แตงอธิบายความหมายของ คําศัพท คํา ประโยค และขอความในคัมภีรสัมโมหวิโนทนี แตงโดย พระญาณกิตติ ๙. ธาตุกถาอัตถโยชนา คูมืออธิบายความหมายของคําศัพท คํา ประโยค และขอความในคัมภีรธาตุกถา แตงโดยพระญาณกิตติ ๑๐. ปุคคลปญญัตติอัตถโยชนา คูมืออธิบายความหมายของ คําศัพท คํา ประโยค และขอความในคัมภีรปุคคลปญญัตติ แตงโดย พระญาณกิตติ ๑๑. กถาวัตถุอัตถโยชนา คูมืออธิบายความหมายของคําศัพท คํา ประโยค และขอความในคัมภีรกถาวัตถุ แตงโดยพระญาณกิตติ ๑๒. ยมกอั ต ถโยชนา คู มื อ อธิ บ ายความหมายของคํ า ศั พ ท คํา ประโยค และขอความในคัมภีรยมก แตงโดยพระญาณกิตติ ๑๓. ปฏฐานอัตโยชนา คูมืออธิบายความหมายของคําศัพท คํา ประโยค และขอความในคัมภีรปฎฐาน แตงโดยพระญาณกิตติ ๑๔. อภิธัมมัตถวิภาวินีอัตถโยชนา คูมืออธิบายขยายใจความ แหงคัมภีรอ ภิธมั มัตถวิภาวินี แตงโดยพระญาณกิตติ แตงเมือ่ พ.ศ. ๒๐๔๕ ๑๑๓


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

๑๕. มูลกัจจายนอัตถโยชนา คูมืออธิบายคัมภีรไวยากรณบาลี แตงโดยพระญาณกิตติ ประมาณ พ.ศ. ๒๐๔๗ ๑๖. สัททพินทุอภินวฎีกา คูมืออธิบายคัมภีรไวยากรณบาลี แตงโดยพระสัทธรรมกิตติมหาผุสสเทวะแหงเมืองหริภญ ุ ชัย ประมาณ พ.ศ. ๒๐๕๐ ๑๗. เวสสันตรทีปนี คูมืออธิบายคัมภีรเวสสันดรชาดก แตงโดย พระสิริมังคลาจารย เมื่อ พ.ศ. ๒๐๖๓ ๑๘. จั ก กวาฬที ป นี คั ม ภี ร อ ธิ บ ายเกี่ ย วกั บ ภู มิ วิ ท ยาและ จักรวาลวิทยา แตงโดยพระสิริมังคลาจารย เมื่อพ.ศ. ๒๐๖๓ ๑๙. สั ง ขยาปกาสกฎี ก า คู มื อ อธิ บ ายคั ม ภี ร สั ง ขยาปกาสกะ แตงโดยพระสิริมังคลาจารย เมื่อ พ.ศ. ๒๐๖๓ ๒๐. มังคลัตถทีปนี หรือ มงคลทีปนี คูมืออธิบายความแหง มงคลสูตร ในคัมภีรพ ระสุตตันตปฎก แตงโดยพระสิรมิ งั คลาจารย แตงเมือ่ พ.ศ. ๒๐๖๗ ๒๑. ชิ น กาลมาลี ป กรณ คั ม ภี ร ว า ด ว ยประวั ติ ค วามเป น มา ของพระพุทธศาสนา โดยเริ่มตั้งแตบําเพ็ญบารมีของพระโพธิสัตวจนถึง การเผยแผพระพุทธศาสนาในลานนา แตงโดยพระสิริรัตนปญญาเถระ แหงเมืองเชียงราย แตงเมื่อ พ.ศ. ๒๐๖๐ ๒๒. มติ กั ต ถสรู ป ธั ม มสั ง คิ ณี คั ม ภี ร อ ธิ บ ายความแห ง พระอภิธรรมปฎกโดยยอ แตงโดยพระสิริรัตนปญญาเถระ ประมาณ พ.ศ. ๒๐๖๐ – ๒๐๖๕ ๒๓. วชิรสารัตถสังคหะ คัมภีรซ งึ่ รวบรวมทีม่ าของหัวใจแหงคาถา ตางๆ แตงโดยพระสิริรัตนปญญาเถระ เมื่อ พ.ศ. ๒๐๗๘ ๒๔. ปญญาสชาดก เรือ่ งการกําเนิดของพระโพธิสตั วในพระชาติ ต า งๆ ๕๐ ชาดก แต ง โดยพระเถระแห ง เมื อ งเชี ย งใหม ประมาณ พ.ศ. ๒๐๔๕ – ๒๐๙๐ ๒๕. สังขยาปกาสกะ วาดวยเรื่องมาตรา การชั่ง ตวง วัด ระยะ เวลา น้าํ หนัก ฯลฯ แตงโดยพระญาณวิลาส ประมาณ พ.ศ. ๒๐๕๐ – ๒๐๕๘ ๑๑๔


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

๒๖. ปถมสัมโพธิ ประวัติของพระพุทธเจาฉบับพิสดาร แตงโดย พระ สุวัณณรังสี ๒๗. อุ ป ปาตสั น ติ แต ง เป น คาถาสรรเสริ ญ พระพุ ท ธคุ ณ พระปจเจกพุทธเจา และพระอรหันตสาวก มี ๒๗๕ คาถา แตงโดย พระเถระชาวเชียงใหม ประมาณพ.ศ. ๒๐๒๐- ๒๐๗๐ ๒๘. วิสุทธิมัคคทีปนี คูมืออธิบายคัมภีรวิสุทธิมัคค แตงโดย พระอุตตราราม แตงเมื่อประมาณ พ.ศ. ๒๐๖๕ – ๒๑๔๕ นอกจากคัมภีรห รือวรรณกรรมบาลีเหลานีแ้ ลว พระสงฆทถี่ อื เปน นักปราชญชาวลานนายังไดมกี ารแปลคัมภีรพ ระไตรปฎก แตงคัมภีรช าดก นอกนิบาต คัมภีรอานิสงส คัมภีรธรรมเทศนา ตางๆ ตลอดจนถึงมีการ แตงคัมภีรปกรณวิเสสเพื่ออธิบายพระไตรปฎกเปนภาษาลานนาอีกดวย ดังปรากฏพบคัมภีรใบลานจํานวนมากที่เก็บรักษาไวตามวัดตางๆ ในเขต อาณาจักรลานนา เชียงใหมสมัยเปนเมืองขึ้นของพมา (พ.ศ.๒๑๐๑-๒๓๑๗) เมืองเชียงใหมเริม่ เสือ่ มลงในชวงปลายสมัยราชวงศมงั ราย หลังจาก พญาแกวสวรรคตแลว สาเหตุมาจากปญหาทางการเมืองและการปกครอง เกิดความแตกแยกกันระหวางขุนนางกับกษัตริย ขุนนางเริ่มสะสมอํานาจ ถึงขนาดแตงตั้งกษัตริยไดตามความตองการของตน ทําใหสถาบันกษัตริย อ อ นแอลง ขณะเดี ย วกั น ก็ เ กิ ด ความขั ด แย ง ระหว า งขุ น นางในเมื อ ง กับขุนนางที่อยูหัวเมือง รัฐที่อยูใกลเคียงเริ่มเขามารุกราน บานเมือง เกิ ด ความระส่ํ า ระสาย ดั ง นั้ น เมื่ อ พระเจ า บุ เรงนองยกกองทั พ พม า มาตีเชียงใหม จึงใชเวลารบอยูเพียง ๓ วัน ก็สามารถยึดเชียงใหมไดใน พ.ศ.๒๑๐๑ เมื่อพมายึดเชียงใหมไดแลว ก็มิไดลงมาปกครองเมืองเชียงใหม โดยตรง แตใชวิธียอมใหเชียงใหมปกครองตนเองในฐานะประเทศราช มีพมาเปนผูควบคุม โดยบางชวงพมาก็สงกษัตริยมาปกครองพรอมทั้งสง ขาราชการและกองทัพมาประจําทองที่ ในระหวางทีพ่ มายึดครองเชียงใหม ๑๑๕


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

พมาไดเกณฑคนจากเมืองตางๆ ภายใตการปกครองของเชียงใหมใหมา รวมกองทัพกับพมาเพื่อทําสงครามกับอยุธยา ทําใหชาวเมืองเดือดรอน เพราะถูกเกณฑไปทําสงครามและใชแรงงาน นอกจากนี้ยังตองเสียภาษี ที่เรียกวาคาหลังคาคออยางหนัก เวลาเกิดเหตุการณไมสงบขึ้นครั้งใด พมาก็จะใชกําลังปราบปรามและกวาดตอนผูคนไปพมา ระหวางที่พมา ปกครองเชียงใหมนนั้ ไดเกิดการกอกบฏเปนระยะ แตไมสามารถเอาชนะได ใน พ.ศ.๒๑๐๗ พมาไดปลดทาวแมกุออกจากบัลลังก เนื่องจากคบคิดกับ เจาเมืองเชียงแสนกอการกบฏตอพมา แลวนําตัวทาวแมกุไปพํานักที่เมือง หงสาวดีจนตลอดชีพ พระเจาบุเรงนองไดแตงตั้งพระนางวิสุทธิเทวี ชายา ของพระองคซึ่งมีเชื้อสายราชวงศมังรายปกครองเมืองเชียงใหมจนกระทั่ง พระนางสวรรคต พมาจึงแตงตั้งเจานายที่เปนเชื้อพระวงศพมากับลานนา ขุนนางพมาและเจานายพื้นเมืองที่จงรักภักดีตอพมามาปกครองเมือง เชียงใหมสืบตอกันมา (กรมวิชาการ, ๒๕๔๓ : ๔๖-๔๘) เชียงใหมในสมัยราชวงศเจาเจ็ดตน พมาปกครองลานนาถึง ๒๐๐ กวาป ในชวงเวลาดังกลาว ลานนา พยายามที่ จ ะขั บ ไล พ ม า หลายครั้ ง แต ไ ม ป ระสบผลสํ า เร็ จ จนเมื่ อ พญากาวิละและอนุชาไดสวามิภักดิ์ตอสยามแลว จึงไดรับความรวมมือ จากพระเจาตากสินมหาราช ขับไลพมาออกจากเชียงใหมสําเร็จในป พ.ศ.๒๓๑๗ แลวไดสถาปนาราชวงศเจาเจ็ดตนครองเมืองเชียงใหมจนถึง พ.ศ.๒๔๘๒ ก็ถูกรวมเขากับไทย มีฐานะเปนเพียงจังหวัดหนึ่งของไทย สืบมาจนทุกวันนี้

๑๑๖


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

กษัตริยในราชวงศเจาเจ็ดตนที่ครองเมืองเชียงใหม ๙ พระองค ลําดับ ที่ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙

รายชื่อกษัตริยที่ปกครอง พระเจากาวิละ (พญากาวิละ) พญาธรรมลังกา พญาคําฝน พญาพุทธวงศ พระเจามโหตรประเทศ (พญามหาวงศ) พระเจากาวิโลรสสุริยสงศ พระเจาอินทวิชยานนท พระเจาอินทวโรรสสุริยวงศ พลตรีเจาแกวนวรัฐ

ป พ.ศ. ที่ ปกครอง ๒๓๒๔-๒๓๕๘ ๒๓๕๙-๒๓๖๔ ๒๓๖๔-๒๓๖๗ ๒๓๖๗-๒๓๘๙ ๒๓๙๐-๒๓๙๖ ๒๓๙๖-๒๔๑๓ ๒๔๑๓-๒๔๔๐ ๒๔๔๐-๒๔๕๒ ๒๔๕๒-๒๔๘๒

(ที่มา : กรมวิชาการ, ๒๕๔๓ : ๕๑-๕๒) พระพุทธศาสนาในสมัยราชวงศเจาเจ็ดตน หลังจากทีพ่ ญากาวิละ ไดเปนกษัตริยข องเชียงใหมแลว บานเมือง ก็แทบจะเปนเมืองราง ทําใหพญากาวิละตองไปกวาดตอนเอาผูคนจาก ที่ตางๆ เชน เชียงแสน เมืองยอง เมืองพยาก เปนตน มาอยูเชียงใหม จนเรียกกันในยุคนั้นวา “ยุคเก็บผักใสซา เก็บขาใสเมือง” ควบคูไปกับ การสรางบานแปงเมือง กษัตริยทุกพระองคก็มิไดละเลยตอการเอาใจใส ทํานุบํารุงพระพุทธศาสนา เมื่อลานนา ถูกผนวกเขาเปนสวนหนึ่ง ของอาณาจักรสยาม ในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว (รัชกาลที่ ๕) รั ฐ บาลจากส ว นกลาง ได ส ง ข า หลวงเข า มาปกครองและบริ ห ารงาน ในเมืองเชียงใหม และไดมีการจัดระบบการปกครองสงฆของลานนาใหม ๑๑๗


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

โดยสถาปนาสังฆนายกโสภา (ครูบาโสภา โสภโณ) วัดฝายหิน เปน “พระอภัยสารทสังฆปาโมกข” ดํารงตําแหนงเจาคณะจังหวัดเชียงใหม และ สงพระสงฆคณะธรรมยุติกนิกาย มาวางระบบการปกครองของคณะสงฆ ในมณฑลพายัพ โดยการนําของพระนพีสพี ศิ าลคุณ (มหาปง) เปรียญธรรม ๕ ประโยค ซึ่ ง ท า นเป น ชาวเชี ย งใหม โ ดยกํ า เนิ ด แต ไ ด รั บ การศึ ก ษา พระธรรมวินัยที่กรุงเทพ ฯ ในคณะสงฆธรรมยุติกนิกาย โดยเปนศิษยของ สมเด็จพระเจานองยาเธอ กรมหลวงวชิรญาณวโรรสสมเด็จพระสังฆราชเจา (พ.ศ. ๒๔๐๓ – ๒๔๖๔ ) พระนพีสีพิศาลคุณไดชักชวนใหพระสงฆที่อยูในเมืองเชียงใหม (พระภิ ก ษุ ใ นยุ ค นี้ ไ ม ไ ด แ บ ง แยกคณะเหมื อ นในรั ช สมั ย ของพระเจ า สามฝง แกน แตถอื เปนคณะสงฆเชียงใหม เรียกรวมวา “มหานิกาย”) เปลีย่ น นิกายเปนธรรมยุติกนิกาย ในครั้งนั้น มีพระสงฆชาวเชียงใหมเพียงไมกี่รูป ทีย่ อมเปลีย่ นนิกายเปนธรรมยุตกิ นิกาย แตพระนพีสพี ศิ าลคุณก็ไดรบั การ อุปถัมภเปนอยางดีจากพระเจาอินทวโรรสสุริยวงศ แมเจาทิพยเนตร และ บรรดาเจานายทัง้ หลายทีเ่ ลือ่ มใสศรัทธาในวิธกี ารเทศนาแบบใหม คือ การ แสดงพระธรรมเทศนาแบบบรรยายเปนภาษาไทยกลาง แทนการเทศนา ดวยภาษาลานนา ทํานองพื้นเมืองซึ่งเทศนจากคัมภีรใบลาน การเผยแผพระพุทธศาสนาของคณะสงฆธรรมยุตกิ นิกาย ในเมือง เชี ย งใหม นั้ น เป น นโยบายการบริ ห ารงานคณะสงฆ ใ นหั ว เมื อ งต า งๆ โดยมีสมเด็จพระสังฆราชเจากรมพระวชิรญาณวโรรส ซึ่งทรงแบงการ ปกครองคณะสงฆเปน ๓ นิกายคือ มหานิกาย (นิกายเดิมที่มีอยูกอน) ธรรมยุ ติ ก นิ ก าย (นิ ก ายสงฆ ซึ่ ง สถาปนาขึ้ น โดยพระบาทสมเด็ จ พระจอมเกลาเจาอยูหัว (ร. ๔ ) ในสมัยที่ทรงผนวชอยู) และรามัญนิกาย (พระสงฆชาวรามัญที่อยูในประเทศไทย) เมื่อพระสังฆนายกโสภาและคณะสังฆราชาตลอดจนพระภิกษุ ทั้ ง หลายในเมื อ งเชี ย งใหม ไ ม ย อมรั บ รู ป แบบการปกครองที่ อ ยู ภ าย ใต อํ า นาจการบริ ห ารและการปกครองของคณะสงฆ จ ากส ว นกลาง (ธรรมยุติกนิกาย) พระนพีสีพิศาลคุณจึงไดทําหนังสือรองเรียนไปถวาย แด ส มเด็ จ พระสั ง ฆราชเจ า กรมหลวงวชิ ร ญาณวโรรสที่ ก รุ ง เทพฯว า ๑๑๘


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

ครูบาโสภากระดางกระเดื่อง ไมใหความรวมมือในการปฏิรูปการปกครอง คณะสงฆแผนใหม สมเด็จพระสังฆราชเจาจึงมีพระลิขิตใหครูบาโสภา เขาเฝาเพื่อชี้แจงเรื่องดังกลาว พระสังฆนายกโสภาจึงเดินทางไปเขาเฝา เพื่อชี้แจงเหตุผลที่ไมยอมรับการปฏิรูปการปกครองคณะสงฆ เพราะ พระนพีสศิ าลคุณ ไมใหความเคารพกับพระเถระผูใ หญ และดูหมิน่ พระภิกษุ สามเณรในเมืองเชียงใหม วาหยอนยานพระธรรมวินัยและขาดระเบียบ วินัยทางการปกครอง การเดินทางไปกรุงเทพฯ เพื่อเขาเฝาสมเด็จพระสังฆราชเจาของ พระสังฆนายกโสภา ทําใหไดเขาเฝาพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัวดวย ซึ่งพระองคก็แสดงการยอมรับการแตงตั้งสังฆนายกของ เจาเมืองเชียงใหม จึงรับสั่งมิใหมีการถอดถอนแตอยางใด นอกจากนั้น ยั ง ขอให ส มเด็ จ พระมหาสมณเจ า ฯ ซึ่ ง เข า เฝ า อยู ด ว ย เสนอเรื่ อ งให มหาเถรสมาคมแต ง ตั้ ง ให พ ระสั ง ฆนายกโสภาเป น “พระอภั ย สารทสังฆปาโมกข” ดํารงตําแหนงเจาคณะจังหวัดเชียงใหมองคแรก เพือ่ บริหาร งานคณะสงฆ ปกครองพระภิกษุสามเณรใหปฏิบัติตามพระธรรมวินัย เครงครัดยิ่งขึ้น เมื่อพระอภัยสารทสังฆปาโมกขไดเดินทางกลับมาถึง เชียงใหมแลว คณะสงฆในเมืองเชียงใหมกเ็ ริม่ ยอมรับรูปแบบการปกครอง แบบใหมมากขึ้น กลาวคือยอมรับพระราชบัญญัติลักษณะการปกครอง คณะสงฆ ร.ศ. ๑๒๑ (พ.ศ. ๒๔๔๖ ) และพระราชบัญญัติคณะสงฆ พ.ศ. ๒๔๘๔ ตามลําดับ (พระดิเรก อินจันทร, ๒๕๔๖ : ๖๕-๖๖) จากนัน้ มา พระพุทธศาสนาแบบธรรมยุตกิ นิกายทีพ่ ระนพีสพี ศิ าลคุณ นํามาเผยแผทเี่ มืองเชียงใหม ในสมัยของพระเจาอินทวโรรสสุรยิ วงศ จึงตัง้ มั่นในเมืองเชียงใหมจนถึงปจจุบัน ความขัดแยงของคณะสงฆในลานนา ปญหาความขัดแยงทีเ่ กิดขึน้ กับคณะสงฆหรือพระสงฆกลุม ตางๆ นั้นมีมาตั้งแตสมัยพุทธกาลแลว พระพุทธเจาทรงแสดงเหตุของความ แตกแยกของคณะสงฆไว ๔ ประการ ไดแก สีลวิบัติ ทิฏฐิวิบัติ อาจารวิบัติ และอาชีววิบัติ ซึ่งความวิบัติหรือความเสียหายนี้ บางครั้งกอใหเกิดความ ๑๑๙


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

แตกแยกทีร่ นุ แรง เชน ทิฏฐิวบิ ตั ทิ เี่ กิดขึน้ ภายหลังพุทธปรินพิ พาน คือเมือ่ พระสุภทั ทปริพาชกไดกลาวจวงจาบพระธรรมวินยั จนทําใหพระมหากัสสปะ ชักชวนพระอรหันตสาวกทัง้ หลาย สังคายนาพระธรรมวินยั ครัง้ แรก สวนการ ทําสังคายนาพระธรรมวินัยครั้งที่ ๒ และ ๓ นั้น เกิดจากสีลวิบัติที่เกิด ขึ้นแลว สรางความแตกแยกรุนแรงแกคณะสงฆ หากไมมีการแกไขแลว อาจทําใหพระพุทธศาสนาเสือ่ มเสีย และลมสลายได นอกจากนัน้ ในคัมภีร ปริวาร พระพุทธเจา ก็ทรงแสดงวิธีระงับอธิกรณ หรือความแตกแยก ของสงฆไว ๗ ประการ เรียกวา อธิกรณสมถะ ๗ เพื่อใหเปนแนวทาง ในการตัดสินขอขัดแยงทั้งเรื่องพระวินัย และทิฏฐิอื่นๆ ที่อาจเกิดขึ้นได (พระดิเรก อินจันทร, ๒๕๔๖ : ๖๖) ปญหาความแตกแยกหรือความขัดแยงของคณะสงฆในลานนา ทีส่ าํ คัญ คือเหตุการณในชวงรัชสมัยของพญาสามฝง แกน เนือ่ งจากขณะนัน้ ในล า นนามี ก ลุ ม พระสงฆ ๓ คณะ คื อ คณะสงฆ พื้ น เมื อ ง คณะสงฆ วัดสวนดอก (รามัญวงศ) และคณะสงฆวดั ปาแดง (สีหลปกขหรือลังกาวงศ) ซึ่งมีความแตกตาง เรื่องวัตรปฏิบัติ และการปฏิบัติตน ของแตละสํานัก ทําใหเกิดปญหาตางๆ ขึ้นมา โดยเฉพาะคณะสงฆวัดสวนดอก และ คณะสงฆวัดปาแดง คณะสงฆพื้นเมือง ในเชียงใหม ที่สืบเนื่องมาตั้งแตสมัยพระนางจามเทวีนั้น แมวาตามประวัติแลวจะกลาววา เมื่อพระนางจามเทวีเสด็จ มาปกครองหริภญ ุ ชัยนัน้ ไดนมิ นตพระเถระผูท รงพระไตรปฎกมาจากเมือง ละโวดวยนั้น คณะสงฆเหลานั้นนา จะสืบสายมาตั้งแตเมื่อพระโสณเถระ และพระอุตตรเถระ ที่ไดมาเผยแผพระพุทธศาสนาในสุวรรณภูมิ หลังการ ทําสังคายนาครั้งที่ ๓ (พ.ศ. ๒๓๖) ในรัชสมัยของพระเจาอโศกมหาราช แหงอินเดีย แตพระมติมา (พระอุทุมพรปุบผมหาสวามี) เห็นวาพระพุทธศาสนาที่สืบทอดกันมานาน ทําใหพระพุทธศาสนาไมบริสุทธิ์ จึงไดไปสืบ พระพุทธศาสนาที่ลังกา คณะสงฆนิกายบุปผวาสี หรือนิกายสวนดอกที่มีพระสุมนเถระ แหงเมืองสุโขทัย เปนผูนําเผยแผนั้น สืบสายมาจากพระอุทุมพรเถระ ที่ไดไปศึกษาและบวชแปลงมาจากลังกา และคณะสงฆชาวเชียงใหม ๑๒๐


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

ที่ นํ า โดยพระมหาญาณคั ม ภี ร ที่ ไ ปสื บ พระพุ ท ธศาสนามาจากลั ง กา โดยตรง ยอมรับเอาคัมภีรอ นื่ ๆ นอกจากพระไตรปฎกมาสูล า นนาดวย เชน อรรถกถา ฎี ก าและปกรณ วิ เ สสอื่ น ๆ เพราะมี ห ลั ก ฐานที่ ร ะบุ ว า การสังคายนาพระไตรปฎกครั้งที่ ๒ ในลังกาเมื่อ พ.ศ. ๔๓๓ นั้น ไดมี การจารึกพระไตรปฎกและอรรถกถาลงในใบลานดวย และในตํานาน วัดปาแดงที่กลาวถึงประวัติของพระมหาญาณคัมภีรวา ทานไดศึกษา พระไตรปฎก คัมภีรร ปู สัททา คัมภีรเ ภทนิรตุ ติสทั ทา และคัมภีรน ยาสสมุหนาทนสัททา จนพบวา การสวดออกเสียงอักขระของคณะสงฆในลานนา เปนการสวดอักขรวิธีที่วิบัติ (บําเพ็ญ ระวิน, ๒๕๓๙ : ๑๒) การไปศึกษาพระพุทธศาสนาทั้ง ๒ ครั้งนี้ กอใหเกิดความขัดแยง ในเรื่องวัตรปฏิบัติและการถือทิฐิของพระสงฆทั้ง ๒ ฝาย คือพระสงฆ ฝายวัดสวนดอก และพระสงฆฝายวัดปาแดง แตละฝายตางออกมาโจมตี และโตเถียงกัน สวนทางบานเมืองจะสนับสนุนคณะสงฆในฝายที่ตน นับถือ เชน พญาสามฝง แกนเลือ่ มใสคณะสงฆวดั สวนดอก แตบรรดาเสนา อามาตยเลื่อมใสคณะสงฆวัดปาแดง ความขัดแยงไดประทุมากขึ้น จนถึง ขั้นที่พระสงฆจากวัดสวนดอกและวัดปาแดงทะเลาะวิวาททํารายรางกาย ซึ่งกันและกัน (บําเพ็ญ ระวิน, ๒๕๓๙ : ๑๖๙) เมื่อเกิดความขัดแยงกันเรื่องพระธรรมวินัย เรื่องสีมา วัตรปฏิบัติ และการสวดอักขระ จึงทําใหมีการโตเถียงกัน คณะสงฆฝายตางๆ ตอง ศึกษาคัมภีรพระไตรปฎก และคัมภีรอื่นๆ มากขึ้นประกอบกับการที่ พระมหาญาณคัมภีรไดไปสืบพระศาสนาจากลังกา นําพระไตรปฎกและ คัมภีรบาลีอื่นๆกลับมาดวย ซึ่งพระไตรปฎกและคัมภีรเหลานั้นเปนภาษา บาลีทําใหมีการศึกษาภาษาบาลีกันอยางกวางขวาง พญาสามฝง แกนจึงใหพระสงฆทงั้ สองคณะมาโตวาทะกัน ผลของ การโต ว าทะครั้ ง นั้ น ในตํ า นานมู ล สาสนา ตํ า นานมหาญาณคั ม ภี ร และตํ า นานวั ด ป า แดงให ร ายละเอี ย ดที่ แ ตกต า งกั น แต ผ ลสุ ด ท า ย ก็ ไ ม ส ามารถประสานให พ ระสงฆ ทั้ ง สองฝ า ยปรองดองกั น ได เพราะ พญาสามฝ ง แกนเลื่ อ มใสในคณะสงฆ วั ด สวนดอก ทํ า ให ค ณะสงฆ วั ด ป า แดงต อ งไปตั้ ง ศู น ย ก ลางอยู ที่ เ มื อ งเชี ย งตุ ง ตํ า นานมู ล ศาสนา ๑๒๑


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

สํานวนลานนา กลาววา พญาแสนเมืองมา (นาจะระบุพระนามผิดไป ที่ถูกควรเปนพญาสามฝงแกน) กลาวกับพระมหาญาณคัมภีรวา ถาเห็นวา พระพุทธศาสนาลังกาวงศดี ก็ใหไปเผยแผทเี่ มืองลังกาเถิด (บําเพ็ญ ระวิน, ๒๕๓๙ : ๑๖๙-๑๗๐) การนํ า พระพุ ท ธศาสนาจากละโว มาสู เ มื อ งหริ ภุ ญ ชั ย ของ พระนางจามเทวี ถือเปนการวางรากฐานใหพระพุทธศาสนาประดิษฐาน ในดิ น แดนล า นนา ซึ่ ง ต อ มาเมื่ อ พญามั ง ราย ยึ ด เมื อ งหริ ภุ ญ ชั ย ได และสร า งเมื อ งเชี ย งใหม แ ล ว พระพุ ท ธศาสนาที่ สื บ มาจากสมั ย พระนางจามเทวี ก็ยงั มัน่ คงและดํารงอยู ดังปรากฏเรือ่ งการสรางพระพุทธรูป การบูชาพระธาตุและการปลูกตนโพธิท์ นี่ าํ มาจากลังกา แตเมือ่ พญากือนา รับเอาพระพุทธศาสนาที่พระมหาอุทุมพรบุปผมหาสวามีแหงเมืองพัน ไปสืบมาจากลังกา พญากือนาพยายามสรางความเปนอันหนึง่ อันเดียวกัน ของคณะสงฆ โ ดยให พ ระสงฆ นิ ก ายพื้ น เมื อ งบวชแปลงในสํ า นั ก ของ พระมหาสุ ม นเถระ (วั ด สวนดอก) แต ยั ง คงมี พ ระสงฆ บ างรู ป ที่ ไ ม ไ ด บวชแปลงใหม ซึง่ ก็ไมปรากฏวามีความขัดแยงของคณะสงฆทงั้ สองคณะนี้ ตอมาในสมัยของพญาสามฝงแกน พระญาณคัมภีร และคณะได เดินทางศึกษาพระพุทธศาสนาและบวชใหมที่ลังกา เมื่อกลับมาถึงเมือง เชียงใหมแลว ไดตงั้ คณะสงฆนกิ ายลังกาใหมหรือ “สีหลปกขะ” มีศนู ยกลาง อยูที่วัดปาแดง การเผยแผและสืบทอดพระพุทธศาสนาในลานนาทั้ง ๓ ครั้งนี้ ไดสงผลใหเกิดความเปลี่ยนแปลงทั้งฝายพุทธจักรและฝายอาณาจักร โดยฝ า ยพุ ท ธจั ก รซึ่ ง มี พ ระสงฆ เ ป น ผู สื บ ทอดและเผยแผ คํ า สอนของ พระพุทธเจา ตองศึกษาและปฏิบัติตามพระธรรมวินัย เพื่อธํารงไวซึ่ง ความเลือ่ มใสศรัทธาของพุทธศาสนิกชน สวนฝายอาณาจักร ก็ตอ งการให พระพุทธศาสนาเปนฐานในการสรางความมัน่ คงและความชอบธรรมในการ ครองราชยบลั ลังก กลาวคือ พระนางจามเทวีนาํ พระพุทธศาสนาจากละโว มาเผยแผที่เมืองหริภุญชัยนั้น เพื่อควบคุมชนชาวพื้นเมือง ยุพิน เข็มมุกด ไดวิเคราะหวา พระนางจามเทวีใชพระพุทธศาสนาเปนเสมือนเครื่องมือ ในการประสานสัมพันธและเปนจุดรวมจิตใจของประชากรหลายเผาพันธุ ๑๒๒


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

ใหอยูรวมกันโดยสันติ และยังชวยลดปญหาความขัดแยงในสังคมอีกดวย (ยุพิน เข็มมุกต, ๒๕๓๑ : ๒๒) ในสมัยของพญามังราย พระองคทรงมองเห็นถึงความสําคัญ ของพระพุทธศาสนาที่จะสามารถดึงคนในชุมชนมารวมกันได จึงสราง และอุปถัมภวัดกานโถม เพื่อแสดงความสามารถในการเปนผูนําที่ยิ่งใหญ ในยุคสมัยนั้น (ระวิวรรณ ภาคพรต, ๒๕๓๑ : ๙-๑๑) พญากือนาขอพระสงฆมาจากเมืองพันและสุโขทัย เพื่อสถาปนา เมืองเชียงใหม ใหเปนศูนยกลางของพระพุทธศาสนาแทนเมืองหริภุญชัย พญาติ ล กราชสนั บ สนุ น พระสงฆ ค ณะใหม ที่ ไ ปสื บ พระพุ ท ธศาสนา มาจากลังกาโดยตรง เพื่อสรางความยิ่งใหญในฐานะพระมหาธรรมราชา และสรางความชอบธรรมในการแยงชิงราชสมบัติจากพระราชบิดา ดังที่ พระรัตนปญญาเถระผูรจนา ชินกาลมาลีปกรณกลาววา พญาสามฝงแกน ไมเลือ่ มใสในพระพุทธศาสนา แตไปเลือ่ มใสภูตผีปศ าจ (พระรัตนปญญาเถระ, ๒๕๑๕ : ๑๒๐) การเปนองคอุปถัมภการทําสังคายนาของพญาติลกราชนั้น ไมมี หลักฐานใดกลาวถึงการเขารวมของพระสงฆฝา ยวัดสวนดอก และพระสงฆ พื้นเมืองที่สืบมาจากสมัยพระนางจามเทวี จึงนาจะเปนการทําสังคายนา เฉพาะพระสงฆฝายวัดปาแดง เพราะพญาติลกราชทรงเลื่อมใสพระสงฆ ฝายนี้ การสนับสนุนใหพระสงฆนิกายสิงหลใหมที่ไปศึกษาและสืบทอด มาจากลั ง กานั้ น น า จะเป น การสร า งความชอบธรรมในการแย ง ชิ ง ราชบัลลังก จากพระราชบิดาของพญาติลกราช เปนการลบลางศูนยอาํ นาจ เดิมของพระพุทธศาสนาทีส่ บื มาจากเมืองพัน และสุโขทัย และพระองคทรง ตองการเปนพระมหาธรรมราชา ดวยการทํานุบํารุงพระพุทธศาสนา และ ทํากิจกรรมที่สําคัญเกี่ยวกับความมั่นคงของพระพุทธศาสนา คือการทํา สังคายนา หรือการชําระพระไตรปฎก

๑๒๓


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

การปกครองคณะสงฆในลานนา พระดิเรก อินจันทร (๒๕๔๖ : ๗๐-๗๖) กลาวไวในวิทยานิพนธ เรื่องการศึกษาลักษณะคัมภีรปกรณวิเสสพระวินัยลานนาวา การปกครอง คณะสงฆในลานนาในระยะแรก (สมัยพระนางจามเทวี) ไมพบหลักฐานใด ที่กลาวถึงการแตงตั้งมหาสวามี สังฆราชาหรือตําแหนงอื่นๆ เวลามี ราชประเพณีตางๆ ก็จะกลาววานิมนตพระมหาเถระมารวมในราชพิธี ดังนั้นอํานาจการปกครองพระภิกษุสามเณรนาจะขึ้นอยูกับพระอุปชฌาย หรืออาจารย ดังที่พระพุทธเจาทรงบัญญัติอุปชฌาย-วัตร อันเตวาสิกวัตร อาจาริยวัตร และสัทธิวิหารริกวัตร ที่กลาวถึงหนาที่และธรรมเนียมการ ปฏิบัติตอกันระหวางอุปชฌายกับศิษยและอาจารยกับศิษย โดยพระสงฆ ที่ มี อ ายุ แ ละพรรษา หรื อ ได รั บ การยอมรั บ มากที่ สุ ด เป น ประธาน หรื อ ตั ว แทนของคณะสงฆ เพราะการปกครองของคณะสงฆ ที่ นั บ ถื อ พระพุ ท ธศาสนาฝ า ยเถรวาทนั้ น จะยึ ด ถื อ เอาคั ม ภี ร พระไตรป ฎ ก เปนแนวทางในการบริหารและการปกครอง กลาวคือ ใหยึดถือปฏิบัติ พระธรรมวิ นั ย เป น กฎหมายสู ง สุ ด และถื อ ว า พระสุ ต ตั น ตป ฎ ก และ พระอภิธรรมปฎกเปนหลักคําสอน และเปนแนวทางในการปฏิบัติ ในสวน ของการบริหารงานคณะสงฆนั้น พระพุทธเจาทรงบัญญัติใหแบงหนาที่ ในการบริหารกิจการคณะสงฆ เชน เจาอธิการจีวร (ทําหนาที่เก็บรักษา และแจกจีวร) เจาอธิการเสนาสนะ(ทําหนาที่ดูแลและแจกจายเสนาสนะ) และพระวินัยธร (เปนผูชําระอธิกรณ ตัดสินเรื่องการละเมิดวินัย) เปนตน เนื่องจากพระพุทธเจาทรงวางแนวทางใหสงฆปกครองกันเอง โดยอาศัย ความรูความสามารถและอาวุโสเปนสําคัญ ในรัชสมัยของพญามังราย ไมปรากฏหลักฐานทีเ่ กีย่ วกับการแตงตัง้ ตําแหนงใหกับพระสงฆรูปใด หรือสถาปนาใหมีหนาที่ปกครองคณะสงฆ แตในสมัยของพญาผายู พระองคไดนิมนตพระอภัยจุฬาเถร พรอมดวย ศิ ษ ย อี ก ๑๐ รู ป มาจํ า พรรษาที่ วั ด ลี เ ชี ย งพระ ทรงสถาปนาให พระอภัยจุฬาเถรเปนสังฆราชาปกครองสงฆในเมืองเชียงใหม ตอมา เมื่ อ พญากื อ นาได นิ ม นต พ ระสุ ม นเถระมาจากเมื อ งสุ โขทั ย มาอยู ที่ ๑๒๔


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

วัดบุปผารามแลว พระองคทรงสถาปนาใหพระสุมนเถระเปนพระมหาสวามี มีราชทินนามวา “พระสุมนวัณณนามหาสวามี” ปกครองวัดสวนดอก และ คณะสงฆในเมืองเชียงใหม ซึ่งเหมือนกับที่พญาสุตตโสมไดสถาปนาให พระมติมา ดํารงตําแหนงมหาสวามีในราชทินนามวา “พระอุทุมพรปุปผมหาสวามี” ปกครองคณะสงฆในเมืองพัน ในรัชสมัยของพญาติลกราช พระองคทรงสถาปนาพระมหาเถรเมธังกรเปน “พระอดุลศักต-ยาธิกรณมหาสามี” ตอมาทรงสถาปนา พระสัทธัมมสัณฐิระ วัดมหาโพธาราม ซึง่ เปนพระอาจารยของพระองคเปน “สมเด็จพรหมมหาสามี ตรีโลกนาถราชครูจุฑามณี สัทธรรมรัศมีศีลวิสุทธ ยุกตมุตตวาที มหากวีสีหลวงศ สังฆปรินายก รัตตวนาธิบดี วีรสุมนมดุลย ปุญชวันโตพารัชฌาสัย ไตรปฎกธร วรเมธังกรบวรติโลกาจารย” (พระรัตนปญญาเถระ, ๒๕๑๕ : ๑๕๑-๑๕๒) รูปแบบการปกครองคณะสงฆในลานนาในสมัยราชวงศมังราย นั้น แมวาจะมีคณะสงฆถึง ๓ กลุม มีการสถาปนาสังฆราชา มหาสวามี มหาสามีและสมเด็จราชครูหลายครัง้ คณะสงฆแตละคณะก็ปกครองกันเอง กลาวคือ ตางฝายตางมีสังฆราชาทําหนาที่ปกครองคณะหรือวัดของตน และหากกษัตริยสนับสนุนฝายใด คณะสงฆฝายนั้นก็จะเจริญรุงเรือง จากประวัติเกี่ยวกับการสถาปนาพระมหาเถระ ใหดํารงตําแหนง สังฆราชา สังฆนายก มหาสวามี และมหาสามี ดังกลาวแลวขางตน จะ สังเกตไดวาการสถาปนาพระเถระฝายวัดสวนดอกหรือรามัญวงศ จะมี ราชทินนามตอทายวา “มหาสวามี” แตถาเปนพระเถระฝายวัดปาแดง หรือลังกาวงศจะมีราชทินนามตอทายวา “มหาสามี” ซึ่งขอแตกตางของ ราชทินนามทั้งสองนี้ พระมหาสวามีในลังกาจะเปนพระสงฆฝายคามวาสี สวน พระมหาสามี จะเปนพระสงฆฝายอรัญญวาสี รูปแบบของการสถาปนาใหพระสงฆที่มีพรรษามากที่สุด และมี ความรูความสามารถใหขึ้นเปนใหญปกครองสงฆทั้งปวงนั้น โดยมีคําวา “มหาสวามี” ตอทายนั้น นาจะไดรับอิทธิพลมาจากรูปแบบการปกครอง สงฆในลังกาทวีป เพราะประมุขพระสงฆฝา ยมหาวิหารทีไ่ ดรบั การอุปถัมภ จากพระเจาวัฎฎคามินีอภัย จะไดรับราชทินนามวา “มหาสวามี” เชน ๑๒๕


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

“พระวนรัตนบุปผมหาสวามี” เปนตน การแตงตัง้ หรือสถาปนาพระสงฆใหมี สมณศักดิแ์ ละหนาทีใ่ นการปกครองนัน้ ทัง้ ในลังกาทวีป พมา (รามัญ) และ ในลานนา จะเปนอํานาจและหนาที่ของกษัตริยหรือผูปกครอง เมื่อพมามาตีเมืองเชียงใหมไดและปกครองเชียงใหมเปนเวลา นานถึง ๒๐๐ ป การปกครองคณะสงฆก็นาจะยังคงรูปแบบเดิมเหมือนใน สมัยราชวงศมงั ราย เพราะในสมัยทีพ่ มาปกครองไดปรากฏหลักฐานตางๆ ทีก่ ลาวถึงตําแหนงคณะสงฆทเี่ คยไดรบั การแตงตัง้ ในสมัยราชวงศมงั ราย คือ ยังคงมีตาํ แหนงสังฆราชา สมเด็จราชครู เปนตน (สารานุกรมวัฒนธรรมไทย ภาคเหนือ, ๒๕๔๒ : ๖๕๐๑) ในสมัยราชวงศกาวิละ เมื่อพญากาวิละไดมาฟนฟูเมืองเชียงใหม ก็ไดบูรณปฏิสังขรณวัดสําคัญๆ หลายวัด มีการชักชวนและกวาดตอน ชาวบานใหมาอาศัยอยูในเขตเมืองเชียงใหม เพื่อฟนฟูบานเมืองใหเจริญ รุงเรืองเหมือนเดิม ทําใหพระภิกษุสามเณรในเมืองเชียงใหมมีความหลาก หลายในดานชาติพันธุ ดังจะเห็นไดจากรายชื่อวัดและนิกายสงฆในเมือง เชียงใหมที่เจาหนานอุนเมือง กองธรรมการสงฆเชียงใหม ไดสํารวจ ไว เมื่อ พ.ศ.๒๔๔๐ พบวามีการเรียกชื่อกลุมหรือหัววัดถึง ๑๘ นิกาย ซึ่ ง ไม ไ ด ห มายความว า แต ล ะนิ ก ายจะมี ค วามแตกต า งกั น ในเรื่ อ ง วัตรปฏิบัติหรือทิฏฐิที่ชัดเจนเหมือนกับการแบงคณะสงฆเปน ๓ คณะ ในสมัยราชวงศมงั ราย (สมหมาย เปรมจิตต, ๒๕๑๘ : คํานํา) ทําใหทราบวา การปกครองคณะสงฆในสมัยนัน้ แบงเปนแขวงและหมวดอุโบสถ เจาอาวาส วัดที่เปนหัวหมวดอุโบสถทําหนาที่ปกครองพระภิกษุสามเณรในวัดให หัวหมวดเดียวกัน โดยมีพระสังฆนายกเปนผูปกครองสูงสุด ตอมารูปแบบการปกครองคณะสงฆในเมืองเชียงใหมจงึ ชัดเจนขึน้ ดั ง ปรากฏการแต ง ตั้ ง พระสงฆ ใ ห ทํ า หน า ที่ ป กครองพระภิ ก ษุ ส ามเณร ในเมืองเชียงใหม ในสมัยทีพ่ ระเจาอินทวิชยานนทผปู กครองเมืองเชียงใหม (พ.ศ. ๒๔๑๖ – ๒๔๔๐) คือ การสถาปนาครูบาโสภา โสภโณ วัดฝายหิน เปนพระสังฆนายกโสภา เมื่อพ.ศ. ๒๔๓๘ ที่วัดพระธาตุดอยสุเทพ โดยมี คณะสังฆราชาอีก ๖ รูป คอยชวยเหลือในการปกครองคณะสงฆในทองที่ ตางๆ ดังนี้ ๑๒๖


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

๑. สังฆราชาญาณโพธิ ๒. สังฆราชาสรภังค ๓. สังฆราชาคันธา ๔. สังฆราชาครูบายะ

(วัดแมวาง อ. สันปาตอง) (วัดนันทาราม) (วัดเชตุพน) (วัดหนองโขง เขตลําพูน ตอมายายมา จําพรรษาที่วัดดับภัย) ๕. สังฆราชาเจาตุปญญา (วัดพวกแตม) ๖. สังฆราชาเจา ตุปญญา (วัดสันคะยอม) จนมาถึ ง สมั ย ที่ พ ญากาวิ โรรสสุ ริ ย วงศ เ ป น เจ า ผู ค รองเมื อ ง เชียงใหม (พ.ศ. ๒๓๙๗ – ๒๔๑๒) ไดมีการประชุมกันระหวางคณะสงฆ กับเจาผูค รองนคร เจานาย และเสนาอามาตย เพือ่ ปรึกษาหารือเรือ่ งความ ประพฤติที่ยอหยอนในพระธรรมวินัยของพระภิกษุสามเณรในสมัยนั้น จึงไดออกประกาศเพือ่ ควบคุมความประพฤติของพระภิกษุสามเณร เรียกวา “โอวาทานุสาสนี” เมือ่ พ.ศ. ๒๔๐๐ แลวคัดลอกลงใบลาน แลวนําไปเผยแผ และสั่งสอนพระภิกษุสามเณรไดปฏิบัติตาม (ศรีเลา เกษพรหม, ๒๕๔๓ : ๑๒,๑๘) ซึ่งมีสาระสําคัญ ดังนี้ ในสมัยนัน้ พระภิกษุสามเณรไมประพฤติปฏิบตั ติ ามพระธรรมวินยั เชน ไปตัดไมเกี่ยวหญา เขาปาเก็บผัก ลองเรือลองแพ นุงผาแบบคฤหัสถ เที่ยวไปในที่อันไมเหมาะสม เชน ตลาด งานมหรสพ ฯลฯ พูดจาหยอกลอ เชิงชูส าวกับมาตุคาม เลนการพนัน ทําตัวเปนพอคา การกลับไปฉันอาหาร ที่บานแลวกลับวัดดึก เปนตน อยางไรก็ตาม แมวาพฤติกรรมเหลานี้จะไม เหมาะสมกับสมณภาวะแตกข็ อใหแลวกันไป ไมเอาความผิดใด ๆ แตตอ ไป ภายภาคหน า ขอให อุ ป ช ฌาย อ าจารย เจ า อาวาสคอยดู แ ลสอดส อ ง ไมใหเกิดพฤติกรรมเชนนั้นอีก หากพระภิกษุสามเณรไมเชื่อฟง (พระเจากาวิโรรสสุริยวงศ) จะใหราชเสวกนําตัวมาลงโทษ ดังนั้นครูบาอาจารย ทั้งหลายตองปกครองดูแลอยางใกลชิด ศรัทธาชาวบานตองเปนผูคอย สอดสองดูแลอีกทางหนึ่งดวย หามไปชักชวนพระภิกษุสามเณรไปเที่ยว เตร็ดเตรในเวลาวิกาล เลนดนตรี หรือพูดคุยกับมาตุคาม ผูที่จะเขามาบวชตองศึกษาอักขระวิธี ทองสวดมนตใหคลอง เสียกอน จึงจะบวชได พระภิกษุสามเณรทั้งหลายเมื่อบวชมาแลวตอง ๑๒๗


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

ศึกษาพระธรรมวินัย เรียน ทอง และภาษาบาลี เชน วันทาเครื่องบวช, ศีล ๑๐, ปฏิสังขา โยนิโส, ยถา ปจจยัง, อัชช มยา และบทสวดมนตอื่นๆ ตองศึกษาคัมภีรปริยัติธรรมตางๆ เชน มูลสิกขา, ปาฏิโมกข, สนธิ, สัททา วินัยทั้ง ๕ และพันคาถา เปนตน ควรขวนขวายศึกษาใหแตกฉาน เพือ่ ใหพระพุทธศาสนาเจริญรุง เรืองสืบไป นอกจากนัน้ ใหยดึ ถือวัตรปฏิบตั ิ ตามจารีตประเพณีที่ดีงาม การปกครองวั ด วาอารามนั้ น หากเจ า อาวาสมรณภาพไป ใหพระภิกษุสามเณร และศรัทธาชาวบานปรึกษากันกอน เมื่อตกลงกันได ดีแลวจึงควรแตงตั้งพระภิกษุที่เห็นสมควรใหเปนเจาอาวาส ซึ่งพระภิกษุ สามเณรและศรัทธาชาวทั้งหลายตองเคารพเชื่อฟงดวย ตอมาในป พ.ศ. ๒๔๑๑ ไดออกประกาศอีกฉบับหนึ่ง เรียกวา “สมณกถา” เพื่อควบคุมพระภิกษุสามเณรทั้งหลายใหปฏิบัติตามพระวินัย อยางเครงครัด และปฏิบัติตนใหเปนที่เคารพเลื่อมใสของชาวบาน โดย เนื้อหาก็มีลักษณะเดียวกับ “โอวาทานุสาสนี” (พ.ศ. ๒๔๐๐) การออกประกาศเพื่อควบคุมพระภิกษุสามเณรไมใหมีพฤติกรรม หรือกระทําสิง่ ใดๆทีผ่ ดิ พระวินยั และความถูกตองดีงามตามจารีตประเพณี นี้ นอกจาก “โอวาทานุสาสนี” และ “สมณกถา” ของพระเจากาวิโรรสสุรยิ วงศ และคณะสงฆเมืองเชียงใหมแลว ในเมืองพะเยาก็ไดมกี ารประกาศลักษณะนี้ ออกมาเชนกัน คือ “หนังสือคําสัง่ ของพระครูศรีวริ าชวชิรปญญา” ออกเมือ่ พ.ศ. ๒๔๕๒ ที่สงถึงเจาผูครองเมืองพะเยา มีใจความโดยยอ ดังนี้ (พระเทพวิสุทธิเวที, ๒๕๓๖ : ๖-๘) “การแตงตั้งพระภิกษุดํารงตําแหนงบริหารงานคณะสงฆ และ ขอรองเจาเมืองพะเยา ตลอดจนถึงศรัทธาชาวบานใหชว ยกันสอดสองดูแล เรือ่ งการปฏิบตั ติ นของพระภิกษุสามเณรหากมีพฤติกรรมทีไ่ มเหมาะสม เชน ไปฉันอาหารที่บานตอนเย็นแลวกลับวัดดึก ประพฤติอนาจารและเที่ยว ผูห ญิง เปนตน เมือ่ พบเห็นใหชว ยตักเตือน หากไมเชือ่ ฟงก็ใหลงโทษดวย” นอกจากนัน้ ใน “ประกาศ พญาประเทศอุดรทิศ เจาผูค รองเมืองพะเยา” ที่ แจงใหกบั กํานัน และผูใ หญบา นในเมืองพะเยา (พระเทพวิสทุ ธิเวที, ๒๕๓๖ : ๖-๘) มีเนื้อหาโดยสรุป ดังนี้ ๑๒๘


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

คณะศรัทธาทัง้ หลายตองดูแลเอาใจใสและรักษาวัดวาอารามตางๆ และหามมิใหชาวบาน รวมถึงพอแมของพระภิกษุสามเณร ชักชวนภิกษุ สามเณรเลนการพนัน ฆาสัตว ลักทรัพย พูดจาหยอกลอกับหญิงสาว ดื่มสุรา ทําไรไถนา คาขาย เลี้ยงสัตว ทําการงานอื่นๆ เชน สรางบานเรือน สืบความตางๆ ของฝายฆราวาส หามชักสื่อใหหญิงชายเปนสามีภริยากัน หามนําสุราให หรือขายสุราแกพระภิกษุสามเณร หามฝากศาตราอาวุธ ทรัพยสินเงินทองของมีคาไวกับพระภิกษุสามเณร ผูหญิงที่จะไปทําบุญ ในวั ด ห า มอยู ส องต อ สอง ห า มชั ก ชวนพระภิ ก ษุ ส ามเณรประพฤติ ผิ ด ในเชิงชูสาว พอแมที่มีลูกสาวตองอบรมใหรูจักการวางตัวเวลาเขาวัด อยาใหคบหาในเชิงชูส าว หรือบําเรอพระภิกษุสามเณร ดวยอามิสและราคะ ตัณหา เพราะเปนการทําลายศีลของพระภิกษุและสามเณรใหตองอาบัติ ปาราชิก ถือเปนการทําลายพระศาสนาดวย ขอใหพอแมของพระภิกษุสามเณร กํานัน ผูใหญบาน ศรัทธา ญาติโยมชวยกันสอดสองดูแล หากเห็นพระภิกษุสามเณรรูปใดประพฤติผดิ พระธรรมวินัย หรือกระทําสิ่งใดๆ ที่ไมเหมาะสมกับความเปนสมณะ ตองวากลาวตักเตือน ไมควรปกปองหรือปดบังเพราะจะทําใหเกิดความ หมนหมองในพระศาสนา นอกจากนั้นหากปกปดหรือชวยเหลือตองได รับโทษดวย เมื่อกํานัน ผูใหญบานไดรับประกาศนี้แลว ใหรีบแจงใหชาวบาน และพระภิกษุสามเณรไดรบั ทราบ และใหคดั ลอกใสใบลานหรือกระดาษไว หากทําไดทุกหลังคาเรือนก็ยิ่งดี และในปเดียวกันนัน้ (พ.ศ ๒๔๕๒) ยุคลพิมพพร ผูช ว ยราชการปลัด ทูลฉลอง เสนาบดีกระทรวงมหาดไทย ไดสงหมายถึงพญาสุรหวิสิษฐศักดิ์ ขาหลวงใหญ แหงมณฑลพายัพ เรือ่ งพฤติกรรมทีไ่ มเหมาะสมของพระภิกษุ สามเณร ซึ่งมีเนื้อหาโดยยอดังนี้ “ในชวงนีม้ คี ดีความเรือ่ งพระภิกษุสามเณรประพฤติตนไมเรียบรอย เชน การทะเลาะวิวาทกัน การทําตัวเปนนักเลงอันธพาล เปนตน ดังนั้น ขอใหพระอุปชฌายชวยสอดสองดูแลดวย หากมีผูมาขอบวชใหสอบสวน ใหแนชัดกอนวาเปนคนดี บวชดวยศรัทธาหรือไม เมื่อบวชใหแลว ตอง ๑๒๙


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

สัง่ สอนใหอยูใ นพระธรรมวินยั หากไมเชือ่ ฟงควรใหลาสิกขาเสีย อยาปลอย ใหสรางปญหาอีก” จากเอกสารตางๆ เหลานี้ ชีใ้ หเห็นถึงสภาพของสังคมสงฆทเี่ กิดขึน้ ในยุคหลังนั้นวา พระภิกษุสามเณรบางรูปประพฤติในสิ่งไมเหมาะสม ไมปฏิบัติตามพระธรรมวินัย และจารีตประเพณีอันดีงาม ผูปกครอง ทั้ ง ฝ า ยอาณาจั ก รและพุ ท ธจั ก รต า งก็ ใ ห ค วามสํ า คั ญ และหาทางแก ไข ด ว ยการออกประกาศต า งๆ เพื่ อ ตั ก เตื อ นและแก ไขป ญ หาดั ง กล า ว โดยยึดเอาทัง้ พระวินยั บัญญัตแิ ละจารีตอันดีมาประกาศใหเปนลายลักษณ อักษรอยางเปนทางการ ตลอดจนถึงระบุไวชัดเจนวาจะมีการลงโทษหาก พระภิกษุสามเณรรูปใดไมเชื่อฟง ในสมัยตอมาเมือ่ รัฐบาลกรุงเทพฯ เขามามีบทบาทตอการปกครอง ของลานนาในทุกๆ ทดานทั้งดานการเมืองการปกครองฝายอาณาจักร และการบริหารงานฝายพุทธจักร เชน การนําพระพุทธศาสนาเถรวาท ธรรมยุ ติ ก นิ ก าย เข า มาเผยแผ ใ นล า นนา นํ า โดยพระนพี สี พิ ศ าลคุ ณ (พระมหาปง) เมือ่ พ.ศ. ๒๔๔๙ ในระยะแรกเกิดการตอตานจากพระสงฆที่ ยึดถือวัตรปฏิบตั แิ บบเดิม เพราะรูว า การมาเชียงใหมของพระนพีสพี ศิ าลคุณ นั้ น เป น แผนการเปลี่ ย นแปลงการปกครองคณะสงฆ เ มื อ งเชี ย งใหม โดยคณะธรรมยุติกนิกาย ดังจะเห็นจาก กรณีที่พระนพีสีพิศาลคุณ นิมนต พระสังฆนายก พระสังฆราชา และพระเถระอีกหลายรูปไปรวมประชุม เพือ่ วางหลักการจัดระเบียบการปกครองแบบใหม แตไมไดรบั ความรวมมือ แตอยางใด (วัดเจดียหลวงวรมหาวิหาร, ๒๕๓๘ : ๘๕) เพื่อใหมหาเถรสมาคมและทางกรุงเทพฯเห็นถึงแนวทางในการ ปกครองของคณะสงฆเมืองเชียงใหมที่มีมาแตเดิม และปฏิเสธแนวทาง การปกครองแบบใหม (พระราชบัญญัติลักษณะการปกครองคณะสงฆ ร.ศ. ๑๒๑) สังฆนายกโสภาไดออกประกาศคณะสงฆขึ้นมาฉบับหนึ่ง เมื่อเดือน ๘ เหนือ พ.ศ. ๒๔๔๙ แลวสงไปยังวัดตางๆ ทั่วเมืองเชียงใหม ใหยดึ ถือและปฏิบตั ติ าม โดยประกาศฉบับนีไ้ ดมกี ารแปลปนภาษาไทยกลาง (ประกาศฉบับนีเ้ ขียนเปนภาษาลานนา อักษรธรรมลานนา) แลวสงไปถวาย พระเจานองยาเธอกรมขุนสมมตอมรพันธุดวย (อางใน ไขมุก อุทยาวลี, ๑๓๐


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

๒๕๓๗ : ๘๔-๘๖) เนือ้ ความในประกาศดังกลาวสรุปใจความสําคัญไดดงั นี้ ๑. ใหแตละวัดมีการเรียนบทสวดมนตตาง ๆ ดังที่ยึดถือปฏิบัติ มาแลว ๒. ใหสอนกุลบุตร และสามเณร เรียนอักขรวิธีภาษาลานนา ตลอดจนถึงคัมภีรอื่นๆ เชนพระสูตร พระวินัย พระอภิธรรม และคัมภีร ภาษาบาลีอื่นๆ เปนตน ๓. ใหจัดการเรียนการสอนแกพระภิกษุสามเณรตามจารีตเดิม ที่เคยปฏิบัติกันมา คือใหเรียนคัมภีรกัมมวาจา สามเณรสิกขา และวินัย บัญญัติตางๆ เพื่อใหปฏิบัติไดอยางถูกตองตามพระธรรมวินยั ๔. ใหพระอุปช ฌายเปนผูพ จิ ารณาความถูกตองของการประกอบ สังฆกรรมตางๆ ๕. ใหพระอุปชฌายแตงตั้งพระภิกษุทําหนาที่ชวยเหลือกิจการ และงานบริหารคณะสงฆ การประกอบพิธีตางๆ ในวัด และปกครอง พระภิกษุสามเณรในเขตปกครองของตน ๖. การบวช การลาสิกขา และการเดินทางไปยังสถานที่ตางๆ ของพระภิ ก ษุ ส ามเณรในเขตหมวดอุ โ บสถใด ต อ งแจ ง ให กั บ เจ า คณะ หัวหมวดอุโบสถทราบกอน และตองดูแลสอดสองชาวตางชาติที่เขามา อาศัยอยูในเขตวัดในหัวอุโบสถนั้นดวย ๗. ใหพระอุปช ฌายสงั่ สอนพระภิกษุสามเณรทีอ่ ยูใ นการปกครอง ของตนให ป ฏิ บั ติ ต ามพระธรรมวิ นั ย อย า งเคร ง ครั ด ให จั ด การศึ ก ษา พระธรรมวินยั และใหทาํ วัตรสวดมนตตลอดจนถึงปรนนิบตั คิ รูบาอาจารย ของตนตามจารีตเดิมที่เคยยึดถือปฏิบัติมา เปนตน แม ว า ในระยะแรกคณะสงฆ เ มื อ งเชี ย งใหม จ ะไม ย อมรั บ การ ปกครองรูปแบบใหม แตในสมัยตอมาเมื่อพระสังฆนายกโสภาไดเดินทาง ไปกรุงเทพฯ เพื่อเขาเฝาสมเด็จพระสังฆราชเจากรมหลวงวชิรญาณวโรรส และทานไดเขาเฝาพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัวดวย ซึ่งเมื่อ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัวทรงทราบเรื่องราวที่เกิดขึ้น ทรงวินจิ ฉัยวายังไมสมควรเปลีย่ นแปลงรูปแบบการปกครองอยางทันทีทนั ใด จึงขอใหครูบาโสภาปกครองคณะสงฆเมืองเชียงใหมตอไป พรอมกันนั้น ๑๓๑


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

ทรงขอใหสมเด็จพระสังฆราชเจากรมหลวงวชิรญาณวโรรสเสนอเรื่องให มหาเถรสมาคมแตงตัง้ ใหพระสังฆนายกโสภา ดํารงตําแหนงเจาคณะจังหวัด เชียงใหม ในราชทินนาม “พระอภัยสารทสังฆปาโมกข” อีกดวย ทาทีที่ ประณีประนอมดังกลาวนี้ ทําใหความรูสึกที่ขัดแยงกับการเปลี่ยนแปลง การปกครองคณะสงฆเมืองเชียงใหมลดนอยลงไป มหาเถรสมาคมไดสง พระธรรมวโรดม (จาย ปุณฺณทตฺโต) มาตรวจดูกิจการคณะสงฆมณฑล ฝายเหนือ ซึง่ สามารถดําเนินงาน และจัดวางรูปแบบการปกครองแบบใหม ไดโดยไมมปี ญ  หาใด ภายหลังจึงไดนาํ พระราชบัญญัตลิ กั ษณะการปกครอง คณะสงฆ ร.ศ.๑๒๑ (พ.ศ.๒๔๔๕) มาใชในมณฑลฝายเหนือดวย ตอมาไดมีการนําพระราชบัญญัติคณะสงฆ พ.ศ.๒๔๔๕ มาใช ในเมืองเชียงใหมดวย ซึ่งมีสาระสําคัญคือ คณะสงฆทั้งมหานิกายและ ธรรมยุติกนิกายตองอยูภายใตอํานาจการบริหารงานของมหาเถรสมาคม การดูแลกิจการของคณะสงฆและการศึกษาฝายสงฆขนึ้ อยูก บั เจาคณะใหญ และมีการจัดรูปแบบการปกครองสวนทองถิ่นลดหลั่นตามเขตพื้นที่ คือ มีเจาคณะมณฑล เจาคณะเมือง เจาคณะแขวง เจาคณะตําบล เจาอธิการ หมวดและเจาอาวาส การแตงตั้งผูปกครองตําแหนงตางๆ ขึ้นอยูกับผูที่มี อํานาจสูงขึ้นไปตามลําดับ (สรัสวดี อองสกุล, ๒๕๔๔ : ๔๑๔) สิ่ ง ที่ เ กิ ด ขึ้ น ภายหลั ง การประกาศพระราชบั ญ ญั ติ ค ณะสงฆ พ.ศ.๒๔๔๕ คือความขัดแยงทีเ่ กิดขึน้ การเรือ่ งพระราชบัญญัตกิ บั การยึดถือ จารีตเดิมของพระสงฆลา นนา โดยเฉพาะกรณีของครูบาศรีวชิ ยั ทีท่ าํ หนาที่ เปนพระอุปช ฌายบรรพชาสามเณร ๘ รูป และอุปสมบทพระภิกษุ จํานวน ๒ รูป โดยไมไดรบั การแตงตัง้ ใหเปนพระอุปช ฌายตามระเบียบการปกครอง ในพระราชบัญญัติคณะสงฆ พ.ศ.๒๔๔๕

๑๓๒


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

ความเคลือ่ นไหวและความเปลีย่ นแปลงรูปแบบการปกครองคณะสงฆ ในลานนา การปกครองคณะสงฆในลานนาตัง้ แตสมัยพระนางจามเทวีจนถึง สมัยพญาอินทวโรรสสุริยวงศแหงราชวงศกาวิละ มีความเปลี่ยนแปลง อยางตอเนื่อง กลาวคือ จากเดิมที่คณะสงฆจะปกครองกันเองโดยยึดถือ พระธรรมวินัยเปนหลัก มีพระอุปชฌายอาจารยคอยดูแลสั่งสอน ยึดถือ เรือ่ งคุณธรรมและอาวุโส ในการแตงตัง้ ผูป กครองและบริหารงานคณะสงฆ ศึกษาและปฏิบตั ติ ามพระวินยั บัญญัตทิ ไี่ ดสงั คายนาและคัดลอกไวในคัมภีร ใบลาน มีธรรมเนียมการปกครองแบบจารีตเดิม เปลี่ยนเปนกษัตริยหรือ เจาผูครองนครเปนผูแตงตั้งสถาปนาผูบริหารและปกครองคณะสงฆ เชน แตงตั้งเจาอาวาสพระอารามหลวง เปนตน และตอมาไดเปลี่ยนเปนการ ปกครองทีต่ อ งขึน้ ตรงกับคณะสงฆจากสวนกลาง กษัตริยห รือเจาผูป กครอง เมืองและคณะสงฆ ระดับตางๆ แตงตั้งภิกษุทําหนาที่ดํารงตําแหนงการ ปกครองและการบริหารกิจการคณะสงฆ มีการออกพระราชบัญญัติหรือ ประกาศขึ้นมาเพื่อควบคุมพฤติกรรมของพระภิกษุสามเณร ซึ่งเปนการ บัญญัติเพิ่มเติมในหัวขอที่ไมมีในคัมภีรพระวินัยปฎก โดยดัดแปลงมาจาก รูปแบบการปกครองบานเมืองในยุคสมัยนั้น

๑๓๓


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

บรรณานุกรม กรมวิชาการ. ๒๕๔๓. เชียงใหม นพบุรศี รีนครพิงค. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ การศาสนา ไขมุก อุทยาวลี. ๒๕๓๗. การเปลี่ยนแปลงดานการศึกษาของคณะสงฆ ในเมื อ งเชี ย งใหม ใ นระยะครึ่ ง หลั ง ของพุ ท ธศตวรรษที่ ๒๕. วิทยานิพนธศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาประวัติศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม จามเทวี ว งศ พงศาวดารเมื อ งหริ ภุ ญ ชั ย . ๒๕๑๕. พิ ม พ ค รั้ ง ที่ ๔. กรุงเทพฯ : บรรณกิจเทรดดิ้ง. บําเพ็ญ ระวิน. ๒๕๓๙. มูลสาสนาญาณคัมภีรและตํานานมหาญาณ คัมภีร. เชียงใหม. สถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม. ประชากิจกรจักร,พระยา. ๒๕๑๖. พิมพครั้งที่ ๗. พงศาวดารโยนก. พระนคร : คลังวิทยา. พระดิเรก อินจันทร. ๒๕๔๖. การศึกษาลักษณะคัมภีรปกรณวิเสส พระวินัยลานนา. วิทยานิพนธศิลปศาสตรมหาบัณฑิตสาขาวิชา ภาษาและวรรณกรรมลานนาคณะมนุษยศาสตร มหาวิทยาลัย เชียงใหม. พระเทพวิสุทธิเวที. ๒๕๓๖. ประวัติคณะสงฆเมืองพะเยา. เชียงราย : หจก.เชียงรายไพศาลการพิมพ. พระรัตนปญญาเถระ. ๒๕๑๕. พิมพครั้งที่ ๓. ชินกาลมาลีปกรณ. กรุงเทพฯ : พิมพเปนอนุสรณในงานฌาปนกิจศพ สางทองคํา สุวรรณนิชกุล. ยุพิน เข็มมุกต. ๒๕๓๑. สถาบันสงฆกับการเมืองและสังคมลานนา. วิทยานิพนธอักษรศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาประวัติศาสตร เอเชียตะวันออกเฉียงใต มหาวิทยาลัยศิลปากร. ลิขิต ลิขิตตานนท. ๒๕๓๖. วรรณกรรมพุทธศาสนาเถรวาท. เชียงใหม : คณะมนุษยศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม ๑๓๔


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

วัดเจดียห ลวงวรมหาวิหาร. ๒๕๓๘. ๘๐๐ ป วัดเจดียห ลวงวรมหาวิหาร. เชียงใหม : มิ่งเมืองการพิมพ. ศรีเลา เกษพรหม. ๒๕๔๓. พระราชบัญญัติของพระเจากาวิโรรส เจาผู ครองนครเชียงใหม พ.ศ.๒๓๙๗-๒๔๑๒. ในสารสภาวัฒนธรรม จังหวัดเชียงราย ฉบับเดือนพฤศจิกายน ๒๕๔๓. สมหมาย เปรมจิตต. ๒๕๑๘. ประมวลรายชือ่ คัมภีรใ บลานและสมุดขอย ในเขตอําเภอเมืองจังหวัด เชียงใหม (ภาค ๑,๒,๓,๔). เชียงใหม. ภาควิชาสังคมวิทยาและมนุษยวิทยา มหาวิทยาลัยเชียงใหม. สรัสวดี อองสกุล. ๒๕๔๔. ประวัติศาสตรลานนา. กรุงเทพฯ : สํานัก พิมพอมรินทร. สวั ส ดิ์ เขมกประสิ ท ธิ์ . ๒๕๔๐. ประวั ติ ศ าสตร พ ระพุ ท ธศาสนาใน ประเทศไทย. เชียงใหม : ส.ทรัพยการพิมพ. สารานุกรมวัฒนธรรมไทย ภาคเหนือ. ๒๕๔๒. กรุงเทพฯ : ธนาคารไทย พาณิชยจํากัด.

๑๓๕


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

อานิสงสบวช ฉบับวัดเชียงมั่น ตําบลศรีภูมิ อําเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม จารเมื่อ จ.ศ. ๑๑๕๓ รหัสไมโครฟลม สถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม ๗๘.๐๐๙.๐๑I.๐๓๔–๐๓๔ -----------------------------------------------------

วิเชียร สุรินตะ และ อุไร ไชยวงค (ปริวรรต) ชัปนะ ปนเงิน และ พรรณเพ็ญ เครือไทย (ตรวจทาน)

๚ จตฺตาโร อานนฺท ปุคฺคลา ปพฺพา เชตพฺพา กตฺตเม [กตเม] จตฺตาโร ปุคฺคลา ปพฺพา เชตพฺพา ทาโส จ ปุตฺโต จ ภริยา จ อตฺตาจาติ ฯ ปาฐะนัยมีตนวา จตฺตาโร อานนฺท ปุคฺคลา ปพฺพา เชตพฺพา อันนี้ชื่อวา ปพพัชชานิสังสสูตรแล ฯ ๑๓๖


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

สตฺถา สัพพัญูพระพุทธเจา เทศนาแกพระมหาอานันทะเถรเจา วาดั่งนี้ อานนฺท ดูกราอานันทะ อันวาบุคคลอันทานทังหลายเพิงหื้อบวช มีสี่จําพวกแล กตฺตเม [กตเม] จตฺตาโร ปุคฺคลา อันวาบุคคลสี่จําพวกเพิง บวชนั้นฝูงใดชา ทาโส จ คือขาชายนึ่ง ปุตฺโต จ คือลูกชาย หลานชายนึ่ง ภริยา จ คือเมียนึ่ง อตฺตา จ คือตนนึ่งแล ฯ ยทา อานนฺท ทาสสฺส ปพฺพชิตสฺส สามเณรส [สามเณรสฺส] จตุกปฺปานิ อานิสํสานิ สามิเกน ปริภุฺชิตพฺพานิ ฯ อานนฺท ดูกราอานันทะ ขาชายผูน งึ่ บวชเปนสามเณร ภาวะทรงศีล สิบอันในกาลเมื่อใด บุคคลผูเปนเจาเปนนายก็ไดเสวยยังอานิสงสสี่กัป ก็มีแล ฯ ยทา อานนฺท ทาสสฺส อุปสมฺปนฺนสฺส อกปฺปานิ [อตฺถกปฺปานิ] อานิสํสานิ สามิเกน ปริภุฺชิตพฺพานิ ฯ อานนฺท ดูกราอานันทะ เมื่อใด ทาสข า ชายผู นั้ น ได บ วชเป น ภิ ก ขุ ภ าวะ ทรงจตุ ป าริ สุ ท ธิ ศี ล สี่ อั น คื อ ปาฏิโมกขสังวรศีล อินทรียสังวรศีล อาชีวปาริสุทธิศีล ปจจยสันนิสสิตศีล ดัง่ อัน้ บุคคลผูเ ปนเจาเปนนายก็ไดเสวยยังอานิสงสแปดกัปก็มแี ล ฯ ยทา จ อานนฺท ปุตตฺ สฺส ปพฺพชิตสฺส สามเณรสฺส อฏกปฺปานิ อานิสสํ า มาตาปตหู ิ ปริภ ุ ชฺ ติ พฺพานิ ฯ อานนฺท ดูกราอานันทะ บุคคลผูเ ปนลูกชายนัน้ บวชเปน สามเณรภาวะ ทรงศีลสิบอันในกาลเมือ่ ใด บุคคลฝูงเปนพอแลแมกไ็ ดเสวย ยังอานิสงสแปดกัปแล ฯ ยทา จ อานนฺท ปุตฺตสฺส อุปสมฺปนฺนสฺส โสฬสกปฺ ปานิ อานิสํสานิ มาตาปตูหิ ปริภุฺชิตพฺพานิ ฯ อานนฺท ดูกราอานันทะ เมื่อใดลูกชายผูนั้น บวชเปนภิกขุภาวะ ทรงจตุปาริสุทธิศีลดั่งอั้น บุคคล ฝูงเปนพอแลแมก็ไดเสวยยังอานิสงส ๑๖ กัป ก็มีในกาลเมื่อลูกชายผูนั้น บวชเปนภิกขุภาวะนัน้ แล ๚ ยทา จ อานนฺท ภริยาย ปพฺพชิตาย สามเณริยา โสฬส กปฺปานิ อานิสํสานิ สามิเกหิ ปริภุฺชิตพฺพานิ ฯ อานนฺท ดูกราอานันทะ นางผูเ ปนเมียนัน้ บวชเปนสามเณรีในกาล เมื่อใด ชายผูเปนผัวนั้นก็ไดเสวยยังอานิสงส ๑๖ กัปแล ฯ ยทา จ อานนฺท ภริยาย อุปสมฺปนฺนาย ทฺวตฺตึสกปฺปานิ อานิสํสานิ สามิเกหิ ปริภุฺชิตพฺ พานิ ฯ อานนฺท ดูกราอานันทะ ในกาลเมื่อใดญิงผูเปนเมียนั้นบวชเปน ภิกขุนีดั่งอั้น บุคคลผูเปนผัวก็ไดเสวยอานิสงส ๓๒ กัปก็มีในกาลเมื่อนาง ๑๓๗


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

ผูเปนเมียบวชเปนภิกขุนีนั้นแล ฯ ยทา จ อานนฺท อตฺตโน ปพฺพชิตสฺส สามเณรสฺส ย ทฺวตฺตสึ กปฺปานิ อานิสสํ านิ อตฺตโน ปริภฌ ุ ชฺ ติ พฺพานิ ฯ อานนฺท ดูกราอานันทะ บุคคลผูเ ปนพอเจาละขาวของเงินคําลูกเมียแหงตนไวแลไป บวชดวยศรัทธา เปนสามเณรภาวะในกาลเมือ่ ใด บุคคล ผูบ วชนัน้ ก็ไดเสวยยัง อานิสงส ๓๒ กัปก็มีแล ฯ ยทา จ อานนฺท อตฺตโน อุปสมฺปนฺนสฺส จตุสิกปฺปานิ อานิสํสานิ ปริภุฺชิตพฺพานิ ฯ อานนฺท ดูกราอานันทะ ตนบุคคลผูนั้นไดถึงยังอุปสมบทกรรม คือบวชเปนภิกขุภาวะในกาลเมื่อใด ตนบุคคลผูนั้นก็ไดเสวยยังอานิสงส หกสิบสี่กัปในกาลอันตนบวชเปนภิกขุภาวะนั้นแล ฯ อิเม โข ปน อานนฺท จตฺตาโร ปุคฺคลา ปพฺพา เชตพฺพา ฯ อานนฺท ดูกราอานันทะ แทแล อันวาบุคคลทังหลาย สี่จําพวกฝูงนี้ เพิงบวชใน ศาสนาแหงพระตถาคตแล ฯ เอตฺถ จตูสุ ปุคฺคเล ปพฺพาชิเตสุ ปุตฺตสฺส ปพฺพาชิตสฺส อานิสสํ า วิเสสโต เอวํ เวทิตพฺโพ ฯ ล้าํ บุคคลทังหลายอันบวช บุคคลทังหลายสีจ่ าํ พวกนัน้ อันวาอานิสงสแหงอันไดบวชลูกนัน้ ผูม ปี ระยา เพิงรูดวยวิเศษดั่งนี้เทอะ แทแล ลูกนั้นยังมีจําพวก จําพวกนึ่ง ขาอันเกิด กลางเรือนหื้อบวชเอาเปนลูก ก็วาลูกจําพวกนึ่งแล จําพวกนึ่ง เอาลูกทาน ผูอ นื่ มาหือ้ บวชเปนลูก ก็วา ลูกจําพวกนึง่ แล จําพวกนึง่ เอาขาวของไปไถมา หื้อบวชเปนลูก ก็วาลูกจําพวกนึ่งแล จําพวกนึ่ง ลูกอันเกิดแตอกนั้น ลูกสี่ จําพวกนี้มีอานิสงสมากนักเสมอกันแทแล ฯ อานนฺท โย จิตตฺ ปสาทพหุลตาย สพฺพสมฺปตฺติ ปชหิตวฺ า เลขปณฑฺ ํ วิย สเชตฺวา สพฺพาติกานํ มาตาปตุภริยานํ ปุตฺตธีตรํ ปหาย ภควโต สนฺติเก คนฺตฺวา คิหิภาวํ ปชหิตฺวา พุทฺธสาสเน ปพฺพชิตฺวา ยทา อุปสมฺปทํ ลภิตฺวา สมณธมฺมํ กตฺวา มหานาสํ โส [มหานิสํโส] โหติ ฯ อานนฺท ดูกราอานันทะ โย ปุคฺคโล อันวาบุคคลผูใด คือทาว พระญาก็ดี พราหมณก็ดี คหบดีแลเสฏฐีก็ดี พอคาก็ดี ประกอบดวยใจอัน เลื่อมใสในศาสนาแหงพระตถาคตมากนัก ละเสียแลวยังขาวของสมบัติ ทังมวล ประดุจดั่งถมเสียยังกอนน้ําลายไป ละเสียแลวยังลูกญิงลูกชาย ๑๓๘


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

แลเมียแหงตน พอแลแม พี่นองเผาพันธุวงศา ออกมาบวชในศาสนาแหง พระตถาคตก็ไดเปนภิกขุภาวะแลว กระทําสมณธรรมอันเมตตาภาวนา ดั่งอั้น ก็มีผลอานิสงสมากนัก บอาจจักคณนาสังขยาอาจนับแตมเขียน ยังผลแหงอันบวชได เทาควรรูดวยอุปมาดั่งนี้ ยังมีเทวบุตรตนหนึ่ง มีริทธี อานุภาวะมากนัก เทวบุตรตนนัน้ กระทํายังแผนดินหือ้ เปนจวณออนสุขมุ าล ดวยกําลังริทธีอานุภาวะแหงตนแลว เอาอากาศเปนใบลาน เอาเขาสิเนรุราช เปนเหล็กจาร เอาน้ําสมุทรเปนน้ําแตมดั่งอั้นก็ดี จวณดินแลน้ําสมุทร อันเปนน้ําแตมก็เสี้ยงเสียกอน โส เทวปุตฺโต สวนวาเทวบุตร ตนนั้น แมนมีอายุอนั ตัง้ อยูเ สีย้ งกัปหนึง่ ก็ดี อายุแหงเทวบุตรตนนัน้ ก็เสีย้ งไปกอน ก็บอาจเพื่อจักแตมยังอานิสงสแหงบุคคลผูบวชนั้นหื้อเสี้ยงไดแล อานนฺ ท ดู ก ราอานั น ทะ บุ ค คลอั น ควรบวชในศาสนาแห ง พระตถาคตมีสจี่ าํ พวกดวยประการดัง่ นีแ้ ล ผลอานิสงสแหงบุคคลอันบวชนัน้ มีมากนัก บอาจจักคณนาสังขยาอานหื้อผับหื้อเมี้ยนไดแล ฯ โย โกจิ ป อานนฺท อทฺโธ วา ทลิทฺโธ วา อตฺตโน โอรสํ ปุตฺตํ อาเนสิ พุทฺธสนฺติเก ปพฺพาเชสิ ทายาโท โหติ สาสเนนิสัโส โหติ ฯ อานนฺท ดูกราอานันทะ โย โกจิ ปุคฺคโล อันวาบุคคลผูใดผู ๑ คือ ผูเ ปนดีกด็ ี คนทุกขไรเข็ญใจก็ดี นํามายังลูกรักอันเกิดแตอกแหงตน หือ้ บวช ในสํานักแหงพระตถาคตเจาดัง่ อัน้ โส ปุคคฺ โล สวนวาบุคคลผูน นั้ ก็ไดชอื่ วา เปนทายาท คือเปนเชื้อสายญาติกาในศาสนาแหงพระตถาคตเจาก็มีแล สวนวาบุคคลผูนั้นก็จักไดเสวยยังสัมปตติอันมีในสวรรคเทวโลกดวยกุศล กรรมอันเปนบุญ คืออันไดบวชลูกบวชหลานแหงตนนั้นแล บุคคลผูใดหื้อ เมียตนไปบวชก็ดี ค้ําทานผูอื่นหื้อบวชก็ดี บุคคลผูอื่นไดบวชตนคือวาตน หากไปบวชก็ดี ไดหื้อขาชายไปบวชก็ดี บุคคลผูนั้นจักไดเสวยยังสัมปตติ อันเปนเทวดา เปนอินทรพรหมดวยเตชะผลแหงบุญอันนั้นแล ประการ ๑ บุคคลผูใดแมนวา ไดหื้อขาวของสมบัติอันมากเปนทานก็ดี บุคคลผูนั้น พอยจักไดชื่อวาศาสนทายาทดวยอัตถะวาเปนผูสืบเชื้อศาสนาก็บมี มัก วาบไดสืบเชื้อศาสนาแหงพระตถาคตเจา เปนดั่งพระญาอโศกธรรมิกราช ไดสละขาวของสิบโกฏิ สรางวิหารแปดหมืน่ สีพ่ นั หลังก็ดี มหาโมคคัลลีปตุ ต ๑๓๙


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

ติสสเถรเจา (กลาววา) มหาราชบไดชื่อวา ศาสนทายาทวา สืบเชื้อศาสนา เทื่อแล เมื่อใดมหาราชไดหื้อลูกญิงลูกชายบวชในศาสนาดั่งอั้น มหาราช จิ่งไดชื่อวา ศาสนทายาทชะแล พระญาอโศกธรรมิกราชก็หื้อมหินทกุมาร ผูเปนโอรสแหงตน บวชในศาสนทายาทดวยตนวา เปนผู สืบเชื้อศาสนา แล เหตุดั่งอั้น บุคคลผูใดหื้อลูกแลหลานบวชดั่งอั้น จิ่งไดชื่อวา ศาสน ทายาท วาสืบเชื้อศาสนาหื้อเปนไปแล ฯ อานนฺท ตสฺส ปพฺพชานิสงฺสานิ [ปพฺพชฺชานิสํสานิ] อปฺปริมานานิ [อปริมาณานิ] ฯ อานนฺท ดูกราอานันทะ อันวาผลอานิสงสแหงบุคคลผูบ วชมีมากนัก บอาจจักคณนาสังขยาอานนับไดแล ฯ สตฺ ถ า สั พ พั ญ ู พ ระพุ ท ธเจ า เทศนาด ว ยสามารถเป น บาลี จุณณียบทแลวที่นี้ จักกดเอายอดธรรมเทศนาเลาดั่งอั้น ก็จําเริญธรรม เทศนาเปนคาถาวา จตฺตาโร อานนฺท ปุคฺคลา โลเก ปพฺพชิตฺวาน สาสเน ทาโส ปุตฺโต จ ภริยา จ อตฺตา จ โหติ วิฺุนา ฯ อานนฺ ท ดู ก ราอานั น ทะบุ ค คลทั ง หลายสี่ จํ า พวกในโลกนี้ คื อ ขาชายนึ่ง ลูกชายนึ่ง เมียนึ่ง ตนนึ่ง ควรบวชในศาสนาแหงพระตถาคต บุคคลผูมีประยาเพิงรูแล ฯ จตุกปฺปานิ ทาสสฺส อกปฺปานิ อุปสมฺปทา อกปฺปานิ ปุตตฺ สฺส โสฬสา อุปสมฺปทา โสฬสา ภริยา เจว ทฺวตฺตสึ า อุปสมฺปทา ทฺวตฺตสึ อตฺตโน เจว กปฺปจตุสิ อุปสมฺปทา ฯ อานนฺท ดูกรา อานันทะ เมื่อบุคคลผูเปนทาสคือขาชายบวช เปนสามเณรนั้น บุคคลผูเปนเจาเปนนาย ก็ไดเสวยยังอานิสงสสี่กัป เมื่อ สามเณรตนนั้นบวชเปนภิกขุภาวะแลวดั่งอั้น บุคคลผูเปนเจาเปนนายก็ได เสวยยังอานิสงสแปดกัปแล ในเมื่อลูกชายผูนั้นบวชเปนสามเณรภาวะ ดั่งอั้น บุคคลฝูงเปนพอแลแมก็ไดเสวยยังอานิสงสแปดกัปแล เมื่อใด ๑๔๐


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

ลูกชายนั้น บวชเปนภิกขุภาวะแลวดั่งอั้น บุคคลฝูงเปนพอแลแมก็ไดเสวย ยังอานิสงสสิบหกกัปแล ในกาลเมื่อญิงผูเปนเมียบวชเปนสามเณรีดั่งอั้น ชายผูเปนผัวก็ไดเสวยยังอานิสงสสิบหกกัป เมื่อญิงผูเปนเมียบวชเปน ภิกขุณีดั่งอั้น ชายผูเปนผัวก็ไดเสวยยังอานิสงสสามสิบสองกัปแล เมื่อตน บวชเปนสามเณรภาวะดั่งอั้น ตนก็ไดเสวยยังอานิสงสสามสิบสองกัป เมื่อบวชเปนภิกขุภาวะแลวนั้น ตนก็ไดเสวยยังอานิสงสหกสิบสี่กัปแล บุคคลบวชตนมีหา จําพวก จําพวกนึง่ ทุกขไรเข็ญใจบวชก็มี จําพวกนึง่ ถะถุก หนีทา นบวชก็มี จําพวกนึง่ ฆาทาวพระญาบวชก็มี จําพวกนึง่ เปนพยาธิบวช ก็มี จําพวกนึ่งละฆราวาสยาวเรือนเสียไปบวชตนก็มี มีหาจําพวกดั่งนี้ก็มี อานิสงสมากนักแล ฯ เอกํ กปฺปานิ นาม กึ ปมานานิ [ปมาณานิ] ฯ ชื่อวากัปนั้นมี ประมาณดั่งฤๅชา ฯ ปพฺพตํ โยชนุพฺเพธํ วิตฺถารฺจ ตเถว จ ทิพฺพวตฺเถน สมฺมชํ [สมฺมชฺชํ] สตวสฺสํ ปุเนกตํ ปพฺพตํป สมภูมิ เอกกปฺปาติ วุจฺจติ ฯ แทแล ดอยอันนี้สูงไดโยชน กวางก็ไดโยชนคือแปดพันวา รอยปเทวดา เอาผาทิพยมากวาดแล ที่ดอยอันนั้นก็พอเสี้ยง ที่อันนั้นราบเพียงเปนดั่ง หนากลองไชยนั้นดั่งอั้น กาลมีประมาณเทานั้น จิ่งไดชื่อวากัปนึ่งแล ฯ สพฺ เ พ ป ต โร าติ โ ก อยฺ ย กาทิ ย าภาตโร ภคิ นิ จ าป มิ ตฺ ต า กุลพนฺธวา สพฺเพ ปาปานิกตฺวา กายวาจามนสา ทุจจฺ ริตานิ กมฺมานิ อปฺปาเย ปตฺตนฺติเต ปพฺพชิตานุภาเวน สพฺพทุกฺขา ปมุฺจเร ฯ อานนฺท ดูกราอานันทะ บุคคลทังหลายคือพอแลแมก็ดี ญาติพี่ นองอันมีปแู ลยาเปนตนก็ดี พีช่ ายนองชาย พีญ ่ งิ นองญิงมิตรสหายทังหลาย แลวงศากระกูลเผาพันธุทังมวลก็ดี บุคคลทังหลายฝูงนี้ไดกระทํากรรม อันผิดอันเปนบาปแลวไดไปเกิดในอบายภูมทิ งั สี่ มีนริ ยนรกเปนตน บุคคล ทังหลายมวลฝูงนั้นก็ไดพนจากอบายดวยอานุภาวะอันบวชแหงบุคคล ผูเปนลูกเปนหลานนั้นแล ฯ โย โพธิรุกฺขํ โรเปติ โยชปพฺพชิโต นโร โย จ สตฺถุกโร พิมฺพํ ธุวํ พุทโฺ ธ ภวิสสฺ ติฯโย ปุคคฺ โล อันวา บุคคลผูใ ดแล ไดปลูกยังไมสรีมหาโพธิกด็ ี ๑๔๑


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

บุคคลผูใดไดออกบวชในศาสนาแหงพระพุทธเจาก็ดี บุคคลผูใดไดสราง แปลงยังสารูปแหงพระพุทธเจาก็ดี โส ปุคคฺ โล สวนวาบุคคลผูน นั้ แมนวาจัก ปรารถนาหื้อเปนพระเจาดั่งอั้น ก็จักไดเปนเที่ยงแทแล ฯ เอวํ โข อานนฺท จตฺตาโร ปุคคฺ โล ปพฺพา เชตพฺพา ฯ อานนฺท ดูกรา (…สิน้ สุดขอความเทานี… ้ ) ปพพัชชานิสังสสูตรแล ๚ | ศักราชได ๑๑๕๓ ตัวปรวงไค เขามาในเดือนศรวณะ แรมค่าํ พร่าํ วา ไดวัน ๔ ไทยเปกเส็ด เสด็จแลวเที่ยงยามเที่ยงปริปุณณะมวล ปพพัชชานิ สังสสูตรแล ลิขติ ไวอปุ ถัมภศาสนาพระพุทธเจาตราบ ๕ พันพระวัสสาตาม อายุแลลานแล ๚ |

๑๔๒


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

ศัพทานุกรม กด กระกูล คํา ค้ํา จวณ ญิง ดั่งฤๅ ดั่งอั้น ดูกรา ถะถุก ทัง ทังมวล เทอะ น้ําแตม นึ่ง ประยา ปริปุณณะ ปาฐะ ผับ พระเจา พอย เพิง เมี้ยน มาง แมน แมนวา ยาวเรือน

ก. กําหนด, ตราไว. น. ตระกูล น. ทอง, ทองคํา ก. ค้ําชู, บํารุงใหเจริญขึ้น น. จุรณ, ผง. (ป. จุณฺณ ; ส. จุรฺณ) น. หญิง, ผูหญิง ว. เชนไร ว. เชนนั้น คํากลาวเพื่อใหผูพูดดวยรูตัว = ดูรา ว. อาการที่ทําอยางรวดเร็ว ว. ทั้ง ว. ทั้งมวล, หมดดวยกัน คําประกอบทายกริยาแสดงความหมายเปนเชิงตกลง วิงวอน = เถิด, เทอญ น. สีสําหรับทาหรือระบาย, หมึกที่ใชเขียนหนังสือ น. หนึ่ง น. ปญญา, ความรูทั่ว. (ป. ปฺา) ว. บริบูรณ. (ป. ปริปุณฺณ). น. เรื่องราว, วิธีสาธยายคัมภีร. (ป. ปา) ว. ทุก, ทั่ว, ถวน, ทั่วไป น. พระพุทธเจา ว. ไฉน, ทําไม ว. พึง, ควร เชน พึงไป, ควรไป ก. ตาย, หมดสิ้น, สูญ, สําเร็จ ก. ลาง, ทําลาย, รื้อ สัน. แมน, แม สัน. แมนวา, แมวา น. เหยาเรือน. ๑๔๓


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

ริทธี สัทธา สิเนรุ เสี้ยง หื้อ

น. อํานาจศักดิ์สิทธิ์, แรงอํานาจ. (ป. อิทฺธิ) น. ความเชื่อความเลื่อมใสในพระธรรม, ความเชื่อ, ความเลื่อมใส. (ป. สทฺธา) น. เขาพระสุเมรุ. (ป. สิเนรุ) ก. สิ้น, ไมมี, หมด ก. ให, มอบให, สละ

ประชาชนผูสนใจเขารวมฟงการสัมมนาทางวิชาการ

๑๔๔


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

พิธีรดนํ้ามุรธาภิเษก ศรีเลา เกษพรหม สถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม

น้ํามุรธาภิเษก หมายถึงน้ําศักดิ์สิทธิ์ ที่ใชในพิธีสรงในการทํา ราชาภิ เ ษกยกองค รั ช ทายาทหรื อ พระอุ ป ราชขึ้ น เป น พระเจ า แผ น ดิ น หรือใชสรงในพิธีเถราภิเษก คือเมื่อมีการเลื่อนสมณศักดิ์ของพระภิกษุ โดยเฉพาะที่ไดเลื่อนใหมีสมณศักดิ์ชั้นสูง เชนเปนราชครูเปนสามี และ สังฆราชา เปนตน ถาเปนพิธเี ถราภิเษกสมเด็จพระสังฆราช ผูเ ปนประธาน ในพิ ธี จ ะเป น กษั ต ริ ย ห รื อ อุ ป ราชราชวงศ การสรงน้ํ า มุ ร ธาภิ เ ษกเป น ราชประเพณีสบื มาแตโบราณกาล กษัตริยท ไี่ ดรบั การแตงตัง้ โดยการสรงน้าํ มุรธาภิเษก ถือวาเปนกษัตริยท สี่ มบูรณ เชนพญามังรายไดรบั น้าํ มุรธาภิเษก แลวเปนกษัตริยค รองเมืองเชียงรายเมือ่ ประมาณ พ.ศ.๑๘๐๒ / A.D.๑๒๕๙ ตอมามีเจาเมืองรอบๆ เมืองเชียงราย เชน เมืองมอบ เมืองไล และเมือง เชียงคํา ไมมีความออนนอมตอพญามังราย พระองคจึงรําพึงวา “เขาฝูง เปนพญาอยูจิ่มใกลกู บไดน้ํามุรธาภิเษกอยางกูสักคน พอยจามานะตอกู ฉันนี้ ควรกูไปรบเอาเมืองเขาทังหลายฝูงนี้” ดังนั้น พิธีสรงน้ํามุรธาภิเษก จึงเปนพิธีสําคัญของลานนาในอดีต ๑๔๕


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

พระเจ า อยู หั ว รั ช กาลป จ จุ บั น เมื่ อ ทรงขึ้ น เสวยราชย เ มื่ อ พ.ศ.๒๔๙๓ / A.D.๑๙๕๐ ก็มีพิธีสรงน้ํามุรธาภิเษก ดังที่นายฤทธานุภาพ ไดอธิบายเรื่องน้ําศักดิ์สิทธิ์ ในหนังสือพิมพรายวันเดลิมิเรอร ฉบับวันที่ ๑๕ พฤษภาคม ๒๕๒๗ วา “น้ําศักดิ์สิทธิ์ที่พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว เมื่อบรมราชาภิเษกครั้งนั้น เปนน้ําที่เจือดวยน้ําในปญจมหานทีในมัธยม ประเทศ คือน้าํ ในแมนา้ํ คงคา ยมนา อิรวดี สรภูมหิ และน้าํ ในปญจสุทธคงคา คือแมน้ําสําคัญ ๕ สาย ในราชอาณาจักรไทยไดแก แมน้ําเพชรบุรี แมน้ํา เจาพระยา แมนํา้ ปาสัก แมน้ําบางประกง แมน้ําราชบุรี นอกนั้นยังตักน้ํา ในสระ ๔ สระในจังหวัดสุพรรณบุรี คือ สระเกศ สระแกว สระคา และ สระยมนา ซึ่งลวนเคยเปนน้ําสรงมุรธาภิเษกสมเด็จกษัตราธิราชมาแต โบราณกาลทั้งสิ้น ในระหวางการเตรียมงานกอนถึงวันราชพิธี ทางราชการไดกาํ หนด ตั้งพิธีการทําน้ําอภิเษกจากพุทธเจดียสถานสําคัญทั่วประเทศในจังหวัด ตางๆ ถึง 18 แหง คือ จังหวัดสระบุรีตั้งที่พระพุทธบาท จังหวัดพิษณุโลก ตั้งที่วัดพระศรีรัตนมหาธาตุ จังหวัดสุโขทัยตั้งที่วัดพระมหาธาตุ จังหวัด ลํ า พู น ตั้ ง ที่ พ ระธาตุ ห ริ ภุ ญ ไชย จั ง หวั ด นครพนมตั้ ง ที่ พ ระธาตุ พ นม จังหวัดนานตั้งที่วัดพระธาตุแชแหง จังหวัดรอยเอ็ดตั้งที่บึงพระลานชัย จังหวัดเพชรบุรีตั้งที่วัดมหาธาตุ จังหวัดชัยนาทตั้งที่วัดบรมธาตุ จังหวัด ฉะเชิงเทราตั้งที่วัดโสธร จังหวัดนครราชสีมาตั้งที่วัดพระนารายณมหาราช จังหวัดอุบลราชธานีตั้งที่วัดศรีทอง จังหวัดจันทบุรีตั้งที่วัดพลับ จังหวัด สุ ร าษฎ ธ านี ตั้ ง ที่ วั ด มหาธาตุ อํ า เภอไชยา จั ง หวั ด ป ต ตานี ตั้ ง ที่ วัดตานีนรสโมสร จังหวัดภูเก็ตตั้งที่วัดพระทอง พิธีตั้งน้ํามุรธาภิเษกครั้งนั้น ผูวาราชการจังหวัดใหราชบุรุษไป พลีกรรมตักน้ําที่เปนสิริมงคล ณ สถานที่ศักดิ์สิทธิ์ในจังหวัดนั้นๆ บรรจุ ภาชนะแลวนํามาเขาพิธี และจะตองนําสงสํานักราชวังใหทันกอนรับ พระราชพิธี พระราชพิ ธี บ รมราชาภิ เ ษกเป น พิ ธี ใ หญ ใ นการขึ้ น ครองราชย ของพระเจาแผนดินทุกพระองค แตรายละเอียดเกีย่ วกับพิธนี นั้ อาจแตกตาง ๑๔๖


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

กันไปบาง เชน สมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาขึ้นครองราชสมบัติ เมื่อ พ.ศ.๒๓๒๕ ที่เรียกวาปราบดาภิเษก การพระราชพิธียังไมสมบูรณ เนื่องจากขาดตําหรับตําราอยางเปนพิธีการ พระเจากาวิโลรส เจาผูครองนครเชียงใหม (พ.ศ.๒๓๙๗-๒๔๑๓) ก็เคยใหคนไปเอาน้ําสี่สระจากสุพรรณบุรี คือสระแกว สระคา สระยมนา และสระเกษ นํามาประกอบในพิธีสรงน้ํามุรธาภิเษกใหตัวทานเอง เพราะ ทานถือวาทานยังเปนกษัตริยพ ระองคหนึง่ ของลานนา แตทางสยามถือวา เปนการไปขโมยน้ําศักดิ์สิทธิ์ จึงเปนขอหนึ่งในการถูกกลาวหาวาเปนกบฏ สวนพิธีสรงน้ํามุรธาภิเษกเมื่อกษัตริยขึ้นเสวยราชยในลานนานั้น ยั ง ไม พ บตํ า ราที่ ก ล า วถึ ง โดยตรง แต มี ตํ า ราพิ ธี ส รงน้ํ า มุ ร ธาภิ เ ษกยก สมณศั ก ดิ์ พ ระสงฆ ขึ้ น เป น สั ง ฆราชา ในตํ า รานั้ น กล า วไว ว า เป น ตํ า ราที่ ใช กั บ พระสงฆ แ ละพระเจ า แผ น ดิ น เมื่ อ ขึ้ น เสวยราชย ด ว ย พิ ธี สรงน้ํ า มุ ร ธาภิ เ ษกแก พ ระสงฆ แ ละกษั ต ริ ย จะต า งกั น ตรงสถานที่ ประกอบพิธีเทานั้นเอง พระสงฆประกอบพิธีในวิหาร ถาเปนกษัตริยนา จะประกอบพิธีในคุมหรือโรงคํา หรือขวงสนาม และคงจะตั้งปะรําพิธีและ สรางหอสรง ณ ที่แหงนั้น หอสรง หอสรงน้ํามุรธาภิเษกสําหรับพระภิกษุที่ไดรับการเลื่อนสมณศักดิ์ เปนมหาเถระ มหาสามี ราชครู และสังฆราชา สรางขึ้นดวยไมเปนรูป ๕ เหลี่ยม กวางประมาณ ๑ เมตร สูงประมาณ ๒.๕ เมตร บางแหงมี หลังคาแบบปนหยา บางแหงไมมีหลังคา มีฝาไมรอบ ฝาสวนบนทําที่ไว สําหรับวางรินน้ําไว ๕ ริน คือดานทิศเหนือ ดานทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ดานตะวันออก ดานใต และดานตะวันตก มีประตูปดเปดของดานใด ดานหนึ่ง พื้นสูงจากดินประมาณ ๒๐ เซนติเมตร ดานในตั้งทอนไมเดื่อ ขนาดเสนผาศูนยกลางประมาณ ๔๐ เซนติเมตร สูงประมาณ ๓๐ เซนติเมตร

๑๔๗


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

รินน้ํา รินน้ําสําหรับสงน้ําศักดิ์สิทธิ์เขาไปในหอสรง เจาะขุดจากตนไม สวนมากจะทําดวยไมสกั กวางประมาณ ๒๐ เซนติเมตร ยาวประมาณตัง้ แต ๒.๕๐ ถึง ๔ เมตร จํานวน ๕ ริน ปากรินแตละอันแกะสลักเปนรูปหัวสัตว อาปาก คือ หัวชาง หัวสิงห หัวมา หัวมอม และหัววัวอุสุภราช รินหัวชาง วางทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ รินหัวสิงหวางทางทิศตะวันออก รินหัวมา วางทางทิศใต รินหัวมอมวางทางทิศตะวันตก และรินหัววัวอุสภุ ราชวางทาง ทิศเหนือ การวางรินเอาสวนหัวทีเ่ ปนรูปหัวสัตวพาดวางเขากับหอสรงตรงที่ เจาะรูไว สวนหางวางพาดกับเสาค้าํ ยกสูงขึน้ กวาหัวริน ปจจุบนั เห็นเหลืออยู แตรางรินเศียรนาคเทานั้น ซึ่งคนในลานนามีไวเพื่อสรงน้ําพระพุทธรูป สุพรรณบัฏ ใช ท องคํ า มาตี แ ผ ใ ห เ ป น แผ น บาง ขนาดกว า งประมาณ ๓ เซนติเมตร สวนความยาวแลวแตขอความที่จะจารึก แลวจารึกคํา ประกาศเกี ย รติ คุ ณ สี ล าทิ คุ ณ ของพระสงฆ ที่ ไ ด ย กเลื่ อ นสมณศั ก ดิ์ และรับน้ํามุรธาภิเษก สวนมากจะจารึกดวยภาษาบาลี โดยพันหนังสือ หรือนักปราชญในราชสํานัก โองการพระนาม เปนเอกสารที่มีขอความยาวกวาสุพรรณบัฏ จารึกบนใบลาน หรือพับหนังสา แตงเปนคําประพันธอยางไพเราะ ขอความกลาวถึงฤกษ วันยาม และวันเดือนปที่ประกอบพิธี และกลาวถึงประวัติพระสงฆที่ได รับยกเลื่อนสมณศักดิ์วามีคุณความดีอยางใดบาง สุดทายกลาวสรรเสริญ คุณของกษัตริยที่พระราชทานตําแหนงให

๑๔๘


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

จัดสถานที่จัดอุปกรณและเครื่องปรุงน้ําศักดิ์สิทธิ์ การปรุ ง น้ํ า ศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ เ พื่ อ ใช เ ป น น้ํ า สรงมุ ร ธาภิ เ ษกแก ก ษั ต ริ ย หรือพระสงฆ จะทํากอนวันรดน้ํา ๑ วัน โดยทําการตมปรุงน้ําศักดิ์สิทธิ์ ในอุโบสถซึง่ ถือวาเปนสถานอันศักดิส์ ทิ ธิ์ มีการลอมราชวัตรเปนปริมณฑล ปกดวยฉัตร ๔ ใบ งาชาง ๔ งา ปนสินาด ๔ กระบอก หอก ๔ ดาม ดาบ ๔ เถี่ยน ของเหลานี้ผูกติดกับราชวัตร ก อ นเส า ที่ ทํ า เป น เตาไฟหุ ง ต ม น้ํ า ศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ นั้ น ป น จากดิ น ๓ จอมปลวก ๓ บวกควาย นํามาคลุกเคลาใหเหนียวแลวปน เปนรูปราชสีห ๓ ตัว ฟนที่จะใชเปนเชื้อเพลิงจุดไฟตมน้ํา ใชไมดอกแกว(ดอกพิกุล) ไมขนุน ไมเทาไมทัน (ไมพุทรา) อยางละ ๗ ดุนคือ ๗ อัน ไฟที่จะใชจุดนั้นไมใชไฟบานโดยทั่วไปเพราะถือวาเปนไฟที่ไม บริสุทธิ์ จึงใหใชไฟฟา ที่ไดจากการที่แสงแดดสองผานลงไปไหมปุยนุน ตัวยาสมุนไพรที่ใชตมดวยน้ํา ๗ บอ มีดังนี้ ๑. ๒. ๓. ๔. ๕. ๖. ๗.

หัตถีทันตา งาชาง คิแคน จันทนขาว วรกันนา หูเนื้อ คือกฤษณานารี เกศา ผมขาว ผมสาว คือรากแฝกหอม พหุวาจา ปากมาก คือเกี๋ยงภา สะมาคะตา พร่ํากัน คือเค็ดเคา สัตตะคา ๗ ยอด คือยอดไม ๗ อยาง อยางละ ๗ ยอด มี - ยอดตาล - ยอดลาน - ยอดพราว ๑๔๙


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

- ยอดหมากผู - ยอดหมากเมีย - ยอดกลวย - ยอดออย ๘. พับโพ คือ หอมบั่วนา ๓ วองมือ (๓ รัดมือ) ๙. มิคคาจักษุ คือตาเนื้อ คือ สมปอยเทศ ที่มี ๗ ขอเอา ๗ ฝก ๑๐. ผุสะติกาญจนา คือผงทองคํา ๑๑. รัตนาพิชชา คือใบไม ๓อยาง เอาอยางละ ๗ ใบ มีใบดอกแกว ใบขนุน ใบเทาใบทัน ผูประกอบพิธี ตองเปนผูที่ประกอบดวยวัยวุฒิและคุณวุฒิ มีความรอบรูเรื่อง ประเพณีและพิธีกรรมเปนอันดี เรียกกันวาอาจารย ผูที่จะประกอบพิธี รดน้ํามุรธาภิเษกนั้นใหนุงผาขาว กอนที่จะลงมือประกอบพิธีใหรับศีล ๕ ขอ เพื่อใหรางกายบริสุทธิ์ ผู ดํ า เนิ น การในการจั ด พิ ธี ใ ห ตั้ ง ขั น ครู แ ก ผู ที่ จ ะเป น อาจารย มี ผ า ขาว ๔ รํ า ผ า แดง ๔ รํ า เที ย นใหญ คื อ เที ย นเล ม บาท ๔ คู เทียนขนาดกลางเรียกวาเทียนเลมเฟอง ๘ คู เทียนขนาดเล็ก ๑๖ คู กรวยใสใบพลู ๑๖ กรวย หมาก ๑๖ ขด และ ๑๖ กอม หมากมีน้ําหนัก ๔ หมื่น ขาวเปลือก ๔ ตาง ขาวสาร ๔ แคง หมอดิน ๔ ใบ มะพราว ๔ ทะลาย ออย ๔ แบก ขันโตก ๑ ใบ หอยเบี้ยที่ใชแทนเงิน เสื่อใหม ขาวตอกดอกไม กลวย ๑ เครือ เงิน ๑,๐๐๐ คํารอย (น้ําหนัก) พิธีปรุงน้ํามุรธาภิเษก เมื่อเตรียมทุกอยางพรอมแลว กอนวันที่ทําพิธี ๑ วัน ใหจัดพิธี ตมปรุงน้ําศักดิ์สิทธิ์ในอุโบสถ เริ่มดวยถวายขันครูใหอาจารย อาจารย ยกขันขึ้นแลวกลาวคําอัญเชิญครู จากนั้นอาจารยกอไฟดวยฟน ๓ ชนิด ๑๕๐


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

แตละชนิดใสตามชองของกอนเสาหัวราชสีห การใสฟนหามใสปนชองกัน ไมชนิดไหนอยูชองใดตองอยูชองนั้นตลอดไป แลวนําแวนขยายไปสอง กับแดดใหแสงแดดสองผานลงที่นุนหรือดอกฝาย ไมนานความรอนจาก แสงอาทิตยจะลุกไหมปุยนุน หรือดอกฝาย แลวจึงนํามาเปนเชื้อไฟจุดฟน เมื่อไฟติดแลวยกหมอดินใหมที่ยังไมเคยใชขึ้นตั้งบนกอนเสา เทน้ํา ๗ บอ จากวัด ๗ วัด ลงไปในหมอ ใสตัวยาสมุนไพรและของมงคลทุกอยาง ดังกลาว ลงไปในหมอตม เมื่อน้ําเดือดจนตัวยาสมุนไพรออกสีและกลิ่น แลว ตักเอาน้าํ ออกใสในขันน้าํ ๑๖ ขัน คือขันทําดวยแกว ๔ ขัน ขันทองคํา ๔ ขัน ขันเงิน ๔ ขัน และขันนาก ๔ ขัน แลวจึงนําขันที่บรรจุน้ําไปตั้งไวใน วัดที่ชื่อเปนมงคล นิมนตพระสงฆ ๑๐๘ รูป นั่งลอมขันน้ําทั้ง ๑๖ ขันแลว เจริญพระพุทธมนต ถึงตอนเชาในวันทําพิธีรดน้ํามุรธาภิเษก ใหเอาขันน้ําทั้ง ๑๖ ขัน ไปตั้งไวในหอสรง นิมนตพระสงฆจํานวน ๑๐๘ รูปลอมหอสรง และเจริญ พระพุทธมนตอีกครั้งหนึ่ง โดยใหสวดบทมหาสมัย และ ไชยทั้ง ๗ จากนั้น จึงใหยกขันน้ําไปตั้งไวตามจุดตามทิศที่มีหางรินอยู การรดน้ํามุรธาภิเษก เมื่อไดเวลาที่เปนมงคล ใหตีฆองกลองหรือประโคมดนตรี นิมนต พระภิกษุที่จะรับน้ํามุรธาภิเษกเขานั่งบนแทนไมเดื่อในหอสรง จากนั้น พระสงฆเถรานุเถระเอากระบวยเงินตักน้ําศักดิ์สิทธิ์หยาดลงที่หางริน ปากช า งอั น วางพาดด า นทิ ศ ตะวั น ออกเฉี ย งเหนื อ พระเจ า แผ น ดิ น และอุปราชตักน้ําหยาดลงบนรินปากสิงหที่วางพาดดานทิศตะวันออก ทาวพญา สะควยเศรษฐี พอคาวานิช ตักน้ําหยาดลงบนรินปากมาที่วาง พาดอยูดานทิศใต บาวแกว สาวแกว และประชาราษฎร ตักน้ําหยาดลง บนรินปากมอมทีว่ างพาดดานทิศตะวันตก เสนาอามาตย ขุนหมืน่ ขุนแสน และขาราชการ ตักน้าํ หยาดลงบนรินปากวัวอุสรุ าชทีว่ างพาดดานทิศเหนือ ในระหวางที่คนทั้งหลายหยาดน้ําลงบนริน น้ําจะไหลเขาไปรดตรงกลาง ศีรษะของพระภิกษุผูรับน้ํามุรธาภิเษก เมื่อการรดน้ําเสร็จสิ้น ผูรับน้ําจะ ๑๕๑


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

เปลีย่ นผานุง ผาจีวร แลวพระสงฆทเี่ ปนประธานสงฆเขาไปจูงมือพระภิกษุ นั้นออกจากหอสรงขึ้นไปบนวิหาร เมื่อกราบพระแลวหันหนากลับมาทาง อาจารยผูประกอบพิธี หันหลังใหพระประธาน อาจารยใชแผนเหล็ก รองหัวเขาทั้ง ๒ และศอกทั้ง ๒ ของตนแลวกราบ ๓ ครั้ง แลวกลาวคํายอ คุณพระพุทธเจา อานโองการพระนามที่เขียนไวในใบลานหรือพับสา แลวจึงอานคําจารึกในสุพรรณบัฏ ๓ ครัง้ เมือ่ อานจบแลวนักดนตรีประโคม ดนตรี ตีระฆัง กังสดาล บัณเฑาะวและเปาหอยสังข เปนการสงเสพ เปน อันเสร็จการพิธีรดน้ํามุรธาภิเษกเพียงนี้ ตัวอยางคําโองการพระนาม ตัวอยางคําโองการพระนามนี้ พระยาปญญาพิทธา แตงขึน้ ในพิธี รดน้ํามุรธาภิเษกเลื่อนสมณศักดิ์ พระเกสลปญโญ เจาอาวาสวัดชัยศรีภูมิ ขึ้นเปนราชครู, พระสิทธิเจาอาวาสวัดกิตติ และเจาอาวาสวัดหอพระ ขึ้ น เป น สมเด็ จ , ยกครู บ าวั ด บุ พ พาราม และพระคั ม ภี ร เจ า อาวาส วัดหนองควาย ขึ้นเปนสังฆราชา, ยกพระมังคละ เจาอาวาสวัดพระสิงห ฝายใต ขึ้นเปนสาม,ี ยกพระนันทะ เจาอาวาสวัดปาแดง ขึ้นเปนมหาเถระ เมื่อ พ.ศ.๒๓๘๘ / A.D.๑๘๔๕ ปลายสมัยของเจาพุทธวงศ เจาผูครอง นครเชียงใหม คําโองการพระนามมีดังนี้ โยสันนิสิโน วรโพธิมูเล มารังสะเสนัง มหันติวิชโย สัมโพธิมา กัญจิวะอนันตะญาโณ โยโรกุตตโม ตัง ปนนะมามิพุทธัง ตัง ปนนะมามิ ธัมมัง ตัง ปนนะมามิ พุทโธ มังคละสัมภูโต สัมพุทโธ ทีปะทุตตะโม พุทธมังคละมาคัมมะ สัพพะทุกขา ปะมุญจะเร ธัมโม มังคละสัมภูโต คัมภีโร ทุทัสโส อะณุง ธัมมะมังคละมาคัมมะ สัพพะภะยา ปะมุญจะเร สังโฆ มังคละสัมภูโต ทักขิเณยโย อะนุตตะโร สังฆะมังคละมาคัมมะ สัพพะโรคา ปะมุญจะเร ๑๕๒


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

โย โลหิตํ ทาสีติเรกะสินธุ มังสาธิ ภุสีสะติ เลกะเม ลุตาราติริตตัง นะยะนังอะทาสิ นะมามิ หันตัง วรโลกนาถัง สรรเพชรตนใดเดช สมสรางเขตบารมี 30 ประการ ทีฆะมะทานังเครงคราวคราน มะโนวจีทวารกํานานก็ยดื ยาว ตราบพยากรณก็พอซาว อะสงไขอีกแสนกัลป บพิตราไดสํารอก โลหิตออกใหทานทัน เอนกสิอนันตา ยังยิ่งล้ําสิสาคร มังสาอันเถือแถก เปนพุนแจกยาจกจร ยังยิ่งพระสาธร ในเทิกทองจักรพาล พระเศียรอุตตะมังคะ พระจํานงคใหเปนทาน ยังยิ่งกวาประมาณ พระสุเมรุราชา พระแพนกะยุคละ อันมีพรรณรา บรรจงเขาะขอดควักตา ออกใหเปนทาน ยังยิ่งประมาณแหงดาวดวง เวหาเวียนอันเพริดพราย นานาที่กฏหมาย อันนอกนั้นมิสังขยา จาอันยากเยื้อน พระทําเนืองสงสารมา เสวยทุกขอันนานา มิมาดอาจจักตริตรา จิ่งลุกใดแดดํารัส สรรเพชรตรัสแตงอํารุง ไขบันทูลชุลี ใสอภิวาทนมัสการ โอกาสะศักราชโบราณราช แตงตัดมาวาดไวใหเปนตรา เถิงถูกถวนระบําสรร ตามตําบลบิลปลาย แขวดกฏหมายมาเทียมทัน ศักราชไขเบิกบัวระกําหนดเนตนิทานคลอง เปนเฉลยกัลละโคลงเลย ระบิลระเฉลยบาท สองพันปลายสองรอย หมายเหมียดตราจอง อีกเจ็ดตัวเผื่อปูนปอง ติดตอไดสืบสายไป เรียงรดกดฉนํา มะเส็งฉนําเขตขอมไข เปนปเมืองไทยดับไส สอไวใหสรรเสร็จฤกษกิตติกา กําหนดตราออกเรืองเรจ เพียงพุงขึ้นสุกลกาล ๑๕๓


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

ปุณณมีพิโลจาร ชีโวโสดสะคราญ ไทยเตายีแขวดกฏหมาย พระจันทรทําเนืองบาย เวหาหองรวมราศี เมษาแหงวิถลี รุ อดหองมรรคาเรียง ฤกษกดภรณีดวงถวนสอง ลุลาภไดแหงลาภา อดีตอันคลอยคลาด พุทธศาสนลวงล้ําลด สองพันกฏไวตราตรอง ปลายสามรอยแปดสิบแปดพระพรรษา ปลายหกเดือนคลาดไคลคลา พุทธศาสนยังเหลือหลอ จักมาพอหาพันพระวรรษา ยังหลอสองพันหกรอยตราสิบเอ็ด ฉนําเตือ่ มแถมปลายหกมาสา แขวดกฏหมายวะระบมปี ลายคําพอสอง ลําดับตามวันพรุก จิ่งถวนถูกวิโนทะนี ศาสนายังยิ่งกวาง ศักราชคางโยชนยาวยน โอภาสรุงเรืองราย ใหผลผายแผสุชน ใหบังเกิดการกุศล สุขสวางฟาฝายแดนดิน หกสวรรคชมชื่นชิน ปราโมทยนอมมะโนใน บพิตรไทธิราช พระภูวนาทปนพิงไชย เปนเคาเหงาแหงอทีนรินทราช สมุหะมาดธิบดีเจาฝายหนาหอคํา เจามหาสิริภูมิบัต เขมรัฐบุรีรมย เจาพิมพิสารชื่นเชยชม ปราโมทยดวยสวนบุญญา เจาราชวงศากนิษฐา มีปสาทะเยือกยินดี เจารัตนะเมืองแกว และเจาราชบุตร จงวิมุติจากโลกีย สุขสวางเสี้ยงชื่นเชยชม เจาสุยะและเจาพรหม จดจงเจตนสรางกตาธิการ เจาแสนเมืองเจาสุยะวงศ มะหิยังคะราชชื่นชมบาน เจาไชยลังกาเจาธรรมปะโย เจาธรรมกิตติสองหาการ จงเจตนพนพาจากนิวรณ เจายอดเหลือราชบุตรี พระภูธรอรรคราช เกิดเทียมองค เจามหาวงศาเจามหาพรหม มะโนจงจิตเจตนนอ มภิสงั ขาร เจาหนานสุยะวงศเจามหาวัน มาเล็งหันยังเกสรปญโญ พระเถราตนบัวริยาด บําเพ็ญสมณะชาติพรหมจริยกรรม ๑๕๔


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

ปตติปริยัติตามวินัยธรรม เปนเคาเหงา สังรวมอุเบกขิณอินทรีย ธุระทําเรียบรอยวัตร จิ่งจักบังเกิดตามการกุศล จิ่งใครค้ําศาสนาพุทธศาสน เปนเจาเสวยมิ่งเมือง ปลงอาชญาพระภูบาล ปรากฏมิ่งเมืองไทย กรุโณตแกศาสนา ทั้งสังฆะใหพร่ําพรอม มาอนุโมทชื่นประสาท ทั้งขุนหมื่นและขุนแสน และทาวหาญมาพร่ําพรอม จงเจตนสรางสวางสุขสันต เถราภิเษกยอยกยอมศาสนา ตกแตงหางมากนานา ภิเษกเอกองคสีหลา เปนศรีสมบูรณพิลาศเรืองรุงไร วิวะอรรถทํานองไข สวางสุธาโดยดังกดวินาท

อันพระอนุญาต สมณชาติเชียงชิน รํางับดีจากอารมณ ตามบัญญัติพระโคดม จิตเจตนนอมปราโมทยา บหื้อขาดประเวณี มียศยิ่งฟาฝายพิงไชย พัตตมารกลาวกลอนไข นพราชที่อาดูร และฝูงขุนทุกดานดาวของพันนา อาราธนานอมนิมันตนา มะโนรัฐาใสสองตองตื่น นายนักการทั้งนายแควน พระราชสุชนหมูนรา สมบูรณมวลเครื่องเคลาคาน ราชทานภิเษกสราง เพื่อใหแลวพระมูรธา มาโขงเขตดาวที่บรุ ี เปนมกุฏใหแลวสมสวัสดิ์ จักเบิกนาไวเถราภิเษกสราง จักกิตตะนามาในสุพรรณบัฏ

ตัวอยางคําในสุพรรณบัฏ ปรม วิสุทฺธ สีลาจารวฑฺฒวา สุปฏิปนนา ตาธิคุณปฏิมณฺฑิโตฬา จยาสยสกตฺถปรตฺถหิเต สถิร ปรกฺกมฺมปริยตฺติธร เกสลปฺโญ ปวร สมเด็จ ราชครู

๑๕๕


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

พิธยี กยอสมณศักดิพ์ ระสงฆ เมืองเชียงตุง ประเทศสหภาพพมา ๑๕๖


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

ประวัติความเปนมาของการมีสมณศักดิ์ และพิธีเถราภิเษกแบบลานนา พระครูอดุลสีลกิตติ๑์

ความนํา ในสมัยพุทธกาล พระพุทธเจาไดทรงใชจติ วิทยาในการปกครองพระ สงฆสาวก โดยยกยองผูท คี่ วรยกยอง ปองปรามผูท คี่ วรปองปราม “นิคคฺ ณฺเห นิคฺคหารหํ ปคฺคณฺเห ปคฺคหารหํ” ดังจะเห็นไดจากทรงยกยองพระสารี บุตรและพระโมคคัลลานะ เปนอัครสาวกฝายซายและขวา และทรงตั้ง “เอตทัคคะ” กลาวคือทรงยกยองพระสาวกสวนหนึ่งวาเปนเลิศทางดาน ตางๆ เชน ดานปญญา หรือดานมีฤทธิ์ เปนตน ดวยพุทธวิถีดังกลาวมา นี้ ทําใหพระองคสามารถประดิษฐานพระพุทธศาสนาใหตั้งมั่นอยูในชมพู ทวีป และเจริญรุงเรืองไปยังนานาอารยประเทศ แตอยางไรก็ตาม กรณีดัง กลาวยังมิไดถือวาเปนสมณศักดิ์ ๑

เจาอาวาสวัดธาตุคํา เจาคณะตําบลหายยา อําเภอเมืองเชียงใหม

๑๕๗


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

เมื่อพระพุทธองคเสด็จดับขันธปรินิพพานไปแลว ยอมไมมีผูใด ทีจ่ ะสามารถสืบทอดเจตนารมณนไี้ ด นอกจากองคพระประมุขของประเทศ นั้นๆ ดังนั้น การพระราชทานสมณศักดิ์แกพระสงฆ จึงเปนพระราชนิยม ของพระเจาแผนดินในทุกประเทศที่นับถือพระพุทธศาสนา เชน ประเทศ ศรีลังกา พมา กัมพูชา ลาว เปนตน สําหรับประเทศไทยนั้น สมณศักดิ์ของพระสงฆเริ่มใชตั้งแตใน สมัยสุโขทัย กลาวคือ ในระหวาง พ.ศ. ๑๙๐๔ ซึ่งตรงกับรัชสมัยของ พระมหาธรรมราชาลิไทย (หรือพระมหาธรรมราชาที่ ๑ เปนพระโอรส ของพอขุนเลอไทและเปนพระราชนัดดาของพอขุนรามคําแหงมหาราช) ไดเสด็จเสวยราชย (ภายหลังพอขุนรามคําแหงมหาราชประมาณ ๗๐ ป) เปนกษัตริยลําดับที่ ๖ แหงราชวงศพระรวง พระองคไดทรงโปรดให ราชบัณฑิตไปอาราธนาพระมหาสามีสังฆราชมาจากประเทศศรีลังกา เพื่อใหประกาศพระพุทธศาสนาลัทธิลังกาวงศในสุโขทัย พระมหาสามี สังฆราช คงจะไดถวายพระพรใหพระธรรมาราชาลิไท ทรงตั้งสมณศักดิ์ ถวายแดพระสงฆตามราชประเพณีที่ถือปฏิบัติในประเทศศรีลังกา ระบบ สมณศักดิ์ในสมัยสุโขทัยไมสลับซับซอน เพราะมีเพียง ๒ ระดับชั้นเทานั้น คือ พระสังฆราชและพระครู พอมาถึงสมัยกรุงศรีอยุธยา ระบบสมณศักดิ์ ไดรับการปรับใหมีระดับชั้นเพิ่มขึ้นเปน ๓ ระดับ คือสมเด็จพระสังฆราช พระสังฆราชคณะหรือพระราชาคณะและพระครู ดั ง นั้ น เพื่ อ ให ท า นผู ส นใจได ท ราบประวั ติ ค วามเป น มาของ สมณศักดิต์ ามสมควร จึงขอเอาพระนิพนธของ “สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ กรมพระยาดํารงราชานุภาพ” ในหนังสือ “ตํานานคณะสงฆ” “....สวนขอที่พระเจาแผนดินทรงตั้งราชทินนามพระราชทาน สมณศักดิ์นั้น ในหนังสือชั้นกรุงเกา ที่ขาพเจาไดตรวจพบเห็นประเพณีนี้ มีทกุ ประเทศทีพ่ ระพุทธศาสนาเปนประธาน เขาใจวาลังกาจะริเริม่ ประเพณีน้ี ขึ้นกอน เพราะเรื่องราชทินนามสมณศักดิ์ในสยามประเทศ มามีขึ้นในครั้ง สุโขทัยตอนปลาย ในเวลานั้นกําลังนิยมแบบแผนและลัทธิสงฆแบบลังกา นาจะถายแบบตั้งราชทินนามสมณศักดิ์มาจากประเพณีลังกาดวย ๑๕๘


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

ประเพณีตั้งราชทินนามพระภิกษุสงฆในลังกาทวีปปรากฏแบบ อยางกลาวไวในหนังสือ “รามัญสมณวงศ” อันควรนํามาสาธกไวในที่นี้ คือ เมื่อปมะแม จุลศักราช ๘๓๗ พ.ศ. ๒๑๐๘ (ตรงในสมัยสมเด็จพระ รามาธิบดีที่ ๒ ครองกรุงศรีอยุธยา) พระเจารามาธิบดีกรุงหงสาวดี (พระองค ทีเ่ รียกในหนังสือราชาธิราช พระเจาศรีสากยวงศธรรมเจดีย) มีพระประสงค จะรวมพระสงฆในรามัญประเทศ ซึ่งแตกตางลัทธิกันอยูเปนหลายพวก ใหเปนนิกายเดียวกัน จึงสงพระเถระเมืองหงสาวดีออกไปบวชแปลง ที่เมืองลังกา เมื่อพระเจาภูวเนกพาหุ พระเจากรุงลังกาทรงจัดการให พระเถระมอญเหล า นั้ น ได บ วชแปลงสมปรารถนาเสร็ จ แล ว มี รั บ สั่ ง ให นิ ม นต เ ข า ไปรั บ พระราชทานอาหารบิ ณ ฑบาตในพระราชวั ง เมื่อทรงประเคนไทยธรรมเสร็จแลวมีรับสั่งแกพระเถระเหลานั้นวา การที่ พระราชทานเครื่อ งไทยธรรมตางๆ ถึ ง จะมากมายเทา ใดก็ไมป รากฏ พระเกียรติยศถาวร เพราะไทยธรรมทั้งหลายยอมจะกระจัดกระจาย สูญหายไปได แตสวนราชทินนามนั้นยอมจะปรากฏถาวรอยูจนตลอด อายุขัยของพระเถระผูเปนเจาทั้งหลาย มีรับสั่งดังนี้แลวจึงพระราชทาน นามแกพระมอญที่ไปบวชแปลง ๒๒ รูป ตั้ง “พระมหาโมคคัลลานเถระ” ใหมีนามวา “พระสิริสังฆโพธิสามิ” และพระมหาสิวลีเถระ ใหมีนามวา “พระติโลกคุรสุ ามิ” เปนตน ขอความนีแ้ สดงใหเห็นวาในลังกาคงมีประเพณี ตั้งราชทินนามสมณศักดิ์มากอนนั้นนานแลว....” เรือ่ งเดียวกันนีม้ ปี รากฏในจารึกกัลยาณีมรี ายละเอียดเพิม่ เติมวา หลังจากพระเจาภูวเนกพาหุถวายนามบัญญัตแิ ลวไดถวายสิง่ ของอันควรแก พระภิกษุสงฆ อาทิเชน ผาไตร ผามาน ผาเพดาน จรรมขันฑหนังรองนั่ง ตาลปตรดามงาและแอ็บหมากแกบรรดาพระภิกษุสงฆทงั้ ปวง จะเห็นไดวา “การถวายนามบัญญัติ” และ “สิ่งของ” นาจะเปนแบบแผนของการตั้ง สมณศักดิ์และการพระราชทานเครื่องประกอบสมณศักดิ์ในสมัยตอมา เปนที่นาสังเกตวาสมณศักดิ์ที่พระเจาภูวเนกพาหุทรงตั้งในลังกา ตามในหนังสือรามัญวงศนนั้ มี ๒ ชัน้ คือ ชัน้ สูงมีคาํ ลงทายเปน “มหาสามิ” ชั้นรองลงมามีคําลงทายเปน “สามิ” หรือ “สาวามิ” นั้นคงใชแทนกันได ดั ง จะเห็ น ได จ ากพระนามสมเด็ จ พระสั ง ฆราชสมั ย สุ โขทั ย มี ทั้ ง สามี ๑๕๙


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

หรือสวามี และยังใชกับพระสงฆมอญและพระสงฆลานนา ตามที่ปรากฏ ในพงศาวดารโยนก เชน พระอุทุมพรบุปผามหาสวามี พระเจากือนา แหงนครพิงคเชียงใหมโปรดใหอาราธนาไปจากกรุงสุโขทัย แลวตอมารับ อุสสาภิเษกใหเปนพระสังฆราชแหงลานนาไทย พระนามวา “พระมหาสุมน บุพรัตนมหาสวามี เปนตน สําหรับสมณศักดิ์และตําแหนงทางปกครองคณะสงฆสมัยสุโขทัย นั้น เทาที่ปรากฏหลักฐานในศิลาจารึก พ.ศ. ๑๘๓๕ มีขอความวา “ที่ พระนครสุโขทัย มีสังฆรา มีปูครู มีมหาเถระ และมีเถระ” ในหัวเมืองฝายเหนือครั้งยังเปนอาณาจักรลานนาอยูนั้น ก็ได รับพระพุทธศาสนานิกายลังกาวงศจากสุโขทัยฝายหนึ่ง จากทางพมา ฝายหนึ่ง ธรรมเนียมการตั้งสมณศักดิ์จึงปรากฏมีขึ้นในอาณาจักรลานนา ตรงกับรัชสมัยของพระญากือนาธรรมิกราชเจา มูลเหตุนั้นก็เนื่องมาจาก วาพระญากือนาธรรมิกราชเจาไดเจริญสัมพันธไมตรีกับอาณาจักรสุโขทัย และสืบขาวการพระศาสนา ณ เมืองสุโขทัย ไดทราบวามีพระมหาเถระ รูปหนึ่ง ปรากฏนามตามสมณศักดิ์วา “พระอุทุมพร บุปผามหาสวามี” ดํารงตําแหนงเปนสังฆราชแหงเมืองพันเมาะตะมะ ไดเดินทางกับพระ เถระหลายรูปไปศึกษาพระพุทธศาสนา ณ ประเทศศรีลังกา กลับมาไดนํา บรรดาศิษยานุศษิ ยออกไปประกาศพระศาสนาตามบานเมืองตางๆ ตามคํา อาราธนาของพระเจาแผนดินเมืองนั้นๆ จนถึงอาณาจักรสุโขทัย ไดพํานัก อยู ณ วัดปามะเดื่ออุทุมพราราม ครั้นเมื่อพระญากือนาธรรมิกราชทรงทราบวาพระมหากษัตริย แหงอาณาจักรสุโขทัยเลื่อมใสในพระพุทธศาสนา ใครจะยกยอพระบวร พุทธศาสนาใหปรากฏรุงเรือง ณ เมืองนพบุรีศรีนครพิงคเชียงใหม จึงได ใหราชทูตเดินทางไปเขาเฝาพระมหาธรรมราชาลิไท เพื่อขอพระราชทาน พระบรมราชานุญาตอาราธนพระอุทุมพรบุปผามหาสวามีมาประกาศ เผยแผ พ ระพุ ท ธศาสนาที่ เ มื อ งเชี ย งใหม แต ป รากฎว า พระคุ ณ ท า น เจริญดวยอาวุโสพรรษามากแลว ไมอาจที่จะมาปฏิบัติศานากิจนี้ได จึงสง พระอานันทเถระผูเปนศิษยพรอมดวยพระสงฆจํานวน ๑๑ รูปมาแทน แตพระอานันทเถระไมอาจจะทําการอุปสมบทพระสงฆได เนื่องดวย ๑๖๐


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

ยังไมไดรับอนุญาตจากพระอาจารย จึงทูลพระญากือนาวา พระอาจารย ของทานคือ “พระสุมนเถระ” เปนพระสงฆที่ทรงภูมิธรรมสูงสง และไดรับ ฉันทานุมัติจากพระอุทุมพรบุปผามหาสวามีใหประกอบสังฆกรรมทําการ อุ ป สมบทกุ ล บุ ต รได ควรที่ จ ะอาราธนาท า นมาเผยแผ พ ระศาสนาที่ เมืองเชียงใหม พระญากื อ นาธรรมิ ก ราชเจ า จึ ง ได ม อบหมายให ห มื่ น เงิ น กอง ผ า ขาวยอด ผ า ขาวสาย พร อ มด ว ยคณะไปอาราธนาพระสุ ม นเถระ มาเมืองเชียงใหม เมือ่ พ.ศ. ๑๙๑๒ พรอมทัง้ ไดประกอบพิธเี ถราภิเษกยกยอ พระสุ ม นเถระเจ า ขึ้ น ดํ า รงสมณศั ก ดิ์ แ ห ง สงฆ ปรากฏราชทิ น นามว า “พระสุมนสุวณ ั ณบุปผรัตนมหาสวามี” มีตาํ แหนงเปนพระมหาสามีสงั ฆราช นิกายลังกาวงศองคแรกของอาณาจักรลานนา ด ว ยพระราชศรั ท ธาในพระบวรพุ ท ธศาสนา พระญากื อ นาธรรมิกราชจึงไดสนับสนุนใหมีการศึกษาเลาเรียนพระปริยัติธรรม และ ส ง เสริ ม การปฏิ บั ติ ธ รรมอย า งยิ่ ง ใหญ ทํ า ให อ าณาจั ก รล า นนาเป น ศูยนกลางของการศึกษาเรียนรูดานพระพุทธศาสนา บรรดาพระสงฆ จากเมื อ งต า งๆ เช น เมื อ งเชี ย งแสน เชี ย งตุ ง เดิ น ทางมารั บ ศึ ก ษา เปนจํานวนมาก แนวคิดเรื่องการสถาปนาพระสงฆขึ้นดํารงสมณศักดิ์ของ ลานนานั้นปรากฏในตํานานตางๆ หลายแหง จากนั้นก็ปรากฏวาบรรดา กษัตริยใ นราชวงศมงั รายทรงปฏิบตั ติ ามโบราณราชประเพณีนมี้ าโดยตลอด ในสมั ย พระเมื อ งแก ว ติ โ ลกปนั ด ดาธิ ร าช ทรงสถาปนาพระ สัทธัมมสัณฐิระ มีรายละเอียดในชินกาลมาลีปกรณ๒ วา จุลศักราชได ๘๘๐ หรือ พ.ศ. ๒๐๖๑ พระเมืองแกว ทรงทําพิธเี ถราภิเษก ดังมีความพิสดารวา ครั้งนั้น พระราชาธิบดี เมื่อจะทรงอภิเษกพระมหาเถระ (คือ พระ สัทธัมมสัณฐิระ วัดมหาโพธาราม) ในตําแหนงครูของพระองค จึงนิมนต ๒

ชินกาลมาลีปกรณ พิมพครั้งที่ ๘ หนา ๒๘๖ - ๒๘๘

๑๖๑


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

พระมหาเถระทั้งหลายจากเมืองหริปุณชัย, เชียงแสน, เชียงแจะ๓, วัง, เขลางค, จาง, มอบ, เขรางค และเชียงของ พระมหาเถระเหลานั้นไดมาประชุมกันในเมืองเชียงใหมนั้นและ พระมหากษัตริยมีพระราชประสงคจะใหตําแหนงนั้น และใหความเจริญ ของพระมหาเถระ (พระสัทธัมมสัณฐิระ) มีความยิ่งใหญไพบูลย จึงนิมนต พระภิกษุ ๑๒๐ รูปมาสวดมงคลปริตร, ธรรมจักกัปปวัตตนสูตร และ มหาสมัยสูตร ๓ วัน โดยถวายเครื่องสักการบูชาเปนอันมาก คือตั้งแตวัน แรม ๑๒ ค่าํ ถึงวันแรม ๑๔ ค่าํ ซึง่ เปนวันอุโบสถ (สิน้ เดือน) เดือน ๕ ป ขาล จุลศักราช ๘๘๐ ตลอดเวลาทั้ง ๓ วันนี้ เปนเวลาสวดพระปริตร ครัน้ ถึงวันแรกของเดือน ๖ ซึง่ เปนวันถัดจากวันสิน้ เดือนนัน้ ไป(ขึน้ ๑ ค่ํา) เปนวันอาทิตย เมื่อจันทรประกอบดวยอัสวณีนักษัตรในเรือนศุกร อันถือกันวาเปนสิทธิโยคพระราชธิบดีจึงนิมนตพระมหาเถระ (พระสัทธัม มลัณฐิระ) พรอมดวยพระภิกษุ ๘๐ รูป กระทําภัตตกิจ (บริโภคอาหาร) ในพระราชมณเฑียรพระราชาธิบดีทรงถวายคารวะพระมหาเถระ (พระ สัทธัมมสัณฐิระ) ในพระราชมณเฑียรแลว ครัน้ เวลาตะวันบายยามตนแหงวิกาล (ระหวางเทีย่ งถึง ๑๓.๐๐ น.) อัญเชิญพระมหาเถระ (พระสัทธัมมสัณฐิระ) ขึน้ กุญชรปราสาท๔ ปดทอง มี พระภิกษุประมาณ ๕๐๐ รูปเปนบริวาร พรอมดวยเครือ่ งสักการะสัมมานะ (เครือ่ งบูชาแสดงความนับถือ) เปนอันมาก นิมนตเขาในปราสาท๕ อันวิจติ ร งดงามในโรงสระสนานหนาวัดปาแดงมหาวิหาร ซึง่ พระสิรธิ รรมจักรพรรดิติลกโปรดใหผูกสีมาไว แลวตรัสสั่งใหพระบรมวงศานุวงศ มหาพราหมณ ๓

ทานผผูกศัพทบาลีวา ชยเชห คือ เมืองเชียงแจะ ในพงศาวดารโยนกตอนวาดวย สรางเมืองเชียงแสน กลาววา เมืองเชียงแจะอยูใ นจํานวนสิบสองพันนาแควนซายขึน้ กับเมือง เชียงแสน ๔ กุญชรปราสาท คือ กูบทีใ่ ชวางบนหลังชาง มีรปู ทรงเปนปราสาท สําหรับผูท ขี่ ชี่ า งนัง่ ไปในกูบนัน้ แตสาํ หลับพระมหาเถระนี้ คงจะใหคนหามไปเหมือนวอหรือเสลีย่ ง ไมไดวางลง บนหลังชาง คงเปนเชนบุษบกสรางเปนรูปกูบชาง เชนที่สรางเปนที่ประดิษฐานพระประธาน ในอุโบสถวัดบรมวงศ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ๕ คงเปนแทนเบญจาสําหรับนั่งรับสรงน้ําสมณุตตมาภิเษก

๑๖๒


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

มหาเศรษฐี คหบดีทั้งหลาย โสรจสรงพระมหาเถระดวยน้ําอภิเษก และใน ลําดับนั้นพระราชาทรงคัดเลือกพระมหาเถระหัวหนาคณะสงฆทั้ง ๓ ได ๘๐ รูปใหเขาไปในมหามณฑป ครั้งนั้นพระราชาทรงบูชาดวยเครื่องสมณะบริขารหาคามิได (มี ราคามาก) ลวนแตเปนราชูปโภคอุทิศใหเปนเครื่องสักการะสัมมานะ มากมาย แลวโปรดใหอานประกาศพระราชทินนามของพระมหาเถระซึ่ง จารึกลงในแผนทองคําหนักจํานวนหนึ่งรอย๖ พระราชทินนามนั้นมี ๙๗ พยางคดังตอไปนี้ “สมเด็จพรหมมหาสามี ตรีโลกนาถราชครูจุฑามณี สัทธรรมรัศมี ศีลวิสุทธ ยุกตมุตตวาที มหากวีสีหลวงศ สังฆปริณายก รัตตวนาธิบดี วีรสุ มนตุลย ปุญชวันโตฬารัชฌาสัย ไตรปฎกธร วรเมธังกร บรมติโลกาจารย”๗ เมื่ อ จบคํ า อ า นประกาศ พระมหาเถระทั้ ง หลายก็ พ ร อ มกั น สวดคาถาทั้งหลายเหลานี้ เพื่ออนุโมทนายิ่งๆ ขึ้น แกมหาทานของ พระราชาธิราช ในสมัยพระเมืองเกษเกลา ใน พ.ศ. ๒๐๗๐ จ.ศ. ๘๘๙ นพศก วันจันทร เดือน ๖ ขึ้น ๒ ค่ํา ตั้งพิธีสังฆราชาภิเษก พระมหาสรภังคเถร ขึ้นเปนพระมหาสังฆราชา ในเมืองพิงคเชียงใหม๘ พ.ศ. ๒๒๖๗ เจาเมืองคอง เปนหวาน๙ เมืองนาน ได สถาปนาสมเด็จดานเหนือ วัดกูคํา เปน สมเด็จมหาสังฆราชา พ.ศ. ๒๓๑๙ สมัยพระยาจาบาน (บุญมา) เปนผูครอง นครเชียงใหม ไดสถาปนาพระมหานาคเสน วัดเชียงมั่น เปน สังฆนายก พ.ศ. ๒๓๓๗ สมัยพระเจากาวิละยังอยูที่เวียงปาซาง พระยาสามพี่นอง (พระเจากาวิละ เจาอุปราชธรรมลังกา เจารัตนหัวเมือง แกวคําฝน) ไดสถาปนา สวาธุเจาฐิตมังคละ วัดผาขาว เปนสังฆราชา ๖ หนักหนึ่งรอย ๗

เทากับประมาณ หนัก ๑๒๐ กรัม หรือ หนัก ๘ บาท ตนฉบับใบลานเดิมมีดงั่ นี้ สมเด็จพระมหาสามี ตรีโลกนาถ ศรีสทั ธรรมสมิรศีลวสุทธ ยุตตมุตตวาที มหากวีสหี ฬวงศ สงฆปรินายกรัตตวนาธิบดี วีรสุมนมดุลยปุญวันโตฬารัชฌาสัย ไตรปฎกธร วรเมธังกรบรมติโลกาจารย ๘ พงศาวดารโยนก พิมพครั้งที่ ๗ พิมพ พ.ศ. ๒๕๑๖ หนา ๓๗๓ ๙ หวาน คือ ตําแหนงผูครองเมืองของพมา

๑๖๓


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

พ.ศ. ๒๓๔๘ สมัยพระเจากาวิละ พระญาสามพี่นอง (พระเจ า กาวิ ล ะ เจ า อุ ป ราชธรรมลั ง กา เจ า รั ต นหั ว เมื อ งแก ว คํ า ฝ น ) ไดสถาปนา สวาธุเจาวชิรปญญามหาปา วัดสวดดอก เปน สมเด็จมหาราช ครูสงั ฆนายก, สาวธุเจานันทวังโส วัดศรีเกิด เปน สมเด็จ และสวาธุเจามหา คัมภีระ วัดพันเทา๑๐ เปน สวามีสังฆราชา อภิเษกในวัดพระสิงหทั้ง ๓ รูป พ.ศ. ๒๓๗๓ สมัยพระญาพุทธวงศ ไดสถาปนา ครูบา จันทรังสี วัดพระสิงหดานเหนือ เปนสมเด็จสมุหสังฆนายก พ.ศ. ๒๓๗๙ สมัยพระญาพุทธวงศ ไดสถาปนาครูบา เกสรปญญา วัดพันธนุนมดี๑๑ เปนสังฆนายก พ.ศ. ๒๓๘๘ สมัยพระญาพุทธวงศ ไดสถาปนา ครูบา เกสรปญโญ วัดพันตาเกิน๑๒ เปนสมเด็จราชครู, ครูบาสิทธิ วัดกิตติ๑๓ เปน สมเด็จ, ครูบาเกสรปญญา วัดหอพระ๑๔ เปนสมเด็จ, ครูบามะเลิง่ วัดบุพพาราม เปน สังฆราชา, ครูบาคัมภีระ วัดหนองควาย เปน สังฆราชา, ครูบามังคละ วัดพระสิงหดานใต เปนสวามี และครูบานันทะ วัดปาแดงมหวิหาร เปน มหาเถระ พ.ศ. ๒๓๙๙ สมัยพระเจากาวิโลรสสุรยิ วงศ ไดสถาปนา ครูบาพรหมสร วัดเชียงหมั้น เปน พระมหาราชครูเจาสังฆยานกาจารย พ.ศ. ๒๔๑๑ สมั ย พระเจ า กาวิ โ ลรสสุ ริ ย วงศ ได สถาปนาพระมหาสวาธุเจาอุตตม และ พระมหาสาวธุเจาหลวงพรหมสระ วัดเสตวัตถาผาขาว๑๕ เปนสังฆราชา พ.ศ. ๒๔๒๕ สมัยพระเจาอินทวิชยานนท ไดแตงตั้ง ครูบาปญญา วัดหัวขวง เปน อธิการใหญ๑๖วาการคณะสงฆ ๑๐ ปจจุบัน คือ วัดพันเตา ตําบลพระสิงห อําเภอเมืองเชียงใหม ๑๑ ปจจุบัน คือ วัดดวงดี ๑๒ ปจจุบัน คือ วัดชัยศรีภูมิ์ ๑๓ ปจจุบัน คือ วัดรางในโรงเรียนอนุบาลเชียงใหม ๑๔ ปจจุบัน คือ วัดรางในโรงเรียนหอพระ ๑๕ ปจจุบัน คือ วัดผาขาว ๑๖

อธิการใหญ คือ ประมุขสงฆทไี่ มไดรบั สถาปนาเถราภิเสก เปนแตเพียงไดรบั แตงตัง้

๑๖๔


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

พ.ศ. ๒๔๓๖ สมัยพระเจาอินทวิชยานนท ไดแตงตั้ง ครูบาเตชะ วัดดวงดี เปน อธิการใหญ พ.ศ. ๒๔๓๘ ครูบาโสภา วัดฝายหิน ไดรับสถาปนา เถราภิเษก เปนปฐมสังฆราชา ที่ ๑ และมีสังฆราชาตางๆ อีก ๖ องค ไดรบั เถราภิเษกดวย ตอจากนัน้ มาถึง พ.ศ. ๒๔๔๙ จึงไดรวมกันกับคณะสงฆ สวนกลางตลอดจนปจจุบัน พิธีสถาปนายกยอเถราภิเษก ในสมัยโบราณลานนาเมื่อมีผูบวชเปนสงฆแลว ราษฎรจะยกให พระสงฆขึ้นเปนเจาโดยถือวาผูที่บวชตามพระบรมศาสดา ไดเปนเจาไป โดยปริยายคือเปนพระศากยบุตร ซึ่งเรียกวาศากยปุตโต ผูเปนบุตรคือเชื้อ สายของพระศากยะ ซึ่งพระองคนั้นเปนเชื้อเจาโดยกําเนิดสวนหนึ่ง และ ตอมาเมื่อพระองคทรงออกบวชไดรับยกยองเปนเจาอีกชั้นหนึ่งเรียกวา พระพุทธเจา ลานนาเราจึงเรียกผูที่บวชตามวาเปนเจาดวย เรียกผูบวชเปนสามเณร วา สามเณรเจา เรียกผูบวชเปนพระ วา สวาธุเจา เรียกผูที่ไดรับแตงตั้งเปนเจาอาวาส วา สวาธุเจาหลวง เรียกผูไ ดรบั แตงตัง้ สูงขึน้ ไปในการปกครองสงฆ วา ครูบาเจา โดยมีรายละเอียดดังนี้ สวาธุเจา คือ สามเณรที่ไดรับอุปสมบทขึ้นเปนพระภิกษุ แตถา หากเปนเจานายเชื้อพระวงศจะเรียกโดยเอาเจานําหนาเปนเจาตุ (เจาธุ) สวาธุเจาหลวง เจาวัด คือ พระภิกษุทเี่ ปนสวาธุเจาแลวไดรบั เลือก ขึ้นเปนเจาอาวาสวัดใดวัดหนึ่ง เรียกการดํารงตําแหนงวา “กินหัววัด” หรือ เปนตุหลวงเจาวัด แตที่อําเภอแมสอดและบางจังหวัดเรียกพระเจาอาวาส วา “ครูบา” โดยไมตองมีอายุพรรษา มากใชตําแหนงเปนเกณฑ ครูบาเจา คือ สวาธุเจาหลวง เจาวัดที่ประพฤติดีปฏิบตั ิชอบจนมี พรรษายุกาลมากโดยประมาณมีอายุ ๕๐ ป พรรษา ๓๐ จึงไดรบั การยกยอง เปนครูบาเจา หรือเปนผูมีพรรษาแกกวาภิกษุรูปอื่นในหมวดอุโบสถนั้น ๑๖๕


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

ซึ่งหมวดอุโบสถก็คือ การใหวัดตางๆ ในระแวกใกลเคียงมารวมลงอุโบสถ ดวยกันและใหพระภิกษุที่มีพรรษาแกเปนผูดูแลวากลาวตักเตือน เปน ผูนําทําสังฆกรรม เชน บวชนาค ฟงพระปาฏิโมกข ปวารณา ปริวาสกรรม เปนตน เรียกพระทีท่ าํ หนาทีว่ า “ครูบาเจาหัวหมวดอุโบสถ” ทําหนาทีค่ ลาย เจาคณะตําบลปจจุบัน เพียงแตสมัยโบราณเอาพรรษาเปนเกณฑ แตเจา คณะในปจจุบันเอาความรูเปนเกณฑ แมพรรษานอยก็ดํารงตําแหนงได สําหรับพิธกี ารตัง้ สมณศักดิฝ์ า ยราษฎรนัน้ ไมไดกลาวไวชดั เจน แต พอเห็นรองรอยไดบางกลาวคือ การไดรับยกขึ้นเปนสวาธุเจาก็คือ การอุปสมบทเปนภิกษุก็จะมี การถวายอัฎฐบริขาร และที่พิเศษคือจะมีไมเทาและพัดใบตาล พรอมกับ ที่พระอุปชฌาย กรรมวาจาจารยและพระสงฆที่รวมสังฆกรรมเปนคณะ ปรกจะจัดทําใบประกาศรับรองสถานะ เรียกใบ “จาเติก้ ”จารึกลงในใบลาน ดังตัวอยาง ตัวอยางจาเทิกพระภิกขุ (บอกชื่อผูเขียนและมีคูสวดหลายรูป บอกวันเดือนปฤกษอยางพิสดาร) โชตสาสนาวุ ฒิ สุ ป ณฺ ณ ลทฺ ธ สี ล าสิ กฺ ข าตาทิ คุ ณ คณารทฺ ธ ปฏิ มณฺฑิตฺตรํ กตํ นวอุปสมฺปนฺนภิกฺขุ ฐิต นวโกตา สหสฺสานิ สีลาทิก อภิสิกฺข หิตฺตานุหิตฺต สาสโน พุทธตา สาสนา ทายาโท โสภิตฺต อยํนามภิเธยฺโย (พรฺหมฺสรวิลาโส) ภิกขุมงคลวุฒมิ หามงคลพุทโธ วรธนฺติ สรีสวสฺสติ จาริกปุ ฺ โป อุปสมฺปทปตฺโตกาลานุกาลมาส สุขมังคลโลกวุฒิ มหามงคลเชยฺยมงฺคโล สุโขภเวตพฺพาฯ สุภนมสตุ จุฬศก ๑๒๖๓ ตัว ตรีศกฉลูฉนํา กัมโพชชพิไสร ไทภาษาวาปรวงเปา เขามาในกิมหาฤตุ ทุติยอาสาฬหมาส สุกรปกษทวา ทสมี โสรีวารฺไถง ไทภาษาวาเดือน ๑๐ ทุติย ขึ้น ๑๒ ค่ํา เม็ง วันเสาร ไทรวายสะงาฤกษได ๕ ตัว ชื่อวามิคสิรเทวตา ปรากฏเขามาในพฤษภปฐวี ราศี ติถี ๑๒ นาที ติถี ๐ ตัว นาทีฤกษ ๓๒ ตัว พระจันทรจรณสัมปยุตต เสด็จเขาสูร ถ อันสอดจรดวยอาชาสินธพ คือมาตัวประเสริฐทัง้ คู ลากนําไป ๑๖๖


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

ผัดเขาใกลไตเทียมนักขัตตาจันทสุคโต รัศมีรังสีสุวัณณสุวัณณาเรืองเรื่อ เพื่อใหสองแจงทั่วสกลทิพยเทศบคณณาไดหื้อเปนหิตาแกโลกสาสนา พระสุริยาอาทิตย อันทรงวิมานคํา อันกวางและสูงยาวโยชน ๔๙ หากยัง ปลาย สองแจงรุง เรืองงามทองเทีย่ วตามหมูร าศี ทวาทส มีบอ คลาดคลา วา สุทธวิเสโส มหาวิเสสพระนักขัตตมหานักขัตตังติภเวดังนี้ ใหชอบ รดู ป เดือน วัน ยาม เทศกาล ราชประเพณีตามพระทิตย พระจันทรอันเปนประธาน แหงโลกตามเนื่องศาสนาพระมุนี อตีต วรพุทธสาสนา อันคลาลวงแลวได ๒๔๔๓ พระวัสสา อธิกาปลาย ๒ เดือน ๒๗ วัน อนาคตสาสนา อันจัก มาภายหนา ยังมีบนอยยังสถิตปกติ อวสิฏฐา ตั้งอยู ๒๕๕๖ พระวัสสา อธิกาปลาย ๙ เดือน ๓ วัน นับแตวันพรูกไปเปนตน ก็ถูกแมนชอบสาสนา บาลีสงั เกต เหตุเอาสัมปยุตเขารวมกัน ก็เต็มครบ ๕,๐๐๐ พระวัสสา บมเี ศษ เหตุนั้นหมายมี สวาธุเจาคัมภีรวํโส วัดสุทธาวาส ใหแลวยังสรณา คมนศีล ถัดนั้นเลาหมายมีทานมหาสวามีเจามังคละ วัดพระสิงหดานใต เปนตนหื้อแลว แกอุปชฌายกัมม และวรพร ดวงประเสริฐ เปนมหาอิสร สังฆนายก กวาสังฆเจาทังมวล ในโรงอุโบสถพัทธคารสีมาในพระสิงหาราม เปนที่หื้อแลวอุปชฌายกัมม และสวาธุเจารตนปฺญาวิลาโส วัดหอพระ เปนตนใหแลวแกปฐมกัมมวาจา สวาธุเจาอลีนวํโส วัดพันแจม เปนตนให แลวแกทุติยกัมมวาจาสวาธุเจาอินทจกฺโก วัดชางลาน เปนตนใหแลวแก ตติยกัมมวาจา สวาธุเจาสิทธิป  ญ ฺ าวิลาโส วัดกิตติ เปนตนใหแลว ยังจตุตถ กัมมวาจา สวาธุเจามังคลวุฒิวํโส วัดพระครู เปนตนใหแลว ยังอนุสาวนา สวาธุเจาธมกิตติวโํ ส วัดหอธรรม เปนตนใหแลวอนุสเนทินาม อักขรนาปตต ปติวจนปกรณบวร มังคลดวงดี อิฏฐิวสิ ทุ ธิหติ ปวรวิสทุ ธิอนั ดีประเสริฐแกเจา กุลบุตร ตนชื่อ พรหมสรวิลาโส ภิกขุใหมปุณณบวรมวลแลรวมพระคณะ ปูรกะมี ๒๒ พระองค ก็ไดฤกษ ยกยอยังกุลบุตร เจาตนชือ่ วา พรฺหมฺสรวิลาโสนี้ หื้อไดเถิงยังอุปสัมปทากัมม เปนอภินวภิกขุใหม ในพัทธสีมาราชุโบสถ วัดพระสิงหหลวง กลางเวียงเชียงใหม เสร็จแลว ยามแตรสูเที่ยง จตฺตาโร ธฺมมา วฑฺฒนฺติ อายุ วณฺโณ สุขํ พลํฯ๑๗ ๑๗

จากพับสาวัดธาตุคํา, วัดสันปาเลียง, วัดนันทาราม

๑๖๗


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

เมื่อไดรับจาเทิกแลว จึงเปนภิกษุที่มีคํานําหนาวา สวาธุเจา ซึ่ง ปจจุบันคํากรอนหายไปเหลือเพียง ทุเจา ทุเจาหลังจากอุปสมบทแลวจะเลาเรียนพระธรรมวินัย ปาฏิโมกข บาลี อรรถกถา ตลอดจนขอวัตรปฏิบัติตางๆ ถาไมสึก มีจิตใจมั่นคง ก็จะเรียนกัมมัฏฐานเรียนปรมัตถธรรม เรียนสัททา คัณฐี โยชนา ใหมคี วามรู กวางขวางยิ่งๆ ขึ้นไป เมื่ อ ตํ า แหน ง ทุ ห ลวงเจ า วั ด คื อ เจ า อาวาสวั ด ใดว า งลง จะดวยเหตุใดก็ตาม เชน ลาสิกขา ยายไปอยูท อี่ นื่ หรือมรณภาพ ก็จะมีการ เลือกภิกษุภายในวัดที่มีความรูความสามารถ ถาไมมีภิกษุในวัดหรือมีแต ไมเหมาะสม บางทีศรัทธาก็จะไปนิมนตจากตางวัดที่เห็นสมควรมาเปน ทุหลวงสืบไป เรียกวา นิมนตไปกินหัววัด เมือ่ ภิกษุรปู นัน้ ไดทาํ หนาทีท่ หุ ลวงเจาวัดผานไป ๑ – ๒ ปจนเห็นวา จะอยูม นั่ คง จึงมีพธิ กี ารยอหรือปลูกเปนทุหลวงโดยมีการรดน้าํ พุทธาภิเษก และถวายอัฏฐบริขาร และมีการมอบวัดวาอารามโดยครูบาเจาหมวด อุโบสถ หรือมหานครสังฆราชาเปนผูม าทําพิธกี ารแตงตัง้ ซึง่ จะไดคดั เลือก หรือไดรับความเห็นชอบทั้ง ๒ ฝาย ทั้งฝายพุทธจักรและอาณาจักร ดังมี ในคํ า โอวาทานุ ส าสนี ส มณอาชญาของพระเจ า กาวิ โรรส ตั้ ง ไว เ มื่ อ พ.ศ.๒๔๐๐ นั้นมีใจความวา “นัยยะประการ ๑ วัดวาอารามทังมวล วัดใดแลทุหลวงเจาวัดตาย เสียก็ดี หนีไปก็ดี เลิกไปก็ดี จักอับจักปลงวัดวาอารามครอบครัวทังมวลหือ้ สิกขโยมตนใด สืบแทนดัง่ อัน้ หือ้ ไดพรอมเพียงทังภายในภายนอก ผูแ กผเู ฒา เจาขุน ทาวพระญา ศรัทธาใหญนอย ทังมวลหลางเอาตนใดเปนทุหลวง หื้ อ ได ฟู จ ากั น หื้ อ ทั ด หื้ อ แม น กั น เสี้ ย งชุ ค นแล ว หื้ อ ไปนิ ม นต พ ระสั ง ฆะ พระธรรม มีเจาตนโบสถ เปนเคา เขามาเมตตา พรอมเพียงกันยกยอ เออออพอใจตนใด กันเพิงใจตนนั้นดั่งกันเสี้ยงแลว หื้อสังฆะเจาทังหลาย ไดกระทํามังคละสังคะหะ ดวยปริตตมังคละแลว อับเคนปลงวาง วัดวา อาราม ครอบครัวครุภัณฑ ลหุภัณฑทังมวลแลว สิกโยมใหญนอยชุตน ทังภิกษุและสามเณร และคะโยมชุคน หื้อเจาตนนั้น ไดเปนครูบาสั่งสอน วาจา ดาตี ตามประเวณี ดวยประการฉันนี้ อยาไดตอบทาเถียงคําหือ้ ครบยํา ๑๖๘


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

เอาคํารักแพงกันทั้งสิกและครูจิ่งดูดีดูงาม ตามดั่งอริยสัปปุริสเจาสืบปริยัติ ปฎิบัติสืบสาสนามานี้แลฯ๑๘ หลังจากเปนทุหลวง เจาวัดมีพรรษายุกาลมากจนเปนผูมีอายุ พรรษามากกวาทุกรูป จะไดรับการพิจารณาแตงตั้งจากทางคณะสงฆและ อาณาจักรใหเปนครูบาเจาอุปช ฌายหวั หมวดอุโบสถ ไดวา กลาวปกครองวัด ตางๆ ที่มารวมเขาอุโบสถ มีหนาที่รับผิดชอบในการบรรพชา – อุปสมบท ตัดสินอธิกรณ ใหคําแนะนําสั่งสอน ในการแตงตั้งนี้ การไดรับยอยองเปนครูบา จะเห็นไดวาการแตงตั้งก็เปนแตมีการเจริญพระพุทธมนตและ มอบวัดวา อัฏบริขาร ไมไดกลาวถึงพิธสี รงน้าํ พุทธาภิเษก แตอยางใดแสดง วา การตั้งเจาอาวาส แตโบราณก็ไมมีพิธีรดน้ําหรือพิธีอุสสาภิเษก เพราะ ฉะนั้นการไดรับยกยองเปนสวาธุเจา สวาธุเจาหลวง และครูบา เปนการ ยกยองภายในโดยฐานะความเคารพนับถือ ไมไดมีพิธีแตงตั้งอยางเปน ทางการ อยางเชนครูบาเจาศรีวิชัย ซึ่งมีผูเรียกในปจจุบัน ก็โดยความ เคารพนับถือสูงสุด ไมปรากฏในประวัติของครูบาวาทานไดรับพิธีการแตง ตัง้ หรือสรงน้าํ ทําการยกยองอุสสาภิเษกแตประการใด ครูบาจึงเปนคําเรียก พระเถระของลานนาโดยความนับถือวาเปนครูบา ในจังหวัดอื่นๆ ที่ไดศึกษามาบางทองที่จะเรียกเจาอาวาสทุกรูป ที่ไดรับแตงตั้งจากชาวบานและทางราชการวาเปนครูบา เชน ที่อําเภอ แมสอด จังหวัดตาก และบางอําเภอของจังหวัดแพร โดยพระรูปนั้นจะมี พรรษามากนอยเทาใดก็เรียกเปนครูบาได แตเฉพาะทางเชียงใหม ลําพูน เชียงราย ลําปาง มักจะเรียกพระภิกษุผมู อี ายุเกิน ๕๐ พรรษาเกิน ๓๐ ขึน้ ไป เปนครูบา ต่ํากวานั้นมาไมนิยมเรียกเปนครูบา จึงกําหนดเปนเกณฑได ๒ อยางวา ๑๘

เรื่องเดิมอางแลว

๑๖๙


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

๑. เปนครูบาเพราะมีอายุพรรษาสูง เปนที่เคารพนับถือของปวง ชน มีความรูความสามารถเครงครัดในธรรมวินัย มักนอยสันโดษ ๒. เปนครูบาเพราะไดรับแตงตั้งเปนเจาอาวาสจะอายุเทาไรก็ได ทุปู คือ พระที่บวชเมื่อแก (อายุมาก) จะไมไดรับการนับถือจาก ญาติโยม และไมมีการยอเปนครูบา จะเรียกวา ทุพอ ทุปู ไมมีโอกาส ไดรับการยกยอใหเปนครูบา แมอายุจะมากเพียงใดก็ตาม ครูบานั้นมีอยู ๔ อยาง คือ ๑. ครูบา ๒. ครูบาเจา ๓. ครูบามหาปาเจา ๔. ครูบาหลวงเจา อยางแรก เป น ภิ ก ษุ ผู ที่ ท รงศี ล จารวั ต รดี ง าม ทรงปาฏิ โ มกข พระวินัย อรรถกถา โยชนา โหราศาสตร แตไมไดเปนเจาอาวาส มีคํานํา หนาวาครูบา เชน ครูบาสิทธิ ครูบาญาณ ครูบาปญญา ซึง่ จะมีตามวัดหลวง หรือวัดขนาดใหญ เชน วัดนันทาราม วันเชียงมั่น วัดพระสิงห วัดเจดีย หลวง ซึ่งมีพระเถระพรรษายุกาลมากอยูหลายรูป แตละรูปก็จะเรียกวา เปน “ครูบา” อยางที่ ๒ เป น ผู มี คุ ณ สมบั ติ พ ร อ มทุ ก อย า งเหมื อ นกั บ ครู บ า อยางแรก แตไดเปนเจาอาวาสหรือเจาหมวดอุโบสถ จึงเรียก ครูบาเจา เชน ครูบาเจาจันทรังสี ครูบาเจาญาณวิลาส ครูบาเจาธรรมปญญา อยางที่ ๓ เป น ผู มี คุ ณ สมบั ติ ค รบถ ว น ทั้ ง ทางโลกทางธรรม ทุกอยาง แตมีคุณพิเศษอีกอยาง คือ จะถือธุดงควัตร และถือกัมมัฎฐาน อยางเครงครัด ชอบอยูปา เปนพระอรัญวาสี จึงเรียกครูบามหาปา เชน ครูบามหาปาเจาไหลหิน อยางที่ ๔ เป น ผู ป กครองสงฆ สู ง กว า ครู บ าเจ า หมวดอุ โ บสถ ทั่วไป โดยเปนครูบาที่เจาหลวงเจาผูครองนครยกยองใหวาการคณะสงฆ จึงเรียกครูบาหลวง แตจะไมคอ ยออกนามตอทาย จะเอาชือ่ วัดหรือชือ่ เมือง ตอทาย เชน ครูบาหลวงเจาฝายหิน ครูบาหลวงเจาสันคะยอม แมวาง ครูบาหลวงเจาศรีภูมมินเมืองแกน ครูบาหลวงเจาเมืองฝาง ๑๗๐


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

การสถาปนาสมณศักดิ์ลานนา ครูบาทัง้ ๔ ประเภทขางตน เปนตําแหนงทีค่ นสามัญทัว่ ไปจะรวม กันจัดทํา จัดตั้ง แตถาเปนทางการแลวจะมีการคัดเลือกครูบา ซึ่งทางฝาย บานเมืองอันมีเจาหลวง เจาเมือง เจาผูครองนครไดทรงนับถือวาเปนผูที่ มีศีลาจารวัตร รูอรรถธรรม สัททาสนธิ โหราศาสตร ทรงไวซึ่งกัมมัฏฐาน รอบรูการงานบานเมือง เปนที่ปรึกษาราชกิจในเวลาที่บานเมืองมีกิจการ งานเมืองเกิดขึ้น จึงไดรับพิจารณาขึ้นดํารงสมณศักดิ์ของทางราชการ ซึ่ง ลานนามีสมณศักดิ์ ตามปรากฏในพับสาของวัดธาตุคํา มี ๖ ขั้น คือ ๑. มหาเถระ ๒. สวามี ๓. สังฆราชา ๔. ราชครู ๕. สมเด็จ ๖. สมเด็จอัคคราชโมลี หรือสมเด็จเสฏฐอัคคราชครู (สมเด็จราชครู) เปนชั้นสูงสุด ซึ่ ง ตํ า แหน ง สมณศั ก ดิ์ นี้ อ าจจะตั้ ง เป น บางตํ า แหน ง เพราะ บางตํ า แหน ง จะตั้ ง เฉพาะผู มี คุ ณ พิ เ ศษหรื อ คุ ณ สมบั ติ เ ฉพาะตน และ เกี่ยวเนื่องกันพระมหากษัตริย เชน ตําแหนง ราชครู หรือสมเด็จราชครู ก็ตั้งถวายแกพระสงฆที่เปนพระอาจารยของเชื้อพระวงศ เจานายหรือ บุตรหลานของเจาหลวง เจาเมือง หรือแมแตเจาหลวงถาไดรับการศึกษา จากสํานักพระสงฆหรือบวชวัดใดจึงจะยกยองขึ้นเปนสมเด็จราชครู หา ไดตั้งทั่วไปไม ซึ่งการทําพิธีปรากฏในพับสาของวัดธาตุคํามีขอความดังนี้

๑๗๑


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

พิธีราชาภิเษก และเถราภิเษก ฉบับวัดธาตุคํา การสถาปนา เถราภิเษก ภิกขุตนใดทรงปฏก ปฏิบัติพ่ําเพงวัตรคองชอบวินัยธรรม กระทํา จตุปริสุทธิศีล มีลีลา อิริยาบถอันดี นําสังฆคณา สิสสานุสิสสะ อุบาสก อุบาสิกา หื้อไดไตตามคองสุคติแท เหมือนงัวนําตัวฉลาด นําเอาหมูงัว ทังหลายไปตามทางอันซื่อนั้นควรพรอมกันอุสสาภิเษกยกยอเจาภิกขุตน นัน้ แลก็จกั มีผลอานิสงสอนั กวางขวาง หาทีส่ ดุ บได อุปมาเปนดัง่ ปลูกพิชชะ หวานเขากลา ถั่วงาไวในสวนแลนาที่ดี ทิดงอกออกมาเปนตนเปนดอก เปนลูกมากนัก สุกแกเที่ยงจักไดกินตามความมักชะแล ผิวาจักอภิเษกชาวเจาตนใดก็ดี จักอุสสาภิเษกกษัตริยตนใดก็ดี จักแถมยศศักดิก์ ด็ ี หือ้ ไดพจิ ารณาอุปเทศยอดหูราอันนีก้ อ น คันดีกค็ วรรับ คันตกปบด ี บควรรับ คันตกตาบดจี กั ยาก เสียบไดนนั้ ควรสงเสียแลว คอยรับ ภายลูน บอั้นคันไดรับแลว คอยสงเสียภายลูนเทอะ คันบสงเสียดั่งอั้น คัน บตายก็จักสิบหายวายใหญแทบสงสัยชะแล หื้อนับ ๓ ไปหา ๒ ไปหา ๐ ไปหา ๔ จับ ๓ เทาอายุไทเทอะ ผิวาปใดตกที่ศูนยบดีรับแล เหตุคถาวา สุญญํ อคฺคํ มรณํ สจฺจํ ดังนี้แล ๐

ผิวา ตก ๓ บดรี บั แล เหตุคถาวา องฺโร วกฺขามิ นิฐติ ํ ดังนีแ้ ล ผิวา ตก ๒ แล ๔ ดังอัน้ ควรดีรบั แล เหตุคถาวา จนฺท ตุฺ จ ลพฺภติ พุทธฺจธนธฺฺ จ ลพฺภติ ดังนี้แล คันตกตาบดหี อื้ ไดสง เสียแท คันตกตาดีแลวก็ควรสงหือ้ ดีมลี าภแล แมนถูกตัวใดจักสงหือ้ มีลาภนัน้ คันถูก ๓ หือ้ มีสะทวงหยวก อัน ๑ ชอแดง ๑๗๒


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

๔ อัน เขาแดง ๔ กอน แกงสม แกงหวาน กลวย ออย หมากพลูแล อัน และ ๔ ฝายแดงวา ๑ หื้อตั้งขันปูชาตามยศและฐานะ มีเบี้ยหมื่น หมาก หมื่น แผนรําแดง รําขาว เครื่องลาด อาสนา เงิน ๓ รอย เทียน ๘ คู แลว เอาคาถานี้สลูปวา โอมสุฺญ ภยํ สุฺญ อุปฺปทวํ อนฺตรายํ โรคา วินาสนฺตุ ๗ ทีแลว สงเสียหนเหนือเทอะ คันตก ๒ แล ๔ ดีนัก คันตก ๓ และ ๐ บดีรับยศศักดิ์สังแล ธัมม สักขี มีฉันนี้ ปางเมื่อเจามโหสถ อายุได ๒๑ ป ตกที่ตา อังคาร พอยรับยศ ศักดิ์ เปนบัณฑิต ภายลูน พระวิเทหะ แลเสนาทัง ๔ ขับเอาซะแมงตายวัน นี้แล ปางเมื่อโพธิสัตวเจาเกิดเปนเจาสุทธนู อายุได ๒๗ ป ตกที่ตาศูนย พอยไปรับเรียนเอาศาสตรศิลป ภายลูนไดไปรบกับโจร เมียลวดเอาด้าํ ดาบ ไปหือ้ แกโจร หือ้ ฆาผัวตน สันนีแ้ ล เหตุดงั่ อัน้ จักอุสสาภิเษกมหากษัตริยแ ล ทาวพระยาเสนาอามาตยกด็ ี จักยอชาวเจาก็ดี หือ้ พิจารณาดูตามยอดโหรา อันนี้กอนเทอะ คอยอุสสาภิเษกเทอะ คันจักหาฤกษดี วันดี ยามดี ดังอั้น หื้อเอานามปบัดนี้ตั้ง ทํสา ปบัดนี้บวก เอานามเดือนบัดนี้บวก เอาอักขระเดือนบัดนี้บวก เอาวันเมง แลนามวันไทบวก เอาทังสาวันเมง วันไทบวก เอาติตถีวันจักกระทํานั้น บวก แลวตั้ง ๓ ถาน บน ๓ คูณ กลาง ๔ ต่ํา ๕ คูณแลว ๒ หารชุถาน เศษหื้อดูตา คณะ อันตราไวนั้น คันไดดีคอยกระทําบดีอยากระทําแทแล คันไดเศษ ทัง ๓ ถาน ดังนี้ ๑ ๑ ชื่อวา มะ คณะ ภูมิ ดีนักแล ๑ 0 0 ชื่อวา นะ คณะ จันทะ ดีนักแล 0 ๑ 0 ชื่อ ภะ คณะ สัคคะ ดี 0 ๑๗๓


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

0 ๑ ชื่อ ยะ คณะ ชละ ดี ๑ 0 ๑ ชื่อ ชะ คณะ สุริยะ คณะอาทิตตวิวาทัง บดีแล 0 0 0 ชื่อ สะ คณะ อัคคิ คณะไฟ ไมดีแล ๑ ๑ ๐ ชื่อ ระ คณะ อากาสะ คณะอากาศ อมฤตยู บ ดีแล ๑ ๑ ๑ ชื่อ ตะ คณะ วายุ คณะลม บดีแล 0 อันนี้ตามติกาวุตฺโตเทยยกรณะแล การจัดเตรียมเครื่องบริขาร คั น จั ก อุ ส ส า ภิ เ ษ ก ช า ว เจ า นั้ น หื้ อ ต ก แ ต ง ด า วั ต ถุ ท า น คื อ เครื่ อ งอั ฏ ฐบริ ข าร สมณบริ ข าร เสื่ อ สาด อาสนา เครื่ อ งเทศ เครื่องแร สัพพวัตถุทานหลายประการตางๆ ไวแลว หื้อแปงหอเดื่อ เปนมณฑกสี่แจงหลัง ๑ หื้อเอาไมเดื่อปองก็ดี เดื่อดาง เดื่อเกลี้ยง ก็ดี มาแปง (ทํา) เสา แปงเครื่อง แลวเอาใบเดื่อก็ดี ใบทันก็ดี มามุงมาแปง ฝาบั ง จอด แล ว ก า ยลิ น ตกกลางหอเดื่ อ เพื่ อ หดหล อ น้ํ า อบน้ํ า หอม อาบองคสรงเกศนั้นแลว แปงหอปูชาเทวดา ๘ ทิสสะแลว

๑๗๔


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

การทําสุวัณณปฏ คันจักยอเปนเถรสุวัณณปฏหนักพอเฟอง สวามีหนัก ๓ ซีก สังฆ ราชาหนัก ๑ บาท พระเจาครูหนักบาทซีก พระเจาสมเด็จหนักบาทเฟอง สมเด็จอัคคมุลีหนักสองบาท จาดวยลวงสุดจะแล แมนหลายกวานี้แควน แทแล ลักขณะอันจักแปงสุวัณณปฏ ดังนี้ คันตีเปนหลาบเปนแผนแลว เอาเม็ดขาวปลือกก็ดี ขอมือก็ดีมาแทก ลวงกวาง ลวงยาวไดเทาใด เอามา สมกัน(รวมกัน)ตั้ง ๓ คูณ ๗ หาร เศษนั้นหื้อดูตามกถาบทหนานั้นเทอะ นัยยะ ๑ เอาอักขระ คือ จัดเอาตัวอักขระในสุวัณณปฏ มีเทาใด เอาสมกัน กับนามตนจักยอนั้น ตั้ง ๗ บวก ๓ คุณ ๘ หาร เศษหื้อดูตาม โสลกคาถา อันนี้วา เชยฺย หานี วุฒิ กันไดเชยฺย ดีนัก ไดหานีบดีแล กันได วุฒิดีนักแล นัยยะ ๑ อานเอาอักขระในสุวัณณปฏก็ดี เอาอักขระในหิรัญ ญาปวัฏฐ อันใสสักราช ปเดือนนั้นก็ดี อานเอาอักขระในเสี้ยนลายก็ดี ได เทาใดเอาตั้ง ๓ คูณ ๘ หาร เศษหื้อดูสันเกา นัยยะ ๑ เอาอักขระตั้ง เอา นามสุวัณณปฏก็ดี เอาเสี้ยนลายก็ดี มาบวก ๓ คูณ ๘ หารเศษหื้อดู ผิวา เศษตัวใดลุบเทาอยูเยนเปนปกตินักไดชื่อวาไชโยแล เศษตัวใดแผชั้นแถม ชั้นชื่อวาวุฒิแล เศษตัวใดไดลุบสิ่งเดียว ชื่อวาหานีแล เหตุคถาวา อักขรา ทิชุตฺถํฐ ตวา ตรี คุณํ อฐ หารณํ เส สนฺติ กิวิฒํเญยฺยํ เชยยา หานิจ วุฒิกํ ปรมํ สุทฺธิ เยฐิตํ ทุติยํ เสสโลปกํ ตติยํ หารชุตฺเตนธาเนยฺยํ เสสาวิญญนา เอโกธชฺโช เทวธุมโมตริสิโห จตุสาโน ปฺจสุพฺโภ สฐคทฺรโภ สตคชฺโชสุญ ญาภาโณ ดังนี้ เพิ่งรูตามอัตถะเทอะ ลักษณะอัน ๑ สุวัณณปฏยอ เปนสมเด็จลวงยาวสี่สิบเม็ดเขา เปลือก ลวงกวาง ๗ เม็ดเขาหารคูณไดเศษ ๗ ดีนักแล สังฆราชลวงยาวสี่ สิบเอ็ดเม็ดเขา ลวงกวาง ๗ เม็ดเขา หารคูณไดเศษ ๗ ดีนักแล สวามีลวง ยาวสีส่ บิ เกาเม็ดเขา ลวงกวาง ๗ เม็ดเขา หารคูณไดเศษ ๗ ดีนกั แล ยอเปน เถร ลวงยาว ๔๔ เม็ดเขา ลวงกวาง ๗ เม็ดเขา หารคูณไดเศษ ๗ ดีนักแล นัยยะ ๑ เอาอักขระตั้งนามเจาสุวัณณปฏ บวก ๓ คูณ ๘ หาร คันไดเศษ ๓ คอยเอาเศษบดีอยาเอาหื้อดูตามคาถาภายหลังนั้นเทอะ ๑๗๕


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

น้ําหนักทองคําที่ใชทําสุวัณณปฏ

๑๗๖

นัยยะ ๑ เมืองปจันตประเทศ ยอเปนเถรสุวัณณปฏหนัก ยอเปนมหาสวามีสุวัณณปฏหนัก ยอเปนสังฆราชาสุวัณณปฏหนัก ยอเปนพระเจาราชครูสุวัณณปฏหนัก ยอเปนพระเจาสมเด็จสุวัณณปฏหนัก

๒ ๓ ๔ ๕ ๖

บาทซีก บาทซีก บาทซีก บาทซีก บาทซีก

นัยยะ ๑ เมืองมัชฌิมประเทศ ยอเปนเถรสุวัณณปฏหนัก ยอเปนมหาสวามีสุวัณณปฏหนัก ยอเปนสังฆราชาสุวัณณปฏหนัก ยอเปนพระเจาราชครูสุวัณณปฏหนัก ยอเปนพระเจาสมเด็จสุวัณณปฏหนัก

๔ ๕ ๖ ๗ ๘

บาทเฟอง บาทเฟอง บาทเฟอง บาทเฟอง บาทเฟอง

นัยยะ ๑ในเมืองมหานคร ยอเปนเถรสุวัณณปฏหนัก ยอเปนมหาสวามีสุวัณณปฏหนัก ยอเปนสังฆราชาสุวณ ั ณปฏหนัก ยอเปนพระเจาราชครูสุวัณณปฏหนัก ยอเปนพระเจาสมเด็จสุวัณณปฏหนัก ยอเปนสมเด็จอัคคราชโมลีสุวัณณปฏหนัก

๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐

บาทเฟอง บาทเฟอง บาทเฟอง บาทเฟอง บาทเฟอง บาทเฟอง


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

คาถาจารึกสุวัณณปฏ สําหรับพระสงฆชั้นตางๆ ที่นี้ จักพิจารณาแปงคาถาสุวณณปฏกอนแล วิวิธ วิสุทธิสีลาจา รสัมปนนาโชต ติปฏกธรวิสิฏฐคุณาทิสิริมนฺโตญาณสาคโร มหาเถโร บทนี้ มีสี่สิบตัวใสมหาเถรแล คําจารึกสุวัณณปฏมหาเถร ปรมะวิสุทธิสีลาจารติ ปฏฏกะจะระวิสิฏฐะคุณาทิสิริมันโตญาณ สาคโรมหาเถร (มหาเถร อักขร ๓๕ ธ ชอลักษณะ) คําจารึกสุวัณณปฏมหาสวามี ปรมวิจติ รวิวธิ คุณปุญญสกฺการยุตตฺ ปรโมฬารชปาสยุนตฺ ตุ ปิ ฏ ตกวร รตนปฺโญ มหาสวามี บทนี้มี ๔๐ ตัว ชื่อวุฒิใสสวามีแล คําจารึกสุวัณณปฏมหาสังฆราชา มหาสั ง ฆราชา สุ ธั ม มสถิ ร กิ ต ติ คุ ณ สุ น ทราภิ รั ช ฌาสยปวิ ต ต วิสุทธสีลาทิติปฏกธรวรวุฒิอุตตมาจริโย มหาสังฆราชา ๔๓ อักขระ ธ ชอ ลักษณะ) คําจารึกสุวัณณปฏมหาราชครู อัคคราชคุรุวรสาสนภูตํ วิวิธวิสุทธสีลาจาราชวมัททวาทีสิริม ตุล ติปฏกธรฌาสโยตมวิสิฏฐคุณวโต สิริสมฺมทฺทโชติ ปาปาโลวรบพิตรา อัคคราชคุรุ บทนี้มี ๗๕ ตัว ใสราชคุรุแล คําจารึกสุวัณณปฏสมเด็จ ปรมสมเด็จวรฬาฌาสโยตฺตมสังฆปริณายิกา สาสนราโชตุปฺป ถมฺภกวรราชคุรวุ วิ ธิ วิจติ รา ปรมวิสทุ ธิสลี าจาราชมัททวาที ติปฏ กฺกธร ติโลกธ ชนรเทวปูชารหยุตตฺ วาที อเลยฺยคุณวิสทุ ธฺ วรัญญาณธรา ปรมจักกวุฒมิ นั โต มหาสิริมังคลาจารบพิตรา บทนี้มี ๑๑๖ ตัวใสสมเด็จแล ๑๗๗


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

ปรมวิสุทฺธสีลาจาราชวมัททวาทิคุณลังกโตฬารวิรัชฺฌาสยติปฏก ธรสัมฺมเตชสร สมเด็จมหาสังฆราชา ฯ ๔๗ ฯ ๗ ฯ ปรมวิสทุ ธฺ สีลาจาราชฺชวมัททวาที สุปฏิฐปนนตาทีคณ ุ าลงฺกต ปฏิ ปณฺฑิโต อุฬารัชฌาสยสกัตถหิเต สถิรปรักกม เตปฏกธร อคฺควราชคุรุสังฆ ปริณายกา จาริปาสุนฺทร มหาสมเด็จราชครู ฯ ๑๑๕ ฯ ๗ ฯ สมเด็จ วรสาสน ธภูตวิวิธ วิสุทธิสีลาวาร ราชธุรมัททวาที สิริม ตุลย ติปฏกะ ธรวรัชฌาสายาตตปวิสิฬ คุณณวัณโณ สิริสธัมมโชติปาโล ว รบพิทธอัคคราชคุรุ (สมเด็จอัคคราชครู อักขระ ๗๒อุสุภลักษณะ) คําจารึกสุวัณณปฏสมเด็จอัคคราชโมลี ปรมสมเด็จอัคคมุลฺลีกวรสังฆาคุรุวิวิธวิจิตรปรมวิสุทฺธสีลาจาราช จปทฺทวาทีติ ปฏกธรฌาสโยยุตฺตมสังฆปริณายิกวรสาสนโธตุปถัมฺภกติ โลกธชนรเทวปูชารหยุตฺตมุตฺตวาที สิริอตุลคุณวนฺตา วรัญญาณธรปรมจักฺ กวุฒิมันโต มหาสิริมังคลโลกวรบพิตรอคฺคมุลิก บทนี้ ๑๓๐ ตัว ใสสมเด็จ อัคคโมลี แล คําจารึกสุวัณณปฏสามารถใสไดทุกชั้น บทหนึง่ วา ปรมวิสทุ ธาฬรวิสทุ ธสีลาจาราชวมทฺทวาที คุณาลังกา รวิภสู ติ สาสนธชติโลกวัตตังสธัมมโตธรสาสนปถัมภกาธิปายฌาสโย ตมมุตฺ ตวาที วิรวันตอุตตฺ มโกสลารามาธิปฏิเชยฺยมังคโลมหาสวามี บทนีใ้ ส สวามี ก็ได ใสสงั ฆราช ๑ ก็ได ใสราชครูก็ได ใสสมเด็จอัคคโมลีก็ได เทาวาหื้อ เอาชื่อนามบัญญัติและ ชื่อสังฆราช ราชครู สมเด็จใส เอาสวามีออกแลว หารคูณดูไดดีที่ใดเอาที่หั้นเทอะ

๑๗๘


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

คําแปลสุวัณณปฏ บทนี้จักแกไขอรรถแปลคาถาสุวัณณปฏกอน บทปลายนี้เพิงรู เทอะ โภนฺโตนรเทวสังฺฆาโย ดูราหมูคนแลเทวดาทังหลาย อยํ ชินปุตฺโต ชื่อ ชินบุตรเจาตนนี้ สิริวิสุทโธฬาร ตนปวรสุทธ มีบุญแลคุณอันกวาง ขวางบรมยิ่งนัก วิสุทธสีลจารา ตนพ่ําเพงจตุบริสุทธิสีลบัวริสุทธิ์ ตนมี สติสัมปชัญญะ ซื่อใสบหวั่นไหวแตโลกธรรม ๘ ประการ มทฺทวาที ตนมี ถอยคําอันออนหวาน แลย่ํายีเสีย ยังวาทะอันผิด คุณาลงฺการ วิภูสิตฺต อัน ประดับไปดวยหมูค ณ ุ มี สีลาปญญา เปนตน สาสน ธชติโลกาวฏํ สกฺก ตน ปรากฏเปนจําหมายแกโลก เหมือนดัง่ ชอชาง ทุงไชย ในชินสาสนาธมฺมรโต ธร อันทรงธรรมคําสอน สาสนุปถัมภกา สิมฺปายัชฌาสย ตนมีอัชฌาสัยใจ อันมักค้ําชูศาสนา หื้อรุงเรืองตราบ ๕,๐๐๐ วสา ยุตฺตมุตฺตวาที อันมีวาทะ ถอยคําอันชอบ ประกอบดวย สัมมาทิฏฐิ มีใจใครพนจากทุกขในสงสาร วิรวนฺต ตนมีประหยาและเพียรในสมุปปฺ ทานอันยิง่ อุตตฺ มโกสลฺลารามาธิปติ ตนเปนใหญในอาวาส อาสนา อาราม อันเปนสโมสนฐาน เปนทีพ่ า่ํ เพงกุสล มีทาน ศีล ภาวนา เปนตน ไชยฺยมงฺคโล ตนผจญแพมาร ๕ ประการ มหา สวามี อันภิกขุสังฆะแลคนทังหลาย หากอภิเษกตั้งไว ในอัคคฐานันตระ อันเปนทีส่ กั การบูชาคารวะครบยําหือ้ เปนเจาเปนใหญ วต แทแล มหาเถโร อันคนทังหลาย หากสมมุตติ งั้ ไวในอัคคฐานันตระ ทีอ่ นั เปนเคาเปนแก กวา ภิกขุสังฆะทังหลาย วต แทจริงแล การทําน้ําพุทธาภิเษก ผิวาจักแปงน้ําพุทธาภิเษกหดหลอหื้อเปนมังคละนั้น หื้อเอายอด พราว ยอดตาล ภิคิราช จันทนแดง จันทนขาว เอาหมากปอยราช หมาก ปอยนอย คานี้ก็ดี นัย ๑ หื้อเอาน้ําแกว น้ําแสง น้ําเงิน น้ําคํา น้ํา ๗ บอ หือ้ ไปตักเอาเมือ่ เชา อยาหือ้ กามาบินขาม คันไดมาแลวเอาหญาไซขาวแล แสงภาคํา พญายอ กาสะลอง เอาเทากันมาหุงดวย น้ํา ๗ บอฝูงนั้นแลว เอาแกว ปดหลอด แลหอยสังขมาฝนตัดใสแลวหื้อมีเครื่องตั้ง เบี้ย ๓๐๐๓ หมาก ๓๐๐๓ ผารําแดง รําขาว เงิน ๕๐ ลาย เครื่องลาดอาสนา ฉัตร ๑๗๙


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

๓ ราน(ชั้น) คู ๑ หมอใหม สาดใหม น้ําตนใหม หวาน(ถวย)เงิน หวานคํา ๒ ลูก วีตาลคู ๑ ขันตั้งปูชาแลวราธนา สังฆะสุตตที่หอไชย หื้อสูตรมังคละ ๓ รอบ ไชยเบญชร ๓ รอบ สูตรมหาสมัย ๓ รอบ สรุปพุทธาภิเษกในวัน อันจักอุสสาภิเษกนั้นแล ยามเมือ่ จักหดหลอน้าํ พุทธาภิเษกนัน้ หือ้ มีหอยสังข ๔ ลูก ลูก ๑ ชื่อวาสังขแกว ลูก ๑ ชื่อวาสังขเงิน สังขแกวนั้นควรเศรษฐีหด (รด) สังขเงิน ควรพราหมณหด ชาติสงั ขหอื้ อัคคมเหสีเทวีหด พราหมณหอื้ อยูห นขวาหด เศรษฐีหื้ออยูหนซายหด ขัตยิ ราชาวงศาหื้ออยูภายหนาหด อัคคมเหสีเทวี หือ้ อยูภ ายหลังหด ราชาภิเษกหือ้ หดดวยน้าํ ตนคันที คํา ๑๖ ไหแลว ฝูงเปน ขัติยะวงศาหดดวยน้ําคงคา ผิวาหาน้ําคงคาบไดหื้อสมมติเอามอง (ฆอง) เงินมอง (ฆอง) คําหด (รด) เปนน้ําคงคาหดเทอะ ปฐมะ หาบาวสาว อันชื่อวาแกว ชื่อคํานั้น หดกอน ถัดนั้น พราหมณหด ถัดนั้นเศรษฐีหด ถัดนั้นหื้อปุโรหิตหด ถัดนั้นอัคคมเหสีหด ถัดนั้นหื้อสมมติเปนน้ําเทวดาอารักษเมืองหด เปนที่แลวแล การทําพิธีอภิเษกยกยอ ในวันจักอภิเษกนัน้ แลวพากันไปแหแหนเอามหาเถรเจาตนจักยอ ดวยยัวยาน (คานหาม ทีม่ ที มี่ งุ ) ชาง มา สิวกิ าย เอาขึน้ อยูห อเดือ่ สัพพะลักขณะ กิจจะทังมวลนั้นมีตนวา แปงหอเดื่อ หอไชยนั้น หากกระทําตามประเวณี แตกอนชุประการแลแลวสาธุการ หื้อครูบาสังฆะและเจาจอมทาวพระยา มาหดหลอ อาบองค ดวยสุคันโธทกะแลวหื้อนุงทรงเครื่องอัฏฐบริกขาร และเครื่องเทศแรแลวนํามานั่งอยูเหนืออาสนาท่ํากลางหอไชยแลวิหาร หื้อหวายหนารอสัพพัญูเจา แลวหื้อศรัทธาทายกะ เอาศีล ๕ แลว หื้อ อาจารยผูฉลาดรูอัตถอัตถาสัททัตถ คุรุ ลหุ ฑีฆะ รัสสะ อักขระ พยัญชนะ นั่งโอกาสมังคละภิสิญจนะ ตามคุรุปเทศ สันนี้ คือ หื้อตั้งขันปูชา เบี้ยพัน หมากพัน เทียน ๔ คู เงิน ๔ บาท หื้อ อาจารยผูโอกาสแลอานคถาสุวัณณปฏ นั้นแล ยามอาจารยอานสุวัณณ ปฏนั้น หื้อมีแผนเหล็ก บมีหื้อเอาพรา ขวาน เสียม ขอ เอาตางแลวเอา มารองหัวเขาอาจารย คันจักยอกี่ตนหื้อมีคูตนแลตนละแผน อยารอมกัน ๑๘๐


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

บวุฒิแล

คันสมาทานเอาศีล ๕ แลว ปาวกันยอมือชุคน อาจารยผู ๑ คุกเขา ยอมือรอพระสัพพัญูเจา แลวรองโอกาสมังคละวา พุทโธมงฺคลสมฺภูโต ฯลฯ ปมุญจเร ดังนี้แลว อานคถาสุวัณณปฏ หื้อวาแรงหื้อหมดใสใหมถูก ชุอักขระชุพยัญชนะ อยาหื้อตกหื้อหลงแท อานรอบ ๑ แลวนบไปยามใดหื้อปณณสัตว ทังหลายผายเขาตอกดอกไม ตีตุริยนนนตรี กลองฆองบูชาที ๑ กอน ถัดนัน้ อาจารยซา้ํ โอกาสมังคละวา ธมฺโมมงฺคลสมฺภโู ต ฯลฯ ปมุญ จเร อันนี้ที ๑ แลวนบไปแล อาจารยผูฉลาดหวายหนารอมหาเถรแลวอาน คถาสุวัณณปฏ ที ๑ แลวนบไป ปณณสัตทังหลายซ้ําสาธุการ ตีตุริยนนน ตรีทังหลาย ผายเขาตอกปูชาเทอะ ถัดนัน้ อาจารยซา้ํ โอกาสวา สงฺโฆสมฺภโู ต ฯลฯ ปมุญ จเร วาอัน้ แลว นบไปแลอาจารยผูฉลาดหวายหนารอมหาเถรแลวอานคถาสุวัณณปฏ วา หือ้ สุดปลายแลวนบไปแล ปณณสัตทังหลายซ้าํ ผายเขาตอก ตีตรุ ยิ นนนตรี สาธุการ ถาน ๓ ทีแลว เอาลายสุวัณณบัตเขาเมือเคนชาวเจาชุตนเทอะ กระทําสันนี้ชุตน คันแลวแกกิจจะนั้น ขันตั้งแลแผนเหล็กนั้น เอาหื้ออา จารยเสี้ยงแล คันอุสสาภิเษกแลว พรอมกันเวนทานเครื่องบริกขารวัตถุ ทานทังมวลเทอะ คันวาภิกขุตนจักยอนั้น คันยอขึ้นดวยลําดับเปนเถระ สวามี สังฆราชา ราชครู สมเด็จ สมเด็จอัคคมุลี ดวยลําดับนั้น ควรกระทํา สันนี้แล คันเปนภิกขุอยูก็ดี เถระก็ดี พอยจักยกยอขี้นเปนฐานใหญ คือ จักยกยางขึ้นเปนสังฆราชก็ดี เปนราชครูก็ดี เปนสมเด็จก็ดี เปนสมเด็จอัค คมุลีก็ดี ควรแตงแปงยังหลาบเงิน เขียนคาถา สุวัณณะปฏ อันเปนสวามี อัน ๑ หื้อเขียนสุวัณณปฏ สังฆราชา อัน ๑ แปงสุวัณณปฏ ราชครู อัน ๑ เขียนสุวณ ั ณปฏสมเด็จไวแลว ควรอานสุวณ ั ณปฏลําดับแล ตัง้ แตเถระขึน้ เถิง ทีจ่ กั ยอบัดนีน้ นั้ เทอะ เสมอดังยอดวยลําดับนัน้ แล ก็ชอบก็ควรแล คันบอา น ขึ้นดวยลําดับสันนั้น ขึ้นล้ําเชนบสมฤทธีหลาย จิ่งควรกระทําสันนี้แล คันยังจักหือ้ เปนศาสตรายิง่ ยวดแท หือ้ ตีหลาบเงิน อัน ๑ แลวเขียนศักราช ป เดือน วันยาม และ หมายขือ่ ครูบาสังฆะ และชือ่ นามโคตร เจาจอมทาว พระยาศรัทธาฝูงเปนศรัทธาเกา อุสสาภิเษกนัน้ ไวในหลาบเงินอันนัน้ เทอะ ๑๘๑


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

คําเตือนสติใหผูไดรับอุสสาภิเษก ใหปฏิบัติซื่อตรงตลอดไป คันชาวเจาตนใดไดอุสสาภิเษกแลว ควรพ่ําเพงจตุปริสุทธศีล ปฏิบัติตามวัตรกองอันชอบวินัยธรรม ปฏิบัติคันถธุระ วิปสสนาธุระ ใสใจ สังคหะสั่งสอนสังฆะคณาสิสสานุสิกขไจ ๆ ตามวินัยธรรมปฏิบัติในตน แลทาน หื้อบังเกิดหิริโอตตัปปะ แนบนําพระและศรัทธาไตตามกองทาง อันชอบอันดี เปนดังงัวนํา นําเอาหมูงัวทังหลายไปตามหนทางอันซื่อ อันดีแท หื้อสมหื้องาม ตามอุสสาภิเษกนั้นแท เทวดาอินทรพรหมจิ่งยินดี ขุมขางรักษา หื้อหาภัยบได ผูใดอุสสาภิเษกกินทาน ก็มีพละกวางขวาง ยิ่งยวดแทแล ภิกขุตนไดเถิงน้ําพุทธาภิเษกแลวนั้น ควรพิจารณา ดูในอธิบาย ในคาถามีในสุวัณณปฏ แหงตนหื้อแจง หื้อถองแลวใสใจ พ่ําเพงคันถธุระ วัตตปฏิปทาหื้อกานกุงรุงเรือง วุฒิแกพุทธศาสนาไปภายหนา สั่งสอน ศรัทธาทายกทังหลายหื้อเปน ศรัทธาวินิปายิกสัต อันภายชาวเจา ก็หื้อ เปนสิกฺขสาชีวสัมมาปนนแท ภายศรัทธาก็หื้อไดเปนอัคคทักขิไนยทานศี​ีล สมถวิปส สนายานิก อาจเปนผลวิบลู สุขไปภายหนาแท อยาไดบงั เกิดโลภะ โทสะ โมหะ ตัณหา มานะ ทิฏฐิ อิจฉา วิจกิ จิ ฉา นิวรณธรรม แกตนแกทา น แทจิ่งวุฒิจ่ําเริญ สุข ปรโลกํ ชุประการแล คันยังมีโลภะ ตัณหา มายา สาไถย เปนกอนหนามักบัวระโภค อกัปปยะ มีตนวา เครื่องเงิน เครื่องคํา บกระทํา ระงับอินทรีย บมีลีลา อากัปอันบริสุทธิ ตามธรรมคาถาสุวัณณปฎคํา ย่ํายีอาชญาพระเปนเจา เสียดังอัน้ ก็จกั ไดตอ งโทษตามพุทธอาณาสิกขาปุญญัตติ ตางๆ เหมือนดัง อัคคมหาเสนาอามาตย มหากษัตริย ปฏิบัติผิดอาชญาพระเปนเจา พอดา ก็จกั ดา พอตีกจ็ กั ตี พอผูกมัดบุบตีบาปไหม ก็จกั กระทํา พอฆาก็จกั ฆา หือ้ ตายแทแล ชาวเจาเปนผูต งั้ อยูเ ปลาเกาคําสอน ก็จกั ไดเถิงกองวินาศฉิบหาย ชั่วนี้ชั่วหนา ก็อุปมาดั่งเสนาอามาตย แหงพระยาตนใหญ นั้นแล เหตุดั่ง อั้น หื้อพิจารณาชุวัน ชุยาม อยาขาด อยาประมาทในธัมมแท จิ่งวุฒิแล

๑๘๒


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

พิธีเถราภิเษกฉบับอื่นๆ พิธียกยอเถราภิเษกนี้ นอกจากฉบับวัดธาตุคําที่กลาวแลว ยังมี ที่ปรากฏในพับสาอันเปนสมบัติของหนานศรีเลา เกษพรหม สถาบันวิจัย สังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม ซึ่งเปนการบันทึกการทําพิธีเถราภิเษก เมื่อ พ.ศ. ๒๓๘๘ ซึง่ เปนการเถราภิเษกครัง้ ใหญ ซึง่ มีนามพระเถระทีไ่ ดรบั การ สถาปนาเถราภิเษก ดังนี้ - สถาปนาครูบานันทะ วัดปาแดงหลวง (มหาวิหาร) เปนพระมหาเถระ - สถาปนาครูบามังคละ วัดพระสิงหดานใต เปนสวามี - สถาปนาครูบามะเลิ่ง วัดปุพพาราม (นิกายมอญ) เปนสังฆราชา - สถาปนาครูบาคัมภีระ วัดหนองควายคํา (แมทาชาง) เปนสังฆราชา - สถาปนาครูบาสิทธิ วัดกิตติ เปนสมเด็จ - สถาปนาครูบาเกสรปญญา วัดหอพระ เปนสมเด็จ - สถาปนาครูบาเกสรปญญา วัดพันตาเกิน (ชัยศรีภูมิ์) เปนสมเด็จราชครู พิธีทําน้ําพุทธาภิเษก จักหุงน้ํามุทธาภิเษก หื้อเอาดิน ๓ จอมปลวก ๓ บวกควาย มาตํากับกัน ปน เปนรูปราสีห ๓ ตัว แปงกอนเสา หุงในอุโบสถ ราชวัตรแวด เอาหนอกลวย หนอออย กุก กา มัดติดราชวัตร ฉัตร ๔ ใบ งาชาง ๔ มอกสินาด ๔ หอก ๔ ดาบ ๔ มัดตอดราชวัตร แลวหื้อเอาหลัวไมแกว ไมหนุน ไมเตา ไมตัน และเยื่องและ ๗ ดุน หื้อเอาแวน สองเอาไฟฟา มาดังไฟหุงยาหุงน้ํามุทธาภิเษก ๑๘๓


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

“ยะทาสันธิง ภิกขุตะทา สันติเก อะหัมภันเต สัมพะหุลา คะลุกา อาปตติโย โรเจมิ กะกา กิกี ยะคะธะ มุโสกุเสโท มะมะกุเสโท โทราโม มะมะ โถราโม กุยหะโม มะมะกุยหะโม เหกุตติ มะมะเหกุตติ” คาถาบทนี้ ดีดพับ มูบนําสมปอยลนไวปากบาตร เวนลูบลง ลูบลง ยาหุงนํามุทธาภิเษกหดหลอครูบาอาจารยและเจาแทนแผนดิน ฉันนี้หัตถีทันตา งาชาง คิแคนจันทรขาว วรกันนา หูเนื้อ คือ กฤษณา นารี เกศาผมขาว ผมสาว คือรากแฝกหอม พะหุวาจา ปากมาก คือ เกีย๋ งภาสะมาคะตา พร่าํ กัน คือเค็ดเคา สัตตะคา ๗ ยอด คือยอดตาล ยอดลาน ยอดพราว ยอดหมากผู ยอดหมากแม ยอดกลวย ยอดออย อยางละ ๗ ยอด พับโพ คือ หอมบั่วนา ๓ วองมือ มิคคาจักษุ ตาเนื้อ คือ สม ๗ ฝก ๗ ขอ สมปอยเทศ ผุสะติกาญจนา คือ คําผง รัตนรพิชชา คือหนอแกว ใบหนุน ใบเตา ใบตัน และอัน ๗ เยื่อง เครื่องยาเอาใสในหมอใหม เอาน้ํา ๗ บอ เปนน้ําหื้อมีขันตั้ง เงินพัน คํารอย ผาขาว ๔ ลํา แดง ๔ ลํา เทียนเลมบาท ๔ คู เลมเฟอง ๘ คู เทียนนอย ๑๖ คู สวยพลู ๑๖ หมาก ๑๖ ขด ๑๖ กอม หมาก ๔ หมื่น ขาวเปลือก ๔ ตาง ขาวสาร ๔ แคง หมอน ๔ ลูก พราว ๔ เครือ ออย ๔ แบก ครบพรอม หื้ออาจารยเอาศีล ๕ และนุงผาขาว แลว ยอขันร่ําไรพิษณุ ยกหมอขึ้นตั้งกอนเสา เอาน้ํา ๗ บอใส เอาไฟฟา ดัง ดวยหลัวไมแกว หนุน เตา ตัน หลัวนั้นใสหวางกอนเสา หวางใดหวางนั้น อยาเปลี่ยนไปมา พอเดือด หื้อตักใสสะหลุงแกว สะหลุงเงิน สะหลุงคํา สะหลุงนาก หื้อพอ ๑๖ (สะหลุง)แลวแจกไปวัดอันชื่อเปนมงคงหื้อ ธุเจา สวดกวม ขั้นตอนการทําพิธี คันรุง เชาเอาเขาไวในหอสรง นิมนต พระสังฆะ ๑๐๘ องค เขาสูตร มหาสมัย ตั้งลํา ไชยยะทัง ๗ อบรม แลวเอาออกมาที่จักหดหลอตามหลี้ อันกายไวแลว นิมนตเจาตนจักรับน้ํามุทธาภิเษกขึ้นนั่งเหนือแทนไมเดื่อ ในหอสรงแล พระสังฆเจา เอาน้าํ มุทธาภิเษก หดดวยลินปากชาง กายหนอีสาน ๑๘๔


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

ลินปากสิงหกายหนบุพพา อุปราชา และเจานายลูกหลานหด ลินปากมา กายหนทักษิณ นางทาวพระยาหดแล สะควย เศรษฐีหด ลินปากมอม กายหนปจฉิม บาวแกว สาวแกว และประชาราษฎรหด ลินปากวัว กาย หนอุตร ทาว พระยา เสนาอามาตยหดแล พระสังฆะ จูงแขนพระตนรับ น้าํ มุทธาภิเษก ขึน้ พระวิหาร นัง่ อวายหนาภายวันออก เบนหลังหาพระเจา อาจารย จิ่งนบ ๓ ที แลวยอคุณพระเจาตอไป คําจาเติ๊กการอานพระนามสุวัณณปฏ โย สนฺนิสินฺโน วรโพธิมุลฺเล มารํ สเสนํ มหนฺติ วิเชยฺโย สมฺโพธิ มาคฺจิ ว อนฺตฺญาโณ โย โลกุตฺตโม ตํ ปณามิ พุทฺธํ ตํ ปณามิ ธมฺมํ ตํ ปณามิ สงฺฆํ พุทฺโธ มงฺคล สมฺภูโต สมฺพุทฺโธ ทีปทุตตโม พุทฺธมงฺคล มาคมฺม สพฺพทุกฺขา ปมุญจเร ธมฺโม มงฺคล สมฺภูโต คมฺภีโร ทุทฺทโส อานุตฺตโร ธมฺมมงฺคล มาคมฺม สพฺพ ภยา ปมุญจเร สงฺโฆมงฺคล สมฺภูโต วรทกฺขิเณยฺโย สงฺฆมงฺคล สพฺพโรคา ปมุญจเร โย โลหิตฺตํ ทาสิติเร กสินฺธุง มํสาภิภุง สีสติเร กเมลํ ตาราติริตฺตํ นยนํ อทาสิ นมามิ หนฺตํ วรโลกนาถํ สรรเพชรตนใดเดช สามสิบประการทีมโนวจีทฺวาร ตราบพายกรณก็พอซาว บพิตรไดสํารอก อเนกสิอนันต มังสาอันเถือแถก ยังยิ่งพสุธร พระเศียรอุตมงค ยังยิ่งกวาประมาณ พระแพนกยุคัลล บรรจงเขาะขอดตา

สมสรางเขตบารมี ฆะ ทานํเครงคราวคาน กัมมนานก็ยืดยาว อสงไขยอีกแสนกัลป โลหิตออกใหทานทัน ยังยิ่งล้ําสิสาคร เปนพุนแจกยาจกจร ในเทือกทองจักรพาฬ พระจํานงใหเปนทาน พระสุเมรุราชา อันมีพรรณะรา ควักออกใหเปนทาน ๑๘๕


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

ยังยิ่งกวาประมาณ แหงดาวดวงเวหาเวียนอันเพริดพราย นานาที่กดหมาย อันนอกนั้นมิสังขยา จักจาอันยากเยิ้น พระดําเนินสงสารมา เสวยทุกขอันนานา มิอาจอางจักตริตรา จิ่งลุกไดแดดํารัส สรรเพชรอํารุงตรัสไข บัณฑูรชุลีใส อภิวาทไหวนมัสการ โอกาสศักราช โบราณราณราชแตงตัดมา วาดไวใหเปนตรา เถิงถูกถวนระบําฉันท ตามตําบลระบิลปลาย แขวดกดหมายมาเทียมทัน ศักราชไขบวรบรรพ กําหนดเนติ์นิทานคลอง เปนเฉลิมครรโลงเลย รบิลเฉลยบาทบทสอง พันปลายสองรอยหมาย เหมียดตราตรอง อีกเจ็ดตัวเผื่อปุนปอง ติดตอไดสืบสายไป เรียงรสกดฉนํา มะเส็งจําเขตขอมไข เปนปเมืองไทยดับไส สอไวใหสรรพเสร็จ คือกิตติกา กําหนดตรา ออกเรืองเรจ เพียงพุงขึ้นสุกรกาล ปุณณมีพิโรจานชีโวโสตถิ์สคราญ ไทยเตายีแขวดกดหมาย พระจันทรตําเนินปราย เวหาหองรวมราศี เมษาแหงวิถี ลุรอดหองมัคคาเรืองรอง ภรณีดวงถวนสอง ลุลาภไดแหงลาภา อตีตอันคลอยคลาด พุทธศาสนลวงลาลด สองพันกดไวตรองตรา ปลายสามรอยแปดสิบพระวัสสา ปลายหกเดือนคลาดไคลคลา พุทธศาสนยังเหลือหลอ จัดมาพอหาพันพระวัสสา ยังหลอสองพันหกรอยตรา สิบเอ็ดฉนําเตื่อมแถมมา ปลายหกมาสาแขวดกดหมาย วรบมีปลายกอมพองาม ลําดับตามวันพรูก จึงถวนถูกวิโนทนี สาสนายังยิ่งกวาง ศักราชคางโยชนยาวยล โอภาสรุงเรืองราย ใหผลผายแผสุชน ๑๘๖


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

ใหบังเกิดการกุศล สุขสวางฟาฝายแดนดิน หกสวรรคชมชื่นจินต ปราโมชนอมมโนใน บพิตราไทธิราช ภูวนาถปนพิงคไชย เปนเคาเหงาไทแหงบุรี นรินทรราชสมุหามาจธิบดี เจาฝายหนาราชหอคํา เจามหาสิริภูมิบัถ เขมรัฐบุรีรัมย เจาพิมพิสารชื่นเชยชัม ปราโมทยดวยสวนบุญญา เจาราชวงศกนิษฐา มีประสาทเยือกยินดี เจารัตนะเมืองแกวและเจาราชบุตร จงวิมุติจากโลกีย สุขสวางเสี้ยงชื่นเชยชม เจาสุริยะและเจาพรหม จงเจตนสรางกตาธิการ เจาแสนเมืองเจาสุริยะวงค มหิยังคะราชชื่นชมบาน เจาไชยลังกา เจาธรรมปญโญ เจาธัมมะกิตติ สองหาการ จงเจตนพนจากนิวรณ เจายอดเหลือราชบุตรีพระภูธร อรรคราชเกิดเทียมองค เจามหาวงศ เจามหาพรหม มโนจง จิตเจตนนอมภิสังขาร เจาหนานสุริยะวงค เจามหาวัน มาเลงหันยังเกสรปญโญ พระเถราตนบัวริยาด บําเพ็ญสมณะชาติ พรหมจริยากรรม ปตติปริยัติตามวินัยธรรม อันพระอนุญาต เปนเคาเหงาสมณะชาติเชียงชิน สังรวมอุเบกขิณ มีอินทรียรํางับดีจากอารมณ ธุระธรรมเรียบรอยวัตร ตามบัญญัติพระโคดม จิ่งจักบังเกิดตามการกุศล จิตเจตนนอมปราโมทยา จิ่งใครค้ําพุทธสาสน บหื้อขาดประเวณี พระเปนเจาเสวยมิ่งเมืองมี ยศยิ่งฟาฝายพิงคไชย ปลงอาชญาพระภูบาล พัตมาลยกลาวกลอนไข ปรากฏมิ่งเมืองไชย นพราชที่อาดุลย กรุโณตแกศาสนาและฝูงขุน ทุกดานดาวของพันนา ทั้งสังฆใหพร่ําพรอม อาราธนนอมนิมันตนา มาอนุโมตชื่นประสาท มโนรัฐาใสสองตองตื่น ทั้งขุนหมื่นและขุนแสน ๑๘๗


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

นายนักการทั้งนายแควน และทาวหาญมาพร่ําพรอม พระราชสุชนหมูนรา จงเจตนสรางสวางสุขศานติ์ สัมบูรณมวลเครื่องเคราคราน เถราภิเษกยอยกยอมศาสนา ราชทานภิเษกสราง ตกแตงหางมากนานา เพื่อใหแลวพระมุทธา ภิเษกเอกเององค สีหารามา โขงเขตดาวที่บุรี เปนศรีสัมบูรณมี พิลาศแลวเรืองรุงไร เปนมกุฏใหแลวสมสวัสดิ์ วิวิธอรรถทํานองไข จักเบิกนามาเถราไว เถราพิเษกสรางสวางสุทธา โดยดังกฏวินาทา จักกิตตะนามา ใหสบุ รรณบัตรา บัดนี้เทิอญ ผลสวนวรหนาบุญอันนี้นา เจาเกาเหงามหามูลศรัทธา ทั้ง ๒ คณา ไดคึดไดสราง บุญอันนี้เรืองแผกวาง จงหื้อรักษาเจาชาง ตนนั่งสรางราชเสวยเมือง หื้อบุญอันนี้เรืองผาบหลา ทั้งมหาอุปราชหอหนา จุงมีเตชะเขมกลา ลือใตฟาผาบแสนเมือง ราชวงครัตนบุรีหัวเมืองแกว มีใจเชื่อแลวดวยศรัทธา ราชบุตตากระทําพ่าํ เพงมาบใชนอ ย มีทง้ั นายใหญและนายนอย มีใจหลิ่งหอยชุคนคน ตางตนตางองค พรอมกับดวยราชบุตรเทวี ผูเปนมเหสีเปนเคา กับทั้งลูกเตาบุตตา บุตรี นัตตา นัตตี ทาสา ทาสี แลนใชและอามาตยประชาราษฎร คหบดี เศรษฐี บัณฑิตา นักปราชญ หมอโหรา ทังพอคา ชุคนคน ทั้งขุนหมื่นขุนแสน ไพรไทยชุผูใหญนอยญิงจาย สวนหนาบุญอันนี้หลายมีมาก จุงจักมีเตชะเขมกลายืนยาว ทีฆายุโก จุงจักมีอายุยืนยาวเที่ยงเทา นับอายุเขา วาได ๒๒๙ พระวรรษา ชุผูชุคนคน ชุตนชุองคแดรา

๑๘๘


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

อานการพระนาม “ปรม วิสทุ ธสีลาจาราชวัททวา สุปติปน นา ตาธิ คุณปติ ปณฑิโต ฬาฌา สยสกัตถ ปรัตถหิตเต สถิรปรักกัมม ปริยตั ิ ธรเกสร ปญโญ ปวรสมเด็จราชครู” คาถาอันนีล้ งใสสวุ รรณปฏ การพระนามนัน้ หือ้ ลงใสกระดาษเทอะ แลวอานสุวรรณปฎฎา จาเติก้ ๓ ที แลวหือ้ ดุรยิ ดนตรี ตีระฆัง กังสะดาล บัณเฑาะว หอยสังข สงเสพบูชาเทอะ เมื่ออาจารยจัก อานการพระนาม และสุวรรณปฎนั้น หื้อมีแผนเหล็กรองหัวเขาทั้งสอง และศอกทั้งสอง เมื่อนบลงแลวซึ่งมีพิธีการและรายละเอียดตางๆ ในการ สถาปนาเถราภิเษกในครั้งนั้น ดังตอไปนี้ ใสการพระนามอันนี้ พระยาปญญาพิทธาจารย (พื้น) แปงใน ศักราช ๑๒๐๗ ปดับใส ปางเมื่อเจามหาอุปราชา เปนเคา เจาจอมบาน เมืองทั้งมวล พรอมกับยกยอธุเจา วัดชัยศรีภูมิ ขึ้นเปนราชครู ธุเจาสิทธิ วัดกิตติ ธุเจาเกสรปญโญ วัดหอพระ ขึน้ เปนสมเด็จ ยกครูบาวัดบุพพาราม ธุเจาคัมภีร วัดหนองควาย ขึ้นเปนสังฆราช ยกธุเจาวัดมังคละ วัดพระสิงห ดานใต ขึ้นเปนสวามี ยกธุเจานันท มหาปา วัดปาแดง ขึ้นเปนมหาเถระ ในวันเดือนยี่เปง เมงวัน ๕ ไทย เตายี จิ่งไดแตมหมายไวหื้อแล ซ้าํ ธุหลวงอริยะ วัดตุงคํา ทุง ลอม๑๙ ฮายสืบมาแถม ศักราช ๑๒๔๓ ปรว งไส เดือน ๖ แรม ๑๓ ค่าํ เม็งวัน ๖ ไทยดับเหมา มาเถิงศักราช ๑๒๕๖ ตัว ปกาบสงา เดือน ๑๑ ลง ๖ ค่ํา เม็งวัน ๓ ไทยรวายสัน ยามกองแลง ธุขัตติยะไชยรังสี วัดนันทาราม๒๐ หมายสืบมาไว สืบศิษยโยมไดแทน เพื่อ หื้อเปนคุณแกบวรพุทธศานา และสถานบานเมืองสืบตอไปภายหนาบัดนี้ ชะแล คันแลวขันตั้งหุงมุทธาภิเษก เงินพันก็ดี รอยคําก็ดี รอยเงิน ขัน สะโตก ผาขาว เบี้ย เงินคํา หมากพลู ขาวตอกดอกไม เทียน ขาวสาร ขาว เปลือก สาดใหม หมอใหม กลวย ออย พราว ตาล อาจารยเอาเสีย้ งเทอะ”

๑๙ ปจจุบันชื่อวัดเชียงขาง ๒๐

อําเภอสารภี จังหวัดเชียงใหม วัดนันทาราม อําเภอสารภี จังหวัดเชียงใหม

๑๘๙


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

พิธีเถราภิเษกแบบเมืองนาน การพิธีสถาปนาเถราภิเษกนาจะเปนพิธีที่มีมาแตโบราณกาล ในลานนาไทย เพราะวาปรากฏมีในหนังสือพื้นเมืองนาน ฉบับวัดมวง ตึ๊ด ตําบลมวงตึ๊ด อําเภอเมืองนาน จังหวัดนาน ปริวรรตโดย นายชัปนะ ปน เงิน ไดกลาวถึงการสถาปนาสมเด็จมหาสังฆราชาเจาดานเหนือ วัดกูค าํ อันเปนสมัยเจาฟาเมืองคองครองเมืองนาน ไดทําพิธีสถาปนาเถราภิเษก เมือ่ พ.ศ. ๒๒๖๗ สวนพิธอี นื่ ๆ เชนการทําน้าํ พุทธาภิเสก การเขียนสุวรรณปฏ หรือ การเตรียมเครื่องบริขารตางๆ ไมปรากฏมีแตคํากลาวโอกาสเบิก พระนามสุวัณณปฏ อันมีสํานวนคลายของพระยาปญญาพิทธาจารย อัน อาจกลาวไดวา จะใชพธิ กี ารตางๆ และถอยคําเปนแบบเดียวกันทัง้ หมด ซึง่ คําโอกาสของเมืองนานมีดังตอไปนี้ โย สนฺนิสิโน วรโพธิมูเล มารํสเสนํ มหนฺติวิเชยฺยา สมฺโพทิมาคฺ จิ อนนฺตยาโน โย โลกุตฺตโม ตํ ปนมามิ พุทธํ ฯ โอกาสะ จุลศักราชโบราณราช แตงตัดวาดไวหอื้ เปนตรา เถิงถูกถวนระบําฉันท ตามตําบลปลสลาย แขวดกดหมายมาเทียมทัน ศักราชไขเบิกบวรบรร กําหนดเนติ์นิทานคลอง เปนเสลิมกัน โลงเลยระบิลเสลยบาทบทสลอง พันปลายแปดสิบสองตรอง ปลาย ๖ รอยสิบเปนไป เรียงลดกันเปนสนํา ปมะโรงจําเขตขอมไข เปนปเมืองไทยวากาบสีไซร สรรเสร็จวิสาขากําหนดปุณณมี วันเสารสองใสสรี ไทยเมิงไสแขวดหมาย พระจันทรตําเนินปราย ในพรพรองพราย สลายราศีตําเลิงตุลยา จอดในหองเรียนฤกษจิตรา เถิงถูกถวน ๑๔ องค สวนอดีตคลาดคลาด พุทธศาสนลวงกาลได ๒ พันกดตราตรอง ปลาย ๒ รอยพระวัสสา หกสิบเจ็ดสิลวงแลวคลาดไคลคลา พุทธศาสนายังเหลือหลอ ๑๙๐


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

จักมาพอหาพันวัสสา ยังสองพัน ๗ รอยตรา สามสิบสามวัสสาพอกดหมาย บมีปลายคอมพองาม แตวันพระศาสนายังยิ่งกวาง ศักราชคางโยดยาวยล รุง เรืองรายใหผลผายแปรสูช น ใหบังเกิดการกุศล สุขสวางฟาฝายแดนดิน หกสวรรคชื่นชมจินต ปราโมทยนอมมโนนนท เปนเจาหวานมิ่งเมืองนาน ปวรเลิศฝูงชน หฤทัยปราบเปรมปรา มูลสัทธาพระยานานขวา เจากุลวงสาประเสริฐสรางกุศลสรี จงค้ําพุทธศาสนบใหขาดประเพณี เปนเสลิมเมืองมียศยานฟา ฝายเมืองไทย ปลงอาญาพระภูบาลกลาวกลอนไข ปรากฏมิ่งเมืองไชนันทนาน ทาวที่อดุลย ราชาพระนรินทไขระบิลระเบิกปองปุน กรุณาแกฝูงขุน ทังทั่วดาวดานเวียงไชย พันนาปาวเตือ่ มตามนิคมเขตขงไข ทังพระสังฆพิไล หลายถี่ถาน ธดุลยใหพรอมมวลมา ก็นบปดาเลิศลวงบุญทังมวล หลายขุนตางๆ พรอมนเรสุ นรา อันวาหลายทังพระเชฏฐา คลายแตในมาอนุโมทนาชะชื่น ทังแรปกตอพื้นสาธุการ ทังขุนแสนแลขุนหมื่น หนาชอยชื่นมากมวล มาพรอมพระราชสมภาร หฤทัยสวางสุขสรวล สําปุณณมวลเครือ่ งเคราคราญ เถราภิเษกการ ยอโยคยอมศาสนา ราชทานภิเษกสราง ตกแตงหางมากนานา เพื่อใหแลวพุทธาภิเษกพรอมเอกองค อุตรารามธิเบศบาล ราชฐานสถิตตราตรง กําหนดนามทํานองนาม เปนสรีสําปุณณบง ภิราชเรื้องเรืองไร เปนปรากฏใหสมสวัสดิ์ วิวรอรรถทํานองไข จักเบิกนามไว ภิเษกสรางสวางสุทธา ไขดั่งพระสุพรรณบัฏ ในกาลบัดนี้คัลไซร ๑๙๑


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

วรวิสทุ ธฺ สีลาจาราธิคณ ุ าลงฺการ ปฎิปณฺฑโิ ต ทารชฺฌาสยวรเชยฺยา มงฺคลาริยวํโส มหาสวามีฯ อักขระ ๔๑ ได เศษ ๓ ชื่อ สิหลัก ไดเชยยะเศษ แลฯ ปรมวิสทุ ธฺ สีลาจาราชฺชวมทฺทวาทิคณ ุ าลงฺกโต (อุ) ฬารวิปลุ ชฺฌาสย ปริยตฺติวร อริยโส วรสมฺมเตสฺส สมเด็จมหาสังฆราชา ฯ อักขระ ๕๗ เศษ ๓ สิหลักษณะ สมเด็จเจาดานเหนือ ตนลุกวัดกูคํา มากินดานเหนือ เชนเจาฟาเมียงคอง เปนหวานเมืองนาน ครูสวามีเจาแลฯ สํ า หรั บ นครเชี ย งใหม เมื่ อ รวมการปกครองคณะสงฆ ตั้ ง แต พ.ศ. ๒๔๔๖ เปนตนมา ก็ไมมีการตั้งสมณศักดิ์หรือมีพิธีเถราภิเษกอีก จึงมีการสถาปนาสังฆราชาชุดสุดทายในสมัยพระเจาอินทวิชชยานนท เมือ่ พ.ศ. ๒๔๓๘ คือ - ครูบาโสภา วัดฝายหิน เปนปฐมสังฆราชาที่ ๑ - ครูบาญาณโพธิ วัดสันคะยอม แมวาง เปนทุติยสังฆราชาที่ ๒ - ครูบาอริยะ วัดหนองโขง หางดง เปนตติยสังฆราชาที่ ๓ - ครูบาเจาตุกาวีละ วัดพวกแตม เปนจตุตถสังฆราชาที่ ๔ - ครูบาคันธา วัดเชตุพน เปนปญจมสังฆราชาที่ ๕ - ครูบาปนตา วัดปากลวย สารภี เปนฉัฏฐมสังฆราชาที่ ๖ - เจาตุเทพวงค วัดนันทาราม เปนสัตตมสังฆราชาที่ ๗ แตปรากฏวาไมพบบันทึกการประกอบพิธแี ละคําโอกาสทีใ่ ชในการ พิธีนั้น ตอมาพระสงฆลานนาเริ่มไดรับสมณศักดิ์ตามแบบอยางกรุงเทพ คือ มีการตั้งสมณศักดิ์เปนพระครูประทวน พระครูสัญญาบัตร และพระ ๑๙๒


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

ราชาคณะ เริ่มแต พ.ศ. ๒๔๔๙ เปนตนมา การพิธีสถาปนาเถราภิเษก จึงหายไปจากดินแดนลานนาจนทุกวันนี้

๑๙๓


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

สมณศักดิ์พระสงฆในลานนา : อดีต – ปจจุบนั ผศ.จินตนา มัธยมบุรุษ๒๑

ความนํา การเข า มาของพุ ท ธศาสนาเถรวาทในช ว งก อ นที่ พ ญามั ง ราย มาตั้งเมืองเชียงใหมเปนราชธานีนั้น มีลักษณะที่สอดคลองกับความเชื่อ ดั้งเดิมของทองถิ่น เปนการประสานประโยชนซึ่งกันและกันในทุกฝาย อันกอใหเกิดความเขาใจอันดีตอ กัน ถือเปนการสรางความสงบสุขแกชมุ ชน และความมัน่ คงทางการเมืองอีกดวย นับตัง้ แตพทุ ธศตวรรษที่ ๑๙ เปนตนมา อาณาจักรที่เคยรุงเรืองมากอน เชน กัมพูชา ละโว พุกาม หริภุญชัย ไดสลายตัวไป กลุมผูนําใหมคือพอขุนรามคําแหงแหงอาณาจักรสุโขทัย พญางําเมืองแหงอาณาจักรภูกามยาว และพญามังรายแหงอาณาจักรโยนก ไดรวบรวมหัวเมืองตาง ๆ ไวในอํานาจ เชน หริภญ ุ ชัยซึง่ เคยเปนอาณาจักร ใหญ และมอบใหอายฟาปกครองตอมา พญามังรายไดสรางเมืองใหม ณ เวียงกุมกาม ผูคนสามารถจะเขากันไดดวยความที่มีวัฒนธรรมที่ไม ๒๑

ขาราชการบํานาญ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม, กรรมการบริหารสภาวัฒนธรรม จังหวัดเชียงใหม

๑๙๔


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

แตกตางกันมากนัก พญามังรายไดสรางวัดกานโถมขึ้นเพื่อเปนศูนยรวม แหงจิตใจของผูคนในเวียงกุมกาม และสรางเวียงขึ้นในบริเวณใกลกับวัด กานโถม รวมทั้ง “หยาดน้ําหมายตาน” วัตถุกอสรางทั้งคนและที่ดินให กับวัดและพระสงฆ๒๒ อันถือเปนวิเทโศบายที่จะรวมกําลังคนเพื่อใหการ ปกครองของพระองคเปนไปไดอยางยังประโยชนในทุกฝาย และสามารถ รวมหัวเมืองในเขตแมน้ําปง แมน้ําวัง แมน้ํากก และแมน้ําโขง ซึ่งหมาย ถึง ๘ จังหวัดภาคเหนือตอนบนหรือลานนา ซึ่งปกครองตั้งแต พ.ศ. ๑๘๓๙ – ๒๑๐๑ กษัตริยที่ปกครองเมืองเชียงใหมและเมืองบริวาร ตาง ก็มีความเลื่อมใสในพระพุทธศาสนา ไดสรางวัดวาอารามตางๆ มากมาย ตามหัวเมืองตาง ๆ ของลานนา พุทธอาณาจักรในลานนา เมื่อพญากือนา (พ.ศ. ๑๙๑๐ – ๑๙๓๑) ขึ้นครองราชย ได สนับสนุนพุทธศาสนาฝายอรัญวาสี ไดอาราธนาพระมหาสวามีอุทุมพร จากเมืองพัน (เมาะตะมะ) มาประดิษฐานในเชียงใหม และอาราธนาพระ สุมนเถระจากสุโขทัยมารวมสังฆกรรมบวชดวยวิธอี ทุ กุกเขปสีมาโดยเฉพาะ ในชวงพญาสามฝงแกนพระสงฆแตกแยกกันมาก เนื่องจากเกิดความ ไมเขาใจและการนําเอาพุทธศาสนาลังกาวงศเขามาซึ่งเปนคณะสงฆที่ไป ศึกษาและบวชเรียนที่ลังกา แมวาจะมีระเบียบการปกครองสงฆไวแลว ดังนี้

๒๒

ระวิวรรณ ภาคพรต, “การกัลปนาในลานนาตั้งแตกลางพุทธศตวรรษที่ ๒๐ – ตน พุทธศตวรรษที่ ๒๒”, วิทยานิพนธปริญญาโท บัณฑิตวิทยาลัยจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, ๒๕๒๕.

๑๙๕


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

โครงสรางการจัดระเบียบการปกครองสงฆ (ปาแดง)๒๓ พระมหาสังฆปรินายก (พระธรรมทินสังฆมหาสวามี

พระสังฆราชา สังฆราชา พระสังฆราชา สังฆราชา (คามวาสี) (คามวาสี) (คามวาสี) (คามวาสี)

ครูบาคามวาสี ครูบาธรรม

สังฆราชา (คามวาสี)

ครูบาอภิธรรม ครูบาวินัย สาธุเจาหลวง

วัดคามวาสี

วัดอรัญวาสี กรรมการวัด

อาจารยวัด ๒๓

แกวัด

ลามวัด

มณี พยอมยงค, พิธีกรรมในลานนาไทย, เชียงใหม : ส.ทรัพยการพิมพ

๑๙๖


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

ในสมั ย พระเจ า ติ โ ลกราชถื อ เป น ยุ ค ทองของพุ ท ธศาสนาใน ราชวงศมังราย (พ.ศ. ๑๙๘๕ –๒๐๖๙) ซึ่งความสําเร็จในยุคนี้ถือเปนการ เริ่มตนฟนฟูและปฏิรูปพระศาสนาแบบลังกา โดยมีพระสงฆชาวลังกาเขา มามีบทบาทในการเปลี่ยนแปลงดวยทั้งในดานพุทธจักรและอาณาจักร แตอยางไรก็ดีในชวงพระเจาติโลกราชไดวางระเบียบปกครองสงฆไวหลัง พ.ศ.๒๐๒๐ ดังนี้ พระธรรมวินัย๒๔ (ธรรมนูญสงฆ) มหาเถรสภา สังฆราชา

พระธรรมธร

สังฆมหาสวามี พระอภิธรรม พระวินัยธร อรัญวาสี มาวาทย ปูครูเมือง (เมืองละ ๒ รูป)

ครูบาคามวาสี ครูบาธรรม ครูบาแขวง

เจาอาวาส รองเจาอาวาส

อาจารยวัด ๒๔

ครูบาอภิธรรม ครูบาวินัย สาธุเจาหลวง

คณะฆราวาสชวยบริหารวัด แกวัด

ลามวัด

พระใบระกา

เลขวัด

มณี พยอมยงค, เลมเดิม

๑๙๗


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

นิกายสงฆในเชียงใหม๒๕ นิกาย พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๒๕ อธิบาย วา “นิกาย น. หมู, พวก, ใชเกี่ยวกับศาสนา ในกรณีเชนนักบวชในศาสนา เดียวกันที่แยกออกไปเปนพวก ๆ เชน มหานิกาย... ; เรียกคัมภีรพระสุตต ตันตปฎก ที่แยกออกเปน ๕ หมวดใหญ คือ ทีฆนิกาย มัชฌิมนิกาย สังยุตนิกาย อังคุตรนิกาย ขุทกนิกาย.” หน พจนานุกรมลานนา – ไทย ฉบับแมฟาหลวง พ.ศ. ๒๕๔๗ อธิบายวา “น ๑. ทาง, ทิศ, ฝาย” และกลาวถึงคําวา หนบาน คือ พระสงฆฝายคามวาสีหรือฝายคันถธุระ จําพรรษา อยูวัดที่ตั้งอยูในเขตในเมือง มีภาระธุระในการศึกษาพระปริยัติธรรม เปนหลัก หนปา คือ พระสงฆฝา ยอรัญวาสีหรือฝายวิปส สนาธุระ จําพรรษา อยูว ดั ทีต่ งั้ อยูใ นเขตนอกเมือง มีภาระธุระในการปฏิบตั วิ ปิ ส สนากรรมฐาน เปนหลัก หนสวนดอกและหนยางควง คือ พระภิกษุทเี่ ลือ่ มใสและประพฤติ ตามขอวัตรปฏิบตั ขิ องพระสงฆวดั บุปผารามสวนดอกไม หรือลัทธิลงั กาวงศ เกา ในเชียงตุงเรียกวา “พายสวน” หนปาแดง คือ พระภิกษุทเี่ ลือ่ มใสและประพฤติตามขอวัตรปฏิบตั ิ ของพระสงฆวดั ปาแดงมหาวิหาร หรือลัทธิลงั กาวงศใหม ในเชียงตุงเรียกวา “พายปา” หนเวียง ลัทธิการนับถือพุทธศาสนาแบบที่มีสมเด็จพระราชครู ธัมมกิตติ วัดนันทาราม อําเภอเมืองเชียงใหม เปนผูนํา อนึ่ง อรุณรัตน วิเชียรเขียว๒๖ ไดปริวรรตรายชื่อวัดและนิกายสงฆ โบราณในเชียงใหม โดยแบงตามกลุมชาติพันธุที่อพยพมาอยูในเชียงใหม ๒๕

พระครูสิริสุตาภิมนต พระบรมธาตุดอยสุเทพ, นิกายสงฆในเชียงใหม : ประวัติ พระพุทธศาสนาในลานนา ฉบับ ๖๓๕ ปี, เชียงใหม : วัดพระธาตุดอยสุเทพ และมูลนิธิ พระบรมธาตุดอยสุเทพ, ๒๕๔๙. ๒๖ อรุณรัตน วิเชียรเขียว, รายชื่อวัดและนิกายสงฆโบราณในเชียงใหม, เอกสาร อัดสําเนา

๑๙๘


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

และไดบรรพชาอุปสมบทโดยอาศัยครูบาอุปช ฌายเจาหัวหมวดอุโบสถเปน หลัก ไว ๑๘ นิกาย ซึง่ ตรงกับการจัดทําบัญชีกองธรรมการสงฆในเชียงใหม ดังนี้ คณะสงฆนิกายเชียงใหม คณะสงฆนิกายเชียงแสน คณะสงฆนิกายเลน คณะสงฆนิกายครง คณะสงฆนิกายลวะ คณะสงฆนิกายเงี้ยว คณะสงฆนิกายลวง คณะสงฆนิกายนาน คณะสงฆนิกายงัวลาย คณะสงฆนิกายแมปละ คณะสงฆนิกายยอง คณะสงฆนกิ ายนายเขิน คณะสงฆนิกายไทย คณะสงฆนิกายมอญ คณะสงฆนิกายเขิน คณะสงฆนิกายแพร คณะสงฆนิกายมาน คณะสงฆนิกายหลวย จากการที่ มี นิ ก ายสงฆ ใ นสมั ย ก อ นเชี ย งใหม เ ป น ประเทศราช กรุงเทพฯ มีจํานวนมาก แตก็ไมกอใหเกิดการแตกแยกใดๆ ขึ้น ดังนั้น การแต ง ตั้ ง สมณศั ก ดิ์ ซึ่ ง ได มี ม านานตั้ ง แต ส มั ย ราชวงศ มั ง ราย ซึ่ ง พระมหากษัตริยเปนผูแตงตั้งใหทําหนาที่ประดุจเจาคณะเมืองเชียงใหม โดยดู แ ลความเรี ย บร อ ยของคณะสงฆ ทุ ก นิ ก ายอย า งเท า เที ย มกั น โดยเฉพาะการศึกษาบาลีใหแตกฉาน ในการสถาปนาใหพระสงฆแตละ ๑๙๙


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

นิ ก ายที่ ป ระกอบคุ ณ งามความดี แ ละมี ค วามสามารถในกิ จ ของสงฆ หลายๆ ดาน ขึ้นดํารงตําแหนงสมณศักดิ์ในระดับตางๆ ในการปกครอง คณะสงฆของไทย เปนการผสมผสานจากรามัญและลังกา โดยไดมีการ ปรับปรุงใหเหมาะสมกับทองถิ่น เริ่มจากการปกครองภายในวัด รูปแบบ การปกครองจะมีขั้นและลําดับผูอยูวัดดังนี๒๗ ้ ขะโยม พระหนอย พระใหญ พระโคง พระปู ทุหนอย ทุบาละกา ทุหลวง

(เด็กวัด) (สามเณรรุนเยาว) (สามเณรวัยรุน) (สามเณรผูใหญ อายุใกลจะอุปสมบท) (สามเณรผูใหญ เลยวัยอุปสมบท) (ทุขนาน ภิกษุที่อายุนอยไมไดเปนเจาอาวาส) (รองเจาอาวาสทําหนาที่ดูแลรักษา) (เจาอาวาส)

แตละวัดจะถูกกําหนดใหมี “หัววัด” ซึง่ จะแบงเปนหัววัดทีท่ าํ อุโบสถ รวมกัน หรือเรียกวา หัววัดในอุโบสถ และหัววัดที่เจาอาวาสคุนเคยกัน มีความสัมพันธใกลชิด แตไมเกี่ยวกับระบบการปกครองสงฆ การแตงตั้งสมณศักดิ์ในลานนา สมณศักดิ์๒๘ คือ บรรดาศักดิ์หรือเกียรติยศที่พระมหากษัตริย ถวายแด พ ระสงฆ เพื่ อ เป น บํ า เหน็ จ ความชอบ ประกอบคุ ณ ความดี แกประเทศชาติและพระพุทธศาสนา และเปนการยกยองเชิดชูเกียรติ เพิ่มขวัญและกําลังใจใหพระสงฆบําเพ็ญประโยชนตอสังคมตามหลัก ธรรมทางศาสนายิ่งขึ้น ตามพุทธวิธีที่องคพระบรมศาสดาทรงยกยอง ๒๗

พระครูอดุลย วัดธาตุคํา, ประวัติพุทธศาสนาในลานนา ฉบับ ๖๓๕ ป, เชียงใหม : วัดพระธาตุดอยสุเทพ และมูลนิธิพระบรมธาตุดอยสุเทพ, ๒๕๔๙. ๒๘ สํานักงานเลขาธิการมหาเถรสมาคม ฝายการคณะสงฆ, รายงานผลการดําเนินงาน พิธีประทานสัญญาบัตร พัดยศ และผาไตร ประจําป ๒๕๔๒, กรุงเทพฯ : กรมการศาสนา กระทรวงศึกษาธิการ, ๒๕๔๓.

๒๐๐


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

พระอั ค รสาวกซ า ย – ขวา ให เ ป น กํ า ลั ง เผยแผ พ ระศาสนา รวมทั้ ง ชวยเหลือการปกครองดูแลพระภิกษุ สามเณร การพระราชทานสมณศักดิ์ มีมาตั้งแตสมัยสุโขทัย ซึ่งเปนผลทางการปกครองคณะสงฆใหเปนไปดวย ความเรียบรอย โดยพระมหากษัตริยพ ระราชทานพัดยศแกพระสงฆพรอม กับการพระราชทานสมณศักดิเ์ พือ่ บอกชัน้ ยศ ซึง่ พระภิกษุสงฆจะใชพดั ยศ เฉพาะแตในการพระราชพิธีและงานรัฐพิธีเทานั้น ในการศึกษาเกี่ยวกับความศรัทธาที่มีแดพระภิกษุสงฆในลาน นา เพื่อฟนรอยการประพฤติปฏิบัติที่ฆราวาสพึงกระทําแดพระสงฆดวย ความเคารพ โดยยึดเอาศรัทธาเปนแกนนํา และเปนการเฉลิมฉลองแด พระสงฆผูไดรับสมณศักดิ์สูง โดยเฉพาะการจัดการบริหารการปกครอง คณะสงฆตามลําดับชั้นใหเปนระเบียบเรียบรอย ในกรอบพระธรรมวินัย และจารีตประเพณีของบานเมือง นั่นคือการแนะนําสั่งสอนพุทธบริษัททั้ง ฝายบรรพชิตและคฤหัสถใหมีความรู ความเขาใจในคําสอนของพระพุทธ ศาสนา ตั้งตนอยูในสัมมาปฏิบัติ ประพฤติตนถูกตองตามพระธรรมวินัย ในฝายสงฆ และปฏิบัติตนตามทํานองคลองธรรมในฝายคฤหัสถ๒๙ การแต ง ตั้ ง สมณศั ก ดิ์ เ ชี ย งใหม ป รากฏหลั ก ฐานมาตั้ ง แต ราชวงศมังราย กลาวคือ สมัยพญาผายู ไดอาราธนาพระมหาอัคคะจุฬาอภัยจากหริภุญไชย เปนพระสังฆราช พญากือนา ไดอุสสาภิเษกที่พระมหาสุมนสุวรรณรัตนสามี เปนสังฆราช๓๐ พระเจาติโลกราช ไดรดน้ําอภิเษกมหาเถรเมธังกรขึ้น เปนพระอดุลยศักตยาธิกรณมหาสามี พ.ศ. ๒๐๒๕ ไดแตงตั้งพระสัทธัมกิตติมหาสวามี พ.ศ. ๒๐๕๙ พระอภัยสารทมหาสามี เปนประมุขสงฆ ๒๙ พระธรรมดิลก ๓๐

, ประวัติคณะธรรมยุต (ฉบับราง), เชียงใหม, เอกสารอัดสําเนา กรรมการบริหารสภาวัฒนธรรมจังหวัดเชียงใหม, ขาราชการบํานาญมหาวิทยาลัย ราชภัฏเชียงใหม, อาจารยพเิ ศษมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตเชียงใหม

๒๐๑


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

สมัยพระเจาติโลกราชไดแตงตั้งสังฆปรินายกฝายสิงหล คือพระ สัทธัมมสัณฐิระมหาเถรเจา วัดปาแดง และพระมหาเมธังกรเปนราชครูใน ตําแหนงพระมหาสามีรักษาธิกรณราชคุรุ พ.ศ. ๒๐๗๐ สมัยพระเมืองเกษเกลา พระราชทานตําแหนงพระ สังฆราชแกพระมหาสรภังคเถร นับตั้งแตสมัยพระนางมหาเทวีจิระประภาจนถึงพระนางวิสุทธ เทวี ซึ่งเปนชวงที่เชียงใหมถูกพมาสมัยพระเจาบุเรงนองขึ้นครองนั้น การ พระศาสนาก็ยงั มีความเจริญรุง เรือง ซึง่ นาจะมาจากพมาทีเ่ ลือ่ มใสในพุทธ ศาสนาเชนเดียวกับลานนา การปกครองคณะสงฆก็ไดแตงตั้งมหาราชครู ผูรูธรรมแตกฉานจากวัดสําคัญ ๆ ของเชียงใหมปกครองคณะสงฆ รวมทั้ง ปฏิบัติตามจารีตประเพณีอยางเครงครัด สมั ย ราชวงศ เ จ า เจ็ ด ตน พระเจ า กาวิ ล ะได รั บ ตํ า แหน ง เจ า ประเทศราช จนถึงสมัยเจาแกวนวรัฐ (พ.ศ. ๒๓๒๔ – ๒๔๘๒) ไดมกี ารตรา พระราชบัญญัตลิ กั ษณะการปกครองคณะสงฆขนึ้ ใน พ.ศ. ๒๔๔๕ และแตง ตัง้ พระครูสงั ฆบริคตเปนพระครูนพีสพี ศิ าลคุณ และพระราชทานสมณศักดิ์ พระราชาคณะชั้นสามัญที่พระนพีพิศาลคุณ และในป พ.ศ. ๒๔๓๘ สมัย พระเจาอินทวิชยานนทไดสถาปนาแตงตั้งสมณศักดิ์ขึ้นที่วัดพระธาตุดอย สุเทพ ดังนี้ ๑. ครูบาโสภา

เปนปฐมะสังฆนายก สังฆราชาที่ ๑ ๒. ครูบาธรรมทิน วัดสันคะยอม เปนทุติยะสังฆราชาญาณโพธิ์ สังฆราชาที่ ๒ ๓. ครูบาสรภังค วัดนันทาราม เปนตติยะสังฆราชาสรภังค สังฆราชาที่ ๓ ๔. ครูบาคันธา วัดเชตุพน เปนจตุตถะสังฆราชาคันธา สังฆราชาที่ ๔ ๕. ครูบาอริยะ วัดดับภัย เปนปญจมะสังฆราชาอาริยะ สังฆราชาที่ ๕ ๒๐๒

วัดฝายหิน


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

๖. ครูบาปญญา วัดพวกแตม เปนฉัฏฐมะสังฆราชาเจาทุปญ  ญา สังฆราชาที่ ๖ ๗. ครูบาญาณรังสี วัดสันคะยอม เปนสัตตมะสังฆราชาญาณรังสี สังฆราชาที่ ๗ การแตงตัง้ สมณศักดิด์ งั กลาว ครูบาโสภาขอปกครองสงฆตามแบบ ประเพณีดั้งเดิมที่เคยปฏิบัติสืบตอกันมา และพระเถระทั้ง ๗ ไดชวยกัน บริ ห ารและปกครองพระภิ ก ษุ ส งฆ ส ามเณรตามรู ป แบบเดิ ม ใน พ.ศ. ๒๔๗๙ พระธรรมวโรดม เจาอาวาสวัดเบญจมบพิตรดุสิตวนาราม ผูตั้งตําแหนงเจาคณะมณฑลพายัพ จึงแตงตั้งพระสงฆนิกายพื้นเมือง เดิมเปนเจาคณะปกครองกันตามลําดับ จากเจาคณะเมือง แขวง หมวด อุโบสถ และเจาอาวาส โดยมอบใหครูบาโสภาเปนเจาคณะเมืองและแตงตัง้ สมณศักดิ์เปนพระอภัยสารทะสังฆปาโมกข ชวงทีเ่ ชียงใหมเปนประเทศราชกรุงเทพฯ นัน้ สมเด็จพระจอมเกลา เจาอยูหัวครั้งยังทรงผนวช ไดตั้งสงฆธรรมยุตนิกายขึ้น ไดแตงตั้งพระสงฆ นิกายขึ้นบริหารในกิจการทั้งปวง ๑๐ รูป คือ๓๑ พระวชิรญาณเถระ เปนประธาน พระพรหมสรเถระ พระธรรมสิริเถระ พระพุทธสิริเถระ พระปญญาอัคคเถระ พระธัมมรักขิตเถระ พระโสภิตเถระ พระพุทธิสัณหเถระ พระปุสสเถระ พระสุวัฒนเถระ ๓๑

พระธรรมดิลก (ที่ปรึกษา), ประวัติคณะธรรมยุต เลม ๑, เชียงใหม : วัดเจดียหลวง, (เอกสารอัดสําเนา)

๒๐๓


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

พ.ศ. ๒๔๕๕ ไดจดั ทําทําเนียบสมณศักดิใ์ หม โดยแยกเปนฐานันดร (ยศ) ๑ วัด เปน ๑ อันดับ หนาที่ ๒๑ อันดับ ในการแตงตั้งสมณศักดิ์ มีขอกําหนดชั้นยศ๓๒ ไว ดังนี้ สมเด็จพระสังฆราช สมเด็จพระราชาคณะ พระราชาคณะชั้นรอง ชั้นหิรัญษัฎ พระราชาคณะชั้นธรรม พระราชาคณะชั้นเทพ พระราชาคณะชั้นราช พระราชาคณะชั้นสามัญ พระครูสัญญาบัตร พระครูฐานานุกรม ซึ่งตําแหนงดังกลาวไมแตกตางไปจากพุทธศาสนามหานิกาย แตอยางใด ยังคงใชเหมือนกันหมดทั้งสิ้น ในล า นนาเมื่ อ พระสงฆ ไ ด รั บ สมณศั ก ดิ์ ที่ สู ง ขึ้ น ก็ จ ะทํ า พิ ธี ส ถาปนายกยอเถราภิ เ ษก มี ก ารทํ า พิ ธี ใ น พ.ศ. ๒๓๘๘ โดย พระสั ง ฆเจ า นํ า เอาน้ํ า พุ ท ธาภิ เ ษก รดด ว ยริ น ปากช า ง ซึ่ ง อยู ท าง ทิศอีสาน รินปากสิงหอยูทิศบูรพา พระอุปราชและเจานายลูกหลานรดริน ปากมาอยูทางทิศทักษิณ นางทาวพระยารดรินปากมอมที่อยูทิศปจฉิม ประชาชน รดรินปากวัวอยูทิศอุดร ในเชียงใหมนับตั้งแต พ.ศ. ๒๔๔๖ เปนตนมา เมื่อมีการรวม การปกครองคณะสงฆแลว ไมมีการตั้งสมณศักดิ์และพิธีเถราภิเษกอีกเลย ซึ่งเปนสิ่งที่ควรแกการศึกษาอยางยิ่งและนาจะฟนฟูพิธีกรรมตางๆ ทั้ง ๓๒

สํานักงานเลขาธิการมหาเถรสมาคม ฝายการคณะสงฆ กรมการศาสนา, รายงาน ผลดําเนินงานพิธปี ระทานสัญญาบัตร พัดยศ และผาไตร ป พ.ศ. ๒๕๔๒, กรุงเทพฯ : กรม การศาสนา, ๒๕๔๓.

๒๐๔


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

การบรรพชา อุปสมบท ตลอดจนบุคคลผูส มควรไดรบั การแตงตัง้ พิธยี กยอ เถราภิเษก อยางมีนยั ยะแหงความหมายและคุณคา และสามารถนํามาเปน แบบอยางได ทั้งในการบริหารจัดการทุกดานตลอดจนเปนการใหกําลังใจ และเปนสิริมงคลแกผูรับและผูรวมพิธีกรรมตางๆ กล า วโดยสรุ ป การแต ง ตั้ ง สมณศั ก ดิ์ แ ด พ ระเถรานุ เ ถระจาก พระมหากษัตริย เปนการรักษาพระราชอํานาจในการปกครองและการใช อํานาจนั้นอยางเปนธรรม นั่นคือเปาประสงคของสมณศักดิ์แตละระดับ เปนการบงบอกถึงหนาที่รับผิดชอบ การมีวัตรปฏิบัติอยางถูกตอง ไมนอก จารีตที่ควรแกการปฏิบัติตามตําแหนงชั้นยศสมณศักดิ์ แมในปจจุบันการ แตงตั้งสมณศักดิ์จะเปนระบบ มีขอระเบียบปฏิบัติ และกําหนดคุณสมบัติ ของพระเถรานุเถระไวอยางชัดเจน

๒๐๕


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

บรรณานุกรม จินตนา มัธยมบุรุษ. ครูบาในกระแสความเปลี่ยนแปลง". พิฆเณศวรสาร ปที่ ๒ ฉบับที่ ๒ เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม, ๒๕๔๙. บําเพ็ญ ระวิน. ตํานานวัดปาแดง. สถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัย เชียงใหม. เชียงใหม : โรงพิมพมิ่งเมือง, ๒๕๓๘. พระครูอดุลย วัดธาตุคํา. ประวัติพุทธศาสนาในลานนา ฉบับ ๖๓๕ ปี. เชียงใหม : วัดพระธาตุดอยสุเทพและมูลนิธิพระบรมธาตุดอย สุเทพ, ๒๕๔๙. พระธรรมดิลก. ประวัติคณะธรรมยุต เลม ๑. เชียงใหม : วัดเจดียหลวง, ม.ป.พ. (เอกสารอัดสําเนา). มณี พยอมยงค. พิธีกรรมในลานนาไทย. เชียงใหม : ส.ทรัพยการพิมพ, ม.ป.พ. ยุพิน เข็มมุกด และคณะ. ประวัติพุทธศาสนาในลานนา ฉบับ ๖๓๕ ปี. เชียงใหม : วัดพระธาตุดอยสุเทพและมูลนิธิพระบรมธาตุดอย สุเทพ, ๒๕๔๙. ระวิวรรณ ภาคพรต. การกัลปนาในลานนา ตั้งแตกลางพุทธศตวรรษที่ ๒๐ – ตนพุทธศตวรรษที่ ๒๒. วิทยานิพนธปริญญาโท บัณฑิต วิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, ๒๕๒๕. ศู น ย วั ฒ นธรรมจั ง หวั ด เชี ย งใหม . ตํ า นานพื้ น เมื อ งเชี ย งใหม ฉบั บ เชียงใหม ๗๐๐ ป. เชียงใหม : โรงพิมพมิ่งเมือง, ๒๕๓๘. สํานักงานเลขาธิการมหาเถรสมาคม ฝายการคณะสงฆ กรมการศาสนา. รายงานผลการดําเนินงานพิธปี ระทานสัญญาบัตร พัดยศ และ ผาไตร ประจําป ๒๕๔๒. กรุงเทพฯ : กรมการศาสนา กระทรวง ศึกษาธิการ, ๒๕๔๓. อรุณรัตน วิเชียรเขียว. รายชื่อวัดและนิกายสงฆโบราณในเชียงใหม. ม.ป.พ., (เอกสารอัดสําเนา).

๒๐๖


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

“ครูบาศรีวิชัย” กับ คตินิยมแบบ “ครูบา” (ใหม) ชวงทศวรรษ ๒๕๓๐-๒๕๕๐ ๓๓

จิรชาติ สันตะยศ อาจารยพิเศษ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม

ในดิ น แดนล า นนา หากพู ด ถึ ง พระภิ ก ษุ ส งฆ ที่ ถู ก กล า วขาน และไดรับความศรัทธาจากพุทธศาสนิกชนมากที่สุดรูปหนึ่งคงไมมีใคร ปฏิเสธนามของ “ครูบาศรีวิชัย” ผูคนจํานวนมากมีความเชื่อวาทานคือ “เจาตนบุญแหงลานนา”” เปนผูที่มาสรางความเจริญรุงเรืองและสืบทอด พระพุทธศาสนาใหคงอยูตราบนานเทานาน คติความเชื่อเรื่อง “ตนบุญ” นั้น โสภา ชานะมูล อธิบายไววา เปนคติความเชื่อที่ถูกนํามาใชตลอดในประวัติศาสตรลานนา แนวคิด ดังกลาวจะถูกหยิบนํามาใชในรูปแบบตางๆ ตั้งแตการใชอางความชอบ ธรรมของสถาบันกษัตริยลานนา จนกระทั่งสามัญชน ที่ใชคําวา “ตนบุญ” เพื่อทําการชวยเหลือชาวบานยามทุกขเข็ญ เผชิญกับสภาวะความไมสงบ ๓๓

๒๕๕๓

บทความนีต้ พี มิ พใน วารสาร “ศิลปวัฒนธรรม” ปที่ ๓๑ ฉบับที่ ๔ เดือนกุมภาพันธ

๒๐๗


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

ของบานเมือง ซึ่งแนวคิด “ตนบุญ” กับปรากฏการณ “ผูมีบุญ” ในสังคม ไทยนัน้ วางอยูบ นพืน้ ฐานอันเดียวกัน ความคิดเรือ่ ง “ตนบุญ” ในลานนานัน้ มีความสัมพันธกบั คําทํานายในพุทธศาสนาเกีย่ วกับความเชือ่ เรือ่ งศาสนา 5,000 ป ซึง่ มักจะปรากฏตามตํานานวัด ตํานานเมืองของลานนาเกือบทุก ฉบับ ซึง่ ในภาวะยุคเข็ญก็มกั จะปรากฏ “ตนบุญ” มาชวยปราบยุคเข็ญ ชวย เหลือประชาชน จะเรียกในชื่อตางๆ กัน เชน “ตนบุญเจา” “ตนวิเศษ” “เจา ตนบุญใหญองคประเสริฐ” หรือพระยาธรรมมิกราช (พญาธรรม) เปนตน ในพัฒนาการทางประวัติศาสตรลานนา จึงพบวามี “ตนบุญ” ปรากฏอยู ๓ ช ว งยุ ค สมั ย คื อ สมั ย ราชวงศ มั ง ราย สมั ย สงคราม (พ.ศ. ๒๑๐๑-๒๓๑๗) และสมัยตระกูลเจาเจ็ดตน พบวาในแตละยุค มีการหยิบเอาภาวะความเปน “ตนบุญ” ขึ้นมาใชในสภาพการณที่ไมปกติ เกิดวิกฤติ เชน ยุคสมัยของการรวบรวมผูคนสรางบานแปลงเมือง หรือ ยุคสมัยสงคราม เปนตน สวนความหมาย “ครูบา” นั้น สังคมลานนาในอดีต สถาบันสงฆ ถือวามีบทบาทอยางสูง พระสงฆจะเปนผูประกอบพิธีกรรมในพระพุทธศาสนาและตามคติความเชื่อของชาวบานควบคูกันไป อีกทั้งพระสงฆ ยังอยูในฐานะใหคําปรึกษาแกชาวบานประชาชน เปนแกนนําทางจิตใจ ของสังคม พระสงฆกับชาวบานจึงมีความสัมพันธใกลชิดกัน นอกจากนั้น พระสงฆยังเปนผูนําทางความคิด ความเชื่อ และพิธีการ จนทายที่สุด กลายเปนผูจัดวางจารีตประเพณีและวัฒนธรรมของชุมชนลานนา ในสั ง คมล า นนาพบว า อดี ต ชาวบ า นมั ก จะยกย อ งศรั ท ธาและ เรียกพระสงฆผูปฏิบัติดีปฏิบัติชอบและมีพรรษาที่สูงวัยวา “ครูบา” ซึ่งเปน ตําแหนงที่ไมเกี่ยวของกับทางการแตประการใด สวนพระสงฆที่มีระดับ พรรษาไมเกิน ๕ พรรษาเรียกวา “ตุหนาน” ทําหนาที่อบรมสั่งสอนให หัดอานเขียนอักษรธรรมลานนา และพระสงฆที่มีพรรษามากกวา ๕ พรรษาขึ้นไป เรียกวา “ตุบาลกา” มีหนาที่อบรมสั่งสอนในวิชาที่ยากขึ้นไป เชน การจารพระธรรมลงใบลาน ทองคําสวด คําเวนทาน หัดเทศนา พระสูตรตางๆ เปนตน สวนเจาอาวาสจะเรียกวา “ตุห ลวง” ในขณะเดียวกัน ๒๐๘


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

เจาอาวาส หรือตุหลวงที่เกง มีความรูความสามารถดานตางๆ อยาง เชี่ ย วชาญ เช น วิ ช าคาถาอาคม วิ ช าโหราศาสตร การรั ก ษาแพทย แผนโบราณ การเทศนมหาชาติกัณฑตางๆ เปนตน ก็มักจะถูกเรียกวา “ครูบา” นําหนาชือ่ ดวยเชนกัน สวนคําวา “ครูบาเจา” นัน้ จะเปนคํายกยอง ในฐานะนักบุญหรือตนบุญ เชน ครูบาเจาศรีวิชัย หรือในอีกความหมาย คื อ ครู บ าที่ เ ป น เจ า ที่ มี เชื้ อ สายทางเจ า นายฝ า ยเหนื อ เช น ครู บ าเจ า เกษม เขมโก เปนตน ในเมื อ งเชี ย งตุ ง คํ า ว า “ครู บ า” ถู ก จั ด ให เ ป น สมณศั ก ดิ์ ต าม ระบบพื้นเมืองของเชียงตุง ซึ่งต่ํากวาชั้นสมเด็จอาชญาธรรมและสูงกวา ชั้นสวามี โดยปกติการถวายสมณศักดิ์ระดับ “ครูบา” จะถวายใหสําหรับ พระเถระที่มีเกียรติคุณ มีอายุตั้งแต ๔๐ ป พรรษา ๒๐ ขึ้นไป (เสมอชัย พูลสุวรรณ ๒๕๕๒ : ๑๕๗) เชน ครูบาแสงหลา วัดพระธาตุสายเมือง ครูบาวัดหัวขวง เจาคณะเมืองยอง เปนตน ประวัติศาสตรนิพนธเรื่อง “ครูบาศรีวิชัย” การเขียนเรื่องราวของ “ครูบาศรีวิชัย” ในอดีตที่ผานมา สวนใหญ มั ก จะมุ ง เน น ไปที่ ก ารศึ ก ษาชี ว ประวั ติ ที่ มี ลํ า ดั บ การเล า ตั้ ง แต เ กิ ด จนมรณภาพไปในแนวทางเดียวกัน คือ การเกิด จนถึงการเขาบวช การถูกตอง อธิกรณอยางไร การพนคดีมาไดดวยความเปนธรรมและความเมตตาของ สมเด็จพระสังฆราชผูเปนหัวหนาคณะสงฆสวนกลาง และการมรณภาพ โดยมีแกนหลักของความศรัทธา อิทธิฤทธิ์ปาฏิหาริยเปนพื้นฐาน เชน เจาสุริยะวงศ วโรรส (๒๔๗๒) สุวัฒน วรดิลก (๒๔๘๑) สงา สุภา (๒๔๙๙ และ ๒๕๑๘) ประเวศ เชมนะศิริ (๒๕๑๒) สงวน โชติสุขรัตน (๒๕๐๖ และ ๒๕๑๕) พระครูบญ ุ ญาภินนั ท (๒๕๒๐) สิงฆะ วรรณสัย (๒๕๒๒) พระดวงดี อินทสโม (๒๕๒๗) เปนตน แตจะมีงานเขียนบางสวนที่มีความแตกตาง ออกไปบาง ซึ่งแลวแตผูเขียนจะหยิบโครงเรื่องอยางไรมาใช ตัวอยางเชน งานของสงา สุภา (๒๔๙๙) มีการเลาชีวประวัตใิ นแบบเดียวกันกับ เลมอื่นๆ แตจุดที่แตกตางอยูตรงที่คํานิยมเขียนโดยพระธรรมราชานุวัตร ๒๐๙


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

ไดกลาวถึงมูลเหตุของความขัดแยงระหวางครูบาศรีวิชัยกับสวนกลาง วาเกิดจากความไมเขาใจกันและความเขาใจผิดกันระหวางชนที่ไมเจริญ กับฝายบริหารซึ่งเปนระบอบใหม ซึ่งถือเปนขอแตกตางของหนังสือเลมนี้ กับหนังสือเลมอื่นๆ ที่ไมไดมีการกลาวเกี่ยวกับเรื่องนี้ไว งานของ สิงฆะ วรรณสัย (๒๕๒๒) เปนการแปลมาจากหนังสือ “คราวประวัติครูบาศรีวิชัย” ที่แตงดวยอักษรลานนา โดยพระภิกษุสุนทร พจนกิจ เนื้อหาชีวประวัติเปนไปในแนวเดียวกันกับงานเขียนคนอื่นๆ มีการเสริมเกี่ยวกับเรื่องอิทธิฤทธิ์ปาฏิหาริย และวัตถุมงคลตางๆ ของ ครูบาศรีวิชัย งานของ ชัชวาลย บุญธรรมสามิสร (๒๕๓๘) หนังสือเลมนีเ้ นนย้าํ ชัดเจนเกี่ยวกับครูบาศศรีวิชัยในฐานะผูมีอิทธิฤทธิ์ปาฏิหาริยและความ ศักดิ์สิทธิ์เสียมากกวา มีการพูดถึงเรื่องวัตถุมงคลตางๆ ของครูบาศรีวิชัย ซึ่งเปนการยืนยันจากคําบอกเลาของผูศรัทธาในการเลาถึงความศักดิ์สิทธิ์ ของวัตถุมงคลของทานทัง้ สิน้ ไมไดเนนเกีย่ วกับชีวประวัตติ า งๆ ของครูบา และบทบาทในการตอตานสวนกลาง อีกหนึง่ ตัวอยางงานของ สนัน่ หมืน่ แกว (๒๕๓๗) นัน้ เปนหนังสือ ที่มีลักษณะที่ตางออกไป คือ เปนหนังสือที่รวบรวมชีวประวัติโดยยอของ พระผูมีชื่อเสียงหลายๆ รูป และครูบาศรีวิชัยก็เปนสวนหนึ่งของเนื้อหา ซึ่งชีวประวัติครูบาศรีวิชัยในหนังสือเลมนี้ เปนลักษณะการเขียนเลาแบบ รวมรับตัดความโดยคราวๆ เทานั้น แตการกลาวถึงครูบาศรีวิชัยในเรื่อง “ความศักดิ์สิทธิ์” ยังคงถูกเนนอยู สวนงานของ นพคุณ ตันติกลุ (ไมปรากฏปทพี่ มิ พ) และ ศิวะ รณชิต (๒๕๑๒) หนังสือทั้งสองเลมนี้เลาชีวประวัติของครูบาศรีวิชัยตั้งแตเกิด จนมรณภาพเชนเดียวกัน แตมีจุดเนนพิเศษเกี่ยวกับการกลาวโทษวา การที่ครูบาศรีวิชัยตองอธิกรณนั้นเปนเพราะถูกกลั่นแกลงเนื่องมาจาก ความอิจฉาริษยาของเจาคณะแขวงลี้ และนายอําเภอลี้ที่ครูบาศรีวิชัย มีผูศรัทธามากกวาตน ซึ่งงานของนพคุณ ตันติกุล จะเปนการกลาวโทษ ที่รุนแรงกวา มีการใชอคติของผูเขียนที่มีความเกลียดชังลงไป เห็นไดจาก ในตอนทายไดมกี ารเพิม่ เติมถึงชีวประวัตกิ ารตายของเจาคณะแขวงลี้ และ ๒๑๐


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

นายอําเภอลีไ้ วในทางลบวา “ไมตายดีกนั สักคนนัน่ ก็เปนเพราะวาเปนกรรม ที่ตามทัน ที่ไดเคยกลั่นแกลงครูบาศรีวิชัยไว” เปนตน นอกจากนัน้ การศึกษาในเชิงวิชาการทีม่ กี ารวิเคราะหและใชทฤษฎี ทางสังคมศาสตรอยางเจาะลึกนัน้ มีเพียงงานของโสภา ชานะมูล (๒๕๓๔) ทีอ่ ธิบายไววา มูลเหตุของการเกิดกรณีครูบาศรีวชิ ยั เปนความขัดแยงทีม่ มี า ยาวนานในวงการคณะสงฆไทย ถือเปนเหตุการณที่โดงดังมากในสมัยนั้น เนือ่ งมาจากความไมสอดคลองกันระหวางสภาพพืน้ ฐานทางสังคมลานนา ในสมั ย นั้ น กั บ ผลของการจั ด การปฏิ รู ป องค ก รสงฆ ข องรั ฐ บาลในสมั ย สมบูรณาญาสิทธิราชย ตามแบบอุดมการณของรัฐสมบูรณาญาสิทธิราชย ที่มีนโยบายในการรวมอํานาจเขาสูศูนยกลาง คณะสงฆลานนาถูกรวม ให อ ยู ภ ายใต ก ารดู แ ลของคณะสงฆ ส ว นกลางด ว ย ทํ า ให ส งฆ ทั้ ง หมด ทัว่ ทุกสารทิศ ตองเขามาอยูภ ายใตกฏเกณฑ แ ละแบบแผนใหมทเี่ ปนสากล เหมือนกันหมด จึงนํามาซึ่งปญหา กลาวคือ นโยบาย และกฏเกณฑ แบบใหมที่จัดตั้งขึ้นนี้ ไปกระทบ และขัดตอจารีตเดิมที่ผูกพันอยูกับวิถี ชีวิตของคนในสังคมลานนา รัฐไดเขาไปจัดการทําใหความสัมพันธใกลชิด ระหวางพุทธศาสนากับชาวบานแปรเปลี่ยนไปในอีกรูปแบบหนึ่ง การทีค่ นลานนาศรัทธา “ครูบาศรีวชิ ยั ” ในฐานะ “ตนบุญ” นัน้ เปน ตัวอยางที่เห็นไดชัดเจนวาคนในสังคมลานนายังคงมีแนวคิด มีสภาพ พื้นฐานทางสังคมที่ผูกพันกับจารีตอยางเหนียวแนนอยู ดังนั้นเมื่อเกิด การเปลีย่ นแปลงมีสงิ่ ใหมเขามาแทรก ยอมเปนการยากตอการปรับตัวของ ชาวบานที่จะรับเอาแนวทางแบบใหมมาใช ตรงนี้จึงอาจเปนสาเหตุของ ความขัดแยงที่เกิดขึ้นในกรณีศึกษาครูบาศรีวิชัยของโสภา ชานะมูล ขณะเดี ย วกั น การศึ ก ษานี้ ได มี ก ารอธิ บ ายเรื่ อ ง “ความ ศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ ” ของครู บ าศรี วิ ชั ย โดยใช ค ติ ค วามเชื่ อ เรื่ อ ง “ตนบุ ญ ” มา ศึกษาวิเคราะห งานศึกษาของโสภา ชานะมูล จึงเปนอีกหนึ่งคําอธิบายี เกีย่ วกับครูบาศรีวชิ ยั ผานความคิดความเชือ่ เรือ่ ง “ตนบุญ” ทีก่ ลายเปนคติ ความเชือ่ และศูนยกลางของการยึดมัน่ ในคานิยมดัง้ เดิม และกลายเปนสิง่ ทีส่ ามารถรวมกลุม ชนชัน้ กลางใหม เชน พอคา ขาราชการ นักการเมือง ให เขามามีสวนรวมในรูปแบบของการอุปถัมภครูบาศรีวิชัย ๒๑๑


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

สุดทายงานเขียนของ วิลักษณ ศรีปาซาง (๒๕๔๕) แมวาจะไมได เนนไปที่ประวัติของ ครูบาศรีวิชัย แตก็ไดนําเอาเรื่องเลาในอดีตที่เกี่ยวกับ ทานมาเขียนเปนตอนๆ รวมทัง้ นําเอาเกร็ดตางๆ มาเขียนไวอยางนาสนใจ เชน คําไหวครูบาศรีวิชัย พระเครื่องครูบา เครื่องรางตางๆ ที่เกี่ยวกับทาน เปนตน ตัวอยางงานเขียนตางๆ และการศึกษาขางตนพอจะชี้ใหเห็น วาชีวประวัติของ “ครูบาศรีวิชัย” นั้นไดรับการผลิตซ้ํามาอยางตอเนื่อง และมากมาย แมกระทั่งในปจจุบันประวัติครูบาศรีวิชัยก็ยังคงถูกจัดพิมพ เผยแพรในโอกาสตางๆ อยูเสมอ หากแตจะแตกตางกันก็ตรงที่มีการ เลือกใชโครงเรือ่ งอยางไร ในบริบทไหน อีกทัง้ การใหความรูส กึ ทองถิน่ นิยม หรืออคติสวนตัวของผูเขียน ดังนั้นการอานชีวประวัติของครูบาศรีวิชัย จึงจําเปนตองพยายามวิเคราะหมองจุดประสงคของผูแ ตง วาผูเ ขียนคนนัน้ ไดแฝงนัยอะไรไวในประวัตคิ รูบาศรีวชิ ยั หรือไม ตัวอยางเชน การแสดงใหเห็น ถึงขอสรุปของความขัดแยงที่ตางสรุปมาวาเกิดจากปญหาการเขาใจผิดกัน ไมวากรณีระหวางครูบาศรีวิชัยกับรัฐบาลกลาง หรือครูบาศรีวิชัยกับ เจาคณะแขวงลี้และนายอําเภอลี้ก็ตาม ซึ่งการสรุปเรื่องราววาเปนการ เขาใจผิดนั้น ไดแสดงใหเห็นถึงการประนีประนอมของรัฐที่ตองการยุติ ปญหา การไมตัดสินวาใครถูกใครผิดดูเหมือนจะเปนวิธีที่ดีที่สุดของรัฐ ซึ่งในทายที่สุดก็จะทําใหประวัติศาสตร “ชาติ” กับประวัติศาสตรของ ครูบาศรีวิชัย ไปดวยไดกันอยางสอดคลองมากที่สุด

๒๑๒


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

ประวัติ “ครูบาศรีวิชัย” จากประวัติศาสตรนิพนธฯ ในหวงบริบทแหงการจัดการปฏิรูปการปกครองมณฑลพายัพ (พ.ศ.๒๔๓๖ - ๒๔๗๖) นั้น หัวเมืองลานนาไดถูกยก และจัดระบบการ ปกครองแบบมณฑล ซึง่ ผลของการเปลีย่ นแปลงครัง้ นัน้ ทําใหเกิดปฏิกริ ยิ า ตอตานโดยทั่วไป เชน การเกิดกบฏพระยาปราบสงคราม (พ.ศ. ๒๔๓๒) การเกิดกบฏเงีย้ วเมืองแพร (พ.ศ.๒๔๔๕) เปนตน สถานการณทงั้ หมดนัน้ จึง เปนสภาพการณของหัวเมืองลานนาในชวงเวลาทีค่ รูบาศรีวชิ ยั เติบโตขึน้ มา งานเขียนทีเ่ กีย่ วกับครูบาศรีวชิ ยั หลายๆ ฉบับกลาวตรงกันวา “... ครูบาศรีวิชัยเกิดที่บานปาง ต.แมตืน อ.ลี้ จ.ลําพูน ในวันที่ ๑๑ มิถุนายน พ.ศ. ๒๔๒๑ หรือ จ.ศ. ๑๒๔๐ วันอังคาร เดือนเกา (เหนือ)...” (สิงฆะ วรรณสัย : ๒๕๒๒) ซึ่งบานปาง ตําบลแมตืนนั้น ถือวาเปนเขตชนกลุมนอยอาศัยอยู เชน ปกาเกอญอ (กะเหรีย่ ง) ทีอ่ ยูอ าศัยเปนจํานวนมาก (ซึง่ ภายหลังกลุม คน กะเหรี่ยงนี้ไดมีความสัมพันธกับครูบาศรีวิชัยในฐานะผูติดตามคอยชวย เหลือเคารพนับถือโดยตลอด) จนมีเรื่องเลาในประวัติของทานวา ทานมี เชื้อสายเปนพวกยาง (โสภา ชานะมูล : ๒๕๓๔) ตามประวัตินั้นกลาววา บิดาของทานชื่อนายควาย ไดติดตาม ผูเปนตาเขาไปตั้งถิ่นฐานที่บานปาง บุกเบิกจับจองที่นาเพื่อเปนที่ทํา กิน จนกระทั่งนายควายไดแตงงานอยูกินกับนางอุสา จนกระทั่งมีกําเนิด บุตรชาย-หญิง จํานวน ๕ คน ซึ่งครูบาศรีวิชัยเปนบุตรคนที่ ๓ แตแรกเกิด ครูบาศรีวิชัยมีชื่อวา เฟอน หรืออินทรเฟอน หรืออินตะเฟอน งานเขียน หลายฉบับกลาววา เมื่อแรกเกิดนั้นมีเหตุการณฟารอง ฟาผา แผนดินไหว เกิดขึน้ จึงมีความเห็นตรงกันวา “ทารกผูน จี้ ะตองเปนผูม วี าสนา บุญญาบารมี มากมาถือกําเนิด” เมื่อเติบโตได ๑๘ ป ในพ.ศ. ๒๔๓๘ จึงไดบวชเปน สามเณร มีพระอุปชฌายคือครูบาขัตติยะ หรือครูบาแคงแคระ เปนพระ ธุดงคที่เดินทางมาถึงบานปางไดทําการบวชให หลั ง การบวชสามเณรแล ว ให ท า นได มี โ อกาสได รั บ การศึ ก ษา จากวัด ในการหัดอานเขียนอักษรธรรมลานนา จนกระทั่งครบอายุที่จะ อุปสมบทจึงทําการอุปสมบทโดยครูบาสมณะ วัดบานโฮงหลวง อําเภอ ๒๑๓


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

บานโฮง จังหวัดลําพูน เปนพระอุปช ฌาย และไดรบั ฉายาวา “สิรวิ ชิ โยภิกขุ” หรือ “พระสีวไิ ชย” ทําการศึกษาเลาเรียนกับครูบาขัตติยะตามจารีตประเพณี ซึ่งทานมีความสนใจในทางวิชาไสยศาสตร คาถาอาคม ซึ่งถือกันวาเปน ทางโลก ดังทีง่ านเขียนประวัตหิ ลายๆ เลมไดกลาวไว “...พระศรีวชิ ยั ศึกษา ไสยศาสตรเวทมนตคาถาจากครูบาแคงแคระ...เปนของดีของวิเศษที่จะ นําความสุขความเจริญมาให อันวิชาประเภทนี้เปนวิชาที่จะนําตัวออกไป สูโลก...” (โสภา ชานะมูล ๒๕๓๔ : ๒๗) ขณะเดียวกันทานไดรับการสัก หมึกดําที่ขาทั้ง ๒ ขางตามลักษณะความเชื่อของชายชาวลานนาที่จะ ชวยใหอยูยงคงกระพัน และมีเสนหเมตตามหานิยม การเลาเรียนของพระศรีวิชัยที่มุงเนนความสนใจในวิชาทางโลก แสดงใหเห็นวาทานมีความตองการไปใชชีวิตอยางฆราวาส แตจุดหักเหที่ เปลี่ยนแปลงสําคัญคือครูบาสมณะไมตองการใหลาสิกขาแตไดแนะนําให พระศรีวิชัยเดินทางไปศึกษาวิชากับครูบาอุปละ วัดดอยแต อําเภอแมทา จั ง หวั ด ลํ า พู น ซึ่ ง เป น พระอุ ป ช ฌาย ข องครู บ าสมณะ ด ว ยเหตุ ผ ลว า สํานักสงฆวัดดอยแตในขณะนั้นเปนสถานที่ที่มีชื่อเสียงดานวิปสสนาธุระ การไดรับการศึกษาจากสํานักวัดดอยแตครั้งนั้นจึงทําใหทานไดเพิ่มเติม ความรู โ ดยการมุ ง เน น การปฏิ บั ติ ธ รรมโดยการบํ า เพ็ ญ สมาธิ ภ าวนา จนทําใหพระศรีวิชัยเลิกสนใจในวิชาไสยศาสตร และหันมาปฏิบัติสมาธิ บําเพ็ญภาวนาแตอยางเดียว เมื่อสําเร็จผลการศึกษาตามแนววัตรปฏิบัติจากครูบาอุปละแลว พระศรีวิชัยไดเดินทางกลับบานปางดวยความสมถะ และเริ่มบําเพ็ญ เพียรภาวนาตามแนวทางที่ไดร่ําเรียนมา ทําใหเกิดบุคลิกนาเลื่อมใสขึ้น แกทาน ซึ่งบางครั้งไดมีการออกเดินธุดงคแสวงหาความวิเวกตามปาเขา ตามลักษณะจารีตแบบพระสงฆสายอรัญญวาสี สิ่งที่ชวยเสริมใหทาน โดดเดนขึ้นมาเหนือกวาพระสงฆรูปอื่นๆ ในขณะนั้น คือ ประการแรก จริยวัตรทีเ่ ครงครัดในการรักษาศีลวินยั ละเวนจากการฉันเนือ้ สัตว ประการ ที่ ส อง การคาดหวั ง ในการบรรลุ ธ รรมอั น วิ เ ศษดั ง ที่ ป รากฏให เ ห็ น ใน คําอธิษฐานบารมีที่ไดอธิษฐานไวที่มีนัยถึงการสําเร็จเปนพระพุทธเจา ดวย ประการที่สาม คําทํานายเรื่องของการปรากฏขึ้นของ “ตนบุญ”ในคติ ๒๑๔


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

ความเชื่อของชาวลานนา ไดถูกนํามาใชกับพระศรีวิชัย และกลุมลูกศิษย ประการสุดทาย ความคิดเรื่องการเดินทางไปบูรณปฏิสังขรณศาสนสถาน ต า งๆ ของท า นจึ ง ทํ า ให เ กิ ด ศรั ท ธาการยอมรั บ ในตั ว ของท า นที่ เ ป น สัญลักษณของการแสดงออกของ “ตนบุญ” (โสภา ชานะมูล ๒๕๓๔ : ๓๒-๓๙) ความสัมพันธระหวางพระศรีวชิ ยั กับชาวกะเหรีย่ งถือเปนบทบาทที่ สําคัญของทานอีกประการหนึง่ โสภา ชานะมูล ไดวเิ คราะหวา ความสัมพันธ ดังกลาวเกิดจากเหตุผลประการแรกคือ ชาวกะเหรี่ยงมีความเชื่อถือใน เรื่องพระศรีอาริย ประการที่สอง บุคลิกลักษณะของพระศรีวิชัย มีความ สอดคลองกับความเชื่อของชนเผากะเหรี่ยงแมวาจะไมปรากฏหลักฐาน ในทางตรงที่กลาวถึงคําสอนหรือวัตรปฏิบัติของพระศรีวิชัย แตสิ่งเหลา นั้นไดถายทอดมาถึงลูกศิษยของทานคือพระอภิชัยขาวป หรือครูบาขาวป ทีไ่ ดกลายเปนผูน าํ คนสําคัญของชาวกะเหรีย่ งเผาโปวและสกอร การยกยอง ศรัทธาของชาวกะเหรีย่ งตอพระศรีวชิ ยั นีม้ คี วามเชือ่ วาเปนผูว เิ ศษมีอาํ นาจ เหนือธรรมชาติ ตลอดจนชวยเหลือพวกเขาในยามประสบปญหาเดือดรอน เชน ภาวะที่เกิดฝนแลง เมื่อพวกเขายอมรับนับถือพระศรีวิชัย ก็ทําใหการ ทํามาหากินอุดมสมบูรณ ฝนตกตองตามฤดูกาล เปนตน ดังนั้นการนับถือ พระศรีวชิ ยั ของกลุม ชาวเขานี้ จึงทําใหคนชาวพืน้ เมืองจากทีอ่ นื่ ๆ ไดหนั มา สนใจยอมรับบารมีของทานมากขึน้ ทําใหฐานะของทานมีพลังมากขึน้ จาก “ตนวิเศษ” ของชาวเขา มาเปน “ตนบุญ” ในที่สุด ซึ่งในสายตาของกลุม กะเหรี่ยงนั้นสถานะของพระศรีวิชัยเปรียบดั่งเทวดาองคหนึ่ง เห็นไดจาก ขบวนติดตามทานในการไปบูรณปฏิสังขรณตามที่ตางๆ ขณะเดียวกัน เมือ่ ไปถึงหมูบ า นใดทานก็จะไดรบั การตอนรับจากชาวบานในหมูบ า นนัน้ ๆ ซึ่งลักษณะที่ทานไดรับการยกยองอยางมากมายนี้ทั้งจากชาวเขา และ ชาวพื้นเมือง ทําใหฐานะและการปฏิบัติของพระศรีวิชัยเปนที่จับตามอง จากฝายผูปกครองสงฆ องคกรใหมที่เกิดขึ้นจากการปฏิรูปองคกรสงฆ พ.ศ. ๒๔๔๖ จากการทีพ่ ระศรีวชิ ยั ไดศกึ ษาในสํานักสงฆทมี่ ชี อื่ เสียงหลายสํานัก โดยเฉพาะสํานักสงฆสายอรัญวาสี ซึ่งมีสวนทําใหทานมีบุคลิกลักษณะ ๒๑๕


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

เปนที่นาเลื่อมใสศรัทธาของพระสงฆและฆราวาส จนทําใหทานมีฐานะ เปนพระอุปชฌายสามารถบวชบุตรชาวบานไดตามจารีตเดิม และไดถูก เรียกขานวา “ครูบาศรีวิชัย” หรือ “ครูบาศีลธรรม” ตั้งแตนั้นมา จากงานเขียนประวัติหลายๆเลมไดกลาวถึงกิจกรรมสําคัญที่ ครูบาศรีวิชัยไดปฏิบัติคือการไปบูรณปฏิสังขรณศาสนสถานไวหลายๆ แห ง ตั้ ง แต ป พ.ศ. ๒๔๔๗-๒๔๗๘ เป น ช ว งระยะเวลาถึ ง ๓๐ ป และก็ถือวาเปนหวงเวลาที่ทานเกิดกรณีขัดแยงกับคณะผูปกครองสงฆมา โดยตลอด แตการขัดแยงแตละครั้ง ก็ยิ่งทําใหชื่อเสียงของครูบาศรีวิชัย เปนที่รูจักในวงกวางเพิ่มขึ้นอีก การบูรณปฏิสังขรณครั้งแรกของทานเริ่ม ในป พ.ศ. ๒๔๔๗ โดยการสรางวัดบานปางใหม เมื่อแลวเสร็จจึงใหชื่อวา “วัดสะหรี (ศรี) ดอนไชยทรายมูลบุญเรือง” การสรางวัดขึ้นใหมนี้จึงชวย เพิม่ ความศรัทธาของชาวบานทีม่ ตี อ ทานมากยิง่ ขึน้ ไปอีก ขณะเดียวกันการ ทํานายเรือ่ งการสรางวัดของทานไวลว งหนาก็ทาํ ใหชาวบานตางตองการให ลูกหลานมาบวชเรียนกับทานเปนจํานวนมาก แตสิ่งที่ทานปฏิบัติก็เริ่มถูก เพงเล็ง และถูกกลาวหาวาฝาฝนบัญญัตใิ นขอกฎหมายสงฆอยูห ลายๆ ครัง้ ซึ่งพบวางานสรางและงานบูรณปฏิสังขรณศาสนสถานของครูบาศรีวิชัย ชวงระหวาง พ.ศ. ๒๔๖๓-๒๔๗๘ มีจํานวนทั้งสิ้น ๕๘ รายการ (โสภา ชานะมูล ๒๕๓๔ : ๙๑-๙๓) (งานเขียนบางฉบับกลาววามีถึง ๑๐๘ แหง) แตเมื่อพิจารณาลักษณะสถาปตยกรรมที่ครูบาศรีวิชัยเปนผูนําในการ บูรณปฏิสังขรณนั้น โดยสวนใหญจะพบวารูปแบบของสถาปตยกรรม เหลานัน้ ลวนเปนลักษณะศิลปกรรมตามแบบกรุงเทพฯ ทัง้ สิน้ จึงมองไดวา แมวา ทานเองจะเกิดกรณีขดั แยงกับสวนกลางและถูกมองวาตอตานก็ตาม แตทา นก็ยงั พยายามทีจ่ ะประนีประนอมกับรัฐบาลกรุงเทพฯ โดยการเลือก ใชรปู แบบศิลปกรรมอยางกรุงเทพฯ แทนแบบดัง้ เดิม เพือ่ ลดการเผชิญหนา กับการขยายอํานาจทางการเมืองการปกครอง และการครอบงําทางวัฒน ธรรมอื่นๆ ที่ตางไปจากเดิม การดําเนินกิจกรรมบูรณปฏิสังขรณของครูบาศรีวิชัยนั้น ทําให ทานกลายเปนศูนยกลางการยึดมั่นของผูคนชาวบานจากหลากหลายที่ สามารถรวมกลุม คนชัน้ ตางๆ เชน เจานายฝายเหนือ กลุม พอคา ขาราชการ ๒๑๖


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

นักการเมืองใหเขามารวมในกิจกรรมของทานในรูปแบบของผูอุปถัมภได ดังเชน การบูรณะวัดสวนดอก ไดรับการอุปถัมภจากเถาแกโหงว เจาของ กิ จ การวั ส ดุ ก อ สร า ง, การบู ร ณะวั ด พระสิ ง ห พ.ศ. ๒๔๖๗-๒๔๗๑ หลวงอนุสารสุนทร (ซุนฮี้ ซัวยงเส็ง) รวมเปนผูอุปถัมภ ซึ่งการบูรณะ ทั้ง ๒ วัดนี้ ก็ไดรับการรองขอจากเจานายฝายเหนือคือเจาแกวนวรัฐ และ พระราชชายาเจาดารารัศมี ใหทา นมาเปนประธานในการบูรณะ การบูรณะ วัดพระพุทธบาทตากผา ก็ไดรวมกับหลวงวิโรจนรัฐกิจ นายอําเภอปาซาง ซึ่งเปนขาราชการ เปนตน การดําเนินกิจกรรมของครูบาศรีวชิ ยั ไดเปลีย่ นแปลงไปในชวงทาย ชีวิตของทาน จากเดิมที่เคยมุงมั่นบูรณะวัดวาอาราม ไดปรับเปลี่ยนมา ดําเนินกิจกรรมทีเ่ กีย่ วของกับทางโลกมากขึน้ เชน การสรางถนน การสราง สะพาน ซึง่ ถือวาเปนการปรับเปลีย่ นไปตามสภาพภาวะของเศรษฐกิจ และ สังคมในยุคนั้น แตในขณะเดียวกันก็ยังถือวาเปนภารกิจของ “ตนบุญ” อยูที่จะตองชวยเหลือผูคนมุงสะสมบุญไวภายหนา ชวยเหลือใหชีวิต ความเปนอยูของชาวบานดีขึ้น ซึ่งกิจกรรมที่ทําใหทานมีชื่อเสียงเปนที่ กล า วขานกั น โดยทั่ ว ไป และเพิ่ ม กํ า ลั ง ศรั ท ธาให แ ก ท า นมากที่ สุ ด คื อ การรับเปนประธานในการกอสรางทางขึ้นวัดพระธาตุดอยสุเทพ ในป พ.ศ. ๒๔๗๗ ซึง่ เมือ่ ประชาชนทราบขาวจึงเดินทางมารวมกิจกรรมดังกลาว อยางมากมาย มีทั้งพระสงฆ ชาวบาน ชาวเขา (กะเหรี่ยง) พบวามีการ ออกใบปลิว และแตง “คราวประวัตคิ รูบาศรีวชิ ยั ” ออกเผยแพรเพือ่ สือ่ สาร แกชาวบานใหมารวมในกิจกรรมครั้งนี้อีกดวย ซึ่งใชเวลากอสรางเพียง ๕ เดือน ๒๒ วัน ระยะทาง ๑๒ กิโลเมตร ดังนั้นชื่อเสียงของครูบาศรีวิชัย จึงไดเปนที่รูจักแพรหลายมากขึ้นไปอีกกวาเดิม

๒๑๗


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

ครูบาศรีวิชัยกับความขัดแยง ดังทีก่ ลาวแลววาหวงเวลาแหงความขัดแยงของครูบาศรีวชิ ยั นัน้ ตัง้ อยูบ นชวงเวลาแหงความรุง เรืองของทาน ในป พ.ศ. ๒๔๔๖ มีการตราพระ ราชบัญญัติปกครองคณะสงฆ ร.ศ. ๑๒๑ ขึ้น และนับตั้งแต พ.ศ. ๒๔๕๐ เปนตนมาสถาบันสงฆลานนาไดถูกปรับเปลี่ยนโครงสราง สงฆบางกลุม ถู ก ดึ ง เข า ไปอยู ภ ายใต ก ารอุ ป ถั ม ภ จ ากองค ก รปกครองสงฆ ส ว นกลาง โดยการไดรบั ตําแหนง และสมณศักดิใ์ นฐานะผูป กครองสงฆทอ งถิน่ มีหนาที่ คอยดูแลควบคุมคณะสงฆทอ งถิน่ ซึง่ ผลจากการปฏิรปู ครัง้ นัน้ ทําใหองคกร สงฆลา นนาเริม่ ถูกสลายตัวลงเรือ่ ยๆ โดยการจัดระเบียบการปกครองสงฆ ใหมนี้ พบวามีการตอบสนองจากคณะสงฆลา นนาซึง่ แบงออกเปน ๓ กลุม คือ กลุมแรก เปนกลุมที่ยอมรับอํานาจของคณะสงฆกรุงเทพฯ อยางเต็ม รูปแบบสวนใหญคอื พระสงฆทไี่ ดรบั การแตงตัง้ ใหทาํ หนาทีเ่ ปนผูป กครอง สงฆทองถิ่น เชน เจาคณะจังหวัด เจาคณะอําเภอ เจาคณะแขวง เปนตน กลุมที่สอง คือกลุมที่มีลักษณะประนีประนอมกับกรุงเทพฯ กลุมนี้จะมี จํานวนมากทั้งที่ไดรับแตงตั้งจากสวนกลาง และไมไดรับแตงตั้ง แตไมไดมี ปฏิกริ ยิ าตอตานหรือคัดคานแตอยางใด เชนครูบาวัดฝายหินทีร่ บั ตําแหนง เจ า คณะจั ง หวั ด เชี ย งใหม แต ก็ ยั ง ร ว มปฏิ บั ติ กิ จ กรรมบู ร ณปฏิ สั ง ขรณ กับครูบาศรีวชิ ยั กลุม ทีส่ าม คือกลุม ตอตานกรุงเทพฯ สงฆกลุม นีไ้ มยนิ ยอม ปฏิบัติตามระเบียบกฏเกณฑของสวนกลาง เชนครูบาตา (พระธนันชัย) ถูกอธิกรณขอหากระดางกระเดื่องไมยอมอยูในระเบียบปกครองสงฆ ทําใหสงฆวัดตางๆ พลอยเห็นชอบไปดวย ยากตอการจัดระเบียบ เปนตน (โสภา ชานะมูล ๒๕๓๔ : ๗๖-๗๘) ในกรณีของครูบาศรีวชิ ยั นัน้ เรือ่ งแรกทีม่ ผี ลกระทบกับครูบาศรีวชิ ยั คือ เรื่องการเปนพระอุปชฌายของทาน เพราะวาคณะสงฆสวนกลาง ไดกลาวถึงระเบียบประกาศการตั้งอุปชฌายวาเปนหนาที่ของเจาคณะ จะเปนผูเลือกแลวจึงมีการเสนอชื่อไปที่คณะสงฆผูใหญฝายกรุงเทพฯ จึงทําใหครูบาศรีวิชัยถูกเรียกสอบสวน ในกรณีที่ทานเปนอุปชฌายบวช บุตรหลานชาวบานโดยไมไดรบั การแตงตัง้ จึงเปนสาเหตุทที่ าํ ใหเกิดปญหา ๒๑๘


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

ตางๆ แกทานในเวลาตอมา การถูกอธิกรณของครูบาศรีวิชัย ชวงแรกเกิดขึ้นใน พ.ศ. ๒๔๕๓ เนื่องจากบทบาทของทานในกลุมชาวบานและชาวเขา มีความโดดเดน มากกวาตําแหนงผูปกครองสงฆในขณะนั้น จึงมักจะมีกลุมชาวบานนํา บุตรหลานมาบวชกับทานอยูเ สมอๆ เหตุดงั กลาวจึงทําใหทา นถูกจับกุมตัว ไปกักขังไวที่วัดเจาคณะแขวงลี้เปนเวลา ๔ คืน และสงไปรับการไตสวน จากพระครู บ า นยู เจ า คณะจั ง หวั ด ลํ า พู น ซึ่ ง ผลของการไต ส วนก็ ไมปรากฏความผิดแตอยางใด หลังจากนัน้ ไมนานทานก็ถกู เรียกตัวสอบสวน อี ก ครั้ ง โดยเจ า คณะแขวงลี้ สาเหตุ เ พราะมี ห มายเรี ย กให ท า นมารั บ ระเบียบกฎหมายใหมจากนายอําเภอ และเจาคณะแขวงลี้ แตทานไมได ไปจึงถูกจับกุมใหพระครูญาณมงคล เจาคณะจังหวัดลําพูนไตสวนและ ถูกกักขังอยูที่วัดชัย เมืองลําพูนเปนเวลา ๒๓ วัน ก็ไดรับการปลอยตัว ครั้งที่สามในปเดียวกันนั้น สาเหตุเกิดจากเจาคณะแขวงลี้มีคําสั่งใหทาน นําลูกวัด เจาอธิการหัววัด ตําบลบานปาง ซึ่งอยูในหมวดเดียวกันไป ประชุมตามพระราชบัญญัติ ปรากฏวาทานก็ไมไดเขาประชุมอีก บรรดา หัววัดก็ไมไปเชนกัน จึงถูกฟองไปทีเ่ จาคณะจังหวัดลําพูน ทําใหทา นตองถูก จับคุมขังที่วัดพระธาตุหริภุญชัย จนกระทั่งเจาคณะจังหวัดประชุมกับ พระสงฆผูใหญในจังหวัด จึงไดตัดสินใหครูบาศรีวิชัยพนจากตําแหนง หัวหมวดวัด ไมใหเปนพระอุปชฌายและถูกคุมขังตออีกเปนเวลา ๑ ป จึงไดรบั การปลอยตัว การถูกอธิกรณของทานในชวงแรกตัง้ แต พ.ศ. ๒๔๕๓ เปนตนมานัน้ สาเหตุหลักๆ เกิดขึน้ เพราะความไมพอใจของคณะผูป กครอง สงฆทองถิ่นที่เห็นวาครูบาศรีวิชัยกระดางกระเดื่องแข็งขอไมปฏิบัติตาม คําสั่งของเจาคณะแขวง อีกทั้งไมไดสนใจตอพระราชบัญญัติกฎหมาย ปกครองสงฆฉบับใหม การถู ก อธิ ก รณ ข องครู บ าศรี วิ ชั ย ทั้ ง ที่ ผ า นมายิ่ ง ทํ า ให ท า น ไดรับความเลื่อมใสศรัทธาจากประชาชนมากขึ้นตามลําดับ มีการกลาวถึง เรื่องราวของทานแพรขยายตอในวงกวาง อีกทั้งการกลาวขานถึงทาน ในเรื่องอิทธิฤทธิ์ปาฏิหาริยก็เกิดขึ้นในกลุมผูคนและชาวบานตอๆ กันไป เชน ทานเปนผูวิเศษเดินตากฝนไมเปยก ทานไดรับดาบสะหรีกัญไชย ๒๑๙


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

จากพระอิน ทร เปนต น ยิ่ง ทําใหชาวบานรอบนอกที่หางไกลออกไป ตองการพบ และศรัทธาในตัวครูบาศรีวิชัยอยางไมหยุดยั้ง กรณีดังกลาวนี้ กลายเป น สาเหตุ ใ ห เ จ า คณะแขวงลี้ แ ละนายอํ า เภอแขวงลี้ แ จ ง ต อ พระครูญาณมงคล เจาคณะจังหวัดลําพูน แจงขอกลาวหาวาทานสองสุม ผูค นชาวบานนักบวชเปนกกเปนเหลามีการใชเวทมนต ทําใหเจาคณะจังหวัด มีหนังสือถึงครูบาศรีวิชัยใหทานออกไปใหพนจากเขตเมืองลําพูนภายใน ระยะเวลา ๑๕ วัน ในเดือนมกราคม พ.ศ. ๒๔๖๒ และมีหนังสืออีก ฉบับแจงไปยังหัววัดเจาอธิการหัวหมวดอุปชฌายที่อยูในเขตลําพูนวา ครูบาศรีวิชัยมีความผิดและไดถูกขับออกไปจากจังหวัดลําพูน หากมีการ ไปขอความชวยเหลือจากวัดใดขออยาใหความชวยเหลือเปนอันขาด แต ก รณี นี้ ท า นได อ า งพระวิ นั ย พุ ท ธบั ญ ญั ติ ว า ได ก ระทํ า ผิ ด พุ ท ธวิ นั ย ขอใดบาง ทําใหเจาคณะแขวงไมอาจเอาผิดกับทานได เรื่องนี้จึงไดเลิกรา กันไป จนกระทั่งเมื่อครั้งเจาผูครองนครลําพูนไดเรียกใหครูบาศรีวิชัย เขาไปในเมืองลําพูน ไดมีการจัดขบวนแหทานอยางใหญโตมีผูคนติดตาม เปนจํานวนมาก จนทําใหคณะสงฆผูปกครองลําพูนตองขอใหอุปราช มณฑลพายัพสั่งยายทานไปยังเมืองเชียงใหม ใหอยูในความดูแลของ พระครูสุคันธศีล รองเจาคณะเมืองเชียงใหม วัดปากลวย ในครั้งนั้นทําให ทานมีโยมมาขออุปฏฐาก ๒ ทานคือ หลวงอนุสารสุนทร และพญาดํา บานประตูทาแพ และี้ก็ทําใหผูคนในเชียงใหม และใกลเคียงตางพากันมา นมัสการทานเปนจํานวนมากแทบทุกวัน จึงทําใหเจาคณะเมืองเชียงใหม และเจาคณะมณฑลพายัพดําเนินการสงทานไปรับการไตสวนพิจารณา คดีที่กรุงเทพฯ ซึ่งการตั้งขอหาไว ๘ ขอหา คือ ๑. ตั้งตัวเปนอุปชฌายะ ไม มี ใ บอนุ ญ าต ๒. ไม อ ยู ใ นความบั ง คั บ บั ญ ชาของเจ า คณะแขวงลี้ ๓. ไมไปประชุมสงฆทองที่อําเภอลี้เรื่องระเบียบการสงฆ ๔. ไมปฏิบัติ ตามประกาศราชการเรื่อง ตีฆองกลองในการพระราชพิธีบรมราชาภิเษก ๕. วั ด ทั้ ง หลายมี ก ารประพฤติ ขั ด ขื น ต อ การปกครองสงฆ เ อาอย า ง ครูบาศรีวชิ ยั แตเจาคณะจังหวัดไดวา กลาวตักเตือนทานแลวแตยงั ประพฤติ เชนเดิมอีก ๖. ไมยอมใหเจาหนาที่ฝายอาณาจักรสํารวจสํามะโนครัว ๗. เจาคณะแขวงลี้นัดประชุมอธิการวัดในแขวงตน แตเจาอธิการทั้งหลาย ๒๒๐


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

ไมไดมาประชุม เพราะเอาแบบอยางครูบาศรีวชิ ยั ๘. ครูบาศรีวชิ ยั เปนเหตุ ใหเกิดมีขาวลือวาทานมีบุญ เชน มีดาบฝกทองคําตกลงมาจากอากาศ แลวทานเก็บรักษาไว ซึ่งขอกลาวหาทั้งหมดนี้ผลการตัดสินรับพิจารณา เฉพาะเรือ่ งฝายพุทธจักรอยางเดียว และมีขอ วินจิ ฉัยจากสมเด็จพระมหาสมณเจากรมพระยาวชิรญาณวโรรสวา ทานมีความรูทางพระศาสนานอย ทางวินัยก็รูเพียงปาราชิก อีกทั้งการแจงขอหา และจับกุมทานนั้นทําให คนทั้งหลายเห็นวาเปนการขมเหงครูบาศรีวิชัย ใหทานจึงถูกปลอยตัว กลับภูมิลําเนาเดิม ซึ่งเปนการลดความไมพอใจของประชาชนเปนอัน มาก ซึ่งการถูกอธิกรณในครั้งที่ ๒ นี้ยิ่งทําใหบทบาทของทานโดดเดนยิ่ง ขึ้น เปนที่รูจักแพรหลายของผูคนในกลุมสังคมเมือง และทําใหขบวนการ ฟ น ฟู ท างศาสนาของท า นได เริ่ ม ดํ า เนิ น ขึ้ น ไปทั่ ว ในเขตล า นนา ทํ า ให ครูบาศรีวชิ ยั กลายเปนสัญลักษณของความยิง่ ใหญ อํานาจรัฐก็ไมสามารถ ทําอะไรได ทําใหทานสามารถดําเนินกิจกรรมดานศาสนาไดอยางเต็มที่ จนกระทั่งเปลี่ยนแปลงการปกครองพ.ศ. ๒๔๗๕ ในชวงปลายชีวิตของครูบาศรีวิชัยหลังเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ.๒๔๗๕ นั้ น พบว า ได เ กิ ด เหตุ ค วามไม พ อใจของกลุ ม คณะสงฆ ผูปกครองเชียงใหมขณะนั้นอีกครั้ง ในกรณีที่ทานดําเนินการสรางถนนขึ้น พระธาตุดอยสุเทพเพียงลําพัง ไมไดปรึกษาพระสงฆชั้นผูใหญในฝาย ปกครองแตอยางใด และในเวลานั้นปรากฏวามีคณะสงฆในเชียงใหมกวา ๕๐ วัด ลาออกจากการปกครองของคณะสงฆไปขึ้นกับครูบาศรีวิชัยแทน จึงทําใหเกิดความไมพอใจตอพฤติกรรมของครูบาศรีวิชัยรุนแรงมากขึ้น ทํ า ให ค ณะสงฆ ฝ า ยปกครองมี ค วามเห็ น ว า อิ ท ธิ พ ลของท า นมี ค วาม แข็ ง กล า กระทํ า การดื้ อ ดึ ง ต อ เจ า คณะหลายประการ เช น การไม รวมอุโบสถสังฆกรรมกับคณะสงฆหมูเดิม เหตุการณตางๆ เริ่มบาน ปลายเมื่ อ วั ด ต า งๆ มี ก ารเคลื่ อ นไหว ขอแยกตั ว ออกไปเป น จํ า นวน ถึง ๙๐ วัด กรณีนี้จึงทําใหครูบาศรีวิชัยถูกสงตัวไปที่กรุงเทพฯ เพื่อ เป น การระงั บ เหตุ ที่ จ ะบานปลายออกไป ส ว นพระสงฆ ที่ ข อแยกตั ว ก็ถกู สัง่ ใหมอบตัว พระทีถ่ กู บวชโดยครูบาศรีวชิ ยั ก็ถกู สัง่ ใหสกึ ขอกลาวหา ทีแ่ จงตอครูบาศรีวชิ ยั อีกประการหนึง่ คือ หาการตัดไมทาํ ลายปาทีเ่ กิดจาก ๒๒๑


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

การสรางถนนขึ้นพระธาตุดอยสุเทพโดยไมไดรับอนุญาตจากทางการเสีย กอน นอกจากนีก้ ารทีท่ า นถูกควบคุมอยูท กี่ รุงเทพฯ ทําใหเกิดความไมพอใจ แกพระสงฆและฆราวาสเปนอยางมาก จนทําใหสมาชิกสภาผูแทนราษฎร จังหวัดเชียงใหมขณะนั้นคือหลวงศรีประกาศ ทําเรื่องเสนอตอที่ประชุม คณะรัฐมนตรีใหมีการปลอยตัวครูบาศรีวิชัยกลับ จึงทําใหเรื่องดังกลาว ถูกโยงเขาไปเปนประเด็นทางการเมือง ซึ่งเหตุการณที่ตองอธิกรณครั้งที่ สามนี้ดําเนินระยะเวลามาจนถึงป พ.ศ. ๒๔๗๙ ครูบาศรีวิชัยจึงยอมรับ ตอคณะสงฆฝา ยปกครองวาจะปฏิบตั ติ ามพระราชบัญญัตลิ กั ษณะปกครอง สงฆทุกประการในวันที่ ๒๑ เมษายน พ.ศ. ๒๔๗๙ และไดเดินทางกลับ เมืองลําพูน ในวันที่ ๑๓ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๗๙ เปนทีท่ ราบกันวาครูบาศรีวชิ ยั แมจะยินยอมปฏิบตั ติ ามคณะสงฆ ฝายปกครองแลว แตกพ็ บวาความขัดแยงนัน้ ก็ยงั ไมยตุ ิ เพราะทานมีความ ประสงคทจี่ ะทําการอุปสมบทครัง้ ใหญอกี ครัง้ ในปาวัดบานปาง แตกจิ กรรม ครั้งนั้นก็ไมบรรลุตามความประสงคของทาน เพราะทานไดมรณภาพลง ในวันที่ ๒๑ กุมภาพันธ พ.ศ. ๒๔๘๑ สิริรวมอายุ ๖๐ ป ศพของทานไดรับ พระราชทานโกฏิ ราชรถ และพระราชทานเพลิงศพเมื่อวันที่ ๒๑ มีนาคม พ.ศ. ๒๔๘๙ แนวคิดคตินิยมแบบ “ครูบา” (ใหม) ชวงทศวรรษ ๒๕๓๐ – ๒๕๕๐ ในชวงเวลาหลังจากที่ครูบาศรีวิชัยในมรณภาพไปแลวนั้น พบวา ความเชื่อ ความศรัทธาเลื่อมใสในทานยังคงมีอยูอยางตอเนื่อง และ สืบทอดตอมายังลูกศิษยของทานคือครูบาขาวป ซึ่งไดดําเนินบทบาท ตามรอยของครูบาศรีวิชัยอยางตอเนื่อง บทบาทของครูบาศรีวิชัยที่ได ดําเนินการชวยเหลือชาวบานในเรื่องตางๆ อีกทั้งเปนที่พึ่งทางจิตใจนั้น ไดสรางฐานพลังศรัทธาอันยิ่งใหญตอเนื่องมาตั้งแตอดีตจนถึงปจจุบัน ซึง่ เราจะพบวาอนุสาวรียค รูบาเจาศรีวชิ ยั ทีบ่ ริเวณเชิงดอยสุเทพนัน้ ไมเคย จางหายจากกลิ่นควันธูป และดอกไมสักการบูชาเลยแมสักวันเดียว ๒๒๒


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

ขณะที่เครื่องรางของขลังตางๆ ที่เกี่ยวกับทานก็ไดกลายเปน สิ่งของที่มีมูลคาในการเชาหามาไวสักการะครอบครอง อีกทั้งไดถูกผลิต ซ้ําขึ้นมาใหมอยางตอเนื่อง (วิลักษณ ศรีปาซาง : ๒๕๔๕ :๓๐-๖๖) ความ เขมแข็งของพลังศรัทธาในครูบาศรีวิชัยนี้ ไดมีมาอยางตอเนื่องแมกระทั่ง หลังจากที่ทานไดมรณภาพไปแลวก็ตาม ในขณะเดียวกันปรากฏการณที่ มีมาอยางตอเนื่องในชวงทศวรรษ ๒๕๓๐ เปนตนมาคือ การเกิดคตินิยม ที่เรียกวา การปฏิบัติตนแบบ “ครูบาศรีวิชัย” ขึ้นในวงการสงฆลานนา โดยเฉพาะพระสงฆรนุ ใหมทมี่ พี รรษานอย ซึง่ นาจะเกิดขึน้ พรอมกับแนวคิด “ลานนานิยม” ในหวงกระแสแหงการเกิดการศึกษาประวัติศาสตรทองถิ่น ลานนา การหาขอสรุปคําวา ลานนา ลานนา การดําเนินการจัดสมโภช เชียงใหม ๗๐๐ ป เปนตน วิลกั ษณ ศรีปา ซาง ใหความหมายของ “ครูบา” วา เปนการเรียกขาน พระเถระทีเ่ คารพนับถือ ทีม่ อี ายุประมาณ ๕๐ ปขนึ้ ไป ไมใชคาํ ทีก่ าํ หนดขึน้ เพื่อเรียกขานตัวเอง ซึ่งการที่เรียกขานครูบานั้นมีเงื่อนไขอยู ๓ ขอ คือ ๑. เปนพระสงฆที่มีอายุพรรษามาก ทั้งอายุการบวช ๒. ตองปฏิบัติดี ปฏิบัติชอบ ตลอดอายุการบวช ๓. สรางสิ่งดีงามกับพระศาสนา (วิลักษณ ศรีปาซาง : ๒๕๔๕ : ๒๙) สวนพระสงฆที่มิไดมีพรรษาตามขอ ๑. นั้น ก็ไมนิยมเรียกครูบา การเกิ ด ความคิ ด คติ นิ ย มแบบ “ครู บ า” กั บ กลุ ม พระสงฆ ที่ มี พรรษานอยนี้ บางครัง้ มักจะไดรบั การกลาวขานวาเปนครูบาศรีวชิ ยั มาเกิด หรื อ บางท า นก็ มิ ไ ด เรี ย กขานตั ว เอง หากเกิ ด จากศรั ท ธาญาติ โ ยม ยกตําแหนงครูบาใหเพราะปฏิบัติดีปฏิบัติชอบตั้งแตอายุยังนอย ปจจุบัน พบวานอกจากพระสงฆที่พรรษานอยแลว ก็มีเณรบางองคก็เรียกขาน ตนเองวา “เณรครูบา” เหมือนกัน ซึง่ ครูบาหนุม เหลานีม้ กั จะมีคาํ ลอเลียนวา “ครูบาอุก แกส” หมายถึง การบมดวยแกสเพือ่ ใหสกุ กอนกําหนด เชน กลวย เปนตน (วิลักษณ ศรีปาซาง : ๒๕๔๕ : ๒๙) ลักษณะการประพฤติปฏิบัติ ของครูบาหนุมเหลานี้ มักจะมีลักษณะแบบเดียวกันกับครูบาเจาศรีวิชัย คือ นุงหมผาสีที่ตางจากพระสงฆนิกายหลัก มีผามัดอก สวมลูกประคํา ใชพัดขนนกยูง หรือพัดใบลาน มีไมเทา และมีแนวคิดแบบลานนานิยม ๒๒๓


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

ซึ่ง “ครูบาหนุม” เหลานี้ พบวาบางทานจะมีประวัติของตนเอง ที่กลาวถึงการบวชที่มักจะบวชตั้งแตอายุยังนอยบรรพชาเปนสามเณร กอน มีจิตใจเลื่อมใสในพุทธศาสนา มีความสนใจในอักขระลานนา และ คาถาอาคม ในวัยเด็กมักจะมีแววเปนผูสืบสานพระพุทธศาสนาใหรุงเรือง ในภายภาคหนา หรือมีคําเลาลือกันวาเปน “เจาหนอตนบุญ” เปนครูบา ศรี วิ ชั ย กลั บ ชาติ ม าเกิ ด เดิ น ทางจาริ ก แสวงบุ ญ ไปในเขตแดนต า งๆ มีการกลาวถึงการบําเพ็ญธรรมเพื่อมุงสูการเปนพระโพธิสัตวพระองค หนึ่ง ขณะที่ในประวัติบางทานกลาวถึงขณะแรกเกิดมีปาฏิหาริยดังเชน ครูบาเจาศรีวิชัย หรือกลาวถึงตอนเด็กที่ยากจนประสบปญหาตางๆ แต มีใจบุญไมเบียดเบียนสัตว มักมีความสนใจใฝในทางธรรมสม่ําเสมอ หรือ ตั้งแตเปนสามเณรสามารถทําน้ํามนตเปาหัวเสกน้ําใหชาวบานหายจาก เจ็บปวยได บางทานมักจะมีวตั รปฏิบตั อิ ยางครูบาศรีวชิ ยั มาตัง้ แตแรกเปน สามเณรเลยทีเดียว คือ นุงหมแบบรัดอก ถือพัดและไมเทา ปจจุบันพบวา มีการนําเสนอประวัติ “ครูบา” ไวในอินเตอรเน็ทอยูห ลายเว็บไซตซงึ่ จะกลาว ถึงประวัตขิ อง “ครูบา” นิมติ สิง่ ลีล้ บั ทีเ่ กีย่ วของ การจัดสรางถาวรวัตถุตา งๆ การจัดสรางเครื่องรางของขลัง เปนตน ปจจุบันพบวา “ครูบา” (ใหม) บางองคมีศรัทธาญาติโยมมากมาย ทั้งจากเชียงใหม หรือจากตางจังหวัดไกลๆ ทั่วทุกภาค เชน กรุงเทพฯ อุบลราชธานี กาญจนบุรี เปนตน สิ่งที่จะทําให “ครูบา” (ใหม) มีศรัทธา มากมายไดนั้นเปนเพราะวาการมีวัตรปฏิบัติที่มีลักษณะแบบเดียวกับ ครูบาศรีวิชัย หากองคใดปฏิบัติไดเหมือนก็มักจะมีศรัทธาเลื่อมใสมาก พบวาบางทานจะตองฉันหมากใหคลายกับครูบาศรีวิชัย ทั้งๆ ที่อายุ ยังนอย และก็ไมเปนที่นิยมกันแลวในสังคมปจจุบัน นอกจากนั้นการผลิต ซ้าํ เครือ่ งรางของขลังตามแบบอยางครูบาศรีวชิ ยั ก็เปนสิง่ หนึง่ ทีจ่ ะสามารถ ดึงดูดศรัทธาญาติโยมใหมาขึ้นกับตนไดมาก เชน การสรางผายันตปารมี 30 ทัศ การสรางเหรียญรูปเหมือนครูบาศรีวิชัย การสรางลูกประคําครูบา ศรีวิชัย พระรอดรูปเหมือนครูบาศรีวิชัย ผารอยปาทะครูบาเจาศรีวิชัย เปนตน ในปจจุบันพบวามีการสรางเครื่องรางของขลังอื่นๆ เพิ่มขึ้นและ ตางออกไปจากเดิมทีเ่ ปนของครูบาศรีวชิ ยั เพือ่ ใหเปนเอกลักษณเฉพาะตน ๒๒๔


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

เชน สรางกุมารเศรษฐีมั่งมีทรัพย พญานาคคาบแกว พระอุปคุตจกบาตร ชูชกเรียกทรัพย ปรอท ดาบ ตะกรุด เปนตน และ “ครูบา” บางทานก็มี ชื่ อ เสี ย งเลื่ อ งลื อ กว า งขวางไม เ ฉพาะในเขตประเทศไทยเท า นั้ น หาก แตยังเปนที่รูจักของคนในแถบรัฐฉาน เมืองเชียงตุง ประเทศพมาอีก ดวย รวมทั้งมีศรัทธาญาติโยมเปนนักธุรกิจชาวตางชาติ เชน ไตหวัน ฮองกง เปนตน ในขณะเดียวกัน “ครูบา” (ใหม) บางทานก็มักจะสรางอัต ลักษณเฉพาะตนขึ้นมาประกอบดวยเพื่อเปนจุดสนใจ เชน จะทําใหเกิด ปาฏิหาริยไ ดโดยทําใหขนั น้าํ มนตมคี วันลอยขึน้ มา สรางความประหลาดใจ แกศรัทธาญาติโยมเปนอยางยิ่ง จึงเปนที่มาของการเรียกขานชื่อทาน ตอมา มีการตั้งชื่อตนเองใหแปลกเปนที่สะดุดและจดจําแกญาติโยม หรือ ขี่มาบิณฑบาตบนดอยสูง เปนตน นอกจากนั้นสิ่งที่จะดึงดูดจุดสนใจ ตอศรัทธาญาติโยมอีกประการหนึ่งคือ การปรับเปลี่ยนชื่อวัดที่ตนเอง จําพรรษาอยูใ หเปนชือ่ แบบคําพืน้ เมืองลานนาหรือทีจ่ ดจําไดโดยงายหรือ แปลกไปจากเดิม เปนที่นาสังเกตวา “ครูบา” (ใหม) ทั้งหลาย เมื่อมีศรัทธาญาติโยม มากขึ้นแลวก็มักจะจัดสรางถาวรวัตถุตางๆ ภายในวัดของตนเองขึ้นมา ใหมอยางใหญโตและใชทุนทรัพยเปนจํานวนมาก ซึ่งมักจะมีความเชื่อวา เปนการสรางเสริมบารมีใหแกตนเองอยางหนึ่ง (แตแตกตางจากบทบาท การบู ร ณปฏิ สั ง ขรณ ข องครู บ าศรี วิ ชั ย ที่ ผ า นมาในอดี ต ) และพบว า เมื่อถึงคราวจัดงานฉลองถาวรวัตถุตางๆ เหลานั้นหรือการจัดงานฉลอง ครบรอบอายุของตนในแตละปก็มักจะมีศรัทธาญาติโยมจากทุกสารทิศ มารวมทําบุญเปนจํานวนมาก อีกทั้งมีการถวายปจจัยเปนจํานวนมากอีก ดวย เชน การใหศรัทธาญาติโยมรับเปนเจาภาพถวายตนเงินทีป่ ระดับดวย ธนบัตรขนาดสูงใหญเปนจํานวนหลายๆ ตน การบริจาคสมทบจัดสราง ถาวรวัตถุขนาดใหญภายในวัด เปนตน ซึ่งถามองอยางผูที่ไมเชื่อถือหรือ ไมเห็นดวยก็จะบอกวา การใชคตินิยมแบบ “ครูบา”(ใหม) นี้ เปนการสราง ศรัทธาเชิงพุทธพาณิชยก็เปนได ดั ง นั้ น หากศึ ก ษากรณี “ครู บ า” (ใหม ) นี้ อ ย า งถ อ งแท แ ล ว วัตรปฏิบัติแบบอยางครูบาเจาศรีวิชัยที่แทจริงนั้น ในปจจุบันถูกเลือกใช ๒๒๕


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

บางอยางเทานัน้ แลวแต “ครูบา” (ใหม) ทานไหนจะเลือกหยิบเอาอัตลักษณ อะไรของครูบาศรีวชิ ยั มาใชประกอบ เพือ่ ใหตนไดมศี รัทธาญาติโยมมากขึน้ เทานัน้ การศึกษาเรือ่ งดังกลาวจึงมีความสลับซับซอนยิง่ จําเปนตองศึกษา อยางระมัดระวัง และทําการศึกษาอยางละเอียดในเชิงลึกตอไป แตอยางไร ก็ตามการเกิดคตินิยมอยาง “ครูบาเจาศรีวิชัย” หรือคตินิยม “ครูบา” (ใหม) ในชวงเวลาสัก ๒๐ ป (ทศวรรษ ๒๕๓๐-๒๕๕๐) ที่ผานมานั้น ตางถือ ไดวา ก็มจี ดุ กําเนิดหลักมาจากตนธารแหงความศรัทธา ใน “ครูบาเจาศรีวชิ ยั ” แทบทัง้ สิน้ ในบริบททีค่ นในสังคมไทยตองเผชิญหนากับกระแสโลกาภิวตั น อันทําใหผูคนเกิดสูญเสียความมั่นคงในชีวิต จึงทําใหตองหันไปพึ่งพา สิ่งศักดิ์สิทธิ์มากขึ้น นอกเหนือไปจากการหวังพึ่งพาผูนําแหงชาติ ซึ่งการ เกิดขึน้ ของคตินยิ มแบบ “ครูบา” (ใหม) ทัง้ หลายในสังคมลานนาปจจุบนั นัน้ ทายทีส่ ดุ ไดกลายเปนสิง่ ทีพ่ งึ่ ทางใจของประชาชนไปแลวนัน้ ลวนจะมีพลัง ดํารงอยูใ นสังคมไทยไดไปอีกนานตราบเทากลิน่ ธูปควันเทียนที่ “อนุสาวรีย ครูบาเจาศรีวิชัย” ไมจางหายไป

๒๒๖


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

บรรณานุกรม ชีวประวัติครูบาศรีวิชัย (ภาษาจีน) ใน จากเหยี่ยวเพงสูเชียงใหม ชีวิต และผลงานของนายคาย อาภาวัชรุตม. ทีร่ ะลึกงานพระราชทาน เพลิงศพ (กรณีพิเศษ) นายคาย อาภาวัชรุตม ณ ฌาปนสถาน สันกูเหล็ก อ.เมือง จ.เชียงใหม วันที่ ๕ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๔๐. เชียงใหม : โรงพิมพมิ่งเมือง, ๒๕๔๐. ชัชวาลย บุญธรรมสามิสร. ชีวประวัติ “ครูบาเจาศรีวิชัย นักบุญแหง ลานนา”. เชียงใหม : ดิไวนมาสเตอรพริ้นท, ๒๕๓๘. ชาญณรงค ศรีสุวรรณ. การศึกษาวิหารที่สรางในกระบวนการครูบาศรี วิชัย พ.ศ. ๒๔๔๗-๒๔๘๑. วิทยานิพนธศลิ ปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาประวัติศาสตรสถาปตยกรรม มหาวิทยาลัยศิลปากร, ๒๕๔๐. ดวงกมล สงวนพงษ. รูปแบบลวดลายบนหนาบันประดับศาสนสถาน ในลานนา สมัยครูบาศรีวิชัย. เชียงใหม : คณะวิจิตรศิลป มหาวิทยาลัยเชียงใหม, ๒๕๔๒. ดวงดี อินทสโม, พระ. ประวัตคิ รูบาศรีวชิ ยั สิรวิ ชิ โย ฉบับวัดวาลุการาม. เชียงใหม :สถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม, ๒๕๒๗. (เอกสารอัดสําเนา) ตํานานครูบาศรีวิชัยแบบพิสดารและตํานานวัดสวนดอก. เชียงใหม : สถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม, ๒๕๓๗. ตําราเรียนตัวเมืองของครูบาศรีวิชัย ชุมนุมพระคาถาวิเศษ. ม.ป.ท : ม.ป.พ. ทีร่ ะลึกครบรอบ ๑๑๑ ป กําเนิดครูบาศรีวชิ ยั และในโอกาสกอตัง้ มูลนิธิ ครูบาศรีวิชัย วันอาทิตยที่ ๑๑มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๓๒. เชียงใหม : ดารารัตนการพิมพ, ๒๕๓๒. ธ. ธรรมรักษ. ตามรอยธรรมนําทางบุญครูบาศรีวิชัย นักบุญผูยิ่งใหญ แหงแผนดิน. กรุงเทพฯ : แฮปปบุคพับลิชชิ่ง, ๒๕๕๒. ๒๒๗


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

นพคุณ ตันติกลุ . ชีวติ และการตอสูข องพระอริยเจาครูบาศรีวชิ ยั . ม.ป.ท. : ม.ป.พ. ประเวศ เชมนะศิริ. ประวัติครูบาศรีวิชัย. พระนคร : คนเมืองการพิมพ, ๒๕๑๒. ประวัติวัดศรีโสดา. จัดพิมพเนื่องในงานทําบุญฉลองวิหารครูบาศรีวิชัย และเสนาสนะถาวรวัตถุรวมสมโภชเชียงใหม ๗๐๐ ป วัดศรีโสดา ต.สุเทพ อ.เมือง จ.เชียงใหม. เชียงใหม : วัดศรีโสดา, ๒๕๓๙. ประวัติยอและผลงานของครูบาศรีวิชัย.พิมพครั้งที่ ๔. เชียงใหม : วัด พระธาตุดอยสุเทพ, ๒๕๔๓. พงษเทวัญ นันทิมูล. ครูบาศรีวิชัยสถาน. ปริญญานิพนธสถาปตยกรรม ศาสตรบั ณ ฑิ ต โครงการจั ด ตั้ ง คณะสถาป ต ยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม, ๒๕๔๒. วิลกั ษณ ศรีปา ซาง. ตนบุญลานนา ประวัตคิ รูบาฉบับอานมวน. เชียงใหม : นพบุรีการพิมพ,๒๕๔๕. ส. สุภาภา (นามแฝง). ชีวิตและงานของครูบาศรีวิชัย. กรุงเทพฯ : คลัง วิทยา, ๒๔๙๙. ส. สุภาภา (นามแฝง). ประวัตคิ รูบาศรีวชิ ยั รวมกับหลวงศรีประกาศตอน สรางทางขึน้ ดอยสุเทพ. เชียงใหม : ดารารัตนการพิมพ, ๒๕๑๘. สงวน โชติสุขรัตน. คนดีเมืองเหนือ. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร, ๒๕๑๕. สนั่น หมื่นแกว. ลําพูนนารู คนดีที่โลกมิลืม. ลําพูน, ๒๕๓๗. สมหมาย เปรมจิตต. ครูบาศรีวชิ ยั นักบุญแหงลานนา. เชียงใหม : มิง่ ขวัญ, ๒๕๔๕. สมหมาย เปรมจิตต. ประวัติครูบาศรีวิชัยนักบุญแหงลานนา. เชียงใหม : โรงพิมพมิ่งเมือง, ๒๕๔๓. สายธาร ศรัทธาธรรม. ครูบาศรีวิชัยผูใจเด็ด. พิมพครั้งที่ ๒. กรุงเทพฯ : บานลานธรรม, ๒๕๔๙. สุริยะวงศ วโรรส, เจา. ประวัติทา น พระสีวิชัยวัดบานปาง. เชียงใหม : โรงพิมพอเมริกัน, ๒๔๗๒. ๒๒๘


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

สิงฆะ วรรณสัย. สารประวัติครูบาศรีวิชัยนักบุญแหงลานนาไทย. เชียงใหม : ศูนยหนังสือเชียงใหม, ๒๕๒๒. เสมอชัย พูลสุวรรณ. รัฐฉาน (เมืองไต) : พลวัตของชาติพันธุในบริบท ประวัติศาสตรและสังคมการเมืองรวมสมัย. กรุงเทพฯ : ศูนย มานุษยวิทยาสิรินธร, ๒๕๕๒. โสภา ชานะมูล. ครูบาศรีวิชัย “ตนบุญ” แหงลานนา. วิทยานิพนธ ศิลปะศาสตรมหาบัณฑิต สาขาประวัติศาสตร มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร, ๒๕๓๔. ศิวะ รณชิต. พระของประชาชน. กรุงเทพฯ: ปยสาสน, ๒๕๒๑. หนังสือพิมพเดลินิวส. คอลัมนเหนือลิขิตประกาศิตฟาดิน. ฉบับวันที่ ๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๒. หิรัญ สุภาสนาภิวัฒน. ประวัติครูบาศรีวิชัย. เชียงใหม : กลางเวียง การพิมพ, ๒๕๓๓. www.google.co.th “ครูบา” “ครูบาเจา” www.krubachaoboonkhoom.com www.watkadesri.net www.kubajaophet.com www.phrakuba-boonchum.org www.watsangkaewphothiyan.org

๒๒๙


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

“ครูบา” เนื้อนาบุญของลานนา พระมหาสงา ธีรสํวโร มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตเชียงใหม

ตามความเป น จริ ง เกี่ ย วกั บ เรื่ อ งของคํ า เรี ย กขานพระสงฆ ว า “ครูบา” ซึ่งมาจากภาษาบาลี วา “ครุป อาจาริโย” แปลวา เปนทั้งครู และอาจารย มาจากคําวา “ครุปา” ภายหลังเพี้ยนเปน “ครูบา” ในที่สุด เปนคําที่พบวาใชกันเฉพาะในกลุมวัฒนธรรมลานนาเทานั้น เปนตําแหนง ของพระสงฆ ผู ที่ ไ ด รั บ การพิ จ ารณาเลื อ กสรรแล ว ว า มี ศี ล าจารวั ต ร เรี ย บร อ ย มั่ น คงอยู ใ นพระธรรมวิ นั ย เป น ที่ ย อมรั บ ทั้ ง ในส ว นของ คณะสงฆและฆราวาสศรัทธาประชาชนทัว่ ไป หรือมีผลงานปรากฏแกชมุ ชน ในการกอสรางบูรณปฏิสังขรณ สรางวัดวาอาราม เชน ครูบาอภัยสารทะ (ครูบาหลวง วัดฝายหิน) ครูบาศรีวิชัย ครูบาขาวป ครูบาบุญชุม เปนตน หรือมีคุณสมบัติพิเศษอื่นๆ ในการทํางานเพื่อพระศาสนา หรือเปนที่พึ่ง ของประชาชน เชน ครูบาธรรมชัย วัดทุงหลวง อ.แมแตง เปนหมอยา แผนโบราณ ครูบากัญจนะ เมืองแพร เชี่ยวชาญเรื่องการจาร และรวบรวม คัมภีรใ บลาน ดังนัน้ ครูบาจึงเปนคํานําหนาเฉพาะพระสงฆรปู นัน้ ๆ ซึง่ พระ ๒๓๐


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

ภิกษุทั่วๆ ไปไมมีสิทธิ์ใช หรือแตงตั้งตัวเองเปนครูบา ในระยะเวลาไมเกิน ๑๐ ปมานี้ ในเขตภาคเหนือตอนบนกลับ ปรากฏวามีพระภิกษุหนุมๆ พรรษายังไมพนนิสัยมุตตกะ (๓ พรรษา) ไดสถาปนาตนเองขึน้ เปนครูบากันอยางแพรหลาย สวนใหญกย็ ดึ เอาครูบา ศรีวิชัยเปนตนแบบ ทั้งการนุงหม ถือไมเทา หอยลูกประคํา ถือพัดขนหาง นกยูง ไปทางไหนก็เจอแตครูบาผูม จี ริยาวัตรนํามาซึง่ ความศรัทธาเลือ่ มใส ก็มาก นํามาซึ่งความสับสนของสังคมก็มีไมนอย หากไม ส ามารถหยุ ด กระแสศรั ท ธาเรื่ อ งครู บ าได คณะสงฆ สํานักงานพระพุทธศาสนา สํานักงานวัฒนธรรม และสมาคมสหธรรม ทุ ก ภาคส ว น น า จะมี มี ก ารทบทวนพิ ธี ส ถาปนาครู บ าในล า นนา ว า มี ธรรมเนียม มีหลักเกณฑปฏิบัติ คัดเลือกพระภิกษุสงฆเชนไร และดําเนิน การใหถูกตอง อยางนอยก็ชวยกลั่นกรองทําเนื้อนาดีๆ ใหเปนเนื้อนาบุญ ผืนนาใด ดินไรคุณภาพ คณะสงฆคงตองเรงรัดปรับปรุงดินใหเหมาะ แกการหวานเมล็ดพันธุคือบุญของศรัทธาประชาชนมิใหเสียเวลากับที่นา ที่ไรคุณภาพ เพราะนอกจากไมไดผลผลิตแลว ยังทําศรัทธาไทยใหสูญ ไปอีก คงไมมีหนวยงานใดที่มีความเหมาะสมไปกวาองคกรสงฆอีกแลว ที่ จะเปนเสาหลักในการทบทวนเรื่องดังกลาวนี้ การสถาปนาครูบาในลานนานัน้ พบวามีการสถาปนาครัง้ สุดทาย ในสมัยเจาผูครองนครเชียงใหม ชุดที่ไดรับการสถาปนารดน้ํามุรธานั้น ก็คือ ครูบาหลวงวัดฝายหิน (อภัยสารทะ) จากนั้นการคณะสงฆลานนา ก็ ถู ก เรี ย กอํ า นาจการบริ ห ารจั ด การเข า ไปรวมศู น ย อยู ที่ ค ณะสงฆ กรุงเทพมหานครและครูบาหลวงอภัยสารทะก็ไดรับสถาปนาเปนเจาคณะ จังหวัดรูปแรกของจังหวัดเชียงใหม ประเพณีการสรงน้าํ หรือรดน้าํ พระสงฆ ขึ้นเปนครูบาจึงสูญไปจากลานนานับตั้งแตนั้นเปนตนมา ครูบาศรีวิชัยคือผูไดรับผลกระทบอยางมากจากกระบวนการ รวมศูนยนี้ เนื่องจากอยูในชวงหัวเลี้ยวหัวตอการเปลี่ยนแปลงพอดี เมื่อ พิธีกรรมดังกลาวหายไปจากลานนา กลับปรากฏวาในรัฐฉาน เมืองยอง และเมืองเชียงตุง อันเปนบานพี่เมืองนองของเชียงใหม และอํานาจทาง กรุงเทพฯ ยังไมสามารถเขาไปมีอิทธิพลได กลับยังมีประเพณีสรงน้ํา ๒๓๑


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

ศักดิ์สิทธิ์เพื่อสถาปนาครูบาสืบทอดมาจนถึงปจจุบัน ซึ่งลําดับชั้นของ พระสงฆผูจะเขารับการแตงตั้งอยู ๔ ระดับ ดังนี้ สมณศักดิ์ของคณะสงฆ นครเชียงตุง ๑. สมเด็จพระอาชญาธรรม เปนตําแหนงสูงสุดในคณะสงฆ เปนผูมีอายุ ๗๐ และมีพรรษา ๕๐ ขึ้นไป ๒. พระครูบา เปนตําแหนงของพระสงฆผูทรงคุณวุฒิ เปนผูมีอายุ ๔๐ และมีพรรษา ๒๐ ขึ้นไป ๓. พระสวามี เปนตําแหนงของสงฆผอู ดุ มดวย ศีล สมาธิ ปญญา เปนผูมีอายุ ๓๕ และมีพรรษา ๑๕ ขึ้นไป ๔. พระสวาทิ เปนตําแหนงของสงฆผูทรงศีล สมาธิ ปญญา เปนผูมีอายุ ๓๐ และมีพรรษา ๑๐ ขึ้นไป ทัง้ นี้ การถวายสมณศักดิจ์ ะอยูใ นดุลยพินจิ ของคณะสงฆและสํานัก โคปกะ (คลายกับสํานักงานพระพุทธศาสนา) ของนครเชียงตุง ซึ่งในบาง กรณีอาจมีการพิจารณาเปนกรณีพเิ ศษ เพือ่ ความเหมาะสมในแตละโอกาส เชน ครูบาบุญชุม เปนตน กอนการสถาปนาจะมีการปาวประกาศใหประชาชนไดทราบ กอนวาจะยกยอพระภิกษุรูปนี้ขึ้นไปเปนครูบา ขอใหศรัทธาประชาชน ไดไปรวมอนุโมทนา สมเด็จอาชญาธรรม (ใส) วัดหลวงเชียงยืน องคปจ จุบนั โปรดเมตตาเลาใหฟงวา “หากพระภิกษุรูปใด ไมมีศีลธรรม ไมมีคุณสมบัติตามที่นําเสนอ มา อันเปนการมุสาคณะสงฆ หลอกลวงเอาฐานะ ทีไ่ มสมควรแกตน ยังแห ไมเสร็จก็จะเปนไข ไมสบาย แสดงวาไมมบี ญ ุ ทีจ่ ะไดรบั การสถาปนา แตหาก สุขภาพสมบูรณแข็งแรง ไมเจ็บไข นัน้ ยอมหมายความวา เปนผูม บี ญ ุ ญาธิการ บุญศีลธรรมกัมมัฏฐานคุมครอง ควรแกการยกยอขึ้นสูตําแหนงนั้นๆ” ๒๓๒


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

นอกเหนือจากตําแหนงทีเ่ ปนทางการทัง้ ๔ นี้ ยังปรากฏวา ทีเ่ ชียงตุง ยั ง มี ตํ า แหน ง ทางสั ง คมอี ก ตํ า แหน ง หนึ่ ง ที่ อ ยู ใ นฐานะเป น ศู น ย ร วม ทางจิตใจของปวงชน ไมเฉพาะบานหรือเมืองใดเมืองหนึง่ นัน้ คือตําแหนง “เจาหนอตนบุญ” จะใชเรียกขานพระภิกษุ-สามเณร ผูป ระพฤติดปี ฏิบตั ชิ อบ มาตลอดอายุการบวช เมื่อประมาณ ๔ ปที่แลว ผูเขียนไดมีโอกาสไปรวมงานประเพณี เขากรรมฐานของคณะสงฆตําบลเมืองลัง วัดยางขวาย มีการเทศนธรรม มหาชาติ ขณะที่เรากําลังฉันขาวกันอยูนั้น ก็ไดยินศรัทธาปาวประกาศวา “สามเณรศีลมั่นมาแลว” หันไปมองเปนสามเณรนอย อายุประมาณ ๑๑ - ๑๒ ป ทาทางสงบเสงี่ยมสํารวม ถามชาวบานวาทําไมเรียกวา สามเณรศีลมั่น ไดรับคําอธิบายวา “ตั้งแตบวชมา เณรถือศีล กินเจ มาโดยตลอด ไมซุกซนเหมือน เณรนอยทั่วๆ ไป ที่สําคัญการวัตรปฏิบัติก็ดี เรียบรอย จึงเปนที่เคารพรัก ของชาวเชียงตุง” จากนี้ไปหากยังมีความมั่นคงอยู ถึงเปนพระภิกษุก็จะเรียกวา “ตุเจาศีลธรรม” ดังที่ครูบาศรีวิชัยของลานนาเราไดรับการเรียกขาน อีกนามหนึ่งวา “ครูบาศีลธรรม” หากทานไดตั้งใจประพฤติดี ไมหวั่นไหว ถึ ง ขั้ น สั จ จะอธิ ษ ฐานว า ขอเป น พระโพธิ สั ต ว หรื อ ขอบํ า เพ็ ญ บารมี ชวยเหลือผูคนใหพนทุกข ขอเปนพระพุทธเจาองคในอนาคต เชนนี้ก็จะ ไดชื่อวา “เจาหนอตนบุญ” เทาที่ทราบที่รัฐฉานฟากฝงตะวันตกของ ลุมน้ําอิรวดี ตลอดระยะเวลานับ ๒๐๐ - ๓๐๐ ปที่ผานมาถึงปจจุบัน มีผูที่คณะสงฆและชาวบานยกยอง ชาวบานแทบทุกหลังคาเรือนมีรูปของ ทานไวกราบไหวบูชาและเรียกขานขนานนามวา เปนเจาหนอตนบุญนั้น มีเพียง ๒ รูป คือ ๑. พระพี่หลวงปาบง เวียงยอง ๒. ครูบาบุญชุม ญาณสงฺวโร (เมืองพงสะยาดอ) ๒๓๓


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

ผูเขียนเขาใจวาหากคณะสงฆจะเมตตาพิจารณาหลักคิดและวิธี การในการยกยองสถาปนาครูบาของนครชียงตุง เพือ่ นํามาปรับประยุกตใช ในบานเมืองของเรา ก็คงสงผลดีตอการคณะสงฆอยูไมนอย ๑. เพื่อเปนการฟนฟูวัฒนธรรมของคณะสงฆลานนาที่ยังมีการ เคลื่อนไหวตามใจชอบ ใหกลับเขาสูกระบวนการของสงฆอีกครั้งหนึ่ง ๒. เพื่ อ เสริ ม สร า งมาตรฐานในการปกครองสงฆ ให มี ค วาม เขมแข็งมากยิ่งขึ้น ๓. เพื่ อ เป น ฐานในการปฏิ บั ติ ข องคณะสงฆ ใ นป จ จุ บั น และอนาคตสืบไป นาจะเขาทํานองวา “ใหมก็เอา เกาก็ไมทิ้ง” ทั้งเกา และใหม ผสมผสาน เพื่อความบริสุทธิ์ เพื่อความงามของวงการสงฆสืบไป.

๒๓๔


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

พิธีเถราภิเษกของชนชาติลาวสองฝงโขง รองศาสตราจารยสมหมาย เปรมจิตต อาจารยพิเศษประจํา มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตลานนา

ความนํา พิธีเถราภิเษก ชาวลาวเรียกวา พิธีหดสรง หรือ บุญกองหด เปนพิธีกรรมที่จัดขึ้นสําหรับยกยองพระสงฆที่มีอายุพรรษา และคุณงาม ความดีสมควรจะไดรบั การยกยอง สวนมากเริม่ ตัง้ แตพรรษา ๕ ขึน้ ไป จนถึง เถรภูมิคือพรรษา ๑๐ ขึ้นไป และที่ผูเขียนเคยเห็นในภาคอีสานนั้น เปน พิธีราษฎรที่ชาวบานจัดขึ้นในวัดประจําหมูบาน ที่ทําเปนพิธีหลวงคงจะ ไมมีจัดที่ภาคอีสาน เมื่อยางเขายุครัตนโกสินทรคงมีแตพิธีที่ชาวบานจัด และทุกวันนีก้ ม็ กี ารจัดกันนอยมาก ดวยมีพธิ พี ระราชทานสมณศักดิพ์ ดั ยศ ของหลวงเขามาแทน และพวกชาวบานเองก็ไมอยูในสภาพที่จะจัดได เหมือนแตกอน เพราะสังคมชาวบานเปลี่ยนไป จากเมื่อกอนทํานาทําไร เพือ่ บริโภคภายในครัวเรือน กลายมาเปนชาวนาทีท่ าํ นาเพือ่ ขายเอาเงินสด ๒๓๕


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

สําหรับจับจายใชสอย สุดทายก็กลายเปนทํานาเพื่อขายขาวใชหนี้ ปไหน โชคดีก็ไดขาวพอขายใชหนี้หมด แตถาปไหนโชครายขายแลวก็ไมพอใชหนี้ ในขณะเดียวกันระบบเศรษฐกิจก็เปลี่ยนไปเปนเศรษฐกิจเงินตรา จะทํา อะไรก็ตองใชเงินทั้งนั้น แมแตชาวนาที่ผลิตขาวก็ตองซื้อขาวจากโรงสี ไม ตําครกกระเดื่องหรือซอมมือเหมือนสมัยกอน สิ่งเหลานี้เปนขอจํากัด อยางหนึง่ ทีท่ าํ ใหชาวนาสมัยนีต้ อ งดิน้ รนทํางานหาเงินทุกฤดูกาล เมือ่ วาง จากการทํ า นาต อ งออกไปทํ า งานรั บ จ า งต า งถิ่ น โดยเฉพาะคนหนุ ม ในวัยทํางานแทบจะไมพบในหมูบาน เวลาจะจัดงานประเพณีที่ตองอาศัย คนจํานวนมากก็หาคนชวยยาก หรือพระสงฆในวัดเองก็มีไมมากเหมือน สมัยกอน จะหาพระที่มีวัยวุฒิ และคุณวุฒิสมควรจะไดรับการยกยอง หดสรงก็ไมคอยมี ในที่สุดประเพณีหดสรงในภาคอีสานจึงหายไปจาก พี้นที่วัฒนธรรมของภาคอีสาน พิธีหดสรงที่จะกลาวถึงนี้จึงแทบจะกลาย เปนตํานานไปแลวเพราะมีจัดนอยมาก สมัยกอนโนนพิธหี ดจะมาคูก บั พิธบี วช ชาวบานจัดทํากอนจะลงนา ปกดําขาวกลา เรียกรวมกันวาบุญเดือนหก ผูที่เปนเจาภาพบวชเรียกวา “ผูคึดกองบวช” คือเปนผูจัดซื้อเครื่องอัฐบริขารเครื่องบวชทั้งหมด รวมทั้ง เตียงนอนซึ่งไมมีในบริขารแปด ที่ประเทศลาวประชาชนลาวก็ตองมีเตียง เชนกัน มีบวชมีหดเมือ่ ใดตองมีเตียงใหมเสมอ เพราะการนอนเตียงถือเปน สัญลักษณแหงการยกฐานะใหสูงขึ้นกวาเปนฆราวาสที่ถือศีลหา และ เตียงนอนของพระนั้น สามเณรและฆราวาสจะขึ้นไปนอนไมได ถือวา เปนบาป ขี้กลากจะขึ้นหัว สําหรับผูที่เปนเจาภาพพิธีหดนั้นตองรวมแรงกันหลายคน เพราะ นอกจากจะมีผาไตรจีวรชุดใหมแลว จะตองมีเครื่องประกอบอีกหลาย อยาง เชน ซุมหดสรง ปะรําพิธีเปนตน อยางไรก็ตามจะมีผูเปนเจาภาพ เครือ่ งอัฐบริขารซึง่ เรียกวา “ผูค ดึ กองหด” สวนชาวบานพากันชวยอยางอืน่ สวนที่จัดเปนพิธีหลวงที่มีเจาหนาที่เขามาเปนตัวตั้งตัวตีเหมือน งานประเพณีบางอยางในสมัยนี้ ผูเขียนไมเคยเห็น แตก็มีในตํานาน ประเพณี ๑๒ เดือนของลาวที่เรียกวา บุญกองหด ผูเขียนจะขอนํามา เสนอทานผูอานเทาที่จะคนหาได ซึ่งสวนใหญเปนผลงานของทานผูรู ๒๓๖


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

รุนเกาเขียนไว เชน สมเด็จพระมหาวีรวงศ (ติสฺโส อวน) อาจารยปรีชา พิณทอง หรือ พระมหาปรีชา ปริญญาโณ (ป.ธ. ๙ พ.ศ. ๒๔๙๙) ทั้งสอง ทานนีเ้ ปนชาวอุบลดวยกัน เจาประคุณสมเด็จฯ เขียนลงในหนังสืออนุสรณ ในพิธีพระราชทานเพลิงศพอดีตสมเด็จพระสังฆราชลาว ที่เมรุหลวงวัด เทพศิรินทราวาส กรุงเทพฯ สวนพระมหาปรีชา ปริฺญาโณ เรียบเรียงไว ในหนังสือเรื่อง “ประเพณีโบราณไทยอิสาน” (ปริญญาโณ ภิกขุ, ๒๕๑๐ : ๑๕๐-๑๕๕) ผูรจนาเรื่องนี้ทั้งสองทานไดใหรายละเอียดไวคอนขางจะครบ ถวน ผิดแตวา ไมไดเขียนจากประสบการณตรงทัง้ หมด สวนใหญจะคนควา จากเอกสารและคําบอกเลาของคนเฒาคนแกสมัยโนน แตกอ นจะเขาเรือ่ ง หดสรง ใครขอกลาวถึงคําเรียกพระสงฆสามเณรในภาษาลาวกอนเพราะ มีสวนเกี่ยวของกัน คือเมื่อพระสงฆสามเณรไดผานการหดสรงแลว จะได คํานําหนาที่บงบอกวาผานพิธีหดสรงมาแลวกี่ครั้ง คําเรียกพระเณรในภาษาลาว จัว ใชเรียกเณร และมีคําที่มีความหมายคลายกันคือ จุ ในคําวา “๑๒ จุไท หรือ ๑๒ เจาไท” ดังนั้น จัว จุ เจา ๓ คํานี้ จึงนาจะมีความหมาย เหมือนกัน เมื่อเณรบวชเปนพระแลวเรียก เจาหัวหรือเจาหมอม ดวยการ ยกยองเสมือนเปนเจาเหนือหัว หรือเหนือกระหมอม ในฐานะที่เปน ผู ท รงเพศที่ สู ง กว า ที่ สื บ เนื่ อ งมาแต ส มั ย พุ ท ธกาลซึ่ ง เรี ย กพระสงฆ ใ น พระพุทธศาสนาวา ศากยบุตร หรือที่เรียกภิกษุวา พระ ก็เพราะยกยอง ใหเปนเจา คือ พระ แปลวา ประเสริฐ สวนในลานนาเรียกเณรวา พระ ก็ดวยยกยองวาเปนผูประเสริฐนั่นเอง แตเรียกพระวา ตุ ซึ่งเพี้ยนมาจาก คําวา สาธุ หรือ สวาธุ อยางที่เรียกกันในศรีลังกาและอินเดีย พระเณรในภาคอีสาน ถาสึกจากเณรเรียกเชียง หรือ เซียง เชน เชียงสม เชียงมี เปนตน ผูที่สึกจากพระเรียกทิด สวนผูที่สอบไดเปรียญ เรียก “มหา” เมื่อสึกออกไปแลวก็ยังนิยมเรียกมหาเชนเดิม ที่ประเทศลาว ก็เชนกัน แมในทางการของลาวก็ยงั คงใช “มหา” นําหนาชือ่ อยูเ พราะถือวา เปนเกียรติ เชน มหากุ สุวรรณเมธี ป.ธ. ๙ รัฐมนตรีวาการกระทรวง ๒๓๗


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

ยุติธรรมของสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวสมัยที่ผูเขียนไดพบ ที่เมืองลาวเมื่อป ๒๕๓๒ นามบัตรของทานเขียนวา “มหากุ สุวรรณเมธี” ป.ธ. ๙ มหาที่สึกไปเปนพนักงานของรัฐก็มีหลายทาน และที่เปนศิษย เกามหาวิทยาลัยมหามกุฏฯ มีสองทานที่ผูเขียนรูจัก ทานแรกเรียนจบรุน แรกๆ หลังศาตราจารยเกียรติคุณ แสง จันทรงาม เล็กนอย ทานนี้เคย ดํารงตําแหนงอธิบดีกรมศาสนศึกษาของลาว อีกทานหนึง่ เคยดํารงตําแหนง อธิบดีกรมโบราณคดีของลาว ทานเปนนักศึกษารุน ที่ ๗ รุน เดียว และเรียน หองเดียวกับผูเขียน ลําดับสมณศักดิ์ของพระสงฆลาว เมื่อ จัว หรือ เจาหัว มีคุณสมบัติควรที่จะมีฐานันดรศักดิ์ได ทาง บานเมืองก็ยกยองขึ้นตามฐานานุรูป มีฐานันดรศักดิ์เปนขั้นๆ ดังนี้ ๑) สําเร็จ ๒) ซา ๓) คู ๔) ฝาย ๕) ดาน ๖) หลักคํา ๗) ลูกแกว และ ๘) ยอด แกว ซึง่ ในแตละขัน้ นัน้ สมเด็จพระมหาวีรวงศ (ติสโฺ ส อวน) ไดใหคาํ อธิบาย ไว ดังนี้ ๑. คําวา สําเร็จ ในแตละแหงเรียกตางกัน คือเรียก สําเร็จ ก็มี เรียก สมเด็จ ก็มี อันทีจ่ ริงคงเปนเพราะสําเร็จ กลายมาเปนสมเด็จตามทีใ่ ช อยูท ภี่ าคกลาง สวนชาวชนบททีย่ งั ยึดมัน่ ในลัทธิธรรมเนียมเดิม ยังคงเรียก สําเร็จอยู และธรรมเนียมของพระสงฆชาวเมืองเวียงจันทนสมัยกอนโนน มี หลักสูตรใหพระเณรเรียนดังนี้ ๑) สวดมนต ๒) มูลกัจจายนะ ๓) พระวินัย ทั้ง ๕ คัมภีร ๔) ธรรมบท ๕) ทศชาติ ๖) มงคลทีปนี ๗) วิสุทธิมรรค และ ๘) อภิธมั มัตถสังคหะ ผูท จี่ ะไดรบั สถาปนาในฐานันดรศักดิเ์ ปนสําเร็จ เปน ซา เปน คู ทั้ง ๓ นี้ นาจะเปนผูไดเรียนจบหลักสูตรที่กลาวขางตน สวน ผูที่ไดรับฐานันดรศักดิ์เปน สําเร็จ นาจะหมายเอาผูที่เรียนจบหลักสูตร เบือ้ งตน คือเรียนสวดมนตและมูลกัจจายนะจบ จะเปน จัว หรือเปนเจาหัว ก็ตาม เมื่อเรียนจบตามเกณฑแลวก็สถาปนาขึ้นเปน สําเร็จ แปลวาเปน ผูเรียนสําเร็จตามหลักสูตรเบื้องตน จัวกับเจาหัวเมื่อไดเปน สําเร็จ แลว ใชคํานําหนาตางกัน คือ ถาเปน จัว ใชวาสําเร็จจัว แตถาเปนเจาหัว ใชวา ๒๓๘


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

เจาหัวสําเร็จ เชน สําเร็จจัวทอง เจาหัวสําเร็จแกว เปนตน อนึ่ง ชาวเมืองหลวงพระบางมีการสถาปนาพระสงฆใหดํารง ฐานันดรศักดิ์เปน สาธุ และชาวเมืองเชียงตุงมีการยกยองพระสงฆใหมี ตําแหนงเปน สิทธิ ซึ่งคําวา สาธุ ของหลวงพระบาง และสิทธิของเชียงตุง ก็ มี ค วามหมายเท า กั บ สํ า เร็ จ เหมื อ นกั บ ของเวี ย งจั น ทน แต น า จะ หมายความวา สําเร็จตางกัน คือทางหลวงพระบางกับเชียงตุง นาจะ หมายเอาสําเร็จศาสนกิจปกครองหมูค ณะกับกิจ คือสัง่ สอนประชาชนดวย จึงเลือกยกยองเฉพาะผูที่ตั้งอยูในเถรภูมิทั้ง ๒ เมือง สวนทางเวียงจันทน นาจะหมายเพียงจบหลักสูตรที่กลาวขางตนเทานั้น ๒. คําวา ซา บางทานวามาจากภาษาจีน บางทานเห็นวา ซา มาจากอุปชฌายะ ผิดแตพูดทิ้งคําตนคําปลายเลยกลายเปน ฌา และใน ภาษาลาวออกเสียง ซ เทานั้น จึงเปน ซา ไป สวนผูที่จะเปนอุปชฌายะ ไดนั้น ตองตั้งอยูในเถรภูมิ แตในเรื่องนี้ผูตั้งอยูในนวกภูมิก็เปนซาได แมจวั ก็เปนซาได แททจี่ ริงนาจะเปนวาผูท ไี่ ดเลาเรียนหลักสูตรบุพภาคเบือ้ ง ตนจบจนไดเปนสําเร็จแลว แตยังพยายามเลาเรียนขึ้นไปอีกจนมีปรีชา สามารถรอบรูแตกฉานในพระไตรปฎก มีคุณวุฒิควรจรรโลงพระศาสนา ได จึงยกยองใหดํารงฐานนันดรศักดิ์เปน ซา ผูที่จะไดรับตําแหนงนี้ตอง เปนสําเร็จมากอนทั้งนั้น ถาเปน จัว ก็เรียก ซาจัว ถาเปน เจาหัว ก็เรียก เจาหัวซา เมื่อหมายเอาคุณวุฒิเชนนี้ คําวา ซา นาจะมาจากคําวา ปรีชา ซึ่งแปลวารอบรู ๓. คําวา คู ก็คือ ครู นั้นเองเพราะภาษาลาวไมมี ร กล้ํา ผูที่จะ ไดรับตําแหนงนี้ นาจะเลือกผูที่ประกอบดวยคุณสมบัติ ๒ ประการ คือ เปนผูท ตี่ งั้ อยูใ นเถรภูมแิ ลว เรียกวามีวยั วุฒิ และคุณวุฒไิ ดเลาเรียนมามาก สมควรเปนครูบาอาจารยสั่งสอนผูอื่นได ทั้งไดรับศักดิ์เปน สําเร็จ เปน ซา มาแลว เรียกวามีคุณสมบัติครบถวน จึงไดรับการยกยองเปน เจาหัวคู คือเปนครูผูสั่งสอน ความจริงผูที่จะไดรับตําแหนง สําเร็จ ซา คู ทั้ง ๓ นี้ เมือ่ เจามหาชีวติ ยังทรงเปนประธานอยูน นั้ นาจะตองเลาเรียนจบหลักสูตร ตามหลักเกณฑ ครั้นมาภายหลังเมื่อราษฎรเปนเจาภาพยกยองใหเปน สําเร็จ ซา คู ก็แลวแตราษฎรในถิน่ นัน้ ๆ จะจัดไปตามสติกาํ ลังของตน ไมมี ๒๓๙


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

กฎเกณฑทจี่ ะสรรหาผูท ปี่ ระกอบดวยวุฒธิ รรม เมือ่ เปนเชนนัน้ การแตงตัง้ ก็กลายเปนประเพณีทําบุญของชาวบานไป ๔. คําวา ฝาย เปนตําแหนงสําหรับผูปกครองหมูสวนหนึ่ง ผูที่ จะรับตําแหนงนี้ไดยอมเปนเจาหัวคูมากอน คือเปนผูสามารถในการ สัง่ สอน และปกครองสงฆตลอดจนประชาชนทัว่ ไป จึงไดรบั ยกยองใหเปน เจาหัวคูฝาย ตําแหนงนี้นาจะอนุโลมตามที่ฝายบานเมืองจัดการปกครอง ชนบท คือจัดใหมีเจาหนาที่เรียกวา ทาวฝาย และตาแสงปกครองราษฎร เทียบไดกับกํานันทุกวันนี้ เจาหัวคูฝาย นาจะเทียบเทาตําแหนงทาวฝาย ตางแตวาฝายหนึ่งปกครองสงฆ อีกฝายหนึ่งปกครองราษฎร ๕. คํ า ว า ด า น เป น ตํ า แหน ง สํ า หรั บ ผู ป กครองหมู ส ว นหนึ่ ง ดุจตําแหนงฝาย แตจะมีอาํ นาจหนาทีต่ า งกันอยางไรนัน้ ไมแนชดั สังเกตดู รูปโครงสรางเกือบเปนอันเดียวกัน คือเจาหัวคูดา นอยูท วี่ ดั ทุง เบือ้ งปจฉิม ทางตําบลชีทวน เจาหัวคูฝาย อยูที่วัดพระแกวเบื้องบูรพาทางตําบล ตอนมดแดง (ในตัวเมืองอุบล) เมื่อเปนเชนนี้ ดาน กับ ฝาย ทําใหเห็นวา เปนอยางเดียวกัน แตบางเมืองก็มีเฉพาะเจาหัวคูดาน ซึ่งแสดงใหเห็นวา ถามีตาํ แหนงหนึง่ แลว อีกตําแหนงหนึง่ ไมตอ งมีกไ็ ด หรือจะวา ดานเทียบกับ แขวง ฝาย เทียบกับ หมวด ก็อาจเปนได ๖. คํ า ว า หลั ก คํ า น า จะเป น ตํ า แหน ง สํ า คั ญ เปรี ย บด ว ย หลักทองคํา ผูที่จะไดดํารงตําแหนงนี้ตองเปนผูมีธรรมเปนหลัก หวังจัก มั่นคงในอันประกอบศาสนกิจ จึงจะไดรับการยกยองเปนเจาหัวคูหลักคํา ตําแหนงนีเ้ ทียบกับเจาคณะจังหวัดในบัดนี้ เพราะเมืองหนึง่ ยอมมีไดเพียง รูปเดียว แตราษฎรบางเหลาเรียกเจาคณะจังหวัดวาเจาหัวคูหลักคําก็มี บางเหลาเรียกวาเจาหัวคูหลวงก็มี ที่เรียกคําหลังนี้นาจะมีความหมายวา ไดรับแตงตั้งมาจากในหลวงนั่นเอง ๗. คําวา ลูกแกว เปนอีกตําแหนงหนึ่ง แตไมแนชัดวาจะมี ชั้ น ภู มิ เ พี ย งไร คงจะเป น ตํ า แหน ง รองที่ ค วรรั บ มรดกจากท า นที่ เ ป น สังฆบิดรเหมือนลูกอันควรรับมรดกจากพอแม เดิมทีตําแหนงนี้นาจะมีอยู เฉพาะทีเ่ มืองเวียงจันทนแหงเดียว ผูท จี่ ะไดดาํ รงตําแหนงนีก้ น็ า จะเลือกผูท ี่ มีความสามารถในศาสนกิจ มีคณ ุ สมบัตทิ สี่ มควรเปนศาสนทายาทของทาน ๒๔๐


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

ทีเ่ ปนสังฆนายกได จึงไดรบั ยกยองเปนเจาหัวคูลกู แกว ครัน้ ตอมาภายหลัง ไดเห็นบางเมืองนํามายกยองกันขึ้นก็มี ๘. คําวา ยอดแกว เปนตําแหนงสูงสุดในสังฆมณฑลลาว คือ เปนสังฆนายกประกอบดวยคุณวุฒิ และวัยวุฒิ ทั้งเปนครุฏฐานียบุคคล ผูควรเคารพยําเกรงของสังฆมณฑล และเจามหาชีวิตตลอดจนพสกนิกร จึ ง สถาปนาขึ้ น ให เ ป น เจ า หั ว คู ย อดแก ว เพื่ อ เป น ยอดเป น ที่ เฉลิมพระศาสนา ซึ่งมีอยูที่เมืองเวียงจันทนแหงเดียว อนึ่ง ศักดิ์ศรีที่ไดจากการบวช ถาบวชเปนสามเณร เรียกจัว สึกอออกมาเรียกเชียง บวชเปนพระเรียกเจาหัว สึกออกมาเรียกทิด หดสรง ครั้งแรกเรียกสําเร็จ สึกออกมาเรียกจารย หดสรงครั้งที่สองเรียก ชา หรือ ซา สึกออกมาเรียกจารยชา หดสรงครั้งที่สามเรียกยาคู สึกออกมาเรียก จารยครู หดสรงครั้งที่สี่เรียกยาทาน สึกออกมาเรียกจารยทาน ตอจากนั้น จะเรียกอยางไรไมปรากฏ การหดสรงจะตองจัดเครื่องใหครบทุกอยาง แตทชี่ าวบานบางแหงจัดอาจจะไมครบทุกอยาง เพราะ ถือธรรมเนียมตางกัน บุญกองหดหรือพิธีเถราภิเษก เครือ่ งกองหด มีผา สังฆาฏิ จีวร สบง ประคตเอว มีดโกน กลองเข็ม ผากรองน้ํา มีดตัดเล็บ ผาหมสีแดงหรือเหลือง รองเทาคีบ ไมเทาเหล็ก ตาลปตร หวอมกาบ (วอมในลานนา) เสือ่ สาด อาสนะ มีดชะนาก ขันหมาก กระโถน ขันน้าํ หรือโอง และขันลอย ฝายในไหมหลอด นอกจากนีก้ ม็ เี ครือ่ ง ประกอบซึ่งจะตองมีใหครบในวันงาน เครื่ อ งประกอบกองหด มี โ ฮงหด หลาบเงิ น หรื อ หลาบคํ า ศิลาอาสน เทียนกิ่ง เทียนเล็ก บายศรี (ขันหมากเบ็ง) น้ําหอม โฮงหด โฮงนี้ทําดวยไมแกน ขุดเปนรางยาว ๖ ศอก หัวหาง ทําคลายพญานาค เศียรเดียวหรือหลายเศียรก็ได ที่ตรงคอเจาะเปนรู กลมๆ สําหรับใหน้ําไหลลง เอาเหล็กเสน ๑ เสน ทําเปนราวปกจากหัว ไปหาง สําหรับไวปก เทียน ตัวโฮงหดลงรักปดทอง เปนของประจําวัดเพราะ มักจะใชเปนประจําทุกป ที่วัดสีสะเกด นครเวียงจันทน ผูเขียนก็เคยเห็น ๒๔๑


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

โฮงหดเมือ่ ไปลาวป ๒๕๓๒ ทางการเก็บรักษาไวในฐานะทีเ่ ปนวัตถุโบราณ ชิ้นหนึ่งที่เปนเอกลักษณทางวัฒนธรรมของชาติ หลาบเงินหลาบคํา คือเงิน หรือทองที่ตีเปนแผนบางๆ กวาง ๒ นิ้ว สวนยาวมีขนาดตางกันตามศักดิ์ แผนเงินเรียกหิรัญบัฏ แผนทอง เรียกสุพรรณบัฏ หลาบเงินใชหดสรงใหเปนสําเด็จ และซา หลาบทอง ใชหดสรงใหเปนยาคู และยาทาน ถาหดสรงใหเปนสําเร็จ วัดจากหาง ตาซายไปหาหางตาขวา เรียกสําเร็จเพียงตา หดสรงใหเปนซา วัดจากหู ขวาไปหาหูซาย เรียกซาเพียงหู หดสรงใหเปนยาคู วัดรอบหัว เรียกยาคู ฮอบงอน หลาบนี้ตกเปนของภิกษุผูไดรับหดสรง เพราะมีคําจารึกเจาของ ที่หลาบนั้น (ทางลานนาก็เรียกหลาบเหมือนกัน) ศิลาอาสน คือกอนหินสําหรับรองนั่ง ถาหากเปนกอนสูงเวลานั่ง หยอนขาลงมาได เรียกบัลลังกศิลาอาสน วางไวใตโฮงหดตรงที่เจาะเปน รูกลมๆ เอาหญาแพรก และใบกลวยรองขางลาง ใหพระภิกษุนั่งเวลาหด สรง คงจะถือเคล็ดวามีใจมั่นคงหนักแนนเหมือนหิน เทียนกิ่ง คือเทียนที่ทําเปน ๓ กิ่งคลายกิ่งไม คือเอาเทียนมา ๒ เลม เลมหนึ่งทําเปนตน อีกเลมหนึ่งหักตรงกลางติดกันเขาเปน ๓ กิ่ง เทียนกิ่งทําใหพอจํานวนพระภิกษุที่จะไปหดสรง เวลาหดสรงจุดเทียนกิ่ง ๓ คู เทียนกาบ ๓ คู ติดไวที่โฮงหด เทียนเล็ก เทียนนี้ใช ๑ คู สําหรับจุดถวายพระภิกษุที่เขาหดสรง ใหถอื ไวบชู าในเวลาฟงผูเ ฒาอานหิรญ ั บัฏหรือสุพรรณบัฏ หลังจากหดสรง แลว บายศรี คือขันหมากเบ็งใช ๑ คู เทียนอาด (เทียนชัย) ๒ คู เทียนอาดนี้ใชขี้ผึ้งดีหนักเลมละ ๑ บาท ปกไวท่บี ายศรีขางซาย และขวา ขางละหนึง่ เลม บายศรีซา ยขวานีย้ กมาตัง้ ไวขา งซาย และขวาของพระภิกษุ เวลาทําพิธีอานหิรัญบัฏ หรือสุพรรณบัฏ น้ําหดสรง น้ําที่จะหดสรง ใชจันทนหอมฝนใสน้ําทา น้ําขมิ้น หรือวานหอม ใสภาชนะมีขันเปนตนไปหดสรง ถาเปนเจานายใชหอยสังข พิธีหดสรง การหดสรงนั้น เอาโฮงหดไปตั้งลงทางทิศตะวันออก ของโบสถ หันหัวนาคไปทิศตะวันออก ปลูกราน (ศาลเพียงตา) ขึ้นที่ขาง ๒๔๒


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

โฮงหดทั้งสองขาง เอาบายศรีไปตั้งไว เอากอนหินหรือศิลาอาสนวางไว ใตโฮงหดตรงคอนาค เอาหญาแฝกใบกลวย (บางแหงใชใบคูณใบยอ) เอาวางไวใตกอ นหิน ผาขาวบางๆ หอหลาบเงินหลาบคําใสรองลงทีร่ คู อนาค ปลู ก ต น กล ว ยต น อ อ ยจากศาลาโรงธรรมมายั ง โฮงหด เอาผ า ขาวกั้ น เปนเพดาน กอนหินที่พระจะนั่งสรง เอาผาขาวลอมไว ไดเวลาบายโมง นิมนตพระสงฆลงรวมกันที่ศาลาโรงธรรม อุบาสกอาราธนาศีล และ อาราธนาพระปริตร เมือ่ พระสงฆเจริญพระพุทธมนตจบแลว เจาศรัทธาจะยกขันนิมนต ไปถวายสมภาร ถาตองการหดสรงรูปใดก็บอกสมภาร แลวสมภารจะ เรียกภิกษุรูปนั้นเขามา ธรรมเนียมมีอยูวาญาติโยมจะหดสรงภิกษุรูปใด ตองปดเปนความลับไวกอน ดวยเกรงวาทานจะอางเหตุผลตางๆ แลว จะไมรับนิมนต ทําใหเสียศรัทธา เมื่อทานรับแลว สมภารก็จะยื่นไมเทา เหล็กไปใหจับแลวจูงไปที่จะหดสรง พระสงฆและญาติโยมจะแหตามไป ถึงแลวนั่งบนศิลาอาสนหันหนาไปทิศตะวันออก ประณมมือตั้งใจระลึก ถึงคุณพระรัตนตรัย พระภิกษุผูเฒาก็จุดเทียนกิ่งเทียนกาบที่โฮงหด แลว หลั่งน้ําอบน้ําหอมลงที่โฮง ญาติโยมก็เริ่มหดสรง พระสงฆสวดชยันโต น้าํ หดสรงถือเปนน้าํ ศักดิส์ ทิ ธิ์ ตางก็เอาภาชนะของตนรองรับเอาน้าํ ไปหด สรงลูกหลานทีบ่ า นเพือ่ ใหอยูเ ย็นเปนสุข พวกมหรสพก็ตฆี อ ง กลอง เปาป สีซอ ดูเปนการสนุกครึกครื้น เมื่อเสร็จการหดสรงแลว ก็ทําการพินทุอธิษฐานผา นุงหมผาใหม สวมหวอมทีศ่ รี ษะ หมผางี มือซายถือไมเทา มือขวาถือตาลปตร กํามือขวาตี ฆอง ๓ ที พรอมเสกคาถาทีละจบวา “สีหนาทัง นทันเตเต ปริสาสุ วิสารทา” ครัน้ แลวก็แหพระรูปนัน้ ขึน้ ไปบนศาลา นัง่ บนอาสนะทามกลางสงฆ ญาติโยมนําเอาขันหมากเบ็งสองตนมาตั้งไวขางซาย และขวาของพระ รูปนั้น ผูเฒาจุดเทียนเล็ก ๑ คู ใหพระรูปนั้นถือ เวลาถือเทียนเล็กตองเอา แขนซายกายแขนขวาไขวกันครั้งหนึ่ง แลวเอาแขนขวากายแขนซายไขวกัน อีกครั้งหนึ่ง ผูเฒาเอาเทียนอาดที่ปกอยูที่ขันหมากเบ็งซายขวามาจุด ครั้นเสร็จตอนนี้แลวพิธีกรก็อานหิรัญบัฏสุวรรณบัฏ เมื่ออานจบวาระแรก ก็ตีฆองชัย ๑ ทีดวยกําปน ใหเสียงสาธุการ ๑ ครั้ง เมื่อจบวาระที่ ๒ ก็ตี ๒๔๓


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

ฆองชัย ๓ ที ใหเสียงสาธุการ ๓ ครั้ง การดีดพิณเปนปริศนาธรรม สอนให เดินตามสายกลางคือมัชฌิมาปฏิปทา อยาใหตงึ หรือหยอนเกินไป เมือ่ เสร็จ พิธแี ลวผูเ ฒาเจาพิธกี ม็ อบหลาบเงินหลาบคําใหตอ จากนัน้ ผูเ ปนเจาศรัทธา และทายกทายิกาก็ถวายอัฐบริขาร และปจจัยไทยธรรม เปนเสร็จพิธี ขอความที่อานประกาศนั้นความวา “ศรี ศรี ศุภมังคลุตตมทีฆายุ วัฑฒนะ พุทธศักราช....๓๔ ภิราชเฮืองฮม...๓๕ เหมันตกาลนิยมพรหมทินโนตม พระจันทรแจงโชติใสแสง แฝงกับนักขัตตยุตตมราชฤกษ ถึงหนวยชื่อวา... ๓๖ ภรณีลูกใสสนิทอันสถิตออยูใน...๓๗ เมษาราศรีสุกใสดีบเศรา ภายใน มี สั ง ฆราชครู เจ า เป น เค า ภายนอกมี เจ า ภู มิ ป าละเป น ประธานกั บ ทั้ ง บุตรหลานกรรมการใหญนอย สิบฮอยทาวพญา พรอมกันนอมนํามา ซึ่งปริขารา และน้ํามุทธาภิเษก อดิเรกพระพรแถมนามกรตื่นยศ ฮด...๓๘ ขึ้นสูพื้นสุวรรณรัชฏะปตตา ใหชื่อวา...๓๙ คัมภีรปญญาหรือสุขุมปญญา ศาสนูปถัมภสัมปนนะวโรจน โชติปาละเจาแล...” เมื่อผูที่ไดรับยกยองถึงตําแหนงเปนเจาหัวคูแลว ถึงแมจะเลื่อน ขึ้นไปอีกเปนเจาหัวคู ๒ หลาบหรือ ๓ หลาบก็ดี ก็คงเรียกวาเจาหัวคู อยูอยางเดิม เปนแตเพิ่มชื่อตําแหนงเขาขางทาย เชนเปนตําแหนงฝาย ก็เรียกวา เจาคูฝาย อนึ่ง ผูที่ไดรับฐานันดรศักดิ์แลวทุกชั้น เจามหาชีวิต หรือพระเจาแผนดินทรงยกชายฉกรรจใหเปนอุปฏฐากทั้งนั้นแตจะมาก หรือนอยไมแจงชัด และชายที่ยกใหเปนอุปฏฐากนั้น ยอมไดรับยกเวน จากการเกณฑ แรงงานหลวงทุ ก อย า ง เหมื อ นกั บ ที่ ป รากฏในตํ า นาน เมืองเชียงใหม ตอนที่พระมหากษัตริยลานนายกที่นาและขาคนถวายวัด เรี ย กว า ข า วั ด ให ทํ า หน า ที่ ดู แ ลทํ า ความสะอาดวั ด พระวิ ห ารลาน พระเจดีย จัดหาดอกไมธูปเทียนบูชา ตลอดจนเก็บดอกผลจากไรนา มาบํารุงพระสงฆสามเณรในวัด ๓๔ เปลี่ยนศักราชฯ ๓๕ เปลี่ยนฤดู ๓๖ เปลี่ยนฤกษฯ ๓๗ เปลี่ยนราศีฯ ๓๘ ออกชื่อเดิมของผูไดรับยกยองฯ ๓๙

ออกชื่อตําแหนง สําเร็จ ซาคู ปนตน

๒๔๔


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

อีกประการหนึ่ง ระเบียบที่เรียกผูที่ลาสิกขาจากเพศบรรพชิตนั้น ในเมืองลาวมี ดังนี้ คือถาสึกจากจัวสามัญ เรียกวา เซียง ถาเปนสําเร็จจัว หรือซาจัว เรียกวา จารยจัว หรือจารยซาจัว ถาเปนเจาหัวสามัญ เรียกวา ทิด ถาเปนเจาหัวสําเร็จ เจาหัวซา เจาหัวครู เรียกวา จารย จารยซา จารยคู ตามดวยนามเดิมตอทายทุกชัน้ ซึง่ ผิดกับทางลานนา ถาเปนเณรเรียก นอย ถาเปนพระเรียก หนาน ดังคําพังเพยของสาวลานนาวา “บไดพนี่ อ ยขอหอย พี่หนาน คนดิบคนดายมาพาน เอาตีนตั้งหนา” พิธีกรรมทางศาสนาแตละอยางที่ไมมีการทําสืบตอถายทอดถึง อนุชนรุนหลัง นาจะเปนสิ่งบงชี้ไดวานั่นเปนสัญญาณบอกถึงความเสื่อม ของพระศาสนาได ประวัติศาสตรศาสนาไดสอนใหเรารูวาเมื่อพระพุทธศาสนายังเจริญรุงเรืองอยูนั้น สภาพสังคมที่อปุ ถัมภบํารุงพระพุทธศาสนา ก็เอื้ออํานวย ฟาฝนก็ตกตองตามฤดูกาล จนถือเอาน้ําฟาสายฝนวา เปนสัญลักษณแหงความสงบรมเย็น ภายใตพระบรมโพธิสมภารของ พระมหากษัตริยที่ทรงปกครองอาณาประชาราษฎรดวยทศพิธราชธรรม น้ําฟาสายฝนจึงเอาไปเชื่อมโยงกับสิ่งที่ดีตางๆ ซึ่งเกิดขึ้นในแผนดินของ รัชกาลนั้นๆ ในทํานองเดียวกันถาภัยพิบัติเกิดขึ้นก็มักจะเอาไปเชื่อมโยง กับผูป กครองแผนดินเชนกัน สิง่ ใดทีส่ ญ ู หายไปแลวยากทีจ่ ะรือ้ ฟน กลับคืน มาไดเพราะสภาพการณตางๆ เปลี่ยนแปลงไปจากเดิม เหมือนกับพืช และสัตว (flora and fauna) บางชนิดที่หายไปจากถิ่นเดิมของมัน เพราะ สภาพแวดลอมในที่นั้นเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม

๒๔๕


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

สรุปผลการสัมมนา พระนคร ปรังฤทธิ์ (ปฺาวชิโร) เจาหนาที่โครงการศูนยศึกษาพระพุทธศาสนาประเทศเพื่อนบาน สํานักวิชาการ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตเชียงใหม บรรณาธิการ

การจัดสัมมนาทางวิชาการเรือ่ ง “เถราภิเษก : พิธยี กยอสมณศักดิ์ พระสงฆในลานนา” ในครั้งนี้ มีวัตถุประสงคสําคัญคือ เพื่อแลกเปลี่ยน ความรูเกี่ยวกับการยกยอหรือการแตงตั้งสมณศักดิ์ของพระสงฆลานนา ในอดี ต โดยประกอบพิ ธี “เถราภิ เ ษก” ซึ่ ง ถื อ เป น พิ ธี ก ารที่ สํ า คั ญ และศักดิ์สิทธิ์ทางพุทธศาสนา ในลานนาดวย การจัดสัมมนาเปนไปดวย ความเรียบรอยและบรรลุตามวัตถุประสงค มีวทิ ยากรและผูเ ขารวมสัมมนา จํานวน ๑๕๒ คน/รูป มีบทความจากผูทรงคุณวุฒิจํานวน ๘ บทความ รวมเผยแพรในเอกสารประกอบการสัมมนาจํานวน ๑๐๐ ชุด ซึ่งตอมา ทางคณะผู จั ด การสั ม มนาได พิ ม พ ร วมกั บ บทสรุ ป ผลการสั ม มนาจาก แตละเวที จัดทําเปนเอกสารทางวิชาการเผยแพรแกผูสนใจสําหรับใชเปน ฐานขอมูล ในการศึกษาวิจัยและพัฒนาสังคมตอไป หลังการสัมมนามีผูสนใจไดประเมินผลการจัดทําโครงการครั้งนี้ พรอมทั้งใหขอเสนอแนะตางๆ ดังตารางตอไปนี้ ขอ ๑

หัวขอ

S.D.

ระดับ

ความรูความเขาใจในเนื้อหาสาระ

๑.๑ เรื่อง “พระพุทธศาสนาในลานนา”

๓.๘๕ ๑.๐๑

ดี

๑.๒ เรื่อง“เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆ

๔.๑๑ ๐.๘๐

ดี

๔.๑๕ ๐.๘๘

ดี

ในเชียงตุงและลาว” ๑.๓ เรื่อง “เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆ ในลานนา” ๑.๔ เรื่อง “เถราภิเษกในมิติทางสังคมและวัฒนธรรม ลานนา”

๒๔๖

X

คาเฉลี่ยรวม

๔.๓๐ ๐.๘๘ ดีมาก ๔.๐๙ ๐.๖๖

ดี


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

การจัดการทั่วไป

๒.๑ กําหนดวันเวลาในการจัดสัมมนา

๓.๙๓ ๐.๗๓

ดี

๒.๒ พิธีการและกําหนดการสัมมนา

๔.๐๐ ๐.๗๓

ดี

๒.๓ การประชาสัมพันธ

๓.๔๔ ๐.๙๗

ดี

๒.๔ สถานที่การจัดสัมมนา

๓.๙๓ ๐.๘๗

ดี

๒.๕ อาหารและเครื่องดื่ม

๔.๐๐ ๐.๘๘

ดี

๒.๖ การอํานวยความสะดวกของเจาหนาที่

๔.๑๑ ๐.๗๐

ดี

๒.๗ สื่อประกอบการสัมมนา เชน ระบบเสียง ระบบแสง

๓.๗๔ ๐.๗๑

ดี

๒.๘ เอกสารประกอบการสัมมนา

๔.๑๕ ๐.๙๒

ดี

๓.๙๑ ๐.๕๐

ดี

ระบบภาพ

คาเฉลี่ยรวม

ประโยชนที่ไดรับ

๓.๑ องคความรูที่ไดรับจากการสัมมนา

๔.๓๓ ๐.๖๘ ดีมาก

๓.๒ ความรูสึกตระหนักถึงคุณคาของวัฒนธรรม

๔.๒๒ ๐.๗๕ ดีมาก

๓.๓ การนําความรูไปพัฒนามีการศึกษาและการแกไข

๔.๐๐ ๐.๘๕

คาเฉลี่ยรวม

๔.๒๐ ๐.๖๙ ดีมาก

คาเฉลี่ยรวม

๔.๐๒ ๐.๔๘

ปญหา เปนตน

ดี

ดี

จากตารางแสดงผลการประเมินโครงการฯ สามารถสรุปภาพรวม ของการจัดสัมมนาไดวา ผูตอบแบบประเมินจํานวน ๑๓๕ รูป/คน มีความ พึงพอใจในระดับดี คิดเปนคาเฉลี่ยรวม ๔.๐๒ โดยเรียงตามลําดับผลการ ประเมินดังนี้ ประโยชนทไ่ี ดรบั จากการสัมมนา อยูใ นระดับดีมาก คาเฉลีย่ ๔.๒๐ ความรูค วามเขาใจในเนือ้ หาสาระ อยูใ นระดับดี คาเฉลีย่ ๔.๐๒ การจัดการทัว่ ไป อยูใ นระดับดี คาเฉลีย่ ๓.๙๑ เมื่อพิจารณาในรายละเอียดจะเห็นวา ผลการประเมินเกี่ยวกับ องคความรูท ไี่ ดรบั จากการสัมมนา และการบรรยายเรือ่ ง “เถราภิเษกในมิติ ทางสังคมและวัฒนธรรมลานนา” อยูในระดับดีมาก คาเฉลี่ย ๔.๓๓ และ

๒๔๗


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

๔.๓๐ ตามลําดับ สวนการประชาสัมพันธ และสื่อประกอบการสัมมนา เชน ระบบเสียง ระบบแสง ระบบภาพ เปนตน ไดรบั การประเมินในระดับดี คาเฉลี่ย ๓.๔๔ และ ๓.๗๔ ตามลําดับ

๒๔๘

สวนการแสดงความคิดเห็น สามารถสรุปไดดังนี้ ๑. เนือ้ หาการสัมมนา มีเนือ้ หาสาระดี สามารถฟงเขาใจงาย และ ไดรบั ความรูเ พิม่ ขึน้ แตควรมีการนําเนือ้ หาในเชิงวิชาการทีช่ ดั เจนจากแหลง ขอมูลปฐมภูมิ เพื่อเปนแนวทางในการศึกษาคนควาใหกวางขวางขึ้น และ ควรเพิ่มหัวขอในการสัมมนาใหมากกวานี้ สํ า หรั บ วิ ท ยากรควรใช คํ า พู ด ที่ เ หมาะสมในการกล า วถึ ง อดีตกษัตริย โดยเฉพาะการกลาวถึงพระนาม ควรมีคํานําหนาใหชัดเจน เชน พระเจาอโศก พระญาลิไท พระเจากือนา พระเจาติโลกราช เปนตน นอกจากนัน้ วิทยากรบางทานควรจะอธิบายขยายความเนือ้ หาใหชดั เจนขึน้ ๒. การจัดการทั่วไป การบริหารจัดการอยูในระดับดี ดูแลผูเขา รวมฟงการสัมมนาเปนอยางดี แตสงิ่ ทีต่ อ งปรับปรุงคือระบบเสียงเนือ่ งจาก บางชวงเครื่องเสียงขัดของ ๓. สิง่ ทีผ่ เู ขารวมสัมมนาสามารถนําไปใชประโยชน องคความรู ที่ไดรับจากการสัมมนาในครั้งนี้สามารถนําไปใชประโยชนไดดังนี้ ๑. ใชในการเผยแผและธํารงรักษาพระพุทธศาสนาให เจริญมั่นคงตอไป ๒. นําไปปรับปรุงการเรียนการสอนใหแกนิสิต นักศึกษา และประชาชนทั่ ว ไป โดยเฉพาะเรื่ อ งเกี่ ย วกั บ ประวั ติ ศ าสตร พระพุทธศาสนาในลานนา ๓. ใชเปนแนวทางในการศึกษาวิจัยดานประวัติศาสตร พระพุทธศาสนาในลานนาไดเปนอยางดี ๔. ใชเปนฐานขอมูลในการเผยแผพระพุทธ-ศาสนา ในปจจุบนั ซึง่ ทําใหเขาใจถึงรากฐานและพัฒนาการดานสังคมของ พระสงฆลานนาจากอดีตจนถึงปจจุบัน ๕. พิธีเถราภิเษกกอใหเกิดประเพณีวัฒนธรรมลานนา ุ คาและกอใหเกิด อัตลักษณทางสังคมลานนา ในดานตางๆ ซึง่ มีคณ เชน ศิลปกรรม วรรณกรรม และพิธีกรรม เปนตน


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

๖. การจั ด สั ม มนาครั้ ง นี้ ทํ า ให เข า ใจถึ ง ประวั ติ ค วาม เปนมาของพิธีเถราภิเษกในลานนาและภูมิภาคใกลเคียงซึ่งมี ความสัมพันธกบั ลานนา เชน เมืองเชียงตุง ประเทศสหภาพพมา, เมืองสิบสองพันนา ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน, เมืองหลวง พระบาง ประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว เปนตน ขอเสนอแนะ จากการสัมมนาทางวิชาการเรือ่ ง “เถราภิเษก : พิธยี กยอสมณศักดิ์ พระสงฆในลานนา” จะเห็นวา ในอดีต แมวาพระสงฆลานนาผูประกอบ ดวยศีลาจารวัตรที่งดงาม ประพฤติปฏิบัติชอบตามหลักพระธรรมวินัย จนเปนที่เคารพศรัทธา จะไดรับการยกยองทั้งจากองคกรภาครัฐและภาค เอกชน โดยการยกยอ (แตงตั้ง) ใหดํารงตําแหนงสมณศักดิ์ในลําดับตางๆ ตามความเหมาะสม เชน สวาธุเจา สวาธุเจาหลวง (เจาวัดหรือเจาอาวาส) เจาธุ (ใชเรียกขานเฉพาะพระภิกษุทเี่ ปนเชือ้ พระวงศเทานัน้ ) ครูบา เปนตน อันเปนสมณศักดิท์ ไี่ ดรบั การยกยอจากประชาชนทัว่ ไป และสมณศักดิท์ ไี่ ด รับการยกยอจากฝายราชการโดยมีการประกอบพิธีเถราภิเษกอยางเปน ทางการ เชน ตําแหนง มหาเถระ สวามี สังฆราชา ราชครู สมเด็จ และ สมเด็จอัคคราชโมลี หรือสมเด็จเสฏฐอัคคราชครู (สมเด็จราชครู) ซึ่งเปน ลําดับสมณศักดิ์สูงสุดของพระสงฆลานนาในสมัยนั้นก็ตาม แตเนื่องจาก ปจจุบันตําแหนงสมณศักดิ์ที่ไดรับการยกยอจากภาครัฐและการประกอบ พิธี เถราภิเษกในลานนาถูกยกเลิกหลังจากที่อาณาจักรลานนาตกเปน ประเทศราชของอาณาจั ก รสยามจนกลายเป น ดิ น แดนส ว นหนึ่ ง ของ ประเทศไทยไปแลว ดังนั้น การที่จะรื้อฟนสมณศักดิ์พระสงฆและพิธี เถราภิเษกของลานนาดังกลาว จึงนับเปนสิ่งที่เปนไปไดยาก เพราะการ แต ง ตั้ ง สมณศั ก ดิ์ แ ละการประกอบพิ ธี เ ถราภิ เ ษกของล า นนาที่ ป รากฏ หลักฐานและรายละเอียดของพิธีการเปนครั้งสุดทายเมื่อ พ.ศ. ๒๓๘๘ ตรงกับปลายสมัยของเจาหลวงพุทธวงศ เจาผูครองนครเชียงใหมลําดับ ที่ ๔ เปนเวลา ๑๖๕ ปลว งมาแลว (นับจนถึงปจจุบนั คือ พ.ศ. ๒๕๕๓) ทําให องคความรูบางสวนขาดความสมบูรณ ในขณะเดียวกันองคประกอบของ พิธีเถราภิเษกบางสวนก็เปลี่ยนแปลงไป อีกทั้งโครงสรางขององคกรสงฆ ลานนาในปจจุบนั ก็ไดมกี ารปรับปรุงใหม โดยมีตาํ แหนงสมณศักดิพ์ ระสงฆ

๒๔๙


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

จากสวนกลางเขามาแทนที่อยางเปนระบบ หากรื้อฟนตําแหนงสมณศักดิ์ พระสงฆแบบเดิมขึ้นมาก็จะซ้ําซอนกับตําแหนงสมณศักดิ์พระสงฆจาก สวนกลาง จึงมีความเห็นวาไมควรมีการรื้อฟนใดๆ อีกตอไป แตควรมีการ ศึกษาวิจัยในเชิงลึกแลวนําองคความรูมาพัฒนาสังคมดานตางๆ สวนสมณศักดิ์ “ครูบา” ซึ่งยังปรากฏอยูในหลายพื้นที่นั้น มีความ เห็นวาคณะสงฆและหนวยงานที่เกี่ยวของควรจะกําหนดกฎระเบียบเพื่อ คัดเลือกและใหการรับรองอยางเปนทางการ เนื่องจากปจจุบันมีพระภิกษุ และสามเณรบางรู ป สถาปนาตนเองเป น ครู บ า แม ไ ม มี คุ ณ สมบั ติ เพียงพอ บางรูปยังมีความประพฤติที่ไมเหมาะสมและสรางปญหาซึ่งกอ ใหเกิดความเสียหายแกคณะสงฆ จนเปนเหตุใหศรัทธาประชาชนเสื่อม ศรัทธาตอองคกรสงฆอีกดวย นอกจากนี้วิทยากรยังใหขอเสนอแนะวา พระสงฆในยุคปจจุบัน ควรจะมีบทบาทในทางสังคมใหมากขึ้น โดยทํางานใหใกลชิดสัมพันธ กับชาวบานอยางที่เรียกวาเปนพระของชาวบานมากกวาจะเปนพระของ ฝายรัฐ ไมมุงประกอบพิธีกรรมแตเพียงอยางเดียว แตควรศึกษาเรียนรู ปญหาของชาวบานแลวแสวงหาธรรมะมาอบรมสั่งสอนดวยวิธีการตางๆ เพื่อใหชาวบานดําเนินชีวิตอยางมีความสุข อันจะสงผลใหองคกรสงฆ เปนที่พึ่งของชาวบานอยางแทจริง

ผูสนใจรวมฟงการสัมมนา

๒๕๐


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

พระปลัด ดร. เสนห ธมฺมวโร ผูอํานวยการสํานักวิชาการ มจร. วิทยาเขตเชียงใหม ถวายของที่ระลึกแดพระราชปริยัติเมธี ประธานกลาวเปดการสัมมนา

ศ. นิธิ เอียวศรีวงศ วิทยากรการสัมมนา รับมอบของที่ระลึก

๒๕๑


เถราภิเษก : พิธียกยอสมณศักดิ์พระสงฆในลานนา

สุพรรณบัฎเถราภิเษก เมืองเชียงตุง ประเทศสหภาพพมา

สุพรรณบัฎเถราภิเษก เมืองหลวงพระบาง ประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว

๒๕๒


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.