Change Management_Sompasong

Page 1

สมประสงค โกศลบุญ คณะพาณิชยศาสตรและการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร 1


► ►

► ► ► ► ► ► ► ► ► ► ►

สาระสังเขป: การจะเปนองคกรที่มีขีดสมรรถนะสูงจะตองเปนองคกรทีม่ ีความยืดหยุน มุงเนนนวัตกรรม (Organization Ability and Innovation) และสามารถปรับตัวใหเขากับการ เปลี่ยนแปลงตามบริบทตางๆ รวมทัง้ สามารถพัฒนาองคความรูเกี่ยวกับการบริหารราชการแนวใหม และ สรางสรรคในสิง่ ใหมๆ ใหเหมาะสมและสอดคลองกับยุทธศาสตรที่เปลี่ยนไปได ภายใตหลักการและ คุณลักษณะที่สําคัญขององคการมหาชน กลาวคือ การเปนองคกรที่มีความเปนอิสระในการบริหารจัดการ บริหารในรูปแบบคณะกรรมการ มีการบริหารเชิงประสิทธิภาพ และสามารถวัดผลงานไดอยางชัดเจน การ วางแผนพัฒนาองคกรและโครงสรางการบริหารจึงควรพิจารณาและคํานึงถึงหลักการสําคัญดังกลาวดวย วัตถุประสงค: ผูเขารวมโครงการเขาใจและสามารถอธิบายถึงความจําเปนที่จะตองมีการพัฒนาและเปลี่ยนแปลงองคกร ผูเขารวมโครงการเขาใจและสามารถวิเคราะหปจจัยทีส่ าํ คัญที่ควรพิจารณาในการเปลี จารณาในการเปลี่ยนแปลงองคกร ผูเขารวมโครงการเขาใจถึงแนวคิดและหลักการในการบริหารการเปลี่ยนแปลง ผูเขารวมโครงการสามารถวางแผนพัฒนาองคกรและโครงสรางการบริหารองคกรใหเปนไปตามหลักการ ขององคการมหาชน ประเด็นเนื้อหา: ธรรมชาติของการเปลี่ยนแปลงองคกร ปจจัยทีส่ าํ คัญที่ควรพิจารณาในการเปลี่ยนแปลงองคกร การบริหารการเปลี่ยนแปลงองคกร กลยุทธและขั้นตอนในการบริหารการเปลี่ยนแปลง 2 การวางแผนพัฒนาองคกรและโครงสรางการบริหารใหเปนไปตามหลักการขององคการมหาชน


ประเด็นรวมสมัย และความคิดเห็นของ Guru ► ► ► ► ► ► ► ► ► ►

Harvard Business Review- ผูนํากับการนําการเปลี่ยนแปลง Business Week- การสรางนวัตกรรม Sumsung and Korean Model Apple and Steve Job Google and Yahoo Motorola and standardization VS 3M and customisation Oishi and Honda บอนอก หินกรูด ทางดวน และยายไฮ Toyota Camry and Toyota’s ways, Sony and Sumsung Design Culture and Rational Consumer 3


สวนที่หนึ่ง: องคกรสมัยใหมเปลี่ยนแปลงอยางไร และผูนํามีบทบาทอยางไรบาง?

4


คูแ ขง รายใหม ผูซื้อ

ผูขาย/ บริการ

องคกร

เศรษฐกิจ

สินคา ทดแทน

คูแ ขง เทคโนโลยี

กฎหมาย /การเมือง

คุณคา /สังคม

ภูมิหลัง ประชากร 5


ลูกคา

ผูขาย ผูถือหุน ชุมชน

เจาหนี้ องคกร เอกชน

องคกร

รัฐ

การเมือง พนักงาน คูแขง

ผูมีสวนไดเสีย

เงื่อนไขจากตางประเทศ

6


ธุรกิจสมัยกอน

ถูก

ทัน สมัย

เร็ว

ดี 7


ธุรกิจสมัยใหม

ถูก ดี เร็ว ทันสมัย

8


1. Cost competitiveness การมีตน ทุนที่แขงขันได การประหยัดตนทุนหรือทําใหตน ทุนต่ําเพื่อใหสัดสวน กําไรสูง และราคาต่ําดึงดูดลูกคาที่ไมตองการจายแพง โดยอาจประหยัดไดจากหลายดาน เชน วัตถุดบิ ผลิต

2. Quality การมีคุณภาพดี การมีคุณภาพดี หมายถึง สินคาหรือบริการที่มีความดึง ดูด นาสนใจ มีขอบกพรองนอย เชื่อถือได ใชงานไดนาน ซึ่งลูกคาอาจพอใจที่จะจายแพงกวา เพื่อคุณภาพที่เพิ่มขึ้น 9


3. Speed ความรวดเร็ว การขายสินคาหรือบริการที่มีความรวดเร็ว ในการปฏิบัติ ไมวาจะเปนการนําเสนอ การตอบสนอง หรือการสงมอบ เปนสิง่ ที่สรางความพึงพอใจใหลูกคา

4. Innovation นวัตกรรม ความสามารถในการเสนอสินคา หรือบริการใหม ๆ ที่ ตอบสนองตอความตองการของลูกคาที่เปลี่ยนไป ตลอดเวลา เพราะไมมีสินคาใดที่ลูกคาจะพอใจตลอดไป 10


ลูกคาสมัยกอนผูผลิตมีนอ ย ตลาด แยกกันชัดเจนวาจะเลือกสินคาระเภทใด ถูก ดี เร็ว ทันสมัย ปจจุบนั ผูผลิตมีมาก ผูซื้อมีมาก มีอํานาจตอรอง ถาอยากจะขายไดตองพยายามสรางความพอใจ ใหลูกคาหลาย ๆ เงื่อนไข หรือมากที่สดุ ถูก + ดี + เร็ว + ทันสมัย 11


การบริหารที่ดีจะตองมี ประสิทธิภาพ และประสิทธิผล อยางไร?

ประสิทธิภาพ (Efficiency) การทํางานเพื่อใหบรรลุเปาหมายขององคกร โดยใชทรัพยากรนอยที่สุด ดวยวิธีการที่ดีที่สุด

ประสิทธิผล (Effectiveness) ความสามารถในการบรรลุผลขององคกร หรือเปาหมายที่กําหนดไวอยางสมบูรณ และผลที่ไดรับเปนไปตามที่ตองการ

12


ผูบริหาร ระดับสูง ผูบริหาร ระดับกลาง ผูบริหารระดับตน 13


ลูกคา พนักงานชั้นตน หัวหนางาน ผูนํา 14


ผูบริหารระดับตน

เกเกงงงาน งาน

เกเกงงงาน งาน

เกเกงงงาน งาน

เกเกงงคน คน

ผูบริหารระดับกลาง

เกเกงงคน คน

เกเกงงคน คน

เกเกงงคิคิดด

เกเกงงคิคิดด

ผูบริหารระดับสูง

เกเกงงคิคิดด

15


SUBSYSTEM

SYSTEM

16


EQUIFINALITY หลักการที่กลาวถึง วิธีการ ในการบรรลุเปาหมายวามี หลายวิธีเพื่อใหไดผลไดที่ ไมแตกตางกัน และไมไดมี วิธีที่ดีทสี่ ุดเพียงวิธีเดียว 17


ระดับกับงาน

ผูบริหารระดับ ตน / หัวหนา

บทบาทที่ เปลี่ยนไป

จากผูปฏิบัติงาน ประจําวันไปเปน เจาของกิจการ ดําเนินงานธุรกิจ โดยเนนที่ผลผลิต ของหนวยงาน สรางและหาโอ กาสการเติบโตเพื่อ หนวยงาน/องคกร แสวงหา/พัฒนา ทรัพยากรและ ประสิทธิภาพ

คุณคางาน พื้นฐาน กิจกรรม หลักของ ตําแหนง

ผูบริหารระดับ กลาง

ผูบริหารระดับ สูง

จากผูควบคุมการ บริหารจัดการ ไปเปนผูสนับสนุน สนับสนุนและ ประสานงานให องคกรและหนวย พัฒนาบุคลากรและ สนับสนุนการทํา งาน เชื่อมตอดาน ความรูทักษะและ บริหารความกดดัน ในการบรรลุผล

จากผูจัดสรร ทรัพยากรไปเปน ผูนําแบบสถาบัน สรางสรรและ นําองคกร และตอทุกคน นําองคกรไปสู เปาหมายโดยสราง โอกาสและมาตร ฐานในการทํางาน สรางวัฒนธรรม และสนับสนุน 18


การเปลี่ยนแปลงและอนาคตของการบริหาร 1 . โลกาภิวัตน ( Globalization )

2 . คุณภาพรวมทั้งระบบ ( Total Quality )

3. องคกรแหงการเรียนรู ( Learning Organization ) 19


1 . โลกาภิวัตน ( Globalization ) โลกา + อภิวัฒน = โลกาภิวัตน โลกที่เปลี่ยนแปลงพัฒนาไปอยางมาก GLOBALIZATION = Global + lize + tion การเปนโลกหนึง่ เดียวกัน Multi - National - Companies = MNCs บรรษัทขามชาติ 20


2 . คุณภาพรวมทั้งระบบ ( Total Quality ) Q.C. Q.C.C. I.S.O. T.Q.M.

QUALITY CONTROL QUALITY CIRCLE CONTROL INTERNATIONAL ORGANIZATION FOR STANDARDIZATION TOTAL QUALITY MANAGEMENT

วิธีการบริหารจัดการที่สนับสนุนใหเกิดความพึงพอใจสูงสุดสูลูกคา ทั้งการสรางและการรักษาความพึงพอใจ โดยใชเครื่องมือและเทคนิค หลากหลาย โดยมุงผลใหเกิดสินคาและบริการทีม่ ึคุณภาพสูง

คุณภาพ v.s. มาตรฐาน เหมือนหรือตางกันอยางไร ?

21


3. องคกรแหงการเรียนรู ( Learning Organization ) ทักษะขององคกร ที่ไดสรางสรรค ไดมา หรือถายทอด องคความรู และไดมีการปรับแตง เพื่อใหสามารถสะทอน ถึงความรู พฤติกรรมการนําไปใช และเขาใจอยางแทจริง เพื่อความอยูรอดและปรับตัวขององคกร ใหสนองตอการ เปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นตลอดเวลา เชนเดียวกับสิ่งมีชีวิตที่ ตองเรียนรู และพัฒนาทักษะตลอดเวลา ดังนั้น จึงไมมี กฎเกณฑหรือขอกําหนดอะไร ขององคกรที่มลี ักษณะ แนนอนไมเปลี่ยนแปลง หรือความรูอะไรที่เคยใชไดผล ในอดีต จะตองเปนกฎเกณฑที่จะตองใชตอไปเสมอ

22


ผูบริหารแบบดั้งเดิม 1. คิดวาตัวเองเปน ผูบริหารหรือเจานาย 2. ทํางานตามสายงาน บังคับบัญชาเครงครัด 3. ตัดสินใจคนเดียว 4. หวงขอมูล 5. รูอะไรกระจางอยู อยางเดียว 6. หาคําตอบและ แนวทางสนองเบื้องบน 7. ชอบทํางานเดิม ๆ 8. ทําตัวเปนนายมอง คนอืน่ เปนคูแขง 9. ใชเวลากับงานมาก

ผูบริหารรวมสมัย 1. คิดวาตนเองเปน ผูชวยหรือที่ปรึกษา 2. ติดตอกับใครก็ได ทีท่ ําใหงานเดินหนา 3. ใหผูอื่นมีสว นใน การตัดสินใจ 4. ชอบแชรขอมูล 5. พยายามเขาใจ งานรอบดาน 6. หาแนวทางโดย การรวมกบคนอืน่ 7. ชอบเรียนรูใหมๆ 8. มีมนุษยสัมพันธดี 9. ดูผลของงาน 23


มองไปในอนาคต การบริหารจะเปลี่ยนแปลงรูปแบบไปดังนี้ 1. จากองคกรแบบราชการทีม่ ีรปู แบบใหญโต มีกฏเกณจะเปนองคกรที่ยืดหยุน 2. จากรูปแบบธุรกิจเดิม ๆ จะเปลี่ยนแปลงและเกิดนวัตกรรมใหม ๆ 3. จากที่เชื่อวา บุคลากรเปนสวนประกอบหนึง่ ขององคกรเหมือนกับเครื่องจักร ที่ตองควบคุมและใชงานใหคุมคา จะมาเปนแนวคิดวาบุคลากรสามารถสราง ความไดเปรียบในการแขงขันไดหากพิจารณาวาเปนทรัพยากรทีม่ คี า 4. จากเกงคนเดียว เปนพึ่งพาฝมือของทีม 5. จากฟงเจานายมาเปนฟงลูกคา ความตองการลูกคาควรตอบสนองกอน 6. ใชขอมูลสารสนเทศและเทคโนโลยีเพื่อเสริมสรางความสามารถของบุคลากร ไมใชเอามาเปนขอไดเปรียบในการควบคุมคนอื่น จากขอมูลที่เหนือกวา 7. จากผูบริหารตัดสินใจคนเดียวมาเปนพนักงานทุกคนมีสวนรวมในการนํา 8. จากภาพที่ทาํ งานใหดูยุง WORK HARD มาเปน WORK SMART ดูที่ผล ไมใชดูที่ภาพ ที่ดูยุงเหยิง ขั้นตอนรูปแบบมากมายแตไรผล

24


Organizational Structure & Strategies Functional Organization ► Customer/Product-Geographical Division Organization ► Matrix Organization ► Organizational Culture ►

MBA Thammasat University – BA 642 Somprasong Kosonboon 25


26


The ORGANIZATION & Strategies Three key tasks: 1. Selecting able people for key positions 2. Developing skills, core competencies, & competitive capabilities 3. Creating strategy-supportive organization structure 27


Core Competency â–ş

A company's core competency is the one thing that it can do better than its competitors. A core competency can be anything from product development to employee dedication. Modern business theories suggest that most activities that are not part of a company's core competency should be outsourced. If a core competency yields a long term advantage to the company, it is said to be a sustainable competitive advantage.

â–ş

The concept of core competencies was developed in the management field. C.K. Prahalad and Gary Hamel introduced the concept in a 1990 Harvard Business Review article. They wrote that a core competency is "an area of specialized expertise that is the result of harmonizing complex streams of technology and work activity." 28


Core Competency ►

As an example they gave Honda's expertise in engines. Honda was able to exploit this core competency to develop a variety of quality products from lawn mowers and snow blowers to trucks and automobiles. To take an example from the automotive industry, it has been claimed that Volvo’s core competence is safety.

According to Prahalad and Hamel a core competence has three characteristics: it provides potential access to a wide variety of markets, it increases perceived customer benefits and it is hard for competitors to imitate. 29


EXAMPLES OF CORE COMPETENCIES (In the past 10 years- Look! What are the CHANGEs?) Honda ► Expertise in gasoline engine technology & small engine design Procter & Gamble ► Superb marketing-distribution skills and R&D capabilities in five core technologies -- Fats, oils, skin chemistry, surfactants, emulsifiers Intel ► Design of complex chips for personal computers Sony ► Expertise in electronic technology & ability to translate this expertise into developing & manufacturing innovative products -- Miniaturized radios & video camera and TVs & VCRs with unique features

30


การจัดองคการ แนวความคิดพื้น ฐานการจัดองคการ การจําแนกความแตกตาง Differentiation การรวมกลุมงาน Integration

โครงสรางแนวดิง่

โครงสรางแนวนอน

สิทธิอํานาจ

หนวยงานหลัก

ลําดับชั้นการสัง่ การ

หนวยงานสนับสนุน

ขนาดการควบคุม

ประเภทองคการ

การมอบหมายงาน

Function Division Matrix

การรวม-กระจายอํานาจ

การประสานงาน

31


วัฒนธรรมองคกร คือ โครงสรางพื้นฐาน ของสมมติฐาน คุณคา คานิยม ความเชื่อ ซึ่งเกี่ยวของและครอบคลุมแนว ทางที่พนักงานในองคกรคิดและกระทําตอเรื่องที่เกิดขึ้น ทั้ง ในการสรางสรรคสิ่งใหม หรือการแกปญหา ซึ่งถูกพัฒนาขึน้ ในองคกร และเปนพื้นฐานของพฤติกรรมของบุคคลในองคกร 32


โครงสรางของวัฒนธรรมองคกร Mental Models แนวความคิดทีก่ วางขวางโดยทัว่ ไปเกี่ยวกับ ทฤษฎีที่ถูกใช ซึ่งคนทัว่ ไปจะมีความเชื่ออยูบน แนวทางและ การรับรูแ ละพฤติกรรม Values คุณคาของความเชื่อ ที่สั่งสมมายาวนาน ซึ่งเกี่ยวกับ ความสําคัญที่ปจเจกบุคคลใหตอเรือ่ งหนึง่ ๆ 33


Artifact of Organizational Culture

Physical Structures Ritual and ceremonies Stories and legends Language

Organizational Culture

Beliefs Values Assumptions 34


การวิเคราะหวฒ ั นธรรมองคกรจากสิ่งที่องคกรสรางขึ้นทีปรากฎ ่ ปรากฎอยู Artifacts สัญลักษณที่สามารถสังเกตได จากสิ่งที่ปรากฎในองคกร ซึ่งรวมถึงโครงสรางเชิงกายภาพ การจัดพิธีกรรม การใชภาษา ตลอดจนเรือ่ งราวอืน่ ๆ Rituals พิธีการซึ่งเกิดขึน้ อยางเปนระบบ หรือเกิดขึ้นในประจําวัน ภายในองคกร ซึ่งเปนวิถชี ีวิตที่ครอบคลุมวัฒนธรรมองคกร Ceremonies กิจกรรมทีม่ กี ารวางแผนลวงหนาซึ่งนําไปปฏิบัติ เพื่อ ใหเกิดประโยชนตอผูร ับสารในองคกรที่ตีความเหตุการณที่เกิดขึ้น ในแงสัญลักษณ 35


• • • •

ภาษาในองคกร โครงสรางเชิงกายภาพ ระบบสัญลักษณ ตํานาน และตัวบุคคล 36


วัฒนธรรมองคกรและสมรรถภาพ เนื้อหาที่เหมาะกับ สิ่งแวดลอม การมีวัฒนธรรมที่ เขมแข็งพอควร

• สมรรถภาพขององคกรที่มีผลจาก วัฒนธรรม • การปฏิบัติในเชิงจริยธรรมองคกร

วัฒนธรรมที่ปรับใชได 37


กลยุทธการปรับใชวัฒนธรรมในองคกรที่แตกตางกัน Assimilation การใชวัฒนธรรมขององคกรทีเ่ หนือกวาตอองคกร ที่มวี ัฒนธรรมออนกวา Deculturation การใชวัฒนธรรมขององคกรหนึง่ ตออีกองคกร Integration การรวมวัฒนธรรมมากกวาหนึง่ วัฒนธรรมเขาดวยกัน Seperation การแยกใชวัฒนธรรมของแตละองคกร

38


กลยุทธในการสรางความเขมแข็งทางวัฒนธรรม • กิจกรรมของผูน ําหรือผูก อตัง้ • การใหรางวัลในกรณีมพี ฤติกรรมทีเ่ สริมสรางวัฒนธรรม • รักษาพนักงานใหอยูก ับองคกร • สรางเครือขายทางวัฒนธรรม • เลือกและอบรมพนักงาน

39


Contrast of old and new models of organization Old

New

• Individual position, job unit

• Team as basic unit

• Vertical flow of information • Tall, many layers • Emphasis on structure • Rule and standard procedures • Fixed hours • Career paths upward, linear • Standardized evaluation • Single strong culture • Local value chain • Country environment defined

• Horizontal and Vertical flow • Flat, few layers management • Emphasis on processes • Results and outcomes oriented • Flexible workday, part-time • Career paths lateral, flexible • Customized evaluation • Diversity of viewpoints • Value chain crossing border • Global environment defined 40


• Elaborate on history • Communications about and by “heroes” and others • Leadership and role modeling • communicating norms and values • Reward system • Career management and job security • Recruiting and staffing • Socialzation of new staff • Training and Development • Member contact, Intergroup • Participate decision making

Method

Develop a sense of history

Create a sense of Oneness

Promote a sense of Membership

Cohesive organizational culture

Increase exchange among Members 41

Intervening Conditions

Outcome


Human Capital and Business Competitiveness

42


แนวคิดเรื่องการสรางองคกรแหงการเรียนรูของ Senge 1. การพัฒนาความรู ความสามารถ ของแตละบุคคล

2. พัฒนารูปแบบการคิด และตัดสินใจใหมคี วาม ซับซอนและหลากหลาย

5. กระตุนการคิดเชิงระบบ 4. สรางการพัฒนา วิสัยทัศนรวมกัน

3. สรางและสนับสนุน การทํางานเปนทีม 43


Organisational culture

Equity (Decentralisation)

Person Emphasis (low formulation )

INCUBATOR (Fulfilness-oriented culture)

GUIDED MISSILE (Project-oriented culture)

Sweden

USA, UK and Canada

FAMILY (Power-oriented culture)

EIFEL TOWER (Role-oriented culture)

Spain, France and Japan

Germany, Denmark

Task Emphasis (High formulation)

Hierarchy (Centralisation)

44

Source: Trompenaars, 1993:159


สวนที่สอง: แรงผลักดันและการบริหารการเปลี่ยนแปลง แรงผลัก

ตัวอยาง

Nature of the workforce คนใหม วัฒนธรรมเปลี่ยน คนเกาแกลง Technology เร็ว ถูก มีสมรรถนะสูง Economic shocks เงื่อนไขทางเศรษฐกิจในทุกระดับ Competition การแขงขันในระดับโลก ประเทศ และภูมิภาค Social trends แนวโนมโลกในเรื่องตางๆ ความนิยมขามชาติ World politics ตลาดการคาสากล การกอการราย 45


การบริหารการเปลีย่ นแปลง Change การทําใหสรรพสิ่งแตกตางไป

Goals Goalsof ofPlanned Planned Change: Change:

Planned Change กืจกรรมการเปลี่ยนแปลงที่ เกิดจากภายใน และมีการ วางเปาหมายลวงหนา

ปรั ปรับบปรุ ปรุงงประสิ ประสิททธิธิภภาพของ าพของ องค องคกกรในการตอบสนอง รในการตอบสนอง ตตออการเปลี การเปลี่ย่ยนแปลง นแปลง

Change Agents บุคคลที่มีสวนตอการ เปลี่ยนแปลง โดยเขาไปมีผล ในฐานะตัวกระตุน  การ เปลี่ยนแปลงในองคกร

เปลี เปลี่ย่ยนพฤติ นพฤติกกรรมของบุ รรมของบุคคคล คล และองค และองคกกรให รใหสสอดคล อดคลอองตงตออ การเปลี การเปลี่ย่ยนแปลง นแปลง 46


การตอตานการเปลี่ยนแปลง รูปแบบ ชัดแจงและทันที Overt and immediate ►การบน

การตอวา การประทวง

บงเปนนัยและคอยเปนคอยไป Implicit and deferred ►ขาดงาน

ซุบซิบนินทา หาพวก เฉื่อยงาน 47


ที่มาของการตอตานการเปลี่ยนแปลงของบุคคล นิสัย

การเลือก รับขอมูล การตอตาน ของปจเจกบุคคล ความกลัว ความไม แนนอน

ความมัน่ คง ปจจัยดาน รายได

48


ที่มาของการตอตานการเปลี่ยนแปลงในระดับองคกร ความไม มั่นใจวาจะ ไดรับ ประโยชน เทาเดิม

กลัวสูญเสีย อํานาจและ ความสัมพันธ

การตอตาน ในระดับองคกร

โครงสราง พื้นฐานไม เกื้อหนุนการ เปลี่ยนแปลง

มีขอจํากัดใน การเขาใจการ เปลี่ยนแปลง กลัวสูญเสีย ความสําคัญ

49


Change Management Model

50 50


Formula for Change ►

► ►

The Formula was created by Richard Beckhard and David Gleicher and is sometimes called Gleicher's Formula. This formula provides a model to assess the relative strengths affecting the likely success or otherwise of organisational change programs. DxVxF>R Three factors must be present for meaningful organisational change to take place. These factors are: D = Dissatisfaction with how things are now; V = Vision of what is possible; F = Initial, concrete steps that can be taken towards the vision. If the product of these three factors is greater than R = Resistance, then change is possible. Because of the multiplication of D, V and F, if any one is absent or low, then the product will be low and therefore not capable of overcoming the resistance. To ensure a successful change it is necessary to use influence and strategic thinking in order to create vision and identify those crucial, early steps towards it. In addition, the organisation must recognise and accept the dissatisfaction that exists by communicating industry trends, leadership ideas, best practice and competitive analysis to 51 51 identify the necessity for change.


Lewin’s Three-Step Change Model Unfreezing

Refreezing

Change efforts to overcome the pressures of both individual resistance and group conformity.

Stabilizing a change intervention by balancing driving and restraining forces.

Driving Forces

Restraining Forces

Forces that direct behavior away from the status quo.

Forces that hinder movement from the existing equilibrium.

52 52


Lewin’s Three-Step Change Model

53 53


Unfreezing the Status Quo

54 54


การแกปญหาการตอตาน •• การให การใหกการศึ ารศึกกษาษาEducation Educationand andcommunication communication •• การเรี การเรียยกรกรอองให งใหมมีสีสววนรนรววมมParticipation Participation •• การสนั การสนับบสนุ สนุนนFacilitation Facilitationand andsupport support •• การเจรจาต การเจรจาตออรอง รองNegotiation Negotiation •• การเข การเขาควบคุ าควบคุมมและส และสงตังตัววแทน แทนManipulation Manipulationand andcooptation cooptation •• การกระตุ การกระตุน น เตืเตืออนนCoercion Coercion

55


การเมืองแหงการเปลี่ยนแปลง ► ตัวกระตุนจากภายนอกสรางความเปลี่ยนแปลงสูง ► ตัวกระตุนจากภายในจะเกี่ยวกับการระแวงการสูญเสียอํานาจ ► คนที่ยึดอํานาจมานานจะกลัวสูญเสียสถานะ ► การดิ้นรนตอสูแหงอํานาจในองคกรจะเปนตัวกระตุน

การเปลี่ยนแปลงในขั้นสุดทาย

และสงผลตอ

56


การบริหารการเปลีย่ นแปลง 1. สรางความรูสึกรวมวาทําไมตองเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็ว 2. สรางแนวรวมเพื่อการเปลี่ยนแปลงที่มีอํานาจดึงดูดใจเพียงพอ 3. สรางวิสัยทัศนใหมเพื่อบรรลุความเปลี่ยนแปลงและเปาหมายใหม 4. สื่อสารเปาหมายและวิสัยทัศนไปทั่วองคกร 5. ใหอํานาจผูมีสวนรวมใหกระตุนการเปลี่ยนแปลง และขจัดอุปสรรคของการ เปลี่ยนแปลง 6. สรางแผน และ ใหรางวัล ตอการบรรลุแผนระยะสั้นในการบรรลุเปาหมาย ตางๆ ในชวงตน 7. ประมวลผล และปรับปรุงเพื่อตรวจสอบการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น 8. เสริมการเปลี่ยนแปลง โดยแสดงใหเห็นถึงผลดีของการเปลี่ยนแปลง ตอ ความสําเร็จขององคกรที่เกิดขึ้นจากการเปลี่ยนแปลง

57

Source: Based on J. P. Kotter, Leading Change (Boston: Harvard Business School Press, 1996).


การสรางองคกรแหงการเรียนรู Learning Organization Learning Organization

คุคุณณลัลักกษณะ ษณะCharacteristics: Characteristics:

องคกรซึ่งพัฒนา และมีความ พรอมในการเรียนรูส  ิ่งใหม และมีการตอบสนองตอการ เปลี่ยนแปลงอยางมี ประสิทธิภาพในเชิงบวก

1. 1.มีมีววิสิสัยัยทัทัศศนนรรววมกั มกันน 2. 2.เลิเลิกกวิวิธธีคีคิดิดแบบเก แบบเกาๆาๆทีที่เป่เปนนอุอุปปสรรค สรรค 3. 3.ตระหนั ตระหนักกววาองค าองคกกรคืรคืออระบบของการ ระบบของการ ทํทํางานร างานรววมกั มกันนมากกว มากกวาโครงสร าโครงสรางาง ตายตั ตายตัวว 4. 4.มีมีรระบบการสื ะบบการสื่อ่อสารแบบเป สารแบบเปดด 5. 5.ทํทํางานร างานรววมกั มกันนเพืเพื่อ่อบรรลุ บรรลุววิสิสัยัยทัทัศศนนรรววมม

Source: Based on P. M. Senge, The Fifth Discipline (New York: Doubleday, 1990).

58


ปปญญหา ขององคกกรแบบดั หาขององค รแบบดั้ง้งเดิเดิมม:: ••มีมีผผูเชีูเชีย่ ย่ วชาญผู วชาญผูชชําํานาญการกระจั นาญการกระจัดดกระจาย กระจาย ตตาางคน งคน ตตาางเก งเกงง ไม ไมมมีเปีเปาาหมายร หมายรววมกั มกันน ••เนเนนนการแข การแขงงขัขันนมากเกิ มากเกินนไป ไป ••เนเนนนการแก การแกปปญญหามากกว หามากกวาาการสร การสราางสรรค งสรรครรววมกั มกันน

59


การบริหารองคกรแหงการเรียนรูเพื่อรองรับการ เปลี่ยนแปลง Establish Establish aastrategy strategy

Redesign Redesignthe the organization ’s organization’s structure structure

Managing Managing Learning Learning

Reshape Reshapethe the organization ’s culture organization’s culture 60


แนวคิดเรื่องการสรางองคกรแหงการเรียนรูของ Senge 1. การพัฒนาความรู ความสามารถ ของแตละบุคคล

2. พัฒนารูปแบบการคิด และตัดสินใจใหมีความ ซับซอนและหลากหลาย

5. กระตุนการคิดเชิงระบบ 4. สรางการพัฒนา วิสัยทัศนรวมกัน

3. สรางและสนับสนุน การทํางานเปนทีม 61


• Elaborate on history • Communications about and by “heroes” and others • Leadership and role modeling • communicating norms and values • Reward system • Career management and job security • Recruiting and staffing • Socialzation of new staff • Training and Development • Member contact, Intergroup • Participate decision making

Method

Develop a sense of history

Create a sense of Oneness

Promote a sense of Membership

Cohesive organizational culture

Increase exchange among Members 62

Intervening Conditions

Outcome


วัฒนธรรมองคกรและสมรรถภาพ เนื้อหาที่เหมาะกับ สิ่งแวดลอม การมีวัฒนธรรมที่ เขมแข็งพอควร

• สมรรถภาพขององคกรที่มีผลจาก วัฒนธรรม • การปฏิบัติในเชิงจริยธรรมองคกร

วัฒนธรรมที่ปรับใชได 63


64


ทําไมองคกรตองมีนวัตกรรม ความไดเปรียบในการแขงขัน ► การเติบโตแบบยั่งยืน ► สนองความตองการผูมีสวนไดสวนเสียไดดีขึ้น ►

First Mover Advantage and Disadvantage ► Schumpeterian Economics ► ประเภทของนวัตกรรม ►

65


Innovation Live Cycle

66


Human Capital and Business Competitiveness

67


Competency Resources are rare

Resources are inimitable

Core competence

Resources are organized

Resources are valuable 68


Example: Paradon’s competency Knowledge: • Tennis theory • Rule and regulation

Skills: • • • •

Serving Stepping Hitting etc.

Superior behaviors

Superior performance

Attributes: • Emotional control • Achievement orientation 69


Aims and Objectives of Change ► Planned

Change ► Proactive ► Service Oriented ► New Processes ► Create Value ► Human Capital-Based ► Cost Competitiveness ► Innovation ► Speed ► Modern 70


Methodology to Innovation

Environmental Scanning

Resources Audit

Indicating Change Factors

Organizational Development

71


Study of Change Structure: Resource Audit Above Average

Physical Resources

Human Resource

Intangible

Financial Resources

???

Excellent

??? 72


The missing piece : Human Competency ll i Sk

ow n K

le

e g d At

ut b tr i

e

73


กระบวนการทางความคิดทีส่ ัมพันธกับการทํางาน

Sensation - type ผูที่ชอบงานประจําและการรวบรวมขอมูล Intuitive - type ผูที่ชอบการแกปญหา หาความเปนไปได Thinking - type ผูที่ชอบใชเหตุผลในการตัดสินใจ ติดตอ Feeling - type ผูที่ชอบใชความสัมพันธในการติดตอผูอ นื่ Sensation-Thinking ชอบตัดสินใจ เก็บรายละเอียด นักบัญชี/ฝายผลิต วิจัยตลาด / โปรแกรมเมอร

Sensation - Feeling การคิดวิเคราะหอยางเปนตรรกะ หัวหนางาน ที่ปรึกษา นักเจรจา

Intuitive - Thinking ชอบการสรางสรรคสรางแนวคิด นักออกแบบระบบ นักกฎหมาย ผูบริหารระดับสูง

Intuitive - Feeling ใชความสัมพันธ การมีสวนรวม ประชาสัมพันธ นักโฆษณา นักการเมือง

74


ความคิดเชิงกลยุทธ 1 ► สรางแนวคิดเชิงกลยุทธและมีพฤติกรรมที่สอดคลองกับแนวคิด ► เขาใจทัศนคติที่กอใหเกิดการคิดเชิงกลยุทธ ► หลุดจากกรอบ

และกลอง ► สรางความคิดเชิงบวก และเปนมิตร ► สรางภาพที่ใหญขึ้น ► มองหาปญหาเบื้องหลังปญหา ► ระบุไดวาอะไรคือเหตุและอาการ 75


ความคิดเชิงกลยุทธ 2 ► แยกแยะขอเท็จจริงและความรูสึกออกจากกัน ► ฝกความคิดเชิงคุณภาพและปริมาณ ► เขาใจเรื่องความรับผิดชอบและผลกระทบ ► ฝกจิตใหแข็งแกรง ► มองหาสิ่งใหม ► คิดเร็วใตภาวะจํากัดดานเวลา ► เรียนรูความคิดใหมที่จะมองความผิดพลาด ► เรียนรูที่จะไมใชคําวา “ทําไมได” ► สรางกลยุทธในวิถีชีวิตและการทํางาน 76


องคประกอบความคิดเชิงกลยุทธ สรางภาพการรับรู เปนระบบสมบูรณ

มีความชัดเจนใน เปาหมาย

คิดเชิงกลยุทธ คิดเหมาะกับเวลา และเงื่อนไข

แสวงหาปญญา ความรูเพิม่ เติม มีสมมติฐาน และแนวทาง หาคําตอบ

77


ความสัมพันธของการคิดเชิงกลยุทธ และแผนกลยุทธ การคิดเชิงกลยุทธ จุดประสงคเพื่อหาแนวทางใหมในการแขงขันขององคกร ประกอบดวยการ สังเคราะห สรางความแตกตาง สรางสรรค

การบริหารเชิงกลยุทธ การวางแผนกลยุทธ จุดประสงคเพื่อการนําความคิดเชิงกลยุทธไปปฏิบัติอยางเปนระบบ ประกอบดวยการ วิเคราะห สรางจุดรวม สรางแนวทางปฏิบัติ 78


แนวทางการคิด-วางแผนเชิงกลยุทธ การคิดเชิงกลยุทธ: ปรับรื้อแนวทางปฏิบัตเิ ดิม

ขอเท็จจริง ในปจจุบัน

อนาคต ที่พึงปรารถนา

การวางแผนกลยุทธ: จัดระบบแนวทางปฏิบัติ 79


ธรรมชาติของการคิด การคิดเปนกระบวนการทางการ รับรูที่ซบั ซอนที่สุดของ มนุษย เกิดที่อวัยวะสําคัญคือ สมองสวนหนาหรือสมองใหญ สวนที่เรียกวา Cerebrum สวนนีจ้ ะเกีย่ วของกับ ความจํา สติปญญา การตัดสินใจ อารมณ และการเรียนรู มีสองซีกคือซาย และขวา ซีกขวาจะคิดเรื่องอารมณ ความคิด สรางสรรค สัญชาตญาณ สวนซีกซายคิด เกีย่ วกับตรรกะและการวิเคราะห

Nature of Thinking 80


ความแตกตางของชายหญิงในเรื่องการคิด ระบบเหตุผล และระบบความรูสึก • ระบบความจําแบบทิศทาง และระบบความจําแบบภาพ • ระบบความรูส ึกทางรางกาย

81


ลักษณะของการคิด 1. ความคิดตางจากจินตนาการ จินตนาการเปนการคาดคะเนในเหตุการณ สิ่งของหรือปรากฎการณ สวนการคิดเปน กระบวนการแกปญหา หรือหาเหตุผลของมนุษย 2. ความคิดตางจากการรับรู การคิดอาจเปนเรือ่ งที่เกี่ยวกับสิ่งที่ไมสามารถรับรูได การคิดอาจขัดแยงกับการรับรู ผลของการรับรูอ าจไมจําเปนตอง เปนทิศทางเดียวกับการคิด 3. ความคิดแตกตางจากอุปนิสัย ความเคยชิน การคิดเปนกระบวนการที่ดําเนินกลับไปกลับมาตามลําดับขัน้ ตาง ๆ 82


กระบวนการคิด 1. เกิดภาพพจนเกีย่ วกับสิ่งของ เหตุการณ ฯลฯ 2. ปรารภหรือตัง้ คําถามตนเอง ตลอดจนมีการเคลือ่ นไหว เขามาเกี่ยวของ 3. มีการใชคําพูด เครื่องหมาย สัญลักษณ 4. มีความคิดรวบยอด (Concept) เกิดขึ้น 83


ความทรงจํา (Memorizing) ความจํา คือกระบวนการในการเก็บรวบรวมขอมูลและการเรียกขอมูลออกมาใช ซึ่งอาจเกิดจากสัญชาตญาณหรือการสั่งสมประสบการณภายในระบบประสาท ความจําจึงเปน หนวยหนึ่งของกิจกรรมทางสมอง ซึ่งมีความเกี่ยวเนื่องสัมพันธ กับระบบทางความคิด คุณสมบัติพื้นฐานของการจํา 1. สมาธิ (Concentration) เปนปจจัยพื้นฐานที่กอใหเกิดการจํา ผูที่มีสมาธิดียอมจํา สิ่งตางๆ ไดดกี วาผูไมมีสมาธิ 2. การทองจํา (Memorizing) เปนวิธีการพื้นฐานดีที่สุดที่กอใหเกิดการจํา การทองหรือทบทวนบอยๆ โดยเฉพาะสิ่งที่จํายาก เชน หัวขอยาวๆ หรือสูตรทาง คณิตศาสตร 84


ความทรงจําที่ไมไดเกิดจากการทองจํา 1. นอกจากสมาธิ แ ละการท อ งจําแล วยัง มีปจจัยอื่ น เช นการไ ดยิน

ไ ดฟ ง ประสบการณการที่ เ กิดขึ้ นบอ ยๆ

2. ความสนใจ (Interest) หรือ ความชอบตอ สิ่ ง ใดๆ ยอ ยก อ ให เ กิ ด ความ

เอาใจใส ตอ สิ่ง นั้นๆ ส ง ผลให จําไ ดง าย

3. ความประทั บใจ (Impress) หรือ ฝ ง ใจสิ่ ง ใดๆ ยอ ยจดจําสิ่ ง นั้นไ ดนาน

85


ความคิดเชิงสรางสรรค (Creative Thinking) คือ ความคิดที่แปลกแตกตาง เปนสิ่งใหมและเปนประโยชนตอมนุษยชาติ การกอรูปความคิดสรางสรรค 1 สะสม คือ การสั่งสมความรูทั่วไปอยางสม่ําเสมอ 2. บมเพาะ คือ ครุนคิดถึงสิ่งตางๆ ที่สั่งสมอยูในจิตใจ 3. สุกงอม คือ ปลอยความคิด 4. จุดประกาย คือ เกิดความคิดใหม 5. เกิดความคิดสรางสรรค ซึ่งผิดแปลกแตกตางจากเดิม เกิดความคิดสิ่งใหมขึ้นมา 6. ตกผลึก คือ การเขาใจในสิ่งนั้นอยางกระจางชัด 7. ขับเคลื่อน คือ นําความคิดนั้นไปสูรูปธรรม 8. สูนวัตกรรม คือ เกิดเปนสิ่งใหมขึ้นมา 86


เทคนิคการฝกความคิดสรางสรรค 1. ใชความคิดตลอดเวลา โดยตั้งคําถามและหาเหตุผลในคําตอบ 2. ฝกการคิดอยางรอบดาน ไมยดึ ติดแนวคิดใดแนวคิดหนึ่งเพียงดานเดียว 3. สลัดความคิดครอบงํา โดยไมจํากัดกรอบความคิดของตนเองไวกับความเคยชินเกา ๆ 4. จัดระบบความคิด โดยหาเหตุผลจัดระบบความคิดการเปรียบเทียบ การมองหลายมิติ หรือคนหาความจริง 5. ยึดมั่นในหัวใจนักปราชญ ไดแก ฟง คิด ถาม เขียน ซึ่งอาจใชการระดมสมองเปนตัวกระตุน 6. ฝกความเปนคนชางสังเกตจดจํา เปนการสั่งสมประสบการณและกระตุนใหเกิดความคิดใหม 7. ฝกการระดมพลังสมอง เปนการรวบรวมความคิดสรางสรรคของบุคคล หลายๆ ฝาย 8. พยายามสรางโอกาสแหงความบังเอิญ คือ บางสิ่งไมเกี่ยวของสัมพันธกันเลย อาจจะเปน คําตอบตอปญหาที่กําลังเกิดขึ้นได 9. ไมกลัวความลมเหลวหรือการเสียหนา เพราะการเสนอความคิดเห็นไมมถี กู หรือผิด 10. ไมย้ํารอยอยูแตความสําเร็จเดิม เชน การกระทําทุกอยางเมื่อเห็นวาดี ประสบความสําเร็จ แลว ตอไปควรจะพัฒนาใหดีขึ้นกวาเดิมดวยวิธีการใหม 87


องคประกอบหลักของความคิดสรางสรรคในการทํางาน Creativity ความสามารถในการสราง ความคิดใหมและมีประโยชน Three-Component Model of Creativity Proposition that individual creativity requires expertise, creative-thinking skills, and intrinsic task motivation. Source: T.M. Amabile, “Motivating Creativity in Organizations,” California Management Review, Fall 1997, p. 43.

88


1. กําหนดกลยุทธ

2. ฐานความรู

3. ทัศนคติ แรงจูงใจ

ความคิด สรางสรรค

89


เทคนิคการพัฒนาความคิดสรางสรรค 1. ทฤษฎีกระดาษเปลา (Blank paper theory) หมายถึงการไมตีกรอบความคิดผูอื่น ไมคิดถึงปญหา อุปสรรค ขีดจํากัดหรือ ความเปนไปไมได 2. การรวมและการแยก (Integrate & Separate) คือ การรวมกันจะเกิดอะไรขึ้น ดีขึ้นไหมหรือทําอยางไรใหดีขึ้นกวาเดิม ถาหากแยกกันจะเกิดอะไรขึ้น มีประโยชนมากนอยแคไหนและทําใหดีขึ้นไดอยางไร 3. การตั้งคําถาม (Inquiry) - ถามเหตุผล วาทําไม - ถามสมมุติ ถาเปนอยางนี้และจําทําอยางไร - ถามเปรียบเทียบเชิงพัฒนา เชน - อะไรที่คนอื่นทําแลวแตเรายังไมไดทํา - เราทําไดไหมและจะตองรีบทําอะไร - อะไรที่เราทําแลวแตคนอื่นทําดีกวา - ถามตอเนื่อง เชน ทําอะไร ทําไดไหม ทําอยางไร จะตองเปลี่ยนแปลงอะไร 4. การเลียนแบบ (Synetics) คือ การทําใหแตกตาง กาวหนา ดีกวาเดิมแลวกระโดดไปสูส งิ่ ใหม 5. การเพิ่มมูลคํา (Value Added) เชน ปรับแตงใหดขี ึ้นกวาของเดิม แปรรูปจากของเดิมเปนสิ่งใหมนําของเกากลับมาใชใหม 90 โดยทําใหเสียนอยที่สุดและมีการประกันความเชื่อมั่นใน สิง่ นั้น


CREATE C = can i Combine something? R = can i Remove some parts or processes? E = can i Eliminate or remove some parts or processes? A = can i use Alternative methods, materials, etc? T = can i Twist things around a bit? E = can i Elaborate or add something?

91


อัตราการเปลี่ยนแปลง เสนการรับรู

เสนการเรียนรู

เวลา

92


พฤตินิสัยอันกอใหเกิดนวัตกรรม ระบุขอ สรุปเหลานี้ • • • ► ► ►

อะไรคือนิสัยเชิงบวกของบุคคลทีม่ ีความคิดสรางสรรค อะไรคืออุปสรรคของการคิดสรางสรรคและการแกปญหา นิสัยที่ไมสรางสรรคมีอะไรบาง อะไรคือทัศนคติที่ขัดขวางการสรางสรรค พฤติกรรมเชิงสรางสรรคเปนอยางไร กระบวนการคิดเชิงบวก และคิดสรางสรรคประกอบดวยอะไรบาง 93


นิสัยเชิงบวกของบุคคลที่มีความคิดสรางสรรค • ชางสงสัย อยากรูอยากเห็น • มองหาปญหา • สนุกที่จะแก • มองโลกในแงดี • ไมดวนสรุป • สนุกกับจินตนาการ • มองเห็นโอกาสเมื่อมีปญหา • มองปญหาวาทาทาย นาสนุก • ปญหาเปนเรื่องที่เกิดขึ้นได เปนธรรมชาติ ไมทุกขรอนเกินพอดี • ไมทอ ไมหนี 94


อุปสรรคของการคิดสรางสรรคและการแกปญหา ► ► ► ►

มีอคติตอการคิดหรือทําสิ่งที่แปลกไปจากเดิม การยึดติดกับรูปแบบ คิดวาคนเราไมสามารถเรียนรูไดเทาเทียมกัน อุปสรรคทางความคิด และจิตวิทยา

นิสัยที่ไมสรางสรรค

► ปญหาแตละอยางแกไดดวยวิธีการแคหนึ่ง ► วิธีการที่ดีที่สุด มีคนทําไปนานแลว ► การคิดคําตอบเชิงสรางสรรคนั้น ซับซอนและยาก เปนศาสตรชั้นสูง ► ความคิดดีๆ เปนศิลป บทจะมาก็มา บทจะไมมาก็ไมมีทางมา 95


ทัศนคติทขี่ ัดขวางการสรางสรรค ► ไมดีกวา

ปญหามันหนักเกิน ► โอย ใครจะไปทําได ► ฉันทําไมได ฉันมือไมถึง ► เออ...แตวา ฉันมันไมใชคนคิดสรางสรรคนี่นา ► อูย นาเกลียดแย อยางนั้นมันดูเด็กจัง ► แหม...แลวคนอื่นเขาจะมองยังไง

96


พฤติกรรมเชิงสรางสรรคและคิดเชิงบวก ►ความสามารถในการสรางความคิดใหม และจินตนาการ ►ทัศนคติในการยอมรับการเปลี่ยนแปลงและสิ่งใหม ►มีกระบวนการพัฒนาความคิดและพฤติกรรมอยางตอเนือ่ ง

กลไกในการสรางพฤติกรรมเชิงสรางสรรคและความคิดเชิงบวก

► วิวัฒนาการ พัฒนาจากความคิดเดิม ► สังเคราะห นําแนวคิดมากกวาหนึ่งมาผนวกกัน ► ปฎิวัวตั ิ ยกเลิกวิธีแบบเดิม แบบเกา ทําในสิ่งตรงกันขาม ► ปรับเปลี่ยน เปลี่ยนความคิดจากแนวทางเดิม ► ปรับปรุง แกไขสิ่งเดิม นํากลับมาใช

97


คําถาม คําตอบ ดวยความขอบคุณ

98


ภาคผนวก ►

รูปแบบการจัดองคกรประเภทตางๆ

99


ประเภทองคการ Function Division Matrix

โครงสรางองคกรแบบแบงตามหนาที่งาน เปนการแบงประเภทงาน

ตามความชํานาญเฉพาะดาน Functional Organization ของแตละกิจกรรมทีก่ ระทําในองคกร โดยจัดหมวดหมูร วม ผูช ํานาญแตละดานไวดวยกัน เชน ฝายการตลาด แผนกจัดซื้อ สายงานการผลิต ฝายทรัพยากรมนุษย เปนตน หรือเปนการแบง งานตามหนาที่ทางธุรกิจ (Business Function) นัน่ คือ การแบงงาน ออกตาม สายการประกอบธุรกิจตามลําดับของงาน เชน เริม่ จาก วัตถุดิบเขาสูองคกรผานกระบวนการผลิตจนออกไปเปนสินคา จึง ไดมกี ารแบงงานตามขัน้ ตอนแตละขั้น เปนฝายหลักและสนับสนุน 100


การแบงงานออกตามสายการผลิตที่สรางสินคาและบริการขึ้นมานัน้ เรียกวา แบงงานตาม สายโซของการสรางมูลคา (Value Chain) กลาวคือ จากวัตถุดบิ ถูกสรางมูลคาเพิ่มโดยผานกระบวนการผลิต การสรางบรรจุภัณฑ การตลาด การโฆษณา จนกลายเปนสินคา และ/หรือบริการทีม่ คี ุณคาเปนที่พอใจของลูกคา ซึ่งมีมลู คาสูงขึ้น กวาเมือ่ เริม่ ผานเขามาตอนเปนวัตถุดบิ โดยผานการทํางานของแต สายงานตามหนาที่ ที่ออกแบบไวตามการผลิต VALUE CHAIN

หนวย ฝายบัญชีและการเงิน ฝายทรัพยากรมนุษย ฝายจัดซื้อ สนับสนุน ฝายขอมูลสารสนเทศ ฝายธุรการ คลัง ตลาด บริการ หนวย เตรียม หลัก วัตถุดิบ ผลิต วิจยั สินคา ขาย จัดสง

มูลคาเพิ่ม

ผูบริหารสูงสุด

หนวยสนับสนุน

หนวยงานหลัก 101


Functional Organization

102


ขอดีของการแบงงานตามหนาที่ 1. สรางความประหยัดจากขนาด (Economy of Scale) คนหลายคนมารวมกันทํางานไดปริมาณงานมากขึ้น ใชทรัพยากร คุมคากวา ตางคนตางทํา เพราะใชเครือ่ งมือและของรวมกันได 2. สนองตอสภาพแวดลอมไดดกี วา การมาทํางานรวมกันตามความ ถนัดแตละสายงานจะปรับตัวและสนองตอแนววิชาชีพไดเร็วกวา 3. มาตรฐานการทํางานจะคอนขางสูง เพราะรวมกันทํางานในแนว วิชาชีพเดียวกัน มีการพัฒนาและฝกอบรมรวมกันทําใหงานดีขึ้น 4. มีโอกาสฝกฝนเฉพาะทางและพัฒนาทักษะใหลึกลงไปได 5. การทํางานเฉพาะทางจะลดการเสียเวลาจากงานธุรการ-จัดการลง 6. การตัดสินใจและการสื่อสารรวมกันจะไมซับซอนและเขาใจงาย 103


ขอเสียของการแบงงานตามหนาที่ 1. ใสใจกับสายงาน หรืองานวิชาชีพเฉพาะทางของตนมากกวา เปาหมายรวมขององคกร การใสใจในงานเฉพาะทางมากเกินไป อาจทําใหใสใจกับงานในหนาที่มากกวาคุณภาพรวมของบริการ หรือสินคา หรือความพอใจลูกคา ( ตัวอยาง ชอบอางระเบียบของ หนวยงานตน กับลูกคาวาทําไมได ทั้งที่ขัดกับเปาหมายรวม) 3. ยิ่งพัฒนาไปมากมีความชํานาญเฉพาะทางมากขึ้น แตขาดความรู แนวกวาง เปน Specialist มากกวา Generalist มองภาพรวมไมได 4. เกิดความขัดแยงระหวางหนวยงานแตละหนาที่ มีการสื่อสารและ รวมมือกันนอยลงทําใหเกิดปญหาการประสานงานในองคกร 5. เกิด Differenciation แตขาดการรวมกันไปสูเปาหมาย Integration 104


การแบงงานตามหนาทีเ่ ปนพื้นฐานของการบริหารองคกร อยางไรคงหลีกเลีย่ งไมได ถาเราไมสามารถทําใหทกุ คน ชํานาญในทุกดานได ก็ยังจําตองแบงงานกันทําและเพิ่ม การประสานกันและกัน เพื่อใหบรรลุเปาหมายขององคกร สิ่งที่ควรพิจารณาก็คอื ภายใตขอจํากัดของโลกธุรกิจใน ปจจุบนั เราจะบริหารการแบงงานตามหนาทีก่ ันอยางไร ?

105


โครงสรางองคกรแบงตามประเภทสินคา บริการหรือ ลูกคาและที่ตงั้ ทางภูมิศาสตร

Divisional Organization แบงตามสินคา- บริการ PRODUCT DIVISION

ประเภทองคการ Function Division Matrix

แบงตามลูกคา-ภูมิศาสตร CUSTOMER - GEOGRAPHICALDIVISION

โครงสรางแบบนี้จะมีความหลากหลาย และผสมผสานกันอยางมาก และแกขอเสีย ของแบบแบงตามหนาที่ไดบางสวน ในที่นี้ไดมีการรวมหนาที่งานหลาย ๆ หนาที่ รวมกัน เปนกลุม งานรวม (Division) ซึ่ง Division หนึ่ง ๆ จะรวมหลายหนาที่ไว ดวยกันและดูเสมือนวา สามารถแยกกันประกอบธุรกิจไดเกือบสมบูรณในตัวเอง และเพื่อใหบรรลุเปาหมายหลักขององคกรโดยรวม แตละ Division ก็จะรวมมือกัน ภายใตนโยบายหลักเดียวกัน แตมีอิสระตอกันมากขึ้น ซื่งก็สอดคลองกับการกระจาย อํานาจ ทีผ่ านมาแลวดวย 106


แบงตามสินคา- บริการ PRODUCT DIVISION

ในโครงสรางแบบแบงตามประเภทสินคา แตละหนาที่จะทําไปเพื่อสนับสนุนใหเกิด

ผลิตภัณฑตามที่องคกรตองการ ภายใตผูบริหารคนหนึง่ ๆซึ่งรับผิดชอบตอ ผลิตภัณฑชนิดนัน้ ๆ และผูบริหารรองลงมาที่แบงแยกตามหนาที่ก็จะราย งานตอผูบริหารสูงสุดของแตละผลิตภัณฑ อาจมีตาํ แหนงเปนผูจ ัดการผลิต ภัณฑ (Product Manager) ไดรับความนิยมในบริษัท ที่ผลิตเกีย่ วกับสินคา อุปโภคบริโภคที่มีผลิตภัณฑ หลากหลาย และตองตอบสนองตอสภาพที่มี ความเปลี่ยนแปลง เปนอยางมาก ในบริษัทหนึง่ อาจมีหลายกลุมผลิตภัณฑ หรือ หากเปนกลุมบริษัทขนาดใหญ ในการแบงกลุมหนึ่ง ๆ อาจมีหลาย บริษัทยอยในเครือไดเชนกัน เชน กลุมผลิตภัณฑสัตวปกของ ซี พี อาจมี บริษัทผลิต เปด ไก กลุมสัตวน้ําอาจมี ปลา กุง หอย หลาย ๆบริษัทก็เปนได (บริษัทที่ทําธุรกิจหลายประเภท Diversification มักมีลักษณะเชนนี้ เชน ปูนฯ, ซี พี 107


Customer/Product-Geographical Division

108


ขอดีของการแบงองคกรตามประเภทสินคา 1. สามารถจัดการกับขอมูลขาวสารที่ตองการไดงายขึ้น เพราะในกลุม งาน ประเภทเดียวกัน ที่มีเปาหมายและความตองการขอมูลประเภทเดียวกัน นั้นทํางานใกลชิดกัน และไมตอ งสนใจกับผลิตภัณฑอื่นนอกงานของตน 2. ผูทํางานในสายผลิตภัณฑหนึ่ง ๆ นัน้ สามารถทุมเทความสนใจและเวลา ไปกับการคิดคน พัฒนา และดูแลงานของตนไดอยางเต็มที่ 3. ความรับผิดชอบและหนาที่มีความชัดเจนอยางมาก ความสําเร็จหรือลม เหลวของแตละผลิตภัณฑขึ้นกับแตละสายงานไมตอ งโทษกันไปมา 4. ผูทํางานจะไดรับการฝกอบรมที่กวางขวางขึ้น เชน ผูจัดการทั่วไปของ แตละผลิตภัณฑจะตองดูงานในความรับผิดชอบที่กวางขวาง ดูทั้งผล กําไร การผลิต การตลาดของผลิตภัณฑนั้น ๆ ครบวงจร 109


ขอเสียของการแบงองคกรตามประเภทสินคา 1. การติดตอประสานงานระหวางสายผลิตภัณฑทําไดยาก 2. ผูจ ัดการเรียนรูเ ปนผูช ํานาญหลากหลาย จนอาจไมชํานาญ เฉพาะดาน ขาดการพัฒนางานในแตละหนาที่ 3. งานเฉพาะหนาที่ไมขึ้นตรงตอสํานักงานใหญ จึงอาจมีรปู แบบการทํางานหลากหลาย เฉพาะตัว ไมสอดคลองกัน 4. การตัง้ หนวยงานซ้ํา ๆ กัน แตละผลิตภัณฑเปนการสิน้ เปลือง 5. การกระจายอํานาจมากเกินไป อาจทําใหผูบริหารสูงสุดสูญเสีย อํานาจในการบริหาร อาจมีการแยกตัวออกเปนบริษัทใหม หรือ เสียอํานาจในการตัดสินใจ หรือกําหนดนโยบายจากศูนยกลาง 110


แบงตามลูกคา-ภูมิศาสตร องคกรบางประเภท CUSTOMER - GEOGRAPHICALDIVISION จัดองคกรตามกลุมของ ลูกคาหรือความแตกตางของสถานที่ตั้งทางภูมิศาสตร ตัวอยางของกลุม ลูกคาก็คือ การจัดคณะในมหาวิทยาลัย ตามความสนใจของนักศึกษา หรือ การจัดกลุมงานในโรงพยาบาล จะเห็นวาไมใชการจัดตามหนาที่ ตามการ ผลิต หรือจัดตามผลิตภัณฑ แตเปนตามสมุฐานและการรักษาโรคที่ลูกคา หรือคนไขตอ งการ ในอีกแงมุมหนึ่งองคกรสามารถแบงองคกรไดในแง มุมของสถานทีต่ ั้ง หนวยผลิตหรือหนวยบริการขององคกรเอง ในแงนี้มา จากฝายองคกร เพื่อจะเขาหากลุมลูกคาในแตละพื้นที่ เชน การแบงออก เปนทวีป ภาค จังหวัด เขต ตาง ๆ จะพบไดมากในบริษัท ขามชาติ หรือ ธุรกิจการจัดจําหนาย ที่มีสาขาทั่วประเทศ หรือธุรกิจการคาที่มีสํานักงาน ตัวแทนจําหนายอยูในภูมิภาค อาจจะมีในจังหวัดตัวแทนของภาคนัน้ ๆ 111


Customer/Product-Geographical Division

112


องคกรแบบโครงสรางการรายงานผสม Matrix Organization

ประเภทองคการ Function Division Matrix

องคกรประเภทนี้จะเปนองคกรแบบผสม ที่ผสมผสานระหวาง การจัดองคกรแบบแบงตามหนาที่ กับการแบงกลุมงาน เพราะมี ทั้งการทํางานตามหนาที่ และการทํางานโดยการจัดกลุมที่เจาะจง ใหงานเฉพาะดาน บรรลุผลดวย โดยผูท ํางานยังคงรายงานอยูทั้ง สองดาน คือรายงานตอผูบ ังคับบัญชาตามหนาที่ และตอหัวหนา กลุม ซึ่งอาจเปนชวงระยะเวลาหนึ่ง ที่มีการจัดกลุม หรือโครงการ (Project) จึงมีการรายงานแบบผสม ซึ่งเปนประโยชน ในกรณีที่ งานนัน้ ตองการความชํานาญเฉพาะทางและความรวดเร็วของกลุม 113


องคกรแบบเมเทริกซ

ผจก.โครงการ

โครงการ ศึกษาการ สรางสนาม บินเฟส 1

กลุมงานตามหนาที่ ในระดับผูจัดการ

กรรมการ ผูจัดการ

บัญชี

การเงิน

กอสราง

หน.ผ

หน.ผ.

หน.ผ.

วิจัย

บุคคล

หน.ผ

หน.ผ.

กลุมงานโครงการทํางานทั้งตามหนาที่ตามสายงานเดิม และรายงานตอผจก.โครงการดวย ในระยะเวลาที่กําหนด

ดูจากตัวอยาง สี่สหายการโยธา ในตัวอยางสมมุติใหหัวหนาแผนกรวมโครงการ 114


Matrix Organization

115


Matrix Organization as Project Management Module

116


ขอดีของการจัดองคกรแบบโครงสรางการรายงานผสม • การตัดสินใจเปนการกระจายอํานาจไปยังผูที่อยูในกระบวนการการ ทํางานที่จะตองรูขอมูล และตองประยุกตความรูไปปฏิบัติงาน • การขยายการสื่อสารชวยทําใหการทํางานมีขอมูลมากยิ่งขึ้น • การกระจายการตัดสินใจออกไปทําใหระดับบริหารลดภาระงานลงไป • การใชทรัพยากรคุมคา ทั้งคนและเวลา ไดมีการนําคนไปใชอยางเหมาะ กับคุณสมบัติ ไมมีเวลาเหลือเปลา และเปนการใชทรัพยากรรวมกัน • พนักงานเรียนรูในการทํางานรวมกันและสรางผลงานรวมกันขามสายงาน • โอกาสกาวหนาในสายงานเพิ่มขึ้นเพราะอาจเติบโตไดทั้งสายงานประจํา และงานโครงการ หรือคณะกรรมการเฉพาะกิจ หรือฝายโครงการประจํา 117


ขอเสียของการจัดองคกรแบบโครงสรางการรายงานผสม • • • • • •

มีความสับสนเกิดขึ้น เพราะผูท ํางานมีหวั หนามากกวาหนี่ง และจะจัดการตอบสนองตอใครกอนดีถา มีการสั่งงาน หัวหนางานแยงอํานาจในการจัดการระหวางกัน ความผิดพลาดอาจเกิดขึ้น เมื่อเกิดการตัดสินใจแบบประนี ประนอมหรือการตัดสินใจแบบกลุม ไมไดประโยชนสูงสุด การมีประชาธิปไตยมากเกินไป อาจทําใหการปฏิบตั ิลดลง อาจแสดงความเห็นมาก แตทํานอย เพราะไมเห็นพองตองกัน 118


ทักษะสําคัญที่ทําใหองคกรแบบผสมทํางานได 1. ผูจัดการสายงานประจําและผูจัดการโครงการหรือผลิตภัณฑ หรือหัวหนาคณะกรรมการเฉพาะกิจ ตองเรียนรูท ี่จะทํางาน รวมกันและสรางสมดุลของงาน และการบริหารความขัดแยง 2. พนักงานทีม่ หี วั หนาสองสาย ตองเรียนรูวา จะติดตอกับทั้ง สองฝายไดอยางไร ไมเปนตามหลัก Unity of Command 3. ผูบริหารสูงสุดที่เปนนายของทุกฝายตองเขาใจธรรมชาติของ งานและคนภายใตสภาพแวดลอมแบบ Matrix องคกรแบบนี้เคยไดรับความนิยมมากและเคยลมเหลวมาอยางมากดวย ดังนั้น ตองเขาใจปรัชญาขององคกรแบบนี้วา ความเปนจริงคือกระบวนการการทํางาน รวมกัน ไมใชการจัดองคกรเปนโครงสรางแบบถาวร ถาใชระยะเวลาหนึ่งจะดีมาก 119


ผูบริหารระดับสูง

ผูจดั การโครงการ

ผูจดั การสายงานหลัก

พนักงานที่มีผูบังคับบัญชาสองสาย

โครงสรางความสัมพันธรูปเพชรขององคกรแบบเมทริกซ

120


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.