book10

Page 1

คัดลอกจาก พระไตรปฎกและอรรถกถาแปล ชุด 91 เลม (มหามกุฎราชวิทยาลัย)


-1-

“รูเรื่องพระพุทธรูป ตามความเปนจริง” รูปเหมือนพระพุทธเจาไมมี

เลม 32 หนา 214 บรรทัด 6

อปฺปฎิโม (ไมมีผูเปรียบ) ความวา อัตภาพ ( ความเปนตัวตน ) เรียกวารูปเปรียบ ชื่อวาไมมีผเู ปรียบ เพราะรูปเปรียบอื่นเชนกับอัตภาพของทานไมมี อีกอยางหนึ่ง มนุษยทั้งหลายกระทํารูปเปรียบใดลวนแลวดวยทองและเงินเปนตน ในบรรดารูปเปรียบเหลานัน ้ ชื่อวาผูสามารถกระทําโอกาสแมสก ั เทาปลายขนทราย (แมเพียงนิ๊ดนึง) ใหเหมือนอัตภาพของพระตถาคต ยอมไมมี พราะเหตุนน ั้ จึงชื่อวาไมมีผูเปรียบแมโดยประการทัง้ ปวง. อปฺปฎิสโม (ไมมผ ี ูเทียบ) ความวา ชื่อวาไมมีผเู ทียบ เพราะใคร ๆ ชื่อวาผูจะเทียบกับอัตภาพของพระตถาคต นั้นไมมี

รูปเหมือนพระพุทธเจา...ไมมี (อีกที)

เลม 11 หนา 66

….ดูกอ  นภิกษุทงั้ หลาย กายของตถาคตมีตณ ั หาอันจะนําไปสูภพขาดแลว ยังดํารงอยู เทวดาและมนุษยทงั้ หลายยอมเห็นตถาคตชั่วเวลาทีก ่ ายของตถาคตดํารงอยู ตอเมือ ่ กายแตกสิน ้ ชีวต ิ แลว เทวดาและมนุษยทงั้ หลายจะไมเห็นตถาคต......

เลม 13 หนา 121 .....ดังที่พระองคตรัสไววา ดูกรภิกษุทงั้ หลาย พระมหาบุรุษทรงปลื้มพระทัยนักแล เมื่อผลกรรมปรากฏ ทรงงดงาม เพราะอวัยวะสวนใดยาว อวัยวะสวนนัน ้ ยอมตัง้ อยูยาว ทรงงดงาม เพราะอวัยวะสวนใดสัน ้ อวัยวะสวนนัน ้ ยอมตัง้ อยูสน ั้ ทรงงดงาม เพราะอวัยวะสวนใดล่าํ อวัยวะสวนนัน ้ ยอมตัง้ อยูลา่ํ ทรงงดงาม เพราะอวัยวะสวนใดเรียว อวัยวะสวนนั้นยอมตั้งอยูเ รียว ทรงงดงาม เพราะอวัยวะสวนใดกวาง อวัยวะสวนนัน ้ ยอมตัง้ อยูก  วาง ทรงงดงาม เพราะอวัยวะสวนใดกลม อวัยวะสวนนัน ้ ยอมตัง้ อยูก  ลมดังนี้ อัตตภาพของพระมหาบุรุษสะสมไวดวย ทานจิต บุญจิต ตระเตรียมไวดวยบารมี ๑๐ ดวยประการฉะนี้. ศิลปนทั้งปวงหรือผูมฤ ี ทธิ์ทั้งปวงในโลก

ไมสามารถสรางรูปเปรียบได.....

ธรรม – วินัย ที่พระองคตรัสตางหากเลา คือตัวแทนพระศาสดา เลม 13 หนา 320 ....ดูกอนอานนท บางที่พวกเธอจะพึงมีความคิดอยางนีว้ า ปาพจน (พุทธพจน) มีพระศาสดาลวงแลว พระศาสดาของพวกเราไมมี ขอนีพ ้ วกเธอไมพึงเห็นอยางนั้น ธรรมก็ดี วินย ั ก็ดีอน ั ใดอันเราแสดงแลว ไดบัญญัติไวแลวแกพวกเธอ ธรรมและวินัยอันนัน ้ จักเปนศาสดาแหงพวกเธอ โดยกาลลวงไปแหงเรา......


-2-

ความหมายของอุทเทสิกเจดียที่แทจริง

เลม 60 หนา 267

....พระอานนทเถระรับวา ดีละ แลวทูลถามพระตถาคตวา ขาแตพระองคผูเจริญ เจดียมก ี ี่อยาง. พระศาสดาตรัสตอบวา มีสามอยางอานนท. พระอานนทเถระทูลถามวา สามอยางอะไรบาง พระเจาขา. พระศาสดาตรัสวา ธาตุเจดีย ๑ ปริโภคเจดีย ๑ อุทเทสิกเจดีย ๑. พระอานนทเถระทูลวาขาแตพระองคผูเจริญ เมื่อพระองคเสด็จจาริกไป ขาพระองคอาจกระทําเจดียไดหรือ. พระศาสดาตรัสวา อานนท สําหรับธาตุเจดียไมอาจทําได เพราะธาตุเจดียน  น ั้ จะมีไดในกาลที่พระพุทธเจาปรินพ ิ พานแลว สําหรับอุทเทสิกเจดียก  ็ไมมวี ัตถุปรากฏ เปนเพียงเนือ ่ งดวยตถาคตเทานัน ้ ... *** เจดีย แปลวา ที่เคารพนับถือ, บุคคล – สถานที่ หรือวัตถุที่ควรเคารพบูชา *** ภิกษุสงฆรุนหลังใหความหมายของอุทเทสิกเจดียวา เจดียที่สรางอุทิศพระพุทธเจา คือ พระพุทธรูป

แตพระพุทธเจาใหถือเจดียคือธรรม (คําสอนของพระองค) เลม 21 หนา 202 ครั้งนัน ้ แล เมื่อพระเจาปเสนทิโกศลเสด็จไปแลวไมนาน พระผูมีพระภาคเจาตรัสเรียกภิกษุทงั้ หลายมาตรัสวา ดูกอนภิกษุทั้งหลาย พระเจาปเสนทิโกศลพระองคนี้ ตรัสธรรมเจดีย คือพระวาจาเคารพธรรม ทรงลุกจากที่ประทับนัง่ แลวเสด็จหลีกไป ดูกอนภิกษุทั้งหลาย เธอทัง้ หลายจงเรียนธรรมเจดียน  ี้ไว จงทรงจําธรรมเจดียน  ี้ไว ดูกอนภิกษุทั้งหลาย ธรรมเจดียประกอบดวยประโยชน เปนอาทิพรหมจรรย. พระผูมีพระภาคเจาไดตรัสพระพุทธพจนนี้แลว ภิกษุเหลานั้นพากันชืน ่ ชมยินดีพระภาษิตของพระผูมีพระภาคเจา ฉะนี้แล.

วัตถุทั้งหลายทั้งปวง หรอกนะ

พระพุทธเจาไมใหทานทั้งหลายเอาเปนที่พึ่ง เลม 27 หนา 90

บทวา อตฺตทีปา ความวา ทานทัง้ หลายจงทําตนใหเปนเกาะ เปนที่ตา นทาน เปนที่เรน เปนคติที่ไปในเบือ ้ งหนาเปนทีพ ่ งึ่ อยูเถิด.

อนฺญสรณา นี้ เปนคําหามพึง่ ผูอ  ื่น ดวยวาผูอ  ื่นเปนทีพ ่ ึ่งไมได เพราะคนหนึง่ จะ พยายามทําอีกคนหนึง่ ใหบริสท ุ ธิ์หาไดไม สมจริงดังที่ตรัสไววา ตนนัน ่ แลเปนที่พึ่งของตน คนอืน ่ ใครเลาจะเปนที่พงึ่ ได เพราะเหตุนั้น พระผูมีพระภาคเจาจึงตรัสวา อนฺญสรณา ไมมีสิ่งอืน ่ เปนสรณะ ถามวา ก็ในทีน ่ ี้ อะไรชื่อวาตน ? ตอบวา ธรรมที่เปนโลกิยะและเปนโลกุตตระ (ชื่อวาตน). ดวยเหตุนน ั้ นัน ่ แล พระองคจงึ ตรัสวา ธมฺมทีปา ธมฺมสรณา อนฺญสรณา มีธรรมเปนเกาะ มีธรรมเปนสรณะ ไมมีสิ่งอื่นเปนสรณะ


-3-

เลม 30 หนา 444 ...ดูกอนภิกษุทั้งหลาย ก็ภิกษุพวกใดพวกหนึง่ ในบัดนีก ้ ็ดี ในกาลที่ลวงไปแลวก็ดี จักเปนผูมต ี นเปนเกาะ มีตนเปนทีพ ่ ึ่ง ไมมีสิ่งอืน ่ เปนที่พงึ่ คือ มีธรรมเปนเกาะ มีธรรมเปนที่พงึ่ ไมมีสิ่งอืน ่ เปนที่พงึ่ อยู ภิกษุเหลานี้นน ั้ เปนผูใ ครตอการศึกษา จักเปนผูเ ลิศ.

--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

พระพุทธรูปที่ทํากันเกรออยูตอนนี้ พระพุทธเจาไมเคยบัญญัติ – ไมเคยกลาว – ไมเคยแสดง วาใหชาวพุทธพากันทําขึน ้ มาได แลวชาวพุทธจะทํากันไปทําไม ? แลวชาวพุทธจะกราบไหวกันไปทําไม ?

แลวชาวพุทธจะเคารพไปเพื่ออะไร?

เลม 32

หนา 176

ดูกอนภิกษุทั้งหลาย ภิกษุพวกที่แสดง สิ่งที่เปนธรรม วา เปนอธรรม.... ภิกษุพวกที่แสดง สิ่งที่มใิ ชวินย ั วา เปนวินัย… ภิกษุพวกที่แสดง วินัย วา มิใชวินัย… ภิกษุพวกที่แสดง คําพูดอันตถาคตมิไดภาษิตไว - มิไดกลาวไว วา เปนคําพูดที่ตถาคตภาษิตไว – กลาวไว… ภิกษุพวกที่แสดง ภิกษุพวกที่แสดง ภิกษุพวกที่แสดง ภิกษุพวกที่แสดง

คําพูดอันตถาคตไดภาษิตไว - กลาวไว วา เปนคําพูดที่ตถาคต มิไดภาษิตไว – มิไดกลาวไว … กรรมอันตถาคตมิไดสั่งสม วา ตถาคตสัง่ สม…. กรรมอันตถาคตไดสั่งสมไว วา ตถาคตมิไดสั่งสมไว …. สิ่งอันตถาคตบัญญัติไว วา ตถาคตมิไดบญ ั ญัติไว….

ภิกษุเหลานั้น ชื่อวา เปนผูปฏิบัตเิ พือ ่ ไมเปนประโยชนเกือ ้ กูล ไมเปนความสุขแกชนเปน อันมาก เพื่ออนัตถะเพื่อมิใชประโยชนเกื้อกูลชนเปนอันมาก เพือ ่ ทุกขแกเทวดาและ มนุษยทั้งหลาย ทั้งยอมประสบบาปมิใชบญ ุ เปนอันมาก และยอมยังสัทธรรมนีใ้ ห อันตรธาน….

รูปรางทั้งหลายพระพุทธเจาติเตียนนัก รวมทั้งพระพุทธรูปในปจจุบัน นี้ดวย เลม 33 หนา 468 ดูกอนภิกษุทั้งหลาย อสัตบุรุษผูเ ขลา ไมเฉียบแหลม ประกอบดวยธรรม ๒ ประการ ยอมบริหารตนใหถูกกําจัด ใหถูกทําลาย เขายอมเปนไปกับดวยโทษ ถูกผูรูติเตียน ทั้งไดประสบบาปเปนอันมากอีกดวยธรรม ๒ ประการเปนไฉน คือ ไมพิจารณาไตรตรองแลว เกิดความเลื่อมใสในฐานะอันไมเปนที่ตั้งแหงความ เลื่อมใส ๑ ไมพิจารณาไตรตรองแลว เกิดความไมเลื่อมใสในฐานะอันเปนที่ตั้งแหงความ เลื่อมใส ๑ ดูกอนภิกษุทั้งหลาย อสัตบุรุษผูเขลา ไมเฉียบแหลม ประกอบดวยธรรม ๒ ประการนี้แล ยอมบริหารตนใหถูกกําจัด ถูกทําลาย เขายอมเปนไปกับดวยโทษ ถูกผูรูติเตียน ทั้งไดประสบบาปเปนอันมากอีกดวย…. *** แลวผูท  ี่เรียกตัวเองวาชาวพุทธแตไปเลื่อมใสพระพุทธรูปทัง้ หลายนัน ่ ละจะวาไงดี ? ไดบุญหรือไดบาป ?


-4-

คําวา

สรณะ แปลวา ที่พง ึ่ ที่พงึ่ ที่สามารถทําความกลัว – ความสะดุง – ความทุกข – ทุคติ – ความเศรา หมองทุกดาน ใหพินาศ – ยอยยับ – สลายไป ดวยการเขาถึงสรณะนั้น คําวา สรณะ นี้เปนชื่อของพระรัตนตรัยนัน ่ เอง. ทีนี้พระพุทธรูปตองไมสามารถที่จะกําจัดความทุกข - ความสะดุง - ความเศราหมอง ใหใครไดอยางถูกตองแนนอน พระพุทธรูปจึงไมใชพระรัตนตรัยโดยประการทัง้ ปวง สิ่งที่จะกําจัดในสิง่ ทีก ่ ลาวมาไดมอ ี ยูอ  ยางเดียวคือ ธรรมของพระพุทธเจาเทานัน ้ ธรรมของพระพุทธเจาก็ไมใชวัตถุทงั้ หมดทัง้ สิ้น แตเปนคําสอนเทานั้น ตามเหตุผลที่อา นมาตามลําดับแลว อธิบายแบบนี้ถูกตองแลวใชไหม ทานทั้งหลาย ? (ตอบในใจ) เพราะฉะนั้น ใครทีก ่ ต ็ ามที่เคารพพระพุทธรูป เอาพระพุทธรูปเปนที่พงึ่ - เปนที่ระลึก เปนที่พก ั พิง ของใจ จึงขาดกันกับพระรัตนตรัยแนนอน เปนคนที่สรณะขาด ตอสัญญาณการระลึกกับพระรัตนตรัยไมติด เปนคนทีไ ่ มมีพระรัตนตรัยเปนที่พงึ่ จึงไมใชชาวพุทธที่แทจริง

ชาวพุทธที่สกปรก

เลม 36

หนา 373

ดูกอนภิกษุทั้งหลาย อุบาสกผูป  ระกอบดวยธรรม 5 ประการ ยอมเปนอุบาสกผูเลวทราม เศราหมอง และนาเกลียด ธรรม 5 ประการเปนไฉน ? คือ 1. 2 3. 4. 5.

อุบาสกเปนผูไ  มมีศรัทธา เปนผูท  ุศีล เปนผูถือมงคลตื่นขาว เชื่อมงคลไมเชือ ่ กรรม แสวงหาเขตบุญภายนอกศาสนานี้ ทําการสนับสนุนในศาสนานัน ้

ดูกอนภิกษุทั้งหลาย อุบาสกผูป  ระกอบดวยธรรม ๕ ประการนี้แล เปนอุบาสกผูเ ลวทราม เศราหมอง และนาเกลียด. *** เปนผูไมมีศรัทธา คือ ไมเชื่อมัน ่ ในพุทธ – ธรรม – สงฆ อยางถูกตองไม เชื่อมั่นวาพระรัตนตรัยมีอยูจริงประกาศตนหรือปฏิญาณตนวานับถือพุทธะตามธรรมเนียม ประเพณีเฉย ๆ ไมรูเรือ ่ ง – ไมไดศึกษาใหเขาใจในคําสอนพุทธะ *** เชื่อมงคลตื่นขาว คือ ถือเอาตามความเห็นของคนสวนมากที่ไมรูจริงวาสิง่ นั้นดี – สิ่งนี้ดี เหรียญรุนนัน ้ ดี – เหรียญรุนนี้ดี หรือ ถือเอาวัตถุใดๆวาเปนมงคล หรือ เชื่อหมอดูทั้งหลาย หรือ กราบไหวบูชาเอาพระพุทธรูปเปนทีพ ่ งึ่ - เอาพระพุทธรูปเปน พระพุทธเจา เปนตน คําวา มงคล ตามหลักพุทธศาสนามีอยู 38 ประการ พุทธประกาศเอาไวแลว พระอรรถกถาจารยทานก็ไดอธิบายเพิ่มเติมเอาไวอยางละเอียดมาก อยูในเลม 39


-5-

เลม 31 หนา 384 ผูใดมีศรัทธาตัง้ มัน ่ ไมหวั่นไหว ในพระตถาคต มีศีลอันงาม ที่พระอริยเจาใครแลว สรรเสริญแลว มีความเลื่อมใสในพระสงฆ และมีความเห็นตรง บัณฑิตเรียกผูนั้นวา เปนคนไมขัดสน ชีวิตของเขาไมเปลาประโยชน เพราะฉะนั้น บุคคลผูม  ีปญญา เมื่อระลึกถึงคําสอนของพระพุทธเจา พึงประกอบตามซึง่ ศรัทธา (ความเชือ ่ มั่น) ศีล ความเลื่อมใส และความเห็นธรรม.

คุณสมบัติของพระรัตนตรัย ที่พระพุทธรูปไมมี

เลม 33 หนา 327

ชื่อวา พุทธ เพราะกําจัดภัยของเหลาสัตว ดวยใหสิ่งที่เปนประโยชนเปนไป ใหออกจากสิง่ ทีไ ่ มเปนประโยชน หรืออีกอยางหนึง่ พระพุทธเจาชื่อวาเปนสรณะ เพราะกําจัดภัยของสัตวทงั้ หลายดวยการใหหันเขาหาประโยชน และใหหันเหออกจากสิ่งที่ไมเปนประโยชนเกื้อกูล ทรงเปนที่ดาํ เนินไปในเบื้องหนา ทรงเปนที่ยึดเหนีย ่ ว ทรงเปนผูทาํ ลายทุกข ชื่อวา ธรรม เพราะยกสัตวใหขา มจากกันดารคือภพ และเพราะทําความเบาใจ แกสัตวโลก ชื่อวา สงฆ เพราะทําสักการะแมมีประมาณนอย กลับไดผลไพบูลย. ฉะนัน ้

พระรัตนตรัยจึงเปนสรณะ

และเลม 39

โดยปริยายแมนี้

หนา 19

บัดนี้ จะกลาวอธิบายคําที่วาจะประกาศพระสรณตรัยนั้น ดวยขออุปมา (ขอเปรียบเทียบ) ทั้งหลาย ก็ในคํานั้น พระพุทธเจาเปรียบเหมือน พระจันทรเพ็ญ พระธรรมเปรียบเหมือนกลุม รัศมีของพระจันทร พระสงฆเปรียบเหมือน โลกที่เอิบอิ่มดวยรัศมีของพระจันทรเพ็ญที่ทําใหเกิดขึน ้ พระพุทธเจาเปรียบเหมือน ดวงอาทิตยทอแสงออน ๆ พระธรรมดังกลาวเปรียบเหมือน ขายรัศมีของดวงอาทิตยนั้น พระสงฆเปรียบเหมือน โลกทีด ่ วงอาทิตยนน ั้ กําจัดมืดแลว. พระพุทธเจาเปรียบ เหมือนคนเผาปา พระธรรมเครื่องเผาปาคือกิเลสเปรียบเหมือน ไฟเผาปา พระสงฆที่เปนบุญเขต เพราะเผากิเลสไดแลว เปรียบเหมือนภูมิภาคที่เปนเขตนา เพราะเผาปาเสียแลว. พระพุทธเจาเปรียบเหมือน เมฆฝนใหญ พระธรรมเปรียบเหมือน น้ําฝน พระสงฆผูระงับละอองกิเลสเปรียบเหมือน ชนบทที่ระงับละอองฝุน  เพราะฝนตก. พระพุทธเจาเปรียบเหมือน สารถีที่ดี พระธรรมเปรียบเหมือน อุบายฝกมาอาชาไนย พระสงฆเปรียบเหมือน ฝูงมาอาชาไนยที่ฝก  มาดีแลว.


-6-

พระพุทธเจาเปรียบเหมือน ศัลยแพทย [หมอผาตัด] เพราะทรงถอนลูกศร คือ ทิฏฐิไดหมด พระธรรมเปรียบเหมือน อุบายที่ถอนลูกศรออกได พระสงฆผูถอนลูกศรคือทิฏฐิออกแลว เปรียบเหมือน ชนที่ถก ู ถอนลูกศรออกแลว. อีกนัยหนึ่ง พระพุทธเจาเปรียบเหมือน จักษุแพทย เพราะทรงลอกพื้นชั้นโมหะ ออกไดแลว พระธรรมเปรียบเหมือน อุบายเครื่องลอกพื้น [ตา] พระสงฆผม ู ีพน ื้ ชั้นตาอันลอกแลว ผูมีดวงตาคือญาณอันสดใส เปรียบเหมือนชนที่ ลอกพื้นตาแลว มีดวงตาสดใส. อีกนัยหนึ่ง พระพุทธเจาเปรียบเหมือนแพทยผฉ ู ลาด เพราะทรงสามารถกําจัดพยาธิ คือ กิเลสพรอมทั้งอนุสัยออกได พระธรรมเปรียบเหมือน เภสัชยาทีท ่ รงปรุงถูกตองแลว พระสงฆผม ู ีพยาธิคอ ื กิเลสและอนุสัยอันระงับแลวเปรียบเหมือน หมูชนที่พยาธิ(ความเจ็บปวย) ระงับแลว เพราะการประกอบยา. อีกนัยหนึ่ง พระพุทธเจาเปรียบเหมือน ผูชี้ทาง พระธรรมเปรียบเหมือน ทางดี หรือ พื้นที่ที่ปลอดภัย พระสงฆเปรียบเหมือน ผูเดินทางถึงทีท ่ ี่ปลอดภัย พระพุทธเจาเปรียบเหมือน นายเรือที่ดี พระธรรมเปรียบเหมือน เรือ พระสงฆเปรียบเหมือน ชนผูเดินทางถึงฝง . พระพุทธเจาเปรียบเหมือน ปาหิมพานต พระธรรมเปรียบเหมือน โอสถยาที่เกิดแตปาหิมพานตนน ั้ พระสงฆเปรียบเหมือน ชนผูไมมโี รคเพราะใชยา. พระพุทธเจาเปรียบเหมือน ผูประทานทรัพย พระธรรมเปรียบเหมือน ทรัพย พระสงฆผไ ู ดอริยทรัพยมาโดยชอบเปรียบเหมือน ชนผูไดทรัพยตามที่ประสงค. พระพุทธเจาเปรียบเหมือน ผูชี้ขุมทรัพย พระธรรมเปรียบเหมือน ขุมทรัพย พระสงฆเปรียบเหมือน ชนผูไดขุมทรัพย. อีกนัยหนึ่ง พระพุทธเจาผูเปนวีรบุรุษเปรียบเหมือน ผูประทานความไมมีภัย พระธรรมเปรียบเหมือน ไมมีภย ั พระสงฆผล ู วงภัยทุกอยางเปรียบเหมือน ชนผูถึงความไมมีภย ั


-7-

พระพุทธเจาเปรียบเหมือน ผูปลอบ พระธรรมเปรียบเหมือน การปลอบ พระสงฆเปรียบเหมือน ชนผูถูกปลอบ พระพุทธเจาเปรียบเหมือน มิตรดี พระธรรมเปรียบเหมือน คําสอนที่เปนหิตประโยชน พระสงฆเปรียบเหมือนชน ผูประสบประโยชนตน เพราะประกอบหิตประโยชน (ประโยชนเกื้อกูล) พระพุทธเจาเปรียบเหมือน บอเกิดทรัพย พระธรรมเปรียบเหมือน ทรัพยทเี่ ปนสาระ พระสงฆเปรียบเหมือน ชนผูใชทรัพยที่เปนสาระ พระพุทธเจาเปรียบเหมือน ผูทรงสรงสนานพระราชกุมาร พระธรรมเปรียบเหมือน น้ําที่สนานตลอดพระเศียร พระสงฆผส ู รงสนานดีแลวดวยน้าํ คือพระสัทธรรม เปรียบเหมือน หมูพระราชกุมาร ที่สรงสนานดีแลว. พระพุทธเจาเปรียบเหมือน ชางผูทําเครื่องประดับ พระธรรมเปรียบเหมือน เครื่องประดับ พระสงฆผป ู ระดับดวยพระสัทธรรมเปรียบเหมือน หมูพระราชโอรสที่ทรงประดับแลว. พระพุทธเจาเปรียบเหมือน ตนจันทน พระธรรมเปรียบเหมือน กลิ่นอันเกิดแตตน  จันทนนน ั้ พระสงฆผูระงับความเรารอนไดสน ิ้ เชิงเพราะอุปโภคใชพระสัทธรรมเปรียบ เหมือน ชนผูระงับความรอนเพราะใชจันทน พระพุทธเจาเปรียบเหมือน บิดามอบมฤดกโดยธรรม พระธรรมเปรียบเหมือน มฤดก พระสงฆผส ู ืบมฤดกดือพระสัทธรรม เปรียบเหมือน พวกบุตรผูสบ ื มฤดก. พระพุทธเจาเปรียบเหมือน ดอกปทุมทีบ ่ าน พระธรรมเปรียบเหมือน น้ําออยที่เกิดจากดอกปทุมที่บานนัน ้ พระสงฆเปรียบเหมือน หมูภมรที่ดด ู กินน้าํ ออยนัน ้ . พึงประกาศพระสรณตรัยนัน ้ ดวยขออุปมาทั้งหลายดังกลาวมาฉะนี้.

และเรียนรูเรื่องพระรัตนตรัยตออีก วัตถุทั้งหมดไมวารูปอะไรก็เปนอยางนี้แหละ...ไมมีขอยกเวน เลม 66 หนา 153 พระสมณะครั้นรูรูปอยางนี้แลวจึงพิจารณารูป คือ พิจารณาโดยความเปนของไมเทีย ่ ง เปนทุกข เปนโรค เปนดังหัวฝ เปนดังลูกศร เปนของลําบาก เปนอาพาธ เปนอยางอื่น เปนของชํารุด เปนเสนียดเปนอุบาทว เปนภัย เปนอุปสรรค เปนของหวัน ่ ไหว เปนของแตกพัง เปนของไมยั่งยืน เปนของไมมท ี ี่ซอนเรน เปนของไมมท ี ี่พงึ่ เปนของวาง เปนของเปลา เปนของสูญ เปนอนัตตา เปนโทษ เปนของมีความแปรปรวนไปเปนธรรมดา


-8-

เปนของไมมีแกนสาร เปนมูลแหงความลําบาก เปนดังเพชฌฆาต เปนของปราศจากความเจริญ เปนของมีอาสวะ (เปนของหมักดอง) เปนของอันเหตุปจจัยปรุงแตง เปนเหยื่อแหงมาร เปนของมีชาติเปนธรรมดา เปนของมีชราเปนธรรมดา เปนของมีพยาธิ (ความเจ็บปวย) เปนธรรมดา เปนของมีมรณะเปนธรรมดา เปนของมีความโศก ความรําพัน ความเจ็บกาย ความ เจ็บใจและความแคนใจ เปนธรรมดา เปนของมีความเศราหมองเปนธรรมดา เปนเหตุเกิดแหงทุกข เปนของดับไป เปนของชวนใหหลงแชมชื่น เปนอาทีนพ (เปนของมีโทษ) เปนนิสสรณะ (เปนของตองพรากจากไป) *** แตก็ไมไดบังคับใครทุกคนใหตองเชื่อ - ตองถือตามหรอกนะ ใหพิจารณาเอาตามสติปญญาของแตละคนที่จะเอื้ออํานวยให ใครอยากจะถือพระพุทธรูปยึดติดอยูในรูปทั้งหลายวาเปนทีพ ่ ึ่งที่ระลึก ก็เอาตามที่ใจตองการก็แลวกัน หรือใครจะเลิกถือพระพุทธรูปเลิกยึดติดรูป ทั้งหลายวาเปนที่พง ึ่ วาเปนที่ระลึก ก็เอาตามที่ใจตองการก็แลวกันนะ -------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

เลม 24 หนา 401 รูปใด ๆ จะอยูในโลกนี้หรือโลกอื่นและจะอยูในอากาศ มีรัศมีรุงเรืองก็ตามที รูปทั้งหมดเหลานั้น อันมารสรรเสริญแลว วางดักสัตวไวแลว เหมือนเขาใสเหยื่อลอเพื่อฆาปลา ฉะนัน ้ .

บวงแหงมาร

เลม 28

หนา 192

ดูกอนภิกษุทั้งหลาย รูปที่จะพึงรูแจงดวยจักษุ อันนาปรารถนา นาใคร นาพอใจ นารัก อาศัยความใคร ชวนใหกาํ หนัด มีอยูหากภิกษุเพลิดเพลิน สรรเสริญ หมกมุน พัวพันรูปนัน ้ ภิกษุนี้เรากลาววาไปสูทอ ี่ ยูข  องมาร ตกอยูในอํานาจของมาร ถูกมารคลอง รัด มัดดวยบวง ภิกษุนน ั้ พึงถูกมารผูมบ ี าปใชบว งทําไดตามปรารถนา ฯลฯ ดูกอนภิกษุทั้งหลาย ธรรมารมณที่จะพึงรูแจงดวยใจ อันนาปรารถนา นาใคร นาพอใจ นารัก อาศัยความใครชวนใหกําหนัด มีอยู หากภิกษุเพลิดเพลิน หมกมุน พัวพันธรรมารมณนน ั้ ภิกษุนี้เรากลาววาไปสูทอ ี่ ยูข  องมาร ตกอยูใ นอํานาจ ของมาร ถูกมารคลอง รัด มัดดวยบวง ภิกษุนั้นพึงถูกมารผูม  บ ี าปใชบว งทําไดตาม ปรารถนา.

รักสิ่งใด...ตายแลวก็จะไปอยูกับสิ่งนั้น เลม 43 หนา 17 บรรทัดที่ 7 ...ลําดับนัน ้ พี่สาวของทานจัดแจงวัตถุมย ี าคูและภัตเปนตน เพื่อประโยชนแกภิกษุสามเณรผูทําจีวรของพระติสสะนั้น. ก็ในวันที่จวี รเสร็จ พี่สาวใหทําสักการะมากมาย. ทานแลดูจีวรแลว เกิดความเยือ ่ ใยในจีวรนัน ้ คิดวา "ในวันพรุงนี้ เราจักหมจีวรนั้น" แลวพับพาดไวที่สายระเดียง ในราตรีนน ั้ ไมสามารถใหอาหารที่ฉน ั แลวยอยไปได มรณภาพ (ตาย) แลว เกิดเปนเล็นที่จีวรนัน ้ นั่นเอง……


-9-

อาลัยสิ่งใด...ตายแลวไปเกิดอยูกับสิ่งนั้น เลม 51 หนา 107 บรรทัดที่20 …พระศาสดาตรัสวา ภัททชิ รัตนปราสาทที่เธอเคยอยูในเวลาที่เธอเปนพระราชามีนามวา มหาปนาทะอยู ตรงไหน ? พระภัททชิเถระกราบทูลวา จมอยูใ นที่นพ ี้ ระเจาขา. พระศาสดาตรัสวา ภัททชิ ถาเชนนัน ้ เธอจงตัดความสงสัยของเพื่อนสพรหมจารี ทั้งหลาย. ในขณะนัน ้ พระเถระ ถวายบังคมพระศาสดาแลว ไปดวยกําลังฤทธิ์ ยกยอดปราสาทขึ้นดวยหัวแมเทาแลวชะลอปราสาท สูง ๒๕ โยชน เหาะขึ้นบนอากาศ และเมื่อเหาะขึน ้ ได ๕๐ โยชน ก็ยกปราสาทขึน ้ พนจากน้ํา ลําดับนั้นญาติทั้งหลายในภพกอนของทาน เกิดเปนปลาเปนเตาและเปนกบ ดวยความโลภอันเนื่องอยูในปราสาท เมื่อปราสาทนัน ้ ถูกยกขึน ้ ก็หลนตกลงไปในน้าํ พระศาสดาเห็นสัตวเหลานัน ้ ตกลงไป จึงตรัสวา ภัททชิ ญาติทั้งหลายของเธอจะ ลําบาก. พระเถระจึงปลอยปราสาท ตามคําของพระศาสดา……….

*** หลวงพอเกษมบอกวา

พวกคนที่มีเครือ ่ งรางของขลังหรือวัตถุวิเศษใดๆก็ตาม และพวกคนเหลานี้มค ี วามรัก – อาลัย – ยึดถือ ในเครื่องรางของขลังหรือวัตถุวิเศษใดๆนั้นวาเปนที่พงึ่ เมื่อพวกคนเหลานีต ้ ายไปแลวก็เขาไปสถิตอยูในเครื่องรางของขลังหรือวัตถุวิเศษ เหลานัน ้ ก็มีมาก

ผูพอใจในรูปรางทั้งหลาย...ตองรู

เลม 28 หนา 357

ดูกอนภิกษุทั้งหลาย เราจักแสดงอาทิตตปริยายและธรรมปริยายแกเธอทั้งหลาย เธอทัง้ หลายจงฟง ดูกอนภิกษุทั้งหลาย อาทิตตปริยายและธรรมปริยายเปนไฉน. ดูกอนภิกษุทั้งหลาย บุคคลแทงจักขุนทรีย (หนวยตา) ดวยหลาวเหล็กอันรอนไฟติด ลุกโพลงแลว ยังดีกวา การถือนิมต ิ โดยอนุพยัญชนะในรูป อันจักขุวิญญาณพึงรูแจง จะดีอะไร วิญญาณอันตะกรามดวยความยินดีในนิมิต (เครื่องหมาย) หรือตะกรามดวย ความยินดีในอนุพยัญชนะ เมื่อตัง้ อยูกพ ็ ึงตัง้ อยูได ถาบุคคลพึงทํากาลกิริยา (ตาย) เสียในสมัยนัน ้ ไซร ขอทีบ ่ ุคคลจะพึงเขาถึงคติ (การไปเกิด) ๒ อยาง คือ นรกหรือกําเนิดสัตวเดียรฉานอยางใดอยางหนึ่ง ก็เปนฐานะที่จะมีได ดูกอนภิกษุทั้งหลายเราเห็นโทษอันนี้ จึงกลาวอยางนี้..... ***อนุพยัญชนะ หมายถึง แยกถือเอาเปนสวนๆ เชน มืองาม, เทางาม , คิ้วงาม ,หนางาม , เปนตน รูปนี้หมายรวมทั้ง พระพุทธรูปดวยนะ แมแตรูปรางของพระพุทธเจาตัวจริง ๆ เมือ ่ 2500 กวาปกอ  น ก็ยงั อันตรายถาไปยึดเอาเปนที่พงึ่ เพราะฉะนั้นจึงไมจําเปนตองกลาวถึงพระพุทธรูปทัง้ หลายหรือวัตถุทั้งหลายเลย


- 10 -

ชะตากรรมในโลกหนาของผูไมมีพระรัตนตรัย...เปนที่พึ่ง เลม 18 หนา 28 บทวา โย สตฺถริ ปสาโท โส น สมฺมคฺคโต ความวา ก็ศาสดา (ผูสงั่ สอน) ในศาสนาทีไ ่ มเปนเครือ ่ งนําสัตวออกจากทุกข (ที่ไมใช พระพุทธเจา) ทํากาละ (ตาย) แลวเปนสีหะ (สิงโต)บาง เสือโครงบาง เสือเหลืองบาง หมีบาง เสือดาวบาง. สวนสาวกทัง้ หลายของศาสดานั้น เปนเนื้อบาง สุกร(หมู) บาง กระตายบาง. มันไมทาํ ความอดทน หรือความหวังดี หรือความเอ็นดูวา สัตวเหลานี้ เคยเปนอุปฏ  ฐาก ผูใหปจจัย (เครือ ่ งดํารงชีวิต) แกเรา ฆาสัตวเหลานัน ้ แลว ดูดเลือด บาง กินเนื้อสันทัง้ หลายบาง. ก็อก ี ประการหนึง่ ศาสดาเกิดเปนแมว. สาวกทัง้ หลายเปนไกหรือหนู. ลําดับนัน ้ แมวก็ จะไมทําความอนุเคราะห ยอมกินไกหรือหนูเหลานั้นโดยนัยกลาวแลวนั้นเทียว. อนึง่ ศาสดาเปนนายนิรยบาล สาวกทั้งหลายเปนสัตวนรก. นายนิรยบาลนั้น จะไมทาํ ความอนุเคราะหวา สัตวเหลานี้ เคยใหปจจัยแกเรา ยอมทํากรรมกรณ (เครือ ่ งลง อาชญา) ตางๆ ใสในรถที่รอนจัดบางใหขน ึ้ ภูเขาไฟบาง ทิ้งศีรษะลงในหมอโลหะบาง ประกอบดวยทุกขธรรมหลายอยางบาง. ก็หรือสาวกทั้งหลายตายไปเปนสัตวมีสีหะเปนตน. ศาสดาเปนสัตวอยางใดอยางหนึ่งมี เนื้อเปนตน. สัตวเหลานัน ้ ไมทําความอดทน หรือความหวังดี หรือความเอ็นดูในสัตว นั้นวา เราเคยอุปฏ  ฐากสัตวนด ี้ วยปจจัยสี่ สัตวนเี้ คยเปนศาสดาของพวกเรา ดังนี้ ยอมใหถึงความพินาศ โดยนัยกลาวแลวนัน ้ เทียว. ในศาสนาทีไ ่ มเปนเครือ ่ งนําสัตวออกจากทุกขดวยประการฉะนี้ ความเลือ ่ มใสในศาสดา ใด ความเลื่อมใสนั้นไมไปแลวโดยชอบ แมไปสูก  าละ (ตาย) อยางไรแลว จะพินาศ ในภายหลังนั้นเทียว. บทวา โย ธมฺเม ปสาโท ความวา ก็ธรรมดาความเลื่อมใสในธรรม ในศาสนาที่ไมเปนเครื่องนําสัตวออกจากทุกข เปนความเลื่อมใสในตันติธรรม (ประเพณี) เพียงเรียน เลาเรียน ทรงไวและบอกแลว แตความพนจากวัฏฏะ (การเวียนวายตายเกิด) ไมมีในความเลือ ่ มใสนัน ้ เพราะฉะนั้น ความเลือ ่ มใสในธรรมนั้นใด ความเลื่อมใสนัน ้ รังแตจะทําวัฏฎะใหลึก บอย ๆ เพราะฉะนั้นเรากลาววาไมไปแลวโดยชอบ คือ ไมไปแลวโดยสภาวะ.

พึ่งพุทธ – ธรรม – สงฆ (อยางถูกตอง) ยอดเยี่ยมนัก เลม 42 หนา 346 มนุษยเปนอันมาก ถูกภัยคุกคามแลว ยอมถึงภูเขา ปา อาราม และรุกขเจดีย (ตนไม) วาเปนที่พงึ่ สรณะนัน ่ แลไมเกษม สรณะนั่นไมอุดม เพราะบุคคลอาศัยสรณะนั่น ยอมไมพน  จากทุกขทงั้ ปวงได. สวนบุคคลใดถึงพระพุทธ พระธรรม และพระสงฆ วาเปนที่พึ่ง ยอมเห็นอริยสัจ 4 (คือ) ทุกข เหตุใหเกิดทุกข ความกาวลวงทุกข และมรรคมีองค ๘ อันประเสริฐ ซึ่งยังสัตวใหถงึ ความสงบแหงทุกข ดวยปญญาชอบ สรณะนั่นแลของบุคคลนัน ้ เกษม สรณะนั่นอุดม เพราะบุคคลอาศัย สรณะนัน ่ ยอมพนจากทุกขทั้งปวงได


- 11 -

พึ่งพระพุทธ – ธรรม – สงฆ (อยางถูกตอง) ...นี้...ดีนัก เลม 29 หนา 119 ครั้งนัน ้ แล ทาวสักกะจอมเทพกับเทวดา ๘๔,๐๐๐ องค เขาไปหาทานพระมหาโมคคัลลานะถึงทีอ ่ ยู ไหวทา นพระมหาโมคคัลลานะแลว ไดไปประทับยืนอยู ณ ที่ควรสวนขางหนึง่ ครั้นแลว ทานพระมหาโมคคัลลานะไดพูดกะทาวสักกะจอมเทพวา ดูกอนจอมเทพ การถึงพระพุทธเจาเปนสรณะ (ที่พึ่ง) ดีนก ั เพราะเหตุแหงการถึง พระพุทธเจาเปนสรณะ สัตวบางพวกในโลกนี้ เมื่อแตกกายตายไป ยอมเขาถึงสุคติโลกสวรรค การถึงพระธรรมเปนสรณะดีนัก….. การถึงพระสงฆเปนสรณะดีนก ั เพราะเหตุแหงการถึงพระสงฆเปนสรณะ สัตวบางพวกในโลกนี้ เมื่อแตกกายตายไป ยอมเขาถึงสุคติโลกสวรรค ทาวสักกะจอมเทพตรัสวา ขาแตทานพระโมคคัลลานะผูนิรทุกข (ไมมีทก ุ ข) การถึงพระพุทธเจาเปนสรณะดีนัก เพราะเหตุแหงการถึงพระพุทธเจาเปนสรณะ สัตวบางพวกในโลกนี้ เมื่อแตกกายตายไป ยอมเขาถึงสุคติโลกสวรรค การถึงพระธรรมเปนสรณะดีนัก... การถึงพระสงฆเปนสรณะดีนก ั เพราะเหตุแหงการถึงพระสงฆเปนสรณะ สัตวบางพวกในโลกนี้ เมื่อแตกกายตายไป ยอมเขาถึงสุคติโลกสวรรค ครั้งนัน ้ แล ทาวสักกะจอมเทพกับเทวดา ๕๐๐ องค เขาไปหาทานพระมหาโมคคัลลานะถึงทีอ ่ ยู ไหวทานพระมหาโมคคัลลานะแลว ไดประทับยืนอยู ณ ทีค ่ วรสวนขางหนึ่ง ครั้นแลว ทานพระมหาโมคคัลลานะไดพูดกะทาวสักกะจอมเทพวา ดูกอนจอมเทพ การประกอบดวยความเลือ ่ มใสอันไมหวัน ่ ไหวในพระพุทธเจาวา แมเพราะเหตุนี้ ๆ พระผูมีพระภาคเจาพระองคนน ั้ เปนพระอรหันตตรัสรูเองโดยชอบ ถึงพรอมดวยวิชชา (ความรูแจง) และจรณะ (ความประพฤติ) เสด็จไปดีแลว ทรงรูแจงโลก เปนสารถีฝกบุรษ ุ ที่ควรฝก ไมมีผูอน ื่ ยิง่ กวา เปนศาสดาของเทวดาและ มนุษยทั้งหลาย เปนผูเบิกบานแลว เปนผูจ  ําแนกธรรมดังนี้ ดีนัก เพราะเหตุแหงการประกอบดวยความเลื่อมใสอันไมหวัน ่ ไหวในพระพุทธเจา สัตวบางพวกในโลกนี้ เมื่อแตกกายตายไป ยอมเขาถึงสุคติโลกสวรรค ดูกอนจอมเทพ การประกอบดวยความเลือ ่ มใสอันไมหวัน ่ ไหวในพระธรรมวา พระธรรมอันพระผูมีพระภาคเจาตรัสดีแลว อันผูไ  ดบรรลุพึงเห็นเอง ไมประกอบดวยกาล ควรเรียกใหมาดู ควรนอมเขามา อันวิญูชน (ผูรูแจง) พึงรูเฉพาะตน ดังนี้ ดีนัก เพราะเหตุแหงการประกอบดวยความเลื่อมใสอันไมหวัน ่ ไหวในพระธรรม สัตวบางพวกในโลกนี้ เมื่อแตกกายตายไป ยอมเขาถึงสุคติโลกสวรรค ดูกอนจอมเทพ การประกอบดวยความเลื่อมใสอันไมหวัน ่ ไหวในพระสงฆวา พระสงฆสาวกของพระผูมีพระภาคเจา เปนผูปฏิบต ั ิดีแลว ปฏิบต ั ิตรง ปฏิบัติเปน ธรรม ปฏิบัติชอบ คือ คูแหงบุรุษ ๔ บุรุษบุคคล ๘ นี้ พระสงฆสาวกของพระผูมีพระภาคเจา เปนผูควรของคํานับ ควรของตอนรับ ควรของทําบุญ ควรทําอัญชลี (ประนมมือไหว) เปนนาบุญของโลก ไมมีนาบุญอืน ่ ยิ่ง กวา ดังนี้ ดีนัก เพราะเหตุแหงการประกอบดวยความเลือ ่ มใสอันไมหวัน ่ ไหวใน พระสงฆ สัตวบางพวกในโลกนี้ เมื่อแตกกายตายไป ยอมเขาถึงสุคติโลกสวรรค


- 12 -

ดูกอนจอมเทพ การประกอบดวยศีลทีพ ่ ระอริยเจาใครแลว อันไมขาด ไมทะลุ ไมดา ง ไมพรอย เปนไทย วิญูชนสรรเสริญ อันตัณหา (ความทะยานอยาก) และทิฏฐิ (ความเห็น) ลูบคลําไมได เปนไปเพือ ่ สมาธิ ดีนัก เพราะเหตุแหงการประกอบดวยศีลทีพ ่ ระอริยเจาใครแลว สัตวบางพวกในโลกนีเ้ มื่อ แตกกายตายไป ยอมเขาถึงสุคติโลกสวรรค….. ……..ทานพระมหาโมคคัลลานะไดพด ู กะทาวสักกะจอมเทพวา ดูกอนจอมเทพ การถึงพระพุทธเจาเปนสรณะดีนัก เพราะเหตุแหงการถึงพระพุทธเจาเปนสรณะ สัตวบางพวกในโลกนี้ เมื่อแตกกายตายไปยอมเขาถึงสุคติโลกสวรรค เขาเหลานัน ้ ยอมครอบงําเทวดาพวกอืน ่ ดวยฐานะ ๑๐ ประการ คือ ดวยอายุ วรรณะ (ผิวพรรณ) สุข ยศ ความเปนใหญ รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ (สัมผัส) อันเปนพิพย ดูกอนจอมเทพ การถึงพระธรรมเปนสรณะดีนัก เพราะเหตุแหงการถึงพระธรรมเปนสรณะ สัตวบางพวกในโลกนี้ เมื่อแตกกายตายไป ยอมเขาถึงสุคติโลกสวรรค เขาเหลานัน ้ ยอมครอบงําเทวดาพวกอืน ่ ดวยฐานะ ๑๐ ประการ คือ ดวยอายุ วรรณะ สุข ยศ ความเปนใหญ รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ อันเปนทิพย. การถึงพระสงฆเปน สรณะ ดีนก ั . เพราะเหตุแหงการถึงพระสงฆเปนสรณะ สัตวบางพวกในโลกนี้ เมื่อแตกกายตายไป ยอมเขาถึงสุคติโลกสวรรค เขาเหลานัน ้ ยอมครอบงําเทวดาพวกอืน ่ ดวยฐานะ ๑๐ ประการ คือ ดวยอายุ วรรณะ สุข ยศ ความเปนใหญ รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ อันเปนทิพย…….. รูเรื่องการสวดมนตที่ถูกตอง = อาน ผูชอบสวดมนตหามพลาด เรื่องเครื่องรางของขลัง = อาน เรือ ่ งเครื่องรางของขลังกับวัดสามแยก รูเรื่องพระธาตุ = อาน รูเรื่องพระธาตุเปนของกลาง -------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

อันตรายของน้ํามนต

เลม 39

หนา 227

...ดังนัน ้ ในวันทีพ ่ ระผูมีพระภาคเจาเสด็จถึงกรุงเวสาลีนั่นเอง รัตนสูตร นี้ทพ ี่ ระผูมีพระ ภาคเจาตรัสใกล ประตูกรุงเวสาลี เพื่อกําจัดอุปท  วะ (ความอุบาทว) เหลานัน ้ ทานพระ อานนทกเ็ รียนเอา เมื่อจะกลาวเพื่อเปนปริตร [ปองกัน] จึงเอาบาตรของพระผูมีพระ ภาคเจาตักน้าํ มา เดินประพรมไปทั่วพระนคร. พอพระเถระกลาววา ยงฺกิฺจิ เทานัน ้ พวกอมนุษยทอ ี่ าศัยกองขยะและที่ฝาเรือนเปนตน ซึ่งยังไมหนีไปในตอนแรก ก็พากันหนีไปทางประตูทั้ง 4 ประตูทั้งหลาย ก็ไมมท ี ี่วางอมนุษยบางพวก เมื่อไมไดทวี่ างทีป ่ ระตูทั้งหลาย ก็ทลายกําแพงเมือง หนีไป......


- 13 -

เลม 56 หนา 303 "ผูใดไมถือมงคลตืน ่ ขาว ไมถืออุกกาบาต ไมถือความฝน ไมถอ ื ลักษณะดีหรือชั่ว ผูนน ั้ ชื่อวาลวงพนโทษแหงการถือมงคลตืน ่ ขาว ครอบงํากิเลสเครื่องประกอบสัตว ไวในภพ ที่เปนคูกน ั้ ยอมไมกลับมาเกิดอีก"

พระอรรถกถาจารยอธิบายเพิ่มเติมความวา ไดยน ิ วา พราหมณชาวพระนครราชคฤหผห ู นึ่ง เปนผูถอ ื มงคลตื่นขาว ไมเลื่อมใสใน พระรัตนตรัย เปนมิจฉาทิฏฐิ (มีความเห็นผิด) มั่งคัง่ มีทรัพยมาก มีโภคะมาก. หนูกัดคูแหงผาสาฎกที่เขาเก็บไวในหีบ ครั้นถึงเวลาที่เขาสนานเกลา (สระผม) จงนําผาสาฎก (ผาหม) มา คนทั้งหลายจึงบอกการที่หนูกัดผาแกเขา เขาคิดวาดวยผาสาฎกทั้งคูท  ี่หนูกัดนี้ จักคงมีในเรือนนี้ละก็ ความพินาศอยางใหญ หลวงจักมี เพราะผาคูนเี้ ปนอวมงคล (ความไมเจริญ) เชนกับตัวกาฬกรรณี (ความ จัญไร) ทั้งไมอาจใหแกบุตรธิดา หรือทาสกรรมกร เพราะความพินาศอยางใหญหลวงจักตองมีแกผูที่รบ ั ผานี้ไปทุกคน ตองใหทิ้งมันเสียที่ ปาชาผีดิบ แตไมกลาใหในมือพวกทาสเปนตน เพราะพวกนั้นนาจะเกิดโลภในผาคูน  ี้ ถือเอาไปแลวถึงความพินาศไปตาม ๆ กันได เราจักใหลูกถือผาคูนน ั้ ไป เขาเรียกบุตรมาบอกเรือ ่ งราวนั้นแลว ใชไปดวยคําวา พอคุณ ถึงตัวเจาเองก็ตองไม เอามือจับมัน จงเอาทอนไมคอนไปทิ้งเสียที่ปาชาผีดบ ิ อาบน้าํ ดําเกลาแลวมาเถิด. แมพระบรมศาสดาเลา ในวันนั้น เวลาใกลรุง ทรงตรวจพวกเวไนยสัตว เห็นอุปนิสย ั แหงโสดาปตติผลของพอลูกคูนก ี้ ็เสด็จไปเหมือนพรานเนือ ้ ตามรอยเนื้อ ฉะนัน ้ ไดประทับยืน ณ ประตูปาชาผีดิบ ทรงเปลงพระพุทธรังษี 6 ประการอยู. แมมาณพ (หนุมนอย) รับคําบิดาแลว คอนผาคูนน ั้ ดวยปลายไมเทา เหมือนคอนงูเขียว เดินไปถึงประตูปา ชาผีดิบ. ลําดับนั้นพระศาสดารับสั่งกะเขาวา มาณพ เจาทําอะไร ? มาณพกราบทูลวา ขาแตพระโคดมผูเจริญ ผาคูน  ี้ถูกหนูกัด เปนเชนเดียวกับตัวกาฬกรรณีเปรียบดวยยาพิษที่รายแรง บิดาของขาพระองคเกรงวา เมื่อผูท  ิ้งมันเปนคนอื่น นาจะเกิดความโลภขึน ้ ถือเอาเสีย จึงใชขาพระองค ขาแตพระโคดมผูเจริญ ขาพเจาเองก็มาดวยหวังวาจักทิง้ มันเสีย. พระศาสดาตรัสวา ถาเชนนั้น ก็จงทิ้งเถิด. มาณพจึงทิ้งเสีย พระศาสดาตรัสวา คราวนี้สมควรแกเราตถาคตดังนี้แลว ทรงถือเอาตอหนามาณพนัน ้ ทีเดียว ทั้ง ๆ ที่มาณพนั้นหามอยูวา ขาแตพระโคดมผูเจริญ นั่นเปนอวมงคลเหมือนตัวกาฬกรรณี อยาจับ อยาจับเลย พระศาสดาก็ทรงถือเอาผาคูน  น ั้ เสด็จผันพระพักตรมุงหนาตรงไปพระเวฬุวัน....

ฤกษงามยามดีในพุทธศาสนา

เลม 34

ดูกอนภิกษุทั้งหลาย สัตวเหลาใดประพฤติสุจริต ดวยกาย ดวยวาจา ในเวลาเชา เวลาเชานั้น ก็เปนเวลาดีของสัตวเหลานั้น สัตวเหลาใดประพฤติสุจริตดวยกาย ดวยวาจา ดวยใจ ในเวลากลางวัน เวลากลางวันนั้น ก็เปนเวลาดีของสัตวเหลานัน ้

หนา 591 ดวยใจ


- 14 -

สัตวเหลาใดพระพฤติสุจริตดวยกายดวยวาจา ดวยใจ ในเวลาเย็น เวลาเย็นนัน ้ ก็เปนเวลาดีของสัตวเหลานัน ้ . กายกรรม (การกระทําทางกาย) วาจากรรม (การกระทําทางวาจา) มโนกรรม (การ กระทําทางใจ) ความปรารถนาของทาน เปนประทักษิณ (ความเจริญ) เปนฤกษดี มงคลดี แจงดี รุงดี ขณะดี ครูดี และเปนการบูชาอยางดีใน พรหมจารีทงั้ หลาย คนทํากรรมอันเปน ประทักษิณแลว ยอมไดประโยชนอันเปนประทักษิณ (ความเจริญ) ทานทัง้ หลาย จงเปนผูมป ี ระโยชนอน ั ไดแลว ถึงซึ่งความสุข งอกงามใน พระพุทธศาสนา เปนผูหาโรคมิได สําราญกายใจ พรอมดวยญาติทงั้ ปวง เทอญ.

เลม 56 หนา 49 " ประโยชนไดลวงเลยคนโงเขลา ผูมัวคอยฤกษอยู ประโยชนเปนฤกษของประโยชน ดวงดาวจักทําอะไรได." ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

ออกจากการบวงสรวงที่ผิด...สูการบูชาที่ถูกตอง เลม 25

หนา 137

......ก็ในวันนัน ้ มีพลีกรรม (บวงสรวง) เพื่อภูต (อมนุษย )ในเรือนนัน ้ . ทุกเรือนทาสีเขียว มีขาวตอกเกลื่อนกลาด. แวดลอมดวยทรัพยและดอกไม ยกธงชัย ธงปฏากขึน ้ ตัง้ หมอ น้ํามีน้ําเต็มไวในทีน ่ ั้น ๆ จุดประทีปสวาง ประดับดวยผงของหอมและดอกไมเปนตน. ไดมีแวนเวียนเทียนถือสงตอกันไปโดยรอบ. นางพราหมณีแมนน ั้ ลุกขึน ้ แตเชาตรู อาบน้าํ หอม 16 หมอ ตกแตงรางกายดวย เครื่องประดับพรอมสรรพ. สมัยนั้น นางใหพระมหาขีณาสพ (พระอรหันต) นัง่ แลว มิไดถวายแมเพียงขาวยาคูกระบวยหนึง่ คิดวา เราจักใหมหาพรหมบริโภค จึงบรรจุ ขาวปายาสเต็มถาดทอง ปรุงดวยเนยใสน้ําผึ้งและน้าํ ตาลกรวดเปนตน ที่หลังบานมี พื้นทีท ่ ี่ประดับดวยของทาสีเขียวเปนตน นางถือถาดนัน ้ ไปทีน ่ น ั้ วางกอนขาวปายาส ตรงที่ 4 มุมและตรงกลางแหงละกอน ถือไปกอนหนึ่ง มีเนยใสไหลลงถึงขอศอก คุกเขาบนแผนดิน กลาวเชิญพรหมใหบริโภควา ขอทานมหาพรหมจงบริโภค ขอทานมหาพรหมจงนําไป ขอมหาพรหมจงอิ่มหนํา ดังนี้. บทวา เอตทโหสิ ความวา ความคิดนี้ไดมีแกทา วสหัมบดีพรหมผูสูดกลิน ่ ศีลของพระ มหาขีณาสพ ซึ่งทวมเทวโลกฟุง ไปถึงพรหมโลก. บทวาสํเวเชยฺยํ ไดแกพงึ ตักเตือน คือพึงใหประกอบในสัมมาปฏิบัติ (ปฏิบัตใิ หถูกตอง). อธิบายวาจริงอยู นางพราหมณีนน ั้ ใหพระมหาขีณาสพผูเปนอัครทักขิไณยบุคคล (ผูสมควรแกของทําบุญอันยอดเยี่ยม) เห็นปานนี้ ใหนั่งแลว มิไดถวายอาหารแมเพียง ขาวยาคูกระบวยหนึง่ คิดวา เราจักใหมหาพรหมบริโภค ดุจทิง้ ตาชั่งเสียแลวใชมือชัง่ ดุจทิ้งกลองเสียแลวประโคมทอง ดุจทิง้ ไฟเสียแลวเปาหิง่ หอย เที่ยวทําพลีแกภูต เราจักไปทําลายมิจฉาทิฏฐิ (ความเห็นผิด) ของนาง ยกนางขึน ้ จากทางแหงอบาย (ไมสบาย) จะกระทําโดยวิธีใหนางหวานทรัพย 80 โกฏิ ( 1 โกฏิ = 10 ลาน ) ลงในพระพุทธศาสนาแลวขึน ้ สูทางสวรรค.


- 15 -

บทวา ทูเร อิโต ความวา ไกลจากทีน ่ ี้. จริงอยู กอนศิลาขนาดเทาเรือนยอดตกจากพรหมโลก วันหนึง่ คืนหนึง่ สิน ้ ระยะทาง 48,000 โยชน (1 โยชน = 16 ก.ม.) ใชเวลาถึง 4 เดือนโดยทํานองนี้ จึงตกถึงพื้นแผนดินโลก พรหมโลกชัน ้ ทีต ่ ่ํากวาเขาทั้งหมดอยูไ  กลอยางนี้. บทวา ยสฺสาหุตึ ความวา โลกของพรหมทีน ่ างพราหมณีบูชาดวยกอนขาว

อยูไ  กล.

ในบทวา พฺรหฺมปถํ นี้ มีวินิจฉัยดังตอไปนีท ้ าวมหาพรหมกลาววา ชื่อวาทางของพรหม ไดแกกุศลฌาน 4 สวนวิบาก (ผล) ของฌาน 4 ชื่อวาเปนทางชีวต ิ ของพรหมเหลานัน ้ เธอไมรูทางของพรหมนัน ้ กระซิบอยูท  ําไม เพอเจออยูท  ําไม จริงอยู พรหมทั้งหลาย ยอมยังอัตภาพ(ความเปนตัวตน) ใหเปนไป ดวยฌานที่มป ี ติ หาไดใสขา วสารแหงขาวสาลี และเคี้ยวกินน้ํานมที่เคี่ยวแลวไม ทานอยาลําบากเพราะสิ่งที่ไมใชเหตุเลย ครั้นกลาวอยางนี้แลว จึงประคองอัญชลี (ประนมมือ) แลวยอตัวเขาไปชี้พระเถระอีกกลาววา ดูกอนนางพราหมณี ก็ทา นพระ พรหมเทวะของทานนี้ ดังนี้เปนตน.........

รูจัก...การถือมงคลผิดๆ ของผูที่ไมรูจริงทั้งหลาย เลม 65 หนา 497 .......มีความวา สมณพราหมณบางพวก ปรารถนาความหมดจด ดวยการเห็นรูป สมณพราหมณเหลานัน ้ ยอมเชื่อถือการเห็นรูปบางอยางวา เปนมงคล ยอมเชื่อถือการ เห็นรูปบางอยางวา ไมเปนมงคล. สมณพราหมณเหลานัน ้ ยอมเชือ ่ ถือการเห็นรูปเหลาไหนวา เปนมงคล สมณพราหมณเหลานัน ้ ลุกขึ้นแตเชา ยอมเห็นรูปทัง้ หลายที่ถงึ เหตุเปนมงคลยิง่ คือ เห็นนกแอนลม เห็นผลมะตูมออนทีเ่ กิดขึน ้ โดยบุษยฤกษ เห็นหญิงมีครรภ เห็นคนทีใ่ ห เด็กหญิงขี่คอเดินไป เห็นหมอน้าํ เต็ม เห็นปลาตะเพียน เห็นมาอาชาไนย เห็นรถที่เทียมดวยมาอาชาไนย เห็นโคตัวผู เห็นแมโคดาง ยอมเชื่อถือการเห็นรูป เห็นปานนี้วา เปนมงคล. สมณพราหมณเหลานัน ้ ยอมซึง่ ถือการเห็นรูปเหลาไหนวา ไมเปนมงคล สมณพราหมณเหลานัน ้ เห็นกองฟาง เห็นหมอเปรียง เห็นหมอเปลา เห็นนักฟอน เห็นสมณะเปลือย เห็นลา เห็นยานทีเ่ ทียมดวยลา เห็นยานที่เทียมดวยพาหนะตัว เดียว เห็นคนตาบอด เห็นคนงอย เห็นคนกระจอก เห็นคนเปลี้ย เห็นคนแก เห็นคนเจ็บ เห็นคนตาย ยอมเชือ ่ ถือการเห็นรูปเห็นปานนี้วา ไมเปนมงคล พอควร สมณพราหมณเหลานัน ้ เปนผูปรารถนาความหมดจดดวยการเห็นรูป ยอมเชื่อถือ ความหมดจด ความหมดจดวิเศษ ความหมดจดรอบ ความพน ความพนวิเศษ ความพนรอบ ดวยการเห็นรูป. มีสมณพราหมณบางพวก ปรารถนาความหมดจด ดวยการไดยินเสียง สมณพราหมณ เหลานัน ้ ยอมเชื่อถือการไดยน ิ เสียงบางอยางวา เปนมงคล ยอมเชื่อถือการไดยน ิ เสียงบางอยางวา ไมเปนมงคล


- 16 -

สมณพราหมณเหลานัน ้ ยอมเชือ ่ ถือการไดยน ิ เสียงเหลาไหนวา เปนมงคล พอควร. สมณพราหมณเหลานัน ้ ลุกขึ้นแตเชา ยอมไดยินเสียงทัง้ หลายที่ถงึ เหตุเปนมงคลยิ่ง คือ ไดยน ิ เสียงวาเจริญ เสียงวาเจริญอยู เสียงวาเต็มแลว เสียงวาขาด เสียงวาไมเศราโศก เสียงวามีใจดี เสียงวาฤกษดี เสียงวามงคลดี เสียงวามีสิริ หรือเสียงวาเจริญดวยสิริ ยอมเชื่อถือการไดยินเสียงเห็นปานนีว้ า เปนมงคล. สมณพราหมณเหลานัน ้ ยอมเชื่อถือการไดยินเสียงเหลาไหนวา ไมเปนมงคล สมณพราหมณเหลานัน ้ ยอมไดยน ิ เสียงวาคนตาบอด เสียงวาคนงอย เสียงวาคนกระจอก เสียงวาคนเปลี้ย เสียงวาคนแก เสียงวาคนเจ็บ เสียงวาคนตาย เสียงวาถูกตัด เสียงวาถูกทําลาย เสียงวาไฟไหม เสียงวาของหาย หรือเสียงวาของไมมี ยอมเชือ ่ ถือการไดยน ิ เสียงเห็นปานนี้วา ไมเปนมงคล สมณพราหมณเหลานีน ้ ั้นเปนผูปรารถนาความหมดจดดวยการไดยน ิ เสียง ยอมเชือ ่ ถือความหมดจด ความหมดจดวิเศษ ความหมดจดรอบ ความพน ความพน วิเศษ ความพนรอบ ดวยการไดยน ิ เสียง. ้ มีสมณพราหมณบางพวก ปรารถนาความหมดจด ดวยศีล สมณพราหมณเหลานัน ยอมเชือ ่ ถือความหมดจด ความหมดจดวิเศษ ความหมดจดรอบ ความพน ความพน วิเศษ ความพนรอบ ดวยเหตุสก ั วาศีล เหตุสักวาความสํารวม เหตุสักวาความระวัง เหตุสักวาความไมละเมิดศีล ปริพาชกผูเปนบุตรนางปริพาชิกา ชื่อสมณมุณฑิกา. กลาวอยางนีว้ า ดูกอนชางไม เรายอมบัญญัติบุรุษบุคคลผูป  ระกอบดวย ธรรม ๔ ประการนี้แล วาเปนผูมีกศ ุ ลถึงพรอมแลว มีกุศลเปนอยางยิ่ง เปนผูถงึ พระอรหัตอันอุดมที่ควรถึง เปนสมณะ เปนผูอ  น ั ใคร ๆ ตอสูไมได ธรรม ๔ ประการเปนไฉน. ดูกอนชางไม บุรุษบุคคลในโลกนี้ ยอมไมทําบาปกรรมดวยกาย ๑ ยอมไมกลาววาจาอันลามก ๑ ยอมไมดาํ ริถึงเหตุที่พึงดําริอันลามก ๑ ยอมไมอาศัยอาชีพอันลามกเปนอยู ๑ ดูกอนชางไม เรายอมบัญญัติบุรุษผูประกอบดวยธรรม ๔ ประการนี้แล วาเปนผูมีกุศลถึงพรอมแลว มีกุศลเปนอยางยิง่ เปนผูถึงพระอรหัตอันอุดมทีค ่ วรถึง เปนสมณะ เปนผูอ  น ั ใครๆ ตอสูไมได สมณพราหมณบางพวก ปรารถนาความหมดจดดวยศีล สมณพราหมณเหลานัน ้ ยอมเชื่อถือความหมดจดความหมดจดวิเศษ ความหมดจดรอบ ความพน ความพนวิเศษ ความพนรอบ ดวยเหตุสก ั วาศีล เหตุสักวาความสํารวม เหตุสักวาความระวัง เหตุสักวาความไมละเมิดศีล อยางนี้แล. ้ มีสมณพราหมณบางพวก ปรารถนาความหมดจด ดวยวัตร สมณพราหมณเหลานัน เปนผูประพฤติหัตถีวต ั รบาง ประพฤติอัสสวัตรบาง ประพฤติโควัตรบาง ประพฤติกก ุ กุรวัตรบาง ประพฤติกากวัตรบาง ประพฤติวาสุเทววัตรบาง ประพฤติพลเทววัตรบาง ประพฤติปณ ุ ณภัตรวัตรบาง ประพฤติมณีภัตรวัตรขาง ประพฤติอัคคิวัตรบาง ประพฤตินาควัตรบาง ประพฤติสุปณ  ณวัตรบาง ประพฤติยก ั ขวัตรบาง ประพฤติอสุรวัตรบาง ประพฤติคันธัพพวัตรบาง


- 17 -

ประพฤติมหาราชวัตรบาง ประพฤติจันทวัตรบาง ประพฤติสุริยวัตรบาง ประพฤติอน ิ ทวัตรบาง ประพฤติพรหมวัตรบาง ประพฤติเทววัตรบาง ประพฤติทิสวัตรบาง สมณพราหมณเหลานัน ้ ปรารถนาความหมดจดดวยวัตร ยอมเชือ ่ ถือความหมดจด ความหมดจดรอบ ความพน ความพนวิเศษ ความพนรอบ ดวยวัตร. มีสมณพราหมณบางพวก ปรารถนาความหมดจด ดวยอารมณที่ทราบ มีพราหมณเหลานัน ้ ลุกขึน ้ แตเชา ยอมจับตองแผนดิน จับตองของสดเขียว จับตองโค มัยจับตองเตา เหยียบขาย จับตองเกวียนบรรทุกงา เคี้ยวกินงาสีขาว ทาน้ํามันงาสีขาว เคี้ยวไมสฟ ี น  ขาว อาบน้ําดวยดินสอพอง นุงขาวโพกผาโพกสีขาว สมณพราหมณเหลานัน ้ ปรารถนาความ หมดจดดวยอารมณที่ทราบ ยอมเชือ ่ ถือ ความหมดจด ความหมดจดวิเศษความหมดจดรอบ ความพน ความพน วิเศษ ความพนรอบ ดวยอารมณที่ทราบ……. พระผูมีพระภาคเจาตรัสวา สมณพราหมณเหลานัน ้ ละตน อาศัยหลัง ไปตามความแสวงหา ยอมไมขามกิเลส เครื่องเกีย ่ วของได สมณพราหมณเหลานัน ้ ยอมจับถือ หนา ฉะนัน ้ ……..

ยอมละ เหมือนลิงจับ และ ละกิ่งไมเบื้อง

คําวา ไปตามความแสวงหา คือ ไปตาม ไปตามแลว ตกไปตามความแสวงหา อันความแสวงหาครอบงําแลว ควบคุมแลว.

แลนไปตาม ถึงแลว มีจิตอันความแสวงหา

คําวา ยอมไมขามกิเลสเครื่องเกี่ยวของได คือ ยอมไมขาม ไมขามขึ้น ไมขา มพน ไมกาวพน ไมกา วลวง ไมลวงเลย ซึ่งกิเลสเครื่องเกีย ่ วของ คือ ราคะ โทสะ โมหะ มานะ ทิฏฐิ กิเลส ทุจริต เพราะฉะนัน ้ จึงชื่อวา สมณพราหมณเหลานั้นไปตาม ความแสวงหา ยอมไมขามกิเลสเครื่องเกีย ่ วของได. คําวา สมณพราหมณเหลานัน ้ ยอมจับถือ ยอมละ มีความวา สมณพราหมณเหลานั้น ยอมถือศาสดา ละศาสดานัน ้ แลวยอมถือศาสดาอืน ่ ยอมถือธรรมที่ศาสดาอื่นบอก ละธรรมที่ศาสดาบอกนัน ้ แลว ยอมถือธรรมที่ศาสดาอื่นบอก ยอมถือหมูค  ณะ ละหมูคณะนัน ้ แลว ยอมถือหมูค  ณะอืน ่ ยอมถือทิฏฐิ ละทิฏฐินั้นแลวถือทิฏฐิอื่น ยอมถือปฏิปทา ละปฏิปทานั้นแลว ถือปฏิปทาอืน ่ ยอมถือมรรค ละมรรคนั้นแลว ถือมรรคอื่น ยอมถือและปลอย คือ ยอมยึดถือและยอมละ. เพราะฉะนั้นจึงชื่อวา สมณพราหมณเหลานั้น ยอมจับถือ ยอมละ.


- 18 -

คําวา เหมือนลิงจับและละกิ่งไมเบือ ้ งหนา ฉะนั้น มีความวา สมณพราหมณเปนอันมาก ยอมจับถือและปลอย คือยอมยึดถือและ สละทิฏฐิเปนอันมาก เหมือนลิงเทีย ่ วไปในปาใหญ ยอมจับกิ่งไม ละกิ่งไมนน ั้ แลว จับกิง่ อืน ่ ละกิ่งอืน ่ นั้นแลวจับกิ่งอื่น ฉะนัน ้ เพราะฉะนัน ้ จึงชื่อวา เหมือนลิงจับและละ กิ่งไมเบือ ้ งหนา ฉะนัน ้ ….. พระผูมีพระภาคเจาตรัสวา ชันตุชนสมาทานวัตรทั้งหลายเอง เปนผูของในสัญญา ยอมดําเนินผิด ๆ ถูก ๆ สวนบุคคลผูม  ีความรู รูธรรมดวยความรูทงั้ หลาย เปนผูมีปญ  ญากวางขวางดุจ แผนดิน ยอมไมดําเนินผิด ๆ ถูก ๆ....... คําวา ชันตุชน ไดแก สัตว นรชน ฯลฯ มนุษย.

ความยอดเยี่ยมที่สุดของศาสนาพุทธ

เลม 36 หนา 609

ก็อนุสตานุตริยะเปนอยางไร ? (การระลึกถึงอยางยอดเยีย ่ ม) ดูกอนภิกษุทั้งหลาย บุคคลบางคนในโลกนี้ ยอมระลึกถึงการไดบุตรบาง ภริยาบาง ทรัพยบาง หรือการไดมาก - นอย หรือระลึกถึงสมณะหรือพราหมณผูเห็นผิด ผูปฏิบัติผด ิ ดูกอนภิกษุทั้งหลาย การระลึกนี้มอ ี ยู เราไมกลาววา ไมมี ก็แตวา การระลึกนีน ้ น ั้ เปนกิจเลว เปนของชาวบาน เปนของปุถช ุ น ไมประเสริฐ ไมประกอบดวย ประโยชน ไมเปนไปเพื่อความเบือ ่ หนาย เพื่อคลายกําหนัด เพื่อความดับ เพื่อสงบระงับ เพื่อรูย  ิ่ง เพื่อตรัสรู เพื่อนิพพาน ดูกอนภิกษุทั้งหลาย สวนผูใ ดมีศรัทธาตัง้ มั่น มีความรักตัง้ มัน ่ มีศรัทธาไม ยอมระลึกถึงพระตถาคตหรือสาวกของพระตถาคต หวั่นไหว มีความเลื่อมใสยิง่ การระลึกถึงนีย ้ อดเยี่ยมกวาการระลึกถึงทัง้ หลาย ยอมเปนไปพรอมเพือ ่ ความบริสุทธิ์ แหงสัตวทั้งหลาย เพื่อกาวลวงความโศกและความร่าํ ไรเพื่อความดับสูญแหงทุกข และโทมนัส เพื่อบรรลุญายธรรม เพือ ่ ทําใหแจงซึ่งนิพพาน ดูกอนภิกษุทั้งหลาย ขอทีบ ่ ุคคลผูมศ ี รัทธาตั้งมัน ่ มีความรักตั้งมัน ่ มีศรัทธาไม หวั่นไหว มีความเลือ ่ มใสยิ่ง ยอมระลึกถึงพระตถาคตหรือสาวก ของพระตถาคต นี้เราเรียกวา อนุสตานุตริยะ (การระลึกถึงอยางยอดเยีย ่ ม) ก็ลาภานุตริยะเปนอยางไร ? (การไดลาภอยางยอดเยีย ่ ม) ดูกอนภิกษุทั้งหลาย บุคคลบางคนในโลกนี้ ยอมไดลาภคือบุตรบาง ภรรยาบาง ทรัพยบาง หรือลาภมากบางนอยบาง หรือไดศรัทธาในสมณะหรือพราหมณผูเห็นผิด ผูปฏิบัติผด ิ ดูกอนภิกษุทั้งหลาย ลาภนี้มีอยู เราไมกลาววา ไมมี ก็แตวา ลาภนี้นน ั้ เปนของเลว เปนของชาวบาน เปนของปุถุชน ไมประเสริฐ ไมประกอบดวยประโยชน ไมเปนไปเพือ ่ ความเบือ ่ หนาย เพื่อคลายกําหนัด เพื่อความดับ เพื่อสงบระงับ เพื่อรูย  ิ่ง เพื่อตรัสรู เพื่อนิพพาน


- 19 -

ดูกอนภิกษุทั้งหลาย สวนผูใ ดมีศรัทธาตัง้ มัน ่ มีความรักตั้งมัน ่ มีศรัทธาไมหวั่นไหว มีความเลื่อมใสยิง่ ยอมไดศรัทธาในพระตถาคตหรือสาวกของพระตถาคต การไดนย ี้ อดเยี่ยมกวาการไดทงั้ หลาย ยอมเปนไปพรอมเพือ ่ ความบริสท ุ ธิ์แหงสัตว ทั้งหลาย เพือ ่ กาวลวงความโศกและความร่ําไร เพือ ่ ความดับสูญแหงทุกขและ โทมนัส เพือ ่ บรรลุญายธรรม เพือ ่ ทําใหแจงซึ่งนิพพาน ดูกอนภิกษุทั้งหลาย ขอทีบ ่ ุคคลผูมศ ี รัทธาตั้งมัน ่ มีความรักตั้งมัน ่ มีศรัทธาไม หวั่นไหวมีความเลือ ่ มใสยิง่ ยอมไดศรัทธาในพระตถาคตหรือสาวกของพระตถาคตนี้ เราเรียกวา ลาภานุตริยะ (การไดลาภอยางยอดเยี่ยม) ก็สิกขานุตริยะเปนอยางไร ? (การศึกษาที่ยอดเยีย ่ ม) ดูกอนภิกษุทั้งหลาย บุคคลบางคนในโลกนี้ ยอมศึกษาศิลปะเกี่ยวกับชางบาง มาบาง รถบาง ธนูบา ง ดาบบาง หรือศึกษาศิลปะชั้นสูงชั้นต่ํา หรือยอมศึกษาตอสมณะ หรือพราหมณผูเห็นผิด ผูปฏิบต ั ิผด ิ ดูกอนภิกษุทั้งหลาย การศึกษานี้มอ ี ยู เราไมกลาววา ไมมี ก็แตวาการศึกษานัน ้ เปนการศึกษาที่เลว เปนของชาวบาน เปนของปุถุชน ไมประเสริฐ ไมประกอบดวยประโยชน ไมเปนไปเพือ ่ ความเบือ ่ หนาย เพือ ่ คลายกําหนัด เพื่อความดับ เพื่อสงบระงับ เพื่อรูย  ิ่ง เพื่อตรัสรู เพือ ่ นิพพาน ดูกอนภิกษุทั้งหลาย สวนผูใดมีศรัทธาตัง้ มั่น มีความรักตัง้ มัน ่ มีศรัทธาไม หวั่นไหว มีความเลือ ่ มใสยิ่ง ยอมศึกษาอธิศีลบาง อธิจิตบาง อธิปญญาบาง ในธรรมวินัยที่พระตถาคตประกาศแลว การศึกษานี้ยอดเยี่ยมกวาการศึกษาทั้งหลาย ยอมเปนไปพรอมเพื่อความบริสุทธิ์แหงสัตวทั้งหลาย เพือ ่ กาวลวงความโศกและความ ร่ําไร เพือ ่ ความดับสูญแหงทุกขและโทมนัส เพือ ่ บรรลุญายธรรม เพื่อทําใหแจงซึ่ง นิพพาน ดูกอนภิกษุทั้งหลาย ขอทีบ ่ ุคคลผูมศ ี รัทธาตั้งมัน ่ มีความรักตั่งมั่น มีศรัทธาไม หวั่นไหวมีความเลือ ่ มใสยิง่ ยอมศึกษาอธิศีลบาง อธิจิตบาง อธิปญญาบาง ในธรรมวินัยที่พระตถาคตประกาศแลวนี้ เราเรียกวา สิกขานุตริยะ. (การศึกษาทีย ่ อดเยี่ยม)

สาวกของพระพุทธเจาตองความคิด - การกระทําเหมือนเจามหานาม ศากยะนี้ เลม 31 หนา 332 ...ขาแตพระองคผูเจริญ ความบังเกิดแหงเหตุเฉพาะบางประการ (ขอที่ถกเถียงกัน)พึง บังเกิดขึ้นไดในธรรมวินัยนี้ คือ ฝายหนึง่ เปนพระผูมีพระภาคเจา (ตรัส) และ ฝายหนึ่งเปนภิกษุสงฆ (กลาว) ฝายใด พระผูมีพระภาคเจาตรัส หมอมฉันพึงเปน ฝายนั้น ขอพระผูมพ ี ระภาคเจาโปรดทรงจําหมอมฉันวาเปนผูเลือ ่ มใสอยางนี้. ...ฝายหนึ่งเปนพระผูมพ ี ระภาคเจา (ตรัส) และ ฝายหนึง่ เปนภิกษุสงฆและภิกษุณีสงฆ (กลาว) ฝายใด พระผูมีพระภาคเจาตรัส หมอมฉันเปนฝายนัน ้ ... ...ฝายหนึ่งเปนพระผูมพ ี ระภาคเจา (ตรัส) และ ฝายหนึง่ เปนภิกษุสงฆ ภิกษุณี สงฆ และอุบาสกทัง้ หลาย (กลาว) ฝายใด พระผูมีพระภาคเจาตรัส หมอมฉันเปน


- 20 -

ฝายนั้น... ...ฝายหนึ่งเปนพระผูมพ ี ระภาคเจา (ตรัส) และ ฝายหนึง่ เปนภิกษุสงฆ ภิกษุณี สงฆ อุบาสกทัง้ หลาย และอุบาสิกาทัง้ หลาย (กลาว) ฝายใด พระผูมีพระภาคเจา ตรัส หมอมฉันเปนฝายนัน ้ ... ...ขาแตพระองคผูเจริญ ความบังเกิดแหงเหตุเฉพาะบางประการ (ขอถกเถียงกัน) พึง บังเกิดขึ้นไดในธรรมวินัยนี้ คือ ฝายหนึ่งเปนพระผูมีพระภาคเจา (ตรัสไว) และฝาย หนึ่งเปนภิกษุสงฆ ภิกษุณีสงฆ อุบาสกทั้งหลายและอุบาสิกาทั้งหลาย โลกพรอม ทั้งเทวโลก มารโลก พรหมโลก หมูสัตวพรอมทั้งสมณพราหมณ เทวดาและมนุษย (กลาวไว) ฝายใดพระผูมีพระภาคเจาตรัส หมอมฉันพึงเปนฝายนัน ้ พระผูมพ ี ระภาค เจาโปรดทรงจําหมอมฉันวาเปนผูเลือ ่ มใสอยางนี… ้ ....บทวา ฝายหนึง่ เปนพระผูมีพระภาคเจา ฝายหนึง่ เปนภิกษุสงฆ ความวา เมื่อเหตุใดเกิดขึน ้ แลว พระผูมีพระภาคเจา ทรงมีลท ั ธิตางจากภิกษุ สงฆ ตรัสวาทะอยางหนึง่ แมอีกฝายหนึง่ ที่เปนภิกษุสงฆ ก็กลาววาทะอีกอยาง หนึ่ง … เพราะพระผูมีพระภาคเจาทรงเปนพระสัพพัญู ก็เจาศากยะนัน ้ ยอมมีความคิดอยางนีว้ า ภิกษุสงฆ แมไมรูกก ็ ลาว เพราะตนมิใช สัพพัญู สวนพระศาสดานั้นขึ้นชือ ่ วาสิ่งทีไ ่ มทรงทราบ ยอมไมมี เพราะเหตุนน ั้ จึงกลาวไวอยางนี้แล...

การทําความดีในศาสนาพุทธ หาไดอยางยากยิ่งนัก ทานทั้งหลายจึง ไมควรประมาทในการศึกษาศาสนา เลม 37 หนา 451 ดูกอนภิกษุทั้งหลาย ปุถุชนผูไมไดสดับ ยอมกลาววา โลกไดขณะจึงทํากิจ ๆ แตเขาไมรูขณะหรือมิใชขณะ ดูกอนภิกษุทั้งหลาย กาลมิใชขณะมิใชสมัยในการอยู ประพฤติพรหมจรรย ๘ ประการนี้ ๘ ประการเปนไฉน ดูกอนภิกษุทั้งหลาย ตถาคตอุบัตข ิ ึ้นแลวในโลกนี้ เปนพระอรหันต ตรัสรูเองโดยชอบ ถึงพรอมดวยวิชชาและจรณะ เสด็จไปดีแลว ทรงรูแจงโลก เปนสารถีฝกบุรุษที่ควรฝก ไมมีผูอน ื่ ยิง่ กวา เปนศาสดาของเทวดาและมนุษยทั้งหลาย เปนผูเบิกบานแลว เปนผูจําแนกธรรม และธรรมอันพระผูมพ ี ระภาคเจายอมทรงแสดง นําความสงบมาให เปนไปเพื่อปรินพ ิ พาน ใหถึงการตรัสรู อันพระสุคตเจาประกาศแลว แตบุคคลผูน  ี้เขาถึง นรกเสีย ดูกอ  นภิกษุทั้งหลาย นี้มิใชขณะ มิใชสมัยในการอยูประพฤติพรหมจรรย ขอที่ ๑. อีกประการหนึ่ง ตถาคตอุบัตข ิ ึ้นในโลก ฯลฯ เปนผูจ  ําแนกธรรม และธรรมอันพระผู มีพระภาคเจายอมทรงแสดง... แตบุคคลผูน  เี้ ขาถึงกําเนิดสัตวดิรัจฉานเสีย ดูกอนภิกษุทั้งหลาย นี้มิใชขณะมิใชสมัยในการอยูประพฤติพรหมจรรยขอ  ที่ ๒. อีกประการหนึ่ง ฯลฯ แตบุคคลนี้เขาถึงปตติวิสัยแลว ดูกอ  นภิกษุทั้งหลาย นี้มิใชขณะ มิใชสมัยในการอยูประพฤติพรหมจรรยขอที่ ๓.


- 21 -

อีกประการหนึ่ง ฯลฯ แตบุคคลนีเ้ ขาถึงเทพนิกายผูม  ีอายุยน ื ชัน ้ ใดชัน ้ หนึง่ เสีย (หมายถึงพวกอสัญญีพรหม) ดูกอนภิกษุทั้งหลาย นี้มิใชขณะ มิใชสมัยในการอยู ประพฤติพรหมจรรยขอ  ที่ ๔. อีกประการหนึ่ง ฯลฯ แตบุคคลนีก ้ ลับมาเกิดในปจจันตชนบทและอยูในพวกมิลก ั ขะ ไมรูดีรูชอบ อันเปนสถานทีไ ่ มมีภก ิ ษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา ไปมา ดูกอนภิกษุทั้งหลาย นี้มิใชขณะ มิใชสมัยในการอยูป  ระพฤติพรหมจรรยขอที่ ๕. อีกประการหนึ่ง ฯลฯ แตบุคคลนีก ้ ลับมาเกิดในมัชฌิมชนบทแตเขาเปนมิจฉาทิฏฐิ มีความเห็นวิปริตวา ทานที่ใหแลวไมมผ ี ล ยัญที่บูชาแลวไมมีผล การบวงสรวงไมมีผล ผลวิบากแหงกรรมดีกรรมชั่วไมมี โลกนีไ ้ มมี โลกหนาไมมี มารดาไมมี บิดาไมมี สัตวทงั้ หลายที่ผด ุ เกิดขึ้นไมมี สมณพราหมณผูปฏิบต ั ิดีปฏิบต ั ิชอบ กระทําใหแจงซึ่ง โลกนี้และโลกหนาดวยปญญาอันยิ่งเอง แลวสั่งสอนประชุมชนใหรูตาม ไมมีในโลก ดูกอนภิกษุทั้งหลาย นี้มิใชขณะมิใชสมัยในการอยูประพฤติพรหมจรรยขอ  ที่ ๖ อีกประการหนึ่ง ฯลฯ แตบุคคลนีก ้ ลับมาเกิดในมัชฌิมชนบทแตเขามีปญญาทราม บาใบ ไมสามารถรูอรรถแหงสุภาษิตและทุพภาษิต (ไมสามารถรูเนื้อความแหงคําดี และคําชั่ว) ดูกอนภิกษุทั้งหลาย นี้มิใชขณะ มิใชสมัยในการอยูประพฤติพรหมจรรย ขอที่ ๗. อีกประการหนึ่ง ตถาคตอุบต ั ิแลวในโลก เปนพระอรหันตตรัสรูเองโดยชอบ ถึงพรอมดวยวิชชาและจรณะ เสด็จไปดีแลวทรงรูแจงโลก เปนสารถีฝกบุรุษที่ควรฝก ไมมีผูอน ื่ ยิง่ กวา เปนศาสดาของเทวดาและมนุษยทั้งหลาย เปนผูเบิกบานแลว เปนผูจําแนกธรรม ธรรมอันนําความสงบมาให เปนไปเพือ ่ ปรินิพพาน ใหถึงการตรัสรู อันพระสุคตเจาทรงประกาศแลว พระตถาคตมิไดแสดง (แกเขา) ถึงบุคคลผูนี้จะเกิดในมัชฌิมชนบทและมีปญ  ญา ไมบาใบ ทั้งสามารถจะรูอรรถแหง สุภาษิตและทุพภาษิต ดูกอนภิกษุทั้งหลายนี้มใิ ชขณะ มิใชสมัยในการอยูป  ระพฤติ พรหมจรรยขอ  ที่ ๘ ดูกอนภิกษุทั้งหลาย กาลอันมิใชขณะ มิใชสมัยในการอยู ประพฤติ พรหมจรรย ๘ ประการนี้แล. ดูกอนภิกษุทั้งหลาย สวนขณะและสมัยในการอยูประพฤติพรหมจรรย มีประการเดียว ประการเดียวเปนไฉน ดูกอนภิกษุทงั้ หลาย ตถาคตอุบต ั ิขน ึ้ แลวในโลกนี้ เปนพระ อรหันต ตรัสรูเองโดยชอบ ถึงพรอมดวยวิชชาและจรณะ เสด็จไปดีแลว ทรงรูแจงโลก เปนสารถีฝกบุรุษทีค ่ วรฝกไมมผ ี ูอน ื่ ยิง่ ไปกวา เปนศาสดาของเทวดาและมนุษย ทั้งหลาย เปนผูเบิกบานแลว เปนผูจําแนกธรรม และธรรมอันตถาคตทรง แสดง เปนธรรมนําความสงบมาให เปนไปเพื่อปรินพ ิ พาน ใหถึงการตรัสรู พระสุคตเจาทรงประกาศแลว และบุคคลนี้เกิดในมัชฌิมชนบท ทั้งมีปญญา ไมบาใบ สามารถเพื่อจะรูอรรถแหงสุภาษิตและทุพภาษิตได ดูกอนภิกษุทั้งหลายนีเ้ ปนขณะและสมัย ในการอยูประพฤติพรหมจรรยประการเดียว. ชนเหลาใด เกิดในมนุษยโลกแลว เมื่อพระตถาคตทรงประกาศสัทธรรม ไมเขาถึงขณะ ชนเหลานั้นเชื่อวาลวงขณะ ชนเปนอันมาก กลาวเวลาที่เสียไปวา กระทําอันตรายแกตน พระตถาคตเจาเสด็จอุบัติขน ึ้ ในโลก ในกาลบางครั้งบางคราว การทีพ ่ ระตถาคตเจา เสด็จอุบัติขน ึ้ ในโลก ๑ การไดกาํ เนิดเปนมนุษย ๑ การแสดงสัทธรรม ๑ ที่จะพรอมกันเขาได หาไดยากในโลก


- 22 -

ชนผูใครประโยชน จึงควรพยายามในกาลดังกลาวมานั้น ที่ตนพอจะรูจะเขาใจสัทธรรมได ขณะอยาลวงเลยทานทั้งหลายไปเสีย เพราะบุคคลทีป ่ ลอยเวลาใหลว งไปพากันยัดเยียดในนรก ก็ยอ  มเศราโศก หากเขาจะไมสาํ เร็จอริยมรรค อันเปนธรรมตรงตอสัทธรรมในโลกนีไ ้ ด เขาผูม  ีประโยชนอันลวงเสียแลว จักเดือดรอนสิน ้ กาลนาน เหมือนพอคาผูป  ลอยให ประโยชนลวงไป เดือดรอนอยู ฉะนัน ้ คนผูถูกอวิชชาหุมหอไว พรากจากสัทธรรม จักเสวยแตสงสาร คือ ชาติและมรณะ สิ้นกาลนาน สวนชนเหลาใดไดอัตภาพเปน มนุษยแลว เมื่อพระตถาคตประกาศสัทธรรม ไดกระทําแลว จักกระทํา หรือ กระทําอยู ตามพระดํารัสของพระศาสดา ชนเหลานัน ้ ชื่อวาไดประสบขณะ คือ การประพฤติพรหมจรรยอันยอดเยีย ่ มในโลก ชนเหลาใดดําเนินไปตามมรรคา ที่พระตถาคตเจาทรงประกาศแลว สํารวมในศีลสังวรที่พระตถาคตเจา ผูมีจักษุเปน เผาพันธุแหงพระอาทิตย ทรงแสดงแลว คุมครองอินทรีย มีสติทุกเมื่อ ไมชุมดวยกิเลส ตัดอนุสย ั ทัง้ ปวงอันแลนไปตามกระแสบวงมาร ชนเหลานั้นแล บรรลุความสิน ้ อาสวะถึงฝง คือ นิพพานในโลกแลว.

เมื่อชาวพุทธเกิดความหวาดหวั่น

เลม 25

หนา 466

ดูกอนภิกษุทั้งหลาย เธอทัง้ หลายอยูใ นปาก็ดี อยูท  ี่โคนไมก็ดี อยูในเรือนวางเปลาก็ดี พึงระลึกถึงพระสัมพุทธเจาเถิด ความกลัวไมพึงมีแกเธอทัง้ หลาย ถาวาเธอทัง้ หลายไมพึงระลึกถึงพระพุทธเจาผูเจริญที่สุดในโลก ผูองอาจกวานรชน ทีนน ั้ เธอทัง้ หลายพึงระลึกถึงพระธรรมอันนําออกจากทุกข อันพระพุทธเจาทรงแสดงดี แลว ถาเธอทั้งหลายไมพึงระลึกถึงพระธรรมอันนําออกจากทุกข อันพระพุทธเจาทรง แสดงดีแลว ทีนน ั้ เธอทัง้ หลายพึงระลึกถึงพระสงฆผูเปนบุญเขต ไมมีบุญเขตอื่นยิ่ง ไปกวา ดูกอนภิกษุทั้งหลาย เมื่อเธอทัง้ หลายระลึกถึงพระพุทธเจา พระธรรม และพระสงฆ อยางนี้ ความกลัวก็ดี ความหวาดสะดุง ก็ดี ความขนพองสยองเกลาก็ดี จักไมมีเลย.

วิธีถึงพุทธ – ธรรม – สงฆ วาเปนที่พึ่ง

เลม 11 หนา 485

โลกิยสรณคมนนี้นน ั้ จําแนกเปน 4 อยาง คือ 1. โดยมอบกายถวายชีวิต 2. โดยมีพระรัตนตรัยนัน ้ เปนเบื้องหนา 3. โดยมอบตัวเปนศิษย 4. โดยความนอบนอม ใน 4 อยางนัน ้ ที่ชอ ื่ วามอบกายถวายชีวต ิ ไดแกการสละตนแกพระพุทธเจาเปนตน อยางนี้วา ตั้งแตวน ั นีเ้ ปนตนไป ขาพเจาขอมอบตนแดพระพุทธเจา แดพระธรรม แดพระสงฆ. ที่ชื่อวามีพระรัตนตรัยนั้นเปนเบือ ้ งหนา ไดแกความเปนผูมพ ี ระรัตนตรัยเปนเบื้องหนา อยางนี้วา ตั้งแตวน ั นีเ้ ปนตนไป ขอทานทัง้ หลายโปรดทรงจําขาพเจาวา ขาพเจาเปนผูมีพระพุทธเจา มีพระธรรม และมีพระสงฆเปนทีไ ่ ปในเบือ ้ งหนา. ที่ชื่อวามอบตัวเปนศิษย ไดแกเขาถึงความเปนศิษยอยางนี้วา ตัง้ แตวันนี้เปนตนไป


- 23 -

ขอทานทัง้ หลายโปรดทรงจําขาพเจาวา ขาพเจาเปนอันเตวาสิก (ศิษย) ของ พระพุทธเจา ของพระธรรม ของพระสงฆ. ที่ชื่อวาความนอบนอม ไดแกการเคารพอยางยิง่ ในพระพุทธเจาเปนตนอยางนี้วา ตั้งแตวน ั นี้เปนตน ไป ขอทานทัง้ หลายโปรดทรงจําขาพเจาวา ขาพเจาจะกระทําการกราบไหว การลุกรับ อัญชลีกรรม (ประนมมือ) สามีจิกรรม (การกระทําที่สมควร) แดวัตถุทงั้ 3 มีพระพุทธเจาเปนตนเทานัน ้ . ก็เมื่อกระทําอาการ 4 อยางนี้แมอยางใดอยางหนึ่ง โดยแท.

ตัวอยางของผูถึงพระรัตนตรัยอยางแทจริง

ยอมเปนอันถือเอาสรณะแลว

เลม 11

หนา 493

พระเจาอชาตศัตรูถงึ สรณะดวยการมอบตนอยางนี้วา ชีวิตของขาพระองคยงั เปนไปอยูตราบใด ขอพระองคโปรดทรงจํา คือทรงทราบขาพระองคไวตราบนั้นเถิดวา เขาถึงแลว ไมมีผูอน ื่ เปนศาสดา ถึงสรณะเปนดวยสรณคมนทงั้ 3 เปนอุบาสก เปนกัปปยการก (ศิษยรับใช) ดวยวาแมหากจะมีใครเอาดาบคมกริบตัดศีรษะของขา พระองค ขาพระองคก็จะไมพงึ กลาวพระพุทธเจาวาไมใชพระพุทธเจา ไมพึงกลาวพระธรรมวา ไมใชพระธรรม ไมพึงกลาวพระสงฆวา ไมใชพระสงฆ ดังนี้

ผูถึงพระรัตนตรัยแบบหลอกๆ ยอมมีโทษแกตน เลม 11 หนา 489 ในสรณคมนทงั้ โลกิยะ (เนื่องในโลก) และโลกุตตระ (เหนือโลก) เหลานัน ้ สรณคมนที่เปนโลกิยะยอมเศราหมองดวยความไมรู ความสงสัยและความเขาใจผิดใน พระรัตนตรัย เปนตน ไมรุงเรืองมากมายไปได ไมแพรหลายใหญโตไปได สรณคมนที่เปนโลกุตตระไมมีความเศราหมอง อนึง่ สรณคมนที่เปนโลกิยะมี 2 ประเภท คือ 1. ที่มีโทษ 2. ทีไ ่ มมีโทษ ใน 2 อยางนัน ้ ที่มีโทษ ยอมมีไดดว ยเหตุเปนตนวา มอบตนในศาสดาอืน ่ เปนตน. (รวมถึงพวกที่มีวต ั ถุมงคลทัง้ หลายเปนที่พงึ่ ดวย และ ฯลฯ แตก็บอกวามีพระ รัตนตรัยเปนทีพ ่ ึ่ง) สรณคมนที่มโี ทษนั้นมีผลไมนาปรารถนา. สรณคมนที่ไมมโี ทษ ยอมมีดว ยกาลกิริยา(ตาย). สรณคมนที่ไมมโี ทษนัน ้ ไมมีผล เพราะไมเปนวิบาก (ผล). สวนสรณคมนที่เปนโลกุตตระไมมก ี ารแตกเลย. เพราะพระอริยสาวกไมอุทศ ิ ศาสดาอื่นแม ในระหวางภพ. พึงทราบความเศราหมอง และการแตกแหงสรณคมน ดวยประการฉะนี้.


- 24 -

ภิกษุปลุกเสกเลขยันต....ผิด

เลม 11 หนา 315

มหาศีล 1. ภิกษุเวนขาดจากการเลี้ยงชีพโดยทางผิดดวยติรัจฉานวิชา (วิชาที่ขัดกับพระนิพพาน) เชนอยางที่สมณพราหมณผูเจริญบางจําพวก ฉันโภชนะ ( อาหาร ) ที่เขาใหดวยศรัทธา แลว ยังเลีย ้ งชีพโดยทางผิดดวยติรัจฉานวิชาเห็นปานนี้ คือ ทายอวัยวะ ทายนิมต ิ ( เครือ ่ งหมาย ) ทายฟาผา เปนตน ทํานายฝน ทํานายลักษณะ ทํานายหนูกด ั ผา ทําพิธบ ี ูชาไฟ ทําพิธเี บิกแวนเวียนเทียน ทําพิธีซัดแกลบบูชาไฟทําพิธีซัดรําบูชาไฟ ทําพิธีซัดขาวสารบูชาไฟ ทําพิธีเติมเนยบูชาไฟ ทําพิธีเติมน้ํามันบูชาไฟ ทําพิธีเสก เปาบูชาไฟ ทําพลีกรรมดวยโลหิต เปนหมอดูอวัยวะ ดูลักษณะที่บาน ดูลักษณะทีน ่ า เปนหมอปลุกเสก เปนหมอผี เปนหมอลงเลขยันตคุมกันบานเรือน เปนหมองู เปนหมอยาพิษ เปนหมอแมลงปอง เปนหมอรักษาแผลหนูกัด เปนหมอทายเสียงนก เปนหมอทายเสียงกา เปนหมอทายอายุ เปนหมอเสกกันลูกศร เปนหมอทายเสียง สัตว แมขอนีก ้ ็เปนศีลของเธอประการหนึง่ ....... ....6. ภิกษุเวนขาดจากการเลีย ้ งชีพโดยทางผิดดวยติรัจฉานวิชา เชนอยางที่สมณ พราหมณผเู จริญบางจําพวก ฉันโภชนะที่เขาใหดวยศรัทธาแลว ยังเลีย ้ งชีพโดยทางผิด ดวยติรัจฉานวิชาเห็นปานนี้ คือ ใหฤกษอาวาหมงคล ใหฤกษวิวาหมงคล ดูฤกษ เรียงหมอน ดูฤกษหยาราง ดูฤกษเก็บทรัพย ดูฤกษจายทรัพย ดูโชคดี ดูเคราะห ใหยาผดุงครรภ รายมนตใหลน ิ้ กระดาง รายมนตใหคางแข็ง รายมนตไหมอ ื สั่น รายมนตใหหูไมไดยน ิ เสียง เปนหมอทรงกระจก เปนหมอทรงหญิงสาว เปนหมอทรงเจา บวงสรวงพระอาทิตย บวงสรวงทาวมหาพรหม รายมนตพน  ไฟ ทําพิธเี ชิญขวัญ แมขอ  นีก ้ ็เปนศีลของเธอประการหนึง่ . 7. ภิกษุเวนขาดจากการเลีย ้ งชีพโดยทางผิดดวยติรัจฉานวิชา เชนอยางที่สมณ พราหมณผเู จริญบางจําพวก ฉันโภชนะที่เขาใหดวยศรัทธาแลว ยังเลีย ้ งชีพโดยทาง ผิดดวยติรัจฉานวิชาเห็นปานนี้คือ ทําพิธบ ี นบาน ทําพิธแ ี กบน รายมนตขับผี สอนมนตปองกันบานเรือน ทํากะเทยใหกลับเปนชาย ทําชายใหกลายเปนกะเทย ทําพิธป ี ลูกเรือน ทําพิธีบวงสรวงพื้นที่ พนน้ํามนต รดน้ํามนต ทําพิธีบูชาไฟ ปรุงยาสํารอก ปรุงยาถาย ปรุงยาถายโทษเบื้องบน ปรุงยาถายโทษเบือ ้ งลาง ปรุงยาแกปวดศีรษะ หุงน้ํามันหยอดหู ปรุงยาตา ปรุงยานัตถุ ปรุงยาทากัด ปรุงยาทาสมาน ปายยาตา ทําการผาตัด รักษาเด็ก ชะแผล แมขอนี้กเ็ ปนศีลของเธอ ประการหนึง่ ....

ผูที่ยินดีในความผิดผูอื่น...บาปมาก

เลม 70 หนา231 บรรทัด10

...ไดยน ิ วา ในอดีตกาล พระโพธิสัตวบงั เกิดเปนชาวประมง ในหมูบานชาวประมง วันหนึง่ พระโพธิสัตวนั้นกับพวกบุรุษชาวประมง ไปยังทีท ่ ี่ฆา ปลา เห็นปลาทัง้ หลายตาย ไดทําโสมนัส (ความดีใจ) ใหเกิดขึน ้ ในขอทีป ่ ลาตายนั้น แมบุรุษชาวประมงที่ไปดวยกัน ก็ทําความโสมนัสใหเกิดขึน ้ อยางนัน ้ เหมือนกัน ดวยอกุศลกรรม (บาปกรรม) นั้น พระโพธิสัตวไดเสวยทุกขในอบายทัง้ 4 (นรก – เปรต – อสุรกาย – สัตวเดรัจฉาน) ในอัตภาพ ( ความเปนตัวตน ) หลังสุดนี้ ไดบังเกิดขึ้นตระกูลศากยราช พรอมกับบุรุษ เหลานัน ้ แมจะไดบรรลุความเปนพระพุทธเจาโดยลําดับแลว ก็ยงั ไดเสวยความ เจ็บปวยที่ศีรษะดวยตนเอง และเจาศากยะเหลานัน ้ ถึงความพินาศกันหมดในสงคราม ของเจาวิฑฑ ู ภะ...


- 25 -

ประเพณีการเก็บกระดูกของบรรพบุรุษเชนพอ – แม ไว ไมมีประโยชน เลย เลม 38 หนา 347 ดูกอนภิกษุทั้งหลาย ในทักษิณาชนบท มีธรรมเนียมการลางกระดูกแหงญาติผูตาย ในธรรมเนียมการลางกระดูกนั้น มีขาวบาง น้ําบาง ของขบเคีย ้ วบาง ของบริโภคบาง เครื่องลิ้มบาง เครื่องดื่มบาง การฟอนบาง เพลงขับบาง การประโคมบาง ดูกอนภิกษุทั้งหลาย ธรรมเนียมการลางนั้นมีอยู เรามิไดกลาววา ไมมี แตวาการลางนั้นแลเปนของเลว เปนของชาวบาน เปนของปุถุชน ไมเปนของพระอริยะ ไมประกอบดวยประโยชน...

บทวา โธวนํ ไดแก

ลางกระดูก.

จริงอยู ในชนบทนั้น ผูคนทัง้ หลาย เมื่อญาติตายก็ไมเผา แตขุดหลุมฝงดิน. ครั้นแลวจึงนํากระดูกที่ผุแลวของญาติเหลานัน ้ มาลาง แลวยกขึ้นวางเรียงกัน ตั้งบูชาดวยของหอม และดอกไมเปนตน เมื่อคราวนักขัตฤกษ (งานประเพณี) ก็นาํ กระดูกเหลานั้นมา แลวก็รองไหคร่ําครวญ ตอนัน ้ ก็เลนนักขัตฤกษกน ั .

เมื่อบรรพบุรุษเชนพอ – แม ตายไปแลว ทําอยางไรถึงจะมีประโยชน

เลม 39

หนา 277

...หวงน้าํ เต็มแลว ยอมยังสาครใหเต็ม ฉันใด ทานทีท ่ ายกใหไปจากมนุษยโลกนี้ ยอมสําเร็จผลแกฝงู เปรต (ผูที่ตายจากโลกนีไ ้ ปแลว) ฉันนั้นเหมือนกัน. บุคคลเมือ ่ ระลึกถึงกิจที่ทานทํามาแตกอ  นวา ทานไดทาํ กิจแกเรา ไดใหแกเรา ไดเปน ญาติมิตรเปนเพื่อนของเราดังนี้ จึงควรใหทก ั ษิณา (นําสิ่งของทําบุญแลวอุทิศบุญอยาง ถูกตอง) แกฝูงเปรต (แกคนคุน  เคยกันที่ตายไปแลว) การรองไห การเศราโศก หรือการพิไรรําพันอยางอืน ่ ๆ ก็ไมควรทํา เพราะการรองไห เปนตนนั้น ไมเปนประโยชนแกผูลวงลับไปแลว ญาติทั้งหลาย (ที่ตายไปแลว) ก็คงอยูอ  ยางนัน ้ .

พระอรรถกถาจารยอธิบายเพิ่มเติมความวา พระผูมีพระภาคเจา ครั้นทรงประกาศความนี้วา ผูทํากาลกิริยาละ (ผูตาย)ไปแลว ยอมยังอัตภาพใหเปนไปในเปรตวิสย ั นัน ้ ดวยทานที่ญาติมิตรสหาย ใหไปจาก มนุษยโลกนี้ ดังนี้แลว เมื่อทรงแสดงอีกวา เพราะเหตุที่หมูเ ปรตเหลานัน ้ หวังเต็มทีว่ า พวกเราจักไดอะไร ๆ จากมนุษยโลกนี้ แมพากันมาถึงเรือนญาติแลวก็ไมสามารถจะรองขอวา "ขอทานทัง้ หลาย โปรดใหของชื่อนี้แกพวกเราเถิด" ฉะนั้น กุลบุตรเมือ ่ ระลึกถึงสิง่ ที่ ควรระลึกเหลานัน ้ พึงใหทก ั ษิณา เพื่อหมูเปรตเหลานัน ้ จึงตรัสคาถา (คําพูด) นี้วา อทาสิ เม เปนตน. คาถา (คําพูด) นัน ้ มีความวา กุลบุตรเมื่อระลึกทุกอยางอยางนี้วา ทาน (ผูน)ี้ ไดให ทรัพยหรือธัญญาหารชื่อนี้แกเรา ทานไดพากเพียรดวยตนเอง ไดกระทํากิจชือ ่ นี้แกเรา คนโนนเปนญาติ เพราะเกีย ่ วเนือ ่ งขางมารดาหรือขางบิดาของเรา คนโนนเปนมิตร เพราะสามารถชวยเหลือโดยสิเนหา และคนโนนเปนเพื่อนเลนฝุนดวยกันของเรา ดังนี้ พึงใหทก ั ษิณา (...อุทิศบุญ) พึงมอบทานใหแกเขาผูลวงลับไปแลว.


- 26 -

เมื่อทรงแสดงอีกวา... การรองไหและการเศราโศก เปนตนนัน ้ ของชนเหลานัน ้ มีแตทําตัวใหเดือดรอนอยางเดียวเทานั้น ยอมไมยงั ประโยชนอะไรๆ ใหสําเร็จแกผู ลวงลับไปแลวเลย จึงตรัสคาถานีว้ า น หิ รุณฺณํ วา เปนตน. พระผูมีพระภาคเจา ครั้นทรงแสดงการรองไหเปนตนวา ไมเปนประโยชน การรําพัน อยางอื่นแมทั้งหมด ก็ไมมป ี ระโยชนแกผล ู ว งลับไปแลว ที่แทมีแตทําตัวใหเดือดรอน อยางเดียวเทานัน ้ ญาติทงั้ หลาย (ที่ตายไป) ก็ตงั้ อยูอยางนัน ้ ดังนี้แลว เมื่อทรงแสดงความทีท ่ ักษิณา (นําสิง่ ของทําบุญแลวอุทศ ิ บุญอยางถูกตองเพื่อญาติ) ซึ่งพระเจามคธรัฐ ทรงถวายแลวมีประโยชน จึงตรัสคาถานี้ วา อยฺจ โข ทกฺขิณา ดังนี้เปนตน. คาถานัน ้ มีความวา ขอถวายพระพร ทักษิณา (ของทําบุญ) นีแ ้ ล มหาบพิตรถวาย แลวอุทศ ิ บุญเพื่อหมูพ  ระประยูรญาติของมหาบพิตรในวันนี้ เพราะเหตุทพ ี่ ระสงฆเปนเนือ ้ นาบุญอันยอดเยี่ยมของโลกฉะนั้น ทักษิณานั้น พึงเปนทักษิณาที่ทรงตั้งไวดีแลวในพระสงฆ จึงสําเร็จผล ทานอธิบายวา สัมฤทธิ์ผลิตผล เพื่อประโยชนเกื้อกูล เพื่อสุขแกเปตชน (คนผูต  ายไป) สิน ้ กาลนาน.

เปลี่ยนชื่อแลวมันจะเปลี่ยนชีวิตใหดีขึ้นจริงๆ เรอ

เลม56 หนา 371

ในอดีตกาล พระโพธิสัตวเสวยพระชาติเปนอาจารยทิศาปาโมกข บอกมนตกะมาณพ ๕๐๐ คน พระนครตักกสิลา มาณพผูหนึง่ ของทาน ชื่อ ปาปกะ (นายบาปผูลามก) โดยนาม ถูกเขาเรียกอยูวา มาเถิด ปาปกะ ไปเถิด ปาปกะ คิดวา ชื่อของเราเปนอัปมงคล ตองขอใหอาจารยตงั้ ชื่ออืน ่ ใหใหม เขาไปหาอาจารยเรียนวา ทานอาจารยขอรับ ชื่อของกระผมเปนอัปมงคล โปรดตัง้ ชื่ออยางอืน ่ ใหเถิดขอรับ ครั้งนัน ้ อาจารยไดกลาวกะเขาวา ไปเถิดพอ เจาจงเที่ยวไปตามชนบทแลว กําหนด เอาชือ ่ ที่เปนมงคลชือ ่ หนึ่ง ที่ตนชอบใจอยางยิง่ แลวมา เราจักเปลี่ยนชื่อของเจาเปน ชื่ออยางอืน ่ เขารับคําวา ดีแลว ขอรับ ถือเอาเสบียงออกเดินทางไป ทองเที่ยวไปตามคามนิคมชนบท ลุถึงนครแหงหนึง่ ในพระนครนัน ้ แหละ มีบุรุษผูหนึง่ ชื่อวา ชีวกะ (บุญรอด ) โดยนาม ตายลง เห็นหมูญาติกําลังหามเขาไปสูป  าชา จึงถามวา ชายผูน  ี้ชื่ออะไร ? หมูญาติตอบวา จะชื่อวา ชีวกะ(บุญรอด) ก็ดี อชีวก(ไมรอด) ก็ดี ก็ตายทั้งนัน ้ ชื่อเปนเพียงบัญญัติสาํ หรับเรียกกัน เจานี่ เห็นจะโงกระมัง. เขาฟงคํานั้นแลว มีความรูสก ึ เฉย ๆ ในเรือ ่ งชือ ่ เดินทางกลับเขาเมืองของตน ครั้งนัน ้ พวกนายทุน กําลังจับนางทาสีผห ู นึ่งซึ่งไมใหดอกเบีย ้ ใหนั่งที่ประตู เฆี่ยนดวยเชือก และนางทาสีผูนน ั้ ก็มีชื่อวา ธนปาลี(คนมีทรัพย) เขาเดินเรือ ่ ยไปตาม ทองถนนเห็นนางถูกเฆี่ยน ก็ถามวา มันไมยอมใหดอกเบีย ้ เขาถามวา ก็นางมีชอ ื่ อยางไรเลา ?


- 27 -

พวกนายทุนตอบวา นางชื่อ ธนปาลี (คนมีทรัพย) เขาถามวา แมจะมีชื่อ ธนปาลี โดยนาม ก็ยงั ไมอาจใหเงินแคดอกเบี้ยหรือ ? พวกนายทุนตอบวา จะชื่อ ธนปาลี คนรวยก็ดี จะชื่อ อธนปาลี คนจนก็ดี ก็เปนคนเข็ญใจไดทงั้ นั้น ชื่อเปนเพียงบัญญัติสาํ หรับเรียกกัน เจานี่เห็นจะโงแน เขายิ่งรูสก ึ เฉย ๆ ในเรื่องชื่อยิ่งขึน ้ เดินออกจากเมืองไปตามทางในระหวางทางพบคน หลงทาง ถามวา ผูเปนเจาเที่ยวทําอะไรอยูเลา ? เขาตอบวา ขาพเจาหลงทางเสียแลว เขายอนถามวา ก็คุณชื่อไรเลา ? เขาตอบวา ขาพเจาชื่อ ปนถก (ผูชํานาญทาง) เขาถามวา ขนาดชื่อ ปนถกะ ยังหลงทางอีกหรือ ? คนหลงทางกลาววา จะชื่อ ปนถกะ (ชํานาญทาง) หรือชื่อ อปนถกะ (ไมชํานาญ ทาง) ก็มีโอกาสหลงทางไดเทากัน ชื่อเปนบัญญัติสําหรับเรียกกัน ก็ทานเอง เห็นจะโงแน. เขาเลยวางเฉยในเรือ ่ งชื่อ

ไปสูสํานักของพระโพธิสัตว

ครั้นพระโพธิสัตวถามวา อยางไรเลา พอคุณ เจาไดชื่อที่ถูกใจมาแลวหรือ ? ก็เรียนทานวา ทานอาจารยขอรับ ธรรมดาคนเราถึงจะชื่อวาชีวก แมจะชื่ออชีวก คงตายเทากัน ถึงจะชื่อธนปาลี แมจะชื่อ อธนปาลี ก็เปนทุคคตะ (คนยากจน) ไดทงั้ นัน ้ ถึงจะชื่อ ปนถกะ แมจะชื่อ อปนถกะ ก็หลงทางไดเหมือนกัน ชื่อเปนเพียง บัญญัติสําหรับเรียกกัน ความสําเร็จเพราะชื่อมิไดมีเลย ความสําเร็จมีไดเพราะการกระทําเทานั้น พอกันทีเรื่องชื่อสําหรับกระผม กระผมขอใชชื่อเดิม นั่นแหละตอไป…

มัวแตรอฤกษงามยาม (ไม) ดี ไรสาระเปลาๆ

เลม 56

หนา 51

ในอดีตกาล ครั้งพระเจาพรหมทัตเสวยราชสมบัติในกรุงพาราณสี ชาวพระนครพากัน ไปสูขอธิดาของชาวชนบท กําหนดวันแลว ถามอาชีวก (นักบวชนอกศาสนาประเภท หนึ่ง) ผูคุนเคยกันวา พระคุณเจาผูเ จริญ วันนี้ผมจะกระทํางานมงคลสักอยางหนึง่ ฤกษดีไหมขอรับ. อาชีวกนัน ้ โกรธอยูแลววา คนพวกนี้กาํ หนดวันเอาตามพอใจตน บัดนี้ กลับถามเรา คิดตอไปวา ในวันนีเ้ ราจักทําการขัดขวางงานของคนเหลานั้นเสีย แลวกลาววา วันนี้ฤกษไมดี ถากระทําการมงคลจักพากันถึงความพินาศใหญ. คนเหลานั้นพากันเชื่อ อาชีวกจึงไมไปรับเจาสาว. ชาวชนบททราบวา พวกนั้นไมมา ก็พูดกันวา พวกนัน ้ กําหนดวันไววันนี้ แลวก็ไมมา ธุระอะไรจักตองคอยคนเหลานั้น แลวก็ยกธิดาใหแกคนอื่น. รุงขึน ้ ชาวเมืองพากันมาขอรับเจาสาว ชาวชนบทก็พากันกลาววา พวกทานขึ้นชือ ่ วา เปนชาวเมือง แตขาดความเปนผูดี กําหนดวันไวแลว แตไมมารับเจาสาว เพราะพวก ทานไมมาเราจึงยกใหคนอืน ่ ไป.


- 28 -

ชาวเมืองกลาววา พวกเราถามอาชีวกดู ไดความวา ฤกษไมดี จึงไมมา จงใหเจาสาว แกพวกเราเถิด. ชาวชนบทแยงวา เพราะพวกทานไมมากัน พวกเราจึงยกเจาสาวใหคนอื่นไป แลว คราวนี้จก ั นําตัวเจาสาวที่ใหเขาไปแลวมาอีกไดอยางไรเลา ? เมื่อคนเหลานัน ้ โตเถียงกันไป โตเถียงกันมา อยูอ  ยางนี้ ก็พอดีมีบุรุษผูเปนบัณฑิต ชาวเมืองคนหนึง่ ไปชนบทดวยกิจการบางอยาง ไดยินชาวเมืองเหลานั้นกลาววา พวกเราถามอาชีวกแลว จึงไมมาเพราะฤกษไมดี ก็พด ู วา ฤกษจะมีประโยชน อะไร เพราะการไดเจาสาวก็เปนฤกษอยูแลว มิใชหรือ ? ดังนี้แลว กลาวคาถานี้ความวา "ประโยชนผานพนคนโง ผูมัวคอยฤกษยามอยู ประโยชนเปนฤกษของ ประโยชน ดวงดาวทัง้ หลาย จักทําอะไรได"

เลื่อมใสในพระรัตนตรัยอันเลิศ ที่ไมใชพระพุทธรูป และวัตถุที่เลวทรามทั้งหลาย (อีกที) เลม 45

หนา 556

ดูกอนภิกษุทั้งหลาย ความเลือ ่ มใสอันเลิศ ๓ ประการนี้ ๓ ประการเปนไฉน ? ดูกอนภิกษุทั้งหลาย สัตวไมมีเทาก็ดี มี ๒ เทาก็ดี มี ๔ เทาก็ดี มีเทามากก็ดี มีรูปก็ดี ไมมีรูปก็ดี มีสัญญา (ความจํา) ก็ดี ไมมีสัญญาก็ดี มีสัญญาก็มิใชไมมี สัญญาก็มิใชก็ดี มีอยูประมาณเทาใด พระตถาคตอรหันตสัมมาสัมพุทธเจา บัณฑิตกลาววา เลิศกวาสัตวประมาณเทานัน ้ ดูกอนภิกษุทั้งหลาย ชนเหลาใดเลื่อมใสในพระพุทธเจา ชนเหลานัน ้ ชื่อวาเลือ ่ มใสใน บุคคลผูเ ลิศ ก็และผลอันเลิศ ยอมมีแกบุคคลผูเลือ ่ มใสในพระพุทธเจาผูเลิศ. ดูกอนภิกษุทั้งหลาย สังขตธรรม (ธรรมที่ปจ  จัยปรุงแตง) ก็ดี อสังขตธรรม (ธรรมที่ ปจจัยปรุงแตงไมได) ก็ดี มีประมาณเทาใด วิราคะ (หมายถึง พระนิพพาน) คือ ธรรมเปนทีบ ่ รรเทาความเมา นําออกเสียซึ่งความกระหาย ถอนขึน ้ ดวยดีซึ่งอาลัย ตัดซึ่งวัฏฏะ สิ้นไปแหงตัณหา สิ้นกําหนัด ดับ นิพพานบัณฑิตกลาววาเลิศกวา สังขตธรรม และอสังขตธรรมเหลานัน ้ ดูกอนภิกษุทงั้ หลาย ชนเหลาใดเลือ ่ มใสใน วิราคธรรม ชนเหลานั้นชือ ่ วาเลื่อมใสในธรรมอันเลิศ ก็ผลอันเลิศ ยอมมีแกบุคคลผู เลื่อมใสในธรรมอันเลิศ. ดูกอนภิกษุทั้งหลาย สังขตธรรมมีประมาณเทาใด อริยมรรคมีองค ๘ คือ ความ เห็นชอบ ความคิดชอบ คําพูดชอบ ประกอบการงานชอบ ประกอบอาชีพชอบ ประกอบความเพียรชอบ ตั้งสติไวชอบ มีจิตตั้งมัน ่ โดยชอบ บัณฑิตกลาววาเลิศกวา สังขตธรรมเหลานั้น ดูกอนภิกษุทงั้ หลาย ชนเหลาใดเลื่อมใสในธรรมคืออริยมรรคมี องค ๘ (ทางดําเนินอันประเสริฐ) ชนเหลานัน ้ ชื่อวาเลือ ่ มใสในธรรมอันเลิศก็ผลอันเลิศ ยอมมีแกบุคคลผูเลือ ่ มใสในธรรมอันเลิศ. ดูกอนภิกษุทั้งหลาย หมูก็ดี คณะก็ดี มีประมาณเทาใด หมูสาวกของพระ


- 29 -

ตถาคต คือ คูแหงบุรษ ุ ๔ (พระอริยะทัง้ หมด) บุรุษบุคคล ๘ บัณฑิตกลาววาเลิศกวา หมูและคณะเหลานัน ้ ดูกอนภิกษุทงั้ หลาย ชนเหลาใดเลือ ่ มใสในพระสงฆ ชนเหลานั้นชือ ่ วา เลือ ่ มใสในหมูผเู ลิศ ก็ผลอันเลิศ ยอมมีแกบุคคลผูเ ลื่อมใสใน พระสงฆผเู ลิศ ดูกอนภิกษุทงั้ หลาย ความเลื่อมใสอันเลิศ ๓ ประการนี้แล. พระผูมีพระภาคเจา ไดตรัสเนือ ้ ความนี้แลวในพระสูตรนัน ้ พระผูมพ ี ระภาคเจา ตรัสคาถา ประพันธ ดังนี้วา เมื่อชนทั้งหลายเลื่อมใสแลวในพระรัตนตรัยที่เลิศ โดยความเปนของเลิศ รูแจงธรรม อันเลิศ เลื่อมใสแลวในพระพุทธเจาผูเลิศ ซึ่งเปนทักขิไณยบุคคล (ผูควรรับของ ทําบุญ) ผูย  อดเยีย ่ ม เลื่อมใสแลวในธรรมอันเลิศ ซึ่งเปนที่สิ้นกําหนัด และเปนที่ สงบ เปนสุข เลื่อมใสแลวในพระสงฆผูเลิศ ซึ่งเปนบุญเขตอยางยอดเยีย ่ ม ถวาย ทานในพระรัตนตรัย ที่เลิศ บุญที่เลิศยอมเจริญ อายุ วรรณะ ยศ เกียรติคณ ุ สุขะ และพละอันเลิศ ยอมเจริญ นักปราชญถวาย ไทยธรรม (ของทําบุญ) แกพระ รัตนตรัยที่เลิศตั้งมัน ่ อยูในธรรมอันเลิศแลว เปนเทวดาหรือเปนมนุษยก็ตาม เปนผูถึง ความเปนผูเลิศ ยอมบันเทิงอยู. พระอรรถกถาจารยอธิบายเพิ่มเติมความวา ...ในสัตวโลกเหลานัน ้ พระผูมีพระภาคเจา ชื่อวาเปนผูประเสริฐกอนโดยความหมายวา ไมมีผูเปรียบโดยความหมายวา เปนผูวเิ ศษ ดวยคุณความดี และโดยความหมายวา ไมมีผูเสมอเหมือน. จริงอยูพ  ระองคชื่อวาเปนผูล้ําเลิศโดยความหมายวา ไมมีผเู ปรียบ เพราะทรงทําอภินิหารมามาก และการสั่งสมบารมี ๑๐ ประการมาเปนเบื้องตน จึงไม เปนเชนกับคนทัง้ หลายที่เหลือ เพราะพระคุณคือพระโพธิสมภารเหลานัน ้ และเพราะ พระพุทธคุณทัง้ หลาย. ชื่อวาเปนผูล้ําเลิศ เพราะเปนผูสงู สุดกวาสรรพสัตว แมโดยความหมายวา เปน ผูวิเศษดวยคุณความดี เพราะพระองคมพ ี ระคุณมีพระมหากรุณาคุณ เปนตน ที่วิเศษ กวาคุณทั้งหลายของสรรพสัตวที่เหลือ. ชื่อวาเปนผูล้ําเลิศ แมโดยความหมายวา ไมมีผูเสมอเหมือน เพราะพระสัมมาสัม พุทธเจาพระองคนี้เอง เปนผูเ สมอโดยพระคุณทางรูปกาย และพระคุณทางธรรมกาย กับพระสัมมาสัมพุทธเจาทัง้ หลายในปางกอน ผูไมเสมอเหมือนกับสรรพสัตวอื่น. อนึ่ง พระผูมีพระภาคเจาทานเรียกวาเปนผูเลิศในโลก เพราะมีปรากฏการณที่หาได ยาก เพราะความเปนอัจฉริยะ. เพราะนํามาซึ่งหิตสุข (ประโยชนสุข) แกคนหมูมาก และเพราะความเปนผูไ  มเปนที่สอง (ของใคร) และไมมีใครเปนสหาย (รวมคิด) เปนตน เชน ที่ตรัสไวในปาฐะ (พระบาลี) วา ดูกอนภิกษุทงั้ หลาย ความปรากฏขึ้นแหงบุคคล ผูเปนเอก หาไดยากในโลก. บุคคลผูเ ปนเอกคือใคร ? คือ พระตถาคตอรหันต สัมมาสัมพุทธเจา ภิกษุทงั้ หลาย บุคคลผูเปนเอก เมื่ออุบัตข ิ น ึ้ ในโลกจะอุบัติขน ึ้ เปน อัจฉริยะมนุษย ภิกษุทั้งหลายบุคคลผูเ ปนเอก เมื่ออุบัติขน ึ้ ในโลก จะอุบัติขน ึ้ เพื่อประโยชนเกื้อกูลแกชนหมูมาก ฯลฯ บุคคลผูเ ปนเอกนั้นคือ พระอรหันตสัมมาสัม พุทธเจา ภิกษุทงั้ หลาย บุคคลผูเ ปนเอก เมื่อเกิดขึน ้ ในโลก จะเกิดขึ้นไมเปนที่ ๒ (ของใคร) ไมมีใครเปนสหาย (รวมคิด) ไมมีผูเทียบ ไมมีผูเทียม ไมมีบุคคลผูเทียม ทัน ไมมีผูเสมอ ไมมผ ี ูเสมอเหมือน เปนผูล้ําเลิศกวาสัตว ๒ เทาทั้งหลายบุคคลผู เปนเอก (นั้น) คือใคร คือพระตถาคตอรหันตสัมมาสัมพุทธเจา. แมพระธรรมและพระสงฆก็ชื่อวาล้ําเลิศกวาพระธรรมและพระสงฆเหลาอืน ่ (ของลัทธิ ศาสนาอืน ่ ) โดยความหมายวา ไมมีสิ่งเหมือนและไมมผ ี ูละมายคลาย และโดยเปน ของมีปรากฏการณทห ี่ าไดยาก เพราะเปนผูมีคุณความดีพิเศษ เปนตน...


- 30 -

...ก็แหละ พระธรรมและพระสงฆ (ในพระศาสนานี)้ ชื่อวา ประเสริฐที่สุดกวาพระธรรม และพระสงฆอน ื่ เหลานั้น เพราะเปนธรรมและเปนหมูท  ี่มีคุณวิเศษในตัวเองนั่น แหละ. อนึง่ พระธรรมและพระสงฆเหลานัน ้ เปนเหตุนําประโยชนเกือ ้ กูลและ ความสุขมาใหชนหมูมาก เพราะเปนความเกิดขึน ้ ที่หาไดยากและเปนสิง่ ที่นา อัศจรรย และมีสภาพไมเปนที่ ๒ ของใคร และไมมีใครเปนสหาย (รวมคิด) เปนตน. แทจริง พระผูมีพระภาคเจาเปนผูมีความปรากฏที่หาไดยาก เพราะธรรมที่ล้ําเลิศอัน ใด แมพระธรรมและพระสงฆ ก็เปนผูมีความปรากฏที่หาไดยาก ก็เพราะธรรมที่ลา้ํ เลิศ อันนั้น. แมในความเปนอัจฉริยะเปนตน ก็มน ี ัยนี้เหมือนกัน. ความเลื่อมใสในสิ่งทีล ่ ้ําเลิศ คือ สิ่งที่ประเสริฐ สิ่งสูงสุด สิ่งที่บวร ไดแก สิ่งที่ วิเศษดวยคุณอยางนีเ้ พราะฉะนัน ้ จึงชื่อวา อัคคัปปสาทา (ความเลื่อมใสในสิ่งที่ล้ํา เลิศ)... ...ดังทีต ่ รัสไววา ดูกอ  นภิกษุทั้งหลาย อริยสาวกในพระศาสนานี้เปนผูป  ระกอบแลว ดวยความเลื่อมใสที่หยั่งลงแลว ในพระพุทธเจาดังนี้เปนตน อนึ่ง ความเลือ ่ มใส เหลานี้ ชื่อวาเปนความเลือ ่ มใสล้ําเลิศเพราะมีผลล้ําเลิศบาง. สมจริงดังที่พระองคได ตรัสไววา ก็เมือ ่ บุคคลเลื่อมใสในสิ่งที่เลิศแลว ผลเลิศก็จะมี. ...บทวา วิราโค เตสํ อคฺคมกฺขายติ ความวา บรรดาสังขตธรรมและอสังขตธรรม ทั้งหลายเหลานัน ้ อสังขตธรรม กลาวคือ วิราคะ บัณฑิตเรียกวา เลิศ คือ ประเสริฐ ไดแกสูงสุด หมายความวาล้าํ เลิศเพราะเปนสิง่ ละเอียด และสุขุมตาม สภาพนัน ่ เอง เพราะเปนสิง่ สงบและประณีตกวา และเพราะเปนสิง่ ที่ลก ึ ซึ้ง เปนตน และเพราะเปนความสรางเมาเปนตน. จริงอยางนัน ้ ความเมาทุกอยางมีเมาเพราะมานะ (ถือตัว)เมาในความเปนบุรุษ เปนตน จะสรางไป คือ ถูกทําลายไปเพราะมาถึง นิพพานนัน ้ ความกระหายทัง้ หมดมีกระหายในกาม เปนตน ก็จะถูกนําออกไป ถึงความอาลัยทัง้ มวล มีอาลัยในกามเปนตน ก็จะถูกถอนขึ้น กรรมวัฏ กิเลสวัฏ และวิปากวัฏทัง้ ผองก็จะถูกตัดขาด ตัณหาทั้งปวงที่แยกประเภทออกเปน ๑๐๘ อยาง ก็จะสิ้นไป กิเลสก็จะสํารอกออกหมด ทุกขยอ  มจะดับไปสิ้นเพราะมาถึง นิพพานนัน ้ .... ... บทวา ตถาคตสาวกสงฺโฆ ไดแก สงฆสาวกของพระตถาคตเจา ผูรวมกันดวยความเสมอกันแหงทิฏฐิ และศีล กลาวคือ ชุมนุมพระ อริยบุคคล ๘ จําพวก. บทวา เตสํ อคฺคมกฺขายติ ความวา สงฆสาวกของพระตถาคตเจา บัณฑิตกลาววา เลิศ คือประเสริฐสุด ไดแกสูงสุด หมายความวา ล้ําเลิศ ดวยคุณวิเศษ มีศีล สมาธิ ปญญาและวิมุตติเปนตน ของตน. *** เมื่อเลื่อมใสในสิ่งที่เลิศ ก็ยอ  มจะไดในสิ่งที่เลิศ แตเมื่อเลือ ่ มใสในสิ่งที่เลวทราม ก็ยอมจะไดในสิ่งที่เลวทรามเหมือนกัน -----------------------------------------------------------------------------------------------


- 31 -

เรื่องพระรัตนไตรในภาพรวม

โดยหลวงพอเกษม

พระรัตนตรัย หรือ พุทธ - ธรรม - สงฆ ที่พระพุทธเจาสอนไวใหชาวโลก ทั้งหลายไดศึกษากันนี้ เปนเพียงวิธก ี ารและทางดําเนินไป คือ อันนี้เปนวิธีคิดและวิธี พิจารณาเพือ ่ ใหเกิดความรู รูจนไมยึดในรูปใน - รูปนอก - รูปในใน - รูปในนอก – และไมยึดในเวทนา - สัญญา - สังขาร - วิญญาณ และ จิต ก็ปลอยวางกันหมด เมื่อปลอยวางกันหมดก็ดับสนิท พระรัตนตรัย (แกววิเศษสุด 3 อยาง) หรือ เรียกอีกอยางหนึ่งวา พุทธ - ธรรม - สงฆ เมื่อเกิดความรูรอบและรอบรูแลวก็ดับสนิท อาการทีด ่ ับสนิทนั่นแหละ คือ พุทธ - ธรรม – สงฆ ไมใชอาการกอนดับ และไมใชอาการหลังดับ แมแตเพียงเศษเสี้ยวหนึ่งในลานของวินาทีกอนจะดับสนิทก็ไมใชนะ ทีนี้เมื่อทุกอยางดับสนิทแลว เราทั้งหลายอธิษฐานใชพลังของอะไรกัน ? ที่เราอธิษฐานก็ใชพลังของความดับนี่แหละ คือ นอมเอาพลังของความเสียสละ - ความปลอยคืน - ความปลอยวางทัง้ หมด – ความไมยึด อะไรไว ปลอย - วาง - สละไปหมด ไมยด ึ ไวแมแตจต ิ พลังอันที่วา นี้จะใชไดก็ตอเมื่อมีการสัง่ สอนสืบเนือ ่ งปฏิบัตต ิ อกันมาอยู (คือ อยูในยุคที่ ยังมีคาํ สอนของพระพุทธเจา) บางยุค - บางกาล เมื่อหมดผูสอน เมื่อหมดผูรูจัก พลังอันนี้กจ ็ ะไมมีผูรูจก ั ใช (คือ ยุคที่พท ุ ธศาสนาอันตรธานไปแลว) ผูสอนคนแรก - ผูรูจักพลังอันที่วา นี้เปนคนแรกก็คอ ื สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจา และไดสั่งสอนสืบเนื่องปฏิบัตต ิ อกันมาอยูเปนลําดับโดยพระสงฆสาวกของสมเด็จพระ สัมมาสัมพุทธเจา เมื่อกาลเวลาผานไปเนิ่นนานมาก ๆ ผูสอนพุทธศาสนาในลําดับหลังๆนีก ้ ็จะพาผูค  นไมใหเอา – ไมใหทําตามทีพ ่ ระพุทธเจา สอนไว และผูสอนพุทธศาสนาในลําดับหลังๆนีก ้ ็จะพาผูค  นไปเอาอันอืน ่ - ไปเอาสิ่งอื่น มาปะปน – ไปเอาสิง่ อื่นมาผสมปนเปกัน จนผูคนทัง้ หลายเกิดอาการ งง ไมรูจัก พุทธ - ธรรม - สงฆ ที่แทจริงวาเปนอยางไร ? ถึงแมวา พุทธ - ธรรม - สงฆ จะมีอยูตลอดกาลในอนันตจักรวาลโดยอานุภาพก็ตามที แตถายุคไหน - กาลใด สัตวโลกไมนอมนํามาทําประโยชนใหเกิดขึน ้ สัตวโลกทัง้ หลายก็จะไมมีผูไดรบ ั ประโยชนจากอานุภาพของพระรัตนตรัยเลย เพราะเมือ ่ สอนเรือ ่ งพระรัตนตรัยกันแลวไมมผ ี ูเขาใจ นานไปผูทไ ี่ มเขาใจนัน ้ ก็ไปสอนกันตอก็ยงิ่ เลอะเลือน นานไปผูทเี่ ลอะเลือนนั้นก็ไปสอนกันตอก็ยงิ่ เลือนลางจางหาย ทายที่สุดก็จะหาคําหรือหาความคิดแมเพียงครั้งเดียวของขณะจิตที่จะระลึกถึง พระรัตนตรัยก็ไมมเี ลย แตในขณะปจจุบน ั นีเ้ ราทั้งหลายตางก็โชคดีกันมาก ๆ ที่ไดพบเจอกับคําสอนของพระรัตนตรัย จงเรงศึกษาคนควา อยามัวแตอยากฟงและอยากถามแตผท ู ี่เกิดในยุคนี้ และมีความรูน  อยเชนเรา


- 32 -

จงคนศึกษาตรวจดูคําสอนของพระพุทธเจาที่มีมาตัง้ แตครัง้ พุทธกาลใหดีกอ  น กอนที่จะถามเรา มันจึงจะสามารถเขาใจได เพราะวาถาจะเอาเฉพาะคําพูดของเราแลว ไมมีผูที่จะลงใจในคําพูดของเราไดงายๆหรอก จงเรงศึกษาและคนควาพิจารณาคําสอนของพระพุทธเจาในพระไตรปฎกดวยตัวเอง แลวเราจะยืนยันใหตามความรูท  ี่เรามี มันยังจะดีกวา ดีกวาทีจ ่ ะคอยแตถามเราผูมี ความรูน  อยนิด นอยนิดจนไมสามารถจะเทียบไดกับธุลท ี ี่ติดปลายสนพระบาทของพุทธองค แมเพียง แปปเดียวแลวหลุดออก ความรูที่เรามีกไ ็ มสามารถจะเทียบไดแลว เพราะฉะนั้นจึงควรฟงและพิจารณาตามคําสอนของพระพุทธองคที่ยังมีอยูนน ั่ แหละเปน สําคัญ

พระเกษม อาจิณฺณสีโล


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.