Checklist_Requirement_ISO%209001

Page 1

Checklist ขอกําหนด ISO 9001:2000 4 Quality Managament System Requirement 4.1 General Requirements กําหนดระบบบริหารคุณภาพ จัดทําระบบบริหารคุณภาพเปนเอกสาร ดําเนินการตามระบบบริหารคุณภาพ คงไวซึ่งระบบบริหารคุณภาพ ปรับปรุงประสิทธิผลของระบบบริหารคุณภาพ ชี้บงกระบวนการที่จําเปนสําหรับระบบบริหารคุณภาพและการนําไปใชทั่วทั้งองคกร กําหนดลําดับขั้นตอนของกระบวนการในระบบบริหารคุณภาพ กําหนดความเชื่อมโยงของกระบวนการในระบบบริหารคุณภาพ กําหนดเกณฑที่จําเปนในการทําใหมั่นใจวากระบวนการตางๆมีประสิทธิผล กําหนดวิธีการที่จําเปนในการทําใหมั่นใจวากระบวนการตางๆมีประสิทธิผล กําหนดเกณฑที่จําเปนในการทําใหมั่นใจวาการควบคุมกระบวนการตางๆมีประสิทธิผล กําหนดวิธีการที่จําเปนในการทําใหมั่นใจวาการควบคุมกระบวนการตางๆมีประสิทธิผล ทําใหมั่นใจวามีทรัพยากรที่จําเปนในการสนับสนุนการดําเนินกระบวนการ ทําใหมั่นใจวามีทรัพยากรที่จําเปนในการสนับสนุนการเฝาติดตามกระบวนการ ทําใหมั่นใจวามีขอมูลที่จําเปนในการสนับสนุนการดําเนินกระบวนการ ทําใหมั่นใจวามีขอมูลที่จําเปนในการสนับสนุนการเฝาติดตามกระบวนการ เฝาติดตาม วัด และวิเคราะหกระบวนการตางๆ ดําเนินการที่จําเปนในการไดมาซึ่งผลลัพธตามแผน ดําเนินการที่จําเปนในการปรับปรุงกระบวนการอยางตอเนื่อง กระบวนการตองไดรับการบริหารใหสอดคลองกับขอกําหนดของมาตรฐานสากลฉบับนี้ ในกรณีที่เลือกใชกระบวนการจากภายนอกซึ่งสงผลกระทบกับความสอดคลองกับขอกําหนดของ สินคา ตองมีการทําใหมั่นใจวากระบวนการนั้นไดรับการควบคุม ในกรณีที่เลือกใชกระบวนการจากภายนอกซึ่งสงผลกระทบกับความสอดคลองกับขอกําหนดของ สินคา ตองมีการทําใหมั่นใจวากระบวนการนั้นไดรับการชี้บงภายในระบบบริหารคุณภาพ 4.2 Documentation Requirements 4.2.1 General เอกสารระบบบริหารคุณภาพตองประกอบดวย เอกสารที่แสดงนโยบายคุณภาพ เอกสารระบบบริหารคุณภาพตองประกอบดวย เอกสารที่แสดงเปาหมายคุณภาพ เอกสารระบบบริหารคุณภาพตองประกอบดวย คูมือคุณภาพ เอกสารระบบบริหารคุณภาพตองประกอบดวย ขั้นตอนการปฏิบัติงานที่มาตรฐานสากลฉบับนี้ ตองการ

1 of 15


เอกสารระบบบริหารคุณภาพตองประกอบดวย เอกสารที่จําเปนสําหรับองคกรในการทําใหมั่นใจ ในประสิทธิภาพของการวางแผนกระบวนการ เอกสารระบบบริหารคุณภาพตองประกอบดวย เอกสารที่จําเปนสําหรับองคกรในการทําใหมั่นใจ ในประสิทธิภาพของการดําเนินกระบวนการ เอกสารระบบบริหารคุณภาพตองประกอบดวย เอกสารที่จําเปนสําหรับองคกรในการทําใหมั่นใจ ในประสิทธิภาพของการควบคุมกระบวนการ เอกสารระบบบริหารคุณภาพตองประกอบดวย บันทึก ที่มาตรฐานสากลฉบับนี้ตองการ 4.2.2 Quality Manual จัดทําและคงไวซึ่งคูมือคุณภาพ คูมือคุณภาพประกอบดวย ขอบเขตของระบบบริหารคุณภาพ คูมือคุณภาพประกอบดวย รายละเอียดของการยกเวนขอกําหนด คูมือคุณภาพประกอบดวย ขั้นตอนการปฏิบัติงานที่กําหนดขึ้นสําหรับระบบบริหารคุณภาพ หรือ การอางถึงขั้นตอนการปฏิบัติงานดังกลาว คูมือคุณภาพประกอบดวย รายละเอียดของความเชื่อมโยงระหวางกระบวนการตางๆ ของระบบ บริหารคุณภาพ 4.2.3 Control of document จัดทําเอกสารแสดงขั้นตอนในการควบคุมเอกสาร เพื่อกําหนดการควบคุมที่จําเปนสําหรับการ อนุมัติเอกสาร เพื่อความเหมาะสมกอนการประกาศใช ทบทวนเอกสารตามความจําเปน ปรับปรุงเอกสารใหทันสมัยตามความจําเปน ทําใหมั่นใจวาสถานะความทันสมัยของเอกสารไดรับการชี้บง ทําใหมั่นใจวาลักษณะการเปลี่ยนแปลงไดรับการชี้บง ทําใหมั่นใจวาเอกสารที่ตองใชงานอยูที่จุดทํางาน ทําใหมั่นใจวาเอกสารสามารถอานไดงาย ทําใหมั่นใจวาสามารถชี้บงเอกสารไดทันที ทําใหมั่นใจวาเอกสารจากภายนอกไดรับการชี้บง ทําใหมั่นใจวาเอกสารจากภายนอกไดรับการควบคุมการแจกจาย ปองกันการนําเอกสารลาสมัยไปใชงาน ถามีการเก็บเอกสารลาสมัยตองไดรับการชี้บงอยางชัดเจน 4.2.4 Control of Record จัดทํา และคงไวซึ่งบันทึก เพื่อแสดงหลักฐานของความสอดคลองกับขอกําหนดและประสิทธิผล ของการปฎิบัติตามระบบบริหารคุณภาพ บันทึกตองอานไดงาย สามารถชี้บงบันทึกไดทันที กําหนดวิธีการในการชี้บงบันทึก เปนเอกสารแสดงขั้นตอนการทํางาน กําหนดวิธีการในการจัดเก็บบันทึก เปนเอกสารแสดงขั้นตอนการทํางาน กําหนดวิธีการในการปองกันบันทึก เปนเอกสารแสดงขั้นตอนการทํางาน

2 of 15


กําหนดวิธีการในการสืบคนบันทึก เปนเอกสารแสดงขั้นตอนการทํางาน กําหนดระยะเวลาในการจัดเก็บบันทึก เปนเอกสารแสดงขั้นตอนการทํางาน กําหนดวิธีการในการกําจัดบันทึก เปนเอกสารแสดงขั้นตอนการทํางาน 5 Management Responsibility

5.1 Management Commitment ผูบริหารระดับสูงตองแสดงหลักฐานใหเห็นถึงความมุงมั่นในการพัฒนา ดําเนินการ และปรับปรุง ประสิทธิผลของระบบบริหารคุณภาพอยางตอเนื่อง โดยการ สื่อสารความสําคัญในการตอบสนองขอกําหนดของลูกคา และกฎระเบียบ ขอบังคับ กําหนดนโยบายคุณภาพ ทําใหมั่นใจวามีการกําหนดเปาหมายคุณภาพ ทบทวนระบบบริหารคุณภาพ มั่นใจถึงความพรอมของทรัพยากร 5.2 Customer Focus ผูบริหารระดับสูงตองมั่นใจวา ขอกําหนดของลูกคาไดรับการกําหนด ขอกําหนดของลูกคาสอดรับกับเปาหมายในการเพิ่มความพึงพอใจของลูกคา 5.3 Quality Policy ผูบริหารระดับสูงตองมั่นใจวานโยบายคุณภาพ เหมาะสมกับจุดประสงคขององคกร รวมถึงความมุงมั่นที่จะสอดคลองกับขอกําหนด รวมถึงความมุงมั่นที่จะปรับปรุงประสิทธิผลของระบบบริหารคุณภาพอยางตอเนื่อง แสดงถึงกรอบสําหรับการกําหนดเปาหมายคุณภาพ แสดงถึงกรอบสําหรับการทบทวนเปาหมายคุณภาพ ไดรับการสื่อสารภายในองคกร เปนที่เขาใจ ไดรับการทบทวนความเหมาะสมอยางตอเนื่อง 5.4 Planning 5.4.1 Quality Objective ผูบริหารระดับสูงทํามั่นใจวาเปาหมายคุณภาพไดรับการกําหนดในทุกระดับ และทุกหนวยงานที่ เกี่ยวของ รวมถึงความจําเปนในการตอบสนองขอกําหนดของสินคา เปาหมายคุณภาพตองสามารถวัดได เปาหมายคุณภาพตองสอดคลองกับนโยบายคุณภาพ

3 of 15


5.4.2 Quality Management System Planning ผูบริหารระดับสูงทําใหมั่นใจวาการวางแผนระบบบริหารคุณภาพไดรับการดําเนินการ เพื่อให สอดคลองกับขอกําหนด ขอ 4.1 และเปาหมายคุณภาพ ผูบริหารระดับสูงทําใหมั่นใจวาความสมบูรณของระบบบริหารคุณภาพไมเปลี่ยนแปลง เมื่อมีการ วางแผน และดําเนินการเปลี่ยนแปลงระบบบริหารคุณภาพ 5.5 Responsibility Authority and Communication 5.5.1 Responsibility and Authorities ผูบริหารระดับสูงกําหนดอํานาจและความรับผิดชอบ ผูบริหารระดับสูงสื่อสารอํานาจและความรับผิดชอบภายในองคกร 5.5.2 Management Representative ผูบริหารระดับสูงแตงตั้งผูบริหารดํารงตําแหนง MR MR มีหนาที่จัดทําปฏิบัติและดํารงไวซึ่งระบบบริหารคุณภาพ MR มีหนาที่รายงานผลการปฏิบัติของระบบบริหารคุณภาพตอผูบริหาร MR มีหนาที่รายงานความจําเปนในการปรับปรุงระบบบริหารคุณภาพตอผูบริหาร MR มีหนาที่สงเสริมความตระหนักถึงขอกําหนดของลูกคาในองคกร 5.5.3 Internal Communication ผูบริหารระดับสูงกําหนดกระบวนการในการสื่อสารที่เหมาะสมภายในองคกร เรื่องที่สื่อสารตองเกี่ยวกับประสิทธิผลของระบบบริหารคุณภาพ 5.6 Management Review 5.6.1 General ผูบริหารระดับสูงทบทวนระบริหารคุณภาพ ตามชวงเวลาที่กําหนด เพื่อใหมั่นใจถึงความเหมาะสม ความเพียงพอ และประสิทธิผลของระบบบริหารคุณภาพ ทบทวนการประเมินโอกาสในการปรับปรุง ทบทวนการประเมินความจําเปนในการเปลี่ยนแปลงระบบบริหารคุณภาพ ทบทวนนโยบายคุณภาพ ทบทวนเปาหมายคุณภาพ คงไวซึ่งบันทึกการประชุมทบทวน 5.6.2 Review Input ขอมูลในการทบทวนรวมถึง ผลการตรวจติดตาม ขอมูลในการทบทวนรวมถึง เสียงตอบรับจากลูกคา ขอมูลในการทบทวนรวมถึง ผลปฏิบัติของกระบวนการ ขอมูลในการทบทวนรวมถึง ความสอดคลองของผลิตภัณฑ ขอมูลในการทบทวนรวมถึง สถานะของการปฏิบัติการแกไขและปองกัน ขอมูลในการทบทวนรวมถึง การติดตามผลจากการประชุมครั้งกอน ขอมูลในการทบทวนรวมถึง การเปลี่ยนแปลงตาง ๆ ที่มีผลกระทบตอระบบบริหารคุณภาพ ขอมูลในการทบทวนรวมถึง ขอเสนอแนะในการปรับปรุง

4 of 15


5.6.3 Review Output ผลลัพธจากการทบทวนรวมถึงการตัดสินใจและการดําเนินการที่เกี่ยวของกับ การปรับปรุง ประสิทธิผลของระบบบริหารคุณภาพ ผลลัพธจากการทบทวนรวมถึง การตัดสินใจและการดําเนินการที่เกี่ยวของกับ การปรับปรุง ผลิตภัณฑ ผลลัพธจากการทบทวนรวมถึง การตัดสินใจและการดําเนินการที่เกี่ยวของกับ ทรัพยากรที่จําเปน 6 Resource Management 6.1 Provision of Resource กําหนด และจัดสรรทรัพยากรที่จําเปน เพื่อปฎิบัติ คงไว และปรับปรุงระบบริหารคุณภาพอยาง ตอเนื่อง กําหนด และจัดสรรทรัพยากรที่จําเปน เพื่อเพิ่มความพึงพอใจของลูกคา โดยการตอบสนอง ขอกําหนด 6.2 Human Resource บุคลากรผูปฏิบัติงานตองมีคุณสมบัติที่เหมาะสมบนพื้นฐานของการศึกษา ประสบการณ การ ฝกอบรม และทักษะ กําหนดคุณสมบัติของบุคลากรในดานการศึกษา ประสบการณ การฝกอบรม และทักษะ จัดฝกอบรม หรือดําเนินการใหไดมาซึ่งคุณสมบัติของบุคลากรตามที่กําหนด ประเมินประสิทธิผลการดําเนินการ ทํามั่นใจวาบุคลากรตระหนักถึงความเกี่ยวของ/ความสําคัญของงานที่รับผิดชอบ ทํามั่นใจวาบุคลากรตระหนักถึงความเกี่ยวโยงของงานที่ทํากับเปาหมาย คงไวซึ่งบันทึกการศึกษา ประสบการณ ทักษะและการฝกอบรม 6.3 Infrastructure กําหนด โครงสรางภายในที่จําเปนสําหรับการบรรลุซึ่งขอกําหนดของสินคา จัดสรร โครงสรางภายในที่จําเปนสําหรับการบรรลุซึ่งขอกําหนดของสินคา บํารุงรักษา โครงสรางภายในที่จําเปนสําหรับการบรรลุซึ่งขอกําหนดของสินคา โครงสรางภายในรวมถึง สิ่งกอสราง สถานที่ทํางาน เครื่องมือ (Hardware หรือ Software) บริการ สนับสนุน (การขนสง หรือการสื่อสาร) 6.4 Work Environment กําหนดสภาพแวดลอมในการทํางานที่จําเปนในการไดมาซึ่งขอกําหนดของผลิตภัณฑ บริหารสภาพแวดลอมในการทํางานที่จําเปนในการไดมาซึ่งขอกําหนดของผลิตภัณฑ

5 of 15


7 Product Realization 7.1 Planning of Product Realization วางแผนและพัฒนา กระบวนการที่จําเปนสําหรับการผลิต การวางแผนตองสอดคลองกับขอกําหนดของกระบวนการอื่นๆ ของระบบบริหารคุณภาพ (4.1) การวางแผนตองกําหนด(ตามความเหมาะสม) เปาหมายคุณภาพของสินคา ขอกําหนดของสินคา ความจําเปนในการจัดทํากระบวนการ ความจําเปนในการจัดทําเอกสาร ความจําเปนในการจัดสรรทรัพยากร กิจกรรมการทวนสอบสินคาที่ตองการ กิจกรรมการตรวจทดสอบสินคาที่ตองการ กิจกรรมการเฝาติดตามสินคาที่ตองการ กิจกรรมการตรวจสอบสินคาที่ตองการ กิจกรรมการทดสอบสินคาที่ตองการ เกณฑในการยอมรับสินคา บันทึกที่จําเปนในการแสดงหลักฐานวากระบวนการเปนไปตามขอกําหนด บันทึกที่จําเปนในการแสดงหลักฐานวาสินคาเปนไปตามขอกําหนด ผลลัพธของการวางแผนตองอยูในรูปแบบที่เหมาะสมสําหรับการปฏิบัติการขององคกร 7.2 Customer Related Process 7.2.1 Determination of Requirements Related to the Product กําหนดขอกําหนดที่ระบุโดยลูกคา (รวมถึงขอกําหนดในการสงมอบ และขอกําหนดของกิจกรรม ภายหลังการสงมอบ) กําหนด ขอกําหนดที่ไมไดถูกระบุโดยลูกคา แตจําเปนสําหรับการใชงาน ที่ทราบ กําหนด กฎ และขอบังคับที่เกี่ยวของกับสินคา กําหนดขอกําหนดขององคกร 7.2.2 Review of Requirements Related to the Product ทบทวนขอกําหนดที่เกี่ยวของกับสินคากอนการตกลงกับลูกคา มั่นใจวา ขอกําหนดของสินคาไดรับการกําหนด สัญญา หรือ คําสั่ง ที่ไมตรงตามที่ตกลงไดรับการแกไข องคกรมีความสามารถในการตอบสนองขอกําหนดที่กําหนด เก็บบันทึกผลลัพธของการทบทวน และการดําเนินการใดๆอันเนื่องมาจากการทบทวน ในกรณีที่ลูกคาไมไดใหขอกําหนดที่เปนลายลักษณอักษร องคกรตองยืนยันขอกําหนดของลูกคา กอนการตอบตกลง ในกรณีที่ขอกําหนดเปลี่ยนแปลง ตองมั่นใจวาเอกสารที่เกี่ยวของไดรับการแกไข

6 of 15


ในกรณีที่ขอกําหนดเปลี่ยนแปลง ตองมั่นใจวาบุคลากรที่เกี่ยวของรับทราบขอกําหนดที่ เปลี่ยนแปลง 7.2.3 Customer Communication กําหนดวิธีการสื่อสารกับลูกคาในเรื่อง ขอมูลสินคา ดําเนินการสื่อสารกับลูกคาในเรื่อง ขอมูลสินคา กําหนดวิธีการสื่อสารกับลูกคาในเรื่อง การรับคําสั่ง/สัญญา (รวมถึงการแกไข) ดําเนินการสื่อสารกับลูกคาในเรื่อง การรับคําสั่ง/สัญญา (รวมถึงการแกไข) กําหนดวิธีการสื่อสารกับลูกคาในเรื่อง การตอบสนองลูกคา (รวมถึงขอรองเรียน) ดําเนินการสื่อสารกับลูกคาในเรื่อง การตอบสนองลูกคา (รวมถึงขอรองเรียน) 7.3 Design and Development 7.3.1 Design and Development วางแผนการออกแบบสินคา ควบคุมการออกแบบสินคา กําหนด ขั้นตอนการออกแบบ ระหวางการวางแผนการออกแบบ กําหนด การทบทวน ที่เหมาะสมในแตละขั้นตอนของการออกแบบระหวางการวางแผนการ ออกแบบ กําหนด การทวนสอบ ที่เหมาะสมในแตละขั้นตอนของการออกแบบ ระหวางการวางแผนการ ออกแบบ กําหนด การตรวจทดสอบ ที่เหมาะสมในแตละขั้นตอนของการออกแบบระหวางการวางแผนการ ออกแบบ กําหนด ความรับผิดชอบและหนาที่ สําหรับการออกแบบ จัดการ การเชื่อมโยงระหวางหนวยตางๆที่เกี่ยวของกับการออกแบบ เพื่อใหมั่นใจถึงการสื่อสารที่มี ประสิทธิภาพ และการมอบหมายหนาที่ที่ชัดเจน ผลลัพธจากการวางแผนตองไดรับการทําใหทันสมัยใหเปนไปตามกระบวนการออกแบบ (ตาม ความเหมาะสม) 7.3.2 Design and Development Inputs กําหนดขอกําหนดการออกแบบที่เกี่ยวของกับขอกําหนดของสินคา คงไวซึ่งบันทึกขอกําหนดการออกแบบที่เกี่ยวของกับขอกําหนดของสินคา ขอกําหนดการออกแบบตองรวมถึง ขอกําหนดการใชงาน ขอกําหนดของคุณสมบัติ ขอกําหนด ที่เปนกฎ และขอบังคับ (ในกรณีที่ตองใช) ขอมูลจากการออกแบบที่คลายกันคราวกอน ขอกําหนดอื่นๆ ที่สําคัญตอการออกแบบ ทบทวนความเพียงพอของขอกําหนดการออกแบบ ขอกําหนดการออกแบบตองสมบูรณ ไมกํากวม และไมขัดแยงกัน

7 of 15


7.3.3 Design and Development Outputs ผลลัพธจากการออกแบบตองอยูในรูปแบบที่สามารถนํามาทวนสอบ เปรียบเทียบกับขอกําหนด การออกแบบ (7.3.2) อนุมัติผลลัพธจากการออกแบบ กอนการปลอย ผลลัพธจากการออกแบบตอง สอดคลองกับขอกําหนดการออกแบบ ใหขอมูลสําหรับการจัดซื้อ ใหขอมูลสําหรับการผลิต ใหขอมูลสําหรับการบริหาร รวมถึงเกณฑในการยอมรับสินคา ระบุคุณลักษณะของสินคา ที่สําคัญสําหรับการใชงานที่เหมาะสม และ ปลอดภัย 7.3.4 Design and Development Review ดําเนินการทบทวนการออกแบบ ณ ขั้นตอนที่เหมาะสม ตามแผนที่วางไว (7.3.1) เพื่อ ประเมินความสามารถของผลลัพธจากการออกแบบวาเปนไปตามขอกําหนดหรือไม ชี้บงปญหา ชี้บงการจัดการกับปญหาที่จําเปน ผูเขารวมการทบทวนตองรวมถึงตัวแทนของหนวยตางๆที่เกี่ยวของกับขั้นตอนการออกแบบที่ถูก ทบทวน คงไวซึ่งบันทึกผลลัพธการทบทวนและการดําเนินการจากการทบทวน 7.3.5 Design and Development Verification ดําเนินการทวนสอบตามแผนที่วางไว (7.3.1) เพื่อใหมั่นใจวาผลลัพธจากการออกแบบสอดคลอง กับขอกําหนดการออกแบบ(7.3.2) คงไวซึ่งบันทึกผลลัพธการทวนสอบและการดําเนินการจากการทวนสอบ 7.3.6 Design and Development Validation ดําเนินการตรวจทดสอบตามแผนที่วางไว (7.3.1.) เพื่อใหมั่นใจวาสินคาสําเร็จสามารถตอบสนอง ขอกําหนดสําหรับการใชงานได ในกรณีที่ปฎิบัติได การตรวจทดสอบตองเสร็จสิ้นกอนการสงมอบหรือการใชสินคา คงไวซึ่งบันทึกผลลัพธจากการตรวจทดสอบและการดําเนินการจากการตรวจทดสอบ 7.3.7 Control of Design and Development Changes ชี้บงการออกแบบที่เปลี่ยนแปลง คงไวซึ่งบันทึกการการออกแบบที่เปลี่ยนแปลง ทบทวน ทวนสอบ ตรวจทดสอบ การออกแบบที่เปลี่ยนแปลง อนุมัติการออกแบบที่เปลี่ยนแปลงกอนการดําเนินการ การทบทวนการออกแบบตองรวมถึงการประเมินผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงกับสวนประกอบ และสินคาที่สงมอบแลว คงไวซึ่งบันทึกผลลัพธจากการทบทวนการเปลี่ยนแปลงและการดําเนินการจากการทบทวน

8 of 15


7.4 Purchasing 7.4.1 Purchasing Process ทําใหมั่นใจวาของที่ซื้อสอดคลองกับขอกําหนดในการสั่งซื้อที่ระบุ ประเภทในการควบคุมผูขาย ตองขึ้นอยูกับผลกระทบของสินคาที่ซื้อตอผลิตภัณฑสําเร็จ ขอบเขตในการควบคุมผูขาย ตองขึ้นอยูกับผลกระทบของสินคาที่ซื้อตอผลิตภัณฑสําเร็จ ประเภทในการควบคุมสินคา ตองขึ้นอยูกับผลกระทบของสินคาที่ซื้อตอผลิตภัณฑสําเร็จ ขอบเขตในการควบคุมสินคา ตองขึ้นอยูกับผลกระทบของสินคาที่ซื้อตอผลิตภัณฑสําเร็จ ประเมินผูขายบนความสามารถในการสงมอบสินคาใหสอดคลองกับขอกําหนดขององคกร คัดเลือกผูขายบนความสามารถในการสงมอบสินคาใหสอดคลองกับขอกําหนดขององคกร กําหนดเกณฑในการคัดเลือก กําหนดเกณฑในการประเมิน กําหนดเกณฑในการประเมินซ้ํา คงไวซึ่งบันทึกผลลัพธจากการประเมิน คงไวซึ่งบันทึกการดําเนินการใด ๆ ที่เปนผลจากการประเมิน 7.4.2 Purchasing Data ขอมูลในการสั่งซื้อตองอธิบายสินคาที่สั่งซื้อ (ในกรณีที่ทําไดตองรวมถึง) ขอกําหนดในการอนุมัติผลิตภัณฑ ขอกําหนดในการอนุมัติขั้นตอนการทํางาน ขอกําหนดในการอนุมัติกระบวนการ ขอกําหนดในการอนุมัติเครื่องมือ ขอกําหนดของคุณสมบัติของบุคลากร ขอกําหนดของระบบบริหารคุณภาพ ทําใหมั่นใจวาขอมูลในการสั่งซื้อเพียงพอกอนการติดตอกับผูขาย 7.4.3 Verification of Purchased Product กําหนด และดําเนินการทวนสอบเพื่อใหมั่นใจวาสินคาที่ซื้อเปนไปตามขอกําหนดในการสั่งซื้อ ในกรณีที่องคกรตกลงกับผูขายวาจะดําเนินการทวนสอบ องคกรตองระบุขอตกลงดังกลาว และ วิธีการปลอยสินคาในขอมูลการสั่งซื้อ ในกรณีที่ลูกคาตกลงกับผูขายวาจะดําเนินการทวนสอบ องคกรตองระบุขอตกลงดังกลาว และ วิธีการปลอยสินคาในขอมูลการสั่งซื้อ 7.5 Production and Service Provision 7.5.1 Control of production and Service Provision วางแผนการผลิต วางแผนการบริการ ดําเนินการผลิตภายใตสภาวะควบคุม ดําเนินการบริการภายใตสภาวะควบคุม สภาวะควบคุม ตองรวมถึง (ในกรณีที่ทําได) การมีขอมูลซึ่งอธิบายคุณลักษณะของสินคา

9 of 15


การมีเอกสารอธิบายวิธีการทํางาน การใชเครื่องมือที่เหมาะสม การมีเครื่องมือวัดและเฝาติดตาม การใชเครื่องมือวัดและเฝาติดตาม การดําเนินการวัดและเฝาติดตาม การดําเนินการปลอย การดําเนินการจัดสง การดําเนินกิจกรรมหลังการสงมอบ 7.5.2 Validation of Processes for Production and Service Provision ในกรณีที่ผลลัพธสุดทายของสินคา ไมสามารถทวนสอบได โดยการวัดและเฝาติดตาม หรือ ในกรณีของกระบวนการที่ขอบกพรองปรากฏ ภายหลังจากการใชสินคา หรือสงมอบบริการตอง ตรวจทดสอบกระบวนการผลิต ตรวจทดสอบกระบวนการบริการ การตรวจทดสอบตองแสดงใหเห็นถึงความสามารถของกระบวนการในการบรรลุตามแผนที่วางไว กําหนดการเตรียมความพรอมของกระบวนการ ซึ่งรวมถึง (ตามความเหมาะสม) การกําหนดเกณฑในการทบทวนกระบวนการ การกําหนดเกณฑในการอนุมัติกระบวนการ การอนุมัติเครื่องมือ การอนุมัติคุณสมบัติของบุคลากร การใชวิธีการที่กําหนด การใชขั้นตอนการทํางานที่กําหนด ความจําเปนในการจัดทําบันทึก การตรวจทดสอบซ้ํา 7.5.3 Product Identification and Traceability ชี้บงผลิตภัณฑดวยวิธีที่เหมาะสม ชี้บงสถานะการวัดและเฝาติดตาม เมื่อมีขอกําหนดในการสอบกลับ ตองควบคุมการชี้บงลักษณะเฉพาะของผลิตภัณฑ เมื่อมีขอกําหนดในการสอบกลับ ตองบันทึกการชี้บงเอกลักษณะเฉพาะของผลิตภัณฑ 7.5.4 Customer Property ระมัดระวังทรัพยสินของลูกคา เมื่ออยูภายใตการควบคุมหรือระหวางการใชงานขององคกร ชี้บงทรัพยสินของลูกคา ทวนสอบทรัพยสินของลูกคา ปองกันทรัพยสินของลูกคา รักษาทรัพยสินของลูกคา รายงานลูกคา ในกรณีที่ทรัพยสินของลูกคาสูญหาย/เสียหาย หรือไมเหมาะสมตอการนําไปใช คงไวซึ่งบันทึก ในกรณีที่ทรัพยสินของลูกคาสูญหาย/เสียหาย หรือไมเหมาะสมตอการนําไปใช

10 of 15


7.5.5 Preservation of Product มีการถนอมรักษาความเปนไปตามขอกําหนดของผลิตภัณฑระหวางการดําเนินการภายในองคกร มีการถนอมรักษาความเปนไปตามขอกําหนดของผลิตภัณฑระหวางการสงมอบไปยังจุดหมาย การถนอมรักษารวมถึง การชี้บง การถนอมรักษารวมถึง การเคลื่อนยาย การถนอมรักษารวมถึง การบรรจุ การถนอมรักษารวมถึง การจัดเก็บ การถนอมรักษารวมถึง การปองกัน 7.6 Control of Monitoring and Measuring Devices กําหนดการวัดและเฝาติดตามที่ตองทํา กําหนดเครื่องมือวัด และเฝาติดตามที่จําเปนสําหรับการแสดงหลักฐานวาสินคาเปนไปตาม ขอกําหนด กําหนดกระบวนการเพื่อทําใหมั่นใจวาสามารถดําเนินการ และไดรับการการดําเนินการวัดและเฝา ติดตาม สอดคลองกับขอกําหนดในการวัดและเฝาติดตาม ในกรณีที่จําเปนตองทําใหมั่นใจถึงผลลัพธของการทวนสอบ เครื่องวัดตอง ไดรับการสอบเทียบกับมาตรฐานการวัดที่สามารถสอบกลับไดถึงมาตรฐานระดับชาติ หรือ สากล ตามชวงเวลาที่กําหนด หรือกอนการใชงาน ไดรับการทวนสอบกับมาตรฐานการวัดที่สามารถสอบกลับไดถึงมาตรฐานระดับชาติ หรือ สากล ตามชวงเวลาที่กําหนด หรือกอนการใชงาน ในกรณีที่ไมมีมาตรฐานระดับชาติ หรือสากล ตองบันทึกหลักเกณฑที่ใชในการสอบเทียบ หรือทวนสอบ ไดรับการปรับแตง ตามความจําเปน ไดรับการชี้บงเพื่อทําใหสามารถทราบสถานะ การสอบเทียบ ไดรับการปองกันจากการปรับแตง ไดรับการปองกันความเสียหาย และเสื่อม จากการเคลื่อนยาย บํารุงรักษา และจัดเก็บ ประเมินความนาเชื่อถือของผลลัพธจากการวัดครั้งกอน เมื่อพบวาเครื่องมือไมสอดคลองกับ ขอกําหนด บันทึกความนาเชื่อถือของผลลัพธจากการวัดครั้งกอน เมื่อพบวาเครื่องมือไมสอดคลองกับ ขอกําหนด ดําเนินการตามความเหมาะสมตอเครื่องมือ ที่ไดรับผลกระทบ ดําเนินการตามความเหมาะสมตอสินคาที่ไดรับผลกระทบ คงไวซึ่งบันทึกผลลัพธของการสอบเทียบ และการทวนสอบ ยืนยัน ความสามารถของ Computer Software กอนการใชงานครั้งแรก เมื่อมีขอกําหนดใหใช สําหรับการวัดและเฝาติดตาม ยืนยัน ความสามารถของ Computer Software ซ้ํา ตามความจําเปน เมื่อมีขอกําหนดใหใชสําหรับ การวัดและเฝาติดตาม

11 of 15


8 Measurement Analysis and Improvement 8.1 General วางแผนและดําเนินการเฝาติดตาม ตรวจวัด วิเคราะห ปรับปรุงกระบวนการที่จําเปนเพื่อแสดงให เห็นถึงความเปนไปตามขอกําหนดของสินคา วางแผนและดําเนินการเฝาติดตาม ตรวจวัด วิเคราะห ปรับปรุงกระบวนการที่จําเปนเพื่อใหมั่นใจ ถึงความเปนไปตามขอกําหนดของระบบบริหารคุณภาพ วางแผนดําเนินการเฝาติดตาม ตรวจวัด วิเคราะห ปรับปรุงกระบวนการที่จําเปนเพื่อปรับปรุง ประสิทธิผลของระบบบริหารคุณภาพอยางตอเนื่อง กําหนดวิธีการที่ใช กําหนดเทคนิคทางสถิติ และขอบเขตในการนําไปใช 8.2 Monitoring and Measurement 8.2.1 Customer Satisfaction เฝาติดตามขอมูลที่เกี่ยวของกับความรูสึกของลูกคาวาองคกรไดตอบสนองตอขอกําหนดของลูกคา หรือไม กําหนดวิธีการในการคนหาขอมูลที่เกี่ยวของกับความรูสึกของลูกคา กําหนดวิธีในการนําขอมูลที่เกี่ยวของกับความรูสึกไปใช 8.2.2 Internal Audit ดําเนินการตรวจติดตาม ตามแผนที่กําหนด เพื่อใหมั่นใจวาระบบบริหารคุณภาพสอดคลองกับแผน ที่วางไว (7.1) ดําเนินการตรวจติดตาม ตามแผนที่กําหนด เพื่อใหมั่นใจวาระบบบริหารคุณภาพสอดคลองกับ ขอกําหนด ISO 9001:2000 และขอกําหนดขององคกร ดําเนินการตรวจติดตาม ตามแผนที่กําหนด เพื่อใหมั่นใจวาระบบริหารคุณภาพ ไดรับการปฏิบัติ และคงไว อยางมีประสิทธิผล วางแผนการตรวจโดยคํานึงถึงสถานะและความสําคัญของกระบวนการ วางแผนการตรวจโดยคํานึงถึงสถานะและความสําคัญของพื้นที่ วางแผนการตรวจโดยคํานึงถึงสถานะและความสําคัญของผลลัพธจากการตรวจครั้งกอน กําหนดเกณฑในการตรวจ กําหนดขอบเขตในการตรวจ กําหนดความถี่ในการตรวจ กําหนดวิธีการในการตรวจ เลือก Auditor โดยกําหนดวาหามตรวจงานตัวเอง กําหนดผูรับผิดชอบและขอกําหนด ในการวางแผนการตรวจในเอกสารแสดงขั้นตอนการทํางาน กําหนดผูรับผิดชอบและขอกําหนด ในการดําเนินการตรวจในเอกสารแสดงขั้นตอนการทํางาน กําหนดผูรับผิดชอบในการรายงานผลการตรวจในเอกสารแสดงขั้นตอนการทํางาน กําหนดผูรับผิดชอบในการจัดเก็บบันทึกการตรวจในเอกสารแสดงขั้นตอนการทํางาน

12 of 15


ทําใหมั่นใจวามีการดําเนินการเพื่อกําจัดสิ่งที่ไมสอดคลองและสาเหตุของสิ่งที่ไมสอดคลองที่พบ โดยผูบริหารที่รับผิดชอบพื้นที่ที่ถูกตรวจ โดยไมชักชา (ดู 8.5.2) ดําเนินกิจกรรมติดตามผล ซึ่งรวมถึงการทวนสอบการดําเนินการเพื่อกําจัดสิ่งที่ไมสอดคลองและ สาเหตุของสิ่งที่ไมสอดคลองและการรายงานผลการทวนสอบ (ดู 8.5.2) 8.2.3 Monitoring and Measurement of Processes ใชวิธีที่เหมาะสมในการเฝาติดตามกระบวนการระบบบริหารคุณภาพ (ในกรณีที่ทําได) ใชวิธีที่เหมาะสมในการวัดกระบวนการระบบบริหารคุณภาพ วิธีที่ใชตองแสดงใหเห็นถึงความสามารถของกระบวนการในการบรรลุซึ่งผลลัพทตามที่วางแผน ไว ในกรณีที่ไมสามารถบรรลุซึ่งผลลัพธตามแผนที่วางไว ตองมีการแกไขตามความเหมาะสม ในกรณีที่ไมสามารถบรรลุซึ่งผลลัพธตามแผนที่วางไว ตองมีการปฎิบัติการแกไขตามความ เหมาะสม 8.2.4 Monitoring and Measurement of Product วัดคุณลักษณะของสินคาเพื่อทวนสอบวาสินคาเปนไปตามขอกําหนด เฝาติดตามคุณลักษณะของสินคาเพื่อทวนสอบวาสินคาเปนไปตามขอกําหนด การวัดและเฝาติดตาม ตองดําเนินการ ณ ขั้นตอนที่เหมาะสมของกระบวนการผลิต ตามแผนที่วาง ไว (7.1) คงไวซึ่งหลักฐานที่แสดงใหเห็นถึงความสอดคลองกับเกณฑในการยอมรับ บันทึกตองระบุผูมีอํานาจในการปลอยสินคา ไมดําเนินการปลอยสินคาจนกวาแผนที่วางไว (7.1) เสร็จสมบูรณและเปนที่พอใจ หรือไดรับการ อนุมัติโดยผูมีอํานาจหรือลูกคา 8.3 Control of Nonconforming Product ชี้บงผลิตภัณฑที่ไมสอดคลองกับขอกําหนดเพื่อปองกันการนําไปใช หรือ สงมอบโดยไมตั้งใจ ควบคุมผลิตภัณฑที่ไมสอดคลองกับขอกําหนด เพื่อปองกันการนําไปใช หรือ สงมอบโดยไมตั้งใจ กําหนด การควบคุม และ อํานาจ ความรับผิดชอบในการจัดการกับผลิตภัณฑที่ไมสอดคลองกับ ขอกําหนดในเอกสารแสดงขั้นตอนการทํางาน คงไวซึ่ง บันทึกแสดงความไมสอดคลอง การดําเนินการใดๆ รวมถึงการเงื่อนไขการยินยอม ทวนสอบสินคาไมสอดคลองที่ไดรับการแกไข ซ้ําเพื่อแสดงใหเห็นถึงความสอดคลองกับขอกําหนด ดําเนินการตามความเหมาะสมกับผลกระทบของความไมสอดคลอง หรือผลกระทบของความไม สอดคลอง ที่อาจเกิดขึ้น ในกรณีที่ตรวจพบสินคาไมสอดคลอง หลังจากการสงมอบ หรือเริ่มใชงาน 8.4 Analysis of Data กําหนดขอมูล ที่แสดงใหเห็นถึงความเหมาะสม และประสิทธิผลของระบบบริหารคุณภาพ รวบรวมขอมูล ที่แสดงใหเห็นถึงความเหมาะสม และประสิทธิผลของระบบบริหารคุณภาพ วิเคราะห ขอมูล ที่แสดงใหเห็นถึงความเหมาะสม และประสิทธิผลของระบบบริหารคุณภาพ ขอมูลตองรวมถึงผลลัพธที่ไดจากการวัด และเฝาติดตาม และจากแหลงที่เกี่ยวของ ประเมินการปรับปรุงประสิทธิผลของระบบบริหารคุณภาพอยางตอเนื่องที่สามารถดําเนินการ การวิเคราะหขอมูลตองไดมาซึ่งขอมูลที่เกี่ยวของกับความพึงพอใจของลูกคา

13 of 15


การวิเคราะหขอมูลตองไดมาซึ่งขอมูลที่เกี่ยวของกับความสอดคลองกับขอกําหนดของผลิตภัณฑ การวิเคราะหขอมูลตองไดมาซึ่งขอมูลที่เกี่ยวของกับคุณสมบัติของกระบวนการ การวิเคราะหขอมูลตองไดมาซึ่งขอมูลที่เกี่ยวของกับแนวโนมของกระบวนการ การวิเคราะหขอมูลตองไดมาซึ่งขอมูลที่เกี่ยวของกับคุณสมบัติของผลิตภัณฑ การวิเคราะหขอมูลตองไดมาซึ่งขอมูลที่เกี่ยวของกับแนวโนมของผลิตภัณฑ การวิเคราะหขอมูลตองไดมาซึ่งขอมูลที่เกี่ยวของกับโอกาสสําหรับการปฎิบัติการปองกัน การวิเคราะหขอมูลตองไดมาซึ่งขอมูลที่เกี่ยวของกับผูสงมอบ 8.5 Improvement 8.5.1 Continual Improvement ปรับปรุงประสิทธิผลระบบบริหารคุณภาพอยางตอเนื่องโดยการใชนโยบายคุณภาพ ปรับปรุงประสิทธิผลระบบบริหารคุณภาพอยางตอเนื่องโดยการใชเปาหมายคุณภาพ ปรับปรุงประสิทธิผลระบบบริหารคุณภาพอยางตอเนื่องโดยการใชผลจากการตรวจ ปรับปรุงประสิทธิผลระบบบริหารคุณภาพอยางตอเนื่องโดยการใชการวิเคราะหขอมูล ปรับปรุงประสิทธิผลระบบบริหารคุณภาพอยางตอเนื่องโดยการใชการปฎิบัติการแกไข ปรับปรุงประสิทธิผลระบบบริหารคุณภาพอยางตอเนื่องโดยการใชการปฎิบัติการปองกัน ปรับปรุงประสิทธิผลระบบบริหารคุณภาพอยางตอเนื่องโดยการใชการทบทวนโดยฝายบริหาร 8.5.2 Corrective Action ดําเนินการกําจัดสาเหตุของสิ่งที่ไมสอดคลอง เพื่อปองกันไมใหเกิดซ้ํา การปฏิบัติการแกไขตองเหมาะสมกับผลกระทบของสิ่งที่ไมสอดคลอง จัดทําเอกสารขั้นตอนการทํางานเพื่อ กําหนดขอกําหนดสําหรับการทบทวนสิ่งที่ไมสอดคลอง จัดทําเอกสารขั้นตอนการทํางานเพื่อ กําหนดขอกําหนดสําหรับการคนหาสาเหตุของสิ่งที่ไม สอดคลอง จัดทําเอกสารขั้นตอนการทํางานเพื่อ กําหนดขอกําหนดสําหรับการประเมินความจําเปนในการ ดําเนินการเพื่อใหมั่นใจวาสิ่งที่ไมสอดคลองจะไมเกิดซ้ําอีก จัดทําเอกสารขั้นตอนการทํางานเพื่อ กําหนดขอกําหนดสําหรับการกําหนดวิธีการในการแกไข จัดทําเอกสารขั้นตอนการทํางานเพื่อ กําหนดขอกําหนดสําหรับการดําเนินการแกไข จัดทําเอกสารขั้นตอนการทํางานเพื่อ กําหนดขอกําหนดสําหรับการบันทึกผลการดําเนินการแกไข จัดทําเอกสารขั้นตอนการทํางานเพื่อ กําหนดขอกําหนดสําหรับการทบทวนการปฏิบัติการแกไข 8.5.3 Preventive Action กําหนดวิธีการในการกําจัดสาเหตุของสิ่งที่ไมสอดคลองที่อาจเกิด เพื่อปองกันไมใหเกิดขึ้น การปฏิบัติการปองกันตองเหมาะสมกับผลกระทบของสิ่งที่ไมสอดคลองที่อาจเกิดขึ้น จัดทําเอกสารขั้นตอนการทํางานเพื่อ กําหนดขอกําหนดสําหรับการคนหาสิ่งที่ไมสอดคลองที่อาจ เกิด จัดทําเอกสารขั้นตอนการทํางานเพื่อ กําหนดขอกําหนดสําหรับการการคนหาสาเหตุของสิ่งที่ไม สอดคลองที่อาจเกิด จัดทําเอกสารขั้นตอนการทํางานเพื่อ กําหนดขอกําหนดสําหรับการประเมินความจําเปนในการ ดําเนินการเพื่อปองกันสิ่งที่ไมสอดคลองที่อาจเกิด

14 of 15


จัดทําเอกสารขั้นตอนการทํางานเพื่อ กําหนดขอกําหนดสําหรับการกําหนดวิธีการในการปองกัน จัดทําเอกสารขั้นตอนการทํางานเพื่อ กําหนดขอกําหนดสําหรับการดําเนินการปองกัน จัดทําเอกสารขั้นตอนการทํางานเพื่อ กําหนดขอกําหนดสําหรับการบันทึกผลการปองกัน จัดทําเอกสารขั้นตอนการทํางานเพื่อ กําหนดขอกําหนดสําหรับการทบทวนการปฏิบัติการปองกัน

15 of 15


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.