def of Quality

Page 1

http://chantrawong.blogspot.com/2007/09/quality.html

นิยามดานคุณภาพ 1. คุณภาพที่พึงตองมี (Must be quality) หมายถึง คุณภาพที่ตองมีอยางครบถวนเปนปกติ ถาหากไมมี คุณภาพอยางนี้ในสินคาเมื่อใด ลูกคาจะไมซื้ออยางแนนอน เพราะไมปกติ 2. คุณภาพที่จูงใจซื้อ (Attractive quality) หมายถึง คุณภาพที่โดยปกติจะไมมีอยูในตัวสินคา แตถาหาก มี ก็จะจูงใจใหเกิดความสนใจที่จะซื้อขึ้นมาได 3. บันทึกคุณภาพ (Control of quality records) หมายถึง บันทึกตางๆ ที่เกี่ยวของกับคุณภาพ เชน การ จําแนก รวบรวม การทําดัชนี การสืบคน การเขาแฟม การจัดเก็บ เก็บรักษา และการทําลายทิ้ง สิ่งเหลานี้ ลวนแลวตองจัดใหมีและยึดมั่นเปนระเบียบปฏิบัติที่เปนลายลักษณอักษร บันทึกคุณภาพเปนเครื่องแสดง ถึงความเปนไปไดตามเกณฑขอกําหนด และแสดงถึงการดําเนินงานที่มีประสิทธิผลของระบบคุณภาพ 4. การตรวจประเมินคุณภาพในองคกร (Internal quality audits) หมายถึงระเบียบปฏิบัติที่เปนลายลักษณ อักษร วาดวยการวางแผนและดําเนินการในการตรวจประเมินคุณภาพในองคกร เพื่อตรวจดูวากิจกรรม ทางดานคุณภาพและผลลัพธที่ได เปนไปตามแผนดําเนินการที่วางไวหรือไม และเพื่อตรวจพิจารณาดู ประสิทธิผลของระบบคุณภาพ 5. ผูแทนฝายบริหารในระบบคุณภาพ (Quality Management Representative (QMR)) หมายถึง ผูบริหารที่จะดํารงตําแหนงเปนตัวแทนฝายบริหารในระบบคุณภาพ กลาวคือ เมื่อองคกรไดตัดสินใจแลววา จะจัดทําระบบคุณภาพมาตรฐานขึ้นใชในองคกร องคกรจะตองเตรียมบุคลากรที่จะมาดําเนินการจัดทําและ ติดตั้งระบบคุณภาพใหแนนอน โดยมีผูรับผิดชอบที่สําคัญสองคน คือ ผูบริหารโครงการติดตั้งระบบ และ ผูบริหารที่จะดํารงตําแหนงเปนตัวแทนฝายบริหารในระบบคุณภาพ 6. คณะกรรมการคุณภาพประจําองคกร (Quality management committee) หมายถึง ซึ่งเปนการพัฒนา มาจาก คณะกรรมการผลัดดันโครงการ (Steering committee) ในการจัดทําระบบคุณภาพตามมาตรฐาน ISO 9000 มีหนาที่กลั่นกรองและอนุมัติใช แกไขบทบัญญัติตางๆ ในระบบคุณภาพ รวมทั้งเปนผูทบทวน ปรับปรุง และพัฒนาระบบคุณภาพใหมีประสิทธิภาพอยางตอเนื่อง 7. นโยบายคุณภาพ (quality policy) หมายถึง ถอยคําที่ระบุถึงแนวทางและเปาหมาย รวมทั้งพันธกิจดาน คุณภาพขององคกร ซึ่งแสดงออกตอลูกคาหรือสาธารณชน หรือแมแตบุคลากรภายในองคกรของตนเอง เพื่อเปนการบงบอกหรือปาวประกาศ ถึงความมุงมั่นตอคุณภาพที่จะเกิดจากการดําเนินการ รวมทั้งการที่ องคกรจะปฏิเสธอยางแข็งขันตอสภาพที่ตรงกันขามจากที่กําหนดไวในนโยบายนั้น 8. คูมือคุณภาพ (quality manual) หมายถึง บทบัญญัติของระบบคุณภาพ ซึ่งระบุวา องคกรตองจัดการ เรื่องอะไรบาง เพื่อที่จะสรางความมั่นใจวาสิ่งที่เปนขอกําหนดในดานคุณภาพจะบรรลุผลอยางแนนอน 9. ระเบียบปฏิบัติดานคุณภาพ (quality procedures) หมายถึง บทบัญญัติที่แสดงวิธีดําเนินการหรือวิธี ปฏิบัติ ในประเด็นหรือเรื่องราวที่ระบุไวในคูมือคุณภาพ โดยระบุในทํานองที่วา เพื่อใหบรรลุผลไปตาม แนวทางของการบริหาร หรือเมื่อมีการนําแนวทางที่กําหนดไวมาใชปฏิบัติจริงอยางเปนรูปธรรม 10. แผนคุณภาพ (quality plan) หมายถึง การจัดทําแผนปฏิบัติการ ซึ่งแสดงรายละเอียดของการด ดําเนินงานขององคกร เพื่อชี้ใหเห็นวา ขอกําหนดของลูกคาในดานผลิตภัณฑ หรือขอกําหนดของ โครงการ หรือในสัญญา สามารถบรรลุผลเปนรูปธรรมไดจริง ดวยกิจกรรมที่ปรากฏในแผนคุณภาพนั้น โดย ในทางปฏิบัติผูประกอบการอาจจัดทําแผนคุณภาพเปนสองลักษณะ คือ แผนคุณภาพทั่วไปขององคกร และแผนคุณภาพเฉพาะ 11. การตรวจประเมินคุณภาพ (quality audit) คือการตรวจสอบอยางเปนระบบและอิสระจากสิ่งที่ตรวจ เพื่อจะดูวากิจกรรมดานคุณภาพและผลลัพธที่เกี่ยวของมีความสอดคลองกับแผนการดําเนินการที่ไดจัด วางไวหรือไม ไดมีการดําเนินการไปตามที่ไดกําหนดหรือจัดวางไวจริงอยางมีประสิทธิผลหรือไมและ เหมาะสมแกการที่จะบรรลุวัตถุประสงคหรือไม 12. การบริหารคุณภาพทั่วทั้งองคกร (Total Quality Management (TQM)) เปนแนวทางการจัดงาน องคกรที่เนนคุณภาพในทุกขั้นตอนและทุกจุดของงาน เพื่อใหสามารถประกันคุณภาพของผลผลิตวาเปนที่ พอใจของผูรับบริการหรือลูกคา อันจะสงผลใหองคกรไดรับความสําเร็จในสภาพแวดลอมที่เปลี่ยนไป 13. นักทองเที่ยวคุณภาพ (Quality tourist) หมายถึง นักทองเที่ยวที่มีคุณภาพสูงสามารถจับจายซื้อ สินคาทางการทองเที่ยวตามที่ตองการไดและขณะเดียวกันเปนนักทองเที่ยวที่ไมกอ.... 14. หลักการบริหารคุณภาพ 8 ประการ (Eight Quality Management Principles) หมายถึง หลักการ บริหารคุณภาพ 8 อยาง เพื่อใหสนองรับตอ ISO9001:2000 ซึ่งเขียนไวในระบบบริหารคุณภาพ ISO9004 อันไดแก หลักการที่ 1 : Customer-Focused Organization (องคกรที่มุงเนนความสําคัญของ ลูกคา) หลักการที่ 2 : Leadership (ผูนําที่มุงมั่น) หลักการที่ 3 Involvement of People (การบริหารงาน โดยใหพนักงานมีสวนรวม) หลักการที่ 4 : Process Approach (การมองอยางเปนกระบวนการ) หลักการ ที่ 5 : System Approach to Management (หลักการบริหารเชิงระบบ) หลักการที่ 6 : Continual Improvement (การปรับปรุงอยางตอเนื่อง) หลักการที่ 7 : Factual approach to decision making (การ อาศัยขอเท็จจริงชวยในการตัดสินใจ) และ หลักการที่ 8 : Mutually beneficial supplier relationships (การมีความสัมพันธที่ดีตอผูสงมอบ) 15. การควบคุมคุณภาพมุงสูความผิดพลาดที่ศูนย (Zero quality control) หมายถึง แนวความคิดการลด ตนทุนการผลิตโดยการควบคุมคุณภาพการผลิตและลดปริมาณของเสีย ในกระบวนการผลิตใหเทากับศูนย


[15] 16. ระบบการควบคุมคุณภาพทางสถิติ (Statistical Quality Control System(SQCS)) เปนการใชสถิติ ในการกําหนดคาควบคุมเพื่อใชเปนตัวแยกชิ้นงานที่ยอมรับได กับชิ้นงานที่ยอมรับไมได หรือชิ้นงานเสีย จํานวนของการเก็บตัวอยางและการวิเคราะห จะเปนไปตามหลักของการเก็บสถิติ 17. ระบบคุณภาพพื้นฐานของไทย (Thai Foundation Quality System (TFQS)) เปนโครงการของ สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ (สวทช.) ที่ริเริ่มขึ้นเมื่อป พ.ศ.2540 เพื่อสราง พื้นฐานบันไดขั้นแรกในการจัดการคุณภาพของอุตสาหกรรมไทยขนาดกลางและเล็ก (SME) ใหสามารถ พัฒนากาวสูการจัดการคุณภาพระดับสากล 18. คุณภาพของการบริการ (Quality of Service-QoS) เปนมาตราที่ใชวัดในการรับสงขอมูล การยอมรับ ในเรื่องคุณภาพ ซึ่งเปนระดับที่บางครั้งก็ยากแกการกําหนดวามาตรฐานคุณภาพบนอินเทอรเน็ตเปน อยางไร แตหากพิจารณา QoS ในเชิงเทคนิค พอจะนิยามไดดวยพารามิเตอรหลายๆ ตัว เชน การมีใหใช งานได (Availability) ชองสัญญาณที่สงได (Throughput) การหายของแพ็กเก็ต (Packet Loss) เวลา ลาเทนซี่ (Latency) 19. กลุมคุณภาพ (Quality Control Circle (QCC)) หมายถึง กลุมพนักงานเล็กๆ ที่อยูหนางาน รวมกัน ปรับปรุงคุณภาพงาน สินคาและบริการอยางตอเนื่อง ดําเนินการไดดวยตนเองตามสถานการณไดอยาง เหมาะสม (Autonomus) ใช Qc Concept และ เทคนิคในการแกปญหา 20. ผูนําคุณภาพ (Quality Leadership) เปนผูนําที่จะพยายามปรับปรุงและเปลี่ยนแปลงใหเกิดคุณภาพ ในงาน มีลักษณะเปนผูนําที่มีวิสัยทัศน เปนผูนําทางดานนวัตกรรมและเทคโนโลยี การบริหารยึดถือความ จริงมากกวาความรูสึก มีความสามารถในการสื่อสาร สามารถที่จะใชแรงจูงใจในการปฏิบัติงาน รวมทั้งเปน ผูนําแหงการเปลี่ยนแปลง 21. การควบคุมคุณภาพภายใน (Internal Quality Control) ในความหมายของงานประกันคุณภาพ การศึกษา หมายถึง เปนสวนที่สถาบันกี่ศึกษาจะตองจัดใหมีระบบและกลไกการควบคุมคุณภาพภายใน ขององคประกอบตางๆ ที่จะมีผลตอคุณภาพของบัณฑิต และตองดําเนินการอยางเปนระบบ โดยใช หลักการของการควบคุมคุณภาพที่เหมาะสม พรอมทั้งการมีระบบตรวจสอบและประเมินผลการดําเนินการ ภายในดวย 22. การตรวจสอบคุณภาพ (Quality Auditing) ในความหมายของงานประกันคุณภาพการศึกษา หมายถึง การตรวจสอบผลการดําเนินการของระบบและกลไกควบคุมคุณภาพภายในที่สถาบันอุดมศึกษาไดจัดใหมี ขึ้น โดยจะเปนการตรวจสอบเชิงระบบ มุงเนนการพิจารณาวา สถาบันไดมีระบบควบคุมคุณภาพหรือไม ได ใชระบบที่พัฒนาขึ้นเพียงใด และมีขั้นตอนการดําเนินการที่จะทําใหเชื่อถือไดหรือไมวา การจัดการศึกษา จะเปนไปอยางมีคุณภาพ ทั้งนี้ มุงเนนการตรวจสอบในคณะวิชาเปนหลัก 23. การประเมินคุณภาพ (Quality Assessment) ในความหมายของงานประกันคุณภาพการศึกษา หมายถึง กระบวนการประเมินผลการดําเนินการของคณะวิชาโดยภาพรวมวา เมื่อไดมีการใชระบบการ ประกันคุณภาพ หรือระบบควบคุมคุณภาพแลว ไดทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงในเชิงคุณภาพมากนอย เพียงใด 24. รางวัลคุณภาพแหงชาติของประเทศสหรัฐอเมริกา (The Malcolm Baldrige National Quality Award -MBNQA) รางวัลนี้ เปนตนแบบรางวัลคุณภาพแหงชาติที่ประเทศตางๆ หลายประเทศทั่วโลก นําไปประยุกตใช เชน ประเทศญี่ปุน ออสเตรเลีย สิงคโปร มาเลเซีย และฟลิปปนส เปนตน 25. รางวัลคุณภาพแหงชาติ (Thailand Quality Award-TQA) เปนรางวัลที่เริ่มจัดตั้งขึ้นโดยการผลักดัน ของสถาบันเพิ่มผลผลิตแหงชาติในฐานะที่เปนหนวยงานกลางและมีหนาที่ผลักดันและประสานงานรวมกับ หนวยงานตางๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน เพื่อประกาศเกียรติคุณองคกรที่มีผลงานดีเลิศตามเกณฑรางวัล คุณภาพแหงชาติและขยายผลการเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขันโดยเผยแพรวิธีการปฏิบัติของ องคกรที่ไดรับรางวัลใหเปนแบบอยางตอสาธารณะ 26. การควบคุมคุณภาพ (Quality Control) ในความหมายของระบบ ISO 9001:2000 จะเกี่ยวของกับการ ประเมินตัวสินคา หรือบริการโดยตรง ถือเปนสวนหนึ่งของการบริหารงานคุณภาพ ซึ่งมุงเนนเพื่อที่จะให ผลิตภัณฑเปนไปตามความตองการที่กําหนด 27. การประกันคุณภาพ (Quality Assurance) ในความหมายของระบบ ISO 9001:2000 ถือเปนสวน หนึ่งของการบริหารงานคุณภาพ ซึ่งมุงเนนเพื่อที่จะใหเกิดความเชื่อมั่นวาผลิตภัณฑเปนไปตามความ ตองการที่กําหนด 28. การปรับปรุงคุณภาพ (Quality Improvement) ในความหมายของระบบ ISO 9001:2000 ถือเปนสวน หนึ่งของการบริหารคุณภาพ ซึ่งมุงเนนเพื่อที่เพิ่มความสามารถในการผลิตหรือใหบริการเพื่อตอบสนอง ความตองการ กลาวคือ เปนกิจกรรมที่ทําใหเกิดความเปลี่ยนแปลงที่เกิดประโยชนในคุณลักษณะของ คุณภาพ ซึ่งเปาหมายหลัก ก็เพื่อตองสนองความพึงพอใจใหกับลูกคา 29. เครือขายคุณภาพของเอเชีย (Asian Network for Quality – ANQ) เปนการรวมตัวกันของสมาคม คุณภาพจาก 12 ประเทศสมาชิก ไดแก ญี่ปุน ไทย สาธารณรัฐประชาชนจีน ไตหวัน ฮองกง เกาหลีใต อิหราน อินเดีย เวียดนาม อินโดนีเซีย สิงคโปร และดูไบ ซึ่งในสวนของประเทศไทย มี สมาคมมาตรฐาน และคุณภาพแหงประเทศไทย (The Standards & Quality Association of Thailand) เปนผูแทน 30. การตรวจสอบคุณภาพภายนอก (External Quality Audit) ในความหมายของงานประกันคุณภาพ


การศึกษา เปนสวนหนึ่งของการตรวจสอบคุณภาพ (Quality Audit) ซึ่งแยกไดเปน การตรวจสอบคุณภาพ ภายใน (Internal Quality Audit) การตรวจสอบคุณภาพภายนอก (External Quality Audit) และการ รับรองคุณภาพ (Quality Accreditation) ซึ่งการตรวจสอบคุณภาพภายนอก (External Quality Audit) หมายถึง การตรวจสอบคุณภาพโดยหนวยงาน กลุมภายนอก ตามเกณฑที่กําหนดขึ้น ซึ่งอาจเปนเกณฑ มาตรฐานก็ได 31. การรับรองคุณภาพ (Quality Accreditation) ในความหมายของงานประกันคุณภาพการศึกษา เปน สวนหนึ่งของการตรวจสอบคุณภาพ (Quality Audit) ซึ่งแยกไดเปน การตรวจสอบคุณภาพภายใน (Internal Quality Audit) การตรวจสอบคุณภาพภายนอก (External Quality Audit) และการรับรอง คุณภาพ (Quality Accreditation) ซึ่งการรับรองคุณภาพหมายถึง การรับรองหรือไมรับรองคุณภาพ ตาม มาตรฐานซึ่งบางครั้งเปนมาตรฐานทางกายภาพ เชน พื้นที่ จํานวนอุปกรณ ฯลฯ เขียนโดย สุชาต จันทรวงศ

AUTO PART ISO 9001 ก Core Tool 1.APQP 2.FMEA 3.MSA 4.SPC 5.PPAP ก PPAP File ก 19 ก ก 1. !ก ก " ก ก ก 2. ก ก " #$ ก (ECN) & 3. ก ' # #$ ก ( ก) (& ) 4. FMEA ( ก ก 5. + + ก , ( ก ก 6. FMEA ( ก ก (PFMEA) 7. + ก ( # # (Dimension Result) 8. + ก ( ' &

9. ก $!ก- ) &( ก ก #" (Ppk) 10. ก $!ก- ก # ) . ก (MSA) 11. ก ก / ก 12. + ก ) )' (Control plan, QC Process Chart) 13. ก ก 0# (PSW) 14. ก ' # )'12 , 2 2 ก (AAR) 15. ก ( ก3 ( Bulk Material 16. 0# 17. 18. ) " 0 ก / 19. !ก " 4 , " ก) ก3 / ก , ( , ก ก/ 3 " ก) (


6 packs Core Tools: เครื่องมือสรางความฟตของระบบการผลิต วันพฤหัสบดีที่ 19 มิถุนายน 2551 เวลา 13.30-16.30 น. (เริ่มลงทะเบียน 13.00 น.) หอง MR210 ชั้น 2 ศูนยการแสดงสินคาและการประชุมนานาชาติ (BITEC) กรุงเทพมหานคร อุตสาหกรรมรถยนตเปนอุตสาหกรรมที่มีอต ั ราการขยายตัวสูงสุดของประเทศ ผูผลิตรายใหญ หลายรายไดยา ยฐานการผลิตเขามา สงผลใหผูผลิตชิ้นสวนภายในประเทศไดรับผลพลอยได อยางมาก อยางไรก็ตามการที่จะไดรับคัดเลือกใหเปนผูส  งมอบชิ้นสวนใหแกผูผลิตรถยนต ดังกลาว จําเปนที่จะตองไดรับการรับรองมาตรฐาน ISO/TS16949 ซึ่งเปนมาตรฐานระบบ คุณภาพสากลเฉพาะอุตสาหกรรมรถยนต อยางไรก็ตาม การจัดทํามาตรฐานดังกลาวจําเปนที่จะตองมีความรูพื้นฐานที่สาํ คัญ ไดแก APQP, PPAP, FMEA, SPC, MSA และQSA ดังนั้นจึงมีความจําเปนอยางยิ่งที่ผผ ู ลิตชิ้นสวนยาน ยนตจําเปนตองทราบเพือ ่ สามารถนํามาปฏิบต ั ิในระบบบริหารคุณภาพ ISO/TS16949 ไดอยางมี ประสิทธิผล สําหรับในปจจุบัน เครื่องมือของ Core Tools ไดเขาไปมีบทบาทในการเปน เครื่องมือทีช ่ วยในการปรับปรุงคุณภาพ ประสิทธิภาพของกระบวนการผลิตในทุกอุตสาหกรรม อยางแพรหลาย APQP: Advanced Product Quality Planning การวางแผนคุณภาพของผลิตภัณฑลวงหนา เปนแนวทางในการดําเนินการออกแบบและพัฒนา ผลิตภัณฑใหม ไปจนถึง การผลิตจริงวาจะตอง มีขั้นตอนอะไรบางมีเอกสารประเภทไหน แต ทั้งนี้ จะขึ้นอยูกับ ลักษณะและประเภทของผลิตภัณฑวาจะตองมีการดําเนินการในขัน ้ ตอนใดบาง และขึ้นอยูกับขอกําหนดเฉพาะของแตละลูกคา PPAP: Production Part Approval Process กระบวนการอนุมัตก ิ ารผลิตชิน ้ สวน เปนกระบวนที่บังคับใหดาํ เนินการตาม เพื่อเตรียมเอกสาร หลักฐานตางๆ ใหกับทางลูกคา เพื่อแสดงความพรอมในการเริ่มผลิตจริง หลังจากที่อลูกคา อนุมัติแลว จึงจะเริ่มผลิตจริงและสงมอบได FMEA: Failure Mode and Effect Analysis การวิเคราะหการขัดของและผลกระทบ ที่มีตอการออกแบบ และ กระบวนการ ทําใหมีการศึกษา และวิเคราะห โอกาสที่จะเกิดความลมเหลว หรือ ขอผิดพลาดขึ้น ความรุนแรงของผลกระทบ และ สภาพการตรวจวัด หรือ การควบคุมในปจจุบัน วาเพียงพอหรือไม และจะมีการปรับปรุงใหดี ขึ้นไดอยางไร SPC: Statistical Process Control การใชสถิติในการควบคุมกระบวนการ เพือ ่ ลดความผันแปร มีรูปแบบตางๆ ขึ้นอยูกับชนิดของ ขอมูลและ กระบวนการ MSA: Measurement System Analysis การวิเคราะหระบบการวัด เพือ ่ แสดงถึงผลของ ความเชือ ่ มั่น ในเครื่องมือวัด คนวัด และ ระบบ การวัดที่มใี ชอยู QSA: Quality System Assessment การตรวจประเมินระบบคุณภาพ หรือ เปน check list ที่เรียงตามขอกําหนด ใหใชเพือ ่ ตรวจ ประเมิน นอกจากนี้ยังมีคําอธิบายถึงขอบกพรองของระบบในระดับตางๆ เหมาะสําหรับ • ผูบริหาร วิศวกร และหัวหนางานที่รับผิดชอบในดานการเพิ่มผลผลิต และระบบการผลิต • ผูสนใจโดยทัว่ ไปที่ประสงคจะนําเอาระบบ 6 packs Core Tools ไปประยุกตใชในการปรับปรุง พัฒนาองคกร หรือเรียนรูเพิม ่ เติม หัวขอการสัมมนา • ความสําคัญและวัตถุประสงคของ 6 packs Core Tools


• • • • • • • •

APQP: Advanced Product Quality Planning (การวางแผนคุณภาพของผลิตภัณฑลวงหนา) PPAP: Production Part Approval Process (กระบวนการอนุมต ั ิการผลิตชิ้นสวน) FMEA: Failure Mode and Effect Analysis (การวิเคราะหการขัดของและผลกระทบ) SPC: Statistical Process Control (การใชสถิตใิ นการควบคุมกระบวนการ) MSA: Measurement System Analysis (การวิเคราะหระบบการวัด) QSA: Quality System Assessment (การตรวจประเมินระบบคุณภาพ) ตัวอยางการประยุกตใชในกระบวนการผลิตและบริการ สรุปและตอบขอซักถาม

ISO/TS 16949 APQP APQP เกี่ยวของอยางไรกับระบบบริหารการจัดการ APQP ( Adcance Product Quality Planning) คือ TOOL หนึ่งในระบบการจัดการที่ใหคําแนะนํา ในสวน ของการเตรียมการในการผลิตผลิตภัณฑใหมอยางเปนขั้นตอน ตั้งแตไดความตองการลูกคาจนถึงเริ่มทํา การผลิต APQP นี้ไดมีการจัดทําสําหรับอุตสาหกรรมการผลิตชิ้นสวนยานยนต ที่ไดมีการนําเสนอ แนะนํา ประกาศใช สําหรับ BIG 3 กอนหนานี้ ดวยความมุงหวังประสงคใหแตละผูผลิตชิ้นสวนมีระบบที่ดีในการ พัฒนาผลิตภัณฑ นับไดวาหากทานเปนองคกรที่มีการผลิตผลิตภัณฑใหม การเรียนรูtool ตัวนี้ไวใชในการ ปรับปรุงองคกรในดานการพัฒนาผลิตภัณฑ ในการประยุกตใช ISO/TS 16949 มิไดมีการบังคับใหใช APQP ยกเวนแตเปนขอกําหนดของลูกคา (โดยเฉพาะในสวนของ BIG 3) แมวาในองคกรทานจะไมมีการออกแบบผลิตภัณฑ ในการประยุกตใชขอกําหนด ISO/TS16949 นี้ ทาน ยังคงตองมีสวนเกี่ยวของในบางสวนของการพัฒนาผลิตภัณฑ โดยเฉพาะอยางยิ่งการพัฒนากระบวนการ ดังนั้นการเรียนรู APQP นี้นับวาเปนประโยชนสําหรับองคกรทานเปนอยางมาก APQP มีขั้นตอน 5 ขั้นตอนที่เชือ ่ มโยงกับกระบวนการขององคกรที่สามารถสรุปไดดังนี้


ขั้นตอนของ APQP มีอะไรบาง ขั้นตอนของ APQP มี 5 ขั้นตอนและมีสวนเกี่ยวของกับ phase ในสวนของ Prototype, Pilot, Pre Launch กอนเริ่ม Mass Production ดังนี้

APQP มีความสัมพันธกับขอกําหนด ISO/TS 16949 อยางไร ชื่อขั้นตอน

ขอกําหนด ISO/TS 16949

Phase 1

Planning and Define

7.3.1, 7.3.2, 7.3.2.1

Phase 2

Produce Design and Development

7.3.2.1, 7.3.2.3, 7.3.3, 7.3.3.1, 7.3.4, 7.3.4.1

Phase 3

Process Design and Development

7.3.2.2, 7.3.3.2, 8.2.3.1

Phase 4

Product and Process Validation

7.3.5, 7.3.6.3

Phase 5

Feedback Assesssmnet and Corrective Action

8.2.3.1

ขั้นตอน

จากขอกําหนดที่ระบุขางตน ทานจะพบวาหากทานประยุกตใช APQP ทานจะมีกระบวนการทํางานที่ สอดคลองกับขอกําหนดของ ISO/TS 16949 ไดอยางงายดาย ในแตละขั้นตอนของ APQP มีกระบวนการที่เกี่ยวของกันอยางไร และเอกสารอะไรที่เปน output ในแตละขั้นตอน




ไมวาทานจะประยุกตใชระบบ ISO/TS16949 หรือไม ไมวาทานจะมีการออกแบบผลิตภัณฑหรือไม การทํา ความรู ความเขาใจกับกระบวนการ APQP นับวาเปนประโยชนกับองคกรของทานเปนอยางยิ่งในการ ปรับปรุงองคกร เพื่อสรางความสามารถในการแขงขันTraining with Moody ......

: ก ก ก ก : ! " #$ % : 1. )# " )'12 2. ) ก " ก ISO-9001 3. ก 'ก . 0 ISO-9001 4. ( ก3 ( )'12 ISO-9001 5. 5) ( ก )'12 6. ก) ( , ก ) 7. / ) ก ( ก) , , 8. 5 )'12 ( #- ) ,


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.