FMEA

Page 1

ตัวอยางสมมุติ การวิเคราะหแบบ FMEA1 FMEA matrices for medication dispensing scenarios ฉากทัศน • มีการสํารองยาบนหอผูปว ยในเครือ่ งจายยาอัตโนมัติ • เครื่องจายยาจะถูกเติมยาในลักษณะรุนผลิตขึ้นกับปริมาณที่มีการสั่งทั้งที่เปนยาใหมและเปนยาที่มีการเปลี่ยนแปลง • พยาบาลสามารถเขาถึงยาไดตลอดเวลา • ยาที่เฉพาะของผูปวยทีไ่ มมีสํารองจะถูกนําสงมาที่หอผูป วยและเก็บในลิ้นชักเฉพาะราย โดยวงรอบการจายทุก 24 ชัว่ โมง ครอบคลุมจํานวน ขนานทีต่ องไดรับในวงรอบ 24 ชัว่ โมง • คําสั่งใชยาใหมจะนําสงเมือ่ หองยาไดรับและจายยาในจํานวนขนานทีช่ นวงรอบ

1

ขอมูลโดย อ.ภก.มังกร ประพันธวัฒนะ


ขั้นใน กระบวนการ (steps in the process) แพทยสั่งใชยา ใหม

แพทยสั่งหยุด ยาและ/หรือ เปลี่ยนยา

โอกาส ความ ตรวจจับ รุนแรง (1-10)3 (1-10)4

คะแนน เสี่ยง (RPN)5

แนวทางปฏิบตั ิในการลด อุบตั ิการณลมเหลว

ผูปวยอาจไดรับยาที่ 6 ไมถูกตอง รวมทั้ง ขนาดยาและวิถที ี่ บริหาร

5

1

30

ควรมีเภสัชกรประจําหอผูปวย เพื่อสามารถทบทวนคําสั่ง เมื่อมี การสั่งใชยา เพื่อความเชือ่ มโยง

ผูปวยไดรบั ยาที่ 10 แพทยสั่งหยุด หรือ ไดรบั ยาในขนาดที่ ไมถูกตองสําหรับยา ที่มีการเปลี่ยนแปลง

5

5

250

กําหนดเวลาในการเก็บกลับยา คืนที่แพทยสั่งหยุด รวมทั้งยาที่ ตองเก็บในตูเย็น วันละ 2 ครั้ง

โอกาสบกพรอง (failure mode)

ปจจัยสาเหตุ (failure causes)

ผลกระทบ (failure effects)

ยาขนานแรก อาจใหกอนที่ เภสัชกรจะได ชวยทบทวน คําสั่ง ยาทีแ่ พทยสั่ง หยุดอาจไดรับ การบริหารตอ

ยาที่สั่งจายอาจมีอยูใน เครื่องจายยาอัตโนมัติ และงายตอการเขาถึง

ยาที่ตอ งไดรับใน 24 ชม. ถูกนําสงและเก็บไว ในลิ้นชัก และลิ้นชักนั้น จะเปลี่ยนจนกวาจะครบ วงรอบ ยาแชเย็นก็ถูกนําสงใน วงรอบ 24 ชม. ยาที่เปน multi-dose ก็ อยูในลิ้นชักเฉพาะของ ผูปวย

โอกาส เกิด (1-10)2

มีระบบขอมูลหรือกระบวนการ ยืนยันขอมูลและการเขาถึงคําสัง่ ใชยาทั้งที่ใหตอ เนื่องและสั่งหยุด กอนการบริหารแตละครั้ง

โอกาสเกิด 1 เกิดไดยากที่สุด และ 10 เกิดไดงา ยที่สดุ โอกาสตรวจจับ 1 ตรวจจับไดงา ยที่สุด และ 10 ตรวจสอบไดยากที่สุด 4 ความรุนแรง 1 อันตรายนอยที่สุด และ 10 อันตรายมากที่สุด 5 RPN = Risk Profile Number เปนระดับคะแนนความเสีย่ งในแตละโอกาสบกพรองที่มีการระบุ ไดจากผลคูณของ 3 ปจจัยสําคัญคือ โอกาสเกิด โอกาสตรวจจับ ความรุนแรง 2 3

2


ขั้นใน กระบวนการ (steps in the process)

แพทยสั่งจายยา ในขนาดที่ไม เปนไปตา มาตรฐาน เจาหนาที่หอง ยาเตรียมยาและ จัดเก็บอุปกรณ การแพทย รวมกันกับยา

โอกาส เกิด (1-10)2

โอกาส ความ ตรวจจับ รุนแรง (1-10)3 (1-10)4

คะแนน เสี่ยง (RPN)5

แนวทางปฏิบตั ิในการลด อุบตั ิการณลมเหลว

3

5

4

60

ผูปวยอาจไดรับยาที่ 3 ไมมีการสั่งจาย

5

5

75

เตรียมยาทุกรายการที่ขนาดไม เปนไปตามมาตรฐานในกลุมงาน เภสัชกรรม และกระจายใน ลักษณะที่เปนขนาดเฉพาะ สําหรับผูป วยแตละราย ใชเครื่องอานรหัสแทงสําหรับยา ทุกรายการเพื่อยืนยันขอมูลกอน การบริหารยา เนนความมีสวนรวมของผูปวย และครอบครัวเพื่อยืนยันกอน บริหารยา

ผูปวยอาจไดรับยา ไมถูกตอง ไมถกู ขนาด และไมถกู วิถี บริหาร

5

5

75

โอกาสบกพรอง (failure mode)

ปจจัยสาเหตุ (failure causes)

พยาบาลอาจ เตรียมยาใน ขนาดที่ไม ถูกตอง

สามารถเขาถึงยาที่อยูใน ตูอ ตั โนมัติ ผูปวยอาจไดรับยา ผูปฏิบัติงานเตรียมยา จากเครื่องจายยา ในขนาดที่ไม อัตโนมัตแิ ละดูดยาตาม เหมาะสม ขนาดที่สั่ง

ความคลาด เคลื่อนอาจ เกิดขึ้นระหวาง การเติมยา และ อาจวางยาใน ลิ้นชักที่ไม ถูกตอง ยาตองแชเย็น การคัดเลือกยา และสารละลายที่ เพื่อบริหารอาจ ใหเขาหลอด ผิดพลาด เลือดมีการเก็บ แยก

มีการบรรจุยาหลาย ขนานในเครื่องจายยาแต ละครั้ง ยาหลายรายการและ หลายขนาดถูกวาง ปะปนอยูในลิ้นชักที่ เฉพาะของผูปวย ยาถูกเก็บรวมกันและ อาจไมมีการเก็บแยกใน ลิ้นชักที่เฉพาะแตละราย จึงเปนการงายที่จะหยิบ ผิด

ผลกระทบ (failure effects)

3

3

ใชเครื่องอานรหัสแทงสําหรับยา ทุกรายการเพื่อยืนยันขอมูลกอน การบริหารยา เนนความมีสวนรวมของผูปวย และครอบครัวเพื่อยืนยันกอน บริหารยา


ขั้นใน กระบวนการ (steps in the process) ยาฉีดบรรจุใน ขวดที่ใชหลาย ครั้ง

โอกาสบกพรอง (failure mode)

ปจจัยสาเหตุ (failure causes)

ผลกระทบ (failure effects)

โอกาส เกิด (1-10)2

โอกาส ความ ตรวจจับ รุนแรง (1-10)3 (1-10)4

คะแนน เสี่ยง (RPN)5

แนวทางปฏิบตั ิในการลด อุบตั ิการณลมเหลว

อาจมีการดูดยา ในขนาดที่ไม ถูกตอง

เจาหนาที่อาจเตรียมยา แตละขนานกอนการ บริหารยาทันทีทําใหไมมี การตรวจสอบซ้าํ อีกครั้ง

ผูปวยอาจไดรับยา ไมถูกตอง ไมถกู ขนาด และไมถกู วิถี บริหาร

4

5

7

140

บุคลากรการ พยาบาล สามารถเขาถึง ยาที่ใชบริหาร จากเครื่องจาย ยา

บุคลากรการ พยาบาลอาจลัด ขั้นตอนเฉพาะ ในการเขาถึงยา

พยาบาลขามขัน้ ตอนซึ่ง อาจเกี่ยวของกับการที่ เครื่องจายยาอยูใ กลกับ หองผูปวย เนื่องจาก พยาบาลไมตอ งการที่จะ ไปกลับระหวางที่ทํางาน พยาบาลกับหองผูปวย บุคลากรที่ตดิ ยา ระบบที่ใชสําหรับการ อาจมีการ เขาถึงอาจไมรัดกุม อาจ ลักลอบใช มีการยอมใหผานเขาสู ยาเสพติด ระบบโดยใชชอื่ ผูอื่น

ผูปวยอาจไดรับยา ไมถูกตอง ไมถกู ขนาด และไมถกู วิถี บริหาร

7

5

8

280

เตรียมยาแตละขนานในแผนก เภสัชกรรมและกระจายยาแตละ ขนานในรูปแบบหนึ่งหนวยการ ใช ไมควรมียาฉีดทีใ่ ชไดหลายครั้ง ในเครื่องจายยาอัตโนมัติ ใชเครื่องอานรหัสแทงสําหรับยา ทุกรายการเพื่อยืนยันขอมูลกอน การบริหารยา เนนความมีสวนรวมของผูปว ย และครอบครัวเพื่อยืนยันกอน บริหารยา

บุคลากรดานการ รักษาอาจไมพรอม ในการปฏิบตั ิงาน

5

5

10

250

บุคลากร สามารถเขาถึง ยาเสพติด

4

อาจใชบตั รเฉพาะที่ยืนยันบุคคล รูดหรือเครื่องอานลายนิ้วมือใน การเขาถึงยาเสพติด


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.