Environmental Management Environmental Technology Envi Economics Envi Chemistry Envi Toxicology Envi Engineering Envi Pollution Envi Law
ISO 14001 Environmental Management System, EMS ระบบการจัดการสิ่งแวดลอม International Organization of Standardization - ISO •ISO 9000 Series •ISO 14000 Series •Environmental Audit & Assessment
การจัดการสิ่งแวดลอม (Environmental Management) ระบบการจัดการสิ่งแวดลอม (Environmental Management System)
ISO Series อนุกรมมาตรฐาน • ISO 9000 Series – ISO 9001 – ISO 9002 – ISO 9003
• ISO 14000 Series – ISO 14001 – ISO 14004 – ISO 14010 -12
• การจัดการคุณภาพ • การจัดการคุณภาพ การผลิตสินคา สิ่งแวดลอมในองคกร
1
ISO 14000 มาตรฐานการจัดการสิ่งแวดลอม • • • • • •
Environmental Management System Environmental Aspects in Products Standards Environmental Auditing Environmental Labeling Environmental Performance Evaluation Life Cycle Assessment
ISO 14001 ระบบการจัดการสิ่งแวดลอม EMS • • • •
มาตรฐานที่ใชเปนกรอบในการทํางานที่เกี่ยวของกับองคกร พัฒนาใหผานการรับรองระบบการจัดการสิ่งแวดลอม EMS ISO 14001 - นําไปใชในอุตสาหกรรมขนาดใหญมากกวา ISO 14001 - เปนขอกําหนดที่บังคับใหดําเนินงานตาม
ISO 14004 แนวทางทั่วไปสําหรับระบบ EMS • มาตรฐานที่ใชเปนแนวทางในการดําเนินงาน ISO 14001 • ขอกําหนดตาง ๆ ใน ISO 14001 จะใชคําวา “ตอง”, “Shall” • แตขอกําหนดใน ISO 14004 ใชคําวา “ควร”, “Should”
มาตรฐานเกี่ยวกับการประเมินองคกร • ระบบการจัดการสิ่งแวดลอม EMS – ISO 14001, ISO 14002 – ISO 14004 • การตรวจติดตามคุณภาพและสิ่งแวดลอม – ISO 19011 (แทน ISO 14010 / 14011 / 14012) – ISO 14015 • การประเมินผลการปฏิบัติงานดานสิ่งแวดลอม (EPE) – ISO 14031 • คําศัพทและคํานิยาม – ISO 14050
ISO 19011 การตรวจติดตามสิ่งแวดลอม Environmental Auditing, EA
• ยกเลิกมาตรฐานเดิม ISO 14010, 11 และ ISO 14012 • เพื่อการตรวจติดตามสิ่งแวดลอมในองคกร • เปนเครือ่ งมือในการตรวจติดตามคุณภาพ + สิ่งแวดลอม ของผูบริหารในเวลาเดียวกัน • ตรวจติดตามอยางมีวัตถุประสงค มีความเปนอิสระ + เปนระบบ • ไดรับอํานาจการตัดสินใจจากฝายบริหาร นโยบายบริษทั ฯ ขอตกลงกับลูกคา กฎหมาย + กฎระเบียบ
2
ISO 14031 การประเมินผล การปฏิบัติงานดานสิ่งแวดลอม • มาตรฐานเกี่ยวกับฉลากเขียวสิง่ แวดลอม ISO 14020 – Environmental Labels – Green Label – Declarations • มาตรฐานประเมินวงจรชีวิต ISO 14040 • มาตรฐานการจัดการปาไมแบบยั่งยืน ISO 14061
องคกรระหวางประเทศ • • • • • • •
UN - United Nations ICC - International Chamber of Commerce GATT - General Agreement on Tariffs and Trade WTO - World Trade Organization IMF - International Monetary Fund World Bank ADB Bank - Asian Development Bank
ประเทศไทย + การกําหนดมาตรฐานดานสิ่งแวดลอม • สมาชิกประเภท P ของ ISO / TC 207 • นโยบายของรัฐบาลที่สําคัญ – ลด+ยกเลิกการใชสาร CFCs - กําหนดและสงเสริมฉลากเขียว – ริเริ่มและสงเสริม Recycle – โครงการประหยัดพลังงาน ( 2) ลดขยะ ลดมลพิษทางน้ําและ ทางอากาศ – ออกกฎหมายสิ่งแวดลอม – รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย 2540 มาตรา 56 และ 79
ความจําเปนของ ISO 14001 • เปนความตองการของลูกคา • เปนความตองการของ ผูบริโภค • ทําใหการคาสะดวก • เปนขอพิจารณาหนึ่งของการ กูเงิน
• ลดความเสี่ยงการรับผิด • เพิ่มโอกาสทาง การตลาด • แรงกดดันของรัฐบาล • ลดตนทุน • เปนพลเมืองที่ดี
3
“การควบคุม & ลดผลกระทบตอสิ่งแวดลอม” ประชาชนมีสวนรวมในไดอยางไร? นักเรียน นักศึกษามีสวนรวมอยางไร?
ขอกําหนดของมาตรฐาน ISO 14001 General Requirements Policy
•Environmental Aspects •Legal and other requirements •Objectives and targets •Environmental Planning management Implementation programme(s) & Operation
•Structure and responsibility •Training, awareness and competence •Communication •Environmental management system documentation •Document control •Operational control •Emergency preparedness and response
Checking & Corrective Action
Management Review
•Monitoring and measurement •Non conformance and corrective and preventive action •Records •Environmental management system audit
Flow Chart for EMS Certification Enquiry
Assessment Every 3 years Surveillance Certification
Application Preliminary Visit Assessment
How to Implement ISO 14000? • Stipulating the EMS policy • Planning • Implementation of the EMS according the policy • Checking and Corrective Actions • Environmental Management System Review
4
ISO 14001 Standard Requirements (1) ขอกําหนดที่ ขอกําหนด จํานวนตอง 4.1 ขอกําหนดทั่วไป (General Requirements) 1 4.2 นโยบายสิ่งแวดลอม (Environmental Policy) 1 4.3.1 ลักษณะปญหาสิ่งแวดลอม (Env Aspects) 3 4.3.2 กฎหมายและขอกําหนดอื่น ๆ 1 (Legislation & Other Requirements) 4.3.3 วัตถุประสงคและเปาหมาย 3 (Objectives & Targets)
ISO 14001 Standard Requirements (3) ขอกําหนดที่ ขอกําหนด จํานวนตอง 4.4.4 เอกสารระบบการจัดการสิ่งแวดลอม 1(Environmental Management System Documentation) 4.4.5 การควบคุมเอกสาร (Document Control) 3 4.4.6 การควบคุมการปฏิบัติการ (Operational Control) 2 4.4.7 การเตรียมพรอมและการตอบสนองในภาวะฉุกเฉิน 3 (Emergency Preparedness & Response) 4.5.1 การเฝาติดตามและการตรวจวัด 5
ISO 14001 Standard Requirements (2) ขอกําหนดที่ ขอกําหนด จํานวนตอง 4.3.4 การจัดการโครงการสิ่งแวดลอม 3 (Environmental Management Programme) 4.4.1 โครงสรางและความรับผิดชอบ 4 (Structure & Responsibility) 4.4.2 การฝกอบรม จิตสํานึก และความสามารถ 4 (Training, Awareness & Competence) 4.4.3 การสื่อสาร (Communication) 2
ISO 14001 Standard Requirements (3) ขอกําหนดที่ ขอกําหนด จํานวนตอง 4.5.2 ขอบกพรองและการปฏิบัติการแกไขและปองกัน 3 (Non-conformance & Corrective Action, & Preventive Action) 4.5.3 บันทึก (Records) 6 4.5.4 การตรวจติดตามสิ่งแวดลอม 3 (Environmental Management Audit) 4.6 การทบทวนของฝายบริหาร 4 (Management Review)
5
4.2 Environmental Policy
a) Appropriate to the Nature, Scale and Environmental Impacts of its activities, products or services; b) Continual Improvement & Prevention of Pollution; c) Comply with relevant environmental legislation & regulations, and with other requirements d) Reviewing Environmental Objectives & Targets; e) Documented, Implemented & Maintained, Communicated to all Employees; f) Available to PUBLIC
การวิเคราะหนโยบายสิ่งแวดลอม • Gap Analysis • Audit Checklist • ความสัมพันธของขอกําหนดตาง ๆ ใน นโยบายสิ่งแวดลอม
ทางเลือกเพื่อลดผลกระทบตอสิ่งแวดลอม Pollution Sources • Water • Soil • Air
• • • • •
Elimination Reduction Recycle Treatment Disposal
Environmental Aspects ลักษณะปญหาสิ่งแวดลอม • สวนของกิจกรรม กระบวนการขององคกร ที่กอใหเกิด ผลกระทบตอสิ่งแวดลอม (ผลดี + ผลเสีย)
• Significant Environmental Aspects (มีนัยสําคัญ) • Significant Environmental Impacts (มีนัยสําคัญ) • Impacts on Ecology, on Natural Resources, on Pollution Environmental Aspects เหตุ (Cause)
Environmental Impacts ผล (Effects)
6
ลักษณะปญหาสิ่งแวดลอม • คนหาประเด็นปญหาที่เกิดขึ้น / แหลงที่มาของสารมลพิษ / ผลกระทบตอสิ่งแวดลอม • ขั้นตอนการบงชี้ลักษณะปญหา – เลือกกิจกรรมหรือกระบวนการที่ตองการบงชี้ – บงชี้ลักษณะปญหาสิ่งแวดลอมที่เปนไปไดทั้งหมดของกิจกรรม หรือกระบวนการ – บงชี้ผลกระทบตอสิ่งแวดลอมที่เกิดขึ้น ซึ่งเกีย่ วเนื่องกับลักษณะ ปญหาสิ่งแวดลอม – ประเมินระดับความรุนแรงและนัยสําคัญของผลกระทบ
S2
S3
S4
Significant Level
F2 F3
Insignificant Level
F4
•Significant Level
• ขนาดของผลกระทบ (Scale)
– เล็กนอยมาก(1) - มากพอสมควร(2) - ขั้นอันตราย(3) - ขัน้ หายนะ(4)
• ความรุนแรงของผลกระทบ (Severity) - S – เล็กนอยมาก(S1) – ขั้นอันตราย(S3)
- มากพอสมควร(S2) - ขั้นหายนะ(S4)
• โอกาสของการเกิดผลกระทบ (Probability of Occurrence) • Frequency, F – นาน ๆ ครั้ง แตเปนไปได (F1) - เกิดเปนครั้งคราว บางครั้ง (F2) – เคยเกิดแลวหลายครั้ง (F3) - เกิดบอย ๆ เกิดซ้าํ ๆ (F4)
FMEA = Failure Mode and Effect Analysis Risk Priority Number (RPN)
Significant Level Severity S1 Frequency F1
การกําหนดเกณฑสําหรับบอกนัยสําคัญ (Significant Level)
- Low, Medium, High (L, M, H)
•ความรุนแรง (S) 5 ระดับ (1 - 5 รุนแรงทีส่ ุด) •โอกาสเกิด (O) 5 ระดับ (1 - 5 พบมาก, บอยที่สุด) •ความสามารถของมาตรการในการตรวจพบ (D) 5 ระดับ (1 - 5) •RPN = S x O x D (total 125) •คา RPN สูง มีความเสียหาย, มีผลกระทบตอ สิ่งแวดลอมสูง •ความสําคัญ (นัยสําคัญ) Low (L) = 1 - 17, •Medium (M) = 18 - 47, High (H) = 48 - 125
7
ลักษณะปญหาสิ่งแวดลอมและ ผลกระทบตอสิ่งแวดลอม
การกําหนดความสามารถในการตรวจพบจากการควบคุม (D) – 1 = ชวยตรวจพบผลกระทบที่เกิดขึ้นไดกอนเสมอ เชื่อถือ ไดสูง มีความแนนอนมาก มีโอกาสนอยมากที่จะพลาด – 2 = ชวยตรวจพบผลกระทบที่จะเกิดมีโอกาสที่จะพลาดนอย กวา 1 ใน 4 ครั้ง – 3 = มีประสิทธิภาพในตรวจพบผลกระทบที่กําลังจะเกิด โอกาสพลาดมากกวา 1 ใน 2 ครั้ง – 4 = ไมมีประสิทธิภาพในการตรวจพบผลที่กําลังจะเกิด โอกาสที่จะพลาด 3 ใน 4 ครั้ง – 5 = มาตรการที่ใชไมไดผลเลย หรือไมมีมาตรการควบคุมแต อยางใด
กฎหมายและขอกําหนดอื่น ๆ Legal & Other Requirements • ขอกําหนดดานกฎหมายตางๆ ที่เกี่ยวของกับดานสิ่งแวดลอม – รัฐธรรมนูญ พระราชบัญญัติ (พ.ร.บ.) กฎกระทรวง – ประกาศตาง ๆ เทศบัญญัติ • • • • •
พ.ร.บ.โรงงาน 2535 กฎกระทรวงอุตสาหรรม ฉ. 2 (2535) มาตรา 6, 8 กฎกระทรวงอุตสาหรรม ฉ. 2 (2535) มาตรา 6, 12, 15, 21 & 22 ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉ.2 (2539) พ.ร.บ. สาธารณสุข 2535
มีนัยสําคัญ • • • • • •
ไมมนี ัยสําคัญ
กําหนดวัตถุประสงคและเปาหมาย โครงการจัดการสิ่งแวดลอม ฝกอบรม จิตสํานึกและความสามารถ การสื่อสาร *การควบคุมการปฏิบัติการ เตรียมพรอมตอบสนองในภาวะฉุกเฉิน เฝาติดตามและการตรวจวัด
กฎหมายเกี่ยวกับลักษณะปญหาสิ่งแวดลอม • • • • • • •
ปญหามลพิษทางน้าํ ปญหามลพิษทางอากาศ มลพิษทางเกี่ยวกับของเสีย ปญหามลพิษดานเสียง ปญหาสารกัมมันตรังสี ปญหาสิ่งแวดลอมที่เปนวัตถุอันตราย การศึกษาและวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม
8
กฏหมายและขอบังคับที่เกี่ยวของ
คุณภาพอากาศ (Air Quality)
• พรบ. สงเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอมแหงชาติ พ.ศ. 2535 • พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 • พรบ. สงเสริมการอนุรักษพลังงาน พ.ศ. 2535 • พรบ. รักษาความสะอาด พ.ศ. 2535 • ประกาศกระทรวงมหาดไทย ที่เกีย่ วกับอาชีวอนามัย • ประกาศกระทรวง และมาตรฐานสิ่งแวดลอมตางๆ • สนธิสัญญาระหวางประเทศ
• ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2536 เรื่อง กําหนดคาปริมาณของสารเจือปนในอากาศที่ระบายออกจาก โรงงาน • กฏกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2535 หมวดที่ 4 เรื่องการ ควบคุมการปลอยของสียหรือสิ่งใดๆ ที่มีผลกระทบตอสิ่งแวดลอม • พระราชบัญญัติสงเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอม พ.ศ. 2535 หมวด 4 สวนที่ 4 เรื่อง มลพิษทางอากาศและเสียง • ประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดลอมแหงชาติ ฉบับที่ 10 พ.ศ. 2538 เรื่อง กําหนดคุณภาพอากาศโดยรอบ (Ambient Air Quality) • ประกาศกระทรวงมหาดไทย ฉบับที่ 103 พ.ศ.2515 เรื่อง ความปลอดภัยในการทํางานเกี่ยวกับสภาวะแวดลอม (สารเคมี)
มลพิษทางน้ํา (Water Pollution)
การจัดการ กากของเสีย และกากของเสียอันตราย (Waste & Hazardous Waste Management)
• ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2539 เรื่อง กําหนดคุณลักษณะของน้ําทิ้งที่ระบายออกจากโรงงาน • กฏกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2535 หมวดที่ 4 เรื่องการควบคุมการปลอยของสีย หรือสิ่งใดๆ ที่มีผลกระทบ ตอสิ่งแวดลอม • พระราชบัญญัติสงเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอม พ.ศ. 2535 หมวด 4 สวนที่ 5 เรื่อง มลพิษทางน้ํา
• ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 6 พ.ศ. 2540 เรื่อง การกําจัด สิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไมใชแลว (Hazardous Waste) • ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2541 เรื่อง การกําจัด สิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไมใชแลว (Industrial Non-Hazardous Waste) • กฏกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2535 หมวดที่ 4 เรื่องการ ควบคุมการปลอยของสีย หรือสิ่งใดๆ ที่มีผลกระทบตอสิ่งแวดลอม • พระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535
9
เสียง (Noise) • ประกาศกระทรวงมหาดไทย ฉบับที่ 103 พ.ศ.2515 เรื่อง ความ ปลอดภัยในการทํางานเกี่ยวกับสภาวะแวดลอม : เสียง • กฏกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2535 หมวดที่ 4 เรื่อง การควบคุมการปลอยของสีย หรือสิ่งใดๆ ที่มีผลกระทบตอ สิ่งแวดลอม • พระราชบัญญัติสงเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอม พ.ศ. 2535 หมวด 4 สวนที่ 4 เรื่อง มลพิษทางอากาศและเสียง • ประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดลอมแหงชาติ ฉบับที่ 15 พ.ศ. 2540 เรื่อง กําหนดคุณภาพเสียงโดยรอบ (Ambient Noise)
ขอกําหนดอื่น ๆ ที่เกี่ยวของ • ขอกําหนดวิธีปฏิบตั ิดานอุตสาหกรรม – ขอปฏิบัติของการเปนผูผลิตที่ดี (Good Manufacturing Practices, GMP) – ขอตกลงทางการคาของคูคา – ขอตกลงในฉลากเขียว (Green Label)
• ขอตกลงและความยินยอมตางๆ ขององคกร(Agreements) • ขอชี้แนะตางๆ ที่ไมเปนไปตามกฎหมาย (Non regulatory guidelines)
การควบคุมวัตถุอันตราย (Hazardous Substance Control) • พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 • กฏกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2537 หมวดที่ 4 เรื่อง หนาที่ของผูไดรับอนุญาติ • ประกาศกระทรวงมหาดไทย ฉบับที่ 103 พ.ศ.2515 เรื่อง ความปลอดภัยในการทํางาน เกี่ยวกับสารเคมีอันตราย
วัตถุประสงค & เปาหมาย - Objectives & Targets • Environmental Objectives: จุดหมาย (Goal) ดานสิ่งแวดลอมทุก อยางที่เปนผลมาจากนโยบายสิ่งแวดลอมที่องคกรไดกําหนดขึ้นเอง วาจะตองการใหบรรลุผลและเปนวัตถุประสงคที่วัดไดในทางปฏิบัติ
• Environmental Targets: ขอกําหนดดานผลการปฏิบัติงานที่ได บอกรายละเอียดไวซึ่งวัดไดในทางปฏิบัติ เปนเปาหมายมาจาก วัตถุประสงคดานสิ่งแวดลอมที่นําไปใชไดกับองคกร • ตัวอยาง O & T: – วัตถุประสงค (O) =) ลดของเสีย (ขยะ) ทีเ่ กิดจากวัสดุที่ใชในการผลิต – เปาหมาย (T) =) ลดขยะใหได 15 % ตอป หรือ – เปาหมาย (T) =) ทําการแยกชนิดขยะทีท่ ิ้งใหไดภายในสิน้ ป
10
ขอกําหนดการกําหนด O & T • เปน O & T ที่เกี่ยวของกับแตละหนาที่และระดับภายในองคกร • เปน O & T ที่วัดไดในทางปฏิบัติตามคําจํากัดความของวัตถุประสงค ดานสิ่งแวดลอม • มีการทบทวน O & T ของ องคกร • • • • • •
กฎหมายและขอกําหนดอื่น ๆ ที่เกี่ยวของ ลักษณะปญหาสิ่งแวดลอมทีม่ ีนัยสําคัญ การเงินขององคกร ขอกําหนดตาง ๆ ดานการปฏิบัติการ ขอกําหนดตาง ๆ ดานธุรกิจ มุมมองจากฝายตาง ๆ ที่เกี่ยวของ
• เปน O & T ที่สอดคลองกับนโยบายสิ่งแวดลอม
โครงการจัดการสิ่งแวดลอม Environmental Management Programme • โครงการ เปนกิจกรรมที่มีจุดเริม่ ตน และ มีจดุ สิ้นสุด ของการ นําไปปฏิบัติ ในขณะที่ระบบ เปนสิ่งที่ไมมีจุดสิ้นสุด • องคกร ตองมีหนึ่งหรือมากกวาหนึ่งโครงการ ตองพิจารณา – – – –
วัตถุประสงค & เปาหมายดานสิ่งแวดลอมที่กําหนดไว ผลกระทบตอสิ่งแวดลอมที่มนี ัยสําคัญ ขอบขายของการนําระบบการจัดการสิ่งแวดลอมไปถือปฏิบัติ ขนาดขององคกรและจํานวน
• ผูรับผิดชอบโครงการฯ กําหนดโดยคณะกรรมการดําเนินงานดาน สิ่งแวดลอม
แนวทางในการกําหนด O & T • SMART – Specific มีความเฉพาะเจาะจง - Measurable สามารถวัดได – Agree-to เห็นชอบดวย - Reasonable มีเหตุผล – Time-bound มีขอบเขตของเวลา • วงลอ PDCA -
» Plan การวางแผน » Do การปฏิบัติ » Check การตรวจสอบ » Act การปฏิบัติการแกไข
ตัวอยางโครงการจัดการสิ่งแวดลอม • ชื่อโครงการ * วัตถุประสงค • เปาหมาย * คาใชจาย / งบประมาณ • แผนปฏิบัติการ (Action Plans) บอกกิจกรรมที่จําทําตามลําดับ มีผูรับผิดชอบในแตละกิจกรรม มีระยะเวลา ที่ชัดเจน (วันที่เริ่มตน & วันที่คาดวาจะเสร็จ) • สถานของแตละกิจกรรม (เชน เสร็จตามแผน หรือลาชา) • ชื่อผูที่จัดทํา และ อนุมตั ิโครงการ รวมถึงครัง้ ที่ของการแกไข โครงการ
11
โครงสรางและความรับผิดชอบ • เพื่อใหมั่นใจวามีการนําระบบ EMS ไปปฏิบัติและรักษาไวตาม มาตรฐาน ISO & รายงานผลการปฏิบัติงาน EMS ตอผูบริหาร • ความสําคัญของผูบริหารระดับสูง – Constancy of Purpose – Commitment to Change – Ensuring Capability
• ควรมี คณะกรรมการดําเนินงานดานสิ่งแวดลอม Environmental Steering Committee • ตัวแทนฝายบริหารดานสิ่งแวดลอม - Environmental Management Representative (EMR) • กําหนดบทบาทหนาที่ ความรับผิดชอบทุกหนวยงานในองคกร
การฝกอบรม จิตสํานึก และความสามารถ • การฝกอบรมความรู ความเขาในเกี่ยวกับ EMS & ISO 14001 ใหพนักงาน • การสรางจิตสํานึกดานสิ่งแวดลอม – – – – –
นโยบายสิ่งแวดลอม งานที่รับผิดชอบ การปฏิบัติงาน ผลกระทบตอสิ่งแวดลอมทีม่ ีนัยสําคัญ (โดยเฉพาะงานที่ทําอยู) ประโยชนที่สิ่งแวดลอมจะไดรับจากผลการปฏิบัติงานของบุคลากร บทบาท หนาที่ และความรับผิดชอบของพนักงานในการดําเนินงานตาม EMS ผลดี ผลราย ของการฝาฝนวิธีปฏิบัติที่กําหนดไว
• ควรพัฒนาหลักสูตรฝกอบรมเพื่อสรางจิตสํานึกใหกับบุคลากรในองคกร • ระบบการฝกอบรม – Knowledge ความรู - Awareness Training จิตสํานึก – Competency-based Training ความสามารถ
Environmental Management Representative - EMR • บทบาทของ EMR – ผลักดันระบบการจัดการสิง่ แวดลอม – รายงานผลการปฏิบัติงานของระบบ EMS
• ความรับผิดชอบและอํานาจของ EMR – นําขอกําหนดตางๆ ใน EMS ไปปฏิบัติ คงรักษาไวใหสอดคลองกับมาตรฐาน – รายงานผลการดําเนินงานแกผูบริหารระดับสูง เพื่อทบทวนและเปนพื้นฐานใน การปรับปรุงระบบ EMS
• คุณสมบัติของ EMR – มีความมุงมั่น ทํางานเปนทีม และ มีการสื่อสาร การผลักดัน – การวางแผน & ดําเนินการ ความรูในระบบ การบริหารโครงการ สราง แรงจูงใจ นาเลื่อมใน
การฝกอบรม จิตสํานึก และความสามารถ • หลักสูตรของการฝกอบรม – – – – – –
ระบบการจัดการสิ่งแวดลอม ISO 14001 การอนุรักษพลังงาน ความปลอดภัยในการทํางานกับสารเคมี การควบคุมการปฏิบัติการระบบทําไอรอน กฎหมายสิ่งแวดลอม การจัดการขยะอันตราย
12
การสื่อสาร - Communication • การสื่อสารภายในระหวางระดับและผูมีหนาที่ตาง ๆ ขององคกร – Monitoring – Audits – Management Review
• การสื่อสารภายนอก ผูบริหารระดับสูงหรือตัวแทนสื่อสารกับ บุคคลภายนอก – ขอรองเรียนและคําแนะนําตาง ๆ – ลักษะปญหาสิ่งแวดลอมที่มีนัยสําคัญขององคกร – ระบบ EMS ขององคกร
การควบคุมเอกสาร - Document Control • การควบคุมเอกสารตองทันสมัยเสมอ (Update) – เอกสารควบคุม + เอกสารไมควบคุม
• การทบทวน (Revision) • การอนุมัติเอกสาร (ขั้นอยูกับระดับของเอกสาร) • การแจกจายเอกสารตองเปนระบบ + – การกําหนดรหัสเอกสารขึ้นอยูกับองคกร • X - YY - ZZZ • X =) ระดับของเอกสาร เชน M, P, WI • YY =) หนวยงาน เชน PD, QA, EN, MK • ZZZ =) Running Number 001 - 999
เอกสารของระบบการจัดการสิ่งแวดลอม • • • •
Recorded Information คูมือระบบการจัดการสิ่งแวดลอม (Manual, M) วิธีปฏิบัติ (Procedure, P) ขั้นตอนการปฏิบัติการ (Work Instructions, WIs) คูมือ
ระดับที่ 1
วิธีปฏิบัติ + WIs
ระดับที่ 2
เอกสารกํากับการทํางาน บันทึก
ระดับที่ 3 ระดับที่ 4
การควบคุมการปฏิบัติการ • การปฏิบัติการ - Operation – การปฏิบัติตามหนาที่ ของหนวยงานตาง ๆ ที่เกี่ยวเนื่องกับลักษณะ ปญหาสิ่งแวดลอมที่มีนัยสําคัญ เชน การผลิต การจัดซื้อ การ ขนสง การบํารุงรักษา การวิจัยและพัฒนา
• กิจกรรม - Activities (ที่เกี่ยวเนื่องกับลักษณะปญหาสิ่งแวดลอม) – กิจกรรมที่เปนการปองกันมลพิษและการอนุรักษพลังงาน – กิจกรรมที่เปนการจัดการประจําวัน – กิจกรรมที่เปนการบริหารเชิงกลยุทธเพื่อรองรับและสนองตอ ขอกําหนดของมาตรฐาน
• กิจกรรมตางๆ ตองมี ขั้นตอนการปฎิบัติงาน Work Instruction
13
การเตรียมพรอมและตอบสนองในภาวะฉุกเฉิน • ภาวะฉุกเฉิน Emergency – ตองบงชี้อุบัติเหตุ + ภาวะฉุกเฉิน (ใช RMEA, Failure Mode & Effects Analysis)
– เกิดจากความบกพรอง เชน การหก อุบัตเิ หตุ การบาดเจ็บ ไฟ ไหม การขัดของ – เกิดจากธรรมชาติ เชน แผนดินไหว น้ําทวม ไฟไหม
• การตอบสนองภาวะฉุกเฉิน – คณะกรรมการตอบสนองภาวะฉุกเฉิน (เจาหนาที่ความ ปลอดภัยขององคกร, จป.) – มีขั้นตอนในการเตรียมความพรอมและตอบสนองภาวะฉุกเฉิน
ขอบกพรองและการปฏิบัติการแกไขและปองกัน • ขอบกพรอง Non-Conformance – Major Non-Conformance – Minor Non-Conformance
• แหลงที่มาของขอบกพรอง – – – – – –
การตรวจติดตาม การสื่อสาร การทบทวนของฝายบริหาร การเฝาติดตามและการตรวจวัด การรองเรียนของบุคคลภายนอก ขอบกพรองที่เกิดขึ้นซ้ํา ๆ
การเฝาติดตามและการตรวจวัด • ติดตาม และ ตรวจวัดการดําเนินงานใหเปนจริง – เปรียบเทียบวัตถุประสงค & เปาหมายดานสิ่งแวดลอม – ประเมินผลการปฏิบัติงานตามกฎหมายสิ่งแวดลอม – นําผลของการเฝาติดตามและการตรวจวัด ไปปรับปรุงแกไข
• การกําหนดแผนการเฝาติดตามและการตรวจวัด – – – –
ตรวจวัดจากเอกสาร & จากการปฏิบัติงานจริง จากการสัมภาษณ จากบันทึกของเอกสาร EMS จากการทบทวนผลการดําเนินงาน EMS
ขอบกพรองและการปฏิบัติการแกไขและปองกัน • วิธีปฏิบัติสําหรับการปฏิบัติการแกไขและปองกัน – ใชวงลอ PDCA จัดการกับขอบกพรองที่ตรวจพบ – ออก CAR - Corrective Action Record ใหกับหนวยงานที่ทํางาน แลวเกิดขอผิดพลาดจากขอปฏิบัติ / ขอกําหนด – ปฏิบัติการแกไขและปองกันไมใหเกิดขึ้นอีก – บันทึกผลการปฏิบัติการแกไข
• CAR -) – จากการตรวจติดตาม + จากการพบเห็นโดย EMR & คณะกรรมการ สิ่งแวดลอม – ออกแบบฟอรม CAR (สืบหาสาเหตุ / ตนเหตุของปญหา)
14
บันทึก - Record • บันทึกทุกกิจกรรมที่ทําเกี่ยวกับระบบ EMS ในระบบเอกสาร – – – – – – – – –
ขาวสารตาง ๆ ที่เกี่ยวกับ EMS ในองคกร การทบทวน O & T โครงการการจัดการสิ่งแวดลอม รายงานการปฏบัติงานของ EMR บันทึกการฝกอบรม บันทึกการสื่อสารภายใน + ภายนอกองคกร หลักฐานการเฝาติดตามและการตรวจวัด บันทึกขอบกพรอง CAR และบันทึกผลการเปลี่ยนแปลง ผลการทบทวนของฝายบริหาร
การตรวจติดตามระบบ EMS • การตรวจประเมิน Assessment – การประเมินเพื่อการรับรองกิจกรรมหรือการรับรองระบบที่ออกแบบ เพื่อใหเปนไปตามเกณฑที่กําหนดไว
• การประเมิน Audit – การตรวจพิสูจนเพื่อหาคาการเปนไปตามเกณฑที่กําหนด
• การตรวจติดตามผล Surveilance – กิจกรรมการตรวจติดตามอยางเปน ระยะ ๆ เพื่อใหมั่นใจวาการทํางาน เปนไปตามระบบ
• การตรวจประเมินใหม Reassessment – การตรวจประเมินอีกครัง้ หลังจากครบวงรอบการตรวจประเมิน
การทบทวนของฝายบริหาร • สรุปผลการดําเนินงานดาน EMS ของ EMR ใหกับผูบริหาร ระดับสูงขององคกร • สรุปผล – – – – –
การทบทวนวัตถุประสงคและเปาหมาย การทบทวนผลการดําเนินงานดาน EMS การตรวจติดตาม ขอบกพรองจากการติดตาม ประเมินความเหมาะสม ความเพียงพอและประสิทธิผลของระบบ EMS
• นําผลของการทบทวนของฝายบริหารไปปรับปรุงระบบ EMS • มุงมั่นไปสูการพัฒนาอยางตอเนื่อง - Continual Improvement
15