iso2008-1

Page 1

{ NPC - S and E :: Professional in safety }

Page 1 of 2

คนกฎหมาย

Search

กก ISO 9001:2008

ประสงค ประยงคเพชร ผูอํานวยการกลุมรับรองหนวยรับรอง 2 หรือนักวิชาการมาตรฐาน 8 สํานักงานคณะกรรมการแหงชาติวาดวยการรับรองระบบงาน (สรบ.) prasong@tisi.go.th มาตรฐาน ISO 9001 เปนมาตรฐานขอกําหนดระบบการบริหารงานคุณภาพ (Quality Management System: QMS) ที่องคกรตางๆ สามารถนําไปใชเปนกรอบในการควบคุมกระบวนการตางๆ ของการดําเนินงาน เพื่อใหสามารถบรรลุวัตถุประสงค/เปาหมายที่ตองการ รวมทั้งสรางความพึงพอใจใหกับลูกคา มีการปฏิบัติไดสอด คลองกับขอกฎหมายและระเบียบขอกําหนดที่เกี่ยวของ และมีการปรับปรุงอยางตอเนื่อง โดยองคกรที่มีการนํา ระบบ QMS ไปใชแลว หากตองการสรางความเชื่อมั่นใหกับผูที่เกี่ยวของ (หุนสวนธุรกิจ ลูกคา หนวยราชการ) ที่ ซื้อสินคาและการบริการ ก็สามารถไปขอรับการรับรองระบบบริหารงานคุณภาพวาเปนไปตามมาตรฐาน ISO 9001 จากหนวยรับรอง (Certification body) ได ถึงแมวาการขอรับการรับรองจะไมใชขอบังคับ แตจากขอมูลที่รวบรวม พบวามีการออกใบรับรอง ISO 9001 แลวมากกวาหนึ่งลานฉบับใหแกองคกรทั้งที่เปนภาคเอกชน ภาครัฐ ใน สาขาการผลิต และ การบริการ ในกวา 170 ประเทศทั่วโลก ตามกฎของ ISO กําหนดไววา มาตรฐานที่ไดมีการจัดทําและประกาศใชแลวตองมีการทบทวนอยางสม่ํา เสมอตามชวงเวลาที่กําหนด เพื่อพิจารณาวามาตรฐานนั้นสมควรที่จะไดรับการปรับปรุงแกไข การคงไว หรือการ ยกเลิกตอไป ซึ่งจากการพิจารณามีการสรุปวาใหมีการปรับปรุงโดยที่จุดประสงคของการปรับปรุงมาตรฐานใหเปน ISO 9001:2008 ในครั้งนี้ ไมไดตองการใหมีการเพิ่มขอกําหนด หรือเปลี่ยนแปลงความตั้งใจที่มีอยูเดิมใน ISO 9001:2000 แตอยางใด กอนหนานี้ ISO ไดเวียนรางมาตรฐาน DIS 9001 ใหประเทศสมาชิกเพื่อขอขอคิดเห็นกอนนําเสนอขอ อนุมัติความเห็นชอบจากคณะกรรมการวิชาการ ISO/TC 176, Quality management and quality assurance ในการประชุมประจําปที่มีการจัดประชุม ณ เมือง Navi Sad ประเทศ Serbia ระหวางวันที่ 19-23 พฤษภาคม 2551 ที่ผานมา โดยเจาภาพการประชุมครั้งนี้ คือ Serbian national standards body, ISS ซึ่งที่ประชุมมีมติ อนุมัติใหความเห็นชอบ ซึ่งจะไดประกาศเปนมาตรฐาน FDIS 9001 กอนที่จะมีการเวียนประเทศสมาชิก ISO เพื่อ ขอความคิดเห็นอีกครั้งในเดือนกรกฎาคมนี้ และประเทศสมาชิกตองลงมติ (vote) ใหความเห็นชอบกอนที่จะ ประกาศใชเปน ISO 9001:2008 ตามขั้นตอนที่กําหนดตอไป หาก เปรียบเทียบมาตรฐาน ISO 9001:2008 กับ ISO 9001:2000 จะพบวาฉบับที่จะประกาศ ใหมเปนแตเพียงการปรับปรุงเพื่อใหเกิดความชัดเจน (Fine-tuning) เทานั้น ไมใชเปนการปรับยกเครื่องเหมือนที่ ผานมา กลาวคือ การปรับแกไขรายละเอียดขอกําหนดใน ISO 9001:2000 เพื่อใหมีความชัดเจนยิ่งขึ้น โดยนํา ความคิดเห็น รวมทั้งผล หรือ ประสบการณที่ไดมีการประกาศใชมาตรฐาน ISO 9001:2000 ไปแลว 8 ป นอก จากนี้จุดประสงคของการปรับแกก็เพื่อตองการใหเกิดความสอดคลอง (Compatibility) กับมาตรฐานระบบการ จัดการสิ่งแวดลอม ISO 14001:2004 ที่มีการประกาศแกไขแลวกอนหนานี้ นอกจากนี้ ISO มีความตั้งใจตอการ ปรับปรุงมาตรฐาน ISO 9001:2008 ครั้งนี้วาไมตองการใหมีการตรวจประเมินใหม (Re-assessment audit) กับ องคกรที่ไดรับการรับรองแลวเหลานี้ ซึ่งจะเปนภาระตอองคกรที่ไดรับการรับรอง ISO 9001:2008 ที่คาดวาจะประกาศใชในเดือนตุลาคม-พฤศจิกายน 2551 นี้ จัดวาเปนมาตรฐาน ISO 9001 ที่ประกาศใชเปนฉบับที่ 4 (4Th edition) โดยการประกาศใชครั้งแรกมีขึ้นมาเมื่อป คศ. 1987 ในการปรับ ปรุงทุกครั้งจะมีการนําผลตอบกลับ (Feedback) จากผูที่เกี่ยวของซึ่งไดนํามาตรฐานนี้ไปใช มาพิจารณา ซึ่งใน การประกาศใชฉบับที่ 3 คือ ISO 9001:2000 ถือวาเปนการเปลี่ยนรูปแบบของขอกําหนดของมาตรฐานแบบยก เครื่อง โดยมีการนําเอาหลักการของการบริหารงานดานคุณภาพ (Quality management principles: QMP) ซึ่ง เปนรูปแบบของการบริหารงานมาใชเปนแนวทางในการกําหนดมาตรฐาน หลังจากนี้แลว ISO คงมีการจัดทํารายละเอียดขอมูลและขอแนะนําถึงความแตกตางและการเปลี่ยน แปลงที่เกิดขึ้น เพื่อเปน ประโยชน ตอการสรางความเขาใจ และองค กรที่ไดรั บการรับ รองแลวตองมี การติดตาม ขอมูลจากหนวยรับรองถึงแนวทางการดําเนินการเพื่อการปรับเปลี่ยนจาก ISO 9001:2000 เปน ISO 9001:2008 ซี่งในประเด็นนี้ องคการระหวางประเทศวาดวยการรับรองระบบงาน (International accreditation forum: IAF) ซึ่ง สํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม โดยสํานักงานคณะกรรมการแหงชาติวาดวยการรับรองระบบงาน (NAC) เปนสมาชิกอยูไดมีการพิจารณากรอบของการเปลี่ยนแปลงมาตรฐาน (Transition period) ไวรวมระยะ เวลา 3 ป โดยคาดหวังวาไมตองการสรางภาระใหกับองคกรที่ไดรับการรับรองอยูแลวมีผลกระทบนอยที่สุด ทานสามารถสอบถามขอมูลไดที่ สํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม www.tisi.go.th ประสงค ประยงเพชร ที่มา : www.npc-se.co.th : 26/มิ.ย./2551

http://www.npc-se.co.th/read/m_read_detail.asp?read_id=518&cate_id=3

09/10/2008


{ NPC - S and E :: Professional in safety }

Page 2 of 2

ระเบิด พลังสมองสรางองคกร 'คิดสรางสรรค' จะเกิดอะไรขึ้น…ถาในองคกรไมมี “COACH” บอกกลาวเลาความ ISO 9001:2008 กลับมาเยือนองคกร แหงการเรียนรูอีกครั้ง (จบ) ทําใหลูกคากลับมาหาเราตลอดไป เคล็ดลับของการประชุมที่ดี...ตองเตรียมแผนการประชุมอยางไร กลับมาเยือนองคกร แหงการเรียนรู อีกครั้ง (1)

http://www.npc-se.co.th/read/m_read_detail.asp?read_id=518&cate_id=3

09/10/2008


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.