IT-0400121_ch09

Page 1

บทที่ 9 ขอมูลและสารสนเทศ

Information is POWER

Alvin Toffler - The Third Wave ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับคอมพิวเตอรและเทคโนโลยีสารสนเทศ

เทคโนโลยีสารสนเทศ

เทคโนโลยี + สารสนเทศ = เทคโนโลยีสารสนเทศ คือ การประยุกตเอาความรูทางดานวิทยาศาสตรมาจัดการสารสนเทศ ที่ตองการ อาศัยเครื่องมือทางเทคโนโลยีใหมๆ เชน เทคโนโลยีดานคอมพิวเตอร เทคโนโลยีดานเครือขายโทรคมนาคมและการสื่อสาร ตลอดจนความรู ในกระบวนการดําเนินงานสารสนเทศในขั้นตอนตางๆ

ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับคอมพิวเตอรและเทคโนโลยีสารสนเทศ

ระบบสารสนเทศ

ระบบที่อาศัยเทคโนโลยีคอมพิวเตอรเขามาจัดการขอมูลในองคกร เพื่อใหบรรลุเปาหมายที่ตองการอยางมีประสิทธิภาพ เกี่ยวของกับกลุมผูใชในองคกรหลายระดับ ตั้งแตสูงสุดจนถึงลางสุด

ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับคอมพิวเตอรและเทคโนโลยีสารสนเทศ

1


ระดับของผูใชระบบสารสนเทศ ประธานบริษัท กรรมการผูจดั การ กรรมการบริหาร ผูจดั การทั่วไป ผูจดั การฝายขาย ผูจดั การฝายบัญชี ผูจดั การฝายผลิต

หัวหนางาน ผูควบคุมงาน พนักงานทั่วไป

ระดับสูง (Top Level Management) ระดับกลาง (Middle Level Management)

ระดับปฏิบัติการ (Operational Level Management)

ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับคอมพิวเตอรและเทคโนโลยีสารสนเทศ

ระดับสูง (Top Level Management)

เกี่ยวของกับผูบริหารระดับสูงที่กําหนดและวางแผนกลยุทธของ องคกร ระบบสารสนเทศจะถูกออกแบบมาใหงายและสะดวกตอการใชงาน อาจมีกราฟกบางในการนําเสนอ ตอบสนองตอการตัดสินใจที่รวดเร็วและทันทวงที

ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับคอมพิวเตอรและเทคโนโลยีสารสนเทศ

ระดับกลาง (Middle Level Management)

เกี่ยวของกับผูใชงานระดับการบริหารและจัดการองคกร ระบบสารสนเทศที่ใชมักไดมาจากแหลงขอมูลภายใน มีการจัดอันดับทางเลือกแบบตางๆไวหรือใชคาสถิติ ชวยพยากรณ

ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับคอมพิวเตอรและเทคโนโลยีสารสนเทศ

2


ระดับปฏิบัตกิ าร (Operational Level Management)

เกี่ยวของกับผูใชงานระดับการผลิตและปฎิบัติงานขององคกร ขอมูลหรือสารสนเทศในระดับนี้ จะถูกนําไปใชประมวลผล ในระดับอื่นตอไป บุคลากรที่เกี่ยวของจะอยูในระดับหัวหนางาน ผูควบคุมงาน และพนักงานปฏิบัติการประจําวัน

ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับคอมพิวเตอรและเทคโนโลยีสารสนเทศ

ประเภทของระบบสารสนเทศ ระบบประมวลผลรายการประจําวัน (Transaction Processing Systems : TPS)

ระบบที่เกิดขึ้นเปนประจําคงที่ เชน รายการฝากถอนเงิน รายการคําสั่งซื้อ มักเปนระบบที่พบเห็นในระดับการจัดการขั้นปฏิบัติการ

ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับคอมพิวเตอรและเทคโนโลยีสารสนเทศ

ประเภทของระบบสารสนเทศ

ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ (Decision Support Systems : DSS)

นํามาใชในการชวยตัดสินใจในระดับของการจัดการขั้นกลาง (Middle Management) และขั้นสูง (Top Management) ชวยวิเคราะหและตัดสินใจงายขึ้น ตอบสนองอยางทันทวงที มีความยืดหยุน

ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับคอมพิวเตอรและเทคโนโลยีสารสนเทศ

3


ประเภทของระบบสารสนเทศ

ระบบสารสนเทศเพื่อผูบริหาร (Executive Information Systems : EIS)

ระบบชวยตัดสินใจรูปแบบหนึ่ง ใชกับผูบริหารระดับสูงโดยเฉพาะ สําหรับตรวจสอบ ควบคุมหรือดูแนวโนมขององคกรในภาพราม ขอมูลมาจากทั้งภายในและภายนอก สารสนเทศที่ไดจะถูกกรองมาจากระดับปฏิบัติการและระดับกลางมาบางแลว

ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับคอมพิวเตอรและเทคโนโลยีสารสนเทศ

ประเภทของระบบสารสนเทศ

ระบบผูเชี่ยวชาญ (Expert Systems)

อาศัยฐานความรูมาประยุกตใชในการวินิจฉัยหรือสั่งการ เก็บความรูและประสบการณของผูเชี่ยวชาญรวบรวมไว หากตองการก็จะดึงเอาฐานความรูนั้นมาหาขอสรุปและชวยในการตัดสินใจ ทําใหลดปญหาการขาดแคลนบุคลากรผูเชี่ยวชาญลงได

ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับคอมพิวเตอรและเทคโนโลยีสารสนเทศ

ประเภทของระบบสารสนเทศ

ระบบสํานักงานอัตโนมัติ (Office Automation Systems : OAS)

นํามาใชในสํานักงานเพื่อเอื้อประโยชนใหการทํางานมีประสิทธิภาพมากขึ้น อาจใชอุปกรณสํานักงานทั่วไปหรือเครือขายการสื่อสารขั้นสูงชวย ปจจุบันมีทั้งฮารดแวรและซอฟตแวรที่นํามาใชกับระบบนี้กันมากขึ้น

ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับคอมพิวเตอรและเทคโนโลยีสารสนเทศ

4


ประเภทของระบบสารสนเทศ ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ (Management Information Systems : MIS)

ไดจากการประมวลผลของระบบ TPS เกี่ยวของกับการนําไปใชวางแผน และควบคุมงานขององคกรแทบทุก ระดับชั้น สามารถคํานวณและเปรียบเทียบการประมวลผลรวมถึงการออกรายงานได

ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับคอมพิวเตอรและเทคโนโลยีสารสนเทศ

พัฒนาการของเทคโนโลยีสารสนเทศ

การรวมตัวกันของเทคโนโลยี (Convergence)

เทคโนโลยีสารสนเทศเปนการรวมตัวกันของเทคโนโลยีทางดาน คอมพิวเตอร การสื่อสาร รวมถึงระบบเทคโนโลยีอื่นๆ สามารถรับและสงสัญญาณไดในปริมาณที่สูง เชน ขอมูลในรูปแบบสื่อผสม การเผยแพรขอมูลทําไดทั่วถึงกันมากขึ้น โดยเฉพาะในยุคไรพรมแดน

ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับคอมพิวเตอรและเทคโนโลยีสารสนเทศ

พัฒนาการของเทคโนโลยีสารสนเทศ

ตนทุนที่ถูกลง (Cost reduction)

เทคโนโลยีสารสนเทศทําใหราคาของการใชและการเปนเจาของอุปกรณ เทคโนโลยีสารสนเทศถูกลงเปนอยางมาก ทั้งอัตราคาบริการสื่อสารโทรคมนาคม และราคาของเครื่องคอมพิวเตอร เปนไปตามกลไกราคาของตลาด เมื่อมีผูบริโภคมากขึ้น ราคายอมมีแนวโนม ที่ถูกลง

ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับคอมพิวเตอรและเทคโนโลยีสารสนเทศ

5


พัฒนาการของเทคโนโลยีสารสนเทศ

การพัฒนาอุปกรณที่เล็กลง (Miniaturization)

วิวัฒนาการของไมโครชิปทําใหการใชงานดีขึ้น อุปกรณเทคโนโลยีสารสนเทศหลักหลายประเภทไดรับการพัฒนา ใหมีขนาดเล็กลงกวาแตเดิมมาก เชน เครื่องคอมพิวเตอร โทรศัพทมือถือ

ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับคอมพิวเตอรและเทคโนโลยีสารสนเทศ

พัฒนาการของเทคโนโลยีสารสนเทศ

การประมวลผลที่ดีขึ้น (Processing Power)

เทคโนโลยีสารสนเทศมีแนวโนมของการประมวลผลงานที่ดีขึ้น หนวยประมวลผลกลางมีการประมวลผลเร็วขึ้นมากกวาเดิม การสรางโปรแกรมเพื่อตอบสนองการทํางานของผูใช ที่มีประสิทธิภาพและดีมากขึ้นดวย

ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับคอมพิวเตอรและเทคโนโลยีสารสนเทศ

พัฒนาการของเทคโนโลยีสารสนเทศ

การใชงานที่งาย (User Friendliness)

การพัฒนาโปรแกรมในปจจุบัน มีการออกแบบสวนประสานงานกับผูใช ใหงายและดียิ่งขึ้น มุงเนนใหเปน user-friendly มีการนํารูปแบบของ GUI มาใชมาก

ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับคอมพิวเตอรและเทคโนโลยีสารสนเทศ

6


พัฒนาการของเทคโนโลยีสารสนเทศ

การเปลี่ยนจากอะตอมเปนบิต (Bits versus Atoms)

หันเหจากกิจกรรมที่ใช “อะตอม” ไปสูการใช “บิต” (binary digit : BIT) มาก ยิ่งขึ้น เชน การสงเอกสารที่เปนกระดาษผานสื่ออิเล็กทรอนิกส หรือรูปแบบที่เกิดขึ้น ในสํานักงานแบบไรกระดาษ (paperless office)

ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับคอมพิวเตอรและเทคโนโลยีสารสนเทศ

พัฒนาการของเทคโนโลยีสารสนเทศ

สื่อผสม (Multimedia)

เทคโนโลยีสารสนเทศสามารถเผยแพรสารสนเทศที่เปนแบบสื่อผสม (multimedia) ได ประกอบดวยสารสนเทศที่อยูในรูปแบบ

ตัวอักษร ภาพกราฟก เสียง ภาพนิ่ง รวมถึงภาพเคลื่อนไหวตางๆ

ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับคอมพิวเตอรและเทคโนโลยีสารสนเทศ

พัฒนาการของเทคโนโลยีสารสนเทศ

เวลาและภูมิศาสตร (Time & Distance)

มนุษยสามารถเอาชนะ เงื่อนไขดาน “เวลา” และ “ภูมิศาสตร” ไดโดย เทคโนโลยีสารสนเทศ อาทิ เชน

การประยุกตใชการประชุมแบบทางไกล (teleconference) การใชจานรับสัญญาณดาวเทียมเพื่อถายทอดสัญญาณใหกับโรงเรียนชนบทที่หางไกล (tele-education)

ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับคอมพิวเตอรและเทคโนโลยีสารสนเทศ

7


เทคโนโลยีสารสนเทศกับการพัฒนาประเทศ

ดานเศรษฐกิจ

ใชเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อเปนตัวขับเคลื่อนการดําเนินงานหลักของ ธุรกิจใหสามารถแขงขันกับคูแขงได ใชเชื่อมโยงเครือขายยอยระหวางธนาคาร นําเอาตู ATM ใหบริการลูกคาตามแหลงชุมชน ตลาดหลักทรัพยนํามาชวยดานการวิเคราะหและแนะนําการลงทุน สงรายการซื้อขายหลักทรัพยแบบ Real Time ฯลฯ ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับคอมพิวเตอรและเทคโนโลยีสารสนเทศ

ตลาดหลักทรัพย

ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับคอมพิวเตอรและเทคโนโลยีสารสนเทศ

เทคโนโลยีสารสนเทศกับการพัฒนาประเทศ

ดานสังคม

ชวยใหเกิดการเรียนรูที่สรางสรรค และทําใหสังคมอยูรวมกันอยางมีความสุข ชวยเหลือคนพิการและผูดอยโอกาสทางสังคมใหเทาเทียมกัน นํามาชวยเหลือคนตาบอดเพื่อใหสามารถอานหนังสือได เชน ระบบ DAISY (digital accessible information system) ลดชองวางระหวางสังคมได

ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับคอมพิวเตอรและเทคโนโลยีสารสนเทศ

8


โครงการเทคโนโลยีสารสนเทศตามพระราชดําริ

ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับคอมพิวเตอรและเทคโนโลยีสารสนเทศ

เทคโนโลยีสารสนเทศกับการพัฒนาประเทศ

ดานการศึกษา

ลดอุปสรรคเรื่องสถานที่ในการเรียน โดยใชการเรียนผานระบบเครือขาย สงเสริมการแลกเปลี่ยนความรูทางการศึกษา โดยใชเครือขายเฉพาะ เชน

เครือขายคอมพิวเตอรไทยสาร เครือขายคอมพิวเตอรเพื่อโรงเรียนไทย เครือขายคอมพิวเตอรกาญจนาภิเษก

ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับคอมพิวเตอรและเทคโนโลยีสารสนเทศ

เทคโนโลยีสารสนเทศกับการพัฒนาประเทศ

ดานสาธารณสุข

นําเอาเทคโนโลยีสารสนเทศมาใชกับโครงการการแพทยทางไกล (telemedicine) แพทยตนทางและปลายทางสามารถสามารถแลกเปลี่ยนขอมูลของคนไขระหวาง หนวยงานได ชวยลดปญหาการขาดแคลนบุคลการผูเชี่ยวชาญทางการแพทยในทองถิ่นธุรกันดาร ลงไปได ใชถายทอดการเรียนการสอนและแลกเปลี่ยนความรูระหวางผูเชี่ยวชาญได

ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับคอมพิวเตอรและเทคโนโลยีสารสนเทศ

9


โครงการการแพทยทางไกล (telemedicine)

ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับคอมพิวเตอรและเทคโนโลยีสารสนเทศ

เทคโนโลยีสารสนเทศกับการพัฒนาประเทศ

ดานสิ่งแวดลอมและทรัพยากรธรรมชาติ

นําเอาเทคโนโลยีที่เรียกวา GIS (Geographic Information System) เขามาจัดเก็บ และประมวลผลขอมูลทางภูมิศาสตร โดยกําหนดขอมูลดานตําแหนงที่ตั้งบนผิวโลก (ground position) ซึ่งรวบรวม จากแหลงตางๆ ทั้งขอมูลพื้นที่ แผนที่ รูปถายทางอากาศ ภาพถายทางดาวเทียม เพื่อนํามาเปนขอมูลพื้นฐานในการพัฒนาผังเมือง ประยุกตใชงานทางดาน ธรณีวิทยา การพยากรณอากาศและการควบคุมสิ่งแวดลอม

ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับคอมพิวเตอรและเทคโนโลยีสารสนเทศ

GIS เพื่อวิเคราะหและสํารวจสภาพพืน้ ที่ภูมศิ าสตร

ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับคอมพิวเตอรและเทคโนโลยีสารสนเทศ

10


นโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศของประเทศไทย

คณะกรรมการเทคโนโลยีสารสนเทศแหงชาติหรือ กทสช. (National Information Technology Committee : NITC) จัดตั้งขึ้นเมื่อป 2535 มีการเสนอแนะนโยบายและแผนพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศ NECTEC ทําหนาที่เปนสํานักงานเลขานุการ มีนโยบายถูกกําหนดออกมา 2 ฉบับดวยกันคือ IT2000 และ IT2010

ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับคอมพิวเตอรและเทคโนโลยีสารสนเทศ

นโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศฉบับลาสุดหรือ IT 2010

มุงเนนการพัฒนาประเทศไปสูเศรษฐกิจและสังคมแหงภูมิปญญา และการเรียนรู (Knowledge -based Economy/Society : KBE/KBS)

ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับคอมพิวเตอรและเทคโนโลยีสารสนเทศ

11


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.