IT-07Communication

Page 1

การสื่อสารขอมูลในระบบคอมพิวเตอร (Information&Communication Networks)

จุดประสงคการเรียนรู อธิบายความหมายของการสื่อสารได อธิบายหลักการเบื้องตน และความหมายของการสื่อสารได อธิบายหลักการของการสื่อสารขอมูลระบบคอมพิวเตอรได อธิบายรูปแบบของการสื่อสารขอมูลแบบตาง ๆ ได อธิบายองคประกอบของการสื่อสารระบบคอมพิวเตอรได อธิบายขอบขายของระบบการสื่อสารขอมูลได อธิบายหลักการและมาตรฐานของระบบอินเทอรเน็ตได

1


Outline บทนํา หลักการสื่อสารเบื้องตน หลักการและองคประกอบของการสื่อสารในระบบคอมพิวเตอร ขอบขายการสื่อสารในระบบเครือขายคอมพิวเตอร การเชื่อมตอคอมพิวเตอรในระบบเครือขาย เครือขายอินเทอรเน็ต สรุป ตัวอยางคําถาม

การสื่อสารขอมูล (Data Communication) คือ การรับ-สง โอน ยาย หรือ แลกเปลี่ยนขอมูลและสารสนเทศระหวางอุปกรณสื่อสารตาง ๆ ผานสื่อนํา ขอมูล เครือขายคอมพิวเตอร (Computer Network) คือ การนําเครื่อง คอมพิวเตอรตั้งแต 2 เครื่องขึ้นไปมาเชื่อมตอ เพื่อใชในการสื่อสารขอมูล เชื่อมตอแบบจุดตอจุด (คอมพิวเตอรสองเครื่อง) แบบกระจายระหวางจุดกับกลุม (คอมพิวเตอรเดียวกับกลุม คอมพิวเตอร) แบบกระจายระหวางกลุม (กลุมคอมพิวเตอรกับกลุมคอมพิวเตอร)

2


การเชื่อมตอสายสื่อสาร 1. Point-to-Point เปนการเชื่อมตอระหวางอุปกรณสื่อสารสองตัวเทานั้น

2. Multipoint เปนการเชื่อมตอสายสื่อสารแบบหลายจุด สําหรับการสื่อสาร ที่มีอุปกรณมากกวา 2 ตัว

3


องคประกอบของการสื่อสาร 1. 2. 3.

4. 5.

ผูสงขอมูล (Sender) คือ สิ่งที่ทําหนาที่สงขอมูลไปยังจุดหมายที่ตองการ ผูรับขอมูล (Receiver) คือ สิ่งที่ทําหนาที่รับขอมูลที่ถูกสงมาให ตัวกลางหรือชองทางการสื่อสาร (Transmission Media) คือ สิ่งที่ทําหนาที่ เปนตัวกลางในการขนถายขอมูลจากผูสงไปยังผูรับ เชน สายเคเบิ้ล อากาศ น้ํา ฯลฯ โปรโตคอล (Protocol) คือ กฎหรือวิธีที่ถูกกําหนดขึ้นเพื่อการสื่อสาร ขอมูล ซึ่งทั้งผูสงและผูรับตองตกลงกันไวกอน ขอมูล (Data) คือ สิ่งที่ผูสงตองการสงไปยังผูรับ อาจจะอยูในรูปของ ขอความ เสียง ภาพเคลื่อนไหว และอื่น ๆ

ทิศทางการสงขอมูล (Transmission Mode) การสื่อสารทางเดียว (One-way Communication หรือ Simplex) การสื่อสารสองทางแบบรับ-สงตางเวลากัน (Half Duplex หรือ Semi Duplex) การสื่อสารสองทางแบบรับ-สงในเวลาเดียวกัน (Full Duplex)

4


หลักการสือ่ สารในระบบคอมพิวเตอร ขอมูลดิจิตอล ในคอมพิวเตอร

ขอมูลอะนาล็อกหรือดิจิตอลในตัวกลาง

ขอมูลดิจิตอล ในคอมพิวเตอร

ใชคลื่นวิทยุ (ไรสาย) ใชสายนําสัญญาณ

5


ชนิดของสัญญาณขอมูล 1. Analog Signal เปนสัญญาณแบบตอเนื่อง มีลักษณะเปนคลื่นไซน (sine wave) โดยแตละคลื่นจะมีความถี่และความเขมของสัญญาณที่ ตางกัน

2. Digital Signal เปนสัญญาณแบบไมตอเนื่อง มีคาเพียง 2 คา คือ 0 และ 1

6


การสื่อสารขอมูลดวยคอมพิวเตอร Protocol

Protocol

Data Medium

Receiver

Sender

การสื่อสารขอมูลดวยโทรศัพท

โมเด็ม (MODEM) (MOdulation and DEModulation) Modulation Digital

Demodulation

Analog

7


แผนภาพแสดงการเชื่อมตอของ MODEM

ประเภทของ MODEM 1. โมเด็มภายนอก (External MODEM) เชื่อมตอกับ คอมพิวเตอรทาง Serial Port 2. โมเด็มภายใน (Internal MODEM) เปนการดที่ใชเสียบกับ แผงวงจรหลักของคอมพิวเตอร 3. โมเด็มไรสาย (Wireless MODEM) สื่อสารโดยใชคลื่น แมเหล็กไฟฟา

8


External Modem

Internal Modem

คําศัพทควรรู Hertz (Hz) : หนวยวัดความถี่ของสัญญาณขอมูลแบบ Analog โดยนับจํานวนรอบของสัญญาณที่เกิดขึ้นภายใน 1 วินาที (รอบ/ วินาที) Bit Rate : อัตราความเร็วในการสงขอมูลแบบดิจิตอล วัดจํานวน บิตขอมูลที่สงไดในชวงระยะเวลา 1 วินาที มีหนวยเปน Bit Per Second (bps) Bandwidth : ระยะความถี่ที่สามารถสงสัญญาณผานระบบสื่อสาร ระบบหนึ่ง ๆ ได

9


ลักษณะเฉพาะของขอมูลประเภทตาง ๆ ประเภทของขอมูล เสียง (Voice)

อักขระขอความและ ขอมูลคอมพิวเตอร (Text/Data) ภาพนิ่งและภาพเคลื่อนไหว (Image/Animation)

ลักษณะเฉพาะของขอมูล อัตราการรับ-สงขอมูลต่ํา ใชในงานบริการ ดานเสียง เชน เสียงตามสาย หรือ Voice Mail อัตราการรับ-สงขอมูลปานกลาง ใชในงาน บริการดานขอความ เชน e-mail อัตราการรับ-สงขอมูลสูง ใชสวนความจํา มาก ใชในงานบริการภาพ/ภาพยนตร เชน T l f i Vidid C f i

องคประกอบของการสื่อสาร ระบบคอมพิวเตอร (Computer System) ตัวกลางหรือชองทางการสื่อสาร (Transmission Media) อุปกรณการสื่อสาร (Communication Device) โปรแกรมควบคุมการสื่อสาร (Communication Software) รับหรือสงขอมูล

ระบบคอมพิวเตอร อุปกรณการสือ่ สาร

ตัวกลาง/ชองทาง การสื่อสาร

รับหรือสงขอมูล

อุปกรณการสือ่ สาร ระบบคอมพิวเตอร

10


ระบบคอมพิวเตอร (Computer System) หมายถึง ตัวเครื่อง และอุปกรณรอบขาง เชน เครื่องพิมพ, จอภาพ, แปนพิมพ, โมเด็ม คอมพิวเตอรแมขาย (Server) หรือ Host – มินิคอมพิวเตอรหรือ เมนเฟรมคอมพิวเตอร (ไมโครคอมพิวเตอร-เครือขายขนาดเล็ก) คอมพิวเตอรลูกขาย (Client) หรือ Workstation จัดกลุมตามรูปแบบการ ทํางาน เพื่อการรับ-สงและประมวลผลขอมูลคือ PC ทั่วไปทั้งแบบตั้งโตะและ พกพา ใชกับการสื่อสารแบบจุดตอจุดและแบบเครือขาย เพื่อการรับและสงขอมูล ไมจําเปนตองมีสวนประมวลผลกลาง เรียกวา เทอรมินัล (Terminal)

Client & Server Computing

11


แสดงภาพการเชื่อมโยงคอมพิวเตอรแมขา ยและลูกขาย

ตัวกลางการสื่อสาร (Communication Media) สื่อนําขอมูลแบบมีสาย (Wired Media) สื่อนําขอมูลแบบไรสาย (Wireless Media)

12


สื่อนําขอมูลแบบมีสาย (Wired Media) สายคูบิดเกลียว (twisted-pair cable : UTP,STP) สายโคแอกเชียล (coaxial cable) สายใยแกวนําแสง (optical fiber cable)

13


ตัวกลางหรือชองทางการสื่อสาร (Transmission Media) สายใยแกวนําแสง (Optical Fiber Cable)

สื่อนําขอมูลแบบไรสาย (Wireless Media) คลื่นวิทยุ (radio wave / micro wave) ดาวเทียม (satellite) อินฟราเรด(Infrared)

14


ตัวกลางหรือชองทางการสื่อสาร (Transmission Media) ตัวกลางประเภทไรสาย (Wireless) ไดแก ตัวกลางในรูปของคลื่นวิทยุ (Radio Wave และ Micro Wave) เรียกวา คลื่นพาห (Carrier) – การ สื่อสารดวยดาวเทียม, โทรศัพทมือถือ, Remote Control, Bluetooth และ Wi-Fi

ระบบไมโครเวฟ (Micro wave)

สงสัญญาณที่เปนคลื่นวิทยุความถี่สูงผานชั้นบรรยากาศ เหมาะสําหรับการ สื่อสารแบบจุดตอจุด สงขอมูลจํานวนมากจากสถานีหนึ่งไปยังสถานีปลายทาง ผานระยะทาง ไกลๆ โดยสัญญาณไมโครเวฟเดินทางเปนเสนตรงซึ่งสงไดไกลตอจุดหนึ่งๆ ประมาณ 40-48 กิโลเมตร

Microwave Satellite

15


Bluetooth บลูทูธ (Bluetooth) คือเทคโนโลยีการสื่อสารแบบไรสายความถี่สูง จะใชกับการสื่อสารในระยะใกลมาก ๆ ระหวางอุปกรณ อิเล็กทรอนิกสตาง ๆ ทําใหลดความยุงยากในการตอสายเคเบิล

Infrared(I.R.)

16


เปรียบเทียบตัวกลางประเภทไรสายและสายใยแกวนําแสง ไรสาย (คลื่นวิทยุ) สื่อสารครอบคลุมพื้นที่ไดมาก ประสิทธิภาพการสื่อสารแปรผันตามสภาพ อากาศ การสะทอนและการจางหายของคลื่น เกิด Delay Time ทําใหการแสดงขอมูลภาพ และเสียงไมสัมพันธกัน อาจถูกดักรับสัญญาณขอมูลระหวางทางได การขยายขอบเขตการสื่อสาร ใชจุดเชื่อมตอ 3 จุด ไดแก สถานีภาคพื้นดิน 2 จุด และสถานี อวกาศ 1 จุด การติดตั้งระบบดาวเทียมยุงยาก

ใชสายใยแกวนําแสง (แสง) สงสัญญาณครอบคลุมพื้นที่ไดมาก ประสิทธิภาพการสื่อสารคงที่ ไมไดรับ ผลกระทบจากสภาพอากาศ สงสัญญาณขอมูลไดดวยความเร็วสูง เนื่องจาก อาศัยแสงเปนตัวกลาง ความปลอดภัยของขอมูลมีมากกวา การขยายขอบเขตการสื่อสาร อาจใชจุดเชื่อมตอ มากกวา 3 จุด ซึ่งอาจมีปญหาในการดูแลรักษา และซอมบํารุง คาใชจายในการติดตั้งระบบนอยกวา

อุปกรณการสื่อสาร (Communication Media) ระบบคอมพิวเตอร (Computer System)

อุปกรณการสื่อสาร (Communication System)

จุดเชื่อมตออุปกรณการสื่อสาร (Communication, I/O Port)

สวนนําขอมูลเขา (Input Unit)

ศูนยกลางการประมวลผล (Central Processing Unit)

สวนแสดงผลขอมูล (Output Unit)

อุปกรณเก็บขอมูลสํารอง (Secondary Storage Device)

17


อุปกรณการสื่อสาร (Communication Media) MODEM เปนอุปกรณเชื่อมตอขอมูลสูชองทางการสื่อสารในระบบ โทรศัพท มีหนาที่ในการเปลี่ยนสัญญาณขอมูลระหวางอะนาล็อกและ อกและ ดิจิตอล เปลี่ยนดิจิตอลเปนอะนาล็อก (D/A) ในกรณีการสงขอมูล เปลี่ยนอะนาล็อกเป อกเปนดิจิตอล (A/D) ในกรณีการรับขอมูล สง

D/A

Modulator

รับ

A/D

MODEM

Demodulator

อุปกรณการสื่อสาร (Communication Media) Network Interface Card : NIC – เปนแผงวงจรอิเล็กทรอนิกสที่ติดตั้ง ถาวรภายในเครื่องคอมพิวเตอร ใชในการสื่อสารระยะใกล (Local Area)

18


โปรแกรมควบคุมการสื่อสาร (Communication Software) ประกอบดวยสวนงานสําคัญ ดังนี้ ระบบควบคุมการสงผานขอมูล (Communication Link) ประกอบดวย สวนควบคุมการสงผานขอมูล (Computer Link & Coordination Control) สวนควบคุมระบบปองกันและความปลอดภัย (Security & Protection Control) สวนงานสํารองขอมูลอัตโนมัติ (Automatic Data Backup) สวนงานระบบปฏิบัติการเครือขาย (Network Operating System : NOS) สวนงานบริหารเครือขาย (Network Management)

โปรแกรมควบคุมการสื่อสาร (Communication Software) ประกอบดวยสวนงานสําคัญ ดังนี้ มาตรฐานการรับ – สงขอมูล หรือโปรโตคอล (Communication Protocols) เปนรูปแบบขอกําหนดมาตรฐานในการรับ – สงขอมูล เปรียบเสมือน ระเบียบที่ทกุ ฝายเขาใจตรงกัน ทําใหสามารถสื่อสารถึงกันได แบงไดหลาย ชนิด เชน TCP/IP, HTTP, WAP

19


TCP/IP Protocol

Packet

20


ประโยชนจากการใชงานระบบเครือขาย ใชงานทรัพยากรคอมพิวเตอรรวมกัน (hardware, software, data) ลดคาใชจายในการจัดหาฮารดแวร ขยายการใชงานบริการตางๆ สามารถใชซอฟตแวรเดียวกันได (สิทธิการใชงานแบบหลายคนมักจะ ราคาถูกกวาแบบสิทธิการใชงานคนเดียว) สามารถใชขอมูลรวมกัน เอื้อใหเกิดการทํางานรวมกันโดยไมจํากัดเวลาและสถานที่

สิ่งที่ตองระวังจากการใชงานระบบเครือขาย

21


รูปแบบการเชื่อมตอคอมพิวเตอรในระบบเครือขาย เครือขายแบบบัส (Bus Network) เครือขายวงแหวน (Ring Network) เครือขายดาวกระจาย (Star Network) เครือขายแบบตาขาย (Mesh Network)

Bus Topology เครื่องคอมพิวเตอรแตละเครื่อง จะเชื่อมตอกับสายขอมูลผาน จุดเชื่อมตอ

22


ขอดีและขอเสีย ใชสื่อนําขอมูลนอย ประหยัดคาใชจาย คอมพิวเตอรเครื่องใดเสียจะไมสงผลกระทบตอระบบโดยรวม การตรวจจุดที่มีปญหาทําไดยาก ถามีจํานวนเครื่องมากเกินไปอาจเกิดปญหาการชนกันของขอมูล ได

Ring Topology การเชื่อมตอระหวางเครื่องคอมพิวเตอรมีลักษณะเปนวงกลม ทิศทางการสงจะเปนทิศทางเดียวเสมอ

23


ขอดีและขอเสีย ใชสื่อนําขอมูลนอย หากตัดเครื่องคอมพิวเตอรที่มีปญหาออกจากระบบ จะไมสงผล ตอการทํางานของระบบ ไมมีการชนกันของขอมูล กรณีที่เครื่องคอมพิวเตอรเครื่องใดขัดของ การสงขอมูลจะ ทํางานตอไปไมได

Star Topology มีการเชื่อมตอภายในระบบเครือขายเปนแบบดาว โดยมีจุด ศูนยกลางในการเชื่อมตอ (Hub) ทําการสื่อสารระหวางเครื่องคอมพิวเตอร โดยผาน Hub

Hub

24


ขอดีและขอเสีย หากตองการเชื่อมตอคอมพิวเตอรเครื่องใหม ทําไดงายและไม กระทบตอเครื่องอื่น ๆ ในเครือขาย คาใชจายในการใชสายเคเบิ้ลสูง ถา Hub ไมทํางาน การสื่อสารจะหยุดชะงักทั้งระบบ

Mesh Topology คอมพิวเตอรแตละเครื่องจะตองมีชองสัญญาณจํานวนมาก เพื่อที่จะเชื่อมตอกับเครื่องคอมพิวเตอรเครื่องอื่น ๆ คอมพิวเตอรแตละเครื่องจะสงขอมูลไดอิสระ ไมตองรอการ สงขอมูลระหวางเครื่องอื่น ๆ การสงขอมูลมีความรวดเร็ว คาใชจายสายเคเบิ้ลสูง

25


การเชื่อมตอระหวางเครือขายชนิดตางๆ การเชื่อมตอระหวางเครือขายที่มีรูปแบบการเชื่อมตอเปนแบบเดียวกัน ใชอุปกรณที่เรียกวาบริดจ (bridge) การเชื่อมตอระหวางเครือขายที่มีรูปแบบการเชื่อมตอตางแบบกัน ใช อุปกรณที่เรียกวาเกตเวย (gateway) หรือเราเตอร (router)

26


ชนิดของเครือขายคอมพิวเตอร Personal Area Network (PAN) Local Area Network (LAN) Metropolitan Area Network (MAN) Wide Area Network (WAN) Storage Area Network(SAN)

Local Area Network (LAN) เครือขายคอมพิวเตอรแบบทองถิ่น ระยะทางการเชื่อมตอประมาณไมเกิน 10 กิโลเมตร มีความเร็วในการแลกเปลี่ยนขอมูลสูง มักใชสื่อเปน Wire ใชในองคกร สํานักงาน เชน เครือขายภายในมหาวิทยาลัย , บริษัท สามารถเชื่อมตอการเครือขาย อินเทอรเน็ตและอินทราเน็ตได

27


LAN

Metropolitan Area Network (MAN) เปนเครือขายคอมพิวเตอรขนาดใหญ ระยะทางการเชื่อมตอประมาณ 50 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่อาณาบริเวณทั้งตําบล หรือ อําเภอ อาจเกิดจากการเชื่อมตอของ LAN หลาย ๆ เครือขาย

28


MAN

Wide Area Network (WAN) เครือขายคอมพิวเตอรขนาดใหญมาก ภายในเครือขายประกอบดวย LAN และ MAN พื้นที่ครอบคลุมทั้งประเทศ หรือ ทั่วโลก แบงเปน - Private - Public หมายเหตุ Internet เปนเครือขายแบบ Public WAN

29


WAN

Storage Area Network(SAN) เปนระบบโครงสรางที่มีการเชื่อมตอทางขอมูลขาวสารระหวางกลุม ของอุปกรณจัดเก็บขอมูล ทําหนาที่ดูแลการจัดเก็บและปลดปลอยขอมูลเพื่อสนองตอบกลุม ของ Server ซึ่งลักษณะขอมูลเปนขอมูลที่มีขนาดใหญมาก การเชื่อมโยงจะเชื่อมตอดวยระบบ Fiber Channel Hub หรือ Switch หรือเทคโนโลยีใหมที่จะเกิดขึ้นในอนาคต

30


SAN

Applied Data Communication and Network ☺ ☺ ☺ ☺ ☺

GPS WAP WiFi Hot spot Bluetooth

31


GPS(Global Positioning System ) คือระบบที่ระบุตําแหนงทุกแหงบนโลก จากกลุมดาวเทียม 24 ดวงที่ โคจรอยูรอบโลก แตเดิม GPS ไดถูกออกแบบมาใชในทางการทหาร โดย กระทรวงกลาโหม สหรัฐอเมริกา หนาที่หลักของ GPS คือ แสดงตําแหนงใหรูวาปจจุบันเราอยูที่ไหนเปน ละติจูด/ลองจิจูด

WAP(Wireless Application Protocol) เปนโปรโตคอลสําหรับอุปกรณ พกพา ออกแบบเพื่อใหเหมาะสมกับการใชงานใน เครือขายไรสายที่มีความเร็ว ต่ํา สามารถทําใหอุปกรณเคลื่อนที่สามารถทํางานไดกับ Internet, Intranet, และระบบ IT ขององคกร พัฒนาภาษาขึน้ มาใหมสําหรับการใชงานเรียกวา Wireless Markup Language (WML)

32


WAP

WiFi(Wireless Fidelity) เปนเทคโนโลยีสงขอมูลแบบไรสายดวยคลื่นวิทยุความถี่สูง ใชกับระบบเครือขายทองถิ่น

ประโยชน •ลดคาใชจายดานการวางเครือขาย •งายดายตอการเคลื่อนยายและเปลี่ยนแปลง

33


การสื่อสารไรสาย

Hotspot เปนจุดบริการ อินเตอรเน็ตสาธารณะไรสายความเร็วสูง ใชเทคโนโลยี Wireless Lan เชน ทาอากาศยานดอนเมือง , รานกาแฟสตารบับคั ส , รานกาแฟ บานไร กาแฟ , หางสรรพสินคา Central , สนามกอลฟสปริงฟลด เปนตน

34


Ex จักรยานไว-ไฟ

Bluetooth เปนการเชื่อมตออุปกรณสองตัวเขาหากันดวยความถี่คลื่นที่ 2.4 GHz มีระยะการทํางานที่สั้นมาก ใชเพื่อมาแทนที่สายไฟที่ระเกะระกะ ในการเชื่อมโยงอุปกรณสองตัวเขา หากัน เหมาะสําหรับการเชื่อมตออุปกรณ Device เล็กเขากัน

35


Internet

ความเปนมา ป1957 เกิดโครงการ Advanced Reseaerch Projects Agency (ARPA) จากแรงกดดันซึ่งโซเวียตสงดาวเทียมดวงแรกของโลก “สปุตนิก” ป 1969 เกิด ARPANET โดยมีวัตถุประสงคในการเชื่อมการติดตอ ระหวางนักวิทยาศาสตรในที่ตางๆ และการใชงาน ทรัพยากรคอมพิวเตอรรวมกันโดยเชื่อมโยงมหาวิทยาลัยตางๆไวดวยกัน สง e-mail สงไฟล และทําการคํานวณทางวิทยาศาสตรบนเครื่องซุปเปอร คอมพิวเตอร ป 1990 เกิดการสรางซอฟตแวรซึ่งชวยใหการใชงานอินเตอรเน็ตเปนไป อยางงายดาย และเกิดบริการอินเตอรเน็ตในเชิงพาณิชยเชนปจจุบัน

36


อินเตอรเน็ตในประเทศไทย เริ่มตนเมื่อป 2529 ใชแพรหลายในสถาบันการศึกษาตางๆ เนคเทค (Nectec) พัฒนาโครงขายไทยสาร ตอมาจึงตั้งเปนผู ใหบริการอินเตอรเน็ต (ISP) ที่ชื่อ Internet Thailand ตอมา ไดมีการตั้ง ISP ขึ้นจํานวนมากเชน KSC, LoxInfo, Samart, etc…

โครงสรางของอินเตอรเน็ต ไมมีใครเปนเจาของอินเตอรเน็ต เปนเครือขายของเครือขายซึ่งเติบโตขึ้นตามเวลา เชื่อมโยงเครือขายหลักโดยใชไฟเบอรออปติคความเร็วสูง (Backbone) เชื่อมตอกับอุปกรณเราเตอรสมรรถนสูง

37


โปรโตคอลที่เกี่ยวของกับ Internet โปรโตคอล TCP/IP โปรโตคอลที่ใชกับอินเตอรเน็ต LAN, WAN, อินทราเน็ต, เอ็กซทราเน็ต TCP แบงขอมูลที่จะสงออกเปนสวนยอยๆเรียกวาแพ็คเก็ต (Packet) IP บอกวาปลายทางอยูที่ใด เพื่อให Packet สามารถถูกสงไปยังที่หมาย โปรโตคอลอื่นๆ HTTP FTP POP IMP

SMTP TELNET SSL

หมายเลข IP หมายเลขซี่งบงบอกเครื่องคอมพิวเตอรบนระบบเครือขาย ประกอบไปดวยเลขไบนารี่ 8 บิตในตัวเลขแตละชุด (รวมทั้งหมด 32 บิต) เชน 204.127.129.1 แบงออกเปนหมายเลข IP แบบสแตติก (Static IP) กับ หมายเลข IP แบบ ไดนามิก (Dynamic IP) Static IP ใชกบั บริการบนอินเตอรเน็ตตางๆเชนเว็บไซต, เมลเซอรฟเวอร Dynamic IP ใชกับเครื่อง Client

38


Packet

Domain Name ยากทีจ่ ะจําหมายเลข IP ของแตละเครื่อง ใชชื่อที่จําไดงา ยกวาเชน www.cmru.ac.th , ajarnjirang@yahoo.com เปนสวนประกอบหลักของ URL และ e-mail address Top-Level Domain เชน .biz, .com, .edu, .gov, .net, .org, .th เครื่องคอมพิวเตอรที่ทําหนาที่เชื่อมโยงระหวางหมายเลข IP กับชื่อ Domain Name เรียกวา Domain Name Server

39


THE INTERNET Client/server Computing on the Internet

Figure 8-11

URL หรือ Uniform Resource Location การปอน ที่อยูในเอกสาร Web http://www.maehongson.cmru.ac.th/ jirang/ index.html ชนิดของการบริการ HOSTNAME

DIRECTORY

FILE

40


The Domain Name System

THE INTERNET Major Internet Services • E-mail: Person-to-person messaging; document sharing • Usenet newsgroups: Discussion groups on electronic bulletin boards • LISTSERVs: Discussion groups using e-mail mailing list servers • Chatting and instant messaging: Interactive conversations

41


THE INTERNET Major Internet Services (Continued) • Telnet: Logging on to one computer system and doing work on another • FTP: Transferring files from computer to computer • World Wide Web: Retrieving, formatting, and displaying information (including text, audio, graphics, and video) using hypertext links

THE INTERNET Intranets and Extranets Intranets: • An intranet is an internal organizational network that provides access to data across a business firm. Extranets: • Allow authorized vendors and customers to have limited access to its internal intranet

42


นิยามศัพทตาง ๆ ทีค่ วรรู World Wide Web (WWW) หรือเรียกสั้นๆ วา Web เปนบริการหนึ่งใน อินเตอรเน็ตใหบริการขอมูล ที่ประกอบดวย ภาพ ตัวอักษร และเสียง ถือไดวา World Wide Web เปนแหลงบริการขอมูลขนาดใหญ เหมือนเครือขายใยแมง มุม ศัพทบัญญัติของไทย ใชคําวา เครือขายใยพิภพ เว็บเพจ (Web Page) คือ เอกสารแตละหนาที่เราเปดดูใน Web Page ซึ่งถูก สรางขึ้นมาจากภาษา HTML ซึ่งเปนภาษาที่กําหนดรูปแบบและหนาตาของ เว็บเพจ โดยเว็บเพจจะมีการเชื่อมโยงไปยังเว็บเพจอื่นได ทําใหการคนหา ขอมูลทําไดโดยงาย และยังสามารถเผยแพรขอมูลไปทั้วโลกไดทันทีในราคา ถูกและรวดเร็ว

นิยามศัพทตาง ๆ ทีค่ วรรู โฮมเพจ (Home Page) คือ หนาหลักของเว็บเพจทั้งหมดซึ่งสวนใหญจะเปนหนา แรกของเว็บไซตนั้นๆ เพื่อใหผูเขามาเยี่ยมชมไดพบเห็นกอนหนาอื่นๆ ตัวอยางเชน หนาโฮมเพจของภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร มอ เปนตน ลิงค (Link) คือขอความที่เปนสวนของการเชื่อมโยง (link) จะเปนขอความที่ถูก เนนภายในเว็บไซตนั้น (ซึ่งโดยมากจะเปนการขีดเสนใต) จะใหไปยังเว็บเพจ หนาตางๆบนอินเตอรเน็ตไดโดยคลิกเมาสที่ขอความดังกลาว การเชื่อมโยง (link) อาจอยูในรูปของปุม ภาพหรือขอความ โดยเมื่อเราเลื่อนเมาสไปเหนือลิงค (link) รูปเมาสจะเปลี่ยนจากรูปลูกศรเปนรูปมือ

43


นิยามศัพทตาง ๆ ทีค่ วรรู HyperText Markup Language (HTML) เปนภาษามาตราฐานที่ใชในการสรางเว็บเพจ (Web Page) ซึ่งสามารถ กําหนดการเชื่อมตอไปยังเว็บเพจ (Web Page) ตางๆ ได โดยใช Hyper Text Links เว็บเบราเซอร (Web Browser) เปนโปรแกรมทีใชในการทองโลก World Wide Web เพื่อดูขอมูลขาวสารตางๆ บนอินเตอรเน็ต หรือเปนโปรแกรมใช เปดดูเว็บเพจนั่นเอง มีหลายโปรแกรมที่นิยมใชในปจจุบันไดแก Microsoft Internet Explorer,Netscape Navigator

นิยามศัพทตาง ๆ ทีค่ วรรู โปรโตคอล (Protocol) ที่ใชมาก Transmission Control Protocol / Internet Protocol (TCP/IP)TC/IP HyperText Transfer Protocol (HTTP) ใชสําหรับการสงเอกสาร HyperText ที่ถูกเขียนดวยภาษา HTML จากเครื่องหนึ่งไปแสดงบนเว็บเบ ราเซอรในคอมพิ ในคอมพิวเตอรอีกเครื่องหนึ่ง File Transfer Protocol (FTP)โปรโตคอลนี้จะใชสําหรับการถายโอนไฟล ระหวางเครื่องคอมพิวเตอร Post Office Protocol (POP3)โปรโตคอล สําหรับสื่อสารกับ Mail Server เพื่อรับขอมูลหรือรับ E-mail จาก Mail Server Simple Mail Transfer Protocol (SMTP)โปรโตคอล สําหรับสื่อสารกับ Mail Server เพื่อสงขอมูลหรือสง E-Mail จาก Mail Server ใหแกผูรับ

44


นิยามศัพทตาง ๆ ทีค่ วรรู Domain Name เปนชื่อเรียกที่ใชเรียกแทน IP Address ตางๆ ที่เว็บไซตนั้นๆ เก็บอยูเพื่อใหงายตอการจดและเรียกใชงาน Internet Service Provider (ISP) ผูใหบริการอินเตอรเน็ต (ISP) คือบริษัท หรือหนวยงานที่ตั้งขี้นมาเพื่อใหบริการติดตอเชื่อมโยงกับเครือขาย อินเตอรเน็ตโดยอาจจะคิดคาบริการหรือไมก็แลวแตบริษัทหรือหนวยงาน นั้นๆ ยกตัวอยางเชน ผูใหบริการอินเตอรเน็ต (ISP) ในเมืองไทย loxinfo,KSC Internet Thailand เปนตน

นิยามศัพทตาง ๆ ทีค่ วรรู Electronic Mail (E-Mail) อีเมลคือ จดหมายที่สงผานทางอินเตอรเน็ต ซึ่งมีประสิทธิภาพในการรับสง หรือตอบกลับขอมูลขาวสารระหวางกันไดภายใน ระยะเวลาอันสั้น ไมวาคุณจะอยูตําแหนงใดในโลกก็ตาม นอกจากนี้ยัง สามารถแนบเอกสารโปรแกรม ภาพตางๆ และสิ่งอื่นๆ ที่จําเปนไปดวยได ทั้งนี้ในการสงขอความตองระบุที่อยูของผูรับใหชัดเจน ซึ่งเรียกวา E-mail Address มีรูปแบบดังนี้ ingsirak@hotmail.com

45


วิธีเขาสูโลกของอินเตอรเน็ต ระบบเครื่องและอุปกรณ 1. เครื่องคอมพิวเตอร 2. อุปกรณเชื่อมตอเครือขาย 3. โปรแกรมที่ใชในการเขาสูอินเตอรเน็ต 4. สมัครเปนสมาชิกผูใหบริการอินเตอรเน็ต • Username • Password

คําศัพทที่เกี่ยวของกับ WWW • Web Site คือ ขอมูลที่มีการจัดวางฐานขอมูลอยางมีระเบียบ • Home Page คือ เอกสาร WEB ที่เปดเจอครั้งแรกเมื่อเขา โปรแกรม • Web Page คือ รายละเอียดของเอกสารแตละหนา

46


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.