qc06_1

Page 1

เรียบเรียงโดย นายกิตติวัฒน สิริเกษมสุข , นาย ธเนศ กิตติธาดาชัยกุล , นาย อนุศาสตร แทบทาม

อิชิกาวา (Dr. Kaoru Ishikawa) ในประเทศญี่ปุนเองบุคคลหนึ่งที่ไดรับการยกยองวามีบทบาทอยางสําคัญตอการพัฒนาคุณภาพสินคา ของอุตสาหกรรมญี่ปุนคือ ศาสตราจารย ดร. คาโอรุ อิชิกาวา ( Kaoru Ishikawa ) ซึ่งเริ่มเรียนรูหลักการควบคุม คุณภาพเชิงสถิติ ในป พ.ศ. 2493 และไดพบกับ ดร. ชิวฮารต ในป พ.ศ. 2501 เมื่อครั้งที่ไปเยือนเอทีแอนดที และหองปฏิบัติการเบลล ดร. อิชิกาวา ไดเริ่มนําหลักการของแผนภูมิควบคุมมาสอนและประยุกตใชในอุตสาห กรรมญี่ปุน ตั้งแตป พ.ศ. 2498 ผลงานที่สรางชื่อเสียงใหแก ดร. อิชิกาวา คือ แผนภูมิกางปลาและแผนภูมิเหตุ และผล เพื่อใชในการระดมความคิดเพื่อแกปญหาดานคุณภาพ

แนวความคิดของอิชิกาวา มีดังนี้ พัฒนา “เครื่องมือทางการสถิติแหงคุณภาพ” หรือ “เครื่องมือ 7 แบบในการควบคุมคุณภาพ” (7 QC Tools ) พัฒนา “กิจกรรมกลุมควบคุมคุณภาพ” ( QCC : Quality Control Circles ) พัฒนาแนวความคิด “การควบคุมคุณภาพทั่วทั้งองคกร” ( Company- Wide Quality Control : CWQC )

7 QC tools ไดแก 1. ใบตรวจสอบ (Check-Sheets) คือ ใบตรวจสอบหรือรายการตรวจสอบ ที่มีการออกแบบไวลวงหนา เพื่อความสะดวกในการบันทึกขอ มูลหรือตัวเลข แตเพื่อความสะดวก มักจะออกแบบเพื่อใหสามารถใชการ “ขีด” ( / ) ลงในใบตรวจสอบไดเลยตัว อยางเชน วัตถุประสงค: 1. เพื่อใหสามารถเก็บขอมูลหรือตัวเลขไดงายและถูกตอง 2. เพื่อใหสามารถวิเคราะหขอมูลหรือสถานการณตางๆไดงาย และนําไปใชเปนประโยชนตอการตัดสินใจ ไดอยางถูกตอง วิธีการ: 1. รายการตรวจสอบ : จํานวนของเสีย วันที่ผลิต 1 2 3 4 5 6

จํานวนของเสีย //// // //// /// //// // //


เรียบเรียงโดย นายกิตติวัฒน สิริเกษมสุข , นาย ธเนศ กิตติธาดาชัยกุล , นาย อนุศาสตร แทบทาม

2. รายการตรวจสอบ : ระบุตําแหนงคุณภาพที่ไมดีดวยภาพ 3. รายการตรวจสอบ : จํานวนของเสียแยกตามสาเหตุ สาเหตุ # สีถลอก # วัตถุดิบไมดี # พนักงานทําผิด # อุปกรณชํารุด

จํานวนของเสีย // //// /// //// //// /

4. รายการตรวจสอบ : ความปลอดภัยของเครื่องจักร ก. ฝาครอบสวนที่เคลื่อนไหวได O มี O ไมมี ข. ฐานยึดเครื่องจักร O ปลอดภัย O ไมปลอดภัย

2. ผังแสดงเหตุและผล (Cause and Effect Diagram) คือ แผนภาพที่แสดงถึงความสัมพันธระหวางผลลัพธ (Effect) กับสาเหตุ (Causes) ที่ทําใหเกิดผลลัพธ นั้นๆเรียกไดอีกชื่อวา ผังกางปลา หรือ ผังอิชิกาวา วัตถุประสงค : 1. เพื่อแสดงใหเห็นถึงความสัมพันธของสาเหตุหรือองคประกอบตาง ๆ ที่ทําใหเกิดผลลัพธนั้น ๆ ( มักจะเปน “ผลลัพธที่ไมพึงปรารถนา” หรือผลลัพธที่ไมอยากใหเกิดขึ้น ) 2. เพื่อกําหนดแนวทางแกปญหาที่สาเหตุ วิธีการ : 1. ระบุผลลัพธที่ไมตองการ หรือผลลัพธที่ตองการใหบรรลุอยูปลายสุดของลูกศร 2. ระบุสาเหตุหรือองคประกอบที่ทําใหเกิดผลลัพธนั้น ๆ เปนกิ่งที่พุงเขาลูกศรหลัก องคประกอบหลักหรือสาเหตูหลักที่นิยมใชในผังแสดงเหตุและผล คือ 4 M Man - คน Machine - เครื่องจักร เครื่องมือ อุปกรณ Material - วัตถุดิบ หรือ วัสดุ Method - วิธีการทํางาน 3. ระบุสาเหตุยอยลงในกิ่งสาเหตุหลัก


เรียบเรียงโดย นายกิตติวัฒน สิริเกษมสุข , นาย ธเนศ กิตติธาดาชัยกุล , นาย อนุศาสตร แทบทาม

4. กําหนดความสําคัญของสาเหตุหลักตาง ๆ และหามาตรการแกไข เครื่องมือ

พนักงาน

ของเสีย

วัสดุ

วิธีการทํางาน

3. ผังพาเรโต (Parato Diagrams) คือ แผนภูมิที่ใชตรวจสอบปญหาตางๆ ที่เกิดขึ้นในสถานที่ทํางานวาปญหาใดสําคัญที่สุดและรองๆลง มาตามลําดับ โดยการแสดงขนาดความสําคัญมากนอยดวยกราฟแทง และแสดงคาสะสมดวยกราฟเสน ความสําคัญมากนอยดวยกราฟแทงและแสดงคาสะสมดวยกราฟเสน วัตถุประสงค : 1. เพื่อแสดงใหเห็นถึงลําดับความสําคัญของปญหาตาง ๆ วามีมารกนอยเพียงใด เพื่อการเลือกแกปญหา กอนหลัง 2. เพื่อแสดงใหเห็นวาแตละปญหามีอัตราสวนเทาใดเมื่อเทียบกับทั้งหมด วิธีการ : 1. หาสาเหตุที่ทําใหเกิดปญหาโดยจัดหมวดหมูหรือแยกเปนประเภท ๆ 2. เก็บขอมูลตามสาเหตุในขอ 1 ตามระยะเวลาที่กําหนด 3. คํานวณขอมูลในแตละสาเหตูที่ไดในขอ 2 ออกมาเปนเปอรเซ็นต โดยเทียบกับขอมูลทั้งหมด 4. เขียนกราฟแทง โดยใชแกนนอนแสดงสาเหตุ แกนตั้งเปนเปอรเซ็นต โดยเขียนกราฟแทงเรียงจากสาเหตุที่มี เปอรเซ็นตสูงกอนแลวลดหลั่นลงตามลําดับ 5. ลงมือแกปญหาโดยพิจารณาแกที่สาเหตุสําคัญไมกี่ประการ ( Vital Few ) ผังพาเรโต

ความถี่(จํานวน)

40 30

ความถี่ (ความถี่)

20 10 0 A

B

C

สาเหตุ

D

E

F


เรียบเรียงโดย นายกิตติวัฒน สิริเกษมสุข , นาย ธเนศ กิตติธาดาชัยกุล , นาย อนุศาสตร แทบทาม

4. กราฟ (Graph) คือ เครื่องมือที่ใชในการแสดง หรือแปลขอมูลเปนภาพที่เห็นไดชัดและเขาใจงาย อาจเปน กราฟแทง กราฟเสน กราฟวงกลม เปนตน ตัวอยางเชน กราฟเสน (Line Graph) 35 30 25

อาหาร

20

กาซ

15

โรงแรม

10 5 0 ม.ค.

ก.พ.

มี.ค.

เม.ย.

พ.ค.

มิ.ย.

กราฟวงกลม (Pie Graph) อาหาร ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย.

วัตถุประสงค : 1. เพื่อใชอธิบายผลหรือสิ่งตาง ๆ ดวยกราฟที่สามารถเขาใจไดงาย 2. เพื่อใชวิเคราะหขอมูล 3. เพื่อใชในการควบคุม 4. เพื่อใชในการบันทึกขอมูลที่เก็บได


เรียบเรียงโดย นายกิตติวัฒน สิริเกษมสุข , นาย ธเนศ กิตติธาดาชัยกุล , นาย อนุศาสตร แทบทาม

5. ฮีสโตแกรม (Histograms) คือกราฟแทงชนิดหนึ่งซึ่งแสดงถึงการกระจายความถี่ของขอมูล ( แสดงขอมูลออกเปนหมวดหมู ) ซึ่งมี แนวโนมสูศูนยกลางเปนคาสูงสุดแลวกระจายลดหลั่นลงไปตามลําดับ วัตถุประสงค : 1. เพื่อใหเขาใจถึงรูปแบบการกระจายของขอมูลและแนวโนม 2. เพื่อแสดงความถี่ของเหตุการณที่เกิดขึ้นตามตัวแปรตัวหนึ่ง 3. เพื่อใชเปรียบเทียบกับเกณฑหรือมาตรฐานที่กําหนดไว วิธีการ : 1. เก็บรวบรวมขอมูลอยางนอย 50 ขอมูล (ยิ่งเก็บไดมากยิ่งดี ) จํานวนขอมูลทั้งหมดคือ N 2. หาคามากที่สุด ( L ) และคานอยที่สุด ( S) ของขอมูลทั้งหมดแยกตามกลุม 3. หาคาพิสัย ( Range : R )และหาความกวางของอันตรภาคชั้น

ความถี่ (จํานวน)

ฮิสโตแกรม 60 50 40 30 20 10 0

อาหาร

ม.ค.

ก.พ.

มี.ค.

เม.ย.

พ.ค.

เดือน

6.ผังการกระจาย (Scatter Diagrams) คือ แผนผังที่แสดงถึงตัวแปร 2 ตัวที่เกี่ยวของกับการควบคุมการผลิต วามีคาสหสัมพันธ (Correlation) ของตัวแปรทั้งสองไดจากแผนผังการกระจายนี้ วัตถุประสงค : 1. เพื่อแสดงใหเห็นความสัมพันธระหวางตัวแปร 2 ตัว ที่เกี่ยวของกับกระบวนการ 2. เพื่อใชเปนแนวทางในการควบคุมกระบวนการใหไดคุณภาพตามที่กําหนด วิธีการ : 1. เก็บรวบรวมขอมูลใหไดประมาณ 30 คู 2. กําหนดคาตัวแปรสําหรับแกน X และแกน Y 3. เขียนกราฟ โดยการพล็อตขอมูลทั้ง 30 คูลงไปบนกราฟ 4. เขียนรายละเอียดตาง ๆ ที่เกี่ยวของลงบนกราฟ 5. อานแผนผังการกระจาย เพื่อดูวาแผนผังการกระจายมีลักษณะเชนใด


เรียบเรียงโดย นายกิตติวัฒน สิริเกษมสุข , นาย ธเนศ กิตติธาดาชัยกุล , นาย อนุศาสตร แทบทาม

- แผนผังการกระจายชนิดสหสัมพันธแบบบวก คือ ขอมูลหรือตัวแปรมีความสัมพันธเปนสัดสวน แปรผันโดยตรงตอกัน ( ไปทางเดียวกัน ) หรือ - แผนผังการกระจายชนิดสหสัมพันธแบบลบ คือ ขอมูลหรือตัวแปรมีความสัมพันธเปนสัดสวนแปร ผกผันตอกัน ( ไปตรงขามถนน ) 4 4 4 2.5 4 3.5 5 5 5 3.5 5 4.5 5 5.5 6 6 6 3.5 6 4.5 6 64

ผังการกระจาย

10 0

x

0

5

10

7. แผนภูมิควบคุม ( Control Charts) คือ แผนภูมิที่เขียนขึ้นโดยอาศัยขอมูลจากขอกําหนดทางดานเทคนิคที่ระบุถึงคุณสมบัติหรือคุณภาพ ของผลิตภัณฑที่จะกระทําการผลิตเพื่อเปนการควบคุมผลผลิตใหเปนไปตามกําหนด วัตถุประสงค: 1.เพื่อแสดงใหเห็นวากระบวนการผลิตมีเสถียรภาพหรือไม(อยูในความควบคุมหรือไม) 2.เพื่อแสดงใหเห็นถึงขอบเขตในการควบคุมทั้งขอบเขตบน และขอบเขตลาง 3.เพื่อแสดงใหเห็นถึงจุดที่มีปญหาหรือมีขอบกพรองในกระบวนการผลิต วิธีการ: 1. เก็บรวบรวมขอมูลประมาณ 100 ขอมูล 2. คํานวณหาคาเฉลี่ย X 3. คํานวณหาคาเฉลี่ยของคาเฉลี่ย X 4. คํานวณหาคาพิสัย (R) 5. คํานวณหาคาเฉลี่ยของพิสัย (R) 6. คํานวณหาคาเสนขอบเขตควบคุมความสูงหรือขอบเขตบน (Upper Control Limit ; UCL),เสนควบคุม คาต่ําหรือขอบเขตลาง (Lower Control Limit ; LCL) และเสนคากลาง (Center Line ; CL) เพื่อสราง แผนภูมิ Xและแผนภูมิ R 7. ระบุขอมูลลงในกราฟ


เรียบเรียงโดย นายกิตติวัฒน สิริเกษมสุข , นาย ธเนศ กิตติธาดาชัยกุล , นาย อนุศาสตร แทบทาม

100 50 0

ผังควบคุม x

y

2

55

4

37

6

30

8

60

10

40

01214

45 35

UCL CL LCL

20

40

กิจกรรมกลุมควบคุมคุณภาพ (Quality Control Circle) เรียกยอๆวา QCC หมายถึง กลุมขนาดเล็ก (จํานวน 3-10 คน) ในหนวยงานหรือสายงานเดียวกันที่รวม ตัวกัน เพื่อปฏิบัติกิจกรรมเพื่อการแกปญหาหรือการปรับปรุงงานที่ทําอยูใหดีขึ้น ซึ่งสงผลไปยังการปรับปรุงคุณ ภาพของสินคาและบริการอีกดวย โดยทุกคนในกลุมมีสวนรวม วัตถุประสงค • สงเสริมใหพนักงานมีสวนรวมในการปรับปรุงงานและคุณภาพ • สงเสริมใหการทํางานเปนทีม • สงเสริมใหพนักงานสามารถแกปญหางานที่เปนอยูได • สงเสริมใหคุณภาพชีวิตในการทํางานดีขึ้น

เรียบเรียงโดย นายกิตติวัฒน สิริเกษมสุข นาย ธเนศ กิตติธาดาชัยกุล นาย อนุศาสตร แทบทาม


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.